Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

Published by panyawat_mcu_br, 2022-03-20 05:00:53

Description: ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

๓๐๐ เรื่องนกยงู ทอง แม้นกยูงทองเข้าไปยังปุาหิมพานต์ อาศัยชัฏแห่งภูเขาใหญ่อยู่ แลดูดวง อาทิตย์ในเวลาพระอาทิตยข์ ึ้นตลอดกาลเปน๐ นิตย์ เมื่อจะทําการรักษาตน จึงกล่าวอย่างน้ี ว่า พระอาทติ ยอ์ นั เปน๐ ดวงตาของโลก เป๐นเจา้ แห่งแสงสวา่ งอย่างเอก กาํ ลงั อุทยั ทอแสงเรอื งรองสวา่ งไปทัว่ ปฐพี เพราะเหตนุ น้ั ข้าพเจ้าขอน้อมไหวพ้ ระอาทิตยน์ ั้น ซึ่งทอแสงเรอื งรองสว่างไปทัว่ ปฐพี วันนี้ ข้าพเจ้าไดท้ า่ นคุ้มครองแลว้ พึงอยูเ่ ปน๐ สุขตลอดวัน พราหมณ์เหล่าใดถงึ ฝง๑๎ แหง่ พระเวทในธรรมท้ังมวล ขอพราหมณเ์ หล่านนั้ จงรบั ความนอบน้อมของขา้ พเจ้า และขอจงคุ้มครองขา้ พเจ้า ข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระพทุ ธเจ้าท้งั หลาย พระโพธญิ าณของพระพุทธเจา้ เหล่าน้นั พระพุทธเจ้าท้ังหลายผู้หลดุ พน้ แล้ว และวมิ ตุ ติธรรมของพระพุทธเจ้าผ้หู ลดุ พ้นแลว้ เหลา่ นั้น นกยงู นน้ั เจรญิ พระปรติ รนแี้ ล้วจงึ เทยี่ วแสวงหาอาหาร นกยงู น้นั เท่ยี วหากินตลอดทง้ั วันแลว้ ในเวลาเยน็ จึงเข้าไปยงั ที่อยู่ แม้มองดู ดวงอาทติ ย์ซึ่งอสั ดงคตแล้ว กย็ งั กลา่ วคาถาชมเชยนวี้ ่า ดวงอาทิตยอ์ ันเป๐นดวงตาของโลกนี้ เปน๐ เจา้ แหง่ แสงสวา่ งอยา่ งเอก ทอแสงเรืองรองสวา่ งไปท่ัวปฐพี อัสดงคตแลว้ เพราะเหตุนัน้ ข้าพเจ้าขอนอ้ มไหว้พระอาทติ ยน์ ้นั ซึง่ ทอแสงเรอื งรองสว่างไปทัว่ ปฐพี วนั น้ี ขา้ พเจ้าไดท้ า่ นคุ้มครองแลว้ พงึ อยเู่ ปน๐ สุขตลอดคนื พราหมณ์เหลา่ ใดถึงฝ๑๎งแห่งพระเวทในธรรมทง้ั มวล ขอพราหมณ์เหล่านั้นจงรับความนอบนอ้ มของข้าพเจา้ และขอจงคุม้ ครองขา้ พเจ้า

๓๐๑ ขา้ พเจ้าขอนอบนอ้ มพระพุทธเจ้าทั้งหลาย พระโพธิญาณของพระพุทธเจ้าเหล่าน้ัน พระพทุ ธเจา้ ทัง้ หลายผู้หลดุ พน้ แลว้ และวมิ ตุ ติธรรมแหง่ พระพทุ ธเจา้ ผหู้ ลดุ พน้ แลว้ เหลา่ นั้น นกยูงนั้นเจริญพระปรติ รนี้แล้วจึงอยใู่ นท่ีอยขู่ องตน นกยูงนั้นให้วันคนื ผา่ นพน้ ไปตลอด ๗๐๐ ปี โดยทาํ นองน้นี น่ั แล วันหน่ึง ได้ ยินเสยี งของนางนกยูงก่อนที่จะเจริญพระปริตร จึงระลึกถึงการเจริญพระปริตรไม่ได้ได้ เขา้ ไปตดิ บว่ งของนายพรานทพี่ ระราชาทรงส่งไปแลว้ เสยี งของนกตัวเมียครอบงําจิตของ นกยูงทองอย่อู ย่างนี้ ด้วยประการฉะน้ี เรอื่ งภิกษุหนมุ่ ได้ยินว่า พระภิกษุหนุ่มรูปหนึ่งผู้อยู่ที่ฉาตกบรรพต และพระภิกษุหนุ่มอีก รูปหน่งึ ผูอ้ ยทู่ สี่ ธุ ามณุ ฑกวหิ าร ได้ยินเสียงของสตรี แล้วถงึ ความพนิ าศ ดงั น้ีแล ในสตู รที่ ๓ พงึ ทราบวินิจฉัยดังน้ี :- คําว่า กลิ่นสตรี (อิตฺถิคนฺโธ) ได้แก่ บ่อ เกิดแห่งกลิ่นสตรีซึ่งประกอบด้วยสมุฏฐาน ๔ กลิ่นกายของสตรีนี้นั้น มีกล่ินเหม็น แต่ กลิ่นเครือ่ งประเทอื งผิวท่ีเสริมเขา้ มาเปน๐ ตน้ ที่ใช้ชโลมกายท่านประสงค์เอาในที่น้ี จริงอยู่ สตรีบางคนมีกล่ินเหมือนกล่ินม้า บางคนมีกล่ินเหมือนกล่ินแพะ บางคนมีกลิ่นเหมือน กลนิ่ เหงือ่ บางคนมกี ล่ินเหมือนกล่ินเลือด คนอันธพาลบางคนย่อมยินดีสตรีผู้มีกล่ินเห็น ปานน้ันน่ันแล ส่วนกลิ่นจันทน์ท่ีฟูุงออกจากกายสตรี และกล่ินดอกอุบลที่ฟูุงออกจาก ปากย่อมมีเฉพาะนางแก้วของพระเจ้าจักรพรรดิ กลิ่นน้ีไม่มีแก่สตรีท่ัวไป กล่ินเคร่ือ ง ประเทืองผิวท่ีเสริมเข้ามาเป๐นต้นเท่าน้ันท่านประสงค์เอาในท่ีน้ี ส่วนสัตว์ดิรัจฉานมีช้าง ม้า และโคเป๐นต้น เดินไปสิ้นทางแม้ ๑ โยชน์ ๒ โยชน์ ๓ โยชน์ ๔ โยชน์ ตามกล่ินระดู ของสัตว์ดริ ัจฉานตวั เมยี ซง่ึ มีชาติกาํ เนิดเดียวกัน กลิ่นกายสตรีหรือกล่นิ เครอื่ งนุง่ หม่ ที่สตรี นงุ่ หม่ กลิ่นเครอ่ื งประเทืองผิวท่ีสตรลี ูบไล้ และกลิ่นดอกไม้ที่ประดับไว้เป๐นต้นของสตรีก็ ชา่ งเถอะ กลนิ่ แมท้ ง้ั หมดบณั ฑติ พงึ ทราบว่า เป๐นกล่ินสตรีทง้ั น้นั ในสูตรที่ ๔ พึงทราบวินจิ ฉยั ดงั น้ี :- คําว่า รสสตรี (อิตฺถิรโส) ได้แก่ บ่อเกิด แห่งรสของสตรีซ่ึงประกอบด้วยสมุฏฐาน ๔ ก็พระจูฬนาคเถระและพระจูฬาภยเถระผู้ ทรงพระไตรปฎิ กกล่าวว่า รสน้ใี ดจะเป๐นรสแห่งการฟ๎งหรือรสแห่งการบริโภคด้วยอํานาจ การยอมรับใช้ว่าจะให้ทะอะไรก็ได้เป๐นต้นของสตรี นี้ช่ือว่ารสของสตรี จะมีประโยชน์ อะไรด้วยรสแห่งการฟ๎งและรสแห่งการบริโภคน้ัน ส่วนรสน้ีใดจะเป๐นรสนํ้าลายที่เปื๒อน เนื้อริมฝีปากเป๐นต้นของสตรีก็ดี รสข้าวต้มและข้าวสวยเป๐นต้นที่เธอให้แก่สามีก็ดี รส ท้ังหมดน้ันบัณฑิตพึงทราบว่า รสของสตรีท้ังน้ัน จริงอยู่ สัตว์มิใช่น้อยถือของอย่างใด

๓๐๒ อย่างหน่ึงที่มาตุคามให้แก่ตนด้วยมือของตนเท่าน้ันว่าเป๐นของอร่อย จึงถึงความพินาศ แล้ว ดงั นแ้ี ล รปู แบบการใช้นิยามเพอื่ กาหนดขอบเขตของความหมาย๒๔๒ คําว่า ในธรรมวนิ ัยน้ี (อิธ) แปลว่า ในศาสนาน้ี ฯ คาํ วา่ เห็นประจกั ษ์ดงั นี้ (อติ ิ ปฏิสญฺจกิ ขฺ ต)ิ แปลวา่ พิจารณาอยอู่ ย่างนี้ ฯ คําว่า ท่ีเป็นอกุศล (อกุสล) ในข้อว่า ต้องอาบัติท่ีเป๐นอกุศล (อกุสล อาปนฺโน) น้ี ทรง หมายถึงอาบัติ ฯ ความว่า ตอ้ งอาบัติ ฯ คําว่า บางอย่าง (กิญฺจิเทว เทส) ความว่า มิใช่อาบัติท้ังหมดทีเดียว แต่ เป๐นอาบัติบางส่วนเท่านั้น อธิบายว่า อาบัติบางอย่าง ฯ คําว่า ทางกาย(กาเยน) ได้แก่ กรชั กาย ฯ คําวา่ จึงไม่พอใจ (อนตตฺ มโน) แปลว่า มีจิตไม่ยินดี ฯ คําว่า ผู้มีวาจาไม่น่า พอใจ (อนตฺตมนวาจ) แปลว่า วาจาไม่น่ายินดี ฯ คําว่า แต่เฉพาะเราเท่านั้น (มเมว) แปลว่า แกเ่ ราผเู้ ดยี ว ฯ คําวา่ ในอธกิ รณ์นั้น (ตตถฺ ) แปลว่า ในเหตนุ ้ัน ฯ คาํ ว่า โทษ … จงึ ครอบงา (อจฺจโย อจฺจคมา) ความวา่ ความผิดไดล้ ่วงเกิน ยํ่ายี (ข้าพเจ้า) ข้าพเจ้าผู้เดียวมีความผิดในเร่ืองนี้ ฯ คําว่า เหมือนในเร่ืองสินค้า โทษ ย่อมครอบงาเฉพาะบุคคลผู้จาต้องเสียภาษี (สุงฺกทายิกว ภณฺฑสฺมึ) ความว่า เม่ือ บคุ คลนนั้ นําสนิ ค้าเลีย่ งดา่ นภาษไี ปแลว้ ความผดิ ย่อมตกอยกู่ บั เขาผู้เสยี ภาษี และในเรื่อง น้ัน เขาเป๐นผู้ผิด ไม่ใช่พระราชาทั้งหลาย ไม่ใช่พวกราชบุรุษ ฯ ท่านอธิบายว่า ผู้ใดนํา สินค้าเล่ียงด่านภาษีท่ีพระราชาทรงต้ังไว้ พวกราชบุรุษเอาเกวียนนําผู้นั้น พร้อมด้วย สนิ ค้ามาแสดงแกพ่ ระราชา โทษไมม่ ีแก่ด่านภาษี ไม่มีแก่พระราชา ไม่มีแก่พวกราชบุรุษ แต่โทษมแี ก่ผู้เลย่ี งดา่ นภาษมี เี ท่านน้ั ภิกษุรูปนั้นก็ฉันน้ันนั่นแล ต้องอาบัติใดแล้วในเรื่อง นั้น อาบัติน้ันไม่มี โทษ ภิกษุผู้โจทก์ก็ไม่มีโทษ แต่ภิกษุผู้ต้องอาบัติรูปน้ันเท่าน้ันมีโทษ ด้วยเหตุ ๓ ประการ ฯ ด้วยว่า เธอมีโทษด้วยความเป๐นผู้ต้องอาบัติบ้าง ฯ มีโทษด้วย ความทภี่ ิกษผุ ้เู ปน๐ โจทกไ์ มพ่ อใจบ้าง มโี ทษด้วยเมื่อมีผู้ไม่พอใจ บอกอาบัติแก่ผู้อ่ืนบ้าง ฯ แตส่ าํ หรับภิกษุผู้โจทก์ เธอได้เห็นภิกษุน้ันต้องอาบัติ ในข้อนั้นไม่มีโทษ แต่มีโทษเพราะ โจทก์ด้วยความไม่พอใจ แมไ้ ม่ใส่ใจถงึ ข้อนน้ั ภกิ ษนุ ีก้ ็พิจารณาเหน็ โทษของตน ช่ือว่าย่อม ใคร่ครวญอย่างนี้ว่า เป๐นอย่างน้ี โทษในกรณีนั้น ย่อมตกอยู่แก่ข้าพเจ้า ผู้เดียว ดุจโทษ เพราะสินค้าทนี่ ําเลีย่ งภาษมี าฉะน้นั ฯ ในทตุ ยิ วาร โทษมี ๒ อย่าง คือ (๑) ภกิ ษุผู้โจทกไ์ ม่พอใจ (๒) ภิกษุถกู โจทย์เพราะไม่พอใจ ๒๔๒ อํ.เอกก.อ. (ไทย) ๒/๑๕/๑๘.

๓๐๓ บัณฑิตพึงประกอบเน้ือความในเรื่องน้ีว่า โทษล่วงเกินครอบงําแล้วด้วย อาํ นาจโทษ ๒ อยา่ งนั้น ฯ คําทีเ่ หลือในสูตรน้งี ่ายท้ังนั้นแล ฯ มธรุ สวาหนิ ี ภาค ๑ [ชมพูทวปี ] มธุรสวาหินี ภาค ๑ [ชมพูทวีป]๒๔๓ ผู้รจนาเป๐นพระเถระชาวสีหฬ ระยะเวลารจนาอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๘-๑๙ ถือเป๐นคัมภีร์ที่มีความเก่าแก่ และมี ความสาํ คญั อกี คมั ภีรห์ น่ึง ในประเทศไทยคัมภีร์นี้เริ่มปรากฏในสมัยอยุธยาสมัยพระเจ้า ทา้ ยสระ๒๔๔ ลักษณะคมั ภีร์ มกี ารนาํ เสนอเนื้อหาคล้ายกบั คมั ภรี ์อรรถกถาธรรมบท คือมี นิทาน และมีคาถาประกอบเนื้อเร่ือง แต่ไม่มีแก้อรรถ สํานวนบาลีที่ใช้ มีรูปแบบการใช้ สํานวนภาษาท่ีคล้ายกับอรรถกถาธรรมบท ลักษณะคําประพันธ์เป๐นแบบผสม คือมีท้ัง ร้อยแก้ว และรอ้ ยกรอง สว่ นทเ่ี ปน๐ รอ้ ยกรองมีฉันทลักษณ์หลายรปู แบบ เนอื้ เรอ่ื งเปน๐ นทิ านปรัมปราของชาวชมพทู วีป นาํ เสนอในรูปของการปลุกใจ ให้คนมีศรัทธาในพระพุทธศาสนา และประกอบกุศลกรรมให้ยิ่งขึ้นๆ ไป คัมภีร์มธุรส วาหินี จึงจดั วเ่ ป๐นวรรณคดีภาษาบาลปี ระเภทนทิ านที่มีความสาํ คัญเลม่ หนง่ึ ๒๔๕ เน้ือหาคัมภรี ์เรม่ิ ตน้ ดว้ ยคันถารมั ภกถาตามแบบขนบการประพันธ์วรรณคดี บาลีโดยทั่วไป จากนั้นจึงกล่าวรายละเอียดเน้ือหา โดยแบ่งเป๐นวรรค ๔ วรรค แต่ละ วรรคก็มเี ร่อื งประกอบทาํ นองเดยี วกับอรรถกถาธรรมบทวรรคละ ๑๐ เรื่อง รวมทั้งหมด ๔๐ เร่ือง ดังน้ี [๑] ธัมมโสณฑกวรรค ประกอบดว้ ย ๑๐ เรื่อง ดงั น้ี ๑. เรื่องธมั มโสณฑกะ ๒. เรื่องนายพรานเนือ้ ๓. เรอ่ื งคน ๓ คน ๔. เรอื่ งนางพุทเธนิ ๕. เรื่องหมองู ๒๔๓ พระมหาสําราญ ธีรเมธี [เงินโสม], มธุรสวาหินี ภาค ๑ [ ชมพูทวีป ] : การตรวจ ชาระและศกึ ษา, วทิ ยานพิ นธ์พทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาบาลี, [บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๔๘] ๔๕๔ หน้า. ๒๔๔ พระมหาสําราญ ธีรเมธี [เงินโสม], มธุรสวาหินี ภาค ๑ [ ชมพูทวีป ] : การตรวจ ชาระและศึกษา,หนา้ ๑๕. ๒๔๕ พระมหาสําราญ ธีรเมธี [เงินโสม], มธุรสวาหินี ภาค ๑ [ ชมพูทวีป ] : การตรวจ ชาระและศึกษา, บทคดั ย่อ.

๓๐๔ ๖. เรือ่ งพระสรณัตเถระ ๗. เรื่องพระนางเวสสามิตตา ๘. เรอ่ื งมหามันตธาตุ ๙. เรอ่ื งพ่อคา้ ชื่อพทุ ธวัมมะ ๑๐.เรอ่ื งนางรูปเทวี [๒] นนั ทราชวรรค ประกอบด้วย ๑๐ เร่อื ง ดังน้ี ๑. เรื่องพระเจา้ นันทะ ๒. เรื่องมนษุ ยค์ นใดคนหนงึ่ ๓. เรื่องวิสมโลมกุมาร ๔. เรื่องกาญจนเทวี ๕. เรอ่ื งเสือโคร่ง ๖. เรอ่ื งให้แผ่นกระดาน ๗. เรอ่ื งโจรผ้เู ป๐นสหาย ๘. เรอ่ื งมารตุ พราหมณ์ ๙. เรอ่ื งผใู้ หน้ ํ้าดม่ื ๑๐.เรื่องผู้สละชีวิตใหเ้ พ่อื น [๓] ยักขวญั จิตวรรค ประกอบด้วย ๑๐ เรือ่ ง ดังนี้ ๑. เรื่องยักษถ์ กู หลอก ๒. เรื่องคนมจิ ฉาทฏิ ฐิ ๓. เรื่องแท่นรองพระบาท ๔. เรื่องอุตตรสามเณร ๕. เรอ่ื งท่ากาวรี ะ ๖. เรอ่ื งคนประหารโจร ๗. เรือ่ งอบุ าสกสทุ ธะ ๘. เรอื่ งคนกาํ พรา้ ๙. เร่ืองเทวปุตร ๑๐.เรอ่ื งพระสวี ลี [๔] มหาเสนวรรค ประกอบด้วย ๑๐ เร่อื ง ดังน้ี ๑. เรอ่ื งพระเจ้ามหาเสน ๒. เรอ่ื งนางสุวัณณตลิ กา ๓. เรื่องหญิงกําพรา้

๓๐๕ ๔. เร่ืองพระอินทคตุ ตเถระ ๕. เรอื่ งสตรีบชู าด้วยดอกไม้พรอ้ มท้ังกง่ิ ๖. เร่ืองโมริยพราหมณ์ ๗. เรื่องพ่อคา้ ขายนํา้ ผ้งึ สามพน่ี อ้ ง ๘. เรอ่ื งผ้ฆู ่าบุตร ๙. เรอ่ื งพระโพธริ าชธดิ า ๑๐.เรอื่ งนางกุณฑลี ตวั อย่างสงั เขปเร่ืองในมธรุ สวาหินี๒๔๖ [๑] เรือ่ ง ธรรมโสณฑกะ เมื่อคร้งั ท่พี ระโพธสิ ัตว์เสวยพระชาติเปน๐ พระธรรมโสณฑกราชกุมาร ได้ทรง ครองราชย์ตอ่ จากพระราชบิดา คือ พระเจ้าพาราณสี พระเจ้าโสณฑกมีพระประสงค์ จะ สดับฟ๎งพระธรรมเทศนา จึงทรงให้ประกาศหาผู้ท่ีสามารถแสดงพระธรรมได้ โดยจะ พระราชทานส่ิงของมีค่า ราชบัลลังก์ รวมท้ังชีวิตของพระองค์เองให้แก่ผู้นั้น แต่ก็ไม่มี ผู้ใดรู้พระธรรมเลย พระองค์จึงทรงสละราชสมบัติให้แก่อํามาตย์ แล้วเสด็จออกจาก เมืองพาราณสีไปสู่ปุาใหญ่ เพ่ือแสวงหาบุคคลท่ีรู้ธรรม ต่อมาพระอินทร์ได้เสด็จลงมา จากสวรรค์ช้ันดาวดึงส์แล้วเนรมิตตนเป๐นยักษ์รักษาสระ เม่ือพระเจ้าธรรมโสณฑกพบ ยักษ์ก็มีได้ทรงกลัวแต่อย่างใด แต่พระองค์กลับทรงขอให้ยักษ์แสดงธรรมเทศนาแก่ พระองค์ แตย่ ักษ์น้นั มีข้อแลกเปล่ียนโดยจะขอกินพระองค์เป๐นอาหาร โดยให้พระธรรม โสณฑกเสด็จข้ึนสูย่ อดเขา ขณะทยี่ ักษ์แสดงธรรม พระเจ้าโสณฑกจะต้องกระโดดลง จากน้ันจึงพาพระเจ้าโสณฑกไปยังเมืองพาราณสี แล้วให้โอวาทก่อนท่ีจะ เสด็จกลบั ไปยังดาวดงึ ส์. [๒] เร่อื งนายพรานเน้ือ เมือ่ คร้ังทีพ่ ระสิขีสมั มาสมั พุทธเจ้าเสด็จเข้าไปสู่ปุาใหญ่ เทวดา พรหม นาค และครุฑ มาชุมนุมกัน ณ สถานที่น้ัน ได้สักการะบูชาด้วยพวงมาลาและของหอม พระพทุ ธเจ้าทรงประทานพระธรรมเทศนา อันประกอบด้วยอริยสจั จ์ ๔ คร้ังน้ันพรานเน้ือเข้าปุาเพ่ือล่าเน้ือ ได้ฟ๎งธรรมเทศนา หลังจากน้ันก็ได้เลิก ฆ่าสตั ว์ เมือ่ ตายไป กไ็ ด้ไปเกิดบนสวรรค์ฉกามาพจร ต่อมา ลงมาเกิดในโลกมนุษย์ และ ๒๔๖ พระมหาสําราญ ธีรเมธี [เงินโสม], มธุรสวาหินี ภาค ๑ [ ชมพูทวีป ] : การตรวจ ชาระและศึกษา, ภาคผนวก.

๓๐๖ ไดข้ น้ึ ไปเกิดในเทวโลก โดยไม่ได้ไปสู่อบายภูมิเลย เพราะอานิสงส์จากการฟ๎งธรรม คร้ัน ถึงสมัยของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พรานเนื้อได้ลงมาเกิดในนคร สาวัตถี ได้บวช เปน๐ ภกิ ษุ ได้ฟง๎ อริสจั จ์ ๔ กไ็ ดส้ ําเร็จเป๐นอรหัตตผล มีนามว่า พระสุธรรมเถระ. [๓] เร่อื งคน ๓ คน ความย่อเรื่องชนทั้งสามในอดีตชมพูทวีปแห้งแล้งปราศจากน้ํานกแขกเต้า ตวั หน่งึ บินลงไปกนิ นา้ํ ในเหว ขนปกี เปียกนํา้ บินขน้ึ ไม่ได้ หลังจากนั้นงแู ละมนษุ ย์ ก็ไดต้ ก ลงไปในเหวและข้นึ ไม่ไดเ้ ช่นกัน ชายชาวเมอื งพาราณสีพบเข้า จึงช่วยไว้ด้วยความกรุณา ทงั้ สามต่างก็ดีใจและขอเป๐นสหาย ต่อมา ชาวเมืองพาราณสีผู้น้ัน ไปขอความช่วยเหลือ จากนกแขกเต้า นกแขกเต้าจึงบินไปคาบแก้วมุกดาของพระเจ้าพาราณสีมามอบให้ เพ่ือ นําไปเลี้ยงชพี เมอื่ ไดแ้ ก้วมุกดาแล้ว ชายผู้น้ันก็นําไปฝากไว้กับมนุษย์ผู้ท่ีตนช่วยเหลือไว้ เมอ่ื พระเจ้าพาราณสีประกาศหาแก้วมุกดา โดยจะพระราชทานยศศักดิ์ให้แก่ผู้ท่ีได้แก้ว มณมี กุ ดามาคืน ชายผู้รับฝากแก้วมุกดา ซึ่งเป๐นคนโลภและ ทรยศต่อสหาย จึงบอกราช บุรษุ พระเจา้ พาราณสพี ระราชทานรางวัลให้แก่ชายผู้น้ันแล้วก็ให้ราชบุรุษจับตัว บุรษุ ชาวเมืองพาราณสีผู้ช่วยเหลือชนทั้งสามไปประหารที่นอกเมือง เมื่อผ่านท่ีอยู่อาศัย ของงู ก็เรียกให้งูช่วยเหลือ งูจึงเข้าไปในพระราชวัง ฉกพระมเหสีพระเจ้าพาราณสีจน สลบ แล้วแปลงร่างเป๐นมนุษย์เข้าไปกราบทูลว่า “ชาวเมืองพาราณสีผู้เป๐นนักโทษ ประหาร สามารถรักษาพระมเหสีได้” ต่อจากน้ันก็รีบไปบอกวิธีคลายพิษให้ชายผู้นั้นรู้ จนสามารถรักษาพระมเหสีได้ พระเจ้าพาราณสีทรงยกเว้นโทษให้ แล้วพระราชทาน สงิ่ ของ ยศและตําแหน่ง แล้วให้นํามนุษย์ท่ีเป๐นสหายทรยศมาลงโทษ และพระราชทาน บ้านซ่งึ ตง้ั อยู่ระหว่างที่อาศัยของนกแขกเต้าและงูให้แกบ่ ุรษุ ชาวเมืองพาราณสนี นั้ . [๔] เรื่องนางพุทเธนิ ในอดีต ณ ชมพูทวีป ในเมืองปาตลีบุตร มีเศรษฐีผู้หน่ึงมีลูกสาวชื่อว่า พุท เธนี เม่ืออายุ ๗ ขวบ บิดามารดาเสียชีวิตลง สมบัติท้ังหมดจึงตกแก่นาง นางพุทเธนิมี ผิวพรรณ รูปร่างงดงาม เป๐นผู้มีศรัทธาและนับถือพระรัตนตรัย มีเศรษฐี เสนาบดี และ อุปราชทม่ี ีจติ ปฏพิ ัทธ์รักใคร่นาง ไดส้ ง่ ของมีคา่ มาเพอื่ สขู่ อนาง แต่นางก็ปฏเิ สธ เพราะคิด ว่าเมอื่ ตายไปก็ไม่สามารถนาํ สมบตั ิตดิ ตวั ไป ตัง้ แต่น้ันมานางกท็ ําบญุ ให้ทาน อยู่มาวันหน่งึ มีพอ่ คา้ ขายม้ามาขออาศัยอยู่ริมเรือนของนาง และขอนางเป๐น บุตรบญุ ธรรม เมอ่ื พ่อคา้ มา้ จะไปท่อี น่ื จึงมอบม้าให้นาง นางจึงเลือกม้าสินธพ ซ่ึงต่อมานาง จึงรู้วา่ เปน๐ ม้าท่เี หาะได้ นางขีม่ ้าสินธพถอื เอาดอกไมเ้ งิน ดอกไมท้ อง ไปนมสั การพระศรมี หา โพธิทุกวัน โดยต้ังจิตถวายพระอริยสงฆ์ทั้งหลาย เพื่อนําไปสักการะบูชา พระศรีมหาโพธิ

๓๐๗ เมอื่ พระอริยสาวก และพระมหาเถระเจ้าท่ีอยู่ในสีหฬทวีป ได้ยินคําอาราธนาก็เหาะมารับ พวงดอกไม้เงนิ ดอกไมท้ อง แลว้ ทําสักการะบูชา พรานปุาผู้หนึ่ง มาพบนางเข้า และเห็นว่านางเป๐นหญิงงาม จึงไปกราบทูล พระราชาเมืองปาตลีบุตรๆ จึงทรงรับสั่งให้จับนางไปเป๐นพระมเหสี ครั้งนั้นพระธรรม รักขิตเถระ เตือนนางให้ระวังพรานปุาที่จะมาซุ่มจับตัวนาง นางก็รับฟ๎ง เม่ือพรานปุา ตามมาจะจบั นาง นางกข็ ่ีม้า เพ่อื จะเหาะหนีแต่พลาดตกลงจากหลังม้าม้าสินธพ แต่ม้าก็ ช่วยเหลือนํานางไปจนถึงท่อี ยู่ เปน๐ ผู้ไม่ประมาท ทําบุญ รักษาศีล จนตลอดชีวิต แล้วได้ ไปเกดิ บนเทวโลก [๕] เรอ่ื งหมองู ครั้งเมื่อมนุษย์ท้ังหลายในชมพูทวีปร่วมกันสร้างสถูปเพื่อสักการะบูชา มี หมองูผู้หนึ่งเดินทางมาเห็นชาวบ้านท่ีนับถือพระรัตนตรัย กล่าววาจาระลึกถึงคุณพระ รัตนตรัยวา่ นะโม พทุ ธายะ หมองูไม่ได้เลื่อมใสและไม่รู้จักพระรัตนตรัยเลย จึงกล่าวว่า นะโม พุทธายะ ลอ้ เลยี นชาวบา้ น จนคล่องปาก วันหน่งึ พญานาคกลับจากการสกั การะพระสถปู หมองูมาพบพญานาคก็เข้า ไปใกล้แล้วรา่ ยมนต์ เพือ่ จะจับพญานาคไปแสดง พญานาคได้ยินเสียงร่ายมนต์ก็โกรธ จึง จะฆ่าหมองู หมองูรีบหนแี ตพ่ ลาดล้มลง จงึ กลา่ ววาจาวา่ นะโม พุทธายะ ด้วยความคล่อง ปาก พญานาคได้ยนิ หมองกู ล่าวนามพระพุทธเจ้าก็โสมนัส คลายความโกรธลงไม่ทําร้าย หมองู และมอบดอกไม้ทอง ๓ ดอกให้หมองู ตอบแทนท่ีกล่าวนามพระพุทธเจ้าให้ฟ๎ง โดยส่ังให้หมองูนําดอกไม้ทองไปบูชาพระสถูป ๑ ดอก เพ่ือจะได้เป๐นบุญแก่หมองู และ อีก ๑ ดอกเปน๐ บญุ แก่พญานาค สว่ นท่เี หลือให้เกบ็ ไวเ้ ลี้ยงชีวิต หมองจู งึ นําดอกไม้ทองไป ขายนําทรัพย์มาเล้ียงบุตร ภรรยา ต้ังแต่น้ันมาก็ให้ทาน สร้างกุศล เลิกอาชีพหมองู เมื่อ ส้ินชวี ิตแล้วก็ได้เกิดในสวรรค์ [๖] เรื่องพระสรณัตเถระ ในพระนครสาวัตถี คหบดีช่ือ สุมนะ กับภรรยาช่ือ สุชัมบดีกา มีบุตรชาย คนหนึ่ง และบตุ รหญิงคนหน่ึง หลังจากท่ีบิดามารดาตาย ท้ังสองก็แต่งงานมี ครอบครัว ต่อมาน้องสาวคดิ ถึงพี่ชายจงึ ชวนสามีไปเยย่ี มพชี่ าย ระหวา่ งทางพบกับพระ บรมโลกนาถ ได้เข้าเฝูา พระองค์จงตรัสแก่สามีภรรยาว่า “หากเกิดอันตรายเม่ือใด ให้ ระลึกถึง พระพุทธเจ้าก็จะปลอดภัย” เมื่อพ่ีสะใภ้เห็นเครื่องประดับของน้องสามีก็อยาก ได้ จึง ออกอบุ ายใหส้ ามฆี ่าน้องสาว พ่ชี ายกพ็ านอ้ งสาวเขา้ ไปในปาุ เพื่อจะฆ่า ขณะน้ัน น้องสาว เจ็บครรภ์ และคลอดบุตร จงกล่าวคําวงิ วอนขอชีวิต และระลกึ ถงึ คุณพระ

๓๐๘ ต่อมา สามีภรรยานมิ นตส์ มเด็จพระศาสดามาบิณฑบาต ภรรยาก็เล่าเรื่องท่ี ตนรอดชีวิตด้วยอานุภาพของพระรัตนตรัย เมตตา และศีลท่ีตนรักษา พระผู้มีพระภาค เจ้ากต็ ัง้ ชื่อบุตรของนางว่า สรณกุมาร แล้วประทานเทศนา เมื่อจบเทศนา สามีภรรยาก็ สําเรจ็ โสดาบัน คร้ันเม่ือ สรณกุมาร อายุ ๒๐ ปี ก็บวชและบรรลุพระอรหัตผล มีนามว่า พระสรณตั เถระเจา้ . [๗] เร่อื งพระนางเวสสามติ ตา พระราชเทวีองค์หนึง่ ชือ่ เวสสามติ ตราชเทวี เป๐นอัครมเหสีของของพระเจ้า โกสัมพี ในชมพูทวีป ครั้งเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จไปเมืองโกสัมพี และได้แสดงพระธรรม เทศนา เรือ่ งการต้งั อย่ใู นไตรสรณคมน์ พระนางเวสสามิตตราชเทวีกไ็ ด้ไปฟ๎งดว้ ย ตอ่ มา พระเจา้ ปจ๎ จันตประเทศยกทพั มาทาํ สงคราม ฝุายนครโกสัมพีแพ้ พระ เจ้าโกสัมพีสิ้นพระชนม์ ทหารจับพระมเหสีเวสสามิตตราชเทวีไปถวายพระเจ้า ป๎จจันต ประเทศ ซ่งึ มีจิตปฏิพัทธอ์ ยากได้พระนางเป๐นพระมเหสี แตพ่ ระราชเทวไี มท่ รงยินยอม พระ เจ้าปจ๎ จันตประเทศจึงให้สั่งใหเ้ ผาพระนาง พระราชเทวีระลึกถึงพระรัตนตรัยเป๐นที่พึ่งไฟก็ ไมไ่ หมพ้ ระองค์ เม่ือพระเจา้ ป๎จจันตประเทศเห็นก็เล่ือมใส จึงถามถึงสาเหตุที่ไฟไม่สามารถ เผาร่างกาย พระเทวีจึงบอกว่า “เพราะการเข้าถึงสรณคมน์ และรักษาศีล” หลังจากนั้น พระเจ้าป๎จจันตประเทศกน็ ับถอื พระราชเทวเี ปน๐ พระมารดา แล้วถึงสรณคมน์ มหาชนใน ท่ีประชุมนั้น เม่ือเห็นความอัศจรรย์ก็ถึงซึ่งพระไตรสรณคมน์ ศีล ๕ ศีล ๘ บําเพ็ญทาน และสรา้ งกศุ ลจนสนิ้ อายุ [๘] เร่ืองมหามนั ตธาตุ ณ เมอื งพนั ธมุ ดี ชา่ งชุนผ้หู นึ่งเห็นชาวเมืองถวายทาน จึงคิดว่าหากตนได้ทํา ทานไว้ จะเป๐นที่พ่ึงในภายหน้า จึงรับจ้างชุนได้ทรัพย์มา ซื้อถ่ัวราชมาส และถั่วเขียว โปรยขึ้นไปในอากาศด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธองค์บันดาลให้ถั่วตกลงในบาตรของ พระพุทธเจ้า และบาตรของพระภิกษุสงฆ์ เม่ือได้เห็นความอัศจรรย์เช่นนั้น ช่างชุนก็ เล่ือมใสยกมอื ไหว้ต้ังจติ อธษิ ฐานขอใหม้ เี ครอ่ื งอุปโภคบริโภค และพร้อมสรรพเบญจกาม คุณท้ัง ๕ ประเสริฐกว่าผู้อื่นทุกๆ ชาติ และเมื่อตบมือคร้ังใดก็ขอให้ฝนแก้ว ๗ ประการ ตกเม่ือนน้ั เมอ่ื ตายไปก็ได้ไปเกิดในสวรรค์ และมนษุ ยโลก ไม่ไดไ้ ปเกดิ ในอบาย ๔ เลย เม่ือถึงต้นภัทรกัป ช่างชุนมาเกิดเป๐นพระราชโอรสของพระเจ้าอุโปสถะ มี พระนามว่ามันธาตุ ประกอบไปดว้ ยแก้ว ๗ ประการ และราชฤทธิ์ ๔ ประการ ครองราช สมบัติมีอํานาจแผ่ไปท้ัง ๔ ทิศ เมื่อตบมือ ฝนแก้ว ๗ ประการก็ตกลงมา พระองค์

๓๐๙ ปรารถนาจะได้สมบัติมากยิ่งข้ึน จึงเหาะขึ้นไปบนเทวโลกช้ันจาตุมหาราชิกา ท้าวจาตุ มหาราชก็ถวายทิพยสมบัติให้ แต่พระองค์ยังปรารถนาสมบัติมากกว่านั้น จึงเหาะข้ึนไป บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ พระอินทร์ก็แบ่งเทวดา และทิพยสมบัติให้คร่ึงหนึ่ง คร้ันเมื่อพระ อนิ ทรจ์ ตุ ไิ ป ๓๖ องค์ พระเจ้ามันธาตุยังปรารถนาทิพยสมบัติมากข้ึน จึงคิดที่จะฆ่าพระ อินทร์เพื่อจะได้ทพิ ยสมบตั ทิ ง้ั หมด เนือ่ งจากความโลภจึงทําให้สงั ขารเสือ่ ม เกดิ ความชรา และตกจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์สู่อุทยานของพระองค์ จากน้ันก็ตรัสเร่ืองราวที่ผ่านมาให้ อํามาตยฟ์ ง๎ แลว้ สนิ้ พระชนม์. [๙] เรอื่ งพ่อค้าชือ่ พุทธวมั มะ ในชมพูทวีป ณ นครปาฏลีบุตร พ่อค้าช่ือว่าพุทธวัมมะไปค้าขายกับพ่อค้า คนอื่น ได้พบพระพุทธเจ้า และพระภิกษุจํานวนมาก ก็ประสงค์จะถวายอาหารในเวลา เยน็ แตพ่ ระพทุ ธเจ้าตรัสวา่ พระองค์เว้นจากโภชนะในยามวิกาล จะฉันได้เพียงนํ้าปานะ พุทธวัมมะจึงทํานํ้าปานะจากผลลูกจันทร์ถวายพระพุทธเจ้า และพระภิกษุ จากน้ัน พระพุทธเจา้ ตรัสเทศนา แลว้ เสด็จจารกิ ตอ่ ไป ตอ่ มา พทุ ธวมั มะและบรรดาพ่อคา้ เดินทางไปคา้ ขายถึงปุาใหญท่ กี่ ันดารไม่มี นํ้าดืม่ มนี ํา้ เพยี งเล็กนอ้ ยในเกวียนเล่มหนง่ึ เมื่อพุทธวมั มะด่ืมนํ้าน้ัน ปรากฏว่ามีรสหวาน หอม เหมือนนํ้าจากลูกจันทร์ จึงคิดว่าเป๐นผลจากผลทานท่ีตนถวายนํ้าปานะจากลูก จันทร์ แล้วนํ้าในตุ่มก็เต็ม จึงเรียกพ่อค้าคนอ่ืนมาด่ืม นํ้าก็มิได้ลดน้อยลงไป เป๐น ทอี่ ้ศจรรย์ของทุกคน ตอ่ มาพทุ ธวมั มะไปนมัสการพระพุทธเจ้า พระองค์ก็แสดงธรรม พุทธวัมมะ ได้ถวายมหาทานตามที่นิมนต์ หลังจากน้ันก็สร้างกุศลตลอด จนสิ้นอายุ ได้ไปเกิดใน วิมานทองสูง ๑๒ โยชน์ ในเทวโลกแวดล้อมไปด้วยนางฟูา มีทิพย์ภาชนะเป๐นแก้วเต็ม ด้วยน้ําลูกจนั ทร์. [๑๐] เรอ่ื งนางรปู เทวี ในเมอื งพนั ธุวดี สตรีผหู้ นึง่ เข้าไปในวิหาร เห็นพระภิกษุอาพาธด้วยโรคผอม เหลือง จึงนิมนต์ให้ไปรับบิณฑบาตท่ีนางปรุงอาหารเป๐นยา วันรุ่งข้ึนพระภิกษุรูปน้ันก็ หายอาพาธ เมือ่ นางตายไป ด้วยกุศลน้ีนางได้ไปเกิดในเทวโลกบนวมิ านทองสูง ๑๒ โยชน์ แวดล้อมไปดว้ ยนางฟูา ครั้นเมื่อนางได้มาเกิดในตระกูลพราหมณ์ ณ เมืองเทวบุตร เมื่อคลอดจาก ครรภ์ ก็มีข้าวประมาณ ๘ ทะนานเกิดขึ้นทุกวัน ญาติทั้งหลายเห็นนางมีรูปงามจึงต้ัง ช่ือ

๓๑๐ วา่ รปู เทวี หลงั จากท่นี างแตง่ งาน อาหารใดท่ีนางจับเพียงเล็กน้อยก็จะเต็มภาชนะ และ ไมบ่ ดู เน่า นางจึงตักข้าวสุกแจกให้แกช่ าวเมอื ง แมว้ ่าจะตกั สักเท่าใด ขา้ วกไ็ ม่ พรอ่ ง ตอ่ มานางไดน้ ิมนต์พระมาฉันที่บ้านเป๐นนิตย์ คร้ังน้ันพระมหาเถระรูปหนึ่ง นามวา่ มหาสงั ฆรักขิต เปน๐ พระอรหนั ตเ์ ห็นบุญญานภุ าพของนาง จึงเล่าถึงอดีตชาติของ นาง นับตั้งแต่ภัทรกัปย้อนหลังไป ๙๑ กัป ที่นางสร้างกุศล แล้วให้โอวาท เร่ืองความไม่ ประมาทในการสร้างกศุ ล จนนางบรรลุโสดาปต๎ ติผล เปน๐ อรยิ สาวิกาในพระพุทธศาสนา ตวั อย่างฉันท์ในมธรุ สวาหนิ ี [๑] คนั ถารมั ภกถา นมตฺถุ สตถฺ ุปปฺ สตถฺ จรณํ สรณํ ชนานํ พรฺ หมฺ าทิโมลิ มณิรสํ ิ สมาวหนตฺ ํ ปงเฺ กรุหาภมทุ โุ กมลจารวุ ณฺณํ วนทฺ ามิ จกกฺ วรลกขฺ ณสนนฺ ิธานํฯ ฯลฯ ยมฺปตตฺ เมตฺถ รตนตฺตยโถมเนน ปํุ เฺ ญน เตน ทรุ ิตํ สกลํ ปณุชฺช วกฺขามหํ สุมธรุ ํ รสวาหนิ ินฺตํ โภ โภ สุณนตฺ ุ สุชนาภมิ ทุ าวหา สาฯ รูปแบบฉนั ทลักษณเ์ ป๐น วสันตดลิ ก ๑๔ พยางค์ ถอดคําและแสดงผงั ไดด้ ังน้ี      สตฺถุปฺป- สตฺถจ- รณํ ส- รณํ ช- นานํ [๒] ธัมมโสณฑกวัตถุ ปํุ เฺ ญน สีลาทิมเยน ปุพเฺ พ กเตน ปตโฺ ตสมฺ ิ อตนฺทเิ ตน มสกฺกสาเร วยิ เทวราชา รชชฺ ทิ ฺธิมิทฺเธ ปรุ มุตตฺ มมหฺ ิฯ ฯลฯ ทสฺสามิ องฺคมฺปิ ชวี ติ ํฺจ ธํญฺ ํ ธนํ จาปิ ปสนนฺ จิตโฺ ต โสสฺสามิ ธมมฺ ํ สวิ มาทธานํ

๓๑๑ ชเิ นริตํ ชาตชิ ราปหานํ ฯ น โสภติ ยถา โสพฺภํ ชลํ ธามปตึ วินา รชชฺ กรณํ ตถา มยหฺ ํ วินา ธมฺมา น โสภติ. รปู แบบ ๑ ฉันทลักษณ์เป๐น อินทรวิเชียร ๑๑ พยางค์ ถอดคําและแสดงผัง ได้ดงั นี้     ปุํฺเญน –สีลาทิ- มเยน- ปุพฺเพ รูปแบบ ๒ ฉันทลักษณ์เป๐น ป๎ฐยาวัตร ๘ พยางค์ ถอดคําและแสดงผังได้ ดงั น้ี   น โสภติ -ยถา โสพฺ-ภํ ชลํ ธาม- ปตึ วิ- นา เฉพาะตําแหนง่  หา้ ม น และ ส คณะ [๓] ตณิ ณ ชนาน วตถฺ ุ อิติ ปตติ สขุ มหฺ า องคฺ โต วา ธนมหฺ า ปรมตรปตฏิ ฐฺ า โหนฺติ มิตฺตาสขานํ วิรหติ สขนิ ํ โภ นตฺถิ ยสฺมาภิวุทธฺ ี จินถ กสุ ลธมมฺ ํ มติ ฺตวนฺตา มหนตฺ นฺติฯ รูปแบบ ๑ ฉันทลักษณ์เปน๐ มาลินีฉันท์ ๑๕ พยางค์ ถอดคําและแสดงผังได้ ดงั นี้      อติ ิ ป- ตติ สุ- ขมหฺ าองฺ-คโต วา- ธนมหฺ า หมายเหตุ ๑. ในมธุรสวาหินี รูปแบบฉันทลักษณ์ส่วนใหญ่ประกอบด้วยปฐยาวัตร, อนิ ทรวเิ ชยี ร, อุเปนทรวเิ ชียร, วังสัฏฐฉันท,์ วสันตดิลก ที่มีแต่ก็เป๐นส่วนน้อย เช่น มาลินี ฉนั ท์ เปน๐ ตน้ ๒. ผู้เขียนยังไม่มีเวลาวิเคราะห์รูปแบบฉันทลักษณ์ท่ีเป๐นรายละเอียด ทงั้ หมด รายชอ่ื ฉันทลกั ษณ์ทีร่ ะบุข้างตน้ ได้จากขอ้ มูลเพียงบางส่วนเทา่ นนั้

๓๑๒ มังคลัตถทีปนี มังคลัตถทีปนี๒๔๗ เป๐นคัมภีร์อธิบายความแห่งมงคล ๓๘ ประการ ที่ พระพุทธเจ้าปรารภป๎ญหาทูลถามของเทวดาว่า อะไรเป๐นมงคล ผู้รจนาคือ พระสิริมัง คลาจารย์ เป๐นพระภิกษุชาวล้านนา หรือชาวเชียงใหม่ในป๎จจุบัน แต่งข้ึนเม่ือปีวอก ศกั ราช ๘๘๖ ตรงกับ พ.ศ. ๒๐๙๗ รัชกาลของพระเจ้าราชาธิราช ตอนท่ีท่านแต่งมงคล ทีปนีน้ีท่านได้อาศัยสูญญาคาร [ท่ีสงบเงียบ] ซ่ึงตั้งอยู่ทางทิศใต้ของตัวเมืองเชียงใหม่ [นวปรุ ] หา่ งจากตวั เมอื งประมาณ ๔ กโิ ลเมตร [๑ คาวตุ ] ปจ๎ จบุ นั คอื วัดตําหนักสวนขวัญ สิริมงั คลาจารย์ ตามเน้ือหาในพระสูตร มงคลของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ยึดถือวัตถุ แต่ ยดึ ถอื การปฏิบัติฝึกฝนตนเอง ซ่ึงมีอยู่ ๓๘ ประการ ประกอบด้วย คาถาที่ ๑-๒-๖ พระ คาถาละ ๓ มงคล, พระคาถาท่ี ๓-๔-๕-๘-๙-๑๐ พระคาถาละ ๔ มงคล, และพระคาถาที่ ๗ มี ๕ มงคล ส่วนพระคาถาท่ี ๑๑ เป๐นพระคาถาชมเชยมงคลเหล่าน้ัน รายละเอียด มงคล ๓๘ ประการ ดงั น้ี คาถาที่ ๑ ๑. การไม่คบคนพาล ๒. การคบบณั ฑติ ๓. การบชู าผู้ท่ีควรบชู า คาถาที่ ๒ ๑. การอยูใ่ นถ่นิ ท่ีเหมาะสม ๒. การสร้างบญุ ไวใ้ นปางก่อน ๓. การตั้งตนไวช้ อบ คาถาที่ ๓ ๑. ความเป๐นพหูสูต ๒. ความเปน๐ ผมู้ ีศลิ ปะ ๓. วนิ ยั ที่ศกึ ษาดีแล้ว ๔. วาจาสุภาษิต คาถาที่ ๔ ๑. การบาํ รงุ บดิ ามารดา ๒๔๗ ดูรายละเอียดใน มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, มังคลัตถทีปนี ภาษาไทย ภาค ๒, [กรุงเทพฯ: มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๔], หนา้ ๔๗๓.

๓๑๓ ๒. การสงเคราะหบ์ ตุ รและภรรยา ๓. การงานไม่อากูล คาถาท่ี ๕ ๑. ทาน ๒. การประพฤตกิ รรม ๓. การสงเคราะหญ์ าติ ๔. การงานไม่มโี ทษ คาถาท่ี ๖ ๑. การเว้นจากบาป ๒. การเวน้ จากการดมื่ นํา้ เมา ๓. ความไม่ประมาท คาถาท่ี ๗ ๑. ความเคารพ ๒. ความถ่อมตน ๓. ความสันโดษ ๔. ความกตญั ํู ๕. การฟง๎ ธรรมตามกาล คาถาที่ ๘ ๑. ความอดทน ๒. ความเป๐นคนวา่ งา่ ย ๓. การเหน็ สมณะ ๔. การสนทนาธรรมตามกาล คาถาที่ ๙ ๑. การเผาผลาญบาป ๒. การประพฤตพิ รหมจรรย์ ๓. การเหน็ อริยสจั ๔. การกระทาํ นิพพานใหแ้ จ้ง คาถาท่ี ๑๐ ๑. จิตถกู โลกธรรมกระทบแลว้ ไมห่ วัน่ ไหว ๒. จติ ไม่เศร้าโศก ๓. จิตปราศจากธุลี

๓๑๔ ๔. จติ เกษม ในงานวิจัยของพระมหาอดุลย์ คนแรง เร่ือง “การศึกษาเชิงวิเคราห์มังค ลตั ถทปี นี”๒๔๘ เสนอตอ่ บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี ๒๕๔๑ ได้วิเคราะห์ ลกั ษณะภาษา และเนอื้ หาในวรรณกรรมมังคลัตถทีปนี ผู้เขียนเห็นว่าเป๐นแนวทางท่ีเป๐น ประโยชน์ตอ่ การศึกษา จึงสรปุ สาระสาํ คัญมานาํ เสนอ เพ่ือเป๐นตัวอย่างประกอบบางสว่ น ลกั ษณะภาษาทใ่ี ชใ้ นคัมภีร์มังคลัตถทีปนี [๑] การใช้ภาษาในมังคลตั ถทีปนี มงั คลตั ถทีปนี ใช้รูปแบบการประพันธ์ผสมทง้ั รอ้ ยแก้ว และร้อยกรอง [วิมิส สะ] บทร้อยกรองท่ีพบในมังคลัตถทีปนีเป๐นฉันท์วรรณพฤติท้ังหมด มีจํานวน พยางคข์ องฉันทต์ ้งั แต่ ๗ พยางค์ ถึง ๑๔ พยางค์ สว่ นคาถาในมังคลัตถทีปนี มีทั้งคาถามี บาทั้ง ๔ บาทเหมือนกันหมด มีบาทท้ัง ๔ เหมือนกันคร่ึงหน่ึง และมีบาททั้ง ๔ ไม่ เหมอื นกนั ฉันทลักษ์ท่ีพบในมงั คลตั ถทีปนี ประกอบด้วย ๑. ตตยิ ม การวิปลุ าคาถา อนุฏฐภาฉันท์ มลี ักษณะสาํ คญั คอื ๑] ทุกบาท มี ๘ พยางค์, ๒] หลงั พยางคแ์ รกต้องไม่มี ส คณะ และ น คณะ, ๓] หลัง ๔ พยางค์แรก ในบาทคู่ ต้องมี ช คณะ, ๔] หลัง ๔ พยางค์แรกในบทที่ ๑ ต้องมี ย คณะ, และ ๕] หลัง ๔ พยางค์แรกในบาทที่ ๓ ต้องมี ม คณะ เขยี นผังประกอบได้ดังน้ี                 ตัวอยา่ ง พหู เทวา มนุสฺสา จ มงฺคลานิ อจนิ ฺตยํฃ อากงฺขมานา โสตฺถานํ พฺรูหิ มงคฺ ลมุตฺตมฯํ ๒. ปัฐยาวตั รคาถา อนุฏฐภาฉันท์ มีลักษณะสําคัญคือ ๑] ทุกบาทมี ๘ พยางค์, ๒] หลังพยางคแ์ รกตอ้ งไมม่ ี ส คณะ และ น คณะ, ๓] หลัง ๔ พยางค์แรกใน บาทค่ี ต้องมี ย คณะ, ๔] หลัง ๔ พยางค์แรกในบาทคู่ต้องมี ชะ คณะ และ เขียนผัง ประกอบไดด้ ังนี้         ๒๔๘ พระมหาอดลุ ย์ คนแรง, การศึกษาเชงิ วิเคราะหม์ ังคลตั ถทปี นี, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสต รมหาบัณฑิต สาขาวิชาจารึกภาษาไทย, ภาควิชาภาษาตะวันออก, [บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัย ศิลปากร, ๒๕๔๑], ๔๐๗ หนา้ .

๓๑๕         ตวั อย่าง อเสวนา จ พาลานํ ปณฺฑติ านํฺจ เสวนา ปชู า จ ปูชนียานํ เอตมมฺ งฺคลมุตฺตมํฯ ๓. ตติย ภ การวปิ ุลาคาถา อนุฏฐภาฉันท์ มีลักษณะสําคัญคือ ๑] ทุกบาทมี ๘ พยางค์, ๒] หลังพยางค์แรกต้องไม่มี ส คณะ และ น คณะ, ๓] หลัง ๔ พยางค์แรกในบาทคู่ ต้องมี ช คณะ, ๔] หลัง ๔ พยางค์แรกในบทท่ี ๑ ต้องมี ย คณะ, และ ๕] หลัง ๔ พยางคแ์ รกในบาทที่ ๓ ต้องมี ภ คณะ เขยี นผงั ประกอบไดด้ ังน้ี                 ตวั อย่าง คารโว จ นีวาโต จ สนฺตฏุ ฐฺ ี จ กตํํฺ ุตา กาเลน ธมฺมสฺสวนํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํฯ ๔. ปฐม ช การวิปุลาคาถา อนุฏฐภาฉนั ท์ มีลกั ษณะสําคญั คือ ๑] ทุกบาท มี ๘ พยางค์, ๒] หลังพยางคแ์ รกต้องไม่มี ส คณะ และ น คณะ, ๓] หลัง ๔ พยางค์แรก ในบาทคู่ ต้องมี ช คณะ, ๔] หลงั ๔ พยางค์แรกในบทท่ี ๑ ต้องมี ช คณะ, และ ๕] หลัง ๔ พยางคแ์ รกในบาทท่ี ๓ ต้องมี ย คณะ เขยี นผังประกอบได้ดังน้ี                 ตัวอย่าง อาสีวสิ วํ กุปปฺ ิตํ มฬิ หฺ ลิตตฺ ํ มหาปถํ อารกา ปรชิ เฺ ชหิ ยานวี วสิ มํ ปถํ ฯ ๕. อนิ ทรวิเชียรคาถา ติฏฐภาฉันท์ มีลักษณะสําคัญคือ ๑] ทุกบาทต้องมี ๑๑ พยางค์ ๒] ทุกบาทต้องมี ๓ คณะ ประกอบด้วย ต ต ช และ ครุลอย ๒ เขียนผัง ประกอบได้ดังน้ี     ตว้ อยา่ ง ปํญฺ า หิ เสฏฺฐา กสุ ลา วทนตฺ ิ นกขฺ ตฺตราชาริว ตารกานํ สลี ํ สิรี จาปิ สตํจฺ ธมฺโม อนฺวายกิ า ปํฺญวโต ภวนตฺ ิฯ ๖. อุปชาติตาถา ติฏฐภาฉันท์ ลักษณะของอุปชาติคาถา คือนําฉันท์ต่าง ชนิดมาผสมกัน เช่นอินทรวิเชียรคาถา ผสมกับอุเปนทรวิเชียรคาถา หรืออินทรวิเชียร คาถา ผสมกับวงั สัฏฐคาถา หรืออินทรวิเชียรคาถา ผสมกับกับอุเปนทรวิเชียรคาถา และ อินทรวงศค์ าถา, หรอื วังสัฏฐคาถา ผสมกับอนิ ทรวงศ์คาถา เป๐นตน้ ตัวอย่างเช่น

๓๑๖ [๑] อนิ ทรวเิ ชยี รคาถาผสมกับอุเปนทรวิเชยี รคาถา เอเต จ ญตฺวา สตมิ า สเุ มโธ อเวกขฺ ตี วปิ รณิ ามธมเฺ ม อิฏฐฺ สสฺ ธมฺมา น มเถนฺติ จิตฺตํ อนิฏฺฐโต โน ปฏฆิ าตเมติ ฯ [๒] อินทรวเิ ชียรคาถาผสมกับวงั สัฏฐคาถา ธรี ํจฺ ปํฺญํจฺ พหสุ สฺ ุตํฺจ โธรยฺหลลี พฺพตวนฺตมริยํ ตนตฺ าทสิ ํ สปปฺ รุ ิสํ สุเมธํ ภเชถ นกฺขตฺตปถํว จนทฺ ิมาฯ [๓] อนิ ทรวิเชียรคาถา ผสมกับอุเปนทรวิเชยี รและอินทรวงศค์ าถา ปุจฉฺ าปิ ตํ เทว มหานภุ าวํ มนุสสฺ ภโู ต กิมกาสิ ปํุ ญฺ ํ เกนาสิ เอวํฺชลติ านภุ าโว วํโฺ ญ จ เต สพฺพทิสา ปภาสตฯิ [๔] วังสัฏฐคาถาผสมกับอนิ ทรวงศ์คาถา ททํ ปโิ ย โหติ ภชนฺติ นํ พหู กิตตฺ ํิ จฺ ปปโฺ ปติ ยสสฺส วฑฒฺ ติ อมงฺกภุ ูโต ปริสํ วคิ าหติ วสิ ารโท โหติ นโร อมจฺฉรฯี อนึ่ง นอกจากนี้ ในมังคลัตถทีปนี ยังปรากฎฉันท์ที่ไม่มีอยู่คัมภีร์วุตโตทัย อกี หลายลกั ษณะ เชน่ ปฐม วสนั ตดิลกคาถา สักกรีฉันท์, การวิปุลาคาถา, ปฐม น การวิ ปลุ าคาถา, ตติย ช การวิปลุ าคาถา,ปฐม ส การวิปลุ าคาถา, ปฐม ภ การวิปุลา ตติย ส กา รวิปุลาคาถา, วิปุลาคาถาที่ไม่ปรากฏในวุตโตทัย, เป๐นต้น รวมแล้วไม่ต่ํากว่า ๒๓ ประเภทฉันท์ แสดงให้เห็นว่า พระสิริมังคลาจารย์ เป๐นผู้ทรงความรู้ทางด้านภาษาบาลี อย่างลึกซ้ึง ผู้สนใจ สามารถศึกษารายละเอียดเพ่ิมเติมในงานวิจัยเรื่อง การศึกษาเชิงวิ เคราห์มังคลตั ถทีปนี ดังกล่าวแลว้ ข้างตน้ [๒] อลงั การศาสตร์ในคมั ภีรม์ ังคลตั ถทปี นี คมั ภีร์มงั คลตั ถทีปนี พระสิริมังคลาจารย์รจนา ประดับด้วยเครื่องอลังการ ทางภาษา ทั้งในสว่ นของสัททาลงั การ และอัตถาลังการ

๓๑๗ ในสว่ นของสัททาลงั การ มงั คลัตถทีปนี ประดับประดาด้วยปสาทคุณ, โอช คณุ , มธุรตาคุณ, สมตาคณุ , สุขมุ าลตาคณุ , สิเลสคุณ, อุทารคุณ, กันติคุณ, และอัตถพยัต ตคิ ณุ มเี พียงสมาธคิ ุณเท่าน้ัน ไมป่ รากฏในคมั ภรี ์มังคลัตถทปี นี ตัวอย่าง [๑] สทั ทาลงั การ_ปสาทคณุ ธีรํ ปสเฺ ส สเุ ณ ธีรํ ธเี รน สห สํวเส ธเี รนลฺลาปสลฺลาป๏ ตํ กเร ตํเฺ จ โรจเยฯ [๒] สทั ทาลังการ_โอชคุณ ปีตวตฺเถ ปีตทฺธเช ปตี าลงกฺ ารภสู เิ ต ปีตจนทฺ นลิตฺตงฺเค ปตี อุปฺปลธาริณิ ปตี ปปฺ าสาทสเยเน ปีตาเส ปีตโภชเน ปตี จฺฉตฺเต ปตี รเถ ปีตสเฺ ส ปีตวชี เน กึ กมมฺ ํ อกริ ภทเฺ ท ปุพเฺ พ มานสุ เก ภเว เทวเต ปุจฉฺ ิตาจกฺข กสิ ิส กมมฺ สฺสทิ ํ ผลฯํ ในส่วนของอัตถาลังการ มังคลัตถทีปนี ประดับประดาด้วยอรรถาลังการ หลายลกั ษณะ รวม ๒๐ ชนิด ประกอบดว้ ย อติสยอลังการ, อุปมาอลังการ, รูปกอลังการ, อาวุตติอลังการ, ทีปกอลังการ, อัตถันตรนยาสอลังการ, พยติเรกอลังการ, กมอลังการ, ปริกัปปนาอลังการ, สมาหิตอลังการ, ปริยายวตุ ติอลงั การ, พยาชวณั ณอลงั การ, รุฬหาหัง การอลังการ ดุลยโยคิตาอลังการ, นิทัสสนอลังการ, มหันตัตตอลังการ, อัปปกตัตถุติ อลังการ, อญั ญมัญญอลงั การ, สหวตุ ติอลังการ, และปริวุตตอิ ลงั การ ตวั อยา่ ง [๑] อัตถาลงั การ_อติสยะ บทประพนั ธท์ ก่ี ล่าวถึงคุณอันยอดเย่ียม และรูป กะ คือบทประพันธ์ที่ไมม่ คี วามแตกต่างระหวา่ งอปุ มาและอุปไมย พุทฺโธ โย มงฺคลตถฺ นี ํ มงคฺ ลํ อติ ิ วิสฺสโุ ต เทสโก มงฺคลตฺถานํ มงคฺ ลนตฺ ํ นมามหิ ํฯ แปล พระพุทธเจ้าพระองค์ใด ชาวโลกเลื่องลือว่าเป๐นมงคล ของ ทวยเทพและมนุษย์ ผมู้ คี วามต้องการดว้ ยมงคล เป๐นผู้แสดงความหมายแท้จริงแห่งมงคล ข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระพทุ ธเจ้า พระองคน์ น้ั [๒] อัตถาลังการ_อุปมา บทประพันธ์ท่ีกล่าวถึงลักษณะเหมือนกันของ อุปมานกบั อุปไมย อาสวี ิสํว กุปปฺ ิตํ มิฬฺหลติ ฺตํ มหาปถํ

๓๑๘ อารกา ปรวิ ชฺเชหิ ยานีว วิสมํ ปถํ ฯ แปล เจ้าจงหลีกคนพาลให้ห่างไกล เหมือนคนหลีกอสรพิษท่ีกําลัง โกรธ เหมอื นคนเลยี่ งทางใหญท่ ี่เปื๒อนคถู เหมอื นคนขับขี่ยวดยานหลับทางขรุขระ ฉะนน้ั [๓] อัตถาลังการ_อาวุตติ บทประพันธ์ที่มีศัพท์ซ้ํารูปกันและมีควาหมาย เปน๐ เร่อื งเดียวกัน น ภเช ปาปเก มติ ฺเต น ภเช ปรสิ าธเม ภเชถ มิตฺเต กลยฺ าเณ ภเชถ ปุรสิ ุตฺตเมฯ แปล บคุ คลผมู้ ีปญ๎ ญา ไมพ่ ึงคบพวกปาปมติ ร ไมพ่ งึ คบคนผู้ต่ําทราบ พงึ คบกลั ยาณมิตร พงึ คบคนผู้สูงสุด [๔] อัตถาลังการ_ทีปกะ บทประพันธ์ที่วางบทหลักไว้เพียงแห่งเดียว แต่ นําไปใชก้ ับคําอ่ืน หรอื ส่องความไดช้ ดั เจนท้ังประโยค เย สตฺตา สํญฺ โิ น อตถฺ ิ เย จ สตตฺ า อสํฺญโิ น กตํ ปุํฺญผลํ มยหฺ ํ สพเฺ พ ภาคี ภวนฺตุ เตฯ แปล ขอเหล่าสตั ว์ทั้งหลายทั้งท่ีมีสัญญา ท้ังท่ีไม่มีสัญญาท้ังหมดนั้น จงเป๐นผมู้ สี ว่ นแหง่ บุญที่ขา้ พเจ้าทําแลว้ เถดิ [๕] อัตลาลงั การ_พยาชวัณณะ บทประพนั ธท์ กี่ ล่าวประดุจตาํ หนิ แต่กลับ เปน๐ การยกยอ่ ง ปสฺส มาตลิ อจเฺ ฉรํ จติ ฺตํ กมฺมผลํ อทิ ํ อปฺปกํปิ กตํ เทยฺยํ ปุํฺญํ โหติ มหปผฺ ลฯํ แปล มาตลิ เชิญท่านดูผลกรรมอันวิจิตร น่าอัศจรรย์น้ี ไทยทานแม้ น้อยอนั บุคคลทําแล้ว บุญกลบั มีผลมาก [๓] โวหารในคัมภีร์มังคลัตถทปี นี พระสิริมังคลาจารย์ รจนามังคลัตถทีปนีโดยใช้โวหารต่างๆ ทั้ง ๖ โวหาร สลับไปมาตามความเหมาะสม และสอดคล้องกับจุดประสงค์ เช่น คราวใดควรใช้ พรรณนาโวหาร ท่านกใ็ ช้พรรณนาโวหาร คราวใดควรใชบ้ รรยายโวหาร ทา่ นกใ็ ช้บรรยาย โวหาร คราวใดควรใช้อุปมาโวหาร ท่านก็ใช้อุปมาโวหาร คราวใดควรใช้เทศนาโวหาร ทา่ นก็ใช้เทศนาโวหาร เปน๐ ตน้ ตวั อย่างอธิบายโวหาร

๓๑๙ ในคําเร่ิมต้นน้ัน คําว่า \"เอวมฺเม สุต\" น้ี เม ศัพท์ มี มยา ศัพท์เป๐นอรรถ, สุต ศัพท์ มีวิญญาณอาศัยโสตทวารเป๐นอรรถ เอว ศัพท์ มีอาการะ นิทัสสนะ และอว ธารณะ เปน๐ อรรถ. [เอวํ ศพั ท์ มีอาการะเปน๐ อรรถ] จริงอยู่ ด้วย เอว ศัพท์ ซ่ึงมีอาการะเป๐นอรรถนี้ พระเถระย่อมแสดงว่า พระดํารัสของพระศาสดาเต็มไปด้วยนัยหลายหลากลึกโดยธรรม อรรถ เทศนา และ ปฏิเวธ เป๐นสภาพทส่ี รรพสตั ว์จะพงึ เขา้ ไปกําหนดตามเหมาะแก่ภาษาของตน ๆ ได้, ใคร จะสามารถรู้แจ้งพระดํารัสน้ันโดยประการน้ันปวงได้. ที่แท้แม้ข้าพเจ้าก็ฟ๎งมาแล้วโดย อาการอยา่ งหน่งึ คือทรงจําไว้ได้ดว้ ยวิถแี ห่งโสตวิญญาณ ซ่งึ มีโสตวญิ ญาณเปน๐ หวั หนา้ .\" [เอวํ ศัพท์ มนี ทิ ัสสนะเป๐นอรรถ] ดว้ ย เอว ศพั ท์ อันมีนิทสั สนะเป๐นอรรถ พระเถระย่อมชีแ้ จงพระสูตรทั้งสิ้น ทีจ่ ะพงึ กลา่ วในบดั นี้. จริงอยู่ พระเถระน้ันเม่ือจะเปล้ืองตัวว่า \"ข้าพเจ้ามิใช่สยัมภู, พระ สตู รนี้ ข้าพเจา้ กม็ ไิ ดก้ ระทาํ ใหแ้ จ้ง\" จึงกลา่ ววา่ \"ขา้ พเจ้าฟง๎ แลว้ อย่างน้ี.\" อธิบายว่า \"พระ สตู รอย่างน้ี คอื นี้ ได้แกท่ ี่กล่าวอยู่ ข้าพเจา้ ฟ๎งแล้ว.\" [เอวํ ศพั ท์ มอี วธารณะเป๐นอรรถ] ด้วย เอว ศัพท์ อนั มีอวธารณะเปน๐ อรรถ พระเถระยอ่ มแสดงว่า \" พระสูตร นัน้ ไมห่ ย่อนไม่ยงิ่ โดยอรรถหรือโดยพยญั ชนะอยา่ งน้ี คือไมพ่ งึ เห็นโดยประการอ่นื .\" จรงิ อยู่ พระเถระนั้นเมื่อจะแสดงกําลังแห่งความทรงจําของตน จะยังความเป๐นผู้ใคร่ฟ๎งให้ เกิดแก่สัตว์ทั้งหลาย จึงกล่าวว่า \"ข้าพเจ้าฟ๎งแล้วอย่างน้ี.\" อธิบายว่า \"พระสูตรน้ัน ขา้ พเจ้าฟ๎งแล้วอยา่ งน้ี คอื เช่นนีแ้ ล.\"๒๔๙ ตวั อยา่ งพรรณนาโวหาร ในคนพาลและบัณฑิตทั้ง ๒ พวกนั้น พวกบัณฑิตเท่าน้ันควรเสพ, พวกคน พาล หาควรเสพไม่; เพราะพวกคนพาลเป๐นเช่นกับปลาเน่า, ผู้เสพคนพาลนั้น ก็เช่นกับ ใบไม้ห่อปลาเน่า ถึงความเป๐นผอู้ ันวญิ ํูชนท้ังหลายควรท้ิงและเกลียดชัง. [ฝุาย] บัณฑิต เป๐นเชน่ กบั ของหอมมีกฤษณาและมาลาเปน๐ ตน้ ถงึ ความเป๐นผูค้ วรกับใบไม้ท่ีพันของหอม มีกฤษณาและมาลาเปน๐ ต้น ถงึ ความเปน๐ ผคู้ วรสรรเสริญและฟใู จของวิญํูชนท้ังหลาย. ก็ ผใู้ ดคบคนใด, ผู้น้นั กม็ คี นนน้ั เป๐นคติเทียว.๒๕๐ ๒๔๙ มหามกุฏราชวิทยาลัย, ผแู้ ปล. มังคลัตถทีปนี แปล ภาค ๑, [กรุงเทพฯ: มหามกุฏราช วิทยาลัย, ๒๔๘๑], หน้า ๑๐. ๒๕๐ มหามกุฏราชวทิ ยาลยั , ผแู้ ปล. มงั คลัตถทีปนี แปล ภาค ๑ หนา้ ๒๓.

๓๒๐ อีกนัยหนึ่ง คนพาลทั้งหลายเปรียบเหมือนอมิตรผู้มีดาบในมือ, บัณฑิต ทั้งหลายเปรียบเหมือนญาติที่รัก. จริงอย่างนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า เม่ือประทับ ทํา หมู่บ้านเวฬุวคาม อันต้งั อยูใ่ นที่ไมไ่ กลเบื้องทิศทักษิณแห่งเมืองไพศาลี เป๐นโคจรคาม ได้ เกิดประชวรลงพระโลหิต. ท้าวสกั กเทวราช ทรงทราบเหตุน้ันแล้ว เสด็จมาทรงอุป๎ฏฐาก พระศาสดาอยู่ มิให้ผู้อ่ืนแตะต้องภาชนะสําหรับรองพระบังคนหนักของพระศาสดาแม้ ด้วยมือเลย วางไว้เหนือพระเศยี รทีเดยี วนาํ ออกไปเหมอื นคนนําภาชนะของหอมไป. ท้าว เธอทรงอุป๎ฏฐากอยู่อย่างนี้ ในเวลาพระศาสดาทรงผาสุก จึงเสด็จไปสู่เทวโลก. ภิกษุ ท้ังหลายพดู กันว่า \"นา่ อัศจรรย์ ท้าวสักกเทวราช มีความรักใคร่ในพระศาสดา, พระองค์ ทรงสละทิพยสมบัติมาอุป๎ฏฐากแล้ว.\" พระศาสดาตรัสว่า \"ภิกษุท้ังหลาย ท้าวสักก เทวราช ทรงพิจารณาเห็นว่า 'การเห็นพระอริยเจ้าทั้งหลายก็ดี ภาวะคือกิริยา มีการน่ัง เป๐นต้นในทแี่ ห่งเดียวกนั กบั ท่านก็ดี ภาวะคอื การได้ทาํ วตั รและปฏิวัตรแก่ท่านก็ดี ย่อมยัง ประโยชน์ใหส้ าํ เร็จ' ดังน้แี ลว้ จึงเสดจ็ มาอปุ ๎ฏฐากเรา\"๒๕๑ ตัวอย่างสาธกโวหาร ก็ผใู้ ดคบคนใด, ผู้นั้นกม็ ีคนนั้นเป๐นคติเทียว. แต่เพื่อจะแสดงความข้อน้ี จึง ควรกลา่ วเรือ่ งลกู นกแขกเต้าเปน๐ ต้นไว้ [ดังต่อไปนี้] :- [เรือ่ งลูกนกแขกเต้า] ๒๕๒ ดังได้สดับมา ในอดีตกาล มีลูกนกแขกเต้า ๒ ตัวพ่ีน้องในปุางิ้วใกล้สานุ บรรพต.๑ และในด้านเหนอื ลมแห่งภูเขา มบี ้านที่อยู่อาศัยของโจร ๕๐๐, ในด้านใต้ลม มี อาศรมทอ่ี ยูอ่ าศัยของฤษี ๕๐๐.ในเวลาทีข่ นปกี ลกู นกแขกเต้ายังไม่ออก เกิดลมหัวด้วน๒ ขึ้นแล้ว. ลูกนกทั้ง ๒ นั้น ถูกลมนั้นพัดไปตกตัวละแห่ง. ใน ๒ ตัวนั้น ตัวหนึ่งตกใน ระหว่างอาวุธ ในบ้างโจร เพราะเหตุท่ีตกในที่นั้น พวกโจรจึงขนานนามว่า สัตติคุมพะ เจริญข้ึนในระหว่างโจรเหล่านั้น.ตัวหนึ่งตกในระหว่างดอกไม้ ท่ีหาดทรายใกล้อาศรม เพราะเหตุท่ีตกในที่นั้น พวกฤษีจึงขนานนามว่า \"ปุปผกะ\"๔ เจริญข้ึนในระหว่างฤษี เหลา่ นั้น. คราวนั้น พระราชา ทรงพระนามว่า ป๎ญจาละ ในพระนครชื่ออุตตรป๎ญจา ละ ทรงประดับเคร่ืองอลังการพร้อมสรรพ เสด็จทรงรถไปปุา เพื่อล่าเน้ือ มีพระราช โองการดาํ รัสสั่งวา่ \" เนอื้ หนไี ปทางดา้ นของผใู้ ด, ผูน้ น้ั แล ต้องถูกปรับ\" ดังนี้แล้ว ได้เสด็จ ลงจากรถ ทรงถอื ธนปู ระทบั ยนื อยู่ ณ ท่ีกําบงั .ขณะนน้ั เน้อื ทรายตัวหนึ่ง เมื่อพวกมนุษย์ ๒๕๑ มหามกุฏราชวทิ ยาลยั , ผแู้ ปล. มงั คลตั ถทีปนี แปล ภาค ๑ หน้า ๓๕. ๒๕๒ มหามกุฏราชวทิ ยาลัย, ผ้แู ปล. มังคลัตถทีปนี แปล ภาค ๑ หนา้ ๒๔.

๓๒๑ ฟาดพุ่มแห่งละเมาะไม้อยู่ ก็ลุกข้ึนตรวจดูทางจะไป เห็นว่าสถานท่ีพระราชาประทับยืน อยู่เท่าน้ันว่าง จึงบ่ายหน้าทางนั้น ว่ิงหนีไปแล้ว. มนุษย์ท้ังหลายก็ทําการเยาะเย้ยกับ พระราชา, ท้าวเธอทรงต้ังพระราชาหฤทัยว่า \"จักจับให้ได้ในบัดนี้\" จึงเสด็จขึ้นรถ ทรง ติดตามเนือ้ ไปโดยเร็ว. พวกบุรุษไม่อาจติดตามพระองค์ได้. พระราชา มีนายสารถีเป๐นท่ี ๒ ไมพ่ บเนอ้ื แล้วเสดจ็ กลบั ทรงสนานและเสวยนาํ้ ณ ลําธารอันน่ารื่นรมย์แล้วบรรทมใต้ ร่มไม้ในทใี่ กลบ้ ้านโจร. คราวนน้ั โจรทั้งหมดเขา้ ปาุ กันหมด, ภายในบ้านเหลืออยู่แต่นกสัตติคุมพะ กับคนทาํ ครวั คนหน่งึ . นกสัตตคิ มุ พะออกจากบา้ น พบพระราชาบรรทมแล้วอย่างนั้น จึง [กลบั ] เขา้ บา้ น พูดกับคนทําครัว ด้วยภาษามนุษย์ว่า \"พวกเราช่วยกันปลงพระชนม์พระราชา เอาผ้าและอาภรณ์ของ พระองค์ จับพระองค์ที่พระบาทแล้วลากมา เอาก่ิงไม้ปิดซ่อนเสีย ณ ส่วนข้างหน่ึง.\" พระราชาตื่นบรรทม ทรงได้ยินถ้อยคํานั้นทรงทราบว่า \"ท่ีน่ีมีภัยเฉพาะหน้า\" ตกพระ หฤทัย เสด็จข้นึ รถทรงหนีจากทนี่ น้ั ไปถึงอาศรมแห่งพวกฤษี. คราวนัน้ พวกฤษไี ปเพอื่ ต้องการผลไมน้ อ้ ยใหญ่. ในอาศรมคงอยู่แต่นกปุปผ กะตวั เดยี ว. นกน้ันเห็นพระราชาแล้ว ได้ทําปฏิสันถาวรโดยนัยเป๐นต้นว่า \"ขอเดชะพระ มหาราชเจ้า พระองคเ์ สด็จมาดีแลว้ , พระองคม์ ไิ ดเ้ สดจ็ มารา้ ย.\" พระราชาทรงเสอื่ มใสในปฏสิ นั ถารของนกน้นั ทรงสรรเสริญนก ปปุ ผกะ ทรงตาํ หนินกสัตตคิ มุ พะนอกน้ี ดว้ ยพระดาํ รสั ว่า \"นกนี้ดีหนอ เป๐น ชาตนิ ก [แต่] ทรงธรรมอย่างเย่ียม ส่วนนกแขกเตา้ อีกตัวหนงึ่ นัน่ พูดแตค่ ํามักได้.\" นกปุปผกะได้ฟ๎งคํานั้น จึงทูลว่า \"ขอเดชะมหาราชเจ้าข้าพระองค์ร่วม มารดาเดียวกนั กบั นกนั้น, แต่เขาเติบโตในสํานักคนไม่ดี คนพวกนั้นแนะนําแล้วด้วยโจร ธรรม, ขา้ พระองค์เตบิ โตแล้วในสํานกั ของพวกคนดี คนเหลา่ น้นั แนะนําแล้วด้วยฤษธี รรม, เหตุน้ันข้าพระองค์ทั้ง ๒ จึงเป๐นผู้ต่างกันโดยธรรม\" เมื่อจะแสดงธรรมแด่พระราชาได้ กลา่ วคาถาเหล่านี้วา่ ... ตวั อย่างเทศนาโวหาร ผู้ใดปฏิบัติประพฤติบําเพ็ญบุรพภาคปฏิปทานั้น ผู้น้ัน ตรัสว่าเป๐นผู้ปฏิบัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม ปฏิบัติชอบย่ิง มีปกติประพฤติตามธรรม. เพราะฉะนั้น บรรพชิตผู้ ต้งั อยู่ในอคารวะ ๖ ละเมิดพระบัญญัติเลี้ยงชีวิตด้วยอเนสนา จึงไม่ชื่อว่า ผู้ปฏิบัติธรรม สมควรแกธ่ รรม. บรรพชติ ผู้ไมล่ ะเมดิ สกิ ขาบทท่พี ระศาสดาทรงบัญญตั ไิ วแ้ ก่ตนทุกข้อนั้น แม้เพยี งเล็กน้อย เล้ยี งชีพโดยธรรม จึงชอ่ื ว่า เปน๐ ผู้ปฏิบัตธิ รรมสมควรแกธ่ รรม.

๓๒๒ ฝาุ ยคฤหสั ถ์ผ้ทู ําเวร ๕ อกศุ ลกรรมบถ ๑๐ ไม่ชื่อว่า ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ ธรรม. แต่ผ้ใู ด เป๐นผู้ทาํ ใหบ้ ริบูรณใ์ นสรณะและศีล รักษาอุโบสถเดือนละ ๘ ครั้ง ให้ทาน ทําการบชู าด้วยของหอมและการบูชาด้วยมาลา บํารุงมารดาบิดาและสมรณพราหมณ์ผู้ ทรงธรรมผนู้ ีจ้ งึ เป๐นผู้ช่อื ว่า ปฏบิ ตั ธิ รรมสมควรแก่ธรรม. ก็พระผูม้ พี ระภาคน้นั เม่ือตรัสคํา ว่า \"ด้วยบูชาอย่างย่ิง\" ก็ชื่อว่าทรงแสดงอรรถาธิบายน้ีว่า \"ธรรมดาว่านิรามิสบูชา ย่อม อาจดาํ รงศาสนาของเราไว้ได้เพราะวา่ บริษัท ๔ น้ี ยังจักบูชาเราด้วยปฏบิ ัติบูชาน้ีตราบใด ศาสนาของเราก็จกั รุ่งเรือง ดงั พระจนั ทร์เพญ็ แจ่มอยู่กลางฟูาตราบนัน้ \"๒๕๓ มาเลยยเทวตั เถรวัตถุ มาเลยยเทวัตเถรวัตถุ๒๕๔ เป๐นคัมภีร์ท่ีพรรณนาถึงพระมาลัยท่องสวรรค์ แล้วนําข่าวสารมาบอกแก่มนุษย์ จุดมุ่งหมายเพ่ือละชั่ว ทําความดีตามแนวทางแห่งคํา สอนพระพทุ ธองค์ รปู แบบการประพันธ์เปน๐ บทรอ้ ยแก้ว แต่ก็มีร้อยกรองผสมแทรก เป๐น ระยะๆ คมั ภีรม์ ีแพรห่ ลายอยู่ในหลายประเทศ เช่น พม่า ลังกา ไทย ลาว เขมร จึงทําให้ คมั ภีรน์ ้มี ีแพร่หลาย และมหี ลายสํานวน เฉพาะทม่ี กี ารตรวจสอบในหอสมดุ แห่งชาติก็พบ ถึง ๒๒ ฉบับ หอสมุดแห่งชาติฝรั่งเศส ๓ ฉบับ กรุงพนมเปญ ๑ ฉบับ ทําให้ยากแก่การ วินิจฉัยไดว้ า่ ใครเปน๐ ผรู้ จนาคมั ภีรน์ ี้ และรจนาท่ีใด ในงานวิจัยของสุภาพร มากแจ้ง ได้ให้ข้อสรุปเบ้ืองต้นว่า คัมภีร์มาเลยยเท วัตเถรวัตถุฉบับแรกน่าจะแต่งขึ้นในประเทศพม่า โดยพระภิกษุชาวพม่า ระหว่างปลาย พุทธศตวรรษที่ ๑๖-ต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๘ แล้วได้รับการคัดลอกต่อๆ กันมา ซ่ึงในการ คัดคลอกต่อๆ กันมาน้ี ทําให้สํานวนภาษา และเน้ือหาปลีกย่อยผิดเพี้ยนกันไปในแต่ละ สถานท่ีตามแต่ผู้คัดลอกจะเห็นสมควร โดยอาจมีการเพิ่มเติมข้อความบางตอนเข้าไป หรือข้อความบางแห่งอาจขาดหายไป๒๕๕ ส่วนตัวคัมภีร์ท่ีมีมาในประเทศไทย มีที่มา ๒ ทางคือ แต่งข้ึนทางล้านนาไทย โดยภิกษุชาวล้านนา ประมาณพุทธศตวรรษท่ี ๑๗-๑๘ ๒๕๓ มหามกุฏราชวทิ ยาลยั , ผู้แปล. มังคลตั ถทปี นี แปล ภาค ๑ หน้า ๑๑๔-๑๑๕. ๒๕๔ สุภาพร มากแจ้ง มาเลยฺยเทวตฺเถรวตฺถุ: การตรวจชาระและศึกษาเชิงวิเคราะห์, วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต แผนกวิชาภาษาตะวันออก, [บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๒๑], ๒๓๖ หนา้ . ๒๕๕ สุภาพร มากแจ้ง มาเลยฺยเทวตฺเถรวตฺถุ: การตรวจชาระและศกึ ษาเชิงวเิ คราะห์, หน้า ๓๖.

๓๒๓ ส่วนอีกทางหน่ึงคือแต่งข้ึนในสมัยสุโขทัย โดยภิกษุชาวสุโขทัย ระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐๒๕๖ สารตั ถสําคญั ของคมั ภรี ์มาเลยยเทวตั เถรวัตถุ ตอนต้นคัมภีร์ได้แสดงเนื้อหา ไว้ในลกั ษณะเป๐นบทสรุปไว้ ความสมบูรณ์ในย่อหน้าแรกของเร่ือง ส่วนย่อหน้าต่อๆ ไป เป๐นการแสดงรายละเอียดเหตุการณ์ท่ีพระมาลัยเถระไปเผชิญมาในเมืองสวรรค์ การ เดนิ เรื่องใช้วิธกี ารสนทนาโต้-ตอบระหวา่ งทา้ วสักกะกับพระมาลัยเทวเถระตลอดท้งั เรอ่ื ง ก่อนเร่ิมตน้ คมั ภรี ์ ผู้รจนาได้แสดงความนอบน้อมพระรัตนตรัยเป๐นบทร้อย กรอง ดงั น้ี นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทธฺ สสฺ ฯ สุรนรมหิณียํ พุทธฺ เสฏฺฐํ นมติ ฺวา สคตปภวธมฺมํ สาธุสงฺฆญจฺ นตฺวา สกลชนปสาทํ มาเลยํ นาม วตถฺ ํฃ ปรมนยวิจิตตฺ ํ อารภิสสฺ ํ สมาสาตฯิ แปล ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคพระอรหันตสัมมาสัม พุทธเจา้ พระองค์น้นั ขา้ พเจา้ ขอนอบนอ้ มพระพุทธเจา้ ผู้ประเสริฐ อนั เทวดาและมนุษย์พึง บูชา นอบนอ้ มพระธรรมอนั มพี ระสคุ ตเปน็ แดนเกิด และพระสงฆอ์ ันดีงาม แล้ว จักปรารภเพ่ือกล่าวคัมภีร์พระมาลัย อันเป็นที่เลื่อมใสของปวงชน อันมีนัยอัน วิจิตรอย่างย่งิ โดยยอ่ ฯ๒๕๗ ยอ่ หน้าแรกเกรนิ่ นําแสดงภาพรวมเนือ้ หาโดยสรุป ดงั น้ี บาลี อตีเต กิร ติรตนปติฏฺฐวนภูเต ลงฺกาทีปสํขาเต ตามฺพปณณฺ ิทเี ป ปรมิทธฺ ิญาเณน ปากโฏ มาเลยฺยเทวตฺเถโร นาม เอโก เถโร กมฺโพชคามํ นิสฺสาย โรหชนปเท วหิ าสิ ฯ โส ปน เถร ปนุ ปฺปนุ ํ นิรเย ปจฺจ มานานํ นารกานํ ปวุตฺตึ อาหริตฺวา เตสํ ญาตกานํ กเถตฺวา ทานาทีนิ ปุญฺญานิ การาเปตวฺ า เตสํ อทุ ทฺ ิสสฺ ปุญฺญานุโมทเนน ลทฺธปุญฺญผเลน เทวโลก ปรายเน กโรนฺโต ตตฺเถว วิหาสิฯ โส ปิ อิทฺธิพเลน เทวโลกญฺจ ยมฺโลกญฺจ คจฺฉติฯ เทวโลเก รตนตตฺ เย ปสนฺนานํ อปุ าสกานํ อุปาสิกานํ มหนฺตํ อิสฺสริยํ ๒๕๖ สภุ าพร มากแจง้ มาเลยฺยเทวตเฺ ถรวตฺถุ: การตรวจชาระและศึกษาเชิงวเิ คราะห์, หน้า ๒๑๗. ๒๕๗ สุภาพร มากแจง้ มาเลยฺยเทวตฺเถรวตฺถุ: การตรวจชาระและศึกษาเชิงวเิ คราะห์, หน้า ๑๙๕.

๓๒๔ ทสิ วฺ า อาคนวฺ า อสุโก จ อุปาสโก อสุกา จ อปุ าสิกา อสุกสฺมึ นาม เทวโลเก นิพฺพตฺเตตฺวา มหาสมฺปตฺตึ อนุภวนฺตีติ มนุสฺสานํ กเถสิฯ ยมโลเก ปาปมนุสฺ สานํ มหนฺตํ ทุกฺขํ ทิสฺวา อาคนฺตวา อสุโก จ อาสุกา จ อสุกสิมึปิ นิรเย นิพฺพตฺเตตฺวา มหนฺตํ ทุกฺขํ อนุภวนิตีติ มนุสฺสานํ กเถสิฯ มนุสฺสา สาสเน ปสีทนฺติ ปาปานิ น กโรนฺติ ทานาทีนิ ปุญฺญานิ ญาตกานํ กาลกตานํ อุทฺทิสฺสึสุฯ เต อุทฺทิสฺสปุญฺญานุโมทเนน ลทฺธปุญฺญผเลน เทวโลกปรายนา โหนฺตฯิ ๒๕๘ แปล ได้ยินว่า ในคร้ังอดีต ในตามพปัณณิทวีป คือ ลังกา ทวีป อันเป็นที่ประดิษฐานพระรัตนตรัย มีพระเถระองค์หน่ึง ช่ือ มาลัย เทวเถระ มีฤทธ์ิและญาณอันสูงสดุ อาศัยอยู่ที่บา้ นกัมโพชะในโรหชนบท ก็พระ เถระนําเรอ่ื งราวของสัตวน์ รกที่หมกไหม้อยู่ในนรก มาบอกแก่หมู่ญาติของสัตว์ นรกเหล่านั้นเนืองๆ ในหมู่ญาติของสัตว์นรกเหล่าน้ัน พากันทําบุญมีให้ทาน เป็นต้น ทําให้สัตว์นรกเหล่าน้ันได้อยู่ในเทวโลก เพราะได้รับผลบุญด้วยการ อนุโมทนาผลที่หมู่ญาติพากันอุทิศให้ แม้พระเถระไปสู่เทวโลกและยมโลกด้วย กําลังแห่งฤทธิ์ เห็นความเป็นอิสระอย่างย่ิงของอุบาสก อุบาสิกา ผู้มีความ เล่อื มใสในพระรัตนตรัยในเทวโลก และเห็นความทุกข์ใหญ่หลวงของมนุษย์ผู้มี บาปในยมโลก กลับมาเล่ากะมนุษย์ท้ังหลายว่า “อุบาสกชื่อน้ัน อุบาสิกาชื่อ โน้น เกิดอยู่ในเทวโลกโน้น เสวยมหาสมบัติ และชายชื่อนี้ หญิงช่ือโน้น เกิด อยู่ในนรกขุมโน้น เสวสยวามทุกข์ใหญ่หลวง” เหล่ามนุษย์พากันเล่ือมใสใน คําส่ังสอน ไม่กระทําบาป ทําบุญมีทานเป็นต้น อุทิศให้แก่ญาติท่ีตายไปแล้ว สัตวน์ รกเหลา่ นั้นจึงไดไ้ ปสเู่ ทวโลกดว้ ยได้รบั ผลบญุ ท่ีญาตอิ ทุ ศิ ให้ฯ๒๕๙ ความพรรณนาต่อไปโดยยกเร่ืองราวของทุคตบุรุษ เห็นพระเถระ เดินบิณฑบาตในหมู่บ้าน เกิดความเลื่อมใส ตนเองกําลังเก็บดอกบัวอยู่ ไม่มี อะไรถวาย จึงได้น้อมดอกบวั ๘ ดอกทเี่ ก็บจากสระมาถวายพระเถระ โดยก่อน ถวา ยได้ต้ังจิตอธิ ษฐา นขอ อย่า ให้พ บกับควา มยา กจน ในภ พภูมิที่ ตน เกิดแล้ว ๆ ตลอดแสนชาติ ๒๕๘ สุภาพร มากแจง้ มาเลยยฺ เทวตฺเถรวตถฺ ุ: การตรวจชาระและศึกษาเชงิ วเิ คราะห์, หน้า ๔๔. ๒๕๙ สภุ าพร มากแจ้ง มาเลยยฺ เทวตเฺ ถรวตฺถุ: การตรวจชาระและศกึ ษาเชิงวิเคราะห์, หน้า ๑๙๕.

๓๒๕ พระเถระไดก้ ระทําอนุโมทนเปน็ คาถาประพนั ธ์ มคี วามหมายว่า ผู้มี ใจเล่ือมใสแลว้ ใหไ้ ทยธรรมใด ๆ ทรามก็ตาม ประณีตก็ตาม วบิ ากของการให้ ไทยธรรมนั้นๆ ย่อมสําเร็จตามความปรารถนา ยํ ยํ ลูขํ ปณตี ํ วา เทติ ปสนฺนมานโส วปิ ากํ ตสฺส ทานสฺส ยถา อิจฺฉา สมิชฺฌตตี ิฯ พระเถระคร้ันอนุโมทนาแล้ว ก็คิดว่า ที่เจดีย์ ท่ียอดเขา ที่ ปรินิพพาน ท่ีตรัสรู้ ท่ีแสดงธรรมจักรก็เคยบูชามาหมดแล้ว จึงคิดนําดอกบัว ๘ กํานั้นไปบชู าพระเจดยี ์ในจฬุ ามณีในเทวโลก คิดดังนั้นแล้วก็เข้าสู่จตุตถฌาน อนั เป็นบาทแห่งอภิญญา ออกจากจตุตถฌานแล้วก็เหาะขึ้นสู่อากาศลัดมือเดียว ถึงเทวโลก ทําการสักการะพระเจดยี ์ ฝ่ายท้าวสกั กะ พรอ้ มด้วยบรวิ าร กําลังทําการสักการพระเข้ียวแก้ว เบ้ืองขวาของพระผู้มีพระภาค และพระเจดีย์อยู่ เห็นพระเถระก็เสด็จเข้าไปหา พร้อมกับสอบถามที่มาท่ีไปของพระเถระว่ามาจากไหน พระเถระก็ตอบ และ สนทนาสอบถามถงึ วิบากกรรมวา่ ทาํ อะไรจึงได้มาเกิดเป็นเทวดา ท้าวสักกะได้ ช้ีแจงผลกรรมของเทวดา จําแนกประเภทโดยละเอียดว่า บางพวกมีศักดิ์มาก บางพวกมศี ักด์นิ ้อย บางพวกอายุส้ัน บางพวกอายุยาว ดว้ ยผลกรรมท่ีแตกต่าง กนั โดยยกตัวอยา่ งเปรียบเทยี บเหมอื นมนษุ ยใ์ นโลก “พระคุณเจ้าผู้เจริญ เทวดาเหล่าใดเหล่าหน่ึง มีบุญน้อย เทวดา เหล่าน้ันย่อมไม่ดํารงอยู่ในสวรรค์ส้ินกาลนาน เหมือนข้าวเหลือกจํานวนน้อย บรรจุไว้ในทะนานพลันสิ้นไป ฉะนั้น พระคุณเจ้าผู้เจริญ เหล่าเทวดาที่มีบุญ มาก ย่อมดํารงอยู่ในสวรรค์ส้ินกาลนานฉันใด ข้าวเปลือกจํานวนมากบรรจุไว้ ในยุ้งยอ่ มดาํ รงอยู่ส้นิ กาลนานไม่หมดสิ้นไปฉะน้นั พระคุณเจา้ ผู้เจรญิ หมู่ชนผู้ มีข้าวเปลือกจํานวนนวน เป็นผู้มีศิลปะความรู้มาก กระทํากสิกรรมและการ ค้าขายเป็นต้น เล้ียงชีวิตอยู่ ย่อมไม่เป็นผู้ยากจน ฉันใด เหล่าเทวดาผู้มีบุญ นอ้ ย เสวยผลบุญแล้ว กระทําบุญอื่นอีก ภายหลังย่อมได้เสวยสมบัติในสวรรค์ ฉะนน้ั พระคุณเจา้ ผ้เู จริญ หม่ชู นมีข้าวเปลือกจํานวนมาก เป็นผู้ไม่มีศิลปะ ไม่ มีความรู้ ไม่กระทํากสิกรรม และการค้าขาย เป็นต้น ภายหลังข้าวเปลือกส้ิน ไป ย่อมเป็นผู้ยากจนย่ิงกว่า ฉันใด เหล่าเทวดาผู้มีบุญมาก เสวยผลบุญอยู่ แล้วไม่กระทําบุญอ่นื แม้อัก ภายหลังย่อมถงึ ความขัดสน แม้ฉะนน้ั ” ๒๖๐ จากข้อสนทนาซกั ถามของพระเถระต่อท้าวสกั กะ ทําให้ทราบว่า ๒๖๐ สภุ าพร มากแจ้ง มาเลยฺยเทวตเฺ ถรวตฺถุ: การตรวจชาระและศึกษาเชงิ วิเคราะห์, หน้า ๑๙๘.

๓๒๖ ๑] เหล่าเทวดาทั้งหลาย จะมาเคารพ สักการะพระเจดีย์ทุกวัน ๘ ค่ํา ๑๔ คํา่ หรอื ๑๕ คํ่า ๒] การทําบุญให้ทาน แม้ให้ในสัตว์เดรัจฉาน ก็ย่อมได้บุญ เช่นเดียวกัน เหมือนกรณีเทวบตุ รองค์หนึง่ ทีเ่ คยให้ทานแกก่ า ๓] การให้ทานในบุคคลผู้ไม่มีศีล ไม่มีปัญญา ก็ย่อมได้บุญเช่นกัน เหมือนกรณีเทวบตุ รองค์หน่ึงใหอ้ าหารแก่คนเลยี้ งโค ๔] การให้ทานแก่ผู้มีศีล จะได้อานิสงส์กว่าทานที่ให้แก่สัตว์ เดรจั ฉาน ๑ หม่ืนเท่า เหมอื นเทวบตุ รองค์หนงึ่ ผเู้ คยถวายทานแกส่ ามเณร ๕] คติทําเนียมการฟังเทศน์มหาเวสันดรชาดกจบในวันเดียว หรือ การบูชาด้วยดวงประทีป ๑,๐๐๐ ดอกบัว ๑,๐๐๐, ดอกนิลุบล ๑,๐๐๐, ดอกบัวเขียว ๑,๐๐๐, ดอกมณฑา ๑,๐๐๐ ดอก, ดอกผกั ตบ ๑,๐๐๐ ดอก, ธง ๑,๐๐๐, ฉัตร ๑,๐๐๐ พัน, ธงปฏาก ๑,๐๐๐ พัน หรือด้วยการบูชา ๑,๐๐๐ คร้ัง ไดม้ าจากการฝากของพระโพธสิ ัตว์ทีอ่ ยบู่ นสวรรค์ ๖] ผู้กระทําความเดือดร้อน ประทุษร้ายภิกษุณี ทําสงฆ์ให้แตกกัน ทําอนันตริยกรรม ๕ ทําลายสถูป ตัดต้นโพธิ์ ฆ่าพระโพธิสัตว์ ลักของที่มีอยู่ ของสงฆ์เพราะความตระหน่ี และความประมาท ย่อมไม่มีสิทธิ์ไปบังเกิดเป็น บรวิ ารในสาํ นกั พระโพธสิ ัตวใ์ นสวรรค์ ๗] คติความเชื่อเรื่องพระศาสนาของพระพุทธเจ้าโคดม จะอยู่ได้ ๕๐๐๐ ปี แล้วก็จักอันตรธานไป อกุศลจักหนาแน่นข้ึนในโลก ผู้คนจัก ปราศจากหิริโอตตัปปะ ไร้มารยาท จําไม่ได้ว่า น้ีเป็นมารดา ลูกสาว พี่สาว นอ้ งสาว หลานสาว ไม่มยี างอายเหมอื นดังเดรจั ฉาน ๘] ความส้ัน-ยาวของอายุมนุษย์ขึ้นอยู่กับคุณธรรม คราใดมนุษย์มี ศีลธรรม ไม่มีการเบียดเบียนกันและกัน อายุก็จะยืน แต่คราใดมนุษย์ไร้ ศลี ธรรม จะเกิดการเบยี ดเบยี น ขาดหิรโิ อตตัปปะ อายจุ ะสัน้ ลงเรือ่ ยๆ เมอื่ ถึง จุดเสื่อมสุด กัปป์กจ็ ะถูกทําลายล้าง และเร่มิ นบั การกอ่ กําเนิดใหม่อีกคร้ัง เวียน เจริญเวียนเส่ือมเช่นน้เี ป็นระยะเวลายาวนานประมาณมิได้ โวหารท่ใี ช้ในคัมภรี ม์ าเลยยเทวตั เถรวัตถุ คัมภีร์มาเลยยเทวเถรวัตถุ ผู้รจนาได้นําโวหารประเภทต่างๆ มา นําเสนอเร่ืองราวสลับสับเปลี่ยนตามจังหวะ โอกาส และความเหมาะสมของ เนือ้ หาแต่ละตอน พิจารณาจากตวั อย่างทย่ี กมาแสดงดังตอ่ ไปน้ี ๑. พรรณนาโวหาร ตวั อยา่ ง

๓๒๗ ในตามพปัณณิทวีป เขาได้เกิดเป็นพระเจ้าแผ่นดินพระนามว่า สัทธาติสสะ เป็นพระภาดาของพระเจ้าอทัยทุฏฐ์ เป็นผู้มีจิตเล่ือมใส มีความ เคารพในพระพทุ ธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ถือศีล ๕ ศีล ๘ ในวันอุโบสถ ได้ให้ทานแก่ผู้มีศีลทั้งหลาย เป็นผู้ควรแก่การขอ ไม่ตระหน่ี ด้วยผลแห่งการ กระทํานั้น จงึ บงั เกดิ ในดาวดงึ ส์สวรรค์๒๖๑ …….. จริงอยู่ พระอริยเมตไตรยโพธิสัตว์ กระทําบุญโดยประการเป็น อเนก ท่สี ัพพัญญูพทุ ธผปู้ ระเสรฐิ ทัง้ หลายไม่อาจเพ่ือจะพรรณนาบุญเหล่าน้ันได้ พระเมตไตรยโพธิสัตว์ทรงสร้างสมบญุ สมภารตลอดกัปป์ไม่น้อยโดยประการท้ัง ปวง ข้าพเจ้าจะพรรณนาบุญท้ังหลายที่กล่าวไว้โดยเอกเทศจากบุญอันมี ประมาณหาที่สุดมไิ ด้ เปรียบเหมอื นกระตา่ ยข้ามสาคร เปรียบได้กับคนตาบอด ข้นึ ภเู ขาจักไม่ได้ท่ีพึง่ ฉะนน้ั แท้จริง พระโพธิสัตว์มี ๓ ประเภท ประเภทหน่ึง เรียกว่า พระวิริยาธิกโพธิสัตว์ บําเพ็ญบารมีทั้งปวง ๑๖ อสงไขยแสนกัปจึง บรรลุพระสัมโพธิญาณอันสูงสุด ประเภทหนึ่งเรียกว่า พระสัทธาธิกโพธิสัตว์ ปรากฏในหมู่มนุษย์ในโลกน้ี บําเพ็ญบารมีทั้งปวง ๘ อสงไขแสนกัป จึงบรรลุ พระสมั โพธิญาณอันสงู สดุ ประเภทหนง่ึ เรยี กว่า พระปัญญาธิกโพธิสัตว์ ปรากฏ ในหมู่มนุษย์ในโลกนี้ บําเพ็ญบารมีทั้งปวง ๔ อสงไขยแสนกัป จึงบรรลุพระ สัมโพธิญาณอันสูงสุด ก็บรรดาพระโพธิสัตว์เหล่าน้ัน พระอริยเมตไตรย โพธสิ ัตว์ เรยี กวา่ วิริยาธกิ โพธสิ ตั ว์ บาํ เพ็ญบารมีท้ังปวง ๑๖ อสงไขยแสนกัป จงึ เข้าถงึ สวรรคช์ ้ันดสุ ติ จตุ จิ ากดุสิตสวรรค์ จักบรรลพุ ระสมั โพธญิ าณ๒๖๒ ๒. อุปมาโวหาร ตวั อย่าง ในกาลนั้น พระอริยเมตไตรยแวดล้อมด้วยเทพธิดาหลายโกฏิ คือ เทพกัญญาร้อยโกฏขิ า้ งหน้า เทพอัปปสรร้อยโกฏิข้างหลัง เทพกัญญาร้อยโกฏิ ข้างขวา และเทพอัปสรร้อยโกฏิข้างซ้าย พระอริยเมตไตรยท่ามกลางอัปสร เหลา่ นั้น เพียงดังดวงจันทร์ท่ามกลางเหล่าดารา ทิศทั้งปวงโชติช่วงอยู่ด้วย ๒๖๑ สุภาพร มากแจง้ มาเลยยฺ เทวตฺเถรวตถฺ ุ: การตรวจชาระและศึกษาเชงิ วเิ คราะห์, หน้า ๒๐๒. ๒๖๒ สุภาพร มากแจง้ มาเลยยฺ เทวตฺเถรวตฺถุ: การตรวจชาระและศกึ ษาเชิงวิเคราะห์, หน้า ๒๐๘.

๓๒๘ รังสที พิ ยแ์ ห่งอาภรณ์ของนางทั้งปวงน้ัน ราวกับแสงสว่างแห่งดวงจันทร์โกฏิ ดวง๒๖๓ ๓. สาธกโวหาร หากพิจารณาผิวเผินในคัมภีร์มาเลยยเทวเถระวัตถุ จะพบเพียง พรรณนาโวหาร อุปมาโวหาร และเทสนาโวหาร เป็นหลัก แต่เม่ือพิเคราะห์ โดยละเอยี ด จะเห็นสาธกโวหารซ่อนอยู่ต้ังแต่ต้นเรื่อง กล่าวคือ ผู้รจนาคัมภีร์ ได้ยกเรื่องราวของทุคตบุรุษผู้เล้ียงมารดาผู้หนึ่ง เป็นอุทาหรณ์สําหรับการ อธิบายถึงผลกรรมที่ทําให้บังเกิดในสวรรค์ บุรุษผู้นี้ได้ถวายกําดอกบัวแก่พระ มาลัยเทวเถระ เป็นเหตใุ ห้ท่านปรารภนําดอกบวั ไปบชู าพระเจดยี ์ในสวรรค์ และ ไดพ้ บกับชาวสวรรคท์ ั้งหลาย เมื่อพระเถระอาํ ลาท้าวสักกะลงจากสวรรค์มาแล้ว ความของคัมภีร์จึงย้อนกลับมาประมวลสรุปถึงทุคติบุรุษผู้น้ีอีกครั้งว่า เขาได้ หวลระลึกถึงกุศลที่ทําตลอดชีวิต จุติจากอัตภาพนั้นแล้วก็ไปบังเกิดในประสาท ดอกบวั แล้วดว้ ยรัตนทั้ง ๗ ประการ๒๖๔ ๔. เทสนาโวหาร ตัวอยา่ ง บุญย่อมมีแม้ในภพใหม่ อนึ่ง เทพบุตรน้ันเสวยทิพสุขในสํานักของ พระเมตไตรยทีเดียว นี้เป็นผลของการถวายดอกไม้ เพราะเหตุนั้นแหละ คนผู้ เป็นบณั ฑติ ปรารถนาเพ่ือจะทนั ในสาํ นกั พระเมตไตยพระพุทธเจ้าพึงกระทําบุญมี ทานและศีลเป็นต้น บุคคลใดๆ ปฏิบัติตามถ้อยคําของพระโพธิสัตว์องค์ใดๆ และบุคคลนั้นๆ กระทําบุญอยู่ จักได้การเห็นพระเมตไตรยอันประเสริฐ จัก กระทําท่ีสุดแห่งทุกข์ในอนาคต ถึงแม้ท่องเที่ยวอยู่ในสงสารก็จักไม่ไปสู่อบาย ทัง้ หลาย๒๖๕ มาลยั ยวตั ถทุ ปี นีฎีกา ๒๖๓ สภุ าพร มากแจ้ง มาเลยยฺ เทวตเฺ ถรวตฺถุ: การตรวจชาระและศึกษาเชิงวิเคราะห์, หน้า ๒๐๓. ๒๖๔ สภุ าพร มากแจง้ มาเลยฺยเทวตเฺ ถรวตถฺ ุ: การตรวจชาระและศึกษาเชิงวิเคราะห์, หน้า ๒๑๕. ๒๖๕ สุภาพร มากแจ้ง มาเลยฺยเทวตฺเถรวตฺถุ: การตรวจชาระและศึกษาเชิงวิเคราะห์, หน้า ๒๑๖.

๓๒๙ มาลัยยวัตถุทีปนีฎีกา๒๖๖ เป๐นผลงานรจนาของพระพุทธสิริสัทธรรมกิตติ มหาสามี หรือพระธัมมกิตติมหาสามี มีชีวิตอยู่ในสมัยของพระมหาธรรมราชาลิไทแห่ง กรุงสุโขทัย ระหว่าง พ.ศ.๑๘๙๗-๑๙๑๒ ต้นฉบบั แต่งเป๐นภาษาบาลี จารึกเป๐นอกั ษรขอม ผู้รจนาได้รวบรวมเนื้อหาจากคัมภีร์ต่างๆ มาปรับปรุงและแต่งเสริมเน้ือความ แต่ ความหมายยังคงเดิม ในการแตง่ คัมภรี ์ ผู้แต่งนําเอาเน้ือหาสาระจากคัมภีร์มาเลยยเทวัต เถรวัตถุ มาอธิบายขยายเน้ือความหลักคําสอนท่ีมีอยู่ในพระพุทธศาสนา เช่น เรื่องบาป บญ นรก สวรรค์ ซ่ึงเป๐นหลักจริยะรรมให้คนทําความดี ละเว้นความช่ัว ทําให้ผู้อ่านมี ความรู้เก่ียวกับการทําบุญ เน้นมากท่ีสุดในคัมภีร์นี้ก็คือการบําเพ็ญทานบารมี และ อานสิ งส์ของการฟ๎งเทศน์มหาเวสสันดรชาดกให้จบภายในวันเดียว ซ่ึงได้รับการตอกยํ้า มาตราบเทา่ ถงึ ป๎จจุบนั มาลัยยวัตถุทีปนีฎีกา เร่ิมต้นคัมภีร์ด้วยบทนมัสการพระรัตนตรัย ต่อด้วย คนั ถารมั ภกถา พรรณนาประโยชน์ของการนมัสการพระรัตนตรัย ความหมายของคําว่า พุทฺธํ ธมฺมํ สงฺฆํ นัยอันวิจิตรของเร่ืองพระมาลัย ความเป๐นมาของชื่อมาลัยยเทวเถระ ประวัติเทพ ประเภทของเทพ เปรียบเทียบฤทธ์ิของพระมาลัยกับพระมหาโมคคัลลานะ เป๐นต้น นโม ตสสฺ ตฺถุ ฯ คนถฺ ารมภฺ กถา วนทฺ ิตฺวา สริ สา พทุ ธฺ ํ ธรี มาลยธสํ กํ ธมมฺ ํฺจ นิมมฺ ลตุ ตฺ มํ คณํฺจาปี นริ พพฺ ทุ ํ ปุพพฺ าจรยิ สีหานํ มตํ นิสสฺ าย สาธกุ ํ วกขฺ สิ ฺสํ มาลยฺยทีปนึ สุขตถฺ ํ มนฺทพุทธฺ ีนํ ปรมวจิ ติ ฺตนย- สมนฺนาคตมนุตตฺ รํ หติ สขุ าวหมภริ มณยี าติฯ๒๖๗ ปรวนิรตสิ ยํ แปล ขอความนอบนอมจงมีแดพระสมั มาสมั พุทธเจาพระองคนั้น คันถารมั ภกถา ๒๖๖ พระมหาภิรัฐกรณ์ อํสุมาลี [พันนาวา], มาลัยยวัตถุทีปนีฎีกา: การตรวจชาระและ ศึกษาวเิ คราะห์, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบาลี, [บัณฑิตวิทยาลัย: มหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙], ๒๒๖ หนา้ . ๒๖๗ พระมหาภิรัฐกรณ์ อํสุมาลี [พันนาวา], มาลัยยวัตถุทีปนีฎีกา: การตรวจชาระและ ศึกษาวเิ คราะห์, หนา้ ๙๓.

๓๓๐ “ขาพเจา [พระธรรมกิตติมหาสามี] จักขอนมัสการ พระพุทธเจาผูมีพระป ญญาธิคุณ พระบรสิ ุทธคิ ณุ และพระมหากรุณาธิคุณ ซึ่งพระธรรมที่พระพุทธเจาทุกพระ องค ทรงบูชาแลว และหมพู ระอริยสงฆผปู ราศจากกิเลส อาศยั ความดีงามท่ีบุรพาจารยผู กล้าหาญแลว กล่าวเรื่องมาลัยยทีปนี อันประกอบไปดวยนัยอันวิจิตรยิ่ง ยอดเยี่ยมม ประเสรฐิ หาที่ตมิ ิได นําประโยชนสุขมาให เพื่อความช่ืนชมย่ิง เพื่อความสะดวกโดยง่าย แก่คนทม่ี ีปญญานอย” ดังน้ี คนฺถารมฺภกถาวณณฺ นา มธรุ โสตรสานยนมนวเสสํ สกลชนปสาทชนนมิทํ ปกรณมารภนฺโต ป มนฺตาว รติชนนตฺเถน จิตฺติกตาทิอตฺเถน จ รตนสมฺมตํ สกลภวทุกฺขนวา รณสมตถฺ ํ ตภิ วเนกสรณ พทุ ฺธาทวิ ตถฺ ุตฺตยํ นมสฺสิตุกาโมยมาจริโย ตสฺส วิสิฏ คุณโยคทสฺสนตฺถํ สุรนรมหิณียํ พุทฺธเสฏ นฺตฺยาทิมาห. วิสิฏ คุณโยเคน หิ ปณามารหภาโว ปณามารเหว กโต ปณา โม ยถาธิปฺเปตตฺถํ สิทฺธิกโร โหตีติ. เอตฺถ จ รตนตฺตยปปณามกรณปฺปโยชนํ ตตฺถ ตตฺถ พหุธา ปปญฺเจนฺติ อา จริยา. วเิ สเสน ปน อนฺตรายภยวิฆาฏนมิจฉฺ นฺต.ิ ตถา หิ วุตฺตํ อฏ กถาจริเยหิ นิปจจฺ การสเฺ สตสสฺ กตสฺส รตนตตฺ เย อานุภาเวน โสเสตวฺ า อนตฺ ราเย อเสสโต ติ. รตนตฺตยปณาโม หิ ปรมตฺถโต กามาวจรกุสลเจตนา. สา จ ป มชวน จิตฺตสมฺปยุตฺตา อธิปฺเปตา. สา หิ วนฺทเนยฺยวนฺทกานํ เขตฺตสมฺปทาย อชฺฌาสยสมฺปทาย จ ทิฏ ธมฺมเวทนิยา ชาตา โปราณกุสลกมมสฺส พลา นุปฺปทานวเสน ปุริมกมฺมนิพฺพตฺติตสฺส วิปากสนฺตานสฺส อนฺตรายกรานิ อุปฺปฬกปุ จเฉทกสงฺขาตานิ อกุสลกมฺมานิ วิฆาเฏตฺวา ตนฺนิทานโรคาทิอุปทฺทว สงขฺ าตานํ อนฺตรายานํ อนิพฺพตฺติกํ กโรติ. ตสมํา รตนตฺตยปณามกรณํ อตฺต นา สมารภิตสฺส ปกรณสฺส อนนฺตราเยน สิชฺฌนตฺถํ สิสฺสานุสิสฺสานํ ปณาม ปพุ พฺ งฺคมาย ปฏิปตฺติยา อนนฺตราเยน อุคฺคหธารณาทิสิชฺฌนตฺถํ จ. อยเมตฺถ ปน อวยวตฺโถ. อยเมตฺถ สมุทายตฺโถ. สุรนรมหิณียํ พุทฺธเสฏ นมิตฺวา สุคตปฺปภวํ ธมฺมํ นตฺวา สาธุ สงฺฆ จ นตฺวา สกลชนปฺปสาทํ ปรมนยวิจิตฺตํ มาลยฺยํ นาม วตฺถุ สมาสา อารภสิ สฺ นฺติ สมฺพนฺโธ. วากยตฺถสมุทาโยยํ. มาลยฺ ยกตาจริโย กตฺวา ปณามํ รตนตฺตยํ อิติ อหํ นมิตฺวา พุทฺธเสฏ กึภูตํ สุรน รมหิณยี ํ จ น เกวลเมว พทุ ธฺ เสฏ นมติ วฺ า อหํ นตวํา ธมมฺ กภึ ตู ํ สุคตปฺปภว จ น เกวลเมว ธมฺมํ นตวํา อหํ นตฺวา สงฺฆํ กึภูตํ สาธํฃ อริยสปฺปุริสภูตํ จตุมคฺคผลฏฐํฯ เอวํ รตนตฺตยปณามานุภาเวน หตนฺตราโย หุตฺวา อารภิสฺสํ สมาสา มาลยฺยํ นาม อิมํ วตฺถุ กึภูตํ ปรมนยวิจิตฺตํ สกลชนปฺปสาทํ สกลสฺส อนุปฺปนฺนสทธาชนสฺส สทฺธาชนนํ อุปฺปนฺนสทฺธาชนสฺส ภิยฺโย ภาวาย สทธา

๓๓๑ ชนนนฺติ อตฺถโยชนา. ตตฺถ สุรนรมหิณียํ สุคตปปภวํ สาธุนฺติ ปทตฺตยํ ยถากฺกมํ วิเสสนํ. พุทฺธเสฏ ธมฺมํ สงฺฆนฺติ ปทตฺตยํ กมฺมนิทสฺสนํ. นมิตฺวา นตฺวาติ ปททฺวยํ ปน วิเสสนกิริยานิทสฺสนํ. ปุพฺพกาลกิริยาติป วทนฺติ. นมิตฺ วา นตฺวาติ นมุธาตุ ตฺวาปจฺจโย โหติ. ปุพฺพกาลาทิจตูสฺเวตฺเถสุ ปุพฺพกาโล อิธาธิปเฺ ปโต. น อติ รตฺตยํฯ กสมฺ าติ เจ. อยุตฺตตฺตา. ยทิ หิ อปรกาเล ปกรณ โต ปจฺฉา นมสฺสนํ ภเวยฺย. ยทิ สมานกาเล เอกกฺขเณ กิริยาทฺวยํ ภเวยฺย. ยทิ เหตมุ ฺหิ วนฺทนโตเอว ปกรณํ ภเวยยฺ โน กรุณาโต๒๖๘ แปล คันถารัมภกถาวรรณนา ท่านอาจารย์รูปนี้ เมอื่ เร่มิ ต้นปกรณ์น้ี อันมีส่วนเหลือจากนัยแห่งอรรถรสท่ี ไพเราะ ให้ประชาชนท่ัวไปเกิดความเล่ือมใส ลําดับแรกก่อน ต้องการจะนมัสการพระ รตั นตรัย มีพระพุทธเจา้ เป๐นต้น ซึ่งเป๐นแดนสลัดออกจากภพท้ัง ๓ สามารถปูองกันทุกข์ ในภพท้ังสิน้ ซ่ึงสมมติว่าเป๐นรัตนะ เพราะอรรถว่าให้เกิดความยินดี และเพราะอรรถว่า กระทําความยําเกรง เป๐นต้น เพ่ือแสดงการประกอบคุณวิเศษของพระรัตนตรัยนั้น จึง กลา่ วคําวา่ สุรนรมหณิ ีย พุทธเสฏฐ เปน๐ ตน้ ก็เพราะการประกอบคุณวิเศษไว้ ความเป๐น ผูค้ วรแกค่ วามนอบนอ้ ม ท่านแต่งไวด้ ว้ ยความเป๐นผู้ควรแก่การนอบน้อมแล้ว ความนอบ น้อม ช่ือว่ากระทําเน้ือความตามที่ประสงค์ให้สําเร็จได้แล ก็ ในข้อนี้ การกระทําความ นอบน้อมพระรัตนตรัย และประโยชน์ ท่านอาจารย์ทั้งหลายกล่าวให้พิสดารเป๐นอย่าง มากในคาถาน้ัน ๆ แต่ว่า โดยพิเศษ ท่าน อาจารย์ท้ังหลายย่อมปรารถนาจะปูองกัน ภยันตราย สมจริง ดังคําที่พระอรรถกถาจารย์ท้ังหลาย ได้กล่าวไว้ว่า เพราะอานุภาพ พระรัตนตรัยท่บี คุ คลไร้ทีพ่ ง่ึ กระทาํ ความนอบน้อม อนั ตรายอันตรธานไปได้ โดยไม่แปลก กนั ความจริง การนอบน้อมพระรัตนตรัย ว่าโดยปรมัตถ์ก็คือกามาวจรกุศล เจตนา ก็กามาวจรกุศลเจตนาท่ีประกอบด้วยชวนจิตดวงที่หนึ่งนั้นท่านประสงค์เอาแล้ว แต่วา่ กามาวจรกุศลเจตนาน้นั เปน๐ เหตใุ หเ้ สวยผลในปจ๎ จุบนั เพราะความสมบูรณ์ด้วยเขต และอธั ยาศยั แก่บคุ คลทั้งหลายผูไ้ หว้พระรตั นตรยั ที่ควรไหว้ ย่อมปูองกันอกุศลกรรมคือ อปุ ปีฬกกรรมและอุป๎จเฉทกกรรม อันกระทําอันตรายความสืบต่อแห่งวิบาก ซึ่งกรรมมี ในก่อนใหบ้ ังเกิดแล้วด้วยอํานาจสนับสนนุ กาํ ลงั แกก่ ุศลกรรมเก่า กระทาํ ไมใ่ ห้อันตรายคือ ๒๖๘ พระมหาภิรัฐกรณ์ อํสุมาลี [พันนาวา], มาลัยยวัตถุทีปนีฎีกา: การตรวจชาระและ ศกึ ษาวเิ คราะห์, หน้า ๙๓-๙๕.

๓๓๒ อุป๎ททวะมโี รคคอื อกุศลกรรมนั้นเป๐นต้นเหตุเกิดข้ึน เพราะฉะนั้น การกระทําความนอบ น้อมพระรัตนตรัย ก็เพื่อปกรณ์ที่ตนเริ่มแล้ว ให้สําเร็จลุล่วงไป โดยปราศจากอันตราย และเพ่อื ความสําเรจ็ กจิ มีการเรยี นและการทรงจาํ เปน๐ ต้น โดยปราศจากอันตรายแก่เหล่า ศิษยานุศิษย์ เพราะการปฏิบัติมีการนอบน้อมพระรัตนตรัยเป๐นประธาน ส่วนเน้ือความ โดยยอ่ ในข้อนี้มีเพียงเท่าน้ี เนื้อความโดยพิสดารในข้อน้ีมี ดังต่อไปน้ี เช่ือมเนื้อความว่า ขา้ พเจ้าขอนมสั การพระพุทธเจา้ ผปู้ ระเสริฐสุด ทเ่ี ทวดาและมนุษย์จึงบูชา นอบน้อมพระ ธรรมซ่ึงเป๐นแคนเกิดก่อนพระสุคต และพระอริยสงฆ์ที่ดีงามแล้ว จักปรารภเร่ืองพระ มาลัยมนี ัยอนั วิจิตรอย่างยิ่ง ซึ่งทําให้ประชาชนท่ัวไปเกิดเลื่อมใส โดยย่อน้ี เป๐นการรวม ความเข้าด้วยกัน อาจารย์ผู้แต่งเร่ืองพระมาลัย กระทําความนอบน้อมพระรัตนตรัยว่า ข้าพเจ้า ขอนมัสการพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐท่ีสุด ช่ือว่าเป๐นอะไร และผู้อันเทวดาและ มนษุ ย์พึงบชู า ขา้ พเจา้ ขอนมสั การพระพทุ ธเจ้าผูป้ ระเสริฐท่ีสุด อยา่ งเดยี วเท่าน้ันหามิได้ ข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระธรรม ชื่อว่าเป๐นอะไร และเป๐นแดนเกิดก่อนพระสุคต ข้าพเจ้า ขอนอบน้อม พระธรรมอย่างเดียวเท่าน้ันก็หามิได้ ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆ์ ชื่อว่า เปน๐ อะไร คอื ผดู้ ีงาม ไดแ้ ก่ผู้เปน๐ สตั บุรุษประเสริฐ ดําารงอยู่ในมรรค ๔ และผล ๔ มีวาจา ประกอบความว่า ด้วย อานุภาพแห่งความนอบน้อมพระรัตนตรัย ขอข้าพเจ้าปลอด อนั ตราย จักเรมิ่ กล่าว เรือ่ งช่อื ว่าพระมาลัยน้ี โดยย่อ ชือ่ ว่าเป๐นอะไร มีนัยอันวิจิตรอย่าง ยิ่ง ให้ประชาชนท่ัวไปเกิดความเลื่อมใส คือให้ประชาชนทั่วไปที่ยังไม่เล่ือมใสเกิดความ เล่ือมใส ใหป้ ระชาชนทเ่ี ลอ่ื มใสแลว้ เกิดความ เลอ่ื มใสโดยยิ่งโดยประมาณ บรรดาบทเหล่านั้น สามบทว่า สุรนรมหิณียํ สุคตปูปภวํ สาธํฃ เป๐น บทวิเสสนะ ตามลําดับ สามบทว่า พุทฺธเสฎฐ ธมม สงฺฆ เป๐นทุติยาวิภัตติ [แปลว่าซ่ึง] สว่ น สองบท ว่า นมติ วา นาวา เปน๐ การแสดงบทกิริยาวิเสสนะ อาจารย์บางพวก กล่าว วา่ เปน๐ บพุ พกาล กิริยาก็มี นมธาตุ ในสองบทว่า นมิตฺวา นาวา เป๐น ตวฺา ป๎จจัย ในคํา ว่า นมิตฺวา นาวา นี้ ท่านประสงค์เอาบุพพกาลกิริยา [แปลว่า แล้ว] ในอรรถทั้ง ๔ มี กิริยาท่เี ป๐นอดีตกาลเปน๐ ตน้ ท่านไมไ่ ด้ประสงคเ์ อากิริยาบททั้ง ๓ นอกนี้ หากมีคําถามว่า เพราะเหตุอะไร ท่านไม่ประสงค์เอากิริยาบทท้ัง ๓ นอกจากนี้ ตอบว่า เพราะว่าท่าน ไม่ไดแ้ ตง่ ไว้ กถ็ า้ จะพงึ มกี ารนมสั การ ในกาลอ่ืนคือในกาลภายหลังปกรณ์ไซร้ ถ้า จะพึง มีกิรยิ าบท ๒ บท ในกริ ยิ าบทท่ี เสมอกนั คอื ในขณะเดียวกัน ถ้าปกรณ์จะพึงมี ก็เพราะ การกราบไหว้ ในเพราะเหตุนน่ั แหละ ไมใ่ ช่เพราะความกรณุ า๒๖๙ ๒๖๙ พระมหาภิรัฐกรณ์ อํสุมาลี [พันนาวา], มาลัยยวัตถุทีปนีฎีกา: การตรวจชาระและ ศึกษาวิเคราะห์, หน้า ๑๕๓.

๓๓๓ กล่าวโดยสรุป มาลัยยวัตถุทีปนีฎีกา อธิบายถึงหลักคําสอนในพระพทธ ศาสนาเรื่อง บุญ บาป นรก และ สวรรค ซ่ึงเปนหลักจริยธรรมให้คนทําความดี [บุญ] ละเวนความช่ัว [บาป] เน้นหนักในเรื่อง การทําความดี พรอมท้ังพรรณนาความนา สะพรงึ กลวั ของการทําความชั่วววา เม่ือคนเราละจาก โลกนี้ไปแลว จะตองไปชดใชการ กระทําในนรกอยางทุกข์ทรมานเปนอยางยิ่ง สวนความดีท่ีเนน มากที่สุดในคัมภีร์น้ีคือ ทานบารมี การรักษาศีล และการเล้ียงดูมารดาบิดา เปนตน นอกจากนั้น อาจารยผูแต งทานไดแสดงความคดิ และแสดงความเชื่อเรื่องการทําบุญไว อยางชัดเจนวา การทําบุญ จะไดบญุ มากหรอื นอยน้ัน ขน้ึ อยูกับเจตนาของผูกระทํามิใชอยูท่ี จํานวนของวัตถุที่ให ต อจากน้ันท่านก็ได้ยกเอาศพั ทที่มีเนื้อความเกี่ยวเนื่องกันมาอธิบายขยาย เพิ่มเติม พรอม ท้ังชี้แจงใหผอู านไดตระหนักถงึ โทษของการทาํ ความชั่วนานาประการ ในขณะเดียวกัน ท านยงั ไดแนะการทําความดี การสรางกุศล เชน การทําบุญใหทานและการฟงเทศนมหา เวสสันดรชาดก เปนตน การทําบุญใหทานแมจะใหเพียงเล็กน้อย ผลบุญกุศลดังกลาว จะสงผลใหผูนั้นไปเกิดเป๐นเทวดาบนสวรรค์ได สวนในภาคท่ี ๒ ผูแตงจะเน้นบุญบารมี ของพระศรอี าริยเมตไตรยเปนสําคัญ พรอมทั้งอธิบายภาพของนรกใหปรากฏชัดเจนแก หมสู ตั ว์ และบอกวิธีการใหบุคคลปฏิบัติตามเพื่อจะไดเกิดทันในยุคสมัยของพระองค์แก หมสู ัตว ซ่ึงมีพระมาลยั เทวเถระเปนสื่อนาํ ขาวมาบอกให้ทราบ๒๗๐ มิลนิ ทปัญหา มิลินทป๎ญหา๒๗๑ เป๐นบันทึกการสนทนาระหว่างพระนาคเสนกับพระยามิ ลินท์ [Menander] กษัตริย์เช้ือสายกรีก ลักษณะเป๐นปุจฉา-วิสัชนา [ถาม-ตอบ] ลักษณะลีลาคล้ายกับวิธีการของพลาโต้ในปรัชญากรีก สาระสําคัญว่าด้วยป๎ญหาความ เปน๐ ไปของชวี ติ มนษุ ย์ การเกิดดบั ของชีวิต และขอ้ แคลงใจในเหตกุ ารณต์ ่างๆ ท่ีเกิดขึ้นใน พระพุทธศาสนา หรือพทุ ธประวัตโิ ดยโวหารต่าง ๆ อย่างน่าสนใจ เฉพาะอย่างย่ิงคือการ ใชอ้ ปุ มาโวหาร ซงึ่ ถือเป๐นโวหารสําคญั ทพี่ ระพุทธเจา้ ทรงใชใ้ นการประกาศศาสนา ๒๗๐ พระมหาภิรัฐกรณ์ อํสุมาลี [พันนาวา], มาลัยยวัตถุทีปนีฎีกา: การตรวจชาระและ ศึกษาวเิ คราะห์, หน้า ๒๐๖. ๒๗๑ มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั , มิลินทปญั หา, [พิมพพ์ ระราชทานในงานพระศพ สมเด็จพระอริ ยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช [จวน อุฏฐายี] ณ พระเมรุวัดเทพสิรินทราวาส ๑๗ มิถุนายน ๒๕๑๕], ๗๘๖ หนา้ .

๓๓๔ กําเนิด และพัฒนาการของมิลินทป๎ญหา ยังไม่ข้อมูลเป๐นท่ียุติว่า ใครเป๐น รจนา รจนาข้นึ สมยั ใด แต่มีหลกั ฐานที่นักวิชาการเชื่อว่า พระยามิลินท์มีตัวตนอยู่จริงใน ประวัติศาสตร์ ฉบับสมบูรณ์ที่ตกทอดมาถึงป๎จจุบัน สันนิษฐานว่าคงแต่งข้ึนก่อนพระ พุทธโฆสาจารย์ เมื่อประมวลช่วงเวลาต่างๆ เทียบเคียงแล้ว ก็ประมาณกาลว่า มิลินท ป๎ญหานา่ จะแต่งขึ้นราวพุทธศักราช ๕๕๐ ปี และพระพุทธโฆษาจารย์ได้แต่งนิทานกถา และนคิ มกถาประกอบใหส้ มบูรณภ์ ายหลังระหวา่ งพุทธศกั ราช ๙๕๖-๑๐๐๐ ปี๒๗๒ ในอารมั ภกถา หลังจากผรู้ จนาไหวค้ รดู ว้ ยการนอบน้อมพระพุทธเจ้าแล้ว ได้ เริ่มปรารภที่มาของมิลินทป๎ญหาว่า เน้ือหาท้ังหมดเป๐นบันทึกการสนทนาของพระเจ้า แผน่ ดินในสาคลราชธานี เม่ือครั้งเสด็จไปหาพระนาคเสน ได้ตรัสถามป๎ญหาอันละเอียด ในเหตุทค่ี วร ไม่ควรเปน๐ อันมาก พระนาคเสนกไ้ ดแ้ กป้ ๎ญหาไดไ้ พเราะ มีอรรถลึกซ้ึงเป๐นท่ี พึงใจและให้เกิดสุขแก่โสตประสาท ผู้ท่ีใส่ใจกถามรรคน้ันแล้ว ย่อมทําลายเหตุที่ตั้งแห่ง ความสงสัย๒๗๓ การแบ่งเนอ้ื หาทง้ั หมดในมลิ ินทป๎ญหา มลิ ินทป๎ญหา แบ่งเนอ้ื หาออกเป๐น ๕ สว่ น แตล่ ะสว่ นมีรายละเอยี ดงั ต่อไปนี้ ๑. อารมั ภกถา วา่ ด้วยคาํ ปรารภ และกล่าวถึงบุพพกรรมของพระนาคเสน และพระยามิลินท์ว่าได้เคยตั้งจิตปรารถนาในลักษณะที่ข่มกันมาก่อนต้ังแต่สมัย พระพุทธเจ้าพระนามว่ากัสสปะ โดยพระยามิลินท์ได้ตั้งจิตปรารถนาไว้ว่า ขอให้ตนมี ศกั ดาเดชานุภาพใหญ่ เหมอื นดวงอาทติ ย์ในเวลาตะวันเท่ียงในท่ีๆ ตนเกิดแล้วๆ จนกว่า จะบรรลุนิพพาน ขณะที่พระนาคเสนต้ังจิตปรารถนาไว้ว่า ขอตนจงมีป๎ญญาว่องไวไม่ ส้ินสุดดุจกระแสคล่ือนแห่งแม่นํ้าคงคาในสถานท่ีตนเกิดแล้วๆ จนกว่าจะบรรลุพระ นพิ พาน อน่งึ ในส่วนที่ว่าดว้ ยบรุ พกรรมน้ี มีขอ้ ความพรรณนาถงึ พระยามลิ ินท์ ได้เคย ไปสอบถามปญ๎ หากบั ครูทั้ง ๖ มีปูรณกสั สปะ เป๐นต้น แต่ครูท้ัง ๖ เหล่านั้น ก็ไม่สามารถ แก้ป๎ญหาท่พี ระยามลิ นิ ทถ์ ามได้ ทํากิตติศัพท์ของพระยามิลินท์เป๐นท่ีกล่าวขาน ไม่มีใคร สามารถเอาชนะวาทะได้ กระทง่ั ล่วงมาอกี ๑๒ ปี พระนาคเสนจงึ ได้รบั การเชื้อเชิญให้มา จุตโิ ลกมนุษยเ์ พ่ือปราบทฐิ ขิ องของพระยามิลินท์ ๒. มิลินทปัญหา ว่าด้วยป๎ญหาเง่ือนเดียว แบ่งออกเป๐น ๗ วรรค ๘๘ ปญ๎ หา มรี ายละเอยี ดดังนี้ ๒๗๒ มหามกุฏราชวทิ ยาลยั , มิลนิ ทปัญหา, หน้า ๖๘๕. ๒๗๓ มหามกุฏราชวิทยาลยั , มลิ นิ ทปญั หา, หนา้ ๑.

๓๓๕ วรรคท่ี ๑ มจี ํานวน ๑๕ ป๎ญหา ประกอบด้วยนามปญ๎ หา, วัสสป๎ญหา , เถรติกขปฏิภาณป๎ญหา, อนันตกายป๎ญหา, ป๎พพัชชาป๎ญหา, ปฏิสนธิคหณป๎ญหา, มนสิการป๎ญหา, มนสิการลักขณป๎ญหา, สีลปติฏฐานลักขณป๎ญหา, สัทธาลักขณป๎ญหา, วิริยลกั ขณป๎ญหา, สตลิ กั ขณป๎ญหา, สมาธิลกั ขณปญ๎ หา, ปญ๎ ญาลกั ขณป๎ญหา, และนานา เอกกจิ จกรณปญ๎ หา วรรคที่ ๒ มีจํานวน ๙ ป๎ญหา ประกอบด้วย ธัมมสันตติป๎ญหา, นัปปฏิสันธิคหณป๎ญหา, ป๎ญญานิรุชฌนป๎ญหา, ปรินิพพานป๎ญหา, สุขเวทนาป๎ญหา, นามรูปปฏิสนธิคหณป๎ญหา, ปุนปฏิสนธิคหณป๎ญหา, นามรูปป๎ญหา, และทีฆมัทธา ปญ๎ หา วรรคที่ ๓ มจี าํ นวน ๑๔ ปญ๎ หา ประกอบด้วยอัทธานป๎ญหา, ปุริมโกฏิ ปญ๎ หา, โกฏยิ าปรุ มิ ป๎ญหา, สังขารชายนปญ๎ หา, ภวันตสังขารชายนป๎ญหา, เวทคูป๎ญหา, จักขุวิญญาณ มโนวิญญาณป๎ญหา, ผัสสลักขณป๎ญหา, เวทนาลักขณป๎ญหา, สัญญา ลักขณป๎ญหา, เจตนาลักขณป๎ญหา, วิญญาณลักขณป๎ญหา, วิตักกลักขณป๎ญหา, และ วจิ ารลกั ขณป๎ญหา วรรคท่ี ๔ มีจํานวน ๑๐ ป๎ญหา ประกอบด้วย มนสิการลักขณป๎ญหา, เอกภาวคตป๎ญหา, ป๎ญจายตนกัมมนิพพัตตป๎ญหา, กัมมนานากรณป๎ญหา, ปฏิกัจเจ ววายามกรณป๎ญหา, ปกติอัคคินิรยัคคีอุณหาการป๎ญหา, ปฐวีสันธารกป๎ญหา, นิโรธ นพิ พานป๎ญหา, นิพพานลภนป๎ญหา, และนพิ พานสุขภาวชานนป๎ญหา วรรคที่ ๕ มีจํานวน ๑๐ ป๎ญหา ประกอบด้วย พุทธอัตถินัตถิภาว ป๎ญหา, พุทธานุตตรภาวป๎ญหา, พุทธอนุตตรภาวชานนป๎ญหา, ธัมมทิฏฐิป๎ญหา, นจสงั กมติปฏิสันธหนปญ๎ หา, เวทคปู ๎ญหา, อมิ มมั หากายาอัญญกายสังกมนป๎ญหา, กัมม ผลอัตถิภาวปญ๎ หา, อุป๎ชชนชานนปญ๎ หา, และพุทธนิทัสสนป๎ญหา วรรคที่ ๖ มีจํานวน ๑๑ ป๎ญหา ประกอบด้วย กายอัปปิยป๎ญหา, สัมป๎ตตกาลป๎ญหา, ทวัติงสมหาปุริสลักขณะป๎ญหา, พรหมจารีป๎ญหา, อุปปสัมป๎นน ป๎ญหา, อสั สุปญ๎ หา, รสปฏสิ ังเวทีป๎ญหา, ปญ๎ ญายปติฏฐานป๎ญหา, สังขารป๎ญหา, จิรกต สรณปญ๎ หา, และสติอภิชานนปญ๎ หา วรรคที่ ๗ มีจํานวน ๑๙ ป๎ญหา ประกอบด้วย สติอาการป๎ญหา, วัสส สตป๎ญหา, อนาคตป๎ญหา, ทูรพรหมโลกป๎ญหา, พรหมโลกัสสมีรป๎ญหา, ปรโลกคตนีลปี ตาทิวัณณคตป๎ญหา, มาตุกุจฏิปฏิสันธิป๎ญหา, สัตตโพชฌังคป๎ญหา, ปาปปุญญพหุตร ป๎ญหา, ชานอชานป๎ญหา, อุตตรกุรุป๎ญหา, ทีฆอัฏฐิกป๎ญหา, อัสสาสป๎สสาสป๎ญหา, สมุ

๓๓๖ ททป๎ญหา, สุขมุ เฉทนปญ๎ หา, ป๎ญญาวิเสสป๎ญหา, วิญญาณาทินานัตถภาวป๎ญหา, อรูปว วตั ถภาวทุกกรปญ๎ หา, และทุกกรปญ๎ หา ๓. เมณฑกปญั หา ว่าด้วยป๎ญหา ๒ เงื่อน แบง่ เป๐น ๙ วรรค ๘๖ ป๎ญหา มี รายละเอียดดงั นี้ วรรคที่ ๑ มจี ํานวน ๑๐ ป๎ญหา ประกอบด้วย วัชฌาวัชฌป๎ญหา, สพั พญั ํุภาวปญ๎ หา, เทวทัตตป๎พพชติ ปญ๎ หา, มหาภูมิจาลนปาตุภาวป๎ญหา, สิวิราชจักขุ ทานป๎ญหา, คัพภาวัคกันติป๎ญหา, สัทธัมมอันตรธานป๎ญหา, สัพพัญํุตป๎ตตป๎ญหา, ตถาคตอุตตรกิ รณียาภาวปญ๎ หา, และอิทธิปาทพลปทัสสนปญ๎ หา วรรคที่ ๒ มีจํานวน ๑๐ ป๎ญหา ประกอบด้วย ขุททาขุททกป๎ญหา, ฐปนยี าพยากรณปญ๎ หา, มจั จภุ ายนป๎ญหา, มัจจุปาสามุตติกป๎ญหา, ภควโต ลาภันตราย ป๎ญหา, สัพพสัตตหติ จรณป๎ญหา, เสฏฐธัมมป๎ญหา, ตถาคตอเภชชปริสป๎ญหา, อชานโต ปาปกรณอปุญญป๎ญหา, และภกิ ขคุ ณอเปกขภาวป๎ญหา วรรคท่ี ๓ มจี าํ นวน ๑๐ ปญ๎ หา ประกอบด้วย วัตถคัยหทัสสนป๎ญหา, ตถาคตผรสุ วาจานัตถีติป๎ญหา, รกุ ขเจตนาเจตนป๎ญหา, เทวปิณฑปาตมหปั ผลภาวป๎ญหา, พุทธปูชานุญญาตป๎ญหา, ภควโต ปาทป๎ปปปฏิกปติตป๎ญหา, คาถาภิคีตโภชนทานกถน ป๎ญหา, ภควโต ธมั มเทสนายอัปโปสุกตภาวป๎ญหา, พุทธอาจริยานาจริยป๎ญหา, และอัค คานคั คสมณปญ๎ หา วรรคท่ี ๔ มีจํานวน ๙ ปญ๎ หา ประกอบด้วย วัณณภณนป๎ญหา, อหึสา นคิ คหปญ๎ หา, ภกิ ขุปณามป๎ญหา, สัพพัญํูสยปณามป๎ญหา, อนิเกตานาลยกรณป๎ญหา, อุทรสํยมป๎ญหา, ธัมมวินยปฏิจฉันนป๎ญหา, มุสาวาทครุลหุภาวป๎ญหา, และยาจโยค ปญ๎ หา วรรคที่ ๕ มจี าํ นวน ๑๐ ปญ๎ หา ประกอบดว้ ย อทิ ธิยากัมมวิปากป๎ญหา , โพธิสัตตธัมมตาป๎ญหา, อัตตนิปาตนป๎ญหา, เมตตานิสังสป๎ญหา, กุสลากุสลสมสม ปญ๎ หา, อมราเทวปี ญ๎ หา, ขีณาสวอภายนป๎ญหา, สันถวป๎ญหา, ภควโต อัปปาพาธป๎ญหา, และอนปุ ปน๎ นมคั คอุปปาทปญ๎ หา วรรคท่ี ๖ มีจํานวน ๙ ป๎ญหา ประกอบด้วย ปฏิปทาโทสป๎ญหา, นิปปปญ๎ จป๎ญหา, คิหิอรหัตตป๎ญหา, โลมกัสสปป๎ญหา, ฉัททันตโชติปาลอารัพภป๎ญหา, ฆฏีการปญ๎ หา, ภควโต ราชปญ๎ หา, ทวินนัง พทุ ธานงั โลก นุปปช๎ ชนปญ๎ หา, และคิหิป๎พพ ชิตสัมมาปฏปิ ต๎ ตปิ ๎ญหา วรรคท่ี ๗ มจี ํานวน ๙ ปญ๎ หา ประกอบด้วย หนี ายาวตั ตนป๎ญหา, อรห โต กายิกเจตสิกเวทนาป๎ญหา, อภิสมยันตรายากรป๎ญหา, สมณทุสสีลคิหิทุสสีลป๎ญหา,

๓๓๗ อุทกสัตตชีวป๎ญหา, โลกนัตถิภาวาป๎ญหา, สติสัมโมสป๎ญหา, นิพพานอัตถิภาวป๎ญหา, กัมมชากัมมชป๎ญหา วรรคที่ ๘ มีจํานวน ๑๐ ป๎ญหา ประกอบด้วย ยักขมรณภาวป๎ญหา, สกิ ขปทอปญ๎ ญปนป๎ญหา, สรุ ิยโรคภาวป๎ญหา, สุริยตัปปภาวป๎ญหา, เวสันตรป๎ญหา, ทุก กรการกิ ปญ๎ หา, กุสลากสุ ลพลวาพลวป๎ญหา, เปตอุททิสสผลป๎ญหา, กุสลากุสลมหันตาม หนั ตภาวปญ๎ หา, และสุปนิ ปญ๎ หา วรรคที่ ๙ มจี ํานวน ๙ ป๎ญหา ประกอบดว้ ย กาลากาลมรณป๎ญหา, ปริ นิพพตุ เจตยิ ปาฏิหาริยปญ๎ หา, เอกัจจาเนกัจจานงั ธัมมาภิสมยป๎ญหา, นิพพานอทุกขมิสส ภาวป๎ญหา, นิพพานป๎ญหา, นิพพานสัจฉิกรณป๎ญหา, นิพพานป๎ฏฐานป๎ญหา, อนุมาน ปญ๎ หา, และธุตงั คป๎ญหา ๔. อนุมานปัญหา ว่าด้วยป๎ญหาที่รู้ได้ด้วยการอนุมาน เป๐นการประมวล คําตอบของพระนาคเสนต่อคําถามพระยามิลนิ ท์ท่วี ่า ภิกษุประกอบพร้อมด้วยองค์เท่าไร จงึ จะสามารถทําให้แจ้งพระอรหัตต์ได้ รวมทั้งหมด ๑๐๕ นัย ซ่ึงทั้ง ๑๐๕ นัยนี้ จะถูก นําไปเฉลย และจัดหมวดหมู่ไว้ในวรรคต่างๆ นับตั้งแต่โรสรวรรคท่ี ๑ กระท่ังถึงกุม ภวรรคที่ ๗ โฆรสรวรรคท่ี ๑ แสดงองคค์ ุณ ๑ ประการแห่งลามีเสียงอันพิลึก, องค์ คณุ ๕ ประการแห่งไก่, องค์คณุ ๑ ประการแห่งกระแต, องค์คณุ ๑ ประการแห่งนางเสือ เหลือง, องค์คณุ ๒ ประการแหง่ เสอื เหลอื ง, องคค์ ุณ ๕ ประการ แหง่ เต่า เป๐นต้น ลาวุลตาวรรคที่ ๒ แสดงองค์คุณ ๑ ประการแห่งเถาน้ําเต้า, องค์คุณ ๓ ประการแห่งบัว, องค์คณุ ๒ ประการแห่งพชื , องค์คุณ ๑ ประการแห่งไม้ขานาง, องค์ คณุ ๓ ประการแห่งเรอื , องค์คณุ ๒ ประการแหง่ สมอเรือ เป๐นต้น จักกวตั ตวิ รรคท่ี ๓ แสดงองค์คุณ ๕ ประการแห่งแผ่นดิน, องค์คุณ ๕ ประการแหง่ นํ้า, องคค์ ุณ ๕ ประการแห่งลม, องค์คุณ ๕ ประการแห่งภูเขา, องค์คุณ ๕ ประการแห่งพระจนั ทร,์ องคค์ ณุ ๗ ประการแห่งพระอาทติ ย์ เปน๐ ตน้ กุญชรวรรคท่ี ๔ แสดงองค์ ๑ ประการแห่งปลวก, องค์คุณ ๒ ประการ แห่งแมว, องค์คุณ ๑ ประการแห่งหนู, องค์คุณ ๑ ประการแห่งแมลงปุอง, องค์คุณ ๑ ประการแห่งพังพอน, องคค์ ณุ ๒ ประการแห่งสนุ ัขจงิ้ จอก เป๐นตน้ สีหวรรคท่ี ๕ แสดงองค์ ๗ ประการแห่งราชสีห์, องค์คุณ ๓ ประการ แห่งนกจากพราก, องค์คุณ ๒ ประการแห่งนกนางเงือก, องค์คุณ ๑ ประการแห่ง นกพริ าบ, องคค์ ณุ ๒ ประการแห่งนกเคา้ , องค์คุณ ๒ ประการแห่งค้างคาว เปน๐ ต้น

๓๓๘ มักกฏวรรคท่ี ๖ แสดงองค์คุณ ๑ ประการแห่งแมงมุมชักใยใกล้ทาง, องคค์ ณุ ๑ ประการแหง่ เต่าเหลือง, องค์คุณ ๕ ประการแห่งปุาชัฏ, องค์คุณ ๓ ประการ แหง่ ตน้ ไม,้ องคค์ ณุ ๕ ประการแห่งฝน, องค์คุณ ๓ ประการแหง่ แกว้ มณี เป๐นตน้ กุมภวรรคที่ ๗ แสดงองค์คุณ ๑ ประการแห่งหม้อ, องค์คุณ ๒ ประการแห่งกาลักน้าํ , องคค์ ณุ ๓ ประการแห่งร่ม, องค์คุณ ๓ ประการแห่งนา, องค์คุณ ๒ ประการแห่งยา, องคค์ ุณ ๔ ประการแห่งคนแผลงศร ตอนทา้ ยในหมวดน้ี ขมวดสรปุ ไวว้ า่ มลิ ินทปญ๎ หาซึ่งมาในคมั ภีร์น้ี ๒๖๒ ปญ๎ หา เป๐นไปในกณั ฑ์ ๖ กัณฑ์ ประดับ ดว้ ย ๒๐ วรรค กแ็ ต่มลิ นิ ทป๎ญหาท่ียังไมม่ าในคัมภีร์นี้อีก ๔๒ ป๎ญหา รวมทั้งที่มาและไม่ มาด้วยกันท้ังหมด ๓๐๔ ป๎ญหา ถึงซึง่ อนั นับว่ามลิ ินทป๎ญหาทั้งสิ้น ด้วยประการฉะนี้ ๕. อปรภาคกถา พรรณนาความเม่ือจบปุจฉาวิสัชชนาเกิดเหตุการณ์ แผน่ ดินไหว สายฟูาแลบ เทวดาทง้ั หลายยังฝนคือทิพยบุปผชาติให้ตกลง ท้าวมหาพรหม ก็ใหส้ าธุการ พระยามิลินท์มีความปีตยิ ินดี หมดความสงสยั ในพระรตั นตรยั จากนั้นก็ตรัส ชมเชยพระนาคเสนวา่ มสี ตปิ ๎ญญามาก จะเป๐นรองก็แต่พระสารีบุตรเถระเท่าน้ัน จากนั้น กท็ รงขอขมา หากการถามป๎ญหาทั้งหลายที่ผ่านมามีการล่วงเกิน ท้ายที่สุดก็ได้ประกาศ ตนเปน๐ อบุ าสกนบั ถอื พระรัตนตรยั ตลอดชีวิต ภายหลังต่อมาท่านได้สร้างวิหารชื่อมิลินท วหิ ารถวายพระเถร บํารงุ พระเถรด้วยป๎จจัยสี่ ท้ายสุดทรงสละราชสมบัติให้พระราชโอรส ส่วนพระองค์กไ็ ด้เสดจ็ ออกบรรพชา เจริญวิปส๎ สนาแล้วก็ได้บรรลุเปน๐ พระอรหันต์ ส่วนทา้ ยปกรณ์ อธิบายความเป๐นมาของมิลินทป๎ญหา และการแบ่งเน้ือหา ในมลิ ินทป๎ญหาออกเปน๐ ๖ ส่วน คือ บพุ พโยค ว่าด้วยบุพพกรรมและประวัติของพระยา นาคเสนและพระเจ้ามิลินท์, มิลินทป๎ญหา ว่าด้วยป๎ญหาเง่ือนเดียว, เมณฑกป๎ญหา ว่า ด้วยป๎ญหาสองเงอ่ื น, อนมุ านป๎ญหา ว่าด้วยเร่ืองท่ีรู้โดยอนุมาน, ลักขณะป๎ญหา ว่าด้วย ลักษณะธรรมตา่ งๆ, และอปุ มากถาปญ๎ หา ว่าดว้ ยเรื่องท่จี ะพงึ ทราบดว้ ยอปุ มา เนื้อหาของมลิ ินทป๎ญหาเต็มไปด้วยประเด็นที่ถกเถียงกันทางปรัชญา และ คําตอบท่ีนําเสนอในคัมภีร์ดังกล่าว ก็ถือว่าเป๐นตัวแทนของพระพุทธศาสนาที่แสดง จดุ ยืนต่อประเด็นทางปรัชญาเหล่าน้ันต่อไปนี้เป๐นตัวอย่างที่คัดมาจากมิลินทป๎ญหาเพ่ือ สะท้อนให้เห็นภาพดงั กล่าว [๑] ปญั หาเรอ่ื งความมีอยู่ของจติ พระยามิลินท์ได้ต้ังคําถามซึ่งได้มาจากปรัชญาของพลาโต้ว่า ในร่างกายมี เจตภูตคอยบังคับอวัยวะรับผัสสะ เช่น ตา หู จมูก ลิ้น ปาก กายหรือไม่ พระนาคเสน ตอบว่าไม่มี ซ่ึงเท่ากับเป๐นการปฏิเสธความมีอยู่ของวิญญาณท่ีพลาโต้เชื่อว่ามีอยู่ใน

๓๓๙ รา่ งกาย พระยามลิ นิ ท์ไมเ่ ขา้ ใจ จึงถามว่า ถ้าไม่มีวิญญาณเราจะรู้ผัสสะได้อย่างไร พระ นาคเสนตอบว่า มีภาพมากระทบตา ก็เกิดการรับรู้ทางตา เรียกว่า จักขุวิญญาณ ถ้ามี สสารมากระทบกายก็เกิดความรู้สึกทางกาย เรียกว่า กายวิญญาณ วิญญาณเกิดขึ้น ระหว่างมีผัสสะ หาได้มีวิญญาณที่เป๐นอิสระจากร่างกายไม่ วิญญาณจึงเกิดขึ้นเพราะมี ผัสสะระหวา่ งภายในกับภายนอก [๒] ปัญหาเร่ืองความสมั พนั ธร์ ะหว่างกายกับจิต สมเด็จพระเจ้ากรุงมิลินท์ภูมินทราธิบดี มีพระราชโองการตรัสถามว่า ข้า แต่พระนาคเสนผู้เป๐นเจ้า พระผู้เป๐นเจ้าวิสัชนาแก่โยมว่า รูปธรรมนามธรรมน้ี ก็ นามธรรมนน้ั เป๐นประการใด รปู ธรรมนัน้ เปน๐ ประการใด พระนาคเสนวสิ ชั นาแก้ไขว่า ธรรมสิ่งเรียกว่าเป๐นธรรมอันหยาบ ธรรมส่ิง นั้นเรยี กวา่ รูปธรรม ธรรมส่ิงใดสุขุม ธรรมส่ิงนั้นคือจิตเจตสิกนี้ ชื่อว่านามธรรม พึง สันนิษฐานเข้าใจให้ชัดว่าธรรมอันหยาบเรียกว่ารูปธรรม ธรรมอันละเอียดเรียกว่า นามธรรม นามธรรมคอื จติ เจตสกิ พระเจ้ากรุงมลิ ินทป์ ิน๑ กษัตริยม์ ีพระราชโองการตรสั ถามว่า ขา้ แตพ่ ระนาค เสนผูเ้ ปน๐ เจ้า ไฉนเล่านามธรรมคอื จิตเจตสกิ นจี้ ึงให้ปฏิสนธิ รปู ธรรมจึงไม่ใหป้ ฏสิ นธเิ ล่า พระนาคเสนถวายพระพรว่า ดูรานะบพิตรพระราชสมภาร รูปธรรม นามธรรม ๒ ประการน้ี อํฺ มํฺ นิสฺสิตา อาศัยแก่กัน เอกโต อุปฺปชฺชนฺติ บังเกิด ด้วยกนั ใชแ่ ตจ่ ะให้ปฏิสนธิแต่นามธรรมส่ิงเดยี วหามิได้ ขอถวายพระพร พระเจา้ กรงุ มิลินท์ภมู นิ ทรบ์ รมกษัตริย์ตรสั ว่า นมิ นต์พระผเู้ ป๐นเจ้ากระทํา อุปมาไปกอ่ น พระนาคเสนถวายพระพรว่า มหาราช ดูรานะบพิตรพระราชสมภาร เปรียบปานดจุ ไข่ไก่ ถา้ ไมบ่ ังเกิดขน้ เขา้ เป๐นกลละกลมเป๐นกอ้ นก่อนก็บ่ห่อนจะเป๐นไข่ขึ้น ไป ตกว่าเวียนวนมาในวัฏสงสารส้ินกาลช้านาน บพิตรพระราชสมภารจงทราบพระ ญาณด้วยประการฉะน้ี สมเด็จพระเจ้ามลิ ินทป์ ิ๑นกษตั รยิ ไ์ ด้ฟง๎ ก็โสมนัสตรัสว่า สาธุ พระผู้เป๐นเจ้า อุปมานีส้ มควรแลว้ [๓] ปญั หาเรื่องความมีอยแู่ ห่งตวั ตน ในกาลครั้งน้ัน สมเด็จพระเจ้ามิลินท์จึงทรงปุจฉาซ่ึงป๎ญหาย่ิงข้ึนไปว่า ธรรมดาว่าบุคคลอันสนทนากัน ถ้าไม่รู้จักนามและโคตรแห่งกันและกัน ถ้อยคําอันบัง เกดิ ข้ึนแต่ชนทงั้ สองนน้ั มไิ ด้ถาวรตงั้ มั่น เหตุดังนีเ้ ราทงั้ สองจะต้องรู้จักกันเสียก่อน พระ ผเู้ ป๐นเจ้าช่ืออะไร

๓๔๐ พระนาคเสนจึงถวายพระพรวา่ เพื่อนพรหมจรรย์ท่านร้องเรียกชื่อของอา ตมภาพวา่ นาคเสน ประการหน่ึงโสด มารดาบิดาท่านให้ช่ือแก่อาตมภาพหลายชื่อ คือ ชอื่ ว่านาคเสน ๑ ชื่อว่าวรี เสน ๑ ช่อื วา่ สรุ เสน ๑ ช่อื วา่ สีหเสน ๑ ขอ้ ซง่ึ มนี ามชื่อว่านาคะ น้นั ดว้ ยอรรถว่า ผู้ใดมิได้กระทําซ่ึงกรรมอันลามก บุคคลผู้น้ันชื่อว่านาคะ ซ่ึงมีนามชื่อ ว่าเสนะนั้น ด้วยอรรถว่าเป๐นท่ีพํานักหมอกราบลงแห่งบุคคลอันยอมตนเป๐นศิษย์มา ศึกษาเล่าเรียน ชื่อว่าวีระนั้นด้วยอรรถว่ามีความเพียรมิได้ย่อหย่อน ชื่อว่าสุระน้ันด้วย อรรถว่าองอาจปราศจากภยั มิได้คร่ันครา้ มในท่ามกลางบรษิ ทั ช่ือวา่ สีหะนนั้ ด้วยอรรถว่า เป๐นทย่ี ําเกรงแก่นกั ปราชญท์ ้งั หลายอ่ืน ดุจดังว่าพระยาไกรสรราชสีห์อันเป๐นที่เกรงกลัว แก่หมู่มฤคชาติทั้งปวง และเสนศัพท์นั้น มีอรรถเหมือนดังวิสัชนาแล้วในนามเบื้องต้น คือนาคเสนน้ัน อนั ว่ากลา่ วซ่ึงช่อื ท้ังปวงดังน้ี เปน๐ สมมุตโิ วหาร อันโลกทั้งปวงหากตั้งไว้ จะมีสัตว์มีบุคคลเป๐นท่ีตั้งแห่งมานทิฐิถือม่ันว่า อห มม ในชื่อทั้งปวงนั้นโดยปรมัตถ์หา มิได้ ในกาลนั้น สมเด็จพระเจ้ามิลินท์จึงร้องประกาศแก่ชาวโยนกห้าร้อยและ พระภิกษุสงฆแ์ ปดหม่นื วา่ ชาวโยนกหา้ ร้อยและพระภิกษสุ งฆแ์ ปดหม่นื จงฟง๎ ถอ้ ยคําแห่ง พระนาคเสนบอกแก่ข้าพเจ้าว่า เพื่อนพรหมจรรย์ท่านเรียกอาตมภาพว่านาคเสน จะมี สัตว์มีบคุ คลในชื่อน้ันโดยปรมัตถ์หามิได้ ข้าแต่พระนาคเสนผู้จําเริญ ถ้าสัตว์และบุคคล ไมม่ เี หมอื นดงั คําของพระผู้เป๐นเจา้ ว่าแล้ว ไฉนเลยทายกท่ีได้ถวายจตุป๎จจัยแก่พระนาค เสนจะได้กุศลผลบุญเล่า ผู้ใดผู้หน่ึงคิดว่าจะฆ่าพระนาคเสนผู้เป๐นเจ้าเสีย ถ้าเขาจะฆ่า เสียจะได้บาปกรรมอะไร โยมเห็นว่าจะเปล่าไปเหมือนช่ืออันบัญญัติเปล่า อนึ่งคฤหัสถ์ และบรรพชิตเรยี กชื่อกัน ยอ่ มสรรเสรญิ นินทากันว่าผู้น้ันดีผู้น้ันช่ัวเล่า ก็เห็นว่าเปล่า ๆ ท้ังน้ัน เหตุเป๐นนามบัญญัติเปล่า ประการหนึ่งเล่า เหมือนทายกทั้งหลายเขาถวาย จตุป๎จจัยแก่พระผู้เป๐นเจ้า ก็ใครเล่ารับจีวรที่ทายกให้ ใครเล่ารับบิณฑบาตที่ทายกให้ ใครเลา่ รบั สอื่ สาร อาสนะท่ที ายกให้ ใครเลา่ รู้ไปในพระไตรปิฎก ใครเล่าเป๐นสังฆปริณา ยก ใครไดม้ รรคไดผ้ ลถา้ จะวา่ โดยฝาุ ยอกศุ ลนั้นเล่า ชื่อน้สี เิ ปลา่ นับเข้าที่ตัวบุคคลน้ันนับ ไม่ได้ จะรู้ว่าใครกระทําปาณาติบาต ใครกระทําอทินนาทาน จะรู้ว่าใครกระทํา กาเมสมุ จิ ฉาจาร จะรู้ว่าใครเจรจามสุ าจะรวู้ า่ ใครตอ่ ใคร ฟ๎งได้อยู่แล้วหรือกระไร พระผู้ เปน๐ เจา้ ไดว้ า่ กะโยมสนิ ่ะวา่ สมณะและสามเณรเรยี กอาตมาแตว่ นั อุปสมบทมาช่ือว่านาค เสนน้ัน โยมเรียกพระผเู้ ป๐นเจา้ ว่าพระนาคเสน พระผู้เป๐นเจ้าไปยนิ หรอื ไม่ ถวายพระพร ได้ยิน ถา้ พระผู้เป๐นเจ้าไดย้ ินแลว้ ชอื่ นาคเสนน้ีแหละก็จัดเข้าในบุคคลคือตัวพระผู้ เป๐นเจ้า พระผู้เปน๐ เจา้ นชี้ ือ่ นาคเสนหรอื

๓๔๑ ขอถวายพระพร หามไิ ด้ ผมพระผู้เป๐นเจ้าหรอื ช่ือนาคเสน ขอถวายพระพร หามิได้ ขนหรือ ชอ่ื นาคเสน ฯลฯ มันในศรี ษะกด็ ี เหล่าน้ีหรอื ช่ือว่า นาคเสน ดูรานะบพิตรพระราชสมภาร พระองค์ผู้ทรงธรรมิกราชาธิราชผู้ประเสริฐ สว่ นท้ังปวงนีจ้ ะไดช้ อ่ื ว่านาคเสนหามไิ ด้ ขอถวายพระพร สมเด็จพระเจ้ามิลินท์ป๑ินสาคลนคร จึงมีพระสุนทรพจนารถประภาษซัก ต่อไปในเบญจขันธท์ ง้ั ห้าว่า รปู ขันธข์ องพระผู้เปน๐ เจา้ น้นั กด็ ี เวทนาขันธ์ก็ดี สัญญาขันธ์ก็ ดี สังขารขนั ธ์ก็ดี วิญญาณขนั ธก์ ็ดี ดังนี้หรือชอื่ นาคเสน ดูรานะบพิตรพระราชสมภารผู้ประเสรฐิ สงิ่ เหลา่ นจี้ ะได้ชอ่ื วา่ นาคเสนหา มไิ ด้ ขอถวายพระพร ฯลฯ เมือ่ สมเดจ็ พระเจ้ากรุงมิลินท์ภูมินทราธิบดีมีพระราชโองการตรัสถามด้วย ธาตุทั้งปวงวา่ ธาตทุ ง้ั หลายนหี้ รือช่อื นาคเสน ฝาุ ยพระนาคเสนผวู้ ิเศษ ก็ถวายพระพรปฏิเสธ มิได้ถวายพระพรรับพระ ราชโองการ พระเจ้ากรุงมิลินท์นรินทรมหาศาลจึงกลับเอาขันธ์ ๕ ประการ มีรูปขันธ์ เปน๐ ต้น มีวญิ ญาณขนั ธเ์ ปน๐ ปริโยสานมาถามอกี เล่า ฝาุ ยพระนาคเสนผเู้ ปน๐ เจา้ กม็ ิรับ กลบั ถวายพระพรปฏเิ สธ สมเดจ็ พระเจ้ามลิ นิ ท์ภมู นิ ทราธิบดีจึงมีวจีพจนารถประภาษถามว่า ภนฺเต ข้าแต่พระผู้เป๐นเจ้า ธรรมท่ีนอกกว่ารูป นอกกว่าเวทนา นอกว่าสัญญา นอกกว่า สงั ขาร นอกกวา่ วญิ ญาณ น้หี รอื เปน๐ นามช่อื ว่านาคเสน พระนาคเสนผู้วิเศษก็ถวายพระพรวา่ หามิได้ สมเด็จพระเจ้ามิลินท์ภูมินทราธิบดีได้ทรงฟ๎งจึงตรัสว่า ข้าแต่พระผู้เป๐น เจ้าสารพัดสารพันที่โยมจะเอามาถามซอกซอนถามพระผ้เู ป๐นเจ้า พระผู้เป๐นเจ้าปฏิเสธว่า มิใชน่ ามของพระผู้เปน๐ เจา้ โยมเกบ็ เอามาถามด้วยขันธ์และธาตุและอาการ ๓๒ มีในกาย ตัวของพระผูเ้ ป๐นเจ้าสารพดั โยมไมพ่ ิจารณาเหน็ ธรรมสงิ่ ใด ท่ีจะนบั เข้าในชื่อของพระผู้ เป๐นเจา้ พระผู้เป๐นเจา้ เจรจาเปลา่ ๆ พระผูเ้ ปน๐ เจ้าเจรจาเหลาะแหละไม่ควรฟ๎ง พระผู้ เป๐นเจ้าเจรจามุสาสับปลับ เดิมบอกว่าช่ือนาคเสนแล้วกลับไม่รับ ดูรึพระผู้เป๐นเจ้านี้

๓๔๒ สับปลับเจรจามุสา ดูราโยนกข้าหลวงทั้งปวง ๕๐๐ และพระภิกษุแปดสิบพันท่ีข้าอ้าง เปน๐ อุตรพี ยานนี้ ฟ๎งเอาดว้ ยกัน ณ กาลบัดนี้ ฯลฯ พระนาคเสนผปู้ รชี า นง่ั นิง่ อยคู่ รูห่ น่ึง จึงถวายพระพรว่ามหาราช ดูกรบรม พิตรและราชสมภารผู้ประเสริฐในราชสมบัติ บพิตรน้ีเป๐นกษัตริย์อัสุขุมมาลัยมิ่ง มไหศวรรย์ สขุ มุ โดยแท้แต่เสดจ็ จากพระราชนเิ วศนม์ าสู่ประเทศอสงไขยบริเวณเท่าน้ีดู น่ีหมองศรนี กั หนา อนง่ึ เสด็จมากต็ ้องแสงสุริยะกล้าเป๐นเวลามัชฌันติกสมัย นํ้าพระทัย จึงกลดั กล้มุ รมุ่ รอ้ น ทรงบทจรเสด็จพระราชาดําเนินมายังสํานักอาตมานี้เล่า ก็เสด็จด้วย พระบาทเปล่า ชะรอยระแหงหินกรวดอันได ยอกเข้าที่ฝุาพระบาทปวดประชวรแสบ สามารถหรือกระไรนั้น จึงร้ายกาจ พระโองการประภาษเล่าก็หยาบหยาม นี่แน่ะ อาตมาจะถามบพิตรพระราชสมภารเจ้า บพิตรพระราชสมภารเจ้าเสด็จมาน้ีด้วยพระ บาทเปล่าหรือ หรือบพิตรพระราชสมภารเจ้าเสด็จจากราชฐานด้วยพาชีสินธพชาติอา ชาญยานุมาศ อนั ใด จงตรสั พนารถประภาษแก่อาตมาในกาลบดั น้ี แท้จริงอันดับน้ันสมเด็จพระเจ้ามิลินท์ภูมินทราธิบดีมีพระราชโองการ เผดียงว่า ข้าแต่พระผู้เป๐นเจ้านาคเสน เม่ือโยมจะมาสู่อสงไขยบริเวณสํานักพระผู้เป๐น เจา้ น้ี โยมไม่มาด้วยพระบาทเปล่า มาด้วยรถ คร้ันมาสู่สํานักพระผู้เป๐นเจ้าโยมเข้ามา ด้วยพระบาทเปล่า พระนาคเสนได้ฟ๎งพระโองการประภาษ จึงประกาศว่า ดกู รราชเสวกโยนก ท้งั ๕๐๐ ฟง๎ เอาเถิด ถ้อยคําสมเด็จพระเจ้ามิลินท์ภูมินทร์ผู้ประเสริฐ ตรัสว่ามาด้วยรถ มาสู่สํานัก อาตมานม้ี าดว้ ยพระบาทเปลา่ ชาวเจา้ ท้งั ปวงกับพระภกิ ษแุ ปดสบิ พนั จงฟ๎งเป๐นพยานใน กาลบัดนี้ พระนาคเสนจึงมีเถรปุจฉาถามว่า มหาราช ดูกรบพิตรพระราชสมภารผู้ ประเสรฐิ ในราชสมบตั ิ ซง่ึ มีพระราชโองการตรัสว่าเสดจ็ ด้วยรถน้ันตรสั มัน่ คงละหรอื เออข้าแตพ่ ระผู้เป๐นเจ้า โยมว่า วา่ มาด้วยรถจรงิ พระนาคเสนมเี ถรปจุ ฉาถามวา่ บพติ รพระราชสมภารบอกวา่ มาด้วยรถนนั้ งอนนน้ั หรอื ช่ือว่ารถ สมเด็จพระเจ้ามลิ ินทน์ รนิ ทราธบิ ดมี ีพระราชโองการตรัสว่างอนนั้นจะได้ช่ือ ว่ารถหามไิ ด้ พระนาคเสนมีเถรปุจฉาซักถามต่อไปว่า มหาราช ดูรานะบพิตรพระราช สมภารผปู้ ระเสริฐ เพลานน้ั หรือชอ่ื ว่ารถ พระเจ้ามลิ ินทรภ์ ูมนิ ทราธิเบศร์ ปฏเิ สธวา่ หามไิ ด้

๓๔๓ พระนาคเสนมีเถรปุจฉาซักถามต่อไปว่า มหาราช ดูรานะบพิตรพระราช สมภารผูป้ ระเสริฐ จักรนั้นหรือชื่อวา่ รถ ขอถวายพระพร พระเจา้ มลิ นิ ทป์ ิ๑นสาคลนคร ปฏิเสธวา่ หามไิ ด้ พระนาคเสนมีเถรปุจฉาซักถามต่อไปว่า มหาราช ดูรานะบพิตรพระราช สมภารผู้ประเสริฐ คนั ชกั นน้ั หรือช่อื วา่ ขอถวายพระพร สมเดจ็ พระเจ้ามิลนิ ทป์ ิน๑ ประชากรปฏิเสธวา่ หามิได้ พระนาคเสนมีเถรปุจฉาซักถามต่อไปว่า มหาราช ดูรานะบพิตรพระราช สมภารผู้ประเสริฐ เรือนรถน้ันหรอื ชอ่ื วา่ รถ ขอถวายพระพร พระจา้ มิลนิ ท์ก็ปฏิเสธวา่ หามไิ ด้ พระนาคเสนมีเรถปุจฉาซักถามต่อไปว่า มหาราช ดูรานะบพิตรพระราช สมภารผู้ประเสรฐิ เชือกรถนี้หรือช่อื ว่ารถ ขอถวายพระพร สมเดจ็ พระเจา้ มิลินทป์ น๑ิ ประชากร ปฏิเสธว่าหามิได้ พระนาคเสนมีเถรวาจาซักถามต่อไปว่า มหาราช ดูรานะบพิตรพระราช สมภารผ้ปู ระเสริฐ ประฏกั สาํ หรับถอื นนั้ หรือชอื่ วา่ รถ ของถวายพระพร พระเจ้ามิลินท์ปฏิเสธว่าหามไิ ด้ พระนาคเสนมีเถรปุจฉาซักถามสืบต่อไปว่า มหาราช ดูรานะบพิตรพระ ราชสมภารผ้ปู ระเสริฐ แอกน้นั หรือชื่อว่ารถ ขอถวายพระพร สมเดจ็ พระเจา้ มิลนิ ท์ปฏเิ สธว่าหามิได้ พระนาคเสนมีเถรวาจาถมไปจนส้ินสุดฉะนี้ จึงมีเถรบริภาษตัดพ้องว่า มหาราช ดรู านะสมเด็จบรมบพิตรผู้ประเสริฐในราชสมบัติ เม่ืออาตมาเอาเคร่ืองรถนั้น มาถามถ้วนถ่ีบพติ รกต็ รัสว่ามิใช่รถ ตรัสปฏเิ สธย่ังยืน อาตมาไม่เห็นส่ิงใดที่จะเรียกว่า รถส้นิ ทง้ั หมดเดมิ ทีสติ รสั บอกว่า เสดจ็ ออกมาด้วยรถ ครั้นอาตมาถามหานามรถว่า ส่ิง นี้หรือช่ือว่ารถ ก็ปฏิเสธว่ามิใช่รถ กระนั้นก็ปดรูปเล่น เออเป๐นถึงอัครราชเรืองเดชใน ประเทศทวีปชมพไู มม่ คี วามอดสู ดูรึมาตรัสสุสามวาทช่างประภาษได้ ฟ๎งเอาเป๐นไรราช เสวกโยนกข้าหลวงท้ัง ๕๐๐ อนั หมอบรายเรียงเคยี งกัน และพระภิกษุสงฆ์แปดสิบพันท่ี เราบอกไวเ้ ป๐นพยานนั้น จงฟง๎ เอาดว้ ยกนั ในกาลบัดน้ี ขณะนน้ั หมรู่ าชเสวกโยนกข้าหลวง ๕๐๐ กม็ ่กี ้องร้องซ้องสาธุการพระนาค เสนน้ีต่าง ๆ บางพวกที่ตัวโปรดก็บังคมเหนือศิโรตม์ แล้วทูลเตือนสมเด็จบรมกษัตริย์ให้ ตรสั แก้ไข ส่วนสมเด็จพระเจ้าพระเจ้ามิลินท์ปิ๑นสาคลราชธานี จึงมีพระราชโองการ แก้ปญ๎ หาวา่ ข้าแต่พระนาคเสนผเู้ ป๐นเจา้ โยมจะได้เจรจามุสาวาทหามิได้ นามบัญญัติ

๓๔๔ ชอื่ ว่ารถนัน้ อาศัยสัมภาระเคร่ืองรถ พร้อมกันหมดคืองอนและจักรเพลา และคันชักรถ และเรือนรถและเชอื กรถ และประฏกั กบั แอกทง้ั หมด จึงไดบ้ ัญญตั นิ ามช่ือวา่ รถ นะพระ ผู้เป๐นเจ้า พระผเู้ ปน๐ เจา้ จงทราบดว้ ยประการฉะนี้ พระนาคเสนจงึ มเี ถรวาจาถวายพระพรว่า ดูรานะบพิตรพระราชสมภารผู้ ประเสรฐิ ในบวรมไหศวรรย์ อาตมาก็เหมือนกัน ท่ีถวายพระพรไว้ว่า ชื่อนาคเสนนั้นจะ ไดม้ สุ าหามิได้ อาศยั อาการ ๓๒ ของอาตมาเป๐นอาทิ คือ เกศาโลมาตลอดถึงมัตถลุงคัง ท้งั หมด จึงได้นามบัญญตั ปิ รากฏชอ่ื วา่ นาคเสน เหมือนช่ือว่ารถ อาศัยสัมภาระท้ังหมด จึงเรียกว่ารถยาน ก็สมด้วยคําท่านปฏาจาราภิกษุณี กล่าวในที่เฉพาะพระพักตร์ของ สมเด็จพระทศพลพชิ ิตมารโมลี ยตุ ิด้วยวาระแห่งพระบาลีว่า ยถาปิ องคฺ สมฺภาโร โหติ สพโฺ พ รโถ อติ ิ เอว ขนเฺ ธสุ สนเฺ ตสุ โลโก สตฺโตติ สมฺมตีติ กระแสความว่า อันว่าสัมภาระเคร่ืองรถพร้อมทั้งหมด ได้นามบัญญัติ เรียกว่า มีครุวนาฉันใด ได้ชื่อว่าสัตว์ว่าบุคคลน้ีก็อาศัยมีขันธ์พร้อม๕ ประการ เปรยี บปานดงั รถนน้ั ขอถวายพระพร สมเด็จพระเจ้ากรุงมลิ ินท์ภมู นิ ทราธิบดี ทรงพระสวนาการแก้ป๎ญหาฉะนี้ มีน้ําพระทยั ทา้ วเธอปรีดาปราโมทย์ออกพระโอษฐ์ตรัสซ้องสาธุการว่า สธุสะพระผู้เป๐น เจ้าชา่ งแกป้ ๎ญหา โยมอัศจรรย์นักหนา โยมสําคัฐว่าอยู่โยมแล้วทีเดียว พระผู้เป๐นเจ้าน้ี เฉลียดฉลาดสามารถนักหนา กลับกล่าวป๎ญหาเปรียบเทียบอุปมาวิจิตรให้คนทั้งหลาย คดิ เห็นกระจา่ งแจง้ แจ่มใส ถ้าแม้วา่ สมเดจ็ พระชิเนนทรทศพล ยงั สถิตมีพระชนม์อยู่นี้จะ โปรดปรานตรัสสาธกุ ารประทานทฐี่ านนั ดร ใหเ้ ปน๐ เอกบุคคลขา้ งแกป้ ญ๎ หา ในกาลบัดนี้ มลิ นิ ทปญั หาฏกี า มลิ นิ ทป๎ญหาฎกี า๒๗๔ มชี ่ือเรยี กเตม็ คัมภีรว์ ่า มธุรัตถปั ปกาสินี มิลินทป๎ญหา ฎกี า รจนาโดยพระมหาตปิ ิฏกจูฬาภยั เถระ ชาวเชยี งใหม่ [คนละรูปกบั พระมหาปิฏกจูฬา ภยั เถระ ชาวลังกาทพี่ ระพุทธโฆสาจารยก์ ลา่ วถงึ ในอรรถกถาและปกรณ์วเิ สสวสิ ทุ ธิมรรค] ช่วงระยะเวลาในการแต่ง ระบุอยู่ในนิคมคาถาตอนท้ายคัมภีร์ว่าในปี ๘๓๕ ซ่ึงตรงกับ พ.ศ.๒๐๑๖ ๒๗๔ ธีรโชติ เกิดแก้ว, มิลินทปัญหาฎีกา: การตรวจชาระและการศึกษาเชิงวิเคราะห์, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา, [บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหา จฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖], ๖๕๖ หน้า.

๓๔๕ วตั ถุประสงคข์ องการแตง่ ผรู้ จนาได้ระบุไวใ้ นอารมั ภกถาว่า เพ่ือไขความมิลิ นทปญ๎ หา [มลิ ินทฺ ปํฺหวํ วิ รํ] คําว่า ไขความ โดยความหมาย ก็คือการอธิบายความในมิลิ นทปญ๎ หา เป๐นการหยบิ ประเด็นบางประเดน็ ที่ผู้แตง่ เห็นว่าควรยกขน้ึ มาอธิบาย มลิ ินทฺ ปํฺหาววิ รํ มธุรตฺถปกาสนิ ึ รจยสิ ฺสํ สมาเสน ตํ สุนาถ สมาหติ าฯ วัตถุประสงค์ประการท่ี ๒ ก็คือ เพ่ือธํารงพระพุทธศาสนา เป๐นส่ือการ เรยี นรู้ทใ่ี หป้ ระโยชน์แกผ่ ้ศู ึกษาทั้งในด้านปริยัติ คือเพ่ือใหเ้ กิดป๎ญญา ความเข้าใจในหลัก คาํ สอนของพระพทุ ธเจา้ และดา้ นปฏบิ ัติ คือเพื่อใหเ้ กดิ ความบริสุทธิ์แห่งจิตและป๎ญญาท่ี จะหยั่งรูธ้ รรม วตั ถปุ ระสงค์ข้อดังกลา่ วนี้ ปรากฏในนิคมกถาตอนทา้ ยคมั ภรี ์ ตาว ตฏิ ฐฺ ตุ โลกสมฺ ึ โลกนิตถฺ รเณสนิ ํ ทสฺเสนฺโต กลุ ปุตฺตานํ นยํ ปํฺญาวิสทุ ฺธิยา ยาว พทุ โฺ ธปิ นามมปฺ ิ สทุ ฺธจติ ฺตสฺส ตาทิโน โลกมฺหิ โลกเชฏฐฺ สฺส ปวตฺตติ มเหสโิ น ฯ วัตถุประสงค์ประการที่ ๓ เป๐นวัตถุประสงค์ท่ีผู้รจนาตั้งไว้เพื่อตนเอง ตาม คตคิ วามเชอ่ื ว่า การแต่งคัมภีร์ เป๐นการส่ังสมบุญหรือความดี เป๐นเหตุให้ได้สวรรค์สมบัติ และเป๐นป๎จจัยแห่งการบําเพ็ญบารมีในภพชาติต่อๆ ไป ท้ายที่สุดกระทั่งถึงการบรรลุ สัพพัญํตุ ญาณ เพ่ือสามารถสร้างประโยชน์เก้ือกูลแก่ชาวโลก อันถือเป๐นอุดมคติสูงสุด ตามแนวทางพระโพธสิ ัตว์ทงั้ หลายในอดตี แรงบันดาลใจในข้อนี้ เกิดมาจากความศรัทธา ในพระพุทธศาสนา และคตเิ รือ่ งการสัง่ สมบารมนี นั่ เอง จุดประสงค์ดังกล่าวน้ี สะท้อนอยู่ ในนคิ มกถาเชน่ เดียวกนั คดั มาเปน๐ ตัวอยา่ งประกอบ ดังนี้ อโิ ต จุโตหํ สจุ ิเตน กมมฺ นุ า ภวามิ เทเว ตสุ ติ วหฺ เย ปเุ ร จริ ํ จรนฺโต กุสลํ ปุนปฺปุนํ ตตฺเถว เมตฺเตยฺยวเร นิรนฺตรํฯ ตโต ตรนโฺ ตว ชินงกฺ โร วโร ยทา วริ พทุ โฺ ธติ ภเวกนายโก ตโต ตรนโฺ ต วรปํุ ญฺ การโก ภวามิ นารนรปูชิโต สทาฯ ฯลฯ ปุํฺเญน เตน วิปเุ ลน ภวาภเวสุ ปํญฺ าภวิ ฑฒฺ ปริสุทธฺ คณุ าธวิ าโส

๓๔๖ หตุ ฺวา นราธิกนโร สพพฺ เสฏโฺ ฐ พุทฺโธ ภเวยยฺ มหมตุ ตฺ นาถนาโถ ปํุ เฺ ญน จิณฺเณน ปิเยนปยฺ าทรํฯ เนือ้ หา และโครงสร้างคมั ภีร์ เนื้อหาและโครงสร้างคัมภีร์มธุรัตถปกาสินี มิลินทป๎ญหาฎีกา ยึดขนบการ ประพันธ์ตามแนววรรณกรรมทางพระพุทธสาสนาท่ัวไป คือประกอบด้วย ๓ ส่วนหลัก ไดแ้ ก่ บทปณามคาถาหรืออารัมภกถา เนอ้ื เรอ่ื ง และนิคมคาถา ซ่งึ ในมิลนิ ทป๎ญหาฎีกา ผู้ รจนาไดแ้ ตกรายละเอยี ดยอ่ ยเปน๐ ๖ ส่วน ประกอบดว้ ย ๑. คันถารัมภกถา เป๐นส่วนเร่ิมต้นตามขนบการประพันธ์วรรณกรรมบาลี ถอื เป๐นบทไหวค้ รู และแสดงวัตถุประสงค์ของการรจนาคัมภีร์ วรรณคดีบาลีส่วนใหญ่ ผู้ รจนามกั จะแสดงความสามารถทางด้านการประพันธ์ให้เห็นในบทไหว้ครู เพราะถือเป๐น ประตูดา่ นแรกในการเปิดเข้าไปหาเนื้อความทงั้ หมดในคัมภรี ์ ในคัมภรี ์มธรุ ตั ถปกาสินี มิลินทป๎ญหาฎีกา พระมหาติปิฏกจูฬาภัยเถระ ได้ แสดงความสามารถในเชิงวรรณศิลป์อย่างเห็นได้ชัด โดยเฉพาะคาถาแรก ไมว่าจะเป๐น การเล่นสัมผัสใน คือการเลน่ เสียงใหค้ ลอ้ งจองกัน [ปทาสัตติ] การใช้เสียงซํ้า [อนุปปาสะ] เปน๐ ต้น ดังตัวอยา่ ง นริ นตฺ รํ โลกหติ สสฺ การกํ นิรนฺตรํ โลกหิตสสิ เทสกํ นริ นฺตรํ โลกหติ สสฺ จนิ ฺตกํ นมามิ วรี ํ นรทมมฺ สารถึ ฯ อนึ่ง ในคันถารัมภกถา ยังประกอบด้วยองค์ประกอบสําคัญทั้ง ๕ ประการ ครบตามขนบการประพันธ์ กล่าวคือ ๑] สัญญา แสดงช่ือคัมภีร์ ๒] นิมิต แสดงเหตุหรือ วัตถุประสงค์ของการแต่งคัมภีร์ ๓] กัตตา แสดงตัวผู้แต่งคัมภีร์ว่าเป๐นใคร ๔] ปริมาณ แสดงความสั้น/ยาวของคัมภีร์ ว่าจะแต่งโดยย่อหรือโดยพิสดารอย่างไร และ ๕] ประโยชน์ แสดงความปรารถนาทีไ่ ด้จากการแตง่ คัมภีร์ ๒. ปกิณณกวจนวณั ณนา

๓๔๗ เน้ือหาส่วนท่ีสองน้ีเป๐นส่วนที่ผู้แต่งได้นําศัพท์บางศัพท์และประโยคบาง ประโยคที่ยากหรือมีความหมายยังไม่กระจ่างจากคัมภีร์มิลินทป๎ญหามาอธิบาย ไม่ได้ นาํ มาอธบิ ายทั้งหมดโดยแบ่งเน้ือหาออกเปน๐ ๖ ตอน คือ๒๗๕ ๒.๑ นิทานกถา การกล่าวถึงเหตุเกิดของเรื่อง เน้ือหาส่วนนี้กล่าวถึง วิธีการอธิบายศัพท์หรือประโยคที่ผู้แต่งนํามาจากนิทานกถาในคัมภีร์มิลินทป๎ญหาตาม วิธกี ารอธิบายที่เรียกว่า อัตถวัณณนา ๖ ประการ คือ ๑] สัมพันธ์ อธิบายความสัมพันธ์ ของบทแต่ละบทในประโยค ๒] บท ระบุถึงสถานของศัพท์ว่าเป๐นอะไร เช่น นิบาต นาม อาขยาต เป๐นต้น ๓] ปทัตถะ การอธิบายความหมายของบท ๔] ปทวิคคหะ การ วิเคราะห์บทน้ันๆ เพื่อแยกแยกให้เห็นถึงความหมาย ท่ีมาของคํา ๕] โจทนา ตั้งคําถาม เพ่ือกําหนดประเด็น และ ๕] ปริหาระ คือการเฉลยหรือการตอบคําถาม ๒.๒ พาหิรกถา การกล่าวเรื่องนอกป๎ญหา เน้ือหาส่วนน้ีเป๐นส่วนท่ีผู้ แต่งนําศัพท์และประโยคท่ียากหรือมีความหมายยังไม่กระจ่างจากพาหิรกถา ปุพพโยค กัณฑใ์ นคมั ภรี ์มลิ นิ ทปญ๎ หาที่วา่ ดว้ ยบพุ กรรมและประวตั ิของพระเจ้ามิลินท์และพระนาค เสนมาอธบิ ายเปน๐ บางสว่ นเท่านน้ั ไมไ่ ดน้ าํ มาอธบิ ายท้ังหมด ๒.๓ มิลินทปัญหา มิลินทป๎ญหา ป๎ญหาเง่ือนเดียว เนื้อหาส่วนนี้เป๐น ส่วนที่ผูแ้ ตง่ ได้นําศัพท์และประโยคบางประโยคทเี่ ห็นว่ายากหรือมเี นอ้ื ความยังไมก่ ระจ่าง จากมิลินทป๎ญหากัณฑ์ในคัมภีร์มิลินทป๎ญหามาอธิบาย และได้แบ่งป๎ญหาในตอนน้ี ออกเป๐น ๗ วรรค คอื ๑] มหาวรรค ๒] อทั ธานวรรค ๓] วิจารวรรค ๔] นามากัมมวรรค ๕] พุทธวรรค ๖] สติวรรค และ ๗] อรปู ธมั มววัตถานวรรค ๒.๔ มลิ นิ ทปญั หาปุจฉาวิสัชชนา คําถามและคําตอบในมิลินทป๎ญหา เนื้อหาส่วนนี้เป๐นส่วนที่ผู้แต่งได้นําศัพท์และข้อความบางข้อจากมิลินทป๎ญห -ปุจฉา วสิ ัชชนาในคัมภีร์มิลินทป๎ญหาที่กล่าวถึงข้อสรุปของการถามป๎ญหาและการตอบป๎ญหา ระหว่างพระเจ้ามิลินท์กับพระนาคเสนที่กล่าวข้างต้นว่า ทําให้พระเจ้ามิลินท์ทรงพอ พระทยั อยา่ งมาก มาอธิบาย แล้วไดส้ รุปถึงป๎ญหาท่ีพระเจ้ามิลินท์ตรัสถามและพระนาค เสนตอบว่ามีท้ังหมด ๙๑ ข้อ คือ ป๎ญหาในอัพภันตรกถา ๘๘ ข้อ และป๎ญหาในพาหิร กถาอกี ๓ ข้อ ๒.๕ เมณฑกปัญหา ป๎ญหาสองเง่ือน เน้ือหาส่วนน้ีเป๐นส่วนที่ผู้แต่งได้ นําเอาศัพท์หรือประโยคบางประโยคท่ียากหรือมีเน้ือความยังไม่กระจ่างจากเมณฑก ๒๗๕ ดูคําอธิบายโดยละเอียดใน ธีรโชติ เกิดแก้ว, มิลินทปัญหาฎีกา: การตรวจชาระและ การศกึ ษาเชงิ วิเคราะห์, หน้า ๔๑ เป๐นต้นไป.

๓๔๘ ปญ๎ หากณั ฑ์ในคัมภรี ม์ ิลนิ ทปญ๎ หามาอธบิ าย คัมภีร์มิลินทป๎ญหาฎกี าตน้ ฉบบั ตัวเขียนของ หอสมุดแห่งชาติและฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยได้แบ่งป๎ญหาในเมณฑกป๎ญหา ออกเปน๐ ๘ วรรค คือ ๑] อิทธิพลวรรค ๒] อเภชชวรรค ๓] ปณามิตวรรค ๔] สัพพัญํุ ตัญญาณวรรค ๕] สนั ถวรรค ๖] นเมอาจรโิ ยอตั ถิวรรค ๗] นิปปป๎ญจวรรค และ ๘] เวส สันตรวรรค ๒.๖ อนมุ านปัญหา เนื้อหาส่วนน้ีเป๐นส่วนทผ่ี ู้แต่งนําศัพท์และประโยค บางประโยคจากอนมุ านปญ๎ หากัณฑ์ ในคัมภีร์มิลินทป๎ญหา มาอธิบายหมดทั้ง ๒ ข้อ คือ ข้อท่ี ๑ อนุมานปํโฺ ห ถามเร่อื งทีร่ ู้ไดด้ ว้ ยการอนมุ าน และขอ้ ท่ี ๒ ธตุ งคฺ ปํฺโห ถามเรื่อง ธดุ งค์ มิลินทปญ๎ หาฎีกาฉบบั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยใช้ช่ือป๎ญหาข้อน้ีว่า ธุตงฺคปํฺ หกถาสงฺขาตโยคิกถาแตต่ ้นฉบับตัวเขียนท่ีหอสมุดแห่งชาตไิ ม่ได้ระบชุ ่อื ปญ๎ หาข้อนไี้ ว้ ๓. ชาตกุทธรณะ การยกชาดกหรือเร่ืองที่เกี่ยวกับอดีตชาติของ พระพุทธเจา้ ที่ทรงเกดิ เป๐นพระโพธิสัตว์ในชาติต่าง ๆ ขน้ึ มาแสดง การยกชาดกข้ึนแสดง ในคัมภีร์ฎีกาเป๐นไปตามคตินิยมหรือข้อบังคับของการเขียนอุทธรณะ เห็นได้จาก ความหมายของอัตถทุ ธารท่ีกลา่ วไวใ้ นคมั ภีรป์ รมัตถมัญชุสา วิสุทธิมรรคฎีกาและคัมภีร์วิ ภงั คมลู ฎีกา ในคมั ภรี ม์ ธรุ ตั ถปกาสินี มลิ นิ ทป๎ญหาฎีกา ผู้แต่งได้นําเนื้อหาจากอรรถกถา ชาดกมาแสดงไวโ้ ดยมีการตัดทอนเนอ้ื หาบางส่วนออกโดยเฉพาะคาํ อธิบายพระพุทธพจน์ ท่ีพระอรรถกถาจารย์ได้อธิบายไว้ ผู้แต่งได้ตัดทิ้งไป คงไว้เฉพาะชาดกที่ ๑ และที่ ๒ เท่านัน้ นอกจากน้ี ยังพบวา่ ผแู้ ตง่ ไดต้ ัดศัพท์บางศัพท์ที่เห็นวา่ รกรงุ รังทิ้งไปการใชค้ ําศัพท์ ใหมท่ ี่มีความหมายเข้าใจง่าย ไพเราะกวา่ เดิม การเปลี่ยนแปลงรูปศัพท์หรือประโยคใหม่ และแตง่ เพ่มิ เติมตามความเหมาะสมบางสว่ น ๔. คาถาสรุป เนื้อหาส่วนน้ีว่าด้วยการนําคาถาหรือคําฉันท์ที่ปรากฏใน คมั ภรี ม์ ลิ นิ ทปญ๎ หามาแสดงรวมไว้ในตอนเดยี วกัน ผู้แต่งสรุปวา่ มคี าถาท้ังส้ิน ๑๐๔ คาถา แต่ในงานวิจัยของธรี โชติ เกดิ แกว้ ได้ตรวจสอบแล้วพบว่ามที ั้งหมด ๑๐๕ คาถา แยกเป๐น มลิ ินทปญ๎ หาจํานวน ๒๒ คาถา และเมณฑกปญ๎ หา จาํ นวน ๘๓ คาถา ๕. สังขยาสรุป เนื้อหาส่วนนี้เป๐นเหมือนดัชนีหมวดธรรมท่ีรวบรวมหัวข้อ ธรรม หรอื เรอ่ื งทีน่ า่ สนใจในคัมภีร์มิลินทป๎ญหา มาจัดไว้เป๐นหมวดตามจํานวนของเรื่อง นั้น ๆ เช่นเดยี วกบั วธิ ีการจัดหมวด ธรรมในสังคีติสูตรหรือธรรมวิภาค มีต้ังแต่หมวด ๑ จนถึงหมวด ๑๕๐ รวมทั้งสิ้น ๒๕ หมวด

๓๔๙ ๖. นิคมนกถา บทส่งท้าย ซึ่งเป๐นขนบการประพันธ์วรรณกรรมทาง พระพุทธศาสนา ในสว่ นน้ี ผรู้ จนาแบง่ ออกเป๐น ๓ สว่ น สว่ นแรก บอกวธิ ีการศึกษาคัมภีร์ ว่า ให้เลือกเอาส่วนท่ดี ีมสี าระประโยชน์ สว่ นทไี่ ม่ดีกใ็ หล้ ะเว้นเสีย, ส่วนท่ี ๒ พรรณนาถึง คุณสมบตั ผิ ูแ้ ต่งวา่ ประกอบดว้ ยศรทั ธา ความเพียร เป๐นต้น ท่ีมีต่อพระพุทธศาสนา และ ส่วนท่ี ๓ แสดงถึงความปราถนา หรือความประสงค์ของผู้รจนาท้ังในส่วนตน และส่วน ของพระพทุ ธศาสนา รปู แบบการประพันธ์ คัมภีร์มธุรัตถปกาสินี มิลินทป๎ญหาฎีกา พระมหาติปิฏกจูฬาภัยเถระรจนา โดยใช้รูปแบบการประพันธ์แบบวิมิสสะ คือประสมระหว่างร้อยแก้ว [ร้อยแก้ว] กับร้อย กรอง [ปช๎ ชะ] ใช้รอ้ ยแก้วในการดําเนินเรื่อง แต่ในบางช่วงบางตอนก็แต่งเป๐นร้อยกรอง เป๐นฉันทลกั ษณ์ประเภทตา่ งๆ บางบทก็ยกมาจากคัมภรี อ์ น่ื แลว้ ดัดแปลงเพ่ิมเติม สานวนโวหารในการประพันธ์ การใชส้ าํ นวนโวหารในคัมภีร์คมั ภรี ์มธรุ ัตถปกาสินี มิลินทป๎ญหาฎีกา พบว่า มี ๕ ลกั ษณะ คือ บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร เทศนาโวหาร อุปมาโวหาร และสาธก โวหาร ทําให้คัมภีร์มิลินทป๎ญหาฎีกาเป๐นอีกคัมภีร์หนึ่งที่ทรงคุณค่าด้านวรรณศิลป์ที่ รงั สรรคโ์ ดยผูแ้ ตง่ ท่มี คี วามแตกฉานในภาษาบาลีและมีความรอบรู้ในพระไตรปิฎก อรรถ กถา ฎีกา และคัมภีร์อ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้องกับพระพุทธศาสนาควรค่าแก่การศึกษาและเป๐น คณุ ปู การต่อการศกึ ษาพระพุทธศาสนาอย่างมากอกี คัมภรี ห์ น่ึง อลงั การศาสตรใ์ นคมั ภีร์มธรุ ตั ถปกาสนิ ี มลิ ินทปญั หาฎกี า จากการศึกษาของธรี โชติ เกิดแกว้ พบลักษณะของการประพนั ธ์ในคัมภีร์มิลิ นทปญ๎ หาฎีกาว่ามอี ลังการทั้ง ๒ ประเภท ดงั ตวั อย่างตอ่ ไปน้ี ตวั อย่างสัททาลังการ [๑] นริ นตฺ รํ โลกหติ สสฺ การกํ นริ นฺตรํ โลกหติ สฺส เทสกํ นริ นฺตรํ โลกหิตสสฺ จนิ ฺตกํ นมามิ วีรํ นรทมฺมสารถึ. ตัวอย่างดังกล่าว เป๐นอัพยเปตยมก คือการใช้ศัพท์ซํ้ากันทั้งสระและ พยญั ชนะ เหมอื นกนั ทกุ ตวั อักษร ไมแ่ ตกตา่ งกัน [๒] ววิ เร [จ] อนํุ ปรเม ปรเม สุชนสฺส สุขํ นยเน นยเน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook