Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

Published by panyawat_mcu_br, 2022-03-20 05:00:53

Description: ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

๒๐๐ มณีปราสาทขึน้ และให้สร้างอารามท่ีปาจีนติสสบรรพตถวายแก่พระภิกษสุ งฆ์ ท้ังให้สร้าง สระนํ้าไว้ด้วย ท้าวเธอโปรดใหท้ าํ การบชู าพระสถูปอยู่ ๘ ปี เสวยราชย์อยู่ ๑๐ ปี เมอื่ พระเจ้าเชษฐติสสะล่วงลับไปแลว้ พระอนุชาผู้ทรงพระนามว่า มหาเสน ได้เสวยราชย์ ๒๗ ปี คราวน้ันท้าวเธอทรงพระดําริว่า ในพระพุทธศาสนาเกิดอลัชชีขึ้น มาก เม่ือทรงเลือกหาลัชชี ก็พบแต่พวกอลัชชีเป๐นพวกสมณะปลอม เป๐นพวกเช่นกับ ซากศพเน่า เป๐นพวกเปรียบเหมือนกับผ้าเป๒ือนโลหิต เป๐นพวกอสัตบุรุษ เป๐นพวกไม่ใช่ สมณะ และได้ทรงพบเห็นพระภิกษุอลัชชี ๒ องค์ คือพระทุมิตตะ ๑ พระปาปโสณะ ๑ กับอลัชชีพวกอ่ืนอีก ก็ได้ตรัสถามอรรถธรรม พระทุมิติตะ พระปาปโสณะ และอลัชชี พวกอนื่ อีก ก็ได้ประชุมปรกึ ษากนั ในทีล่ ับ เพ่อื จะทาํ ลายผู้มขี ้อวัตรดที ้งั หลาย แล้วก็แสดง สง่ิ ทไี่ มค่ วรว่าเปน๐ สิง่ ท่ีควรแสดง สิ่งที่พระพุทธเจ้าไม่ได้ทรงอนุญาตว่าทรงอนุญาต ส่ิงที่ ไม่เป๐นธรรมว่าเป๐นธรรม พระเจ้ามหาเสนได้ทรงประสบพวกพระภิกษุที่ดีบ้างไม่ดีบ้าง แล้ว ก็เสดจ็ ไปตามกรรมของพระองค์ เพราะฉะนั้น บุคคลจึงควรงดเว้นจากพวกไม่ดีเสีย เหมอื นกบั งดเว้นยาพิษ ควรทําแต่สงิ่ ท่ีเปน๐ ประโยชน์แก่ตน. จบภาณวารที่ ๒๒ จบ ทีปวังสวรรณนา๑๕๔ ๑๕๔ กรมศลิ ปากร, คมั ภรี ์ทีปวงศ์, หน้า ๑๖-๑๗.

๒๐๑ หมวด ธ ธมั มปทัฏฐกถา ธัมมปทัฏฐกถา หรืออรรถกถาธรรมบท เป๐นคัมภีร์อธิบายความแห่งพระ ธรรมบท ขุททกนิกาย จํานวน ๔๒๓ บท พระพุทธโฆษาจารย์รจนาขึ้นในสมัยพระเจ้า มหานาม [พุทธศักราช ๙๕๓-๙๗๕] ในการรจนา ได้ยกอุทาหรณ์/สาธกโวหารข้ึนมา ประกอบจาํ นวน ๓๐๕ เรอ่ื ง แต่ละเรือ่ งจัดไว้เปน๐ หมวดหมู่ เรยี กวา่ วรรค มีจํานวนท้ังสิ้น ๒๖ วรรค โดยจดั โครงสร้างเนอื้ หาดงั น้ี๑๕๕ ๑. อารัมภกถา คํากล่าวปรารภเรื่อง หมายถึงคําปรารภเร่ิมเรื่องว่า พระพทุ ธเจา้ ประทับอยูท่ ไี่ หน ทรงปรารภใคร จงึ ไดต้ รัสพระธรรมเทศนานี้ หรือตรัสพระ ธรรมบทคาถานน้ั ๆ เปน๐ สว่ นประกอบท่ีสาํ คญั ในส่วนเบอ้ื งตน้ ตัวอยา่ ง ๑ ถามวา่ พระธรรมเทศนานี้วา่ ―ธรรมท้ังหลาย มีใจเป๐นหัวหน้า มีใจเป๐นใหญ่ สําเร็จแล้วด้วยใจ ถ้าบุคคลมี ใจร้ายแล้ว พดู อยูก่ ด็ ี ทาํ อยู่กด็ ี ทุกขย์ อ่ มไปตามเขา เพราะเหตุนั้น ดุจล้ออันหมุนไปตาม รอยเทา้ โค ผู้นาํ แอกไปอยู่ฉะน้ัน, ดังนี้ พระศาสดาตรัสไว้ ณ ทไ่ี หน ตอบวา่ ณ กรุงสาวัตถี ถามวา่ ทรงปรารภใคร ตอบว่า ทรงปรารภพระจักขปุ าลเถระ ตวั อย่างที่ ๒ พระศาสดาเม่ือทรงเข้าไปอาศัยกรุงสาวัตถี ประทับอยู่ในบุพพาราม ทรง ปรารภอุบาสิกาชือ่ วิสาขา ตรัสพระธรรมเทศนานี้ว่า ยถาปิ ปุพฺผราสิมฺหา [เหมือนช่าง ดอกไม้รอ้ ยพวงมาลยั ไว้เป๐นจาํ นวนมากจากกองดอกไม้ ฉะนั้น] เป๐นตน้ ๒. ปัจจุบันวัตถุ เรื่องที่เกิดข้ึนในป๎จจุบัน หมายถึง การนําเหตุการณ์หรือ เรือ่ งราวตา่ งๆ ที่ทําใหเ้ กดิ ขึ้นในสมัยพทุ ธกาล ซึง่ เป๐นเหตใุ ห้พระพุทธเจ้าปรารภยกขึ้นมา ตรัสคาถาธรรมบทนั้นๆ โดยส่วนมากเป๐นประวัติบุคคลบ้าง เทวดา มารบ้าง พรหมบ้าง สัตว์เดรจั ฉานบา้ ง ๑๕๕ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ธรรมบท ภาค ๑, [กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖], หน้า [๑๖]-[๑๗].

๒๐๒ ตวั อย่าง ดังได้สดับมา ในกรุงสาวัตถี มีกุฎุมพีผู้หน่ึงชื่อมหาสุวรรณ เป๐นคนม่ังมี มี ทรัพย์มาก มสี มบัติมาก [แต่]ไมม่ บี ุตร. วันหนึ่ง เขาไปสู่ท่าอาบนํ้า อาบเสร็จแล้วกลับมา เห็นต้นไม้ใหญ่ที่เป๐นเจ้าไพรต้นหน่ึง มีกิ่งสมบูรณ์ในระหว่างทาง คิดว่า “ต้นไม้น้ี จักมี เทวดาผู้มีศักด์ิใหญ่สิงอยู่” ดังน้ีแล้ว จึงให้ชําระส่วนภายใต้แห่งต้นไม้น้ันให้สะอาดแล้ว ให้วงรั้ว เกลี่ยทราย ยกธงชัยและธงปฏากข้ึน แต่งต้นไม้เจ้าไพรแล้ว ทําปรารถนา [คือ บน]ว่า “ข้าพเจา้ ได้บตุ รหรือธดิ า แลว้ จักทาํ สักการะใหญ่ถวายทา่ น” ดังนีแ้ ลว้ หลีกไป. ในกาลเป๐นลําดับมา ภรรยาของท่านเศรษฐีก็ต้ังครรภ์. ท่านก็ให้พิธีครรภ บรหิ ารแก่นาง. ครั้นลว่ ง ๑๐ เดอื น นางคลอดบตุ รคนหนึ่งท่านเศรษฐขี นานนามแห่งบุตร นั้นว่า “ปาละ” เพราะเหตุทารกนั้นตนอาศัยไม้ใหญ่ ท่ีเป๐นเจ้าไพรอันตนอภิบาลจึงได้ แลว้ ในกาลเป๐นสว่ นอื่น ท่านเศรษฐีได้บุตรอีกคนหน่ึง ขนานนามว่า “จุลปาละ” ขนาน นามบตุ รคนแรกว่า “มหาปาละ”. ครั้น ๒ กุมารน้ันเจริญวัย มารดาบิดาก็คิดผูกพันด้วย เคร่ืองผูกพันคือการครองเคหสถาน ในกาลเป๐นส่วนอื่น มารดาบิดาได้ทํากาลกิริยาล่วง ไป. วงศญ์ าตกิ เ็ ปดิ สมบัตทิ ั้งหมดทัง้ หมดมอบใหแ้ ก่ ๒ เศรษฐีบุตร ๓. อดีตวัตถุ เรื่องที่เคยเกิดขึ้นมาแล้วในอดีต ส่วนใหญ่เป๐นเร่ืองท่ี พระพุทธเจ้ายกขน้ึ มาแสดงให้ถึงความสัมพันธ์กับป๎จจุบัน โดยพระอรรถกถาจารย์นํามา เล่าประกอบ หรอื แทรกไว้เพื่อเปน๐ อุทาหรณ์ โดยเนือ้ หาจะมีความสอดคล้องกับพระคาถาท่ีนํามา แสดงในแต่ละบท ตวั อยา่ ง พระศาสดาตรัสว่า “ภิกษุท้ังหลาย ถ้าอย่างนั้น ท่านทั้งหลายจงฟ๎ง” ดังนี้ แลว้ [ตรัสเล่าเรือ่ งว่า] ในอดตี กาล ครั้นพระเจ้าพาราณสีดํารงราชย์อยู่ในกรุงพาราณสี หมอผู้หน่ึง เที่ยวทําเวชกรรมอย่ใู นบ้านและนคิ ม เห็นหญิงทรุ พลด้วยจักษุคนหน่ึง จึงถามว่า “ความ ไม่ผาสกุ ของท่านเป๐นอยา่ งไร”? หญิงนน้ั ตอบว่า “ขา้ พเจ้าไม่แลเหน็ ดว้ ยดวงตา.” หมอกลา่ ววา่ “ขา้ พเจ้าจักทาํ ยาให้แก่ท่าน” ญ. ทําเถิด นาย. ม. ท่านจักให้อะไรแก่ข้าพเจา้ ? ญ. ถา้ ท่านอาจจะทาํ ดวงตาของข้าพเจ้าให้กลับเป๐นปกติได้, ข้าพเจ้ากับบุตร และธิดา จกั ยอมเปน๐ ทาสขี องท่าน.

๒๐๓ ม. รบั วา่ “ดลี ะ” ดังนแ้ี ล้ว ประกอบยาให้แล้ว. ดวงตากลับเป๐นปกติ ด้วยยา ขนานเดยี วเทา่ นน้ั . หญิงน้ันคิดแล้วว่า “เราได้ปฏิญญาแก่หมอนั้นไว้ว่า ‘จักพร้อมด้วยบุตรธิดา ยอมเป๐นทาสีของเขา’ ก็แต่เขาจักไม่เรียกเราด้วยวาจาอันอ่อนหวาน เราจักลวงเขา.” นางอนั หมอมาแล้ว ถามว่า “เป๐นอย่างไร? นางผู้เจริญ” ตอบว่า “เมื่อก่อน ดวงตาของ ข้าพเจา้ ปวดนอ้ ย เด๋ียวนปี้ วดมากเหลือเกนิ .” หมอคดิ วา่ “หญงิ น้ีประสงคล์ วงเราแล้วไมใ่ หอ้ ะไร ความตอ้ งการของเราด้วย ค่าจา้ งทห่ี ญงิ น้ใี หแ้ ก่เรา มไิ ด้มี, เราจักทําเขาให้จักษุมืดเสียเด๋ียวนี้” แล้วไปถึงเรือนบอก ความนนั้ แก่ภรรยา. นางได้น่ิงเสีย. หมอนั้นประกอบยาขนานหน่ึงแล้วไปสู่สํานักหญิงน้ัน บอกให้หยอดว่า “นางผู้เจริญ ขอท่านจงหยอดยาขนานน้ี.” ดวงตาทั้งสองข้างได้ดับวูบ แล้วเหมือนเปลวไฟ. หมอนัน้ ได้ [มาเกิด] เป๐นจกั ขุปาลภกิ ษแุ ล้ว. ๔. คาถา หมายถึง คาถาที่เป๐นพระพทุ ธพจน์ ซ่ึงยกมาจากคัมภีร์ขทุ ทกนิกาย ธรรมบท จาํ นวน ๒๖ วรรค ๔๒๓ พระคาถา ๕. ไวยากรณ์ เป๐นสว่ นอธิบายศัพท์ ความสัมพันธ์ของศัพท์ ความหมายของ ศัพทเ์ พ่ิมเติม เพ่อื ใหเ้ กดิ ความเข้าใจยิง่ ขึ้น เรยี กตามสํานวนท่ัวไปว่า “แก้อรรถ” สั้นบ้าง ยาวบา้ ง ตามลักษณะของเน้ือของพระคาถาทจ่ี ําเป๐นตอ้ งแจกแจงรายละเอยี ด ตวั อย่าง จิตที่เป๐นไปในภูมิ ๔ แม้ท้ังหมด ต่างโดยจิตมีกามาวจรกุศลจิตเป๐นต้น ช่ือ วา่ “มโน” ในพระคาถานนั้ . ถงึ อย่างนนั้ ในบทนี้ เม่ือนิยม กะ กําหนดลง ด้วยอํานาจจิต ท่ีเกิดขึ้นแก่หมอนั้น ในคราวนั้น ย่อมได้จําเพาะจิต ที่เป๐นไปกับด้วยโทมนัส ประกอบดว้ ยปฏิฆะ [อย่างเดียว]. บทว่า ปุพฺพงฺคมา คือชื่อว่า มาตามพร้อมด้วยจิตนั้น อันเป๐นหัวหน้าไป กอ่ น. บทว่า ธมฺมา คือ ชื่อว่า ธรรมเป๐น ๔ อย่าง ด้วยอํานาจคุณธรรม เทศนา ธรรม ปริยตั ธิ รรม และนิสสัตตนชิ ชีวธรรม. ในธรรม ๔ ประการนัน้ ธรรมศัพท์นใี้ นคําว่า “ธรรมและอธรรม ๒ ประการ ใหผ้ ลเหมอื นกัน หามิได้ อธรรมยอ่ มนําไปสู่นรก ธรรมย่อมให้ถึงสคุ ติ” ดงั น้ี ชื่อว่าคณุ ธรรม [แปลวา่ ธรรมคอื คณุ ]. ธรรมศัพท์น้ี ในคําว่า “ภิกษุท้ังหลาย เราจักแสดงธรรมงามในเบื้องต้น แก่ ทา่ นทั้งหลาย” ดังน้เี ปน๐ ตน้ ชอ่ื ว่า เทศนาธรรม [แปลว่าธรรมคือเทศนา].

๒๐๔ ธรรมศพั ท์น้ี ในคําวา่ “ภิกษทุ งั้ หลาย อน่ึง กุลบุตรบางจําพวกในโลกน้ี ย่อม เรียนธรรม คอื สุตตะ เคยยะ” ดงั น้เี ปน๐ ตน้ ช่ือวา่ ปรยิ ัตธิ รรม [แปลว่าธรรมคอื ปรยิ ตั ิ] ธรรมศพั ทน์ ี้ ในคาํ ว่า “กส็ มัยน้ันแล ธรรมทงั้ หลายย่อมมี ขันธ์ท้ังหลายย่อม มี” ดังนี้ เป๐นต้น ช่ือวา่ นิสสตั ตธรรม [แปลวา่ ธรรมคือสภาพทม่ี ิใชส่ ตั ว์] นัยแม้ในบทว่า “นิชชีวธรรม” [ซ่ึงแปลว่าธรรมคือสภาพมิใช่ชีวิต] ก็ดุจ เดยี วกนั . ในธรรม ๔ ประการน้ัน นิสสัตตธรรมหรือนิชชีวธรรม พระศาสดาทรง ประสงค์แล้วในท่ีน้ี. นิสสัตตธรรมหรือนิชชีวธรรมนั้น โดยความก็อรูปขันธ์ ๓ ประการ คือ “เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์.” เหตุว่า อรูปขันธ์ ๓ ประการนั่น ช่ือว่ามีใจ เป๐นหวั หน้าของอรูปขนั ธ์ ๓ ประการนั่น. มีคําถามว่า “ก็ใจ มีวัตถุเดียวกัน มีอารมณ์เดียวกัน เกิดในขณะเดียวกัน พร้อมกับธรรมเหล่านั้น ไม่ก่อนไม่หลังกว่ากัน ช่ือว่า เป๐นหัวหน้าของธรรมเหล่านั้น อยา่ งไร?” มคี ําแก้ว่า ใจได้ชือ่ ว่าเปน๐ หัวหน้าของธรรมเหล่านัน้ ด้วยอรรถว่า เป๐นป๎จจัย เครื่องยังธรรมให้เกิดขึ้น. เหมือนอย่างว่า เมื่อพวกโจรเป๐นอันมาก ทําโจรกรรมมีปล้น บ้านเป๐นตน้ อยู่ด้วยกัน เมื่อมีใครถามว่า “ใครเป๐นหัวหน้าของพวกมัน?” ผู้ใดเป๐นป๎จจัย ของพวกมัน คืออาศัยผู้ใดจึงทํากรรมนั้นได้ ผู้น้ันชื่อทัตตะก็ตาม ชื่อมัตตะก็ตาม เขา เรียกวา่ หัวหน้าของมัน ฉนั ใด; คําอปุ ไมยซงึ่ เป๐นเครอ่ื งใหอ้ รรถถึงพรอ้ มน้ี บัณฑิตพึงรู้แจ้ง ฉันน้ัน. ใจชื่อว่าเป๐นหัวหน้าของธรรมท้ังหลายน่ัน ด้วยอรรถว่า เป๐นป๎จจัยเครื่องยัง ธรรมใหเ้ กดิ ข้นึ ฉะนี้ เหตนุ ั้น ธรรมทั้งหลายนั่น จึงช่ือว่ามีใจเป๐นหัวหน้า, เพราะเมื่อใจไม่ เกิดข้นึ ธรรมเหลา่ นั้นยอ่ มไม่สามารถจะเกิดข้ึนได.้ ฝาุ ยใจ ถึงเจตสิกธรรมบางเหล่าแม้ไม่ เกดิ ขึ้น กย็ ่อมเกิดขน้ึ ไดแ้ ท.้ อน่ึง ใจช่ือว่าเป๐นใหญ่ของธรรมท้ังหลายน่ัน ด้วยอํานาจเป๐นอธิบดี เหตุน้ัน ธรรมท้ังหลายนั่นจึงชื่อว่ามีใจเป๐นใหญ่. เหมือนอย่างว่า ชนทั้งหลายมีโจรผู้เป๐นหัวโจก เป๐นต้น ผ้เู ป๐นอธิบดี ได้ชื่อว่าเป๐นใหญข่ องชนทั้งหลายมโี จรเป๐นต้น ฉันใด, ใจผู้เป๐นอธิบดี ไดช้ ่ือว่าเปน๐ ใหญข่ องธรรมเหล่านน้ั ฉนั นัน้ , เหตุน้ัน ธรรมเหล่าน้นั จงึ ชื่อวา่ มใี จเปน๐ ใหญ.่ อน่ึง สิ่งทั้งหลายนั้นๆ เสร็จแล้วด้วยวัตถุมีไม้เป๐นต้น ก็ช่ือว่าของสําเร็จแล้ว ด้วยไมเ้ ป๐นต้น ฉนั ใด, แม้ธรรมทงั้ หลายน่ัน ได้ช่ือว่าสาํ เรจ็ แล้วด้วยใจ เพราะสําเร็จมาแต่ ใจ ฉนั นั้น

๒๐๕ บทว่า ปทฏุ เฺ ฐน คอื อันโทษมีอภชิ ฌาเป๐นต้นซึ่งจรมาประทุษร้ายแล้ว. จริง อยู่ ใจปกติช่ือว่าภวงั คจติ , ภวังคจิตน้นั ไมต่ อ้ งโทษประทษุ รา้ ยแล้ว. เหมือนอย่างว่า นํ้าใส เศร้าหมองแลว้ เพราะสที ้งั หลายมีสเี ขียวเป๐นต้นซ่ึงจรมา [กลับ] เป๐นนํ้าต่างโดยประเภท มีนํ้าเขียวเป๐นต้น จะช่ือว่าน้ําใหม่ก็มิใช่ จะชื่อว่าน้ําใสตามเดิมนั่นแลก็มิใช่ ฉันใด , ภวังคจิตแม้นั้น อันโทษมีอภิชฌาเป๐นต้น ท่ีจรมาประทุษร้ายแล้ว จะชื่อว่าจิตใหม่ก็มิใช่ จะช่ือว่าภวังคจิตตามเดิมนั่นแลก็มิใช่ ฉันน้ัน, เหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย จิตน้ีผุดผ่อง แต่มันเศร้าหมองแล้ว เหตุอุปกิเลสท้ังหลายซึ่งจรมาแล” ดังน้ี. ถา้ บคุ คลมใี จรา้ ยแลว้ อยา่ งนี้. บาทพระคาถาว่า ภาสติ วา กโรติ วา คือ เม่ือเขาพูด ย่อมพูดเฉพาะแต่วจี ทุจริต ๔ อย่าง, เม่ือทํา ย่อมทํา เฉพาะแต่กายทุจริต ๓ อย่าง, เม่ือไม่พูด เม่ือไม่ทํา เพราะความทตี่ ัวเปน๐ ผมู้ ีใจอันโทษมอี ภชิ ฌาเป๐นต้นประทษุ รา้ ยแลว้ นั้น ย่อมทํามโนทุจริต ๓ อย่างใหเ้ ต็ม. อกศุ ลกรรมบถ ๑๐ อย่างของเขา ย่อมถึงความเต็มท่ี ด้วยประการอย่าง นี้. บาทพระคาถาว่า ตโต น ทุกฺขมเนฺวติ ความว่า ทุกข์ย่อมตามบุคคลน้ันไป เพราะทุจริต ๓ อย่างนั้น คือว่า ทุกข์ท่ีเป๐นผลท้ังเป๐นไปในกาย ทั้งเป๐นไปในจิต โดย บรรยายนี้ว่า ทุกข์มีกายเป๐นที่ตั้งบ้าง ทุกข์มีจิตนอกน้ีเป๐นท่ีต้ังบ้าง ย่อมไปตามอัตภาพ นัน้ ผไู้ ปอยูใ่ นอบาย ๔ กด็ ี ในหมู่มนษุ ย์กด็ ี เพราะอานุภาพแห่งทุจริต. มคี ําถามวา่ “ทุกข์ย่อมติดตามบคุ คลนน้ั เหมือนอะไร?” มคี าํ แกว้ ่า เหมอื นลอ้ หมุนไปตามรอยเท้าของโคพลิพัทตัวเข็นไปอยู่, อธิบาย ว่า “เหมือนล้อหมุนไปตามรอยเท้าของโคพลิพัทอันเขาเทียมไว้ที่แอก นําแอกไปอยู่. เหมอื นอย่างวา่ มนั ลากไปวนั หนงึ่ ก็ดี สองวันกด็ ี สิบวันก็ดี กึ่งเดือนก็ดี ย่อมไม่อาจให้ล้อ หมุนกลับ คือไม่อาจละล้อไปได้, โดยที่แท้ เมื่อมันก้าวไปข้างหน้า แอกก็เบียดคอ [ของ มัน] เม่ือมันถอยหลังล้อก็ขูดเน้ือที่ขา, ล้อเบียดเบียนด้วยเหตุ ๒ ประการน้ี หมุนตาม รอยเท้าของมันไป ฉนั ใด, ทกุ ขท์ ัง้ ท่เี ป๐นไปทางกาย ทั้งท่เี ป๐นไปทางจิต อันมีทุจริตเป๐นมูล ยอ่ มตดิ ตามบุคคลผมู้ ใี จร้ายแลว้ ทําทจุ รติ ๓ ประการให้เต็มที่ต้ังอยู่ ในท่ีเขาไปแล้วน้ันๆ มนี รกเปน๐ ต้น ฉันนนั้ แล. ๖. สรปุ เป๐นส่วนท้ายเรอ่ื ง สว่ นใหญ่จะนําเสนอผลจากการแสดงพระคาถา น้นั ๆ บางเรือ่ งมีการแสดงความเช่ือมโยงปจ๎ จุบนั วตั ถุกับอดีตวตั ถุ ตวั อย่าง ๑

๒๐๖ ในกาลจบคาถา ภิกษุสามพันรูปได้บรรลุพระอรหัตพร้อมด้วยปฏิสัมภิทา ทง้ั หลาย. เทศนาไดเ้ ป๐นกถามีประโยชน์มีผลแมแ้ กบ่ ริษทั ผปู้ ระชุมกันแลว้ ดงั นี้แล. ตัวอย่าง ๒ ในเวลาจบคาถา ภิกษุผู้อยู่ต่างทิศน้ันได้เป๐นพระโสดาบัน แม้ชนเหล่าอื่นมี จํานวนมากก็บรรลุอริยผลทั้งหลายมีโสดาป๎ตติผลเป๐นต้น เทศนาได้มีประโยชน์แก่ มหาชนดังนี้แล ตัวอยา่ งท่ี ๓ ในเวลาจบคาถา พระเถระบรรรลุอรหัตตผลพร้อมด้วยปฏิสัมภิทาทั้งหลาย แล้ว ชมเชย สรรเสรญิ ถวายอภิวาทพระสรีระของพระศาสดา ซ่งึ มีวรรณะดุจทองคําแล้ว ดงั นี้ ตวั อย่าง บทปณามคาถา บาลี มหาโมหตโมนทฺเธ โลเก โลกนตฺ ทสสฺ นิ า. เยน สทธฺ มฺมปชโฺ ชโต ชาลโิ ต ชลติ ทิ ฺธนิ า. ตสฺส ปาเท นมสฺสิตฺวา สมฺพุทฺธสฺส สริ ีมโต. สทธฺ มฺมญจฺ สฺส ปูเชตวฺ า กตฺวา สงฺฆสสฺ จญฺชล.ึ ตํ ตํ การณมาคมฺม ธมฺมาธมฺเมสุ โกวิโท. สมฺปตฺตสทฺธมมฺ ปโท สตฺถา ธมฺมปทํ สภุ ํ. เทเสสิ กรณุ าเวค- สมุสฺสาหติ มานโส. ยํ เว เทวมนุสฺสานํ ปตี ิปาโมชฺชวฑฺฒนํ. ปรมฺปราภตา ตสฺส นปิ ุณา อตฺถวณณฺ นา. ยา ตมฺพปณณฺ ทิ ีปมหฺ ิ ทีปภาสาย สณฺฐติ า. น สาธยติ เสสานํ สตตฺ านํ หิตสมปฺ ทํ. อปฺเปว นาม สาเธยฺย สพพฺ โลกสสฺ สา หติ ํ. อิติ อาสสี มาเนน ทนฺเตน สมจารินา. กุมารกสฺสเปนาหํ เถเรน ถริ เจตสา. สทธฺ มฺมฏฐฺ ติ ิกาเมน สกฺกจฺจํ อภิยาจโิ ต. ตํ ภาสํ อตวิ ิตฺถาร- คตญฺจ วจนกกฺ มํ. ปหายาโรปยติ ฺวาน ตนฺตภิ าสํ มโนรม.ํ คาถานํ พฺยญชฺ นปทํ ยํ ตตถฺ น วภิ าวิตํ. เกวลํ ตํ วิภาเวตวฺ า เสสํ ตเมว อตถฺ โต. ภาสนตฺ เรน ภาสสิ สฺ ํ อาวหนโฺ ต วิภาวนิ ํ. มนโส ปีตปิ าโมชฺชํ อตถฺ ธมฺมูปนสิ สฺ ติ นฺติ

๒๐๗ แปล เมื่อโลกถูกปกคลุมด้วยความมืดคือโมหะใหญ่ พระพุทธเจ้าผู้ ทรงเหน็ ท่ีสุดแห่งโลก มีพระฤทธอ์ิ ันรุ่งเรือง ทรงยังประทปี คือพระสัทธรรมให้รุ่งโรจน์อยู่ ฯ ข้าพเจ้าขอนมัสการพระบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้ทรงมีพระสิริ บูชาพระธรรมของพระองค์ และกระทําอญั ชลแี ห่งพระสงฆ์ ฯ พระศาสดาทรงฉลาดในสภาวะท่ีเป๐นธรรมและมิใช่ธรรม ทรงมีบทคือพระ สทั ธรรมสมบูรณ์ ทรงอาศัยเหตนุ ัน้ แหง่ พระธรรมบทอันงดงามฯ พระองค์ทรงมีพระหทัย อันกาํ ลงั แหง่ พระกรณุ า คอยกระตุ้นเตือน ทรงแสดงพระธรรมบท ซึ่งเป๐นเหตุเจริญแห่ง ปีตแิ ละปราโมทย์ แก่เทวดาและมนษุ ยท์ ง้ั หลายไว้แล้วฯ อรรถกถาอันพรรณนาอรรถแห่งธรรมบทน้ัน ซึ่งละเอียดลึกซ้ึง อันพระ เถระท้งั หลายนําสบื ๆ กนั มา ดาํ รงอยู่แลว้ ในตมั พปณ๎ ณิทวีป โดยภาษาของชนชาวเกาะ ฯ อรรถกถาแห่งธรรมบทน้ัน ยังไม่ให้สําเร็จความถึงพร้อมแห่งประโยชน์แก่ สัตว์ที่เหลือ ทาํ อยา่ งไร จงึ ใหส้ ําเรจ็ ประโยชน์แกช่ าวโลกท้งั ปวงได้ ฯ ดังน้ัน ข้าพเจ้าผู้อัน พระกุมารกัสสปเถระ ผู้ฝึกตนดีแล้ว มีปกติประพฤติสม่ําเสมอ มีใจม่ันคงมุ่งหวังอยู่ฯ ประสงค์ความดาํ รงมน่ั แหง่ พระสัทธรรม อาราธนาโดยเคารพ จักละภาษานั้น และลําดับ แหง่ คําทพ่ี ิสดารเกนิ ไปฯ แล้วยกขึ้นสู่ภาษาอันไพเราะ บทพยัญชนะ แห่งคาถาท้ังหลาย ในอรรถกถาน้ัน ที่ท่านอธิบายไว้ ซ่ึงยังไม่แจ่มแจ้งฯ จะอธิบายบทพยัญชนะแห่งคาถา ทัง้ หลายนนั้ ให้แจม่ แจ้งอยา่ งสิน้ เชงิ แล้วกลา่ วอรรถกถาทเ่ี หลือนั้นนั่นแล โดยอรรถ ด้วย ภาษาอื่น นํามาซ่ึงปีติและปราโมทย์แห่งใจ อิงอาศัยอรรถและธรรมแก่นักปราชญ์ ทัง้ หลาย เร่อื งพระจกั ขุปาลเถระ จบ

๒๐๘ หมวด น นมกั การฎีกา นมักการฎีกา เป๐นคัมภีร์ท่ีอยู่ในกลุ่มบันทึกประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา เนือ้ หาไดบ้ ันทึกเรอ่ื งราวประวตั ศิ าสตรโ์ ดยเฉพาะพุทธประวตั หิ ลายประเด็น แสดงให้เห็น ถงึ ความรใู้ หม่ เชน่ การเผชญิ หน้าระหวา่ งพระโพธิสัตว์กับพญามาร และเสนามารท่ีตาม ราวี ณ โพธิมณฑล ซึ่งแสดงให้เห็นในลักษณะเป๐นรูปธรรม ต่อสู้กันจริงๆ ไม่ใช่เป๐น บุคลาธิษฐานอย่างเช่นคัมภีร์อื่น การท่ีพระโพธิสัตว์อ้างบารมีธรรมาใช้ในการต่อสู้กับ พญามารและเสนามา อีกประเดน็ ทีน่ ่าสนใจคอื ความแตกต่างด้านกายภาพระหว่างพระ เจ้าจักรพรรดิกับศาสดาเอกของโลก มหาบุรุษจะมีความแตกต่างกัน ๑ ลักษณะ ความ เชื่อเร่ืองยมกปาฏิหาริย์ท่ีสอดคล้องกับคัมภีร์อื่น การแสดงเหตุผลในข้อโต้แย้งระหว่าง ความเชอื่ ทีว่ ่า พระพุทธเจา้ มีเฉพาะในจักรวาลน้ี และมใี นจักรวาลอ่ืน คมั ภรี น์ มกั การฎีกา แสดงให้เหน็ วา่ พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ อุบัติเฉพาะในจักรวาลน้ีเท่าน้ัน และเร่ืองราวอ่ืนๆ อีก โดยเฉพาะการวเิ คราะห์ศพั ท์ธรรมะ แสดงให้เห็นความเปน๐ มาของรากศัพทท์ ีช่ ดั เจน๑๕๖ ผปู้ ระพันธน์ มักการฎีกา คือ พระสังฆมหานายกเถระช่ือว่า เรวตาภิบัณฑิต ธชสาสนวังสะ มหาธัมมราชครุ ุ อคั รมหาบณั ฑติ เรยี กสั้นๆ ว่า พระเรวตะ ผู้เป๐นประธาน ในฉัฏฐสังคายนาในประเทศพม่า และคัมภีร์น้ีก็แต่งท่ีมหิฏฐกวิหาร ประเทศพม่า พ.ศ. ๒๔๘๙ ในยุคของพระเจา้ มนั ดง แควน้ มณั ฑเลย์ รูปแบบการประพันธ์มีทั้งร้อยแก้ว และ ร้อยกรอง มีความเป๐นอลังการในการ โดยเฉพาะการเลือกใช้คําศัพท์ ท่ีใช้คําเหมือนกัน คาํ เดยี วกัน แต่มคี วามหมายแตกต่างกนั เชน่ สุคตํ สคุ ตํ สรณํ สรณํ เปน๐ ตน้ คัมภีร์เล่มน้ี จึงมีประโยชน์พิเศษสําหรับนักศึกษาบาลี ที่สําคัญ ได้เห็น แนวคดิ ความพยายาม และศรัทธาท่ีม่ันคงต่อพระพุทธศาสนาของผู้แต่ง ที่ใช้สติป๎ญญา สร้างผลงานอันก่อใหเ้ กิดประโยชน์แก่อนชุ นอยา่ งหาประมาณมไิ ด้ บทปณามคาถา สุคตนฺตยฺ าทิวณฺเณหิ ปสตถฺ ญฺจ สขุ ทฺททํ วนทฺ นตฺ านํ ชนิ ํ นตวฺ า ธมมฺ ํ สุทธฺ ํ คณตุ ตฺ มํ. นมกกฺ ารํ หิตตฺถหี ิ โปราณาจริเยหิ จ ลขิ ติ ฺวา ปิ ตํ ปญุ ฺ - พุทฺธิยา เตน วนฺทนิ .ํ ๑๕๖ พระมหาจรัญ อุตฺตมธมฺโม [บัวชูก้าน], “นมักการฎีกา: แปลและศึกษาวิเคราะห์”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา, [บัณฑิตวิทยาลัย: มหาจุฬาลง กรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๕๖], หนา้ ๒-๓.

๒๐๙ ตสฺสตถฺ วณฺณนํ กสฺสํ คมภฺ รี ตถฺ สุโพธนํ หมอ่ งปุ๊-นาเมน สนเฺ ตน สีลเุ ปเตน ยาจิโต. วณณฺ นโฺ ตปิ จ ตสฺสตฺถํ ตํ ตํ อฏฺฐกถาทีสุ วตุ ตฺ ญาเณน กสสฺ ามิ สทธฺ า สณุ าถ สาธโว. นมนํ นมตีติ วา นมตี เตน วา นโม ตสสฺ กาโรนฺติ ตาหตี ิ นมกฺกาโรติ วุจจฺ ต.ิ ตญฺจ พทุ ธฺ โฆสาจร-ิ เยน ปพุ พฺ สุตํ กตํ พทุ ฺธโฆสุปฺปตฺตยิ ญฺจ ตํ ตํ ปน กถาทิสุ. น ทฏิ ฺฐํ กตการณํ ตสมฺ า หติ ตถฺ ิเกหิ จ โปราณาจรเิ ยหี จ ฐปิตนฺติ มยา วตุ ฺตํ ตํ การณํ วญิ ฺญูหี จ วิจาเรตฺวา วชิ านติ นตฺ ิ. แปล ด้วยเหตุน้ัน นมักการที่บัณฑิตผู้ต้องการประโยชน์ และโบราณาจารย์ ทั้งหลาย เขียนเก็บไวแ้ ลว้ เพ่อื บุญและป๎ญญา แห่งชนทั้งหลาย ผู้กราบไหว้นมัสการพระ ชินเจ้า ผู้ท่ีบัณฑิตสรรเสริญแล้วด้วยคุณมีคําว่า สุคตํ เป๐นต้น ผู้ประทานความสุข และ พระธรรมอันบรสิ ทุ ธ์ิ มีคณุ อันอดุ ม ข้าพเจ้า อันสัตบุรุษนามว่า หม่องปุ๊ ผู้มีศีลอาราธนาแล้ว จักกระทําการ พรรณนาเน้ือความแห่งนมักการ อันใหเ้ กดิ ความฉลาดเน้ือความแหง่ คัมภรี ์ อนึ่งข้าพเจา้ แม้เมื่อพรรณนาเน้ือความแหง่ นมักการนั้น จักทําด้วยป๎ญญาที่ นักปราชญ์ท้ังหลาย กล่าวไว้แล้วในคัมภีร์อรรถกถาเป๐นต้นนั้นๆ ขอสาธุชนท้ังหลาย ผู้มี ศรทั ธา จงตั้งใจฟ๎งเถิด การนอบน้อม ผู้นอบน้อม เหตุนอบน้อม เคร่ืองนอบน้อม บัณฑิตเรียกว่า นมักการ อนึ่ง นมักการนั้น ที่พระพุทธโฆสาจารย์เป๐นต้นเคยฟ๎ง กระทําไว้แล้ว ใน พุทธโฆสอุปป๎ตติ และในกถาเป๐นต้นนั้นๆ เหตุท่ีท่านทําไว้ข้าพเจ้ายังไม่เห็น ฉะน้ัน ข้าพเจ้าจึงกล่าวว่า อันบัณฑิตทั้งหลาย ผู้ปรารถนาประโยชน์ และอันโบราณาจารย์ [ประพันธ์] เก็บไวแ้ ล้ว อนึ่งเหตุน้ัน วิญํชู นทั้งหลาย พจิ ารณาแลว้ ร้เู องเถดิ ๑๕๗ ๑๕๗ พระมหาจรญั อุตตฺ มธมโฺ ม [บวั ชกู า้ น], “นมักการฎกี า: แปลและศึกษาวิเคราะห์”, หน้า ๑๔-๑๕.

๒๑๐ เนอ้ื หาโดยย่อ๑๕๘ คาถาท่ี ๑-๒ กล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณว่า เป๐นผู้เสด็จไปดี ตรัสดี ประเสริฐ ละกุศลและอกุศล เว้นจากความตาย ทรงบรรลุอมตนิพพาน สงบ ไม่มีใคร เสมอเหมือน ให้สิ่งท่ีไม่มีอะไรเหมือน ทรงระลึกถึงสัตว์โลก ไม่มีกิเลส ทรงกระทําความ ไมม่ กี ิเลส ไม่มภี ยั ผู้นาํ ไปสู่ฐานะท่ีไมม่ ีภัย ผู้นาํ สัตว์ไปนิพพาน คาถาที่ ๓ กล่าวสรรเสริฐพระพุทธคุณว่า ผู้มีองค์แห่งพระวรกายท่ีงามตา แก่สรรพสตั ว์ ผมู้ พี ระสุรเสียงไพเราะ นา่ ฟง๎ ผู้ทรงไว้ซ่ึงหมู่แห่งคุณนับไม่ได้ ผู้มีกําลัง ๑๐ ประการ ผ้ไู ม่มใี ครเหมือน คาถาที่ ๔ กล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณว่า ผู้มีสมาธิ ผู้ทรงไว้ซึ่งพระ อรหัตผล ทรง ประสบทุกข์ทางกายทางใจในสังสารวัฏ เพราะโลก ข้าพเจ้าขอกราบไหว้ พระพุทธเจ้าพระองคน์ น้ั ผูท้ รงเปน๐ มงคลของเทวดามนุษย์ คาถาที่ ๕ กล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณว่า ผู้มีพระวรกายงดงามด้วยพระ ลกั ษณะ ๓๒ ประการ ผู้มีพระรัศมีรุ่งเรืองเปล่งออกจากพระวรกาย ผู้ได้หมู่แห่งคุณ คือ ป๎ญญา สมาธิ ศีล ผู้ เป๐นพระมุนี้ เกดิ ชาตสิ ุดท้าย คาถาที่ ๖ กล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณว่า ผู้เป๐นดุจควงตะวันส่องแสงอ่อน อุทัยขึ้น ในยามเชา้ ผู้ทรงวิลาศด้วยพระสิรทิ ั้งหลาย ท่ามกลางหมู่ภิกษุ ผู้มีพระพักตร์ดุจ ดวงจันทร์เตม็ ดวง ผ้ปู ราศจากตณั หา ผรู้ ูส้ ง่ิ ทงั้ ปวง ผเู้ ปน๐ จอมมุนี คาถาท่ี ๗ กล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณว่าพระสุคตเจ้า พระองค์ใด ทรง สมบูรณ์ดว้ ย พระบุญญาธิการ ทรงชนะมารพร้อมทั้งเสนา ณ ควงพระวรโพธิพฤกษ์ ได้ ตรัสรู้พระโพธิญาณใน เวลาอรุณขนึ้ ข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระสุคตเจา้ พระองค์นั้น ผู้ชนะ มาร ผ้อู ันมารระรานไมไ่ ด้ คาถาท่ี ๘ กล่าวสรรเสรญิ พระพุทธคุณวา่ ผถู้ อื พระขรรค์ คือพระญาณ ไม่มี สนิมคือ กิเลส สําหรับตัดกิเลส คือ ราคะเป๐นต้น ผู้ทรงถือโล่ชื่อว่าสติอย่างม่ันคง ผู้ทรง ประดับด้วย เคร่ืองประดับ คอื หมแู่ ห่งศีล พระองคน์ ั้น คาถาที่ ๙ กล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณว่า ผู้ทรงพระมหากรุณาคุณ ผู้ทรง กระทําสงิ่ ท่ี ทําไดย้ ากในทุกอตั ภาพ ผู้ล่วงพันห้วงมหรรณพ คือ ภพ ผู้ถึงภาวะอันเลิศ ผู้ ทรงเป๐นทีพ่ ่ึงของโลก ทัง้ ๓ ผ้มู สี มาธดิ ี ผู้ทรงไว้ซ่ึงประโยชน์เกื้อกูล ผู้ทรงมีสมันตจักขุ ผู้ มพี ระคุณกาํ หนดมไิ ด้ พระองคน์ ้นั ๑๕๘ พระมหาจรัญ อุตตฺ มธมฺโม [บวั ชูก้าน], “นมกั การฎกี า: แปลและศกึ ษาวิเคราะห์”, หน้า ๑๖-๒๑.

๒๑๑ คาถาที่ ๑๐ กล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณว่า ผู้ทรงเป๐นที่ประชุมแห่งพระ บารมี ผู้ ก่อสร้างพระบารมีในอัตภาพน้ันๆ ผู้ทรงเป๐นผู้ท่ีสัตบุรุษพ่ึงเข้าหา ผู้บรรลุพระ นิพพาน อันเปน๐ ทต่ี ้ังแห่งสขุ อันยังเหตแุ ห่งสขุ ให้เกดิ แก่เทวดาและมนษุ ยท์ ั้งหลาย ผู้ทรง เป๐นพระชนิ เจ้า ผู้ ประเสรฐิ สูงสดุ กว่าสตั ว์ทงั้ หลาย พระองค์นน้ั คาถาท่ี ๑๑ กล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณว่า นายเรือ ผู้ฉลาด คือ พระพทุ ธเจ้าพระองค์ ใด ทรงข้ึนสู่นาวา คอื อริยมรรคมอี งค์ ๘ ทรงใชพ้ ระหัตถ์ คือ พระ ญาณจบั พาย คือ พระวริ ยิ ะ นาํ พาเวไนยสตั วจ์ ํานวนมากขา้ มพ้นหว้ งมหรรณพ คือ ภพไป ดว้ ยเรอื คอื มรรคมอี งค์ ๘ น้นั ผู้ ทรงชว่ ยกาํ จดั ทกุ ข์ใหส้ รรพสตั ว์ คาถาที่ ๑๒ กล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณว่า ผู้บาํ เพญ็ บารมี ๓๐ ทัศมาอย่าง บริบูรณ์ ผตู้ รัสรู้สจั จะ ๔ ณ ควงพระวรโพธิพฤกษ์ ผู้ประเสริฐ ผู้สําเร็จพระฤทธ์ิ ผู้ทรงไว้ ซ่ึงประโยชนข์ องเทวดาและมนุษย์ ผู้สงบในภพ ๓ ผู้ชนะมาร พระองคน์ ั้น คาถาที่ ๑๓ กล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณว่า ผู้สมบูรณ์ด้วยพระลักษณะท่ี เกดิ ด้วยเดช แห่งบญุ บารมีนบั ร้อย ผู้ปราศจากธุลี คือ กิเลส ผู้ทรงมีพระสัพพัญํุตญาณ ดุจดังท้องนภากาศ ผู้ มีสมาธิไม่หวั่นไหวดังขุนเขาสิเนรุ ผู้ประกอบด้วยศีลอันเยือกเย็น เช่นดังดอกปทมุ ทเี่ กิดในํนา้ ผู้มี พระขนั ตคิ ุณดุจแผน่ ดิน ผทู้ รงชนะมาร คาถาท่ี ๑๔ กล่าวสรรเสรญิ พระพทุ ธคณุ ว่า ผูท้ รงมีพระสัพพัญญตญาณอัน ดี รุ่งเรือง ตุจดวงทิวากร ในกลางวัน ประทับน่ังบนศิลาอาสน์ อันยังความยินดีให้เกิด แสดงธรรมอันให้ นิพพานสุข แก่ทวยเทพทั้งหลาย ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระพุทธเจ้า ผู้ หาบุคคลเปรยี บเทยี บมิได้ พระองคน์ นั้ เป๐นนิตย์ คาถาที่ ๑๕ กล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณว่า ผู้ทรงเป๐นท่ีพึ่งของสรรพสัตว์ ทรงถึง พร้อมซึ่งความเป๐นผู้อันโลกทั้ง ๓ เทียบไม่ได้ ด้วยพระบาทบงกชมีพื้นอ่อนนุ่ม งดงาม ไมว่ กิ ล ไม่อากูล ขา้ พเจา้ ขอนอบน้อมพระพุทธเจ้าผู้อันโลกทั้งปวงบูชา ผู้ไม่มีใคร เปรียบเทยี บ พระองค์ คาถาที่ ๑๖ กล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณว่า ข้าพเจ้าขอกราบไหว้ พระพทุ ธเจ้า ผทู้ รง เปน๐ ทเ่ี ทวดาและมนุษยม์ าประชุม ผมู้ ีพระทัยต้งั ม่นั ผทู้ รงกําจัดความ มืด ด้วยแสงประทีป คือ อรหัตมรรคญาณ ผู้ปรารถนาประโยชน์แก่สัตว์โลก ผู้ทรงไว้ ประโยชน์แก่เทวดาและมนุษย์ ผู้ ทรงมหากรุณา ผู้เลิศ ผู้มีพระญาณกําหนดมิได้ พระองค์นนั้ คาถาที่ ๑๗ กล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณว่า ผู้ทรงพระคุณท้ังปวง เสด็จถึง ปาุ อสิ ปิ ตนะ อนั เป๐นท่อี ย่ขู องเหล่าฤาษี ผู้สํารวมแล้ว ทรงประกาศพระธรรมจักรอันเป๐น

๒๑๒ ธรรมตัดอกุศล ณ ปุา นั้น ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระจอมมุน้ีผู้ไม่มีใครเหมือน ผู้ที่เทวดา และมนษุ ย์พึ่งเข้าหา ผู้ควรแก่ การกราบไหวพ้ ระองค์นัน้ คาถาที่ ๑๘ กล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณว่า ขอนอบน้อมพระสุคตเจ้า ผู้มี สาวก บรสิ ุทธิ์แวดล้อม ผู้มีพระวรกายเรืองแสงด้วยพระรศั มีอนั งดงาม ผู้เป๐นท่ีรองรับหมู่ แหง่ พระสิริ คอื พระปญ๎ ญาและบุญญาธิการ ผู้คุ้มครองอินทรีย์ ผู้มีพระยุคลบาทงดงาม ด้วยวงจักรเปน๐ ดวง อาทิตย์ ดวงจันทร์ ผู้ท่ีเทวดาและมนษุ ย์จึงบูชา โดยเคารพ คาถาที่ ๑๙ กลา่ วสรรเสริญพระพุทธคุณว่า เสด็จข้ามห้วงํน้า คือสังสารวัฏ ซึ่งมี ระลอกคลื่นนอ้ ยใหญ่ คอื โทสะ โมหะ และตณั หา ดว้ ยแพคอื อรยิ มรรค ขา้ พเจ้าขอ นอบน้อมพระธรรมราชาพระองค์นน้ั ผู้ไมม่ ีภัย ผู้เสด็จถึงฝ๎๑งแล้ว ทรงเป๐นผู้คุ้มครองรักษา หมู่ประชา ทรง เปน๐ ทเ่ี ร้นหลบภัย ทรงเป๐นท่ีพึ่งไม่มีใครเหมือน ทรงเป๐นท่าเดียวท่ีนําไป พระนพิ พาน ทรงเป๐นที่ หมู่สัตว์พกั พงิ ผู้ทรงเปน๐ บุญเขต ทรงประทานบรมสุข คาถาที่ ๒๐ กลา่ วสรรเสริญพระพุทธคุณว่า ผู้ทรงบําเพ็ญประโยชน์เกื้อกูล ผู้อ่ืน ประทับนั่ง ณ บริเวณต้นกัณฑามพพฤกษ์ ได้ทรงกระทําปาฏิหาริย์ ซ่ึงพระมุน้ี ทัง้ หลายไมท่ รงละ เป๐นเปลวไฟและสายํน้าสลับกัน น่าอัศจรรย์ รวดเร็ว ดูงามตา กําจัด ข่ายแห่งทิฏฐิ ขา้ พเจ้าขอ กราบไหว้พระจอมมุน้ีพระองค์น้ัน ผู้ประเสริฐ ผู้ยังความยินดี ใหเ้ กิดอยา่ งยงิ่ ผู้มพี ระฤทธิคณุ คาถาท่ี ๒๑ กล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณว่า ควงอาทิตย์ คือ พระจอมมุนี ดวงใครดวง หน่ึง มีแสงอรุณ คือมหากรุณาอุทัยขึ้นมา มีปริมณฑล คือพระสัพพัญํุต ญาณกวา้ งขวาง ยังหมู่ ดอกกมล คอื หมเู่ วไนยสัตว์ ในสระบัว คือ ภพ ๓ ที่ใสสะอาด ให้ แยม้ บานคือ ตรัสรู้ ด้วยรศั มี คือพระธรรมอันประเสริฐ ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระอาทิตย์ คือพระจอมมนุ ดวงนน้ั ซ่งึ มีกิตติศพั ท์ แผ่ไปแลว้ ผ้เู ป๐นดวงตาดวงเดียวในโลกทั้ง ๓ ผู้อด กล้นั ส่งิ ที่ทนได้ยาก ผู้แสวงบญุ คาถาท่ี ๒๒ กล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณว่า ทรงมีพระหฤทัยไม่เก่ียวเกาะ เพราะความ รักพระโพธญิ าณจงึ ได้สละ บุตรและภรรยา อวยั วะ และชวี ิตให้แก่ผู้ต้องการ หลายภพชาตแิ ลว้ นอกจากน้ันยงั ไดบ้ าํ เพญ็ ทานบารมี ศลี บารมี เป๐นต้น ข้าพเจ้าขอนอบ นอ้ มพระชนิ เจ้าพระองค์นั้น ผู้เป๐นดวงประทีปควงเดียว ผู้เข้าถึงความเป๐นเลิศเพราะผล แหง่ บารมีเหลา่ น้ัน คาถาที่ ๒๓ กล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณว่า ผู้เป๐นเทพเหนือเทพไท้เทวา ผู้ ทรงไวซ้ ง่ึ อัตภาพสุดทา้ ย ผกู้ าํ จัดมารท่ีใครไมส่ ามารถกําจัดได้ ผ้สู อ่ งประทปี ใหห้ มู่ประชา ผ้บู รรลุพระ โพธิญาณเหนือโพธิพฤกษ์บัลลังก์ อันเป๐นสถานที่ชนะมาร และเป๐นสถานที่

๒๑๓ น่ายินดี ผู้แสดงธรรม อันประเสริฐแก่พรหม เทวดา และมนุษย์ผู้เข้ามาหา ผู้ละบาปได้ แลว้ ผู้ตดั กุศลขาดแล้ว ผู้เป๐นท่ี ยินดขี องมนุษยโลก และเทวโลก ผู้เปน๐ จอมมนุ ี คาถาท่ี ๒๔ กล่าวสรรเสริญพระพุทธคณุ ว่า ผมู้ พี ระวรกายดังต้นนิโครธ ผู้มี พระหัตถ์ และพระบาทออ่ นนมุ่ ผมู้ ีพระชงฆด์ งั พระชงฆแ์ ห่งพรหม ทรงมอี งคชาตซ่อนอยู่ ในฝึก ผู้เสด็จไป ดี มีพ้ืนฝุาพระยุคลบาท เรียบเสมอเป๐นอันดี ทรงพระโลมาอ่อนสีทอง ทรงกลา่ วดี ทรงมีพระ วรกายตรงดังกายพรหม ทรงมีพระเนตรสีนิล ทรงมีส้นพระยุคล บาทยาว ทรงมพี ระฉวลี ะเอียดไม่ หมน่ หมอง ทรงมเี ส้นประสาทรับร้รู สดี คาถาท่ี ๒๕ กล่าวสรรเสริญพระพทุ ธคุณว่า ทรงมีพระทนต์งาม ๔๐ ซ่ีถ้วน พระทนต์ ชี้เสมอกัน ทรงมีแผ่นพระปฤษฎางค์เต็มเรียบ ทรงมีพระยุคลบาทมีวงกงจักร ทรงมีพระทนต์ไม่ หา่ ง พระผ้ชู นะมารมขี ้อพระบาทนูนดังสังข์ เม่ือประทับยืนอยู่ ไม่ทรง ก้มลง ก็สามารถใช้พระ หัตถ์ท้ัง ๒ ลูบพระชนนุกา [เข่า] ได้ พระชินเจ้าทรงมีพระศอก ลม ทรงมขี นพระเนตรสดี งั ขนลกู โค ทรงพระวรกายส่วนบนทง้ั กายสีหะ คาถาที่ ๒๖ กล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณว่า พระสุคตเจ้า ทรงมีพระมังสะ บริบูรณใ์ นที่ ๗ แห่ง ทรงมีพระองคุลียาวเสมอกัน ทรงมีพระโลมา ขุมละ ๑ เส้น ทรงมี พระเขี้ยวขาวบริสุทธ์ิ ทรงมีพระตจะมีสีดังทอง ทรงมีพระโลมาสีนิลปลายชี้ข้ึน พระ สัมมาสัมพุทธเจา้ ทรงมีพระชวิ หา หนายาวอ่อน ทรงมีพระหนุดังคางสีหะ .... ทรงมีพระ นลาฏและพระเศียรสมบูรณ์ ข้าพเจ้าขอนอบ น้อมพระสุคตเจ้า ผู้สมบูรณ์ด้วยพระคุณ ดงั กล่าวมานี้ ผแู้ สวงหาคณุ ยิ่งใหญพ่ ระองค์นัน้ คาถาที่ ๒๗ เป๐นบทเชญิ ชวน โดยกล่าวว่า เสียงปุาวประกาศว่า “พุทโธ พุท โธ” หาฟ๎ง ได้ยากยิ่งนัก ความเป๐นพระพุทธเจ้า จะต้องกล่าวอะไร ดังนั้น สาธุชนผู้มี ป๎ญญาปรารถนา ประโยชนส์ ขุ มีประการต่างๆ ในโลก จงนอบน้อมพระพุทธเจ้าผู้น่าเข้า เฝาู ผู้ทรงไวซ้ ง่ึ ประโยชน์ ผู้ที่เทวดาและมนุษย์พากันบูชา ผู้ไม่มีภัย ผู้เป๐นทักขิไณย ผู้ยัง ความยินดใี หเ้ จรญิ แก่สตั วโลก ผมู้ ี กาํ ลงั ๑๐ ผ้ไู ม่มีใครเสมอเหมือนพระองคน์ ัน้ เป๐นนิตย์ เทอญ คาถาที่ ๒๘ เป๐นการตั้งความปรารถนาของผู้รจนาคัมภีร์ว่า ด้วยบุญที่เกิด จากการแสดง ความนอบนอ้ มนน้ั ขอให้ข้าพเจา้ นั้นจึงเป๐นผูม้ ีปญ๎ ญาสุขุม มีสติ อ่ิมเอิบใน สัมปรายภพ เป๐นคน ฉลาด เป๐นคนตรง มีสัมมาทิฏฐิป๎ญญา มีความเพียรไม่ย่อหย่อน เป๐นคนมีโภคสมบัติ เป๐นคน แบ่งป๎น เป๐นคนมีป๎ญญาแก่กล้า เป๐นคนกล้า เป๐นคนจิต มน่ั คง ประพฤตปิ ระโยชนต์ นและ ประโยชน์ส่วนรวม มีอายุยืน ไม่มีโรค มีบุญ มีวรรณะ งาม มยี ศ มพี ลงั ยิ่ง มีชอื่ เสียง มีความ อดทน

๒๑๔ คาถาท่ี ๒๙ ตั้งความปรารถนาต่อไปว่า ขอให้ตนเป๐นคนมีศรัทธา สมบูรณ์ ด้วยทรัพย์ สมบตั ิ สาํ หรับจะให้เป๐นทาน มีสิริอย่างยิ่ง คลายกําหนัดในป๎จจุบันชาติ เป๐น คนมยี างอาย มี กลั ยาณมติ ร ยนิ ดีย่งิ ในกศุ ลธรรม สามารถรกั ษาศลี ๕ ได้ เป๐นคนมักน้อย ไม่ข้ีโกรธ มีใจซ่ือตรง ย่ิง มีฤทธ์ิ มีคุณประมาณมิได้ เป๐นผู้ควรสรรเสริญ กล่าวปิยวาจา รูจ้ กั คุณของคนดี เปน๐ คนนับถอื พระพทุ ธศาสนา คาถาที่ ๓๐ กล่าวถึงอานิสงส์แห่งการสรรเสริญพุทธคุณว่า บัณฑิตท่านใด เม่อื ไดย้ นิ ดี เขาประกาศคณุ ลักษณะของพระนาถเจ้า ซึ่งประมาณมิได้ ด้วยประการฉะน้ี แลว้ ทรงจาํ คาถา ๑ คาถาในบรรดาคาถาทั้งหลายได้ คาถาที่ ๓๑ กล่าวถึงอานิสงส์เพิ่มเติมอีกว่า บัณฑิตท่านนั้น จะพ้นจาก อบาย ๔ จะเป๐น ผู้ยงั ประโยชน์ท้ัง ๒ ให้สําเร็จ จะเป๐นผู้กําจัดตาข่าย คือ อุป๎ทวะได้ จะ ได้รับประโยชน์สุข คาถาท่ี ๓๒-๓๓ กล่าวเพิ่มเติมอีกว่า จะเป๐นใหญ่ในเทวดาและมนุษย์ จะ เกิดเป๐นพระ เจ้าจักรพรรดิ เป๐นใหญ่ในทวีปทั้ง ๔ ในอัตภาพสุดท้าย จะเป๐นผู้มีความ ประพฤติดี ขึ้นสู่ยาน คือ ภาวนาท่ีทรงไว้ซ่ึงเศวตฉัตร คือ พระอรหัตผลน้ัน ไปถึงพระ นิพพาน แม้ในอตั ภาพนี้ ก็จะเปน๐ คนอายยุ ืน ไม่มโี รค คาถาที่ ๓๔ กล่าวเพิ่มเติมอีกว่า เป๐นผู้มีใจยินดีในภาวนา เป๐นผู้ท่ีชาวโลก ทงั้ ปวงบชู าแล้ว ประชาชนรักใคร่ เปน๐ ที่เจรญิ ใจของประชาชน จะตอ้ งกล่าวอะไร ในการ ทรงจําคาถาได้ทัง้ หมด การนาเสนอในนมกั การฎกี า คัมภีร์นมักการฎีกา ผู้แต่งนําเสนอเน้ือหาจากคัมภีร์นมักการ เป๐นคาถาๆ โดยนาํ มาวาง แล้วอธบิ ายไปทลี ะบาท ๆ เน้นเรอ่ื งไวยากรณเ์ ปน๐ หลัก ตัวอยา่ ง คาถาท่ี ๑ สุคตํ สุคตํ เสฏฺฐํ กุสลํ กุสลํ ชหํ อมตํ อมตํ สนตฺ ํ อสมํ อสมํ ททํฯ สรณํ สรณํ โลกํ อรณํ อรณํ กรํ อภยํ อภยํ ฐานํ นายกํ นายกํ นเมฯ แปล ขอถวายนมัสการพระสุคตพุทธเจ้า ผู้ตรัสดํารัสไม่ ผิดพลาด ผู้ประเสริฐ กําจัดท้ังกุศลและอกุศลเสียได้ ผู้เป็นอมตะ บรรลุพระ นิพพานอันอมตะ ทรงสงบระงับ หาบุคคลเสมอมิได้ เป็นพระผู้ประทานโล กุตตรธรรมท่ีไม่เสมอกับโกลิยธรรม ทรงเป็นท่ีพึ่งพิงของโลก และรู้แจ้งโลก

๒๑๕ ปราศจากกเิ ลสแลว้ ทัง้ เป็นผ้คู วามความปราศจากกเิ ลส ไมม่ ีภยั นํามวลประชา ส่สู ถานท่ีปลอดภัย ทรงเป็นโลกนายกฯ เมอ่ื วางคาถาในคัมภีรน์ มกั การแลว้ ท่านกเ็ ขียนคาํ อธิบายแทรกเป็น ตอนๆ ไป โดยการเลือกคําศัพท์หลักที่อยู่ในคาถานับตั้งแต่คําว่า สุคตํ, กุสลํ, อมตํ, สนฺตํ, อสมํ เป็นต้น ดังนี้๑๕๙ ตัวอย่าง อธบิ ายคาํ ว่า สุคตํ บาลี ปุน สุคตนฺติ สมฺมา คทตฺตา สุคโต. โส หิ สมฺมา คทติ ภาสตีติ สุคโตติ วุจฺจติ. สุปุพฺพคทธาตุ ภาสายํ วิยตฺติยํ วาจายํ วา. ต, ทสฺส โต. ฉสุ วาจาสุ ยตุ ฺตฏฐฺ าเน ยตุ ตฺ เมว ทฺววิ าจํ ภาสตตี ิ อตฺโถฯ แปล คําว่า สุคตํ อีกคําหนึ่งอีก คือ ทรงพระนามว่า สุคต เพราะตรัสโดยชอบ. จริงอยู่ บณั ฑติ ขนานนามพระองค์ว่า สุคต เพราะตรัสโดยชอบ. คท ธาตุ ในการกล่าว , หรือ ในการกล่าวคําปรากฏอรรถ ที่มี สุ เป๐นบทหน้า . ต ป๎จจัย. แปลง ท เป๐น ต. หมายความว่า ในวาจา คือ การกล่าว ๖ ประการ ย่อมตรัสเฉพาะวาจา ๒ ประการที่ สมควร ในฐานะท่สี มควร เทา่ นั้น. จากนนั้ ผรู้ จนาคมั ภรี ์ได้ยกกรณีตัวอย่างการใช้อรรถต่างๆ ที่อ้างถึงเหล่านั้น จากคัมภีร์พระไตรปฎิ กในอภัยราชกมุ ารสูตรแห่งมัชฌมิ นกิ าย มชั ฌมิ ป๎ณณาสก์ บาลี วุตตฺ ํหฺ ิ มชฌฺ มิ ปณฺณาสปาฬยิ ํ อภยราชกมุ ารสตุ ฺเต [๑] ราชกุมาร ยํ ตถาคโต ตํ วาจํ ชานาติ อภูตํ อตจฺฉํ อนตฺถสํ หติ .ํ สา จ ปเรสํ อปฺปยิ า อมนาปา. น ตํ ตถาคโต วาจํ ภาสติ. แปล ข้อนี้สมดังที่ตรัสไว้ในพระบาลีมัชฌิมป๎ณณาสก์ อภยราช กมุ ารสูตร วา่ ดูกรราชกุมาร ตถาคต ทราบวาจาใด ที่ไม่มีอยู่ ไม่แท้จริง ประกอบดว้ ยสิง่ ท่ไี ม่เป๐นประโยชน์. และวาจาน้ัน ไม่เป๐นท่ีรัก ไม่เป๐นที่น่าพอใจของชน เหล่าอ่นื , ตถาคต ก็จะไม่กล่าววาจานั้น. [๒] ยมฺปิ ตถาคโต วาจํ ชานาติ ภูตํ ตจฺฉํ อนตฺถสํหิตํ. สา จ ปเรสํ อปปฺ ยิ า อมนาปา. ตมปฺ ิ ตถาคโต วาจํ น ภาสติ. ๑๕๙ ชมรมธัมมปาลิสิกขา, “นมักการฎีกา อธิบายคําว่า สุคตํ ในคาถาท่ี ๑” [ออนไลน์], แหล่งท่ีมา: http://dhammapalisikkha.blogspot.com/๒๐๑๖/๐๕/blog-post_๑๖.html [๔ กันยายน ๒๕๖๒].

๒๑๖ แปล ตถาคต ทราบวาจาแม้ใด ที่มีอยู่ เป๐นจริง [แต่] ประกอบด้วย สิ่งที่ไม่เป๐นประโยชน์. และวาจาน้ัน ก็มิได้เป๐นที่รัก มิได้เป๐นที่น่าพอใจของชนเหล่าอ่ืน , ตถาคต กจ็ ะไม่กลา่ ววาจานน้ั . [๓] ยํฺจ โข ตถาคโต วาจํ ชานาติ ภตู ํ ตจฉฺ ํ อตฺถสํหิตํ, สา จ ปเรสํ อปปฺ ยิ า อมนาปา, ตตฺร กาลํํฺ ู ตถาคโต โหติ ตสฺสา วาจาย เวยยฺ ากรณาย. แปล แต่ตถาคตทราบวาจาใดแล มีอยู่ จริงแท้ ทั้งประกอบด้วย อัตถะ , และวาจานั้น มิได้เป๐นที่รัก ท่ีชอบใจ แก่ชนเหล่าอื่น, ในวาจานั้น ตถาคต ย่อม เป๐นกาลัญํู [ผทู้ ่ีรูจ้ ักกาลอนั สมควรกล่าว] เพือ่ การเปดิ เผยวาจานน้ั [๔] ยํ ตถาคโต วาจํ ชานาติ อภูตํ อตจฺฉํ อนตฺถสํหิตํ, สา จ ปเรสํ ปิยา มนาปา, น ตํ ตถาคโต วาจํ ภาสต.ิ แปล ตถาคตทราบวาจาใด อนั ไม่มี ไม่จริงแท้ ท้ังประกอบด้วยอนัต ถะ, และ วาจาน้ัน เปน๐ ทีร่ กั ท่ชี อบใจแกช่ นเหล่าอ่นื , ตถาคตจะไมก่ ล่าววาจานน้ั . [๕] ยมฺปิ ตถาคโต ชานาติ ภูตํ ตจฺฉํ อนตฺถสํหิตํ, สา จ ปเรสํ ปิยา มนาปา, ตมปฺ ิ ตถาคโต วาจํ น ภาสติ. แปล ตถาคตทราบแมว้ าจาใด ทมี่ ี ท่ีจรงิ แท้ [แต่] ประกอบด้วยอนัต ถะ, และวาจานั้น เป๐นที่รัก เป๐นท่ีชอบใจแก่ชนเหล่าอ่ืน, ตถาคต ก็จะไม่กล่าววาจาแม้ น้ัน. [๖] ยํจฺ โข ตถาคโต วาจํ ชานาติ ภูตํ ตจฉฺ ํ อตฺถสํหิตํ, สา จ ปเรสํ ปิยา มนาปา, ตตรฺ กาลํฺํู ตถาคโต โหติ ตสฺสา วาจาย เวยยฺ ากรณายาติ. แปล แต่ตถาคต ทราบวาจาใดแล ที่มี จริงแท้ ประกอบด้วยอัตถะ, และวาจานั้น เป๐นที่รัก เป๐นที่น่าชอบใจ แก่ชนเหล่าอื่น, ในข้อนั้น ตถาคต ย่อมเป๐น กาลัญํู [รกู้ าล] ทจี่ ะเปดิ เผย วาจานน้ั . เอตฺถ ปาฬิยํ ปเนสา สขุ คคฺ หณตถฺ ํ สงฺเขเปน เวทติ พฺพา. นักศกึ ษา พงึ ทราบวาจานั้น [ทีม่ า] ในพระบาลีนี้โดยสังเขป เพ่ือจับความได้ สะดวก. กถํ เหสา อภูตา อนตฺถสํหิตา อปฺปิยา วาจา จ, ภูตา อนตฺถสํหิตา อปฺปิยา วาจา จ, ภูตา อตฺถสํหิตา อปฺปิยา วาจา จ, อภูตา อนตฺถสํหิตา ปิยา วาจา จ, ภูตา อนตฺถสํหิตา ปิยา วาจา จ, ภตู า อตถฺ สํหิตา ปยิ า วาจาติ ฉพพฺ ิธา โหตีติ. ก็ วาจา ๖ ประการนี้ คือ ๑. ไมม่ อี ย่จู ริง ประกอบดว้ ยอนตั ถะ และไม่เปน๐ ทรี่ กั

๒๑๗ ๒. มอี ยู่จริง ประกอบด้วยอนตั ถะและไม่เปน๐ ที่รัก ๓. มอี ยจู่ รงิ ประกอบดว้ ยอัตถะ และไมเ่ ปน๐ ทร่ี ัก ๔. ไม่มีอยจู่ รงิ ประกอบดว้ ยอนัตถะ และเปน๐ ทร่ี ัก ๕. มจี ริง ประกอบดว้ ยอนตั ถะและเปน๐ ที่รกั ๖. มจี ริง ประกอบดว้ ยอัตถะ และเป๐นทีร่ กั เปน๐ อย่างไร ? ตตฺถ อโจรเํ ยว โจโร อยนฺติอาทิวเสน วตฺตพฺพวาจา ปฐมวาจา. โจรํเยว โจ โร อยนฺติอาทิวเสน วตฺตพฺพวาจา ทุตยิ วาจา นาม. ในวาจา ๖ ประการนน้ั วาจาอยา่ งที่ ๑ ได้แก่ วาจาที่พึงกล่าวโดยเก่ียวกับ นัยมอี าทวิ า่ [การต]ู่ คนท่ีมิไดเ้ ป๐นโจรนนั่ แหละวา่ คนนี้เปน๐ โจร. วาจาอย่างท่ี ๒ ได้แก่ วาจาทีพ่ งึ กลา่ วโดยเก่ยี วกบั นยั มีอาทิว่า [การชี้] คนที่ เป๐นโจรนน่ั แหละว่า คนน้ีเป๐นโจร. อกตปุํญฺ าย ทุคฺคโต ทุพฺพณฺโณ อปฺเปสกฺโข, อิธ ปน ฐตฺวาปิ ปุน ปุํฺญํ น กโรติ, ทตุ ิยจิตฺตวาเร กถํ จตูหิ อปาเยหิ มจุ จฺ สิ สฺ ตีติ เอวํ มหาชนสสฺ อตฺถปุเรกฺขาเรน ธมฺม ปุเรกขฺ าเรน อนุสาสนีปเุ รกฺขาเรน วตตฺ พฺพวาจา ตติยวาจา นาม. วาจาอย่างท่ี ๓ ไดแ้ ก่ วาจาทีพ่ งึ กลา่ วโดยมีอรรถ[ประโยชน์] เป๐นปเุ รกขาระ [ออกหน้า, หรอื กระทาํ ไวใ้ นเบ้อื งหน้า] โดยมีธรรม [เหตู] เป๐นปุเรกขาระ โดยมีการพร่ํา สอนเป๐น ปุเรกขาระ [หรือแปลอีกนัยหนึ่งว่า โดยมุ่งถึงประโยชน์, ธรรมและอนุสาสนี] แก่มหาชนอย่างน้วี ่า เพราะเขามิได้สร้างบุญไว้ จึงเป๐นผู้มีความเป๐นไปลําบาก ผิวพรรณ ทราม มีอํานาจน้อย, แม้ดํารงอยู่ในโลกนี้ แล้วก็ยังมิได้กระทําบุญอีก. แล้วในวาระจิต [อัตตภาพ] ที่ ๒ จกั พ้นจากอบาย ๔ไดอ้ ย่างไร ?. เอโก ธุตฺโต อาห “มยฺหํ โภ มาตุ มยิ กุจฺฉิคเต กปิฏฺฐผล โทหโฬ อโหส.ิ สา อญฺญํ กปฏิ ฺฐหารกํ อลภมานา มํเยว เปเสส.ิ อหํ คนฺตฺวา รุกฺขํ อภิรุหิตํฃ อสกฺโกนฺโต อตฺตนาว อตฺตานํ ปาเท คเหตฺ วา มุคฺครํ วิย รุกฺขสฺส อุปริ ขิปึ. อถ สาขโต สาขํ วิจรนฺโต ผลานิ คเหตฺวา โอตริํตุ อสกฺโกนฺโต ฆรํ คนฺตฺวา นิสฺเสณึ อาหริตฺวา โอ รุยฺห มาตุ สนฺติเก คนฺตฺวา ผลานิ มาตุยา อทาสึ ตานิ ปน มหนฺตานิ โหนตฺ ิ จาฏิปฺปมาณานิ. ตโต เม มาตรา เอกาสเน นิสินฺนาย สมสฏฺฐิ ผลานิ ขาทิตานตี ิ เอวมาทิวเสน วตตฺ พฺพวาจา จตตุ ฺถวาจา นาม. วาจาประเภทท่ี ๔ ได้แก่ วาจาที่พึงกล่าวโดยนัยมีอาทิว่า นักต้มตุ๋นผู้หน่ึง กลา่ วว่า “นี่แนะท่าน เม่ือเรายังอยู่ในท้องแม่ แม่ ได้แพ้ท้องอยากกินมะขวิด เมื่อยังหา คนอ่ืนไปเก็บมะขวิดไม่ได้ ท่านจึงได้ใช้ให้เรานั่นแหละไป. เราไปแล้ว แต่ ข้ึน ต้นไม้

๒๑๘ ไม่ได้ จงึ เอาตัวเองจับตัวเองที่เท้า ขว้างไปท่ียอดไม้ เหมือนกับขว้างไม้กระบอง. ทีนั้น เมื่อไต่จากกิ่งหน่ึงสู่อีกกิ่งหน่ึง เก็บลูกมะขวิดได้ แต่ะลงมา ไม่ได้ เลยกลับไปบ้าน เอา บันไดมา ถึงลงได้ ก็ไปหาแม่ ได้เอาผลมะขวิดมาให้แม่. และลูกมะขวิดน้ัน ใหญ่เท่าตุ่ม น้าํ . หลงั จากน้นั เรากบั แม่นั่งที่เดยี วกัน กนิ มะขวิดไปตั้ง ๖๐ ลูก. อามิสเหตุ จาฏกุ มฺยตาทวิ เสน นานปฺปการกํ ปเรสํ โถมนา วาจา เจว ราชกถํ โจรกถนตฺ ิอาทนิ ยปฺปวตฺตา ติรจฺฉานนกถา จ ปํจฺ มวาจา นาม. วาจาประเภทท่ี ๕ ไดแ้ ก่ วาจาที่ชมเชยผู้อ่ืนเป๐นประการต่าง ๆ โดยหวังจะ เยินยอเพราะอามิสเป๐นต้น และติรัจฉานกถา ท่ีเป๐นไปโดยนัยเป๐นต้นว่า ราชกถา [เรื่อง พระราชา] โจรกถา [เรื่องโจร] ดังนี้ อริยสจจฺ สนฺนิสสฺ ิตา ธมมฺ กถา ฉฏฺ มวาจา นาม. ตํ ปน วสฺสสตมฺปิ สุณนฺ ตา ปณฑฺ ติ า เนว ติตตฺ ึ คจฉฺ นตฺ ิ. วาจาประเภทที่ ๖ ไดแ้ ก่ ธรรมกถา ทอี่ ิงอาศัยอรยิ สจั . อนึ่ง บัณฑิตฟ๎งวาจา [ท่ี ๖] นัน้ แมต้ ้งั ๑๐๐ ปี กห็ าไดถ้ ึงความอมิ่ ไม.่ ตาสุ ปน ภควา ตตยิ ฉฏฐฺ มา ทฺวิวาจา เอว ภาสติ. ตสฺมา สปฺปุริเสหิ สาเยว ทวฺ วิ าจา วตฺตพฺพาต.ิ ในวาจา ๖ ประเภทน้ัน พระผู้มีพระภาค ตรัสเฉพาะวาจา ๒ ประเภท คือ ประเภทที่ ๓ และที่ ๖ เทา่ นัน้ . ดงั นั้น ท่านผู้เป๐นสัปบุรุษ ควรกล่าวแต่วาจา ๒ ประเภท น้นั แล. อยํ ตทฏฺฐกถายํ อาคโต สงฺเขปนโย. วิสุทฺธิมคฺคมหาฏีกายํ ปน สารตฺถ ทปี นีฏีกายํ ตทํญฺ ากาเรน วณฺณิโต. ตาสุ ปน โอโลเกตฺวา คเหตพพฺ นฺติ. นี้เป๐นนัยโดยสังเขปท่ีมาในอรรถกถาแห่งอภยราชกุมารสูตรนั้น. แต่ในวิ สุทธมิ รรคมหาฎกี าและสารตั ถทีปนฎี ีกา ทา่ นพรรณนาโดยอาการอย่างอื่นจากอรรถกถา นน้ั . นักศึกษา พึงตรวจดใู นคัมภรี ์ทัง้ สองนนั้ แล้วถือเอาเถดิ . อยํ ปเนตถฺ สงคฺ หคาถา โย ภตู มตถฺ สํหีตํ ปเรสมปปฺ ยิ า วาจํ ภูตมตฺถสหีตํจฺ ปเรสํ ปยิ วาจนตฺ ิ ทฺววิ าจํ ยตุ ตฺ ฏฺฐาเนว วทตตี ิ สคุ โตติ วจุ ฺจตี จ ทการสสฺ กตวฺ า ตการวิํฺํุนาติ ในคาํ ว่า สุคโต ผู้ตรัสดแี ลว้ นี้ จึงมสี งั คหคาถา [คาถารวมเพ่ือทอ่ งจาํ ]ว่า พระผู้มีพระภาคพระองค์ใด ย่อมกล่าววาจา ๒ อย่าง คือ วาจาท่ีมีจริง ประกอบดว้ ยประโยชน์ ไม่เป๐นที่รักของชนอื่น ๑, วาจาที่มีจริง ประกอบด้วยประโยชน์

๒๑๙ เป๐นท่ีรักของชนอื่น ๑ ในฐานะท่ีควร เท่าน้ัน เพราะเหตุน้ัน วิญํูชนจึงขนานพระนาม พระผู้มีพระภาคพระองค์น้ัน ว่า พระสุคต เพราะแปลง ท อักษรเป๐น ต อักษร ด้วย ประการนีแ้ ล. แม้ในคําอื่นๆ ก็ตั้งคําอธิบายเป๐นคําๆ ไป ซ่ึงทําให้ผู้อ่าน ทราบนัยแห่ง ความหมายของคําท่ียกข้นึ ไดล้ ะเอียด และลึกซึ้งย่งิ ข้ึน เนตตปิ กรณ์ เนตติปกรณ์ แปลตามศัพท์ว่า คัมภีร์แนะแนว คือแนวเข้าใจพระพุทธพจน์ นัน่ เอง แต่งในสมัยพทุ ธกาลโดยพระมหากัจจายนะ๑๖๐ ผู้เป๐นเลิศในการอธิบายความย่อ ใหพ้ สิ ดาร แต่นกั วิชาการตะวันตกเหน็ ว่าน่าจะเป๐นพระมหากัจจายนะรุ่นหลังที่พํานักใน สํานักกัจจายนะอันสืบทอดมาจากพระมหากัจจานะ เมืองอุชเชนี แคว้นอวันตี และอยู่ ในช่วงหลงั พุทธกาลจนถึงสมยั ก่อนยุคอรรถกถา ในราวปลายพทุ ธศตวรรษที่ ๙๑๖๑ จดุ มุ่งหมายของปกรณ์ ผรู้ จนามจี ุดประสงค์เพื่อเป๐นแนวทางในการทําความ เขา้ ใจพระพทุ ธพจน์ รูปศัพท์ท่านวิเคราะห์ไว้ ๓ นัย๑๖๒ ๑] นําเวไนยสัตว์ไปสู่อริยธรรม ๒] ใชน้ ําเวไนยชนไปสู่ทางแห่งโสดาป๎ตติมรรค และ ๓] เป๐นฐานะนําเวไนยชนไปสู่พระ นิพพาน โดยประมวลเน้ือหาสาระจากพระพุทธพจน์ แล้วนํามาเรยี บเรียงอย่างเป๐นระบบ ด้วยการจาํ แนกเปน๐ หาระ ๑๖, นยั ๕, และสาสนปฏ๎ ฐาน ๑๘ [๑] หาระ แปลว่า แนวทาง หมายถึง แนวทางในการอธิบายรูปศัพท์ในพระ พุทธพจน์ คําอธิบายรูปศัพท์น้ี สามารถใช้อธิบายเน้ือความของรูปศัพท์ด้วย เพราะ เนอื้ ความปรากฏอยู่ในรปู ศพั ท์ ทา่ นจาํ แนกไว้ ๑๖ ประการ ได้แก่ เทสนาหาร, วิจยหาร, ยตุ ติหาระ, ปทัฏฐานหาระ, ลักขณหาระ, จตุพยูหหาระ, อาวัฏฏหาระ, ปริวัตตนหาระ, ๑๖๐ ทา้ ยเล่มเนตติปกรณ์ขมวดท้ายไว้ว่า “เอตฺตาวตา สมตฺตา เนตฺติ ยา อายสมต มหากจฺ จายเนน ภาสิตา ภควตา อนุโมทิตา มูลสงฺคีติยํ สงฺคีตาติ ความว่า ด้วยคํามีประมาณเท่านี้ เนตติ [ปกรณ์] ท่านพระมหากัจจายนะได้ภาษิตไว้ พระผู้มีพระภาคทรงอนุโมทนาแล้ว อันพระสังคีติกา จารย์ สงั คายนาไวเ้ มื่อคราวสังคายนาคราวแรกแล จบบริบูรณ์” ดู เนตติปกรณ์ ฉบับแปลโดยมูลนิธิ ภูมพิ โล, หนา้ ๕๓๗. ๑๖๑ มลู นธิ ภิ มู ิพโลภิกขุ, ผูแ้ ปล. เนตติปกรณ์ บาลี-ไทย, [โครงการปริวรรตอักษรขอมและ อักษรโบราณท้องถ่ิน ชําระและแปลพระคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาเป๐นภาษาไทย, ๒๕๕๔], หน้า [๒๕] ๑๖๒ พระคนั ถสาราภิวงศ์, เนตติปกรณ์, [ลาํ ปาง: วดั ท่ามะโอ, ๒๕๕๐], หนา้ ๖.

๒๒๐ เววจนหาระ, ปญ๎ ญัติหาร, โอตรณหาระ, โสธนหาร, อธิษฐานหาระ, ปริกขารหาระ, และ สมาโรปนหาระ ตวั อย่างของการอธบิ ายตามหาระ ๑๖ [ก] เทศนาหาระ เทศนาหาระ แปลว่า แนวทางในการแสดงอัสสาเป๐นต้น จําแนกเป๐น ๖ ประเภท ดังนี้ ๑] อสั สาทะ มีความหมาย ๒ ประการ คือ ก. สภาวะนา่ ยินดี หมายถึง สุข โสมนัส และอิฏฐารมณ์ท่ีเป๐นสังขารใน ภมู ิ ๓ ข. สภาวะที่ทําให้เหล่าสัตว์ยินดี หมายถึง ตัณหา และวิป๎ลลาส อัน ไดแ้ ก่ สัญญาวปิ ๎ลลาส ทิฏฐิวปิ ๎ลลาส และจติ ตวิปล๎ ลาส ๒] โทษ หมายถึง ทุกข์ โทมนัส ที่มใี นภมู ิ ๓ ๓] นสิ สระ มีความหมาย ๒ ประการ คือ ก. สภาวะทาํ ให้สลัดออกจากทุกข์ หมายถึง อริยมรรค โพธิป๎กขยธรรม และอนุป๎สสนา ๔ อนั ไดแ้ ก่ กายานุป๎สสนา เวทนานุป๎สสนา จิตตานุป๎สสนา และธรรมา นุป๎สสนา ข.สภาวะอนั สลดั ออกจากทุกข์ หมายถึง พระนิพพาน ๔] จดุ มงุ่ หมาย หมายถึง ผลจากกาแสดงธรรมที่เกิดแก่ผู้ฟ๎งธรรม คือ สุตมย ป๎ญญา วสิ ุทธิ ต และสมบตั ใิ นภาพทั้งปวง ๕] อุบาย หมายถึง เหตุให้บรรลุอริยมรรค หมายถึง ปฏิปทาอันได้แก่ ศีล สมาธิ ป๎ญญา ท่ีควรบําเพญ็ เพอื่ การบรรลุอริยมรรค ๖] การชักชวน หมายถึง การเขื้อเชิญให้เวไนยชนละเว้นความช่ัว การทํา ความดี โดยกล่าวว่า เธอจงปฏิบัติชอบอย่างนี้ อย่าปฏิบัติผิด เช่น พระดํารัสว่า สุํฺญโต โลกํ อเวกฺขสฺส เธอจงเห็นโลกวา่ ว่างเปล่า [ข] วจิ ยหาระ การจําแนกคําถาม คาํ ตอบของพระพุทธพจน์ การอ้างสาธก และการจําแนก พระพุทธพจนโ์ ดยอัสสาทะ เป๐นต้น เรยี กว่า วจิ ยหาระ จําแนกเปน๐ ๑๑ ประการ ไดแ้ ก่ ๑] ปทวจิ ย การจําแนกบทโดยอรรถและศพั ท์ ๒] ปญั หาวจิ ย การจําแนกคาํ ถาม ๓] วิสัชชนาวิจย การจําแนกคําตอบ ๔] ปพุ พาปรวจิ ย การจําแนกข้อความกอ่ นและหลงั

๒๒๑ ๕] อัสสาทวิจย การจําแนกอัสสาทะ ๖] อาทีนววิจย การจาํ แนกโทษ ๗] นสิ สรณวจิ ย การจาํ แนกนสิ สรณะ ๘] ผลวิจย การจาํ แนกจุดม่งุ หมาย ๙] อปุ ายวจิ ย การจําแนกอบุ าย ๑๐] อาณตั ติวจิ ย การจําแนกการชกั ขวน ๑๑] อนุคีติวจิ ย การจําแนกโดยอา้ งพระพทุ ธพจน์ [๒] นัย แปลว่า วิธี หรือ หลักการนําไปสู่มรรคญาณ เป๐นหลักวิธีในการ อธิบายสภาวธรรมทส่ี าํ คัญในพระพุทธพจน์ อันมีอวิชชาเป๐นต้นที่เป๐นมูลบท โดยจําแนก ตามหลักอริยสจั ๔ ตามสมควร ทา่ นจําแนกเปน๐ ๕ ประการ ได้แก่ ๑] นนั ทิยาวฏั ฏนัย นัยที่เหมือนการเวียนของดอกกฤษณาท่ีเวียนจาก ดา้ นในไปดา้ นนอก โดยเวียนจากธรรมฝุายไปสธู่ รรมคลอ้ ยตาม นัยนีน้ าํ เสนอการประกอบเน้ือความของพระพุทธพจน์ฝุายสังกิเลสด้วย ตัณหาและ อวชิ ชา โดยจาํ แนกตามสจั จะ ๔ และการนําเน้ือความของพระพุทธพจน์ฝุาย โวทานด้วยสมถะ และวิป๎สสนา โดยจําแนกตามสจั จะ ๔ มกี ารจัดแบ่งบุคคลเป๐นคู่ๆ แล้ว อธบิ ายคุณลักษณะของ บุคคลแต่ละประเภท คู่แรก คือ บุคคลผู้มีทิฏฐิจริต คู่ท่ีสอง คือ บคุ คลผูม้ ีตณั หาจรติ อธิบายว่า ทิฏฐิจริตบุคคลชอบทรมานตนให้ลําบาก [อัตตกิลมถานุ โยค] ส่วนตัณหาจรติ บุคคลชอบ เพลิดเพลินในกามคุณ [กามสุขัลลิกานุโยค] คุณลักษณะ ท้ังสองอย่างน้ีล้วนเป๐นกิเลสหรือทุกข์ ของบุคคลแต่ละประเภท การแก้ป๎ญหาของฝุาย ตัณหาจริตบุคคล ต้องทําด้วยแนวทางสมถะ ส่วนการแก้ป๎ญหาของฝุายทิฏฐิจริตบุคคล ตอ้ งทาํ ดว้ ยแนวทางวปิ ส๎ สนา ๒] ตปิ กุ ขลนัย นัยทีง่ ามดว้ ยสว่ นทง้ั ๓ คอื โลภะ โทสะ และโมหะฝุาย สังกิเลส และงามด้วยอโลภะ อโทสะ และอโมหะ นยั นี้นําเสนอการประกอบเนื้อความของพระพุทธพจน์ฝุายเศร้าหมอง ด้วยอกุศลมูล ๓ อันได้แก่ โลภะ โทสะ และโมหะ โดยจําแนกตามสัจจะ ๔ และการ ประกอบเน้ือความของพระพุทธพจน์ฝาุ ยหมดจดดว้ ยกุศลมูล ๓ อนั ไดแ้ ก่ อโลภะ อโทสะ และอโมหะ โดยจําแนกตามสัจจะ ๔ มีการแบ่งบุคคลออกเป๐น ๓ ประเภท คือ อุคฆฏิตัญํู วิปจิตัญํู และเนยยะ ในแต่ละประเภทได้เน้นถึงเร่ืองอกุศลธรรมที่คน ประเภทนน้ั ควรขจดั ออกและกศุ ลธรรมท่ี พวกเขาควรเจริญให้มากขึ้น ๓] สหี วิกกฬี ติ นัย นยั ท่ีเหมอื นการยา่ งกรายของราชสหี ์],

๒๒๒ นัยนน้ี ําเสนอการประกอบเน้ือความของพระพุทธพจน์ฝุายเศร้าหมอง ด้วยสภุ สัญญา เป๐นต้น ๔ โดยจําแนกตามสัจจะ ๔ และการประกอบเนื้อความของพระ พทุ ธพจนฝ์ ุายหมดจด ดว้ ยอสุภสัญญาเป๐นตน้ ๔ โดยจําแนกตามสัจจะ ๔ ๔] ทิสาโลจนนัย นัยที่สอดส่องกุศลธรรมเป๐นต้นโดยความเป๐นหัวข้อ หลักแห่งนัย ๓ อยา่ งแรก นัยนี้ได้แบ่งธรรมะทั้งหมดออกเป๐น ๒ ฝุาย คือ ฝุายอกุศล และฝุาย กุศล ธรรมฝุาย อกุศลแผ่ขยายในวัฏฏะหรือโลก ธรรมะฝุายกุศลแผ่ขยายในวิวัฏฏหรือ นพิ พาน ต่อจากนั้น ได้นําเสนอแผนผังการแบ่งบุคคลออกเป๐น ๔ ประเภท คล้ายกับทิศ ๔ คือ บุคคลผู้มีราคจริต บุคคลผู้มีโทสจริต บุคคลผู้มีทิฏฐิจริตอย่างอ่อน บุคคลผู้มีทิฏฐิ จริตอย่างแรงกล้า แล้วจัดแบ่ง ธรรมอ่ืนลงในกลุ่มของบุคคลทั้ง ๔ ประเภทนี้ เช่น ใน เรอ่ื งอาหาร ๔ กพฬิการาหารจัดอยู่ ในกลุ่มบุคคลประเภทแรก ผัสสาหารจัดอยู่ในกลุ่ม บคุ คลประเภทท่ี ๒ มโนสัญเจตนาหาร จัดอยู่ในกลุ่มบุคคลประเภทท่ี ๓ วิญญาณาหาร จัดอยู่ในกล่มุ บคุ คลประเภทท่ี ๔ เป๐นตน้ เมอ่ื จดั อกุศลธรรมตามประเภทของบุคคลแล้ว ก็จัดกุศลธรรมตามกลุ่มบ้าง เช่น สติป๎ฏฐาน ๔ ฌาน ๔ พรหมวิหาร ๔ เป๐นต้น การ จัดแบ่งนี้ชว่ ยให้เขา้ ใจว่าอะไรคืออกุศลธรรมทค่ี น ประเภทน้ันๆ ต้องขจัดออก และอะไร คอื กศุ ลธรรมท่คี นประเภทน้นั ๆ ควรเจริญเพ่อื ให้ เหมาะสมกับอปุ นิสัย ๕] อังกุสนัย นัยท่ีเหมือนตาขอซึ่งเก่ียวธรรมมารวมกันไว้ในนัย ๓ อย่างแรก พระมหากจั จายนะกลา่ วถงึ นยั ทั้ง ๕ ไว้ในอุเทศของเนตติปกรณ์ แต่ใน คําอธิบาย โดยละเอียด ท่านแสดงนันทิยาวัฏฏนัยก่อน แล้วแสดงสีหวิกกีฟิตนัยท่ี ๓ ไว้ ก่อนติปกุ ขลนัย ท่ี ๒ เพื่อแสดงว่านัยท่ี ๓ ย่อมเกดิ จากนยั แรก และนัยที่ ๒ ย่อมเกิดจาก นัยท่ี ๓ โดยบุคคลาธิษฐาน กล่าวคือ ท่านจําแนกบุคคลสองจําพวกเป๐นผู้มีตัณหาจริต และผู้มีทิฏฐิจริต แล้วแสดง นันทิยาวัฏฏนัยโดยเน่ืองด้วยบุคคลเหล่านั้น หลังจากนั้น แสดงสีหวิกกีฟิตนัยด้วยการแบ่งบุคคลท้ังสองจําพวกโดยจําแนกตามปฏิปทา ต่อมาได้ แสดงติปุกขลนัยโดยแบ่งบุคคลผู้ต่างกัน ตามประเภทของปฏิปทา ๔ เหล่านั้นเป๐น ๓ จาํ พวก คือ อุคฆฏติ ญั ํู เปน๐ ต้น ตวั อยา่ งของการอธบิ ายตามนยั ๔ เหตุเกิดของนันทิยาวฏั ฏนัย บาลี

๒๒๓ ตตฺถ กตมํ นยสมุฏฺฐานํ, ปุพฺพา โกฏิ น ปํฺญายติ อวิชฺชาย จ ภวตณฺหา จฯ ตตฺถ อวชิ ชฺ า นีวรณํ สโํ ยชนํ อวชิ ฺชานีวรณา สตตฺ า อวิชฺชาสยํ ุตตฺ า อวิชฺชาปกฺเขน วิจรนฺติ, เต วจุ ฺจนฺติ ทฏิ ฺฐิจริตาติฯ ตณฺหาสํโยชน สตฺตา ตณฺหาสํยุตฺตา ตณฺหาปกฺเขน วิจรนฺติ, เต วุจฺจนฺติ ตณหฺ าจริตาตฯิ ทฏิ ฐฺ จิ รติ า อิโต พหิทฺธา ปพฺพชิตา อตฺตกิลมถานุโยคมนุยุตฺตา วิ หรนฺตฯิ ตณหฺ าจริตา อโิ ต พหทิ ธฺ า ปพฺพชิตา กาเมสุ กามสุขลฺลิกานุโยคมนุยุตฺตา วิหรนฺติ ฯ แปล ถามวา่ เหตุเกดิ แห่งนัยในเร่ืองน้ันคืออะไร ตอบว่า เบ้ืองต้นของอวิชชาและ ภวตัณหา [ความพอใจในภพ] ย่อมไม่ปรากฏในธรรมสองน้ัน เคร่ืองก้ัน [ความดี] คือ อวิชชา เครอ่ื งผกู [เหล่าสตั ว์] คือตัณหาฯ ชนท้งั หลายมีอวิชชาเป๐นเคร่ืองกั้น ถูกผูกไว้ใน อวชิ ชา ย่อมดําเนินไปด้วยอํานาจอวิชชา ชนเหล่านั้นได้ชื่อว่า ทิฏฐิจริตฯ ชนท้ังหลายมี ตัณหาเป๐นเคร่ืองผูก ถูกผูกไว้ในตัณหา ย่อมดําเนินไปด้วยอํานาจตัณหา ชนเหล่านั้นได้ ชื่อว่า ตัณหาจริตฯ ชนผู้มีทิฏฐิจริต บวชภายในนอกศาสนาน้ี มักขวนขวายในอัตตกิลม ถานุโยคอยู่ ส่วนชนผู้มีตัณหาจริต บวชภายนอกศาสนาน้ี มักขวนขวายกามสุขัลลิกานุ โยค อยู่๑๖๓ [๓] สาสนปฏั ฐาน แปลว่า สตู รแสดงคําสอน ทา่ นจาํ แนกความหมายตามนัย ๓ ประการ ได้แก่ สูตรแสดงความเป๐นไปโดยประการต่างๆ แห่งคําสอน, สูตรแสงธรรม ฝุายเศร้าหมองเป๐นต้นเป๐นที่ตั้งแห่งสิกขา ๓, และสูตรแสดงที่ไปแห่งคําสอน คือแสดง ธรรมฝุายเศร้าหมองเป๐นต้นและธรรมฝุายโลกิยะ เป๐นต้น อันทําให้เข้าใจหาระและนัย โดยพสิ ดารยง่ิ ข้ึน๑๖๔ สาสนป๎ฏฐาน ทา่ นจาํ แนกเป๐น ๑๖ ประการ ได้แก่ [๑] พระสูตรที่เป๐นไปใน ส่วนแห่งความเศร้าหมอง, [๒] พระสูตรที่เป๐นไปในส่วนแห่งวาสนา, [๓] พระสูตรที่ เป๐นไปในสว่ นแหง่ ความทาํ ลายกเิ ลส, [๔] พระสูตรที่เป๐นไปในสว่ นแห่งอเสกขะ, [๕] พระ สตู รทเ่ี ป๐นไปในส่วนแห่งความเศรา้ หมองและทเ่ี ปน๐ ไปในส่วนแห่งวาสนา, [๖] พระสูตรที่ เปน๐ ไปในสว่ นแหง่ ความเศร้าหมองและที่เป๐นไปในส่วนแห่งความทําลายกิเลส, [๗] พระ สตู รทีเ่ ป๐นไปในส่วนแห่งความเศรา้ หมองและทเ่ี ปน๐ ไปในสว่ นแห่งอเสกขะ, [๘] พระสูตร ท่เี ป๐นไปในสว่ นแหง่ ความเศรา้ หมอง ท่เี ป๐นไปในส่วนแหง่ ความทาํ ลายกเิ ลส และท่ีเป๐นไป ในส่วนแหง่ อเสกขะ, [๙] พระสตู รท่เี ป๐นไปในส่วนแห่งความเศร้าหมอง ที่เป๐นไปในส่วน ๑๖๓ พระคันถสาราภิวงศ,์ เนตตปิ กรณ์, หน้า ๔๐๗. ๑๖๔ พระคนั ถสาราภิวงศ,์ เนตตปิ กรณ์, หนา้ ๔๕๘.

๒๒๔ แห่งวาสนา และที่เป๐นไปในส่วนแห่งความทําลายกิเลส, [๑๐] พระสูตรทีเป๐นไปในส่วน แห่งวาสนา และที่เป๐นไปในส่วนแห่งความทําลายกิเลส, [๑๑] พระสูตรท่ีเป๐นไปในส่วน แห่งความเศร้าหมองเพราะตัณหา, [๑๒] พระสูตรท่ีเป๐นไปในส่วนแห่งความเศร้าหมอง เพราะทฏิ ฐ,ิ [๑๓] พระสูตรที่เป๐นไปในสว่ นแห่งความเศรา้ หมองเพราะทุจริต, [๑๔] พระ สูตรท่ีเป๐นไปในส่วนแห่งความผ่องแผ้วจากตัณหา, [๑๕] พระสูตรท่ีเป๐นไปในส่วนแห่ง ความผอ่ งแผว้ จากทิฏฐิ, และ [๑๖] พระสูตรทเี่ ปน๐ ไปในส่วนแหง่ ความผอ่ งแผ้วจากทจุ ริต ตวั อย่างการอธิบายตามสาสนปฏั ฐาน ๑๖ บาลี ตตถฺ สงฺกเิ ลโส ติวิโธ ตณฺหาสงฺกิเลโส ทิฏฺฐิสงฺกิเลโส ทุจฺจริตสงฺกิเลโสฯ ตตฺถ ตณฺหาสงฺกิเลโส สมเถน วิสชฺฌติ, โส สมโถ สมาธิกฺขนฺโธฯ ทิฏฐิสงฺกิเลโส วิปสฺสนาย วิ สุชฺฌติ, สา วิปสฺสนา ปํฺญากฺขนฺโธฯ ทุจฺจริตสงฺกิเลโส สุจฺจริเตน วิสุชฺฌติ, ตํ สุจฺจริตํ สีลขนฺโธฯ ตสฺส สีเล ปติฏฺฐิตสฺส ยทิ อาสตฺติ อุปฺปชฺชติ ภเวสุ, เอวํ สายํ สมถวิปสฺสนา ภาวนามยํ ปุํฺญกิริยาวตฺถุ ภวติ ตตฺรูปปตฺติยา สํวตฺตติฯ อิมานิ จตฺตาริ สุตฺตานิ, สา ธารณานิ กตานิ อฏฺฐ ภวนฺต,ิ ตานเิ ยว อฏฺฐ สตุ ตฺ านิ สาธารณานิ กตานิ โสฬส ภวนติ ิฯ แปล. ในบรรดาธรรมเหล่าน้ัน ความเศร้าหมองมี ๓ อย่างคือ ความเศร้าหมอง เพราะตณั หา ความเศรา้ หมองเพราะทิฐิ ความเศร้าหมองเพราะทุจริตฯ ในบรรดาความ เศร้าหมองเหล่านั้น ความเศร้าหมองเพราะตัณหา ย่อมบริสุทธิ์ได้ด้วยสมถะ, สมถะน้ัน เป๐นสมาธขิ นั ธ์ฯ ความเศรา้ หมองเพราะทิฐิย่อมบริสุทธ์ิได้ด้วยวิป๎สสนา วิป๎สสนานั้นเป๐น ป๎ญญาขันธฯ์ ความเศร้าหมองเพราะทุจริตย่อมบริสุทธ์ิได้ด้วยสุจริต, ความสุจริตนั้นเป๐น สีลขันธ์ฯ เมือ่ บุคคลนัน้ ต้ังอยู่ในศีลแล้ว ถ้าเกิดความปรารถนาอยู่ในภพท้ังหลาย, สมถะ และวิป๎สสนาน้ีเองของบุคคลนั้น จัดเป๐นบุญกิริยาวัตถุท่ีสําเร็จด้วยภาวนาอย่างน้ี ย่อม เปน๐ ไปเพื่อการเกดิ ในภพน้ันฯ พระสูตร ๔ เหล่านี้ กระให้ท่ัวไปมี ๘ พระสูตร, พระสูตร ๘ เหล่านัน้ นน่ั แหละกระทาํ ให้ทั่วไปจึงเปน๐ ๑๖ฯ๑๖๕ หลงั จากแสดงความเศรา้ งหมอง ๓ ประการ และช้ีทางออกแล้ว เนตติปกรณ์ ได้แสดงนัยแห่งพระสูตรตามสาสนป๎ฏฐาน ๑๖ ประการ นับตั้งแต่พระสูตรที่เป๐นไปใน สว่ นแหง่ ความเศร้าหมอง โดยยกพระบาลมี าแสดงเปน๐ อทุ าหรณ์ เช่น [๑] กามนธฺ า ชาลสํฺฉนฺนา ตณหฺ าฉทนฉาทติ า ๑๖๕ มูลนธิ ิภมู พิ โลภิกขุ, ผูแ้ ปล. เนตตปิ กรณ์ บาลี-ไทย, หน้า ๓๔๙-๓๕๐.

๒๒๕ ปมตฺตพนธฺ นา พทฺธา มจฉฺ าว กมุ นิ ามุเข ชรามรณมเนวนฺติ วจโฺ ฉ ขีรปโกว มาตรนตฺ ฯิ อทิ ํ สงกฺ เิ ลสภาคิยํ สุตติ ํ แปล. “สัตว์ทั้งหลาย ผู้มืดมนเพราะกาม ถูกตัณหา ซ่ึงเป๐นดุจข่าย ปกคลุมไว้แล้ว ถูกเครื่องมุงคือตัณหาปกปิดไว้แล้ว ถูกกิเลสมาร และเทวปตุ มารผกู พนั ไว้แล้ว ยอ่ มไปสู่ชราและมรณะ เหมือนปลาท่ี ปากไซ เหมอื นลูกโคที่ยงั ดม่ื นมไปตามแมโ่ คฉะนน้ั ”, นคี้ ือพระสตู รท่ี เป๐นไปในสว่ นแห่งความเศร้าหมอง๑๖๖ [๒] ฉนทฺ า โทสา ภยา โมหา โย ธมฺมํ อติวตฺตติ นหิ ียติ ตสฺส ยโส กาฬปกเฺ ขว จนฺทิมาติ อิทํ สงกฺ เิ ลสภาคยิ ํ สตุ ิตํ แปล บุคคลใดย่อมประพฤติล่วงะรรมเพราะรัก เพราะชัง เพราะ กลัว เพราะหลง ผู้น้ันย่อมเส่ือมยศ ดุจพระจันทร์ในดิถีกาฬป๎กษ์ [ข้างแรม] ฉะน้ัน, นี้คือพระสูตรท่ีเป๐นไปในส่วนแห่งความเศร้า หมอง๑๖๗ [๓] ผลํ เว กทลึ หนฺติ ผลํ เวฬุ ผลํ เวฬํ สกกฺ าโร กาปุริโส หนตฺ ิ คพโฺ ภ อสฺสตรึ ยถาติฯ อทิ ํ สงฺกเิ ลสภาคยิ ํ สตุ ตฺ ํฯ แปล สักการะย่อมฆ่าคนถ่อยเสีย เหมือนผลกล้วยฆ่าต้นกล้วย เหมือนขุยไผ่ฆ่าต้นไผ่ เหมือนดอกอ้อฆ่าต้นอ้อ เหมือนลูกม้าอัสดร ฆ่าแม่ม้าอัสดรฉะนั้น ดังน้ี, นี้เป๐นพระสูตรเป๐นไปในส่วนแห่ง สงั กิเลส ฯ [๔] ลทธฺ าน มานุสตตฺ ํ กิจจฺ ํ อกจิ ฺเจเมว จ สกุ ิจฺจํ เจว ปุํฺญานิ สํโยชนวปิ ปฺ หานํ วาตฯิ ๑๖๖ มลู นิธภิ ูมพิ โลภิกขุ, ผู้แปล. เนตตปิ กรณ์ บาลี-ไทย, หนา้ ๓๕๐. ๑๖๗ มลู นิธภิ ูมิพโลภิกข,ุ ผ้แู ปล. เนตติปกรณ์ บาลี-ไทย, หน้า ๓๕๒.

๒๒๖ สุกิจจฺ ํ เจว ปุํฺญานตี ิ วาสนาฯ สํโยชนวิปฺปหานํ วาติ นิพฺเพโธ ฯ ฯลฯ อิทํ วาสนาภาคิยํฺจ นิพฺเพภาคยิ ํฺจ สตุ ฺตํฯ แปล บุคคลได้ความเป๐นมนุษย์แล้ว ทํากิจ ๒ อย่างคือ กิจที่ควรทํา และกิจท่ีไม่ควรทํา บุญท้ังหลายหรือการละขาดซึ่งสังโยชน์ จัดเป๐น กิจท่ีควรทําฯ คําว่า “บุญเป๐นกิจท่ีควรทํา” เป๐นวาสนา, คําว่า “หรือการละขาดซึ่งสังโยชน์” เป๐นนิพเพธะ ดังน้ี, น้ีจัดเป๐นพระ สูตรท่เี ป๐นไปในส่วนแห่งวาสนา และเป๐นไปในสว่ นแห่งนพิ เพธะฯ อนงึ่ ปจ๎ จุบนั มีคาํ แปลทเี่ ป๐นภาษาไทยแล้ว ๕ ฉบับ คอื ๑. ฉบับแปลโดยมูลนิธิภูมิพโลภิกขุ จัดพิมพ์พุทธศักราช ๒๕๓๐ ฉบับนี้มี ภาษาต้นฉบบั ควบคู่กับคาํ แปล แต่ไมม่ ีคาํ อธบิ าย ๒. ฉบับแปลโดยอาจารยค์ ณุ ารกั ษ์ นพคุณ จดั พิมพพ์ ทุ ธศกั ราช ๒๕๔๓ ฉบับ นี้มีเพียงคําแปล ไม่มีบาลีต้นฉบับและคําอธิบาย คําแปลส่วนใหญ่ในฉบับน้ี แปลตาม นิสสยั พมา่ ฉบบั โมถิ ๓. ฉบบั แปลโดยอาจารยส์ มพร ศรีวราทิตย์ จัดพิมพพ์ ทุ ธศักราช ๒๕๔๕ ฉบับนมี้ ีเพยี งคาํ แปล ไมม่ บี าลีตน้ ฉบับและคําอธบิ าย ๔. ฉบับแปลโดยอาจารยจ์ าํ รญู ธรรมดา จัดพิมพ์พุทธศักราช ๒๕๔๖ ฉบับน้ี มีบาลแี ละคาํ อธบิ ายพอสมควร แตม่ ีลักษณะเปน๐ คําอธิบายในชั้นเรียน ซึ่งได้จากการถอด เทป อีกทงั้ มีเพียง ๑๖ หาระ เท่าน้นั ยังขาดนยั ๕ และสาสนป๎ฏฐาน ๑๖ ๕. ฉบบั แปลและจัดทาํ คาํ อธบิ ายโดยพระคันถสาราภิวงศ์ ซ่ึงตีพิมพ์เผยแพร่ ในคราวบําเพ็ญกุศลอทุ ศิ ถวายพระเทพกติ ติป๎ญญาคุณ [กิตตฺ วิ ฑุ โฺ ฒ ภิกขุ] ตีพิมพ์เผยแพร่ พ.ศ.๒๕๕๐

๒๒๗ หมวด ป ปปัญจสทู นี ปป๎ญจสูทนีอรรถกถา๑๖๘ ผู้รจนาคือพระพุทธโฆสาจารย์ เป๐นคัมภีร์อธิบาย ความพระไตรปิฎก มชั ฌมิ นิกาย อุปรปิ ๎ณณาสก์ ภาค ๑ อธิบายความต้ังแต่เทวทหวรรค จาํ นวน ๑๐ พระสูตร, อนปุ ทวรรค จํานวน ๑๐ พระสูตร, สญุ ญตวรรค จํานวน ๑๐ พระ สูตร, วิภังควรรค จํานวน ๑๒ พระสูตร, และสฬายตนวรรค จาํ นวน ๑๐ พระสูตร ภาค ๒ อธิบายความในโอปมวรรค จํานวน ๑๐ พระสูตร, มหายมกวรรค จํานวน ๑๐ พระสูตคร, จูฬยมกวรรค จํานวน ๑๐ พระสูตร วธิ กี ารอธบิ าย ทา่ นยกขอ้ ความในพระสตู รมาอธบิ ายขยายความ เพ่ือให้เกิด ความเขา้ ใจ หรือสรา้ งความเข้าใจขอ้ อรรถ หรอื ขอ้ ธรรม การอธิบายมีท้ังลักษณะอธิบาย ศัพท์ อธิบายข้อธรรม หรืออธิบายบริบทที่เป๐นสาระสําคัญเพ่ือความเข้าใจที่ถูกต้อง ตรงกัน บางครง้ั กใ็ ชส้ าธกโวหารเสริม เพราะขอ้ ความบางอย่าง ผู้ศึกษาอาจไม่เข้าใจว่ามี ความหมายว่าอย่างไร จาํ เปน๐ ตอ้ งอาศัยการอธบิ ายของพระอรรถกถา เป๐นแนวทาง หรือ เปน๐ คมู่ ือประกอบ ตวั อย่างท่ี ๑ การอธิบายศพั ท์ วลี ทงั้ ในรูปไขความ ใช้คําไวพจน์ วิเคราะห์ ศัพท์ เพ่ือให้ผู้อา่ นเข้าใจนยั ของศพั ท์ วลีน้ันๆ คําว่า อุทฺเทสวิภงฺค ได้แก่ อุทเทสและวิภังค์ อธิบายว่า มาติกาและการ จําแนก, คําว่า อปุ ปรกิ เฺ ขยยฺ ไดแ้ ก่ พงึ เทยี บเคยี ง พึงไตรตรอง พึงตรวจสอบ พึงกําหนด, คําวา่ พหิทธฺ า ได้แก่ อารมณ์ภายนอก, คําวา่ อวิกฺขิตฺต อวิสฏ ความว่า วิญญาณเมื่อต้ัง ม่นั ในอารมณ์ด้วยอาํ นาจในความติดใจ ช่ือว่าฟุูงไป ซ่านไป พระผู้มีพระภาคเม่ือจะทรง ปฏิเสธความฟงุู ซ่านน้ัน จึงตรัสอย่างนั้น, คําว่า อชฺฌตฺต อสณฺฐิต ความว่า ไม่ต้ังมั่นอยู่ ในอารมณ์ภายในด้วยอํานาจความติดใจ, คําว่า อานุปาทาย น ปริตสฺเสยฺย ความว่า วญิ ญาณนนั้ ไม่ตอ้ งสะดุ้งเพราะไม่ถือมัน่ ไมย่ ึดม่นั มคี าํ อธบิ ายว่า เปรียบเหมือนวิญญาณ ไม่ฟูุงไป ไมซ่ ่านไปในภายนอก ไม่ตั้งมั่นอยู่ในภายใน ไมส่ ะดุง้ เพราะไม่ยึดมน่ั ฉันใด ภิกษุ พึงพิจารณา ฉะนั้น คําว่า ชาติชรามรณทุกฺขสมุทยสมฺภโว ความว่า ไม่มีความบังเกิด แหง่ ชาติ ชรา มรณะ และทกุ ข์ทเ่ี หลือ ๑๖๘ พระพุทธโฆสาจารย์, ปปัญจสูทนี,[กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย, ๒๕๕๒], ๓๗๖ หนา้ .

๒๒๘ คาํ ว่า รูปนิมติ ฺตานุสารี มวี เิ คราะหว์ า่ วิญญาณ ช่ือวา่ ซา่ นไปตามนิมิตคือรูป เพราะตามระลึกถงึ คือแล่นไปตามนิมติ คอื รปู ๑๖๙ ตัวอย่างท่ี ๒ การอธิบายคําว่ามีวิมุตติ คือมีวิมุตติ ๕ ประการ แต่ก็ขยาย ความตอ่ วา่ วมิ ตุ ติแตล่ ะอยา่ งเปน๐ อยา่ งไร ในคํานีว้ ่า ทรงมีวิมุตตอิ ย่างน้ี [เอววํ มิ ตุ ฺตา] วิมุตตมิ ี ๕ ประการ คอื ๑. วกิ ขมั ภนวมิ ุตติ [ความหลดุ พน้ เพราะขม่ ไว้] ๒. ตทคั งวิมุตติ [ความหลดุ พ้นเพราะองคน์ ้ัน ๓. สมจุ เฉทวิมตุ ติ [ความหลดุ พน้ เพราะถอนขึ้นได้เดด็ ขาด] ๔. ปฏิปปสั สทั ธวิ ิมตุ ติ [ความหลดุ พน้ เพราะสงบระงับ] ๕. นิสสรณวมิ ตุ ติ [ความหลดุ พน้ เพราะสลดั ออก] บรรดาวิมุตติ ๕ ประการน้ัน สมาบัติ ๘ ถึงการนับว่า วิกขัมภนวิมุตติ เพราะพ้นจากนิวรณ์เป๐นต้นท่ีตนข่มไว้เอง อนุป๎สสนา ๗ มีอนิจจานุป๎สสนาเป๐นต้น ถึง การนบั ว่า ตทังควิมุตติ เพราะพ้นจากนจิ จสญั ญาเปน๐ ต้นที่ตนสละอง ด้วยอํานาจธรรมที่ เป๐นข้าศึกของมรรคนั้นๆ อริยมรรค ถึงการนับว่า สมุจเฉทวิมุตติ เพราะพ้นจากกิเลส ทัง้ หลายทต่ี นถอนข้นึ เอง สามัญญผล ถึงการนับวา่ ปฏิปปัสสัทธิวิมุตติ เพราะเกิดขึ้นใน ท่ีสุดแห่งการสงบระงับกิเลสทั้งหลายด้วยอานุภาพแห่งมรรค นิพพานถึงการนับว่า นสิ สรณวิมตุ ติ เพราะเปน๐ ทีส่ ลดั ออก ปราศจากและดาํ รงอยู่ ไกลจากกิเลสทั้งปวง ดังนั้น บัณฑิตพึงทราบอธิบายในคําอย่างนี้ว่า “ทรงมีวิมุตติอย่างนี้” ด้วยอํานาจวิมุตติ ๕ ประการนี้๑๗๐ ตัวอย่างท่ี ๓ การอธิบายความคําวา่ เทวทหะ โดยโยงถงึ บริบทของสถานที่ บรรดาคําเหล่าน้ัน คําว่า ช่ือว่าเทวทหะ ความว่า พระผู้มีพระภาคตรัส เรียกพระราชาทง้ั หลายวา่ เทพ ก็เทวทหนิคมนัน้ เจ้าศากยะท้ังหลายได้มีสระโบกขรณีที่ เป๐นมงคลน่าเล่ือมใส ซึ่งถึงพร้อมด้วยการรักษา สระโบกขรณีน้ันปรากฏว่าเทวทหะ เพราะเป๐นสระของเทพท้ังหลาย นิคมแม้นั้น ถึงการนับว่าเทวทหะเหมือนกัน เพราะ เปรยี บเทียบกับสระของเทพน้นั พระผู้มพี ระภาคทรงอาศัยนิคมน้ันประทับอยู่ ณ ลุมพินี วัน คาํ ว่า ท้ังหมดนัน้ เพราะเหตุแห่งกรรมที่ทาไว้ในชาติก่อน [สพฺพ ต ปุพฺพกตเหตุ] ไดแ้ ก่ เพราะกรรมทที่ ําไวใ้ นชาติก่อนเปน๐ ป๎จจัย ด้วยคํานี้ว่า ท้ังหมดน้ัน เพราะเหตุแห่ง ๑๖๙ ม.อปุ ริ.อ. [ไทย] ๑/๓๑๓/๒๖๑. ๑๗๐ ม.อุปร.ิ อ. [ไทย] ๑/๑๙๘/๑๖๖.

๒๒๙ กรรมที่ทาไว้ในชาติก่อน พระผู้มีพระภาคทรงแสดงว่า “พวกนิครนถ์คัดค้านการเสวย กรรมและการเสวยการกระทาํ ยอมรบั เฉพาะการเสวยวบิ ากอยา่ งเดียวเทา่ น้นั ” ด้วยคําน้ี วา่ ภิกษุทัง้ หลาย นิครนถท์ ัง้ หลายเป็นผมู้ วี าทะอย่งาน้ี [เอววาทิโน ภิกฺขเว นิคนฺถา] พระผมู้ พี ระภาคกําหนดแสดงดว้ ยพระดํารสั ที่พระองค์มิได้ทรงกําหนดแล้วตรัสไว้ในกาล ก่อน๑๗๑ ตวั อยา่ งท่ี ๔ การอธบิ ายความการให้ผลของกุศลกรรมโดยใชส้ าธกโวหาร ในกรรมที่ให้ผลเสร็จส้นิ แลว้ น้ัน มเี ร่อื งเหล่าน้ีเป๐นอทุ าหรณ์ ได้ยินว่า คนตก ยากชือ่ ปุณณะ อาศัยท่านสุมนเศรษฐีอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ วันหนึ่ง เมื่อมีการโฆษณาการ เล่นนักขัตฤกษใ์ นพระนคร เศรษฐจี ึงพูดกับนายปุณณะนนั้ ว่า “วันน้ี ถา้ เจ้าไถนา จะได้โค ๒ ตัวและไถ ๑ คนั เจา้ จะเล่นนกั ขตั ฤกษ์หรอื ไม่” นายปณุ ณะ: จะมปี ระโยชน์อะไรดว้ ยนกั ขัตฤกษ์แก่กระผม กระผมจะไถนา เศรษฐี : ถ้าอยา่ งนน้ั เจา้ จงพาโคทเี่ จา้ ต้องการไปไถนาเถิด นายปุณณะจึงไปไถนา ในวันน้ัน พระสารีบุตรเถระออกจากนิโรธสมาบัติ แล้ว ใคร่ครวญว่า “เราจะทําการสงเคราะห์ใคร” เห็นนายปุณณะแล้วจึงถือบาตรและ จวี รเดนิ ไปสู่ท่ีไถนาของเขา นายปุณณะหยุดไถนาแล้วถวายไม้ชาระฟ๎นและน้ําล้างหน้า แก่พระเถระ พระเถระจึงชําระร่างกาย นั่งตรวจดูบุคคลผู้จะนําภัตมา ในท่ีไม่ไกล นาย ปณุ ณะนน้ั ผู้ทํางานอยู่ ลําดบั นนั้ พระเถระได้เห็นภรรยาของเขากําลังนําภัตมา จึงแสดง ตนในระหวา่ งทางนน่ั เอง ภรรยาของนายปุณณะน้ันจึงใส่ภัตที่ตนนํามาเพ่ือสามีลงในบาตรของพระ เถระ กลับไปจัดภัตอื่นแล้วได้กลับไปตอนสาย นายปุณณะไถนาส้ินวาระหน่ึงแล้วจึงนั่ง พกั ฝุายภรรยานนั้ เดนิ ถือภตั มาแลว้ ไดพ้ ดู วา่ “คณุ พ่ี ฉันนําภัตมาให้ท่านต้ังแต่เช้าตรู่ แต่ ในระหว่างทางได้พบพระสารบี ุตรเถระ จึงถวายภัตนั้นแก่ท่าน เมื่อฉันกลับไป หุงภัตใหม่ จงึ สายไป อยา่ โกรธเลยคุณพี่” นายปุณณะพูดว่า “เธอทําดีแล้วน้องพ่ี พ่ีก็ได้ถวายไม้ชา ระฟน๎ และน้าํ ล้างหนา้ แก่พระเถระตอนเช้าตรู่เหมือนกัน เพราะการถวายของเราท้ังสอง นั่นเอง พระเถระได้ฉันบิณฑบาตรแล้ว วันน้ีพวกเราได้มีส่วนแห่งสมณธรรมท่ีพระเถระ บาํ เพญ็ ไว้” แล้วได้ทําจิตใหเ้ ล่อื มใส สถานทท่ี ี่นายปุณณะไถแล้ว คร้ังหนึ่ง ได้เป๐นทองคํา เทา่ น้ัน เขาทานอาหารแล้วมองดูพื้นท่ีที่ตนไถไว้ เห็นนาสว่างไสวอยู่จึงลุกข้ึนใช้ไม้ปฏัก เคาะ รู้วา่ เป๐นทองคํามีสสี ุก จึงคดิ วา่ “เรายงั ไมไ่ ด้กราบทูลพระราชาไม่อาจจะใช้สอยได้” ๑๗๑ ม.อุปร.ิ อ. [ไทย] ๑/๑/๑.

๒๓๐ จึงไปกราบทูลพระราชา พระราชาได้รับสั่งให้ราชบุรุษ ท้ังหลายนําเกวียนไปขนทองคํา ท้ังหมดนั้นมากองรวมไว้ที่พระลานหลวงแล้ว ตรัสถามว่า “ในพระนครน้ี ใครมีทองคํา เท่านีไ้ หม” เมอื่ ราชบุรุษกราบทูลวา่ ไมม่ ีใครเลย จงึ ได้พระราชทานตําแหน่งเศรษฐีแก่เขา นายปุณณะนนั้ ไดม้ ชี ื่อวา่ ปณุ ณเศรษฐี อีกเร่ืองหนึ่ง ในกรุงราชคฤห์นั้นเหมือนกันได้มีคนตกยากชื่อกาศวฬิยะอยู่ ภรรยา ของเขาได้ต้มข้าวต้มผสมผักดอง พระมหากัสสปเถระออกจากนิโรธสมาบัติแล้ว ราํ พงึ อยู่ ว่า “เราจะทําการสงเคราะห์ใคร” เห็นนาชกาฬวฬิยะแล้ว จึงไปยืนอยู่ท่ีประตู เรือน นางรบั บาตรแลว้ เทขา้ วต้มทั้งหมดลงในบาตรนั้นถวายแก่พระเถระ ฝุายพระเถระ ไปสู่วิหารแล้ว ได้น้อมเข้าไปถวายพระศาสดา พระศาสดาทรงรับพอเลี้ยงอัตภาพของ พระองค์ ข้าวต้มที่เหลือพอเล้ียงภิกษุ ๕๐๐ รูป แม้นายกาศวฬิยะก็ได้รับตําแหน่งน้ัน [แต่] เป๐นจูฬกเศรษฐี [เศรษฐีรอง] พระมหากัสสปเถระทูลถามวิบากของนายกาฬวฬิยะ กบั พระศาสดา พระศาสดาตรัสตอบว่า “จากวนั น้ีไป ๗ วัน เขาจะได้ฉัตรสําหรับเศรษฐี” นายกาฬวฬยิ ะได้ฟง๎ การตรัสตอบนนั้ จงึ ไปบอกภรรยา....๑๗๒ ตัวอย่างที่ ๕ การอธิบายพร้อมท้ังให้แนวทางในการสังเกตว่าผู้ใดได้บรรลุ ธรรม หรอื ยังไม่บรรลุธรรม ๖ ประการ๑๗๓ คําวา่ ท่านไดธ้ รรมอะไร [กตเมส ตว ธมฺมาน ลาภี] เป๐นการถามถึงธรรมที่ ได้แลว้ มีอธบิ ายวา่ ท่านได้ธรรมอะไร บรรดาธรรมมีปฐมมรรค เป๐นตน้ เพราะเหตุนั้น ในบดั นี้ แม้ถ้าภกิ ษุบางรูปพึงพยากรณ์การบรรลุอุตตริมนุสส ธรรม ใครๆ ไมค่ วรสักการะเธอดว้ ยเหตมุ ีประมาณเทา่ นเ้ี ลย แตเ่ พือ่ ความบริสทุ ธิ์ในฐานะ ๖ ประการนี้ ควรพดู กบั เธอว่า “ท่านบรรลุอะไร คือบรรลุฌานหรือว่าบรรลุบรรดาธรรม มีวิโมกข์เป๐นต้นอย่างใดอย่างหนึ่ง” จริงอยู่ ธรรมที่บุคคลบรรลุแล้วน้ัน ย่อมเป๐นธรรม ปรากฏแกบ่ คุ คลน้ัน ถา้ เขากลา่ วว่า “เราได้บรรลุฌานชื่อน้ี” จากนนั้ ชนเหล่าอ่ืนถามเขา ว่า “ท่านบรรลุอยา่ งไร” คือถามว่า “บรรดาไตรลักษณ์มีอนิจจลักษณะ เป๐นต้น ท่านทํา อะไรใหเ้ ป๐นธรุ ะแล้วบรรลุ อีกอย่างหน่งึ บรรดาอารมณ์ ๓๘ ประการ หรือธรรมต่างโดย รูปธรรม อรูปธรรม ธรรมภายในและธรรมภายนอก เป๐นตน้ ท่านยึดโดยทางอะไรแล้วจึง บรรลุ” เพราะวา่ การยึดยอ่ มเปน๐ ธรรมปรากฏแกเ่ ขา ๑๗๒ ม.อุปร.ิ อ. [ไทย] ๑/๗/๔-๕. ๑๗๓ ม.อุปร.ิ อ. [ไทย] ๑/๑๐๒/๘๗-๙๑.

๒๓๑ แต่ถ้าเขากล่าวว่า “ข้าพเจ้ามีการยึดช่ือนี้ ข้าพเจ้าบรรลุแล้วอย่างน้ี” จากน้ัน ชนเหล่าอื่นจึงถามเขาว่า “ท่านบรรลุเม่ือไร” คือถามว่า “ท่านบรรลุเวลาเช้า หรอื ในกาลอ่นื บรรดากาลมเี วลาเทีย่ ง เปน๐ ต้น กาลใดกาลหนงึ่ ” เพราะว่ากาลที่ตนบรรลุ ย่อมปรากฏแกช่ นทัง้ ปวง ถา้ เขากล่าววา่ “ข้าพเจา้ บรรลุในกาลช่ือโน้น” จากน้ันชนเหล่า อ่ืนจึงถามเขาว่า “ท่านบรรลุท่ีไหน” คือถามว่า “ท่านบรรลุเวลากลางวันหรือบรรดา เวลากลางคืน เป๐นต้น โอกาสใดโอกาสหนึ่ง” เพราะว่าโอกาสท่ีตนบรรลุย่อมปรากฏแก่ ชนทงั้ ปวง ถ้าเขากล่าวว่า “ข้าพเจ้าบรรลุในโอกาสช่ือโน้น” จากนั้น ชนเหล่าอื่นพึงถาม เขาว่า “ท่านละกิเลสอะไรได้แล้ว” คือถามว่า “ท่านละกิเลสท่ีปฐมมรรคฆ่าได้ หรือที่ ทตุ ยิ มรรคเปน๐ ตน้ ฆ่าได้ เพราะกเิ ลสทล่ี ะได้ด้วยมรรคทต่ี นบรรลแุ ล้วย่อมปรากฏแก่ชนท้ัง ปวง ถา้ เขากลา่ ววา่ “ขา้ พเจ้าละกิเลสเหลา่ นี้ไดแ้ ลว้ ” จากนน้ั ชนเหล่าอื่นจึงถาม เขาว่า “ท่านได้ธรรมอะไร” คือถามว่า “ท่านได้โสดาป๎ตติมรรค หรือบรรดามรรค มี สกทาคามมิ รรคเป๐นตน้ มรรคใดมรรคหน่ึง” เพราะวา่ ธรรมทต่ี นบรรลแุ ล้วยอ่ ม ปรากฏแก่ ชนทั้งปวง ถา้ เขากล่าวว่า “ขา้ พเจา้ ได้ธรรมช่อื นี้” ใครๆ ไม่ควรเชื่อคําของเขา แม้เพราะ คํามีประมาณเท่าน้ี เพราะว่าภิกษุทั้งหลายผู้เป๐นพหูสูตฉลาดในการเล่าเรียนและ สอบถาม ย่อมสามารถเพ่ือจะทําฐานะ ๖ ประการนี้ให้บริสุทธ์ิได้ แต่ภิกษุน้ีควรทํา อาคมนปฏปิ ทา [ปฏิปทาเป๐นเครื่องบรรลุข้ันต้น] ให้หมดจด ถ้าอาคมนปฏิปทา ไม่หมด จด ชนเหลา่ อ่ืนควรรกุ รานเธอว่า “ธรรมดาโลกตุ ตรธรรมท้งั หลายใครๆ จะไม่ ได้ด้วยการ ปฏบิ ตั ิน้ี” แต่ถ้าอาคมนปฏิปทาของภิกษุน้ันบริสุทธ์ิ เธอยอมปรากฎว่าเป๐นผู้ไม่ ประมาท ในสกิ ขา ๓ ขวนขวายในธรรมเปน๐ เคร่ืองตนื่ อยู่ ไม่ข้องอยู่ในป๎จจัย ๔ มีใจเสมอ ฝาุ มอื ในอากาสอยู่ส้ินกาลนาน การพยากรณ์ของภิกษุน้ันย่อมเทียบเคียงกันได้ ย่อมสม กันกับการปฏิบัติ คือเป๐นเช่นกับคําท่ีท่านกล่าวไว้ว่า “น้ําจากแม่น้ําคงคากับน้ําจาก แมน่ ํา้ ยมนุ ายอ่ มกลมกลืนกันได้ เข้ากันได้ แมฉ้ ันใด ข้อปฏิบตั ิท่ใี หถ้ ึงพระนิพพานท่ีพระผู้ มพี ระภาคพระองค์น้ันทรงบัญญัติไวด้ ีแล้วแก่สาวกท้ังหลาย พระนิพพานและ ข้อปฏิบัติ ย่อมเหมาะสมกัน ฉนั น้นั เหมอื นกัน” กแ็ ตว่ ่า ใครๆ ไม่ควรทําสักการะแม้ด้วยเหตมุ ีประมาณเทา่ น้ี ถามวา่ เพราะเหตุไร ตอบวา่ เพราะว่าการปฏบิ ตั ิแมข้ องปถุ ุชนบางคน เปน๐ เหมอื นการปฏิบัติของ พระขีณาสพก็มี เพราะฉะน้ัน ใครๆ จึงไม่ควรทําให้ภิกษุน้ันสะดุ้งโดยอุบายน้ัน ๆ

๒๓๒ ธรรมดา พระขีณาสพยอ่ มไมม่ ีความหวาดระแวงหรอื โลมชาติชูชั้น แม้เมื่อสายฟูาตกลงที่ กระหมอ่ ม แตป่ ุถชุ นย่อมมีแม้ดว้ ยเหตุเพียงเล็กน้อย ในข้อน้ัน มีเรื่องเหล่านี้เป๐นอุทาหรณ์ ได้ยินว่า พระทีฆภาณกอภัยเถระไม่ สามารถกําหนดจับภิกษุผู้ถือการเที่ยวบิณฑบาตเป๐นวัตรรูปหนึ่ง จึงได้ให้สัญญาแก่ภิกษุ หนุ่มไว้ ภกิ ษุหนุ่มรปู น้นั ไดด้ ํานํ้าลงไปท่ปี ระตูปากแม่นํ้าชื่อกัลยาณี จับเท้าภิกษุผู้ถือการ เท่ยี วบณิ ฑบาตเปน๐ วตั รน้นั ซงึ่ กําลงั สรงน้าํ อยู่ ภิกษผุ ู้ถอื การเที่ยวบณิ ฑบาตเปน๐ วัตรได้ ส่ง เสยี งดังด้วยเขา้ ใจว่าจระเข้ ในกาลนน้ั ชนท้งั หลายจึงรูจ้ ักทา่ นวา่ เป๐นปุถุชน แต่ในรัชกาล ของพระเจ้าจันทมุขติสสะ ในมหาวิหารมีพระสังฆเถระผู้มีอาสวะสิ้นแล้ว มีตาฝูาฟาง อาศัยอยู่ในวิหารน่ันเอง พระราชาทรงดําริว่า “จักจับพระเถระ” เม่ือภิกษุ ท้ังหลายไป ภกิ ขาจารแล้ว จงึ เสด็จเข้าไปหาอย่างเงียบๆ แล้วทรงจับเท้าเหมือนงูรัด พระเถระเป๐นผู้ ไม่หวั่นไหวเหมือนเสาหิน จึงถามว่า “ใครอยู่ท่ีน้ี” พระราชาตรัสว่า “ท่านผู้เจริญ ขา้ พเจา้ ช่ือตสิ สะ” พระเถระทูลถามว่า “มหาบพิตรตสิ สะ มหาบพิตรได้สูดดมกลิ่น หอม หรอื ไม่” ธรรมดาความหวาดกลัวของพระขีณาสพย่อมไม่มี ดังพรรณนามาฉะนี้ สว่ นบคุ คลบางคนถงึ เปน๐ ปถุ ุชนแตก่ ก็ ลา้ หาญเหลอื เกิน ไม่มีความหวาดกลัว ชนทง้ั หลายควรกาํ หนดจับเขาด้วยอารมณ์ที่น่ายินดี จริงอยู่ แม้พระเจ้าวสภะเมื่อจะจับ พระเถระรูปหนึ่ง จึงนิมนต์ให้นั่งในพระราชวังแล้วรับสั่งให้ขยําผลพุทราในสํานักของ พระองค์เท่าน้ัน พระมหาเถระน้ําลายสอ ตั้งแต่นั้นความเป๐นปุถุชนของพระเถระได้ ปรากฏแลว้ เพราะพระขีณาสพละความทะยานอยากในรสได้ดีแล้ว ไม่มีความใคร่ในรส แม้ที่เป๐นทิพย์ เหตุน้ัน ชนท้ังหลายควรจับด้วยอุบายเหล่านี้ ถ้าท่านเกิดความหวาด ระแวง โลมชาติชัน หรือความทะยานอยากในรส จึงควรนําออกไปโดยบอกว่า “ท่าน ไม่ใชพ่ ระอรหนั ต์\" แตถ่ ้าท่านไม่หวาดระแวง ไม่สะดุ้ง น่ังเฉยเหมือนราชสีห์ ไม่ทําความ ใคร่ให้เกิดแม้ในอารมณ์ท่ีเป๐นทิพย์ ภิกษุน้ีชื่อว่าสมบูรณ์ด้วยการพยากรณ์ ย่อมควรซึ่ง สักการะที่พระราชาและมหาอาํ มาตย์ของพระราชาเป๐นต้นส่งมาถวายโดยรอบ องค์ความรู้สาคัญในปปัญจสูทนี คัดมาพอเป๐นตัวอย่างพอสังเขปเฉพาะ จากภาคที่ ๒ ส่วนภาคท่ี ๑ ได้คัดมาเป๐นตัวอย่างในการอธิบายวิธีการอธิบายความ ในปปญ๎ จสูทนวี า่ ท่านอธิบายความอย่างไรบ้าง ๑. การเปรียบเทียบการเรียนปรยิ ตั ิ ๓ ประเภท๑๗๔ คาํ ว่า ผตู้ อ้ งการงพู ษิ [อคลทฺทตฺถิโก] ได้แก่ ผู้ต้องการอสรพิษ ก็คําว่า คทฺ โท เปน๐ ชอื่ ของงพู ิษ พษิ ของงูนั้นมพี อ คือมีบริบูรณ์ เพราะเหตุนั้น งูน้ันจึงช่ือว่ามีพิษพอ ๑๗๔ ม.อปุ ร.ิ อ. [ไทย] ๒/๒๓๙/๑๙.

๒๓๓ ตัว คําว่า ขนดหาง [โภเค] ได้แก่ สรีระ คําว่า ภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรบางพวกในธรรม วนิ ยั น้ี ย่อมเล่าเรียนธรรม ได้แก่ ยอ่ มเล่าเรยี นดว้ ยอํานาจนิตถรณปริยัติ แทจ้ รงิ ปริยตั ิมี ๓ ประการ คือ ๑. อลคทั ทปรยิ ัติ [การเล่าเรียนเปรียบดว้ ยงพิษ] ๒. นิตถรณปริยัติ [การเล่าเรียนมุ่งเพ่อื ออกจากวัฏฏะ] ๓. ภัณฑาคารกปริยตั ิ [การเลา่ เรียนประดุจขุนคลงั ] บรรดาปริยัติทั้ง ๓ นัน้ ภิกษใุ ดเลา่ เรยี นเพราะลาภสกั การะเป๐นเหตุ ด้วยคิด ว่า เราเรียนพระพุทธพจน์แล้วจักได้จีวรเป๐นต้น ด้วยอาการอย่างน้ี หรือชนทั้งหลายจัก รู้จักเราในท่ามกลางบริษัท ๔ ปริยัตินี้ของภิกษุนั้นชื่อว่าอลคัททปริยัติ เพราะเมื่อเธอ เรยี นเอาอยา่ งนี้ การไมเ่ รยี นพระพทุ ธพจนเ์ ลยแล้วนอนหลบั เสียยังดีกวา่ สว่ นภกิ ษใุ ดเลา่ เรียนดว้ ยหวงั ว่า เราคร้นั เรียนพทุ ธพจนแ์ ล้วจะบําเพ็ญศีลให้ บริบูรณ์ ในฐานะที่ศลี มาแล้ว ทําสมาธใิ ห้ไดท้ ่ีในฐานะที่สมาธิมาแลว้ เรม่ิ กําหนดวิป๎สสนา ในฐานะที่วิป๎สสนามาถึงแล้ว จักเจริญมรรคจักทําให้แจ้งผลในฐานะแห่งมรรคและผล มาแล้ว ปรยิ ตั นิ ัน้ ของภกิ ษนุ ั้นชื่อวา่ นิตฉรณปรยิ ัติ แตป่ ริยตั ิของพระขีณาสพ ชื่อว่าภัณฑาคารกปริยัติ แท้จริง ทุกขสัจท่ียังไม่ กําหนดรสู้ มุทยสัจทยี่ ังละไม่ได้ นิโรธสัจท่ียังไม่ได้เจริญ มรรคสัจท่ียังไม่ได้ทําให้แจ้ง ย่อม ไม่มแี กพ่ ระขณี าสพนนั้ เพราะท่านกําหนดรขู้ ันธ์ได้แล้ว ละกิเลสได้แล้ว เจริญมรรค แล้ว ทาํ ให้แจ้งผลแล้ว เพราะเหตุนั้น ท่านเม่ือเล่าเรียนพุทธพจน์ ย่อมเล่าเรียนเพื่อเป๐ ผู้ทรง แบบแผน รักษาประเพณี อนุรักษ์วงศ์เท่านั้น ปริยัติของพระขีณาสพนั้น ย่อมช่ือว่า ภัณฑาคารกปรยิ ตั ิ ดว้ ยประการฉะนี้ ๒. การเปรียบเทียบบุคคลกับดอกบวั ๔ เหล่า๑๗๕ คําวา่ ในกออบุ ล [อปุ ฺปลินิย] ไดแ้ ก่ ในสระอุบล แม้ในคํานอกจากน้ีก็นัยน้ี เหมือนกัน คําว่า จมอยู่ใต้น้ําและมีนํ้าหล่อเลี้ยงไว้ [อนฺโตนิมุคฺคโปสีนี] ได้แก่ ดอกบัวที่ จมอยู่ในนํ้าน่ันเอง ชื่อว่าอันน้ําหล่อเลี้ยงไว้ คําว่า อยู่พ้นนํ้า [อุทกํ อุจฺจุคฺคมฺม ติฏฺฐนฺติ] ได้แก่ ต้ังอยู่พ้นน้ํา บรรดาดอกบัวเหล่าน้ัน ดอกบัวเหล่าใดอยู่พ้นนํ้า ดอกบัวเหล่าน้ัน คอยสมั ผสั รศั มีดวงอาทติ ยอ์ ยูจ่ ะบานในวันน้ี ดอกบัวเหล่าใดอยเู่ สมอนํ้า ดอกบัวเหล่านั้น จะบานในวนั รุ่งข้นึ ดอกบัวเหลา่ ใดยังไมพ่ ้นนํา้ จมอยู่ใต้นํ้าและมีน้ําหล่อเล้ียงไว้ ดอกบัว เหล่านัน้ จะบานในวันท่ี ๓ ส่วนดอกบัวเหล่าอื่นใดที่อยู่ในสระ เป็นต้น ที่ยังไม่พ้นน้า ๑๗๕ ม.อุปริ.อ. [ไทย] ๒/๒๘๓/๑๑๙.

๒๓๔ และจักไม่บาน จักเป็นอาหารของปลาและเต่า ดอกบัวเหล่านั้น ท่านไม่ยกขึ้นสู่พระ บาลี แตท่ ่านก็แสดงไว้ว่า ควรนามาแสดงประกอบความได้ เหมอื นอย่างว่า ดอกบัวมี ๔ ชนิดเท่าน้ัน ฉันใด บุคคลก็มี ๔ จําพวก ฉันนั้น เหมือนกัน คือ ๑. อคุ ฆฏิตญั ญู [ผ้รู ูไ้ ดฉ้ ับพลัน] ๒. วิปัจจติ ัญญ [ผู้รู้ไดโ้ ดยฟง๎ อธบิ าย] ๓. เนยยะ [ผูพ้ อจะแนะนําไดบ้ า้ ง] ๔. ปทปรมะ [ผูเ้ ปน๐ บทปรมะ] บรรดาบุคคล ๔ จําพวกน้ัน บุคคลใดบรรลุธรรมพร้อมกับเวลาท่ีท่านยก หวั ข้อข้นึ แสดง บคุ คลนี้เรียกว่าผ้เู ป๐นอุคฆฏิตัญญ บุคคลใดเม่ือเขาอธิบายเน้ือความแห่ง ภาษิตโดยย่อให้พิสดาร จงึ บรรลธุ รรม บุคคลนเี้ รียกว่าผู้เป๐นวิปัจจิตัญญ บุคคลใด บรรลุ ธรรมโดยลําดับอย่างนี้ คือโดยการแสดง การถาม การมนสิการโดยแยบคาย การเสพ การคบ การเข้าไปนั่งใกล้กัลยาณมิตร บุคคลน้ีเรียกว่าผู้เป๐นเนยยะ บุคคลใด ฟ๎งก็มาก กล่าวก็มาก ทรงจาํ กม็ าก บอกสอนกม็ าก แต่ไม่ได้บรรลุธรรมในชาตินั้น บุคคลน้ีเรียกว่า ผเู้ ป๐นปทปรมะ ๓. แนวคิดเร่ือง ความถึงพร้อมด้วยพยญั ชนะ๑๗๖ ก็เทศนาของภิกษุใดประกอบด้วยพยัญชนะเด่ียวเป๐นต้น มีพยัญชนะบอด ทั้งหมด หรือมีพยัญชนะปิดท้ังหมด กดท้ังหมด เทศนาของภิกษุน้ันชื่อว่าอพยัญชนะ เพราะไมม่ คี วามบริสุทธ์ิด้วยพยญั ชนะ เหมือนภาษาของชาวมิลักขะมีเผ่าทมิฬ เผ่าคนปุา และคนเหลวไหล เปน๐ ต้น ส่วนพระผมู้ ีพระภาคทรงละเทศนาเช่นน้ัน ไม่ทรงลบหลู่ [แตะ ต้อง] พยญั ชนะ ๑๐ อย่างทก่ี ล่าวไว้อย่างนี้ คอื ความรู้เรอ่ื งพยญั ชนะมคี วามแตกต่างกัน ๑๐ อย่าง คอื ๑. สถิ ลิ ๒. ธนิต ๓. ทฆี ะ ๔. รัสสะ ๕. ลหุ ๖. ครุ ๗. นคิ คหิต ๑๗๖ ม.อุปร.ิ อ. [ไทย] ๒/๒๙๑/๑๔๙.

๒๓๕ ๘. สัมพันธะ ๙. ววัตถติ ะ ๑๐.วิมุตตะ ๔. แนวคิดเรื่อง ความไม่คลุกคลี โดยปกติ เม่ือพูดถึงการคลุกคลี ก็จะ เข้าใจเพียงว่า คือการไม่เก่ียวข้องด้วยหมู่คณะ แต่ในปป๎ญจสูทนี แสดงการไม่คลุกคลี จาํ แนกออก ๕ ลกั ษณะ คือ๑๗๗ ๑. สวนสงั สัคคะ การคลกุ คลีด้วยการฟง๎ ๒. ทสั สนสังสคั คะ การคลกุ คลดี ้วยการเห็น ๓. สมลุ ลปนสังสคั คะ การคลกุ คลดี ว้ ยการสนทนาปราศัย ๔. สมั โภคสังสคั คะ การคลกุ คลดี ้วยการอยู่รว่ ม ๕. กายสังสัคคะ การคลุกคลีทางกาย ปฐมสมโพธกิ ถา ปฐมสมโพธิกถา เป๐นคัมภีร์พรรณนาเร่ืองราวเก่ียวกับประวัติของ พระพทุ ธเจา้ เนอ้ื หาเป๐นการรวบรวมเร่ืองราวจจากพระไตรปิฎก อรรถกถา และปกรณ์ ตา่ งๆ มารวมไว้ เป๐นบันทึกเหตุการณ์สําคัญในพระพุทธศาสนานับตั้งแต่แรกเร่ิมประวัติ ความเป๐นมาของพระพุทธเจ้า กระทั่งถึงวันปรินิพพาน และเหตุการณ์หลังจากพุทธ ปรินิพพาน ท้งั ไดร้ ับความนิยมศึกษากันมาก เพราะเป๐นวรรณกรรมท่ีไพเราะใช้ภาษาได้ สละสลวย ทั้งแพร่หลายไม่เฉพาะในประเทศไทยเท่าน้ัน หากแต่ยังได้รับความนิยมใน ลาว พมา่ เขมร และมอญด้วย ถอื เป๐นวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนาท่ีมีประวตั กิ ารแต่ง มาหลายยุคสมัย นับตั้งแต่ล้านนา อยุธยา และรัตนโกสินทร์ เฉพาะที่ค้นพบในหอสมุด แห่งชาติ มีต้นฉบับอักษรขอม ๔ ฉบับ อักษรมอญ ๑ ฉบับและพบต้นฉบับอักษรขอมท่ี วดั พระเชตุพน ๑ ฉบบั รวมต้นฉบับตวั เขียนท้งั หมด ๖ ฉบบั ๑๗๘ ฉบับล้านนา แต่งขึ้นราวพุทธศตวรรษท่ี ๒๑-๒๒ ผู้แต่งคือพระสุวรรณรังสี เป๐นพระเถระชาวลา้ นนา มีเนื้อหาเริ่มเร่ืองต้งั แตพ่ ระโพธสิ ตั ว์จุตจิ ากสวรรค์ช้ันดุสิตจนถึง ตรัสรู้ และแสดงธัมมจักกัปปวัตนสูตรโปรดป๎ญจวัคคีย์ มีทั้งหมด ๙ ปริจเฉท ฉบับน้ี ๑๗๗ ม.อุปริ.อ. [ไทย] ๒/๒๕๒/๗๐. ๑๗๘ พระมหาสุรพล สิงคิรัตน์, “ปฐมสมโพธิ ปริจเฉทท่ี ๑-๗: การตรวจชําระและศึกษา วิเคราะห์”, วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบาลีสันสกฤต, (บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย, ๒๕๔๑), หนา้ ๘.

๒๓๖ คน้ พบทีว่ ดั ไหล่หนิ อาํ เภอเกาะคา จังหวดั ลําปาง มี ๒ ฉบบั ฉบบั แรกระบุว่าสร้างข้ึนเม่ือ พ.ศ.๒๑๑๗ จารดว้ ยอักษรธรรมล้านนา มี ๓ ผูก ฉบับที่ ๒ ระบุว่าสร้างเม่ือ พ.ศ.๒๑๓๕ จารด้วยอักษรธรรมล้านนา มี ๓ ผูก๑๗๙ ล่าสุดมีการสํารวจพบปฐมสมโพธิที่เป๐นภาษา บาลี ๒ ผูก ระบุเขียนข้ึนในปี พ.ศ.๒๐๑๓ สันนิษฐานว่ามาจากวัดศรีบุญเรืองท่าสอย อําเภอฮอด จงั หวัดเชียงใหม่๑๘๐ ฉบับอยุธยา มีจํานวน ๑ ฉบับ ถูกเก็บรักษาไว้ในหอพระมณเฑียรธรรม วัด พระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง จารสมัยราชกาลที่ ๑ พ.ศ.๒๓๓๑ เส้น จารอักษรขอม ภาษาบาลี มจี ํานวน ๑๗ ผูก ในคําปรารภระบุชัดเจนเป๐นฉบับที่รวบรวม มาจากคร้ังกรุงศรีอยุธยา เนื้อหาทั้งหมดมี ๑๗ ปริจเฉท สํานวนน้ีไม่พบผู้แต่ง แต่ สันนิษฐานว่าแต่งเพ่ิมเติมต่อจากฉบับล้านนา อาจเป๐นคนเดียว หรือหลายคนแต่งก็ เป๐นได้ ฉบับรตั นโกสินทร์ มี ๓ สํานวน สํานวนท่ี ๑ พบในหอสมุดแห่งชาติ ต้นฉบับ เป๐นตัวเขยี น ชื่อคัมภีร์ปฐมสมโพธิ วิตถาร จารด้วยอักษรขอม ภาษาบาลี มีจํานวน ๑๘ ผูก ข้อความและปริจเฉทตรงกับฉบับอยุธยา ต่างตรงที่มีเน้ือหาเพ่ิมข้ึนมา ๑ ปริจเฉท คือ วิวาหมงคล ส่วนท่ีเพ่ิมมาน้ี สันนิษฐานว่าเป๐นสํานวนของสมเด็จพระพนรัตน วัด พระเชตุพน๑๘๑ สํานวนที่ ๒ อยู่ในหอสมุดแห่งชาติ ชื่อคัมภีร์ปฐมสมโพธิ วิตถาร ภาษา บาลี อักษรขอม มจี ํานวน ๒๒ ผูก และมีปริจเฉทเพ่มิ มาภายหลงั อีก ๕ ปริจเฉท รวมเป๐น ๒๒ ปริจเฉท ส่วนที่เพ่ิมมานี้สันนิษฐานว่าเพ่ิมมาในระยะช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ และ อาจเป๐นผลงานของสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพนเช่นเดียวกัน๑๘๒ สํานวนที่ ๓ มี จาํ นวน ๓๐ ผกู จารด้วยภาษาบาลี อักษรขอม เป๐นฉบับท่ีปรับปรุงเพิ่มเติมต่อจากฉบับ ล้านนา อยุธยา และฉบับรัตนโกสินทร์ ๒ สํานวนแรก เพราะมีเนื้อหาบางส่วนตรงกับ ฉบับดังกล่าวข้างต้น สํานวนที่ ๓ น้ีมีท้ังหมด ๖ ฉบับ เป๐นสํานวนของสมเด็จพระมหา ๑๗๙ พระมหาสุรพล สิงคิรัตน์, ปฐมสมโพธิ ปริจเฉทที่ ๑-๗: การตรวจชาระและศึกษา วเิ คราะห์, หน้า ๑๙. ๑๘๐ เรอ่ื งเดยี วกนั , หน้า ๒๐. ๑๘๑ เรื่องเดียวกัน, หน้า ๒๖. ๑๘๒ เร่ืองเดยี วกนั , หนา้ ๒๘.

๒๓๗ สมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงนิพนธ์ขึ้นตามท่ีพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจา้ อยหู่ ัว รชั กาลท่ี ๓ ทรงอาราธนา เมื่อ พ.ศ.๒๓๘๗๑๘๓ เนื้อเร่ืองส่วนใหญ่ของปฐมสมโพธิกถาฉบับภาษาบาลี และปฐมสมโพธิกถา ฉบับภาษาไทย พระนิพนธ์ในสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส สอดคลอ้ งกับปฐมสมโพธิฉบับอื่นๆ เฉพาะรายละเอียดของเร่ือง และลําดับเร่ืองในตอน พระพุทธเจ้าผจญธิดามารในปริจเฉทมารวิชัยเท่าน้ันท่ีแตกต่างกันกับปฐมสมโพธิฉบับ อ่นื ๆ เพราะทรงชาํ ระใหต้ ้องตามเนอ้ื เรอ่ื งที่มมี าในพระบาลีและอรรถกถาภาษาบาลี๑๘๔ ฉบับท่ีใช้ในการอ้างอิงครั้งน้ี เป๐นฉบับพระนิพนธ์ในสมเด็จกรมพระปรมานุ ชิตชิโนรส ภาพรวมของเน้ือหาหนักไปในทางอิทธิฤทธ์ิปาฏิหาริย์ และบุคลาธิษฐาน รูปแบบการประพันธ์เป๐นลักษณะร้อยแก้ว (ความเรียง) ใช้ภาษาลสะสลวย เป๐นแบบ แผนงานวรรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในรุ่นต่อๆ มาได้เป๐นอย่างดี เพราะใช้โวหาร ช้ันสูง ก่อให้เกิดคุณค่าทางด้านวรรณศิลป์ คือมีความดีเด่นด้านเสียง คํา ความหมาย จนิ ตนาการ และอารมณ์ความรสู้ ึกตอ่ จติ ใจ ปฐมสมโพธิกถา มจี ํานวนทง้ั สน้ิ ๒๙ ปรจิ เฉท ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑. วิวาหมงคลปรวิ รรต การแตง่ งาน-กาํ เนิดศากยวงศ์ ๒. ดุสิตปรวิ รรต พรรณนาสวรรค์ช้ันดุสิต ๓. คพั ภานิขมนปรวิ รรต เจา้ ชายสิทธัตถะประสูติ ๔. ลักขณปริคาหก ปริวรรต เจ้าชายมลี ักษณะมหาบรุ ษุ ๕. ราชาภเิ ษกปริวรรต เจ้าชายสืบราชสมบตั ิ ๖. มหาภินิขมนปริวรรต เจ้าชายเสด็จออกบวช ๗. ทุกกรกริ ิยาปริวรรต บาํ เพ็ญเพียรเพอ่ื บรรลธุ รรม ๘. พุทธบูชาปริวรรต รบั การบชู าก่อนคืนตรัสรู้ ๙. มารวชิ ัยปริวรรต ทรงชนะมารทม่ี าก่อกวนการตรสั รู้ ๑๐. อภสิ มั โพธิปรวิ รรต การตรัสรูย้ ง่ิ ๑๘๓ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส, พระปฐมสมโพธิกถา, (คณะ สงฆ์วัดพระเชตุพนพิมพ์โดยเสด็จพระราชกุศล ในงานพระราชทานเพลิงศพ พล.ต.อ.พิชัย กุลละ วณิชย์ ๙ มีนาคม ๒๕๓๗), คํานาํ ๑๘๔ อนนั ต์ เหล่าเลศิ วรกลุ , “ปฐมสมโพธิกถาภาษาไทยฉบับสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรม พระปรมานุชิตชิโนรส: ความสัมพันธ์ด้านสารัตถะกับวรรณกรรมพุทธประวัติอื่น”, วิทยานิพนธ์ อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาภาษาไทย, (บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๖), บทคัดยอ่ .

๒๓๘ ดาวดงึ ส์ ๑๑. โพธสิ พั พญั ํปู ริวรรต เสวยวิมุติสขุ หลงั การตรสั รู้ ๑๒. พรหมชั เฌสนปริวรรต พรหมอาราธนาให้แสดงธรรม ๑๓. ธมั มจกั กปริวรรต การแแสดงปฐมเทศนา ๑๔. ยสบรรพชาปริวรรต บุตรเศรษฐพี รอ้ มสหายมาขอบวช ๑๕. อุรเุ วลคมนปริวรรต เจา้ ลัทธใิ หญ่แห่งลัทธบิ ูชาไฟบวช ๑๖. อคั รสาวกพรรพชาปรวิ รรต ทรงไดอ้ ัครสาวกซ้ายขวา ๑๗. กบลิ วตั ถคุ มนปรวิ รรต การเสดจ็ เยอื นมาตภุ มู ิเพอ่ื โปรดญาติ ๑๘. พมิ พาพลิ าปปรวิ รรต อดตี ราชเทวีเศร้าเสียพระทยั ๑๙. สกั กยบรรพชาปริวรรต ราชวงศ์ศากยะออกบวช ๒๐. เมตไตยพยากรณปรวิ รรต การเกดิ พระศรีอรยิ เมตไตรย ๒๑. พทุ ธปติ ินิพพานปริวรรต บิดาพระพทุ ธเจ้านพิ พาน ๒๒. ยมกปาฏิหารย์ปริวรรต ทรงแสดงปาฏิหาริย์และเสด็จขึ้น สู่สวรรค์ชั้น ๒๓. เทศนาปรวิ รรต เทศน์โปรดพุทธมารดาท่ดี าวดงึ ส์ ๒๔. เทโวโรหนปริวรรต เสด็จลงจากสวรรค์ชัน้ ดาวดึงส์ ๒๕. อคั รสาวกนพิ พานปริวรรต พระอัครสาวกนิพพาน ๒๖. มหานิพพานสูตรปรวิ รรต พระพุทธเจา้ ดับขนั ธปรนิ ิพพาน ๒๗. ธาตวุ ภิ ัชนปรวิ รรต การแบง่ พระบรมสารีริกธาตุ ๒๘. มารพนั ธปริวรรต กักขังมารมใิ หก้ อ่ กวนพธิ ีกรรม ๒๙. อนั ตรธานปรวิ รรต มูลเหตทุ ีท่ าํ ใหศ้ าสนาเส่อื ม ...\" ตวั อย่างสานวนวรรณกรรม ตัวอยา่ งท่ี ๑ วิวาหมงคลปริวรรต๑๘๕ จะไดร้ ับพระราชทานอรรถาธิบาย โดยพระบาลีในพระคัมภีร์ปฐมสมโพธิ มี คาถาประณามพระรัตนตรยั อยเู่ บอ้ื งต้นแลว้ แสดงเรอื่ งความตามลาํ ดับไปวา่ ดังได้รู้มาในต้นปฐมกัป สมเด็จพระบรมพระโพธิสัตว์ของเราทั้งหลาย เกิด เปน๐ พระเจ้ามหาสมมติเทวราชปฐมกษัตริย์ เสวยราชสมบัติเป๐นมหิสราธิปไตย ในสกล ชมพูทวปี นี้ มีพระราชโอรสทรงพระนามว่า โรชราช พระเจ้าโรชราชนั้น มีพระราชโอรส ๑๘๕ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส, พระปฐมสมโพธิกถา, หน้า ๑. เปน๐ ตน้ ไป

๒๓๙ ทรงรพระนามว่า วรโรชราช พระเจ้าวรโรชราชน้ัน มีพระราชโอรสทรงพระนามว่า กัลยาณราช พระเจ้ากัลยาณราชน้ัน มีพระราชโอรสทรงพระนามว่าวรกัลยาณราช พระ เจา้ วรกลั ยาณราชนน้ั มีพระราชโอรสทรงพระนามว่ามันธาตุราช พระเจ้ามันธาตุราช มี พระราชโอรสทรงพระนามว่า สกมันธาตุราช พระเจ้าสกมันธาตุราชนั้น มีพระราชโอรส ทรงพระนามว่า อุโบสถ พระเจ้าอุโบสถราชน้ัน มีพระราชโอรสทรงพระนามว่า วรราช พระเจ้าวรราชนน้ั มีพระราชโอรสทรงพระนามวา่ อุปวรราช พระเจ้าอปุ วรราชนน้ั มีพระ ราชโอรสทรงพระนามว่า มฆเทวราช ได้เสวยราชสมบัติสืบพระวงศ์เป๐นลําดับมาถึง ๑๑ พระองค์ด้วยกัน ....... ในกาลน้ัน พระสิริมหามายาราชเทวี มีมูลปณิธีกุศลได้ทรงบําเพ็ญมาแต่ ศาสนาพระพุทธวิปัสสีศาสดาจารย์ และในท่ีนี้แสดงเรื่องความพิสดารดุจในมหา เวสสนั ดรชาดก คร้ันจุติจากชาติเป๐นพระผุสดี ก็ข้ึนไปอุบัติบังเกิดในดุสิตเทวพิภพ แล้ว กลบั จตุ ลิ งมาถือปฏิสนธิในพระครรภ์แห่งอัครมเหสีพระเจ้าชนาธิปราช ผู้เสวยสมบัติใน เมอื งเทวทหนคร คร้ันถว้ นกาหนดทศมาสก็ประสูติจากพระครรภ์ บริบูรณ์ไปด้วยรูปสิริ โสภาคย์และจตุสัฏฐีอิตถีลักษณะพร้อมทุกประการ และพระคันถรจนาจารย์ จึงกล่าว พระคาถาสรรเสริญซ่ึงบุญสิริสมบัติว่า ตสฺสา ลกฺขณา วิสุทฺธา เป๐นอาทิ อรรถาธิบาย ความเป๐นสัมภาวนกถา พรรณนาพระรูปสิริวิลาสโดยพิสดาร มีทรงเบญจกัลยาณีเป๐น อาทิ ยังพระราชธิดาให้สถิตในปราสาทแก้ว แล้วให้หาพราหมณ์ทั้งหลายมาทานาย ลักษณะ และพราหมณาจารย์ผู้ถึงซึ่งฝ๑๎งแห่งไตรเพท ได้เห็นซึ่งพระราชทหรกุมารี จึง กลา่ วสรรเสริญด้วยพระคาถาว่า อโห สุรูปา เวสานลา ชลนฺตา เป๐นอาทิ อรรถาธิบาย ความก็เป็นสัมภาวนกถาโดยอเนกบรรยาย แล้วกราบทูลทานายว่า พระราชธิดานี้ทรง พระอุดมรูปสิริวิลาส จะปูนเปรียบเสมอสองน้ันมิได้มี ทรงซึ่งนารีลักษณะท้ัง ๖๔ พร้อมบริบูรณ์เป๐นเอกอัครรัตนกัญญาตั้งแต่อโธทิศาภาคอเวจีตราบเท่าถึงอุทธังคทิศ ภวัครพรหมเปน๐ ทส่ี ดุ มไิ ดม้ เี ทพยดามนษุ ย์นารีใดจะเปรียบปาน.... ราชา สมเดจ็ พระเจา้ สหี หนุราชทรงพระชราโรคาเบียดเบียนก็เสด็จทิวงคต สมเด็จพระราชโอรสและพระราชสุณิสา กับขัตติยประยูรคณามัจจามาตย์ท้ังปวง ก็ ประชุมกระทาํ การฌาปนกจิ ถวายพระเพลิงพระบรมศพ โดยอุฬาริกราชสักการบูชา สิริ สุทโฺ ธนโน สมเด็จพระเจ้าสิริสุทโธทนมหาราช ก็เสวยมไหศวริยราชถวัลยรัชสืบสันตติ วงศ์ดารงพิภพกรุงกบิลพัสด์ุ เสวยสิริสมบัติกับด้วยพระสิริมหามายาสุขุมาลชาติราช เทวีเป๐นบรมสุข วิวาหมงคลปริวรรต ปริเฉทท่ี ๑ จบ

๒๔๐ ตัวอย่างท่ี ๒ ดุสติ ปริวรรต๑๘๖ สมเด็จพระผู้มีพระภาค ทรงพระมหากรุณาแก่สัตว์โลก ปรารถนาจะรื้อสัตว์ ให้พ้นจากห้วงมหรรณพสงสาร และละเสียซ่ึงจักรพรรดิราชสมบัติอันจะมาถึงใน ๗ วัน มไิ ดท้ รงพระอาลัยดุจก้อนเขฬะอันข้องอยู่ในปลายพระชิวหา พระหฤทัยปรารถนาจะ ถือเอาซ่ึงผล คือพระสัพพัญญุตญาณในไม้กัลปพฤกษ์ คือพระสมดึงสบารมีมีดอกอัน บานคอื เบญจมหาบรจิ าค แลตง้ั อยูเ่ หนอื ภมู ภิ าคกล่าวคอื ไตรพิธสมบตั ิท้ังสาม..... บัดนี้ จะรับพระราชทานแทรกความเข้าใจให้พิสดาร ตามบาลีในคัมภีร์ชิน มหานิทานวา่ สมเด็จพระผู้ทรงพระภาคแห่งเราได้พยากรณ์ในสํานักพระสัพพัญํูพุทธ เจ้าทั้ง ๒๔ พระองค์ มีพระพุทธทีป๎งกรเป็นต้น จนพระพุทธกัสสปเป็นปริโยสาน และ ทรงก่อสร้างกฤษฎาภินิหารมาได้ซึ่งอานิสงส์เป๐นอันมาก จึงมีคําปุจฉาว่า อานิสงส์แห่ง องค์พระบรมโพธิสัตว์น้ันเป๐นดังฤา? วิสัชชนาโดยพระคาถาว่า เอว สพฺพงคสมฺปนฺนา เป๐นอาทิ แปลเน้ือความวา่ นรชาติท้ังหลายบริบูรณ์ด้วยบารมีทั้งปวง เที่ยงท่ีจะสําเร็จแก่ พระโพธิญาณ แลสังสรณาการไปในสังสังสารวัฏนับด้วย ๑๐๐ โกฏิเป๐นอันมาก ได้ซ่ึง อานิสงส์ คือเม่ือเกิดเป๐นมนุษย์ไม่เป๐นคนจักษุบอดแต่กําเนิด ๑ ไม่เป๐นคนหนวกแต่ กาํ เนิด ๑ ไม่เป๐นคนบา้ ๑ ไมเ่ ป๐นคนใบ้ ๑ ไม่เป๐นคนเปลี้ย ๑ ไม่เกิดในมิลิกขประเทศ ๑ ไม่เกดิ ในท้องทาสี ๑ ไม่เปน๐ นิยตมจิ ฉาทิฐิ ๑ เพศไม่กลบั เปน๐ สตรี ๑ ไม่ทําอนันตริยกรรม หา้ ๑ ไม่เปน๐ โรคเรือ้ น ๑ เม่อื เกิดในกําเนิดแห่งสัตว์เดรัจฉานกายไม่เล็กกว่านกกระจาบ และไม่ใหญ่กวา้ ช้าง ๑ ...... ตวั อยา่ งที่ ๓ เทศนาปรวิ รรต๑๘๗ ในลําดับนั้น สมเด็จพระผู้มีพระภาคจึงทรงพระพุทธดําริว่าดังพระตถาคต ปริวติ กว่า พระพทุ ธประเพณีพระชนิ สีหใ์ นอดีตกาล เม่อื ทาํ ยมกปาฏิหารยิ ์แล้ว เสด็จไป จําพรรษาในทีใ่ ด ทรงพิจารณาด้วยอตีตงั สญาณกเ็ ห็นแจง้ ว่า เสด็จเข้าพรรษาในดาวดึงส พิภพ และพระบรมนราสภทง้ั หลายแตป่ างก่อน เม่ือเสรจ็ แหง่ ยมกปาฏิหาริย์แล้ว ก็เสด็จ ข้ึนไปจาํ พรรษาในดาวดึงสสุราลัยเทวโลกตรัสเทศนาพระสัตตปรกรณาภิธรรมปิฎกใน ภายในไตรมาส เพื่อจะทําป๎จจุปการสนองพระคุณพระพุทธมารดา ดุจยังอากาศคงคา ให้ปวตั นาการหล่ังไหลในท่ามกลางเทพยบรรษัททั้งปวง ประการหน่ึง อันว่าปรารถนา อันใดท่ีพระชนนีต้งั ไว้ ในบาทมูลแห่งสมเด็จพระพุทธวิปัสสีศาสดาด้วยจุณจันทน์บูชา ๑๘๖ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชติ ชิโนรส, พระปฐมสมโพธิกถา, หนา้ ๓๕. ๑๘๗ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส, พระปฐมสมโพธิกถา, หน้า ๓๙๔.

๒๔๑ ปรารถนาจะประสูติพระสัพพัญํูว่า ขอให้ข้าได้เป๐นมารดาพระบรมครูเห็นปานพระ พุทธองค์ อันว่าปณิธานนั้นก็บรรลุประสงค์เสร็จสมมโนรถ แล้วสมเด็จพระสุคตก็ทรง ระลกึ ถงึ ยาจนกถา อนั พระพทุ ธมารดาไดข้ อพระแกส่ มเดจ็ พระอมรินทราธริ าช ด้วยพระ คาถาว่า ปุตตฺ ลเภถ วรท เป๐นอาทิ ดงั น้ีแล แลสมเด็จพระชนนีมีพระคุณแก่ตถาคตเป๐น อันมาก ยากท่ีจะได้ทําป๎จจุปการแก่พระมารดา ทรงพระพุทธจินตนาฉะน้ี ในขณะนั้น พระชนิ สหี ก์ เ็ สด็จอฏุ ฐาการจากพระรตั นบรรลังก์อนั ตง้ั เหนือยอดคัณฑามพฤกษชาติ ยก ย่างพระทักษณิ บาทเหยยี ดยอดไมค้ ณั ฑามพฤกษ์รนนั้ ในขณะนนั้ อันว่าปริภัณฑบรรพต ท้ังสอง คือยุคันธรและอิสินธรคีรี มีครุวนาดุจรู้กราบทูลว่า ข้าแต่พระบรมโลกนาถ พระองค์จงอย่าไดล้ ําบากพระบาทซ่ึงจะยกยา่ งบาทยคุ ล ข้าพระพุทธเจ้าทั้งสองคนนี้ ต้ัง ม่ันมิหวั่นไหว สูงใหญ่กว่าบรรพตอื่นๆ บัดน้ีพ่ายแท้แก่พระบรมโพธิสมภาร อัน พระราชทานซึ่งพระเศยี รแลดวงหฤทัยนัยนา พระมังสาแลโลหิตบุตรภิริยาอุทิศทาน มี พระกมลประสงคจ์ ะสนองพระคณุ พทุ ธชนนีอันใหญ่สูงหนาหนกั แลลกึ ล้นพ้นที่จะคณนา ไฉนข้าพระองค์จะดํารงอยู่โดยปกติธรรมดาได้ในคร้ังน้ี ปานประหนึ่งจะรู้พาทีโดยนัย พรรณนา ก็น้อมยอดเข้าประชุมเป๐นคู่เคียงเรียงรับพระบงกชบาทอันย่างเป๐นทุติยวาร สมเด็จพระพชิ ติ มารก็ยกตตยิ บาทพทุ ธลีลาศสืบไป... ปรมตั ถโชตกิ า ปรมัตถโชติกา๑๘๘ เป๐นอรรถกาอธิบายความในขุททกนิกาย สุตตนิบาต ผู้ รจนาคือพระพุทธโฆสาจารย์ แบ่งเป๐น ๒ ภาค อธิบายความในสุตตนิบาต โดยภาคที่ ๑ อธิบายความใน อุครวรรค จาํ นวน ๑๒ พระสตู ร ประกอบด้วย อรุ คสูตร, อนิยสูตร, ขุคค วิสาณสตู ร, กสิภารทววาชาสูตร, จนุ ทสตู ร, ปราภวสตู ร, อคั คกิ ภารทวาชสูตร, เมตตสูตร, เหมตวสตู ร, อาฬวกสูตร, วิชยสตู ร, และมนุ สิ ตู ร ภาคท่ี ๒ อธิบายความในจูฬวรรค ๑๔ พระสูตร, มหาวรรค ๑๒ พระสูตร, อัฏฐกวรรค ๑๖ พระสูตร และปรายนวรรค ๑๖ พระ สูตร รวมทง้ั สนิ้ ๕๘ พระสตู ร สาระสาคัญในปรมัตถโชตกิ า ๑๘๘ มหาจุฬาลงกรณราชวิทาลัย, อรรถกถาภาษาไทย สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย สุตต นบิ าต ปรมตั ถโชตกิ า ภาค ๑ , [กรุงเทพฯ: มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๕๗], ๔๐๓ หนา้ .

๒๔๒ [๑] ความแตกต่างระหว่างมิตร กับ สหาย๑๘๙ ช่ือว่า มิตร ด้วยอํานาจ ความรกั ใคร่ [มุง่ ประโยชนเ์ กอื้ กูล] ช่ือว่า สหาย เพราะความเปน๐ ผู้มีใจดี [มุ่งความสุขทาง ใจ] คนบางพวกเป๐นมิตรเท่านั้น ไม่เป๐นสหาย เพราะความเป๐นผู้ใคร่ประโยชน์ เกือ้ กลู อย่างเดยี ว บางพวกเป๐นสหายเท่านั้น ไม่เป๐นมิตร เพราะให้เกิดสุขทางใจ ในการ ไป การมา การยนื การนั่ง และการเจรจา เป๐นต้น บางคนเป๐นท้ังสหายเป๐นทั้งมิตร ด้วย อํานาจธรรม ๒ ประการนั้น [๒] พธิ ีพชื มงคล๑๙๐ ในคมั ภรี ์พรรณนาพิธกี รรมมรี ายละเอียดดงั นี้ ใช้โพลิพัท ๓,๐๐๐ ตัว สวมเขาท่ีทําด้วยทอง กีบที่ทําด้วยเงินท้ังหมด ประดับดว้ ยพวงมาลยั ขาว มีกลิ่นหอมท้ังหมด เจิม ๕ แห่ง บุรุษไถนา ๕๐๐ คน ท้ังหมด นุ่งผ้าขาวใหม่ ประดับด้วยพวงมาลัย วางเทริดดอกไม้บนจะงอยบ่าเบื้องขวา ลูกไล้ รา่ งกายดว้ ยน้าํ หรดาลและมโนศลิ า ไถหมวดละ ๑๐ ดาํ เนินการไถ ไถท้งั หลายมีหัว แอก และปฏกั ถักด้วยทอง ในไถที่ ๑ เทียมโคพลิพัท ๘ ตัว ในไถที่เหลือ เทียมโคพลิพัทไถละ ๔ ตวั โคพลิพทั ท่เี หลือนํามาเพ่ือสับเปล่ียนโคที่เหนื่อยล้า ในหมวด ๑ มีเกวียนบรรจุพืช ๑ เล่ม มคี นไถ ๑ คน มคี นหวา่ น ๑ คน ก็พราหม์โกนหนวดแต่เช้าตรู่ อาบน้ํา ลูบไล้ด้วยของหอมท้ังหลาย นุ่งผ้า ราคา ๕๐๐ กหาปณะ ทําผ้าราคา ๑,๐๐๐ กหาปณะ เฉวียงบ่า สวมแหวนน้ิวละ ๒ วง รวม ๒๐ วง สวมตุ้มหูสีหะท่หี ทู งั้ ๒ ข้าง และโพกผา้ โพกอยา่ งดี สวมสร้อยทอง แวดล้อม ไปด้วยหมู่พราหมณ์ นางพราหมณขี องพราหมณเ์ หล่านน้ั ให้หงุ ข้าวปายาสใส่ในภาชนะหลายร้อย ยกใส่เกวียนใหญ่ อาบด้วยน้ําหอม ตกแต่งด้วยเคร่ืองอลังการ แวดล้อมด้วยหมู่นาง พราหมณี ประดับประดาด้วยของหอม ทําพลีกรรมด้วยดอกไม้ ยกธงปฎากพร้อมในท่ี น้นั ๆ บรุ ุษเขา้ งานพร้อมกับบรวิ ารชนและกรรมการมี ๒,๕๐๐ คน ทัง้ หมดนุ่งผ้าใหม่ และ ข้าวปายาสกเ็ ตรยี มพรอ้ มสําหรบั คนงานท้ังหมด พราหมณ์สั่งให้ล้างถาดทองคํา สําหรับใส่โภชนะที่ตนเองจะบริโภคบรรจุให้ เต็มถาดด้วยข้าวปายาส ปรุงแต่งด้วยเนยใส นํ้าผ้ึง น้ําอ้อย เป๐นต้น ให้ทําพลีกรรมไถ พราหมณีคนไถนาจํานวน ๕๐๐ คน คนท่ีถือภาชนะที่สําเร็จด้วยทอง เงิน สําริด และ ทองแดง คนนั่งอยู่แล้วถือทัพพีทอง ไปเล้ียงดูด้วยข้าวปายาส ฝุายพราหมณ์ให้ทําพลี ๑๘๙ ข.ุ ส.ุ อ.[ไทย] ๑/๓๗/๙๔. ๑๙๐ ขุ.ส.ุ อ.[ไทย] ๑/๗๕/๑๗๙.

๒๔๓ กรรมเสร็จแล้ว ก็สวมรองเท้าทองที่ไล้แล้ว ถือไม้ทองท่ีขัดแล้ว เท่ียวส่ังว่า จงให้ข้าว ปายาสในที่นี้ จงให้เนยใสในทน่ี ี้ จงให้นา้ํ ตาลในที่น้ี [๓] การประพฤติคะนองตน๑๙๑ แบ่งเป๐น ๓ ประเภท คือ คะนองกาย คะนองวาจา คะนองใจ การทาํ อนั ไมส่ มควรทางกาย ในการเข้าไปหาสงฆ์ คณะ บุคคล โรงฉัน เรือน ไฟ ท่าน้ํา ทางภิกขาจาร และในระหว่างเรือน ชื่อว่าความคะนองทางกาย มี ๘ ฐานะ ได้แก่ นั่งรดั เขา่ หรอื นั่งคาํ้ เท้าในท่ามกลางสงฆ,์ ในประชุมบริษัท ๔ ไม่ให้อาสนะแก่ผู้แก่ กว่า หรือกดี กันภิกษใุ หม่ดว้ ยอาสนะ, ในเรอื นไฟ ไมข่ ออนุญาตภิกษุผู้แก่กว่าก่อนทํากิจมี ก่อไฟเป๐นตน้ , ในท่าน้าํ ไมเ่ ออ้ื เฟ๒ือ ลงนาํ้ เบียดพระเถระ ผูใ้ หม่, ในทางภิกษาจาร เดินตัด หน้าภกิ ษุผแู้ กเ่ พ่อื อาสนะท่เี ลิส นํ้าทเ่ี ลสิ บิณฑบาติท่ีเลิศ, ในการเข้าไประหว่างเรือน ทํา การเลน่ ทางกายกบั ภกิ ษุหนุม่ ทัง้ หลาย การเปลง่ วาจาอันไม่สมควรในสงฆ์ คณะ บุคคล และในระหว่างเรือน ชื่อว่า ความคะนองทางาวาจา มี ๔ ฐานะ คือ ไม่ขออนุญาตแสดงธรรมท่ามกลางสงฆ์ คณะ และในบคุ คลผ้แู ก่กวา่ , ถกู ถามป๎ญหาในท่ามกลางสงฆ์ ไม่ขออนุญาตผู้แก่กว่าแก้ป๎ญหา, ในระหว่างเรือน กล่าวคําอย่างนี้ว่า มีอะไรฉัน มีข้าวยาคู หรือของขบเคี้ยว ของขบฉัน อะไร ทา่ นจะให้อะไรแกเ่ รา เป๐นตน้ การไม่ถึงอัชฌาจารด้วยกาย และวาจาในฐานะเหล่านั้น ตรึกถึงส่ิงท่ีไม่ สมควรมีประการต่างๆ มกี ามวติ ก เปน๐ ตน้ ดว้ ยใจอย่างเดยี ว เรียกวา่ การคะนองด้วยใจ [๔] สรีรวิทยา๑๙๒ ในร่างกายน้ีประกอบด้วยกระดูกเกิน ๓๐๐ ท่อน และ เอน็ ๙๐๐ เส้น รึงรดั โครงการดูกไว้ ดูเรือนรึงรัดด้วยเถาวัลย์ ฉาบทาด้วยหนัง มีชิ้นเนื้อ ๙๐๐ ช้นิ มีทวาร ๙ ช่องตา ๒ ชอ่ งหู ๒ ช่องจมูก ๒ [๕] แนวคิดเรื่องพราหมณ์๑๙๓ ในคัมภีร์พรรณนาไว้หลายประการ คัดมา เปน๐ ตวั อยา่ งพอสงั เขป ๑] ผู้ไม่ประทุษร้าย ประกอบด้วยขันติ อดทนต่อถ้อยคําด่าทอทั้ง ๑๐ ประการ ๒] ประกอบด้วยวตั รเปน๐ เคร่ืองกําจดั กิเลส ๓] ไมต่ ิดอยูใ่ นกามทัง้ หลาย ๑๙๑ ขุ.สุ.อ.[ไทย] ๑/๑๔๔/๒๕๙. ๑๙๒ ขุ.ส.ุ อ.[ไทย] ๑/๑๖๙/๓๓๔. ๑๙๓ ข.ุ สุ.อ.[ไทย] ๒/๖๒๙/๓๓๔.

๒๔๔ ๔] ปลงภาระคือขันธ์ได้แล้ว ๕] ผู้มีป๎ญญาลึกซ้ึง เป๐นนักปราชญ์ มีโอชะอันเกิดแต่ธรรม ฉลาด ในทาง และมใิ ชท่ าง ๖] ไมค่ ลกุ คลดี ว้ ยการเห็น การฟง๎ การสนทนา การบริโภค ๗] ปลง หรอื วางอาชญาท่ีเป๐นเหตใุ ห้สะด้งุ ๘] ผ้ไู มม่ ุ่งร้าย ไม่ประทุษร้ายด้วยความอาฆาต เป๐นผู้สงบ ไม่มีอาชญา ในตน ๙] ผูท้ าํ ราคะ มักขะ เป๐นตน้ ให้ตกไป ไม่ใหต้ ง้ั อยใู่ นจติ ๑๐] ผู้ไม่กล่าวถ้อยคําหยาบคายเปน๐ เหตใุ ห้ผอู้ ่นื ขัดเคอื ง ๑๑] ผู้ไม่ถอื เอาสิง่ ของทบ่ี คุ คลอน่ื หวงแหน ๑๒] ผปู้ ราศจากความหวงั คอื ไมม่ ตี ัณหา ๑๓] ผหู้ ยั่งลงสู่อมตธรรม ไม่มีธลุ ีคอื ราคะเปน๐ ตน้ ในภายใน ๑๔] ไม่มีมลทนิ มีกิเลสดจุ หมอกเป๐นต้น ส้นิ ความยินดใี นภพ [๖] แนวคดิ เรอื่ งพรหมจรรย์ในมงคลสตู ร๑๙๔ ๑] บทนยิ ามทว่ั ไป ท่านนิยามความหมายว่า ความประพฤติของพรหม ท้ังหลาย หรือความประพฤติอยา่ งประเสรฐิ ๒] แสดงตัวอย่างในคัมภีร์ต่างๆ ว่า พรหมจรรย์ เป๐นชื่อของเมถุวิรัติ [ได้ในประโยควา่ บคุ คลละพฤติกรรมอนั เป๐นข้าศึกต่อพระหมจรรย์ ประพฤติพรหมจรรย์] , สมณธรรม [ไดใ้ นประโยควา่ ทา่ นผ้มู ีอายุ ทา่ นประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค ของเขาหรือ], ศาสนา [ได้ในประโยคว่า มารผู้มีบาป เราจะยังไม่ปรินิพพาน ตราบเท่าท่ี พรหมจรรยข์ องเรายงั ไมบ่ รบิ รู ณ์ กวา้ งขวาง แพร่หลาย รู้จกั กันโดยมาก], และอริยมรรค [ได้ในประโยควา่ ภกิ ษุ อริยมรรคมีองค์ ๘ ประการน้ีแล เป๐นพรหมจรรย์ คือ สมั มาทิฏฐิ] ๓] พรหมจรรยใ์ นมงคลสูตร หมายเอา อริยมรรคมีองค์ ๘ [๗] แนวคดิ เร่อื งการจัดกลมุ่ ธุดงค์ ๓ หมวด ดังน้ี๑๙๕ ๑] หมวดจีวร มี ๒ ประกอบด้วย ปง๎ สกุ ุลิกังคธดุ งค์, เตจวี ริกงั คธดุ งค์ ๒] หมวดบิณฑบาต มี ๕ ประกอบด้วย ปิณฑปาติกังคธุดงค์, สปทาน จารกิ ังคธุดงค,์ เอกานกิ งั คธุดงค,์ ป๎ตตปิ ิณฑิกงั คธดุ งค์, และขลุปจ๎ ฉาภตั ตกิ งั คธุดงค์ ๑๙๔ ข.ุ สุ.อ.[ไทย] ๒/๒๗๐/๑๒๔. ๑๙๕ ขุ.ส.ุ อ.[ไทย] ๒/๓๔๒/๑๘๖.

๒๔๕ ๓] หมวดเสนาสนะ มี ๖ ประกอบด้วย อารัญญิกังคธุดงค์, อัพโพกาสิ กงั คธดุ งค,์ รุกขมูลกิ ังคธุดงค์, ยถาสนั ถติกงั คธดุ งค,์ และโสสานกิ งั คธดุ งค์ ปรมตั ถทปี นี ปรมัตถทีปนี๑๙๖ อธิบายความในขุททกนิกายเถรคาถา ผู้รจนาคือพระ พุทธโฆสาจารย์ ท่านแบง่ ออกเป๐น ๒ ภาค ภาคท่ี ๑ รวบรวมไว้ ๓ นิบาต คอื เอกกนิบาต ๑๒๐ เรื่อง ๑๒๐ คาถา ทุกนิบาต ๔๙ เร่ือง ๙๘ คาถา และติกนิบาต ๑๖ เร่ือง ๔๘ คาถา รวม ๑๘๕ เร่ือง ๒๖๖ คาถา ภาคท่ี ๒ อธิบายความตั้งแต่จตุกนิบาตเป๐นต้นไป จนถึงมหานิบาต รวม ๘๙ เรื่อง จํานวน ๑,๑๒๗ คาถา เน้อื หาในคัมภีร์แบ่งออกเป๐น ส่วน ประกอบด้วย ๑] คันถารัมภกถา ๒] นิ ทานกคาถาวรรณนา และ ๓] ตวั อรรถกถา หรอื วรรณนา คมั ภีร์นี้ไมม่ สี ่วนทีเ่ รยี กว่า นิคม กถา หรอื อวสานกถา ตวั อย่างในคมั ภรี ์ [คนั ถารมั ภกถา] บาลี มหาการณุ ิกํ นาถํ เญยยฺ สาครปารคํ.ุ วนเฺ ท นปิ ณุ คมภฺ ีร- วจิ ิตฺรนยเทสนํฯ วชิ ฺชาจรณสมฺปนฺนา เยน นยิ ฺยนฺติ โลกโต. วนฺเท ตมตุ ตฺ มํ ธมมฺ ํ สมฺมาสมพฺ ุทธฺ ปชู ิตฯํ สลี าทิคณุ สมฺปนฺโน ฐิโต มคฺคผเลสุ โย. วนเฺ ท อรยิ สงฆฺ ํ ตํ ปญุ ญฺ กเฺ ขตตฺ ํ อนุตฺตรฯํ วนฺทนาชนติ ํ ปุญฺญํ อิติ ยํ รตนตตฺ เย. หตนตฺ ราโย สพพฺ ตถฺ หตุ ฺวาหํ ตสสฺ เตชสาฯ ยา ตา สภุ ูติอาทหี ิ กตกจิ ฺเจหิ ตาทิหิ. เถเรหิ ภาสิตา คาถา เถรหี ิ จ นิรามิสาฯ อทุ านนาทวิธินา คมฺภีรา นิปุณา สภุ า. สญุ ญฺ ตาปฏสิ ํยตุ ตฺ า อรยิ ธมฺมปฺปกาสิกาฯ เถรคาถาติ นาเมน เถรีคาถาติ ตาทิโน. ยา ขทุ ทฺ กนกิ ายมหฺ ิ สงคฺ ายสึ ุ มเหสโยฯ ตาสํ คมภฺ ีรญาเณหิ โอคาเหตพฺพภาวโต. ๑๙๖ มหาจุฬาลงกรณราชวิทาลัย, อรรถกถาภาษาไทย สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถร คาถา ปรมตั ถทปี นี ภาค ๑ , [กรงุ เทพฯ: มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๗], ๘๕๔ หนา้ .

๒๔๖ กิญจฺ าปิ ทุกฺกรา กาตฃํ อตถฺ สวํ ณณฺ นา มยาฯ สหสวํ ณณฺ นํ ยสมฺ า ธรเต สตฺถุ สาสนํ. ปพุ ฺพาจรยิ สีหานํ ติฏฐฺ เตว วินจิ ฺฉโยฯ ตสฺมา ตํ อวลมพฺ ิตวฺ า โอคาเหตฺวาน ปญจฺ ปิ. นกิ าเย อุปนิสสฺ าย โปราณฏฺฐกถานยํฯ สุวิสทุ ธฺ ํ อสกํ ิณณฺ ํ นปิ ุณตถฺ วินิจฉฺ ยํ. มหาวหิ ารวาสนี ํ สมยํ อวิโลมยํฯ ยาสํ อตฺโถ ทุวิญฺเญยฺโย อนุปพุ พฺ กิ ถํ วนิ า. ตาสํ ตญจฺ วภิ าเวนโฺ ต ทปี ยนฺโต วนิ จิ ฺฉยํฯ ยถาพลํ กรสิ สฺ ามิ อตฺถสํวณณฺ นํ สภุ ํ. สกฺกจฺจํ เถรคาถานํ เถรคี าถานเมว จฯ อิติ อากงขฺ มานสสฺ สทธฺ มมฺ สฺส จริ ฏฐฺ ิตึ. ตทตฺถํ วิภชนฺตสฺส นิสามยถ สาธโวติฯ แปล ข้าพเจ้า [พระธรรมปาละ] ขอนมัสการกราบไหว้พระโลกนาถ ผู้ทรงมพี ระราชหฤทยั อันเปย๑ี มลน้ ด้วยพระมหากรุณาธิคุณ ทรงบรรลุถึงฝ๑๎งแห่งสาครคือ ไญยธรรมได้แล้ว ทรงแสดงธรรมอันละเอยี ดและลกึ ล้าํ ซง่ึ มนี ยั อันวิจิตรพิสดารฯ ข้าพเจ้าขอนมสั การกราบไหว้พระธรรม อันอุดมท่ีพระศาสดาสัมมาสัมพุทธ เจ้าทรงบูชาแล้ว ซ่ึงเป๐นเคร่ืองนําบุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะออกไปจากโลกฯ ขา้ พเจ้าขอนมสั การกราบไหว้พระอริยสงฆ์ ผู้สมบูรณ์ด้วยคุณมีศีลคุณเป๐นต้น ผู้ดํารงมั่น อย่ใู นอรยิ มรรค อรยิ ผล ผ้เู ปน๐ เน้ือนาบุญอนั ยอดเย่ียมฯ ด้วยเดชานุภาพแห่งบุญ ที่เกิดจากการกราบไหว้ พระรัตนตรัยดังได้ พรรณนามาดว้ ยฉะน้ี ขอขา้ พเจ้าจงปราศจากอุปสรรคอันตรายในที่ทั้งปวงฯ คาถาเหล่า ใดอันปราศจากอามสิ อนั พระเถระทงั้ หลาย ผทู้ ํากิจสําเร็จ ผมู้ ั่นคง มวีพระสุภูติเถระเป๐น อาทิ และพระเถรีท้ังหลาย ภาษิตไว้แล้วฯ และคาถาเหล่าใด ท่ีมีเน้ือหาอันลึกซึ้ง ละเอยี ดออ่ น งดงามโดยวิธีอุทานเป๐นต้น อันปฏิสังยุตด้วยสุญญตธรรม ซ่ึงเป๐นประกาศ ธรรมของพระอริยะ พระธรรมสังคาหกาจารย์ทั้งหลาย ผู้คงที่ ผู้แสงหาคุณอันย่ิงใหญ่ รวบรวม คาถาเหลา่ นั้นไว้ในกลุม่ ขทุ ทกนกิ าย โดยชือ่ วา่ เถรคาถาและเถรีคาถา ฯ จริงอยู่ การรจนาเนอื้ ความอรรถกถาเถรคาถาและเถรีคาถาที่ข้าพเจ้าทํา ม่ิ ใช่ของท่ีทําได้ง่ายเลย เพราะเป๐นอรรถท่ีหย่ังถึงได้ ด้วยคัมภีรญาณฯ เพราะเหตุที่อรรถ กถาที่จะชว่ ยพระศาสนาของพระศาสดาไว้ได้ ทั้งคําวินิจฉัยของบูรพาจารย์ ผู้ประเสริฐก็ จะยังคงดํารงอย่ฯู

๒๔๗ ฉะนั้น ข้าพเจ้าจักขอแต่ง เถรอรรถกถาและเถรีอรรถกถาอย่างสุดกําลัง ความสามารถ โดยถือเอาวินิจฉัยของบุรพาจารย์เหล่านั้นเป๐นหลัก ถือเอานิกายทัง ๕ เป๐นเกณฑ์ อิงอาศัยนยั อรรถกถาของพระโปราณาจารย์ ฯ แมจ้ ะเป๐นเพียงคําบอกกล่าวที่ ได้อา้ งอิงอาศัยกันมา แต่ก็ยังบริสุทธ์ิถูกต้อง ไม่คลาดเคล่ือน เป๐นคําวินิจฉัยอันละเอียด ลึกซึ้งของบรรดาบูรพาจารย์ของคณะมหาวิหารฯ และข้อความของคาถาเหล่าใด เว้นอนุ ปุพพกิ ถาเสียแล้วรู้ไดย้ าก ข้าพเจา้ จะขอนําอนปุ พุ พิกถานั้นของคาถาเหล่าน้ันมาแสดงให้ แจ่มแจง้ และจะแสดงขอ้ วินิจฉยั อกี ดว้ ย สาธุชนทั้งหลาย ขอท่านทั้งหลายโปรดตั้งใจสดับอรรถสังวรรณนาของเถร คาถา และเถรคี าถานนั้ ซึ่งจะจําแนกต่อไป ของข้าพเจ้าผู้หวังห้พระสัทธรรมดํารงมั่นอยู่ ตลอดกาลนาน เทอญ ฯ ปรมตั ถทีปนี ปรมัตถทีปนี๑๙๗ อธิบายความในขุททกนิกาย อิติวุตตกะ ผู้รจนาคือพระ ธรรมปาละ พํานักอยทู่ วี่ ดั พทรตติ ถวิหาร แควน้ ทมิฬ อยทู่ างอินเดียใต้ ใกลักับเกาะลังกา ท่านมชี ีวติ อยูร่ าว พ.ศ.๙๕๐-๑๐๐๐ ร่นุ หลังพระพทุ ธโฆสาจารย์เล็กนอ้ ย อติ วิ ุตตกะ หมายถึงหมวดพระสูตรที่ข้ึนต้นด้วยคําว่า “วุตฺตํ เหตํ ภควตา” [แท้จริงพระสูตรนี้พระผู้มีพระภาคตรัสไว้แล้ว] มีพระสูตรรวมกันทั้งหมด ๑๑๒ สูตร จัดเปน๐ ๔ หมวด คอื เอกกนบิ าต แบ่งเปน๐ ๓ วรรค มี ๒๗ พระสูตร, ทุกนิบาต แบ่งเป๐น ๒ วรรค มี ๒๒ พระสูตร, ติกนิบาต แบง่ เป๐น ๕ วรรค มี ๕๐ พระสูตร, และจตุกกนิบาต ไมม่ ีแบ่งวรรค แตม่ ี ๑๓ พระสูตร เน้ือหาคัมภีร์แบ่งออกเป๐น ๔ ส่วน ประกอบด้วย ๑] คันถารัมภกถา ๒] นิทานวรรณนา ๓]วรรณนา หรอื ตัวอรรถกถา และ ๔] อวสานกถา ตัวอย่างเนอื้ หาในคัมภีร์ [๑] คันถารมั ภกถา [บาลี] มหาการณุ กิ ํ นาถํ เญยฺยสาครปารํค.ุ วนเฺ ท นปิ ุณคมภฺ รี - วจิ ติ รฺ นยเทสนํฯ วชิ ชฺ าจรณสมปฺ นฺนา เยน นยิ ยฺ นตฺ ิ โลกโต. วนฺเท ตมตุ ตฺ มํ ธมมฺ ํ สมมฺ าสมพฺ ทุ ฺธปูชติ ํฯ ๑๙๗ มหาจุฬาลงกรณราชวทิ าลัย, อรรถกถาภาษาไทย สตุ ตันตปฎิ ก ขทุ ทกนิกายา อิตวิ ุตต กะ, [กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๖], ๖๓๕ หนา้ .

๒๔๘ สีลาทคิ ุณสมปฺ นโฺ น ฐิโต มคคฺ ผเลสุ โย. วนฺเท อรยิ สงฆฺ ํ ตํ ปุญฺญกเฺ ขตฺตํ อนตุ ฺตรฯํ วนทฺ นาชนิตํ ปญุ ฺญํ อิติ ยํ รตนตตฺ เย. หตนตฺ ราโย สพฺพตถฺ หุตวฺ าหํ ตสสฺ เตชสาฯ เอกกาทปิ ปฺ เภเทน เทสติ านิ มเหสินา. โลภาทนี ํ ปหานานิ ทีปนานิ วิเสสโตฯ สตุ ตฺ านิ เอกโต กตฺวา อิตวิ ุตตฺ ปทกฺขรํ. ธมฺมสงคฺ าหกา เถรา สงฺคายสึ ุ มเหสโยฯ อิติวตุ ฺตกมิจฺเจว นาเมน วสิโน ปเุ ร. ยํ ขุททฺ กนกิ ายสมฺ ึ คมฺภรี ตถฺ ปทกฺกมฯํ ตสฺส คมภฺ ีรญาเณหิ โอคาเหตพฺพภาวโต. กิญจฺ าปิ ทกุ ฺกรา กาตํุ อตฺถสํวณฺณนา มยาฯ สหสวํ ณณฺ นํ ยสฺมา ธรเต สตถฺ ุ สาสนํ. ปพุ ฺพาจริยสหี านํ ติฏฐฺ เตว วินิจฺฉโยฯ ตสฺมา ตํ อวลมพฺ ิตฺวา โอคาเหตวฺ าน ปญจฺ ปิ. นกิ าเย อุปนสิ สฺ าย โปราณฏฺฐกถานยํฯ นิสสฺ ติ ํ วาจนามคฺคํ สุวิสทุ ธฺ ํ อนากุล.ํ มหาวหิ ารวาสีนํ นปิ ณุ ตฺถวินจิ ฉฺ ยํฯ ปุนปฺปุนาคตํ อตถฺ ํ วชฺชยิตวฺ าน สาธุกํ. ยถาพลํ กรสิ ฺสามิ อิตวิ ตุ ตฺ กวณฺณนฯํ อิติ อากงขฺ มานสสฺ สทฺธมฺมสสฺ จริ ฏฐฺ ิตึ. วภิ ชนฺตสฺส ตสฺสตฺถํ นสิ ามยถ สาธโวตฯิ แปล ข้าพเจา้ ขอวนั ทาพระผมู้ พี ระภาคเจา้ ผ้ทู รงเปน็ ท่พี ึ่ง ผู้ มีพระทยั เปีย่ มล้นไปด้วยมหากรณุ าธคิ ุณ เสด็จถึงฝั่งสาครคไื ญยธรรมไดแ้ ล้ว ทรงมีนยั เทศนาอนั วิจติ รสขุ มุ คัมภรี ภาพฯ ขา้ พเจา้ ขอวนั ทาพระธรรมนน้ั อัน อุดมทพ่ี ระสัมมาสมั พุทธเจ้าทรงบูชา ท่ีนําพาพระอรยิ สาวกทงั้ หลายผูส้ มบูรณ์ ดว้ ยวิชชาและจรณะใหพ้ น้ ไปจากโลกฯ ขา้ พเจ้าขอวนั ทาพระสงฆ์ผ้เู ปน็ พระอรยิ ะ นั้น สถิตม่นั อยใู่ นมรรคและผล สมบรู ณ์แลว้ ดว้ ยคุณมีศลี เปน็ ต้น เปน็ นาบญุ อย่างยอดเย่ยี ม ดว้ ยเดชานุภาพแหง่ บุญท่เี กิดจากการวนั ทาพระรตั นตรัย ดังได้ พรรณนามาน้ี ขอขา้ พเจ้าจงปลอดภยั จากอนั ตรายในทท่ี ุกสถานฯ พระผู้ แสวงหาคณุ อันยิ่งใหญ่ ไดท้ รงแสดงพระสูตรทงั้ หลายอนั ส่องแสดงถึงการละ กิเลสท้ัหลายมีโลภเปน็ ตน้ ไดอ้ ย่างวิเศษ โดยแยกเป็นเอกกนิบาตเป็นตน้ ฯ พระ

๒๔๙ ธรรมสังคาหกเถรทั้งหลาย ผู้มปี กติแสวงหาคุณอนั ยงิ่ ใหญ่ไดร้ วบรวมพระสูตร ทงั้ หลายเขา้ ไวเ้ ป็นกลมุ่ เดยี วกัน แลว้ รอ้ ยกรองบทอกั ษรดังกลา่ วน้ีฯ อนั ทีจ่ รงิ การแต่งอรรถกถาพรรณนาความตามลําดับบท ท่ีมี ความหมายอนั ลึกซึ้งในขุททกนิกาย โดยเรยี กช่อื วา่ อติ ิวุตตกะ เป็นส่งิ ท่ี ขา้ พเจ้าทําได้โดยยาก เพราะเป็นอรรถทจ่ี ะพงึ หย่ังถึงได้ก็ด้วยญาณอนั ลึกซง้ึ ฯ แตเ่ พราะเหตอุ รรถกถาจะช่วยทรงพระศาสนาไว้ได้ ทงั้ วินิจฉัยของพระ บุรพาจารยผ์ เู้ ปรยี บปานด้วยราชสหี ก์ จ็ ะยงั ดํารงอยู่ดว้ ย ฉะน้ันฯ ขา้ พเจา้ จงึ จักแต่งอรรถกถาอติ ิวุตตกะไว้ให้ดีตามกําลงั โดยยึดเอา วนิ ิจฉัยของบรรดาบรุ พาจารยเ์ หล่านนั้ เปน็ หลกั ถือเอานิกายทัง้ ๕ เปน็ เกณฑ์ อิงอาศยั นัยจากอรรถกถาเกา่ แม้จะเปน็ เพียงคาํ บอกกลา่ วของนสิ ติ แตก่ ็ บรสิ ทุ ธิ์ ไม่คลาดเคล่ือน เปน็ การวนิ จิ ฉยั คามหมายทลี่ ะเอียดของบรรดา บุรพาจารย์ผอู้ ยใู่ นมหาวิหารท้ังหลาย เว้นเนอื้ ความทซ่ี าํ้ ๆ กนั เสียฯ สาธชุ นทง้ั หลาย ขอทา่ นท้ังหลายได้โปรดตัง้ ใจสดับการพรรณนา ความแหง่ อรรถกถาอิติวุตตกะนน้ั ของขา้ พเจ้า ผหู้ วงั ใหพ้ ระสัทธรรมดาํ รงม่นั อยู่ ได้นาน จะได้จําแนกต่อไปน้ี ฯ๑๙๘ [๒] นิทานกถา นิทานวรรณนา พรรณนานิทาน ก็คําข้ึนต้นเป๐นต้นว่า วุตฺต เหต ภควตา และพระสูตรเป๐นต้นว่า เอกธมฺม ภิกฺขเว ปชหถ นี้ใด ในคําขึ้นต้นและพระสูตรน้ัน คําท้ังหลายเป๐นต้นว่า วุตฺต ภควตา เป๐นบทนาม คําว่า อิติ เป๐นบทนิบาต คําว่า ป ในบทน้ีว่า ปชหถ เป๐นอุปสรรค คําว่า ชหถ เป๐นบทอาขยาต พึงทราบการจําแนกบทในทที่ ุกแห่งโดยนัยน้ี อน่ึง โดยอรรถ วุตฺต- ศัพท์ที่มีอุปสรรคและไม่มีอุปสรรคก่อน ย่อมปรากฏ ในศัพท์ทั้งหลายมีอาทิอย่างนี้ คือ การหว่านพืช การทําพืชที่หว่านแล้วให้เสมอกัน การ โกนผม การเล้ยี งชวี ิต ความหลุดพน้ การเป๐นไปโดยความเป๐นปาพจน์ การเล่าเรียน การ กล่าว จรงิ อยา่ งน้ัน วุตตฺ -ศพั ทม์ าในการหว่าน ในประโยคเป๐นต้นวา่ “คาโว ตสฺส ปชายนตฺ ิ เขตเฺ ต วตุ ตฺ ํ วิรูหติ. วตุ ฺตานํ ผลมสฺนาติ โย มติ ตฺ านํ น ทุพฺภต”ี ตฯิ แปล คนผู้ไม่ประทุษร้ายมิตรย่อมมีโคทั้งหลายตกลูกมาก พืชท่ี หวา่ นในนายอ่ มงอก ย่อมไดบ้ ริโภคผลของพชื ท้งั หลายที่หว่านไว้แลว้ ฯ ๑๙๘ ขุ.อิติ.อ.[ไทย] ๒๕/๑/๓.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook