Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

Published by panyawat_mcu_br, 2022-03-20 05:00:53

Description: ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

๕๐ หมวด ข

๕๑ หมวด ค คนั ถาภรณมัญชรี คนั ถาภรณมญั ชรี๔๐ เป๐นคมั ภรี ท์ วี่ า่ ดว้ ยเร่ืองนิบาตที่แสดงความหมายต่างๆ ในประโยค เช่น วิตถารโชตกะ, วากยารัมภโชตกะ, ทัฬหีกรณโชตกะ เป๐นต้น รวมท้ัง กลา่ วถงึ ประโยคท่ีประกอบใช้นิบาตเหล่าน้ัน นอกจากน้ัน ยังแสดงอรรถของนิบาตท่ีใช้ มากคอื จ, วา, เอว, อิติ พรอ้ มดว้ ยตวั อยา่ งในพระบาลี และอรรถกถา ผรู้ จนาคือ พระอริยวงศ์ มีฉายาเต็มว่า สมันตปาสาทิกมหาอริยวังสะ ท่าน ดํารงตําแหน่งสมณศักด์ิเป๐น พระธรรมเสนาบดี นักวิชาการป๎จจุบันสันนิษฐานว่า ท่าน เกิดราว พ.ศ.๑๙๗๑ ณ หมู่บ้านซะกาอิน ทางตอนใต้ของนครปินยะ [ติดกับกรุงอังวะ และเคยเปน๐ ราชธานขี องพมา่ กอ่ นกรงุ องั วะ] ภายหลังท่านมาพํานักอยู่ที่ภูเขาสะกาย ซ่ึง ตั้งอยู่รมิ ฝ๑๎งแมน่ ้าํ อิรวดีตรงข้ามกับกรุงอังวะ ท่านเป๐นที่เคารพนับถือของพระเจ้ากรุงอัง วะคือพระเจ้านรปตอิ ยา่ งยิ่งดว้ ย ตัวคัมภีร์คันถาภรณมัญชรี ท่านรจนาเป๐นร้อยกรอง ป๎จจุบันประกอบด้วย ๙๗ คาถา คาถาท่ี ๙๔-๙๗ เปน๐ คํากลา่ วของผู้ชาํ ระและจารคมั ภีร์ว่า ท่านได้จารจบในวัน แรม ๕ ค่ํา เดือน ๑๐ พุทธศักราช ๒๑๐๖ ส่วนที่เป๐นบทรจนาของพระอริยวงศ์ซึ่งร้อย เป๐นคาถาเพื่อใช้ในการท่องจําง่าย มีจํานวน ๙๓ บท โดยสาระสําคัญผู้รจนานํามาจาก คัมภีร์คันถัฏฐิ ๒ ฉบับ คือ จุลลคันถัฏฐิและมหาคันถัฏฐิ ซึ่งประพันธ์เป๐นร้อยแก้ว ไม่ สะดวกแก่การท่องจาํ คันถาภรณมัญชรจี ึงถอื เปน๐ อุปกรณ์สาํ หรบั การเรยี นบาลี เนอื้ หาสาระคมั ภรี ์ บทแรกของคัมภีร์ เป๐นบทปณามคาถา ตามดว้ ยปฏญิ ญาของผ้รู จนา ดงั นี้ [๑] วิจติ ฺรนยสมฺปนนฺ า เทสนา ยสสฺ ตาทโิ น นโม สธมฺมสฆํ สสฺ ตสฺส อาทจิ จฺ พนธฺ โุ นฯ [๒] วนฺทเนยยฺ ปณามสฺส อานภุ าเวนปุ ทฺทเว โสเสตฺวา‖หํ กรสิ ฺสามิ นปิ าตตฺถวิภาวินึฯ แปล เทศนาอนั ถึงพร้อมด้วยนัยอันวิจิตรของพระผู้มีพระภาค ผู้ป๐น เผ่าพนั ธแุ์ หง่ พระอาทติ ย์ ผูเ้ ช่นนพ้ี ระองค์ใดปรากฏอยู่ ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระผู้มีพระ ภาคพระองค์นนั้ พร้อมทัง้ พระธรรม และพระสงฆ์ ๔๐ พระอรยิ วงั สะ, คนั ถาภรณมญั ชร,ี พระมหาสมลักษณ์ คนธฺ สาโร,ผู้แปล. [ลําปาง: วัดท่า มะโอ จัดพิมพ์เผยแพร่, ๒๕๔๑], คํานํา.

๕๒ เมื่อข้าพเจา้ ขจัดภยนั ตรายด้วยอานุภาพของการนอบน้อมพระรัตนตรัยอัน ควรนอบนอ้ มแลว้ จักรจนาคัมภรี ์แสดงอรรถของนิบาต คาถาที่ ๓, ๔ เป๐นการแสดงเหตุผลว่า คัมภีร์ที่แสดงนิบาตท่ีมีอยู่เดิมน้ัน ยากแก่การเรียนรู้ เพราะร้อยเรียงเปน๐ ร้อยแก้ว ทา่ นจงึ รจนาคัมภีรน์ ีด้ ้วยคาถา ๘ พยางค์ ซ่ึงเหมาะแก่การท่องจํา โดยอาศัยคัมภีร์เหล่านั้น [จุลลคันถัฏฐิและมหาคันถัฏฐิ] เป๐น คมู่ อื ต่อแตน่ นั้ ทา่ นจงึ เรม่ิ แสดงอรรถของนิบาต โดยลาํ ดบั ๆ ไป ตัวอย่าง [๕] ปทานํ อาทมิ ชฺ เฌสุ อนเฺ ตสุ จ นิปาตเก ปุจฺฉาทนี ํ วภิ าวตถฺ ํ สทา ยชุ ชฺ นตฺ ิ ปณฑฺ ติ า แปล บณั ฑิตท้ังหลาย ยอ่ มประกอบนบิ าตไวข้ ้างต้น ท่ามกลาง และ ท่สี ุดของบท เพ่อื แสดงอรรถคาํ ถาม เป๐นต้นเสมอ นิบาตต้นบท เช่น อถ ศัพท์ ในตัวอย่างว่า อถ ปุริโส อาคจฺเฉยฺย [ในขณะ นั้นบุรุษพึงมา], มา ศัพท์ ในตัวอย่างว่า มา โว ขณํ วิราเธถ [พวกเธอจงอย่ายังขณะให้ ลว่ งเลยไป] นิบาตกลางบท เช่น โข ศัพท์ในตัวอย่างว่า โหติ โข ภิกฺขเว สมโย [ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย สมัยน้ันมีอยู่แล] หรือ จ ศัพท์ในตัวอย่างว่า อายสฺมา จ สาริปุตฺโต อายสฺ มา จ โมคคฺ ลลฺ าโน [ทา่ นพระสารีบุตรและท่านพระโมคคลั ลานะ] นิบาตอยู่ท้ายบท เช่น จ ศัพท์ในตัวอย่างว่า สาริปุตฺโต จ โมคฺคลฺลาโน จ [พระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ] หรือ วา ศัพท์ในตัวอย่างว่า สมโณ วา พราหมโณ วา [สมณะหรอื พราหมณ์] [๖] หสิ ทฺโท เจว จสทฺโท ปนปฺยปิ ตถาปิ จ กญฺจาปิ ยทิ กามญจฺ นิปาตาเนกธา สิยํฃ แปล นิบาตมีจํานวนมาก เช่น หิ, เอว, จ, ปน, ปิ, อปิ, ตถาปิ, กิํฺ จาป,ิ ยทิ, และกามํ คาถาน้แี สดงตวั อยา่ งของนบิ าต [๗] วากฺยารมฺเภ วติ ฺถาเร จ ทฬฺหิยํ ผลเหตเุ ก ตปปฺ ากฎกี เร เจว วิเสเส อนฺวเยปิ จ พยฺ ตเิ รเก จ หิสทโฺ ท นวตฺเถสุ ปกาสิโตฯ แปล ท่านแสดง หิ ศัพท์ ในอรรถ ๙ ประการ คือ วากยารัมภะ, วติ ถาระ, ทฬั หีกรณะ, ผล, กรณะ, ตปั ปากฎีกรณะ, วิเสสะ, อันวยะ, และพยติเรกะ วากยารมั ภะ แสดงการสบื เนอื่ งประโยค

๕๓ วิตถาระ ขยายความ ทฬั หีกรณะ ย้ําความของประโยคหน้า ผล แสดงผล การณะ แสดงเหตุ ตัปปากฎกี รณะ ขยายความให้ชัดเจนดว้ ยการอปุ มาเปรียบเทียบ วิเสสะ แสดงความพเิ ศษ อนั วยะ แสดงความคล้อยตาม พยตเิ รกะ แสดงความปฏเิ สธ แม้ในนิบาตอ่ืนๆ ท่านก็นํามาร้อยเรียงเปน๐ บทร้อยกรอง แสดงนยั ตา่ งๆ ของ นบิ าตเหลา่ นัน้ เปน๐ บทๆ ไป ตลอดเรอื่ ง รวมได้ ๙๓ คาถา ดงั กลา่ วแลว้ ขา้ งตน้

๕๔ หมวด ฆ, ง

๕๕ หมวด จ จกั รทปี นี จักรทีปนี ผู้รจนาระบุชื่อ พระอุตมรามเถระ ฉบับท่ีผู้เขียนใช้อ้างอิงในการ จัดทําคําอธิบายครั้งนี้ รวมรวมโดย เทพย์ สาริกบุตร สํานักพิมพ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ ตพี ิมพเ์ ผยแพร่ สารบัญเร่ืองมีรายละเอียดเริ่มต้นด้วยจักรทีปนยาธิบาย ตามด้วยปณาม คาถา, ลักขณาสถิตย์ในทวาทศราศี, อัฏฐเคราะห์สถิตย์ในทศราศ,ี เกษตร์, มหาอุจจ์, นิจ, อจุ จาวิลาศ, หินจันทร์ พลจันทร์, ราชเกณฑ์, อังคาร ราหู ในราศีให้คุณ, พระเคราะห์คู่ มิตร ค่สู ตั รู, พระเคราะห์รว่ มราศรี, กําลังอัฏฐเคราะห์ใหค้ ุณ ฯลฯ กาลโยค เกณฑ์ชาตาดี ช่ัว, ขบั ดวงชาตา และฆาตและโชค ในจักรทีปนยาธิบายได้ให้ความเป๐นมาของคัมภีร์นี้ไว้ว่า เดิมทีเดียวได้รับ การคัดลอกต่อๆ กันมาหลายยุคหลายสมัย ข้อความเดิมรจนาเป๐นภาษาบาลี ผู้คัดลอก บางท่านกไ็ ม่สนั ทดั ในภาษาบาลี จึงทําให้เกิดการคลาดเคลื่อน บางท่านก็คัดลอกเฉพาะ สว่ นท่ตี นพอใจเป๐นตอนๆ บางทีก็นํามาแก้ไขดัดแปลงใหม่ ทําให้ยากท่ีจะหาต้นเค้าเดิม ใหส้ มบรู ณ์ จงึ ไดม้ คี วามพยายามท่ีจะรวบรวมตน้ ฉบับตา่ งๆ ที่มีอยู่เท่าท่ีจะหาได้ จากนั้น ก็สอบทานจากแหล่งต่างๆ จนสําเร็จเป๐นจักรทีปนีที่สมบูรณ์ครบตามฉบับเดิมทุก ประการ๔๑ คัมภีร์จักรทีปนี ผู้รจนาได้อาศัยหลักจากคัมภีร์พฤหัสบดีฉบับสันสกฤต ซึ่ง เป๐นคมั ภรี ์ศักด์สิ ทิ ธ์ิแห่งคัมภีรไ์ ตรเพทคัมภีร์หนึ่ง คัมภีร์นี้มีอายุเก่าแก่หลายพันปี วิธีการ เดินเร่ือง คล้ายๆ กับคัมภีร์พระพุทธศาสนาประเภทตํานาน ชาดก หรือแม้กระท่ังใน อรรถกถาธรรมบท ท่ีมักผกู เรื่อง สร้างเหตุการณ์ย้อนอดีตข้ึนมาเพ่ืออธิยายความเป๐นมา เพื่อให้เห็นความสําคัญกับสิ่งท่ีจะได้นําเสนอ กรณีนี้ จักรทีปนี ได้ย้อนเร่ืองราวสมัย พระพุทธเจ้าประทบั จาํ พรรษาอยู่ ณ เมอื งปาวายตนนคร พรอ้ มด้วยพระสงฆ์สาวก ๕๐๐ รปู คร้นั ออกพรรษาแล้ว มีกล่มุ ภิกษุ ๑๐๐ รูป แยกจารกึ ออกไป โดยในจํานวน นี้ พอถึงราวปุาแล้ว ก็แยกออกเป๐นกลุ่มๆ อยู่ตามชนบทตามความปรารถนาของตนๆ โดยในจํานวนน้ี มกี ล่มุ หนึ่ง ๕ รูป พากันจาริกตอ่ ไปเรื่อยๆ จนถึงปุาชัฏแห่งหนึ่ง พบโจร ระหว่างทาง โจรเหน็ กลุ่มพระเดนิ มาก็สําคัญว่า พระคงจะมีทรัพย์สินมีค่า จึงเข้าไปสกัด ชงิ เอาสิง่ ของ กลมุ่ พระสงฆ์ตา่ งพากนั หนี แต่มีรปู หนึง่ ล้มลง โจรกต็ กี ระทง่ั มรณภาพ แล้ว ๔๑ พระอุตมรามเถระ, จักรทีปนี, เทพย์ สาริกบุตร์ เรียบเรียง. [อุตสาหกรรมการพิมพ์, ๒๔๙๖], หน้า ก-ง.

๕๖ ก็คน้ ภายในตวั กไ็ มไ่ ด้ทรพั ยส์ ินอนั ใด เม่อื เปดิ บาตรกเ็ ห็นแตเ่ พยี งผา้ สังฆาฏิเท่าน้ัน จึงพา กันไปทอี่ ื่นตอ่ ฝาุ ยภกิ ษอุ กี ๔ รูป เม่อื เห็นสถานกรณ์ปกติแล้ว ก็ย้อนกลับไปดู เมื่อเห็นว่า ภิกษุรูปดังกล่าวมรณภาพแล้ว ก็พากันกลับไปเฝูาพระพุทธเจ้าท่ีเมืองปาวายตนนคร พรอ้ มกบั นาํ ข่าวเขา้ แจง้ พระอานนท์ และพระพุทธเจ้าใหท้ รงทราบ เมื่อพระพุทธเจ้าทรง ทราบเร่ืองแล้ว กร็ ับส่ังให้เรียกพระอุตตมรามเถร ผู้ปรีชาด้านโหราศาสตร์มาตรัสถามว่า พระภิกษุท้ัง ๕ รูปน้ีถกู โจรตีตายระหวา่ งทาง เพราะไม่ทราบฤกษย์ าม จึงออกเดินทางใน ยามไม่ดี เป๐นเหตใุ ห้ประสบเคราะหก์ รรม ถ้าไปถูกยามก็คงไม่ประสบชะตากรรมเช่นนั้น มีธุระไปในทใ่ี ดๆ กจ็ ะได้ไปโดยสะดวก และการนไ้ี มเ่ กีย่ วข้องกับสกิ ขาบท ไม่ตอ้ งอาบัติ พระอุตตมรามเถระรับพุทธฎีกาแล้ว ก็มาส่ังสอนพระภิกษุปุถุชน และพระ โสดาบนั บุคคล พร้อมท้งั หม่หู ญงิ ชายท่ปี รารถนาจะเรียนรวู้ ชิ าโหราศาสตร์ ให้ได้เล่าเรียน คัมภรี ์โหราศาสตร์และฤกษย์ าม มคี ัมภรี ์จกั รทีปนีโหราศาสตร์ เปน๐ ต้น สาระสาคญั ของคมั ภรี จ์ กั รทปี นี คมั ภีรจ์ กั รทปี นี เปน๐ คัมภรี ์ที่มเี น้ือความมาก ทา่ นจึงแบง่ เปน๐ ๔ เลม่ คือ เล่มที่ ๑ กลา่ วถงึ ลักขณาและพระเคราะห์สถิตในทวาทสราศ,ี เกษตร, ประ, มหาอุจจ์, นิจ, พระเคราะห์สถิตในราศีต่างๆ ให้คุณและให้โทษ, พระเคราะห์คู่มิตร, คู่ ศัตรู, พนิ ธบุ าทว์ เลม่ ท่ี ๒ กลา่ วดว้ ยพระเคราะห์รว่ มลักขณ์ และพระเคราะห์เป๐น ๑ ถึง ๑๒ แก่ลักขณ์ ว่าด้วยลักขณ์ตกราศีธาตุในทวาทศราศี กล่าวคุณและโทษ ราชาโชค โยค เกณฑ์ ตรโี กณ กบั เปน๐ ป๎สสวะ นระ อําฬุ กติ ติ และเกณฑพ์ ระเคราะห์ เล่มที่ ๓ กล่าวถึงโยค, ชาตาโชค, ทุติยวัตร, กรรมาชีพ, และลักษณาการ เกาะนวางค์ ตรียางค์ และฤกษ์ ๒๗ เล่มที่ ๔ กล่าวถึงมูลชาติ ขับพระเคราะห์ จตุทิส มหาทิส กายคุณ พระ เคราะห์รปู พระเคราะห์สม จตุรงคโชคโดยกาํ เนิดและจรฆาต โชคต่างๆ บทปณามคาถา คัมภีร์จกั รทีปนี รอ้ ยกรองเปน๐ ปฐยาวตั ฉนั ท์ จํานวน ๕ คาถา ดงั น้ี๔๒ บาลี นมตถฺ ุ รตฺนตตฺ ยํ ธมมฺ ราชา วินายโก โลกวิทู อนุตตฺ โร สพพฺ ํํฺ ู มารธํสโก สมฺพทุ ธฺ ํ สิรสา นโม สทุ ุเญยฺยํ สุนิปณุ ํ ๔๒ ดูรายละเอยี ดใน พระอุตมรามเถระ, จกั รทีปนี, หนา้ ๑-๒.

๕๗ คมภฺ ีรํ อนนตฺ นยํ วิมลํ พุทฺธเสวิตํ สทฺธมมฺ ํ สริ สา นโม นิรงคฺ ณํ สุขาวหํ คณตุ ตฺ มํ วสิ ารทํ สลี าทิคุณสํยตุ ตฺ ํ สงฺฆํฺ จ สริ สา นโม โปราณาจริย มตํ นสิ ฺสาย เวทตฺตเย คณฺฐึ วิปรติ ํ วานรุ ูเปน คณุ โทเส ยถารหํ ยถารจุ ึ สงฺขเิ ปตฺวา มลู ชาตา ปทสิ สฺ เต อุตตฺ มราโม นาเมน วกขฺ ามิ จกฺกทีปนึ ๚๛ จากนั้นก็อธิบายความเป๐นร้อยแก้ว โดยยกคําบาลีในปณามคาถา มาแปล ลักษณะยกศัพท์ แต่ก็มีการอธิบายเสริมมากบ้าง น้อยบ้างตามสมควร เพื่อให้คนอ่าน เข้าใจรายละเอียดย่ิงขึ้น แต่ก็มีข้อสังเกตว่า ศัพท์ท่ียกมานั้น ก็ไม่ได้ยกมาแสดงเพียง คาํ หลักๆ บางคาํ เทา่ น้นั ดังตวั อย่าง โย สมฺมาสมฺพุทฺโธ อันว่าสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์ใด ธฺมม ราชา เป๐นพระยาเหตุธรรม วินายโก นําสัตว์ให้ออกจกวัฏฏสงสาร โลกวิทู หยั่งรู้ไปใน โลก คอื เบญจขนั ธ์ทัง้ ๕ และโลกคอื แผ่นดินฟูา และเขาพระสุเมรุเป๐นอาทิ อนุตฺตโร ทรง ศีลคุณและสมาธิป๎ญญาวิมุตติคุณ และวิมุตติญาณทัสสนะ คณนาจะหาผู้เปรียบด้ว ย พระองคม์ ิได้ สพฺพญฺญู พระองค์ตรัสรู้ไญยธรรมท้ังปวงด้วยพระสยัมภูญาณ มารธสโก ผจญเสียซึ่งมารท้งั ๕ ดว้ ยพระอรหัตตมรรคญาณและพระบารมี สมฺพุทฺธ สิรสา นโม ข้า พระองค์ถวายนมัสการพระธรรมเจ้าทั้ง ๒ ประการ คือพระปริยัติธรรม และพระนว โลกตุ ตรธรรม อันลึกลํ้าคัมภีร์ภาพหาท่ีสุดมิได้ ยากที่สัตว์จะหยั่งรู้หยั่งเห็นได้ด้วยลําพัง ป๎ญญาญาณ เป๐นธรรมอันปราศจากมลทิน นิรงฺคณ อนึ่ง ข้าพระองค์ขอนมัสการ พระสงฆ์ท้ัง ๘ จําพวก วิสารกํ ผู้แกล้วกล้ามีสันดานอันประกอบด้วยคุณ มีศีลคุณเป๐น อาทิ โปราณาจริยมต นิสฺสาย อน่ึง ข้าพระองค์ผู้มีช่ือว่า อุตตมรามภิกขุ จะอาศัยข้อ อธิบายของพระอาจารย์เดิม แล้วพิจารณาข้อความในคัมภีร์ไตรเพทท่ีผิดและชอบโดย ควรแก่ป๎ญญา และจะย่อความพิสดารน้ันให้สั้นโดยตามอัธยาศัย แสดงคัมภีร์จักรทีปนี กลา่ วลักษณะที่เดมิ ของสตั ว์ทง้ั หลายในโลกน้ี อนง่ึ แม้ในการอธิบายเน้ือหาแต่ละเรื่อง หรือในแต่ละตอน ผู้รจนาคัมภีร์ก็ ใช้วิธีผูกคําในลักษณะเป๐นฉันทลักษณ์แล้ว จึงอธิบายเป๐นเร่ืองๆ ไป เหมือนรูปแบบที่ นําเสนอในบทปณามคาถา ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

๕๘ ตัวอย่าง ๑ ลกั ขณาสถติ ราศเี มษ เมส ลกขฺ ณา ยทาชาตา กสึ กายา ภวสิ สฺ ติ ฑีฆมุขา ฑีฆนาสา อตุ ฺตมปาทา ตเถว จ ปุพพฺ มคคฺ นตฺ รา ชาตา นนฺทยิ ํ ปจฺฉิมทิศา ฉตสี ติ อายุ เจว กุฏฐฺ ํ โรโค ภวสิ ฺสติ กฏุ ฐโรโค อตกิ กฺ นฺเต ยานํ นาวํ สุขํ ภเว ๚๛ อธบิ ายว่า บุคคลผู้ใดเกิดมาลักขณาอยู่ราศีเมษน้ัน เจ้าชาตา มีกายพานจะ ผอม ทรงหน้ายาว จมูกยาว เท้าสูง ท่ีเกิดน้ันืทางข้างตะวันออก มีที่สูงอย่างหัวนอน จะ ไดค้ วามชน่ื ชมยินดีขา้ งป๎จฉมิ ทิศ ครัน้ อายุ ๓๖ ปี จะบังเกิดพยาธิโรคเร้ือน เม่ือโรคเรื้อน นั้นหายแล้ว ก็มียวดยานเรือนแพเป๐นสขุ พระอาจารย์กล่าวไวด้ งั นี้ ๚๛ บทหน่ึงว่า เมสญฺจ เตมิโย นาม ลักขณาอยู่ราศีเมษ ได้แก่พระเตมีย์ ยาก เมื่อน้อย แก่จึงดี ถ้าบาปเคราะห์อยู่ด้วยลักขณา ผู้นั้นดําแดง หน้าผากบาน พงศาอุดม เม่อื นอ้ ยเลยี้ งยาก มผี ูเ้ อาไปเลย้ี ง ต้นแขนยาว เมอื่ อายไุ ด้ ๓๐ ปมี อี ันตรายครัง้ หน่งึ .... ตวั อยา่ ง ๒ ลักขณาสถิตราศีตุลย์ ตลุ ย ลกขฺ ณา ยทาชาตา กลิ าโส โรโค ภวสิ ฺสติ ปฐมํ ชายเต สขุ ํ ปฐมํ สทธฺ มโน เจว เสนาปติ นิสสฺ ยํ สพพฺ สปิ ปฺ า ภวสิ สฺ ติ ๚๛ อธิบายว่า ลักขณากําเนิดอยู่ราศีตุลย์ ผู้น้ันมักมีกายเป๐นกลากเกลื้อน แรก บังเกิดมีความสุข ใจศรัทธาเป๐นประถม จะเป๐นเสนาบดีโดยแท้ ประกอบด้วยศิลปะ ศาสตรว์ ทิ ยาการเปน๐ อนั มาก๚๛ บทหนึ่งว่า สุธโน ตลุ เย เจว ลักขณาอยูร่ าศตี ุลย์ ได้แกพ่ ระสุธน เน้ือดําแดง พานสูง ใจบุญ เมื่ออายุได้ ๒๗ ปี อันตรายครั้งหนึ่ง อายุ ๗๔ ปี สิ้นกําลังชาตาขาด ถ้า เกิดเช้ามีวาสนา๚๛๔๓ ๔๓ ดูรายละเอยี ดใน พระอุตมรามเถระ, จกั รทปี นี, หน้า ๘.

๕๙ จกั รทีปนี จกั รทปี นี๔๔ พระนพิ นธส์ มเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระปรมานชุ ิตชิโนรส ถอื เป๐นบทพระนิพนธ์อีกเร่ืองหน่ึงท่ีแสดงให้เห็นถึงพระอัจฉริยภาพในการประพันธ์ สม กับทอี่ งคก์ ารโลกประกาศพระเกยี รติคณุ เปน๐ อย่างย่ิง จักรทีปนี เป๐นบทพระนิพนธ์เกี่ยวกับโหราศาสตร์ทํานองเดียวกันกับจักร ทีปนี ซ่ึงเป๐นงานรจนาของพระอุตมรามเถระ จะต่างก็ตรงท่ีจักรทีปนี ของสมเด็จพระ มหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชติ ชโิ นรสมลี กั ษณะเป๐นรอ้ ยกรอง แต่งเป๐นโคลงส่ีสุภาพ มี คําอธิบายเป๐นร้อยแก้ว ส่วนตอนที่ว่าด้วยลัคนาสถิตราศีต่างๆ น้ัน ทรงนิพนธ์เป๐นร้อย กรองประเภทตา่ ง ๆ หลายลกั ษณะ จักรทีปนี เริ่มตน้ เนื้อหาดว้ ยโคลงบานแพนก ดงั น้ี๔๕ โคลงสส่ี ุภาพ ๛กรมหม่นื นุชติ เชอื้ เมธี แถลงลกั ษณ์จกั รทปี นี สืบสรา้ ง เนมิตนิติคดี โดยโทษ คณุ แฮ แดพ่ ระนดั ดาอา้ ง ชอ่ื ชีก้ ปฐิ า ๛พงึ เพยี รเรยี นรอบรู้ ศาสตรไสย สบอกั ษรขอมไทย ถ่องถ้วน กลกลอนกาพยข์ านไข ฤาพรอก พรางพ่อ ส่งิ ละสงิ่ เลือกล้วน แหล่งหล้าสรรเสรญิ ๛สบื วงศพ์ งศเ์ ผ่าเจา้ จอมอารีย์ วันรตั นจัดเจนชาญ เชยี่ วรู้ ธาํ รงวิหารสถาน โพธิผลดั นามนา เสนอช่ือเชตพุ นผู้ ศษิ ยร์ ้ังแรมสนอง ๛คอื ข้อยสมเยศพูน้ วาสุกรี แปลงเปล่ียนยศราชี ชื่อให้ กรมนุชิตจติ ภักดี คณุ ขอบ ครูนา ผายอรรถวัจนวากย์ไว้ ฝากฟาู ดินเฉลมิ ๔๔ สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานชุ ติ ชโิ นรส, จกั รทีปนี, [กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลง กรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๔], ๔๘ หน้า. ๔๕ สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชโิ นรส, จกั รทีปนี, หนา้ ๑.

๖๐ ตอ่ ดว้ ยฉนั ทภ์ าษาบาลีว่า พุทฺธํฺจ ธมฺมํจฺ คณวํ เสฏฐํ วนทฺ ยิ าหํ อุตฺตมรามนาโม นานาครฺ หา ลกขฺ ณปณฺฑติ ตตฺ ํ ภาสสิ สฺ มิ ํ จกฺรทีปณยฺ คนถฺ ฯํ จากบทบาลีปณามคาถาข้างตน้ หลังจากท่ผี ้นู พิ นธไ์ ด้ไหวพ้ ระรัตนตรัยเป๐นที่ เรียบร้อยแล้ว บาทท่ี ๒ ของคาถา ยังมีการไหว้ครู โดยระบุชื่อว่า อุตตมราม ผู้รจนา คัมภีรจ์ กั รทีปนอี กี ฉบบั หนงึ่ ดังนาํ เสนอแล้วขา้ งต้น ทําให้สันนิษฐานได้ว่า จักรทีปนีพระ นิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส น่าจะแนวจากงานของ พระอุตตมรามเถระอยู่พอสมควร ข้อความขา้ งล่างต่อไปน้ี นา่ จะเปน๐ หลักฐานได้อยา่ งดี ๛จักสําแดงพระคัมภีร์ จักรทีปนีฎีกาโหราศาสตร์ อันพระผู้เป๐นเจ้าอุดม รามเถร กระทํารัตนตรยั ประณาม แล้วรจนาไวโ้ ดยสารโสลกคาถา อธิบายความว่า ชาตาผใู้ ด ๛ผิว พระอาทิตย์สถิตร่วมราศีกับด้วยลัคนากําเนิด ผู้น้ัน จะจากบิดา มารดาแต่น้อย จะแกล้วกล้า จักเป๐นนักเลงสุรา มีพรรคพวกเผ่าพันธุ์มาก จะได้สมบัติ บริวารและยศศกั ด์ิ ๛ผิว พระจันทร์อยู่ร่วมกับราศีลักขณา ผู้นั้นจะมีรูปงาม จะบริบูรณ์ด้วย สมบัตแิ ละทาสกรรมกรชายหญิง จะมภี รยิ าและบุตรมาก แต่มกั จะเป๐นโรคในทอ้ ง๔๖ สงั เกตเหน็ ว่า ความในตอนนีท้ ้งั หมด กล่าวถึงลักขณาและพระเคราะห์สถิต ในราศีต่างๆ รวมทั้งส่วนท่ีพระเคราะห์ร่วมกับลักษขณา ทํานองเดียวกับเล่มที่ ๑ และ เล่มที่ ๒ ในจักรทีปนี ซ่ึงเป๐นบทรจนาของพระอุตตมรามเถระ เพียงแต่นําเสนอในอีก ลักษณะหน่ึงเทา่ น้ัน ในส่วนท้ายคัมภีร์ กล่าวถึงลัคนาสถิตย์ในราศีต่างๆ แต่ผูกพระนิพนธ์เป๐น กาพย์สรุ างคนางค์ไล่เรียงตามลําดับราศีต่างๆ โดยเริ่มจากราศีเมษ พฤษภ เมถุน กรกฎ สิงห์ กนั ย์ ตุลย์ พิจิก ธนู กุมภ์ มนิ ตามลําดับ ตัวอยา่ ง ๛ลคั นาอย่เู มษ อาจารยว์ เิ ศษ กล่าวไวโ้ ดยดี กาํ เนดิ เกดิ มา คือพระยาทรพี เมื่อน้อยมีบญุ ๔๖ สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระปรมานชุ ติ ชโิ นรส, จักรทีปนี, หนา้ ๒.

๖๑ ใหญ่มาพอดี มเี มยี สาวศรี มีลกู คนเดียว อย่มู าช้านาน ชืน่ ชมสมภาร มใี จฉนุ เฉียว ต้องละเมยี ไว้ เทยี่ วไปคนเดียว จรคลวนเท่ยี ว กว่าจะส้ินกรรม๛ ๛ลัคนาอยู่พฤษภ ป๎ญญารู้จบ รํา่ เรยี นเพยี รธรรม ดุพระสุธน ได้เมยี สาวสวรรค์ ยอ่ มพลดั พรากกนั ดุจน้ันแลนา๛ ๛ลัคนาอยู่เมถนุ รปู งามใครจะปนู มบี ุญโสภา ดงั พระฉทั ทนั ต์ อนั อยใู่ นปาุ นางชา้ งโสภา ห้อมลอ้ มแจจนั นายโสอุดร ยิง่ ด้วยลกู ศร ไดง้ ามาพลัน บคุ คลเกดิ มา ลคั นาอยนู่ ัน่ เมียมากครามครนั เป๐นทุกขร์ ําคาญ๛ ๛ลัคนาอยกู่ รกฎ ดุจดังพระรถ เจ้าโคธกุมาร ทา่ นใชไ้ ปตาย เสยี ดายเมยี สะคราญ สมบตั ิพัสถาน เกิดด้วยบารมี๛ อนงึ่ วรรณกรรมเรื่องนี้ อาจออกนอกแนวพระพุทธศาสนาอยู่บ้าง แต่เห็น ว่าบทนิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนส ซึ่งเป๐นแนวทที่ สะท้อนความเช่ือทางโหราศาสตร์ซ่ึงมีอยู่ในสังคมไทยมาช้านาน ไม่เฉพาะชาวบ้าน เท่าน้ัน หากยังรวมไปถึงพระสงฆ์ด้วย และความจริง พระสงฆ์ คือกลุ่มบุคคลหน่ึงท่ีมี ความใกลช้ ิดกับชาวบ้าน และชาวบ้านเมื่อปญ๎ หาเกย่ี วกับชีวิต กม็ กั จะไปปรึกษาพระสงฆ์ สะทอ้ นใหบ้ ทบาทอีกบทบาทหนงึ่ ของพระสงฆท์ ่มี ีตอ่ ประชาชนในทุกระดับ ข้อดีอกี ประการหนงึ่ ท่ีวรรณกรรมช้นิ ทําก็คือ ไม่ได้สร้างตํานานยกเร่ืองราว เก่ียวกับพระพุทธเจ้ามาเป๐นต้นเหตุของเร่ืองเหมือนกรณีจักรทีปนีท่ีรจนาโดยพระ อุตตมรามเถระ ทําให้พน้ ขอ้ ครหา “จบั ใสพ่ ระโอษฐ์” ไปในที จกั กวาฬทปี นี จักกวาฬทีปนี๔๗ เป๐นวรรณกรรมประเภทรวบรวมเร่ืองราวต่างๆ เกี่ยวกับ จักรวาลตามที่มีปรากฎอยู่ในคัมภีร์ต่างๆ นับตั้งแต่พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา ๔๗ พระสิริมังคลาจารย์, จักกวาฬทีปนี, [กรุงเทพมหานคร: กรมศิลปากร จัดพิมพ์, ๒๕๒๓.], ๒๕๐ หนา้ .

๖๒ ตลอดจนปกรณ์ท้ังหลายที่กล่าวถงึ เรอ่ื งเดียวกนั มาไว้ด้วยกัน โดยท่านรจนนาเช่ือมหัวต่อ ให้กลมกลืนเป๐นเร่อื งเดียวกันอย่างสนิท พร้อมท้ังวิจารณ์ข้อความต่างๆ จากคัมภีร์ที่ท่น นาํ มารวบรวมเฉพาะหัวข้อท่ีทา่ นไม่เห็นด้วย ผ้รู จนาคมั ภรี จ์ กั กวาฬทีปนีคือพระสริ มิ งั คลาจารย์ เปน๐ ภิกษุชาวเชียงใหม่ มี ชวี ิตอยูป่ ระมาณพุทธศตวรรษท่ี ๒๐ ในสมัยเดียวกับพระคันถรจนาจารย์ผู้มีช่ือเสียงอีก ๒ ทา่ น คือพระรัตนป๎ญญาเถระ ผู้รจนาชนิ กาลมาลปี กรณ์เมือ่ พ.ศ.๒๐๖๐ และพระโพธิ รังสี ผู้รจนาจามเทววี งศแ์ ละสิหงิ คนทิ าน [พ.ศ.๒๐๐๓-๒๐๗๓] จดุ ประสงคใ์ นการรจนา ทา่ นระบุไวใ้ นบทปฏิญญาดงั น้ี บาลี นานาคนฺเถสุ สารตฺถํ คเหตพพฺ ํ สมาทิย กรสิ ฺสาหํ สุโพธตถฺ จกฺกวาฬกทนี ึ อนสุ สฺ ุยฺยา นสิ าเมถ อปิ ลเภถ เฉกตฯ แปล จะรวบรวมข้อความอันเป๐นสาระที่ควรเช่ือถือใน คัมภีร์ต่างๆ มาเรียบเรียงจักรวาฬทีปนี เพ่ือความเข้าใจดี ท่าน ท้ังหลายพึงสดับโดยปราศจากความฟูุงซ่าน จะพึงได้รับความ ฉลาด๔๘ เนื้อหาของจักรวาลทีปนี แบ่งเป๐น ๖ กัณพ์ แต่ละกัณฑ์ดําเนินเรื่องตาม หัวข้อที่ตั้งไว้ และจบในแต่ละกัณฑ์โดยไม่เก่ียวเน่ืองกับกัณฑ์ต่อๆ ไป ลักษณะคํา ประพนั ธม์ ีทง้ั ร้อยกรอง และร้อยแกว้ ผสมตลอดทัง้ เรื่อง ดงั น้ี กัณฑ์ท่ี ๑ จกฺกวาฬสรูปาทินิทฺเทโส ว่าด้วยเรื่องจักรวาลพร้อมท้ังส่ิงท่ีมี รปู รา่ ง เปน๐ ตน้ เนือ้ ความในกัณฑ์ท่ีหน่ึงเร่ิมต้นด้วยบทร้อยกรอง จากน้ันก็ร้อยเรียงเป๐น ร้อยแก้วอธิบายความ ขยายความตามลาํ ดบั ดังตวั อย่าง บาลี อนนตฺ ํ จกกฺ วาฬํ เว เยน คตํ อสํสยํ นตวฺ า สธมมฺ สงฺฆนฺตํ โลกวิทุ จ อนฺตคํฃ นานาคนเฺ ถสุ สารตถฺ ํ คเหตพพฺ ํ สมาทิย กริสฺสาหํ สุโพธตฺถํ จกกฺ วาฬทปี นึ อนุสุยยฺ า นสิ าเมถ อปิ ลเภถ เฉกตนฺตฯิ ตตฺถ จกฺกวาฬํ นาม โลกธาตุฯ วุตฺตํฺหิ อฏฺฐกถาสุ ตํ สพฺพมฺปิ เอกํ จกฺ กวาฬํ เอกา โลกธาตตู ิ ฯ ตฏฺฎีกาสุปิ จกกฺ วาฬนตฺ ิ โลกธาตฯุ สา หิ เนมิมณฺฑลสทิเสน จกฺ ๔๘ แม่ชีวมิ ตุ ติยา [สุภาพรรณ ณ บางช้าง], จักกวาฬทีปนี: ลักษณะเด่น ภูมิปัญญา และ คณุ คา่ , [กรุงเทพฯ : สํานกั งานกองทุนสนับสนุนงานวจิ ยั , ๒๕๕๔], หน้า ๔๙.

๖๓ กวาฬปพพฺ เตน สมนตฺ โต ปริกขฺ ิตฺตตฺตา จกฺกวาฬนฺติ วุจฺจตีติ วุตฺตํ ฯ โลกทีปกสาเรปิ จกฺ กวาฬํ นาม สิเนรุสตฺตปริภณฺฑปพฺพตจตุมหาทีปทฺวิสหสฺสปริติตทีปมหาสมุทฺเทหิ อุป โสภติ ํ จกกฺ วาฬลสลิ าปรกิ ฺขติ ตฺ นฺติ วุตฺตํฯ แปล ขา้ พเจา้ ขอนอบน้อมพระพทุ ธเจ้าผู้รู้แจง้ โลก และผถู้ ึงที่สดุ แห่ง โลก ผูเ้ สดจ็ ไปสู่จักรวาลอันไม่มีท่สี น้ิ สดุ ได้แลว้ อย่างไม่มีที่สงสัย พร้อมท้ังพระธรรม และ พระสงฆ์แลว้ ข้าพเจา้ จักรวบรวมเน้ือหาอนั เป๐นสาระท่ียึดถือได้ในคัมภีร์ต่างๆ แล้วเรียบ เรียงคัมภีร์จักรวาฬทีปนี แม้ท่านท้ังหลายไม่มีความเดียดฉันท์ ตั้งใจฟ๎งอยู่ ย่อมได้รับ ความฉลาดฯ ในคําว่า จักกวาฬทีปนีน้ัน ท่ีเรียกว่า จักรวาล คือ โลกธาตุฯ สมจริงดังท่ี ท่านกล่าวไวใ้ นอรรถกถาท้งั หลายวา่ จกั รวาลหน่งึ แมท้ ้ังหมดน้ัน คือโลกธาตุหน่ึงฯ แม้ใน ฎีกาของอรรถกถาทั้งหลายเหล่าน้ัน ท่นก็กล่าวไว้ว่า โลกธาตุ คือจักรวาล ฯ เหตุท่ี โลกธาตุนั้นท่านเรียกว่าจักรวาล เพราะถูกภูเขาจักรวาลซึ่งคล้ายกับวงรอบของกงรถ แวดล้อมไว้โดยรอบฯ แม้ในคัมภีร์โลกทีปกสารท่านก็กล่าวว่า ช่ือว่าจักรวาลเป๐นท่ีอัน ภูเขาสิเนรุ ภูเขาสัตตบริภัณฑ์ ทวีปใหญี่ส่ีทวีป ทวีปน้อยสองพันทวีป และมหาสมุทร ทั้งหลายประดับประดาแล้ว โดยมีภเู ขาจักรวาลแวดลอ้ มไว้โดยรอบฯ๔๙ กัณฑ์ท่ี ๒ ปพฺพตนิทฺเทโส ว่าด้วยเรื่องภูเขา ประกอบด้วย ภูเขาสิเนรุ ภเู ขายุคนธร ภูเขาหมิ พานต์ และภเู ขาจกั รวาล ขึ้นตน้ เร่อื งพรรณนาเป๐นร้อยแก้ว โดยยก ประเด็นที่ตรัสไว้ในพระบาลี ต่อแต่น้ันยกเอาข้อความในอรรถกถาซ่ึงเป๐นร้อยกรองมา สนับสนุน ผู้รจนาอธิบายความเพ่ิมเติม ขณะเดียวกันก็มีการอ้างถึงงานนิพนธ์อ่ืนๆ มา เสริม วิเคราะห์ วิจารณ์เปน๐ ระยะๆ ตลอดเร่อื ง ตวั อยา่ ง สิเนรุสฺส ปมาณํ ปาฬิยมาคตํฯ วุตฺตํฺหิ สตฺตสุริเย สิเนรุ ภิกฺขเว ปพฺพตรา ชา จตรุ าสีตโิ ยชนสหสฺโส อายาเมน จตุราสีติโยชนสหสฺโส วิตฺถาเรน จตุราสีติโยชนสหสฺ สานิ มหาสมทุ ฺเท อชฺโฌคาฬโฺ ห จตุราสีติโยชนสหสฺสานิ มหาสมทุ ทฺ า อจฺจุคฺคโตติฯ อฏฺฐก ถาสุปิ วตุ ตฺ ํ จตรุ าสีติสหสฺสานิ อชโฺ ฌคาฬโห มหณณฺ เว อจจฺ คุ ฺคโต ตาวเทว สเิ นรุ ปพฺพตุตตฺ โมติ ฯ ๔๙ สดภุ ณ จังกาจติ ต,์ จกั กวาฬทปี นี กณั ฑ์ที่ ๑-๒-๓, วทิ ยานิพนธอ์ กั ษรศาสตรมหาบัณฑิต แผนกวชิ าภาษาตะวันออก _[บณั ฑิตวิทยาลยั : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๒๐], หนา้ ๑๕๓.

๖๔ แปล ขนาดของภเู ขาสิเนรุมกี ล่าวไว้ในพระบาลีฯ เป๐นความจริงดังที่ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในสัตตสุริยสูตรว่า ดูกรภิกษุท้ังหลาย ขุนเขาสิเนรุยาว ๘๔,๐๐๐ โยชน์ กวา้ ง ๘๔,๐๐๐ โยชน์ หยงั่ ลงในมหาสมุทร ๘๔,๐๐๐ โยชน์ ผุดพ้นจาก มหาสมุทร ๘๔,๐๐๐ โยชน์ฯ แมใ้ นอรรถกถาทั้งหลาย ทา่ นก็กล่าวไวว้ ่า ขุนเขาสเิ นรุหยัง่ ลงแลว้ ในมหาสมุทร ๘๔,๐๐๐ โยชน์ และผุดพ้นข้นึ ไปแล้วเท่านน้ั เหมอื นกัน ฯ๕๐ กัณฑ์ท่ี ๓ ชลาสยนิทฺเทโส ว่าด้วยเร่ืองชลาสัย ประกอบด้วย เร่ืองสมุทร, เร่ืองสระ, เรอื่ งแมน่ ้าํ และเรอ่ื งชลาสยั มโี บกขรณี เป๐นต้น กณั ฑ์ท่ี ๔ ทปี นทิ ฺเทโส ว่าดว้ ยเรื่องการชี้แจงเรื่องทวีป ประกอบด้วย ทวีป ใหญ่ ๔ ทวปี , พรรณนาชมพทู วปี , พรรณนาอตุ ตรกุรทุ วีป, ทวีปเลก็ ตัวอยา่ ง อิทานิ ทโี ป กถฺยเตฯ โก ทีโป นามาติฯ มหาสมุทฺทชลมชฺฌคตํ ฐานํ ทีโป นาม ยํ อนติ รีปนิติ วุจจฺ ตฯิ เตน ปาตาลวคฺเค อนตฺ รี จ ทปี า วา อชมชฌฺ คตํ ถลนิติ วุตตฺ ํฯ แปล บัดน้ีข้าพเจ้า [พระสิริมังคลาจารย์] จะกล่วาเร่ืองทวีปฯ ถาม ว่า ภูมิภาคคืออะไร ? ชื่อว่าทวีปฯ เฉลยว่า ที่ที่อยู่กลางน้ําในมหาสมุทรท่ีเรียกว่าเกาะ กลางนาํ้ ช่ือวา่ ทวีปฯ เหตนุ ั้น ในปาตาลวรรค ท่าน [พระโมคคัลลายนเถระ] จึงกล่าวไว้ ว่า อนงึ่ ทด่ี อนทอ่ี ยู่กลางนาํ้ ชื่อวา่ เกาะ หรือทวีปฯ๕๑ กณั ฑ์ท่ี ๕ ภมู นิ ทิ ฺเทโส ว่าด้วยเร่ืองภูมิต่างๆ ได้แก่ เนื้อหาแบ่งออกเป๐น ๒ หมวดใหญ่ หมวดแรกเรียกว่า อบายภูมิ หมวดที่สองเรียกว่า เทวภูมิ จากน้ันผู้รจนาได้ จําแนกรายละเอียดภูมิท้ัง ๒ กล่าวคือ อบายภูมิ จําแนกเป๐น นรก สัตว์เดรัจฉาน เปรต และอสุรกาย แม้นรกกจ็ าํ แนกย่อยออกเป๐นนรกขมุ ใหญ่ ๘ ขุม และนรกบริวารต่างๆ อีก แม้ใมเทวภูมิก็จําแนกรายละเอียดออกเป๐น ๒๙ ชั้น แบ่งเป๐นกามาวจร ๙, รูปาวจร ๑๖ และอรูปาวจร ๔ พรรณนาความแต่ละชั้นโดยละเอียดไม่ว่าจะเป๐นรูปร่าง สถานท่ีอยู่ อาหาร และเหตุทท่ี าํ ใหเ้ กิดในภูมนิ ั้น ๆ ๕๐ สดุภณ จงั กาจติ ต์, จักกวาฬทปี นี กณั ฑท์ ่ี ๑-๒-๓, หนา้ ๑๕๙. ๕๑ วรศักด์ิ ศรีบุญ, จักกวาฬทีปนี กัณฑ์ท่ี ๔, [วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาตะวนั ออก บัณฑิตวทิ ยาลยั จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๓], หน้า ๒๑๙.

๖๕ ตัวอย่าง กถยสิ ฺสํ อหํ ทานิ ภูมโิ ย ตา ทวุ ธิ า มตา อปายภูมเิ ทวภมู นิ ํ วสา ตา กตมา ทุเวฯ ตตฺถ อปายภูมีติ ภวนฺติ เอตฺถ สตฺตาติ ภูมิฯ อปาโย เอว ภูมิ อปายภูมึติ อยมตโฺ ถ อภธิ มมฺ ตฺถสงฺคหฎีกายํ วุตฺโตฯ อปายสทฺทตฺโถ ตุ วุฑฺฒิสงฺขาตา วา สุขสงฺขาตา วา อยา อเปตตฺตา อปาโยติ มหาสีหนาทสุตฺตวณฺณนายํฺจ นตฺถิ ปาโย วุฑฺฒิ เอตฺถาติ อปาโย อถวา สุขโต อเปโตติ อปาโยติ สทฺทนตี ิยํฺจ ปํุ ฺญสมมฺ ตา อยา เยภุยฺเยน อปคโต ติ อปาโยติ อภธิ มมฺ ตถฺ สงคฺ หฎกี ายํจฺ วตุ ตฺ นเยเนว เวทติ พฺโพฯ แปล บัดนี้ข้าพเจ้าจักกล่าวเรื่องภูมิ ภูมิน้ันท่านกล่าวไว้สองอย่าง สองอย่างคอื อะไร สองอย่างด้วยอาํ นาจแห่งอบายภมู ิและเทวภูมิ พระฎีกาจารย์กล่าวข้อความนี้ไว้ในฎีกาอภิธัมมัตถสังคหะว่า บรรดาบท เหล่านัน้ บทวา่ อปายภมู ิ พึงทราบอธิบายว่า สัตว์ท้ังหลายย่อมเกิดในท่ีน้ี เหตุน้ันที่น้ีจึง ช่ือว่า ภูมิ ภคู อื อบาย ชอ่ื ว่า อบายภมู ิ เน้ือความแห่งอบายศัพท์ พึงทราบตามนัยที่กล่าว ไว้ในอรรถกถามหาสีนาทสูตรว่า ชื่อว่า อบาย เพราะเป๐นประเทศที่ปราศจาก อยะ กล่าวคอื ความเจริญหรือความสขุ และในสทั ทนีตปิ กรณ์ว่า ชื่อว่า อบาย เพราะในท่ีน้ี ไม่ มคี วามสบายหรือความเจริญ อีกนัยหน่ึง ประเทศใดปราศจากความเจริญ ความสุข ปร เทศน้ัน ช่ือว่า อบาย และในฎีกาอภิธัมมัตถสังคหะว่า ประเทศใดปราศจากความเจริญ อันสมมติว่าบุญโดยมาก เหตนุ ้ันประเทศนนั้ ชอื่ วา่ อบายฯ๕๒ กัณฑ์ที่ ๖ ปกิณฺณวินิจฺฉโย ว่าด้วยข้อวินิจฉัยเร่ืองต่างๆ ประกอบด้วย เรอื่ งอายุ เร่ืองอาหาร เรือ่ งการคํานวณภูมิ เรื่องต้นไม้ เร่ืองโลก เรื่องโลกธาตุ และเร่ือง ความไม่มที ี่สดุ ๑] อายุ การกําหนดเวลาการตั้งอยู่ของร่างกายที่เป๐นวิบาก คือมนุษย์และ สัตว์ทั้งหลายเกิดจากป๎จจัยคือ เลือดขาว [นํ้าอสุจิ] ระดู แลโภชนะ อายุของหมู่เทวดา และอายขุ องหมสู่ ตั ว์นรก ๒] อาหาร อาหารฏฺฐีติกา การดํารงอยู่ได้ของสัตว์ทั้งหลายเหล่านั้นเพราะ อาหาร ชือ่ ว่า อาหารฏั ฐตี ิกา ๓] การคานวณภูมิ ระยะทางจากเมอื งอสรู ถงึ เมืองมนษุ ย์ ๘๔,๐๐๐ โยชน์ ๕๒ บาลี พุทธรักษา, จักกวาฬทีปนี กัณฑ์ท่ี ๕, [วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควชิ าภาษาตะวนั ออก บณั ฑิตวทิ ยาลัย จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั , ๒๕๒๓], หน้า ๒๖๒.

๖๖ - จากมนษุ ยถ์ งึ สวรรคช์ นั้ จาตุมหาราชิกา ๔๒,๐๐๐ โยชน์จากสวรรค์ช้ันจาตุ มหาราชิกาถึงชั้นดาวดึงส์ ๔๒,๐๐๐ โยชน์ และจากเมืองอสูรถึงสวรรค์ช้ันดาวดึงส์ ๑๖๘,๐๐๐ โยชน์ - โยชน์ อรรถแสดงความแตกต่างของโยชน์ ดังนี้ ๓๐ ปรมาณู เป๐น ๑ อณู ๓๖ อณู เปน๐ ๑ ตชารี ๓๖ ตชารี เปน๐ ๑ รถเรณู ๓๖ รถเรณู เปน๐ ๑ ลิกขา ๗ ลิกขา เป๐น ๑ อูกา ๗ อูกา เป๐น ๑ ธัญญามาส ๗ ธัญญามาส เป๐น ๑ อังคุละ ๑๒ อังคุละ เป๐น ๑ วิทัตถิ ๒ วิทัตถิ เป๐น ๑ รัตน์ ๗ รัตน์ เป๐น ๑ ยัฏฐิ ๒๐ ยัฏฐิ เป๐น ๑ อุสภะ ๘๐ อุสภะ เป๐น ๑ คาวุต และ ๔ คาวุต เป๐น ๑ โยชน์ - นาฬกิ า กาลเวลาท่ีพึงนับดว้ ยเครอื่ งนบั มอี กั ษรเป๐นต้น ชื่อว่า นาฬิกา ๑๐ อักษร เป๐น ๑ ปราณ ๖ ปราณ เป๐น ๑ วินาที ๑๕ วินาที เป๐น ๑ บาท ๔ บาท เป๐น ๑ นาฬิกา ๖๐ นาฬิกา เป๐นวนั และคืนหนึ่ง ๓๐ คนื เปน๐ ๑ เดอื น และ ๑๒ เดือน เป๐น ๑ ปี ๔] ตน้ ไม้ ต้นไม้ ๗ ชนิด ได้แก่ ต้นหว้าในชมพูทวีป ต้นจิตตปาฏลีของอสูร ต้นงิว้ ของครุฑ ตน้ กระทุ่มในอมรโคยานทวีป ต้นกัลปพฤกษ์ในอุตตรกุรุทวีป ต้นซีกในบุ รพวเิ ทหทวปี และตน้ ปารฉิ ัตตกะในสวรรคช์ ้นั ดาวดึงส์ ๕] โลก จําแกนโดยสังขารโลก สัตวโลก และโอกาสโลก, โลกจําแนกเป๐น ขนั ธโลก ธาตุโลก อายตนโลก วิป๎ตติภวโลก วปิ ต๎ ตสิ ัมภวโลก สัมป๎ตติภวโลก โลกหนึ่งคือ สัตวท์ ้งั หมด ดํารงอยู่ได้ด้วยอาหาร, โลกจําแนกเป๐นกามาวจรสัตว์ท้ังหลายชื่อว่า กิเลส โลก เพราะเป๐นที่ผู้มากด้วยกิเลส รูปาวจรสัตว์ทั้งหลายชื่อว่า ภวโลก เพราะเจริญด้วย ฌานและอภิญญา และอรูปาวจรสัตว์ท้ังหลายชื่อว่า อินทรียโลก เพราะว่าเป๐นผู้มี อทิ ธิฤทธิ์อนั บริสทุ ธ์ิ โดยความเปน๐ ผู้มากด้วยอเนญชาสมธิ ๖] โลกธาตุ คือ ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์เท่ียวส่องแสงอยู่ท่ัวทิศ มี ประมาณเท่าใด โลกมีประมาณเท่านั้นพันส่วน โลกธาตุทั้ง ๓ ได้แก่ จูฬิกาโลกธาตุ มีพัน จักรวาล มัชฌิมิกาโลกธาตุ มีประมาณล้านจักรวาล และไตรสหัสสีโลกธาตุ มีประมาณ รอ้ ยโกฏจิ กั รวาล ๗] ความไม่มที ี่สดุ สง่ิ ไมม่ ีทส่ี ดุ ๔ อย่าง คือ อากาศไม่มีท่ีสุด จักรวาลไม่มี ที่สดุ หมู่สตั วไ์ ม่มที ี่สดุ และพุทธญาณไม่มีที่สุด อากาศ ๓ อย่าง คือ ปริจเฉทากาศ กสิณุ ฆาฏมิ ากาศ และอัชฏากาศ ปัจฉมิ คาถา จักกวาฬทปี นี ซึง่ ประดับประดาด้วยเนื้อหา ๖ กัณฑ์ ท่ีพระมหาเถระซึ่งครู ท้ังหลายขนานนามให้ว่า “สิริมังคลาจารย์” ดังนี้ เป๐นผู้มีความอุตสาหะมาก ทรง

๖๗ พระไตรปิฎก ประดับด้วยศรัทธา ความรู้ และความเพียร ปรารถนาความเป๐นผู้ฉลาด ในสัมปรายภาพ อยู่ในวัดท่ีปรากฏช่ือในภาษาไทยว่า “สวนขวัญ” อันตั้งอยู่ทางทิศ ตะวันตกเฉียงใต้ของวัดพระสิงห์ ในครเชียงใหม่ ได้รจนาเสร็จในปีมะโรง โทศก จุล ศักราช ๘๘๒ ในการทรงเลื่อมใสในพระพทุ ธศาสนาของพระผูจ้ อมมนุษย์ ผู้เปน๐ พระราชา ยิ่งกว่าพระราชา ผู้ทรงเป๐นพระราชนัดดาของพระเจา้ ลกะ ทรงเป๐นใหญ่ในนครเชียงใหม่ อันย่ิงใหญ่ ทรงเป๐นดิลกของพระราชาทั้งปวง ทรงเป๐นผู้มีศรัทธาย่ิง ทรงปรารถนาพระ สัพพญั ํุตญาณ คัมภีร์จักกวาฬทีปนีนี้ พ้นจากอันตราย สําเร็จแล้วฉันใด ความปรารถนา ทงั้ สิ้นของหมสู่ ัตวจ์ งสําเร็จด้วยดี ฉันนนั้ ส่วนขา้ พเจา้ ผรู้ จนาคัมภรี จ์ กั กวาฬทปี นีน้ี ได้ประสบบุญท่ีให้เกิดความสุขใด ดว้ ยบญุ ของข้าพเจ้านนั้ ขอความปรารถนาของหมสู่ ัตว์ท่ดี ีงาม จงสําเร็จ ขอให้หมู่สัตว์ซ่ึง ไม่มีท่สี ุด ในจกั รวาลอันไม่มีที่ส้ินสุด จงมีความสุข มีอายุยืนนาน เห็นความเจริญทุกเม่ือ อนึ่ง จงเป๐นผู้ใคร่ในบุญ เลื่อมใสในพระพุทธ เล่ือมใสในพระธรรม และเลื่อมใสใน พระสงฆ์เท่านั้น ด้วยว่า หมู่สัตว์เหล่านั้นท่ีมีประการอย่างนั้น ย่อมได้ความสําเร็จแห่ง ความหวงั และธรรมอันเป๐นที่พ้นทุกข์ ส่วนตัวของข้าพเจ้าเอง พึงได้ผลอันสูงสุดที่รู้กันว่า “พระอรหันต์” อนั ประดับด้วยคุณทั้งปวงในภพสุดท้ายฯ ในการใด พระอริยเมตไตรย์ผู้ เป๐นโลกนายกเสด็จอุบัติแล้ว ในกาลนั้น ข้าพเจ้าพึงได้เข้าเฝูาฟ๎งพระธรรมของพระองค์ เม่ือได้ฟ๎งธรรมของพระองค์แล้ว พึงบรรลุผลอันยอดยิ่ง ในกาลน้ัน ข้าพเจ้าพึงประดับ ดว้ ยคณุ ทง้ั หมด ถา้ ยังไม่บรรลใุ นศาสนาของพระอริยเมตไตรย์ ยงั ท่องเที่ยวไปในภพน้อย ภพใหญ่ไซร้ ไม่พึงคบบาปมิตร พึงคบบุรุษผู้สูงสุด ไม่พึงประกอบด้วยทิฏฐิอันเลว พึง ประกอบด้วยทิฏฐิอันดี ประกอบด้วยบุญมีทานเป๐นต้น จงเป๐นผู้เล่ือมใสที่ชาวโลกนับถือ แลว้ ขอพระสัทธรรมคือคําส่ังสอนของพระโลกนาถ จงส่งแสงตลอดกาลนานฯ ขอให้สรรสัตว์ท้ังปวงจงเล่ือมใสในพระพุทธศาสนา ขอให้ฝนจงตกต้องตามฤดูกาล นํา แผ่นดนิ ไปสูค่ วามมงั่ คง่ั หลงั่ กระแสนาํ้ โดยชอบ จงรักษาพืชและสัตว์ที่เกิดบนแผ่นดินทุก เม่ือฯ อน่ึงขอพระราชาท้ังหลายพิทักษ์รักษาประชาชนโดยธรรมทุกเมื่อ เหมือนบิดา มารดาเลยี้ งดบู ุตรน้อย ทีเ่ กดิ แต่ตนเป๐นเนอื งนติ ย์ ฉะน้ัน เทอญฯ๕๓ ๕๓ นพพร เคลา้ ด,ี จักกวาฬทีปนี กัณฑท์ ี่ ๖: การตรวจชาระและการศึกษาเชิงวิเคราะห์, วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาตะวันออก [บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๒๓], หน้า ๑๕๑.

๖๘ วิธีการนาเสนอเนื้อหาในจักกวาฬทีปนี สุภาพรรณ ณ บางช้าง นําเสนอ วิธีการอธิบายความในวรรณคดีบาลีโดยทั่วไปว่า มีจํานวน ๑๒ วิธี และในจักรวาฬทีปนี แตล่ ะละกัณฑ์ มกี ารตั้งประเด็น และอธบิ ายเนอื้ หาตามวธิ ีการ สรปุ ได้ดงั นี้๕๔ [๑] เน้อื หาด้านศัพท์ มี ๔ วิธี ได้แก่ วธิ ีที่ ๑ แสดงช่อื /จาแนกประเภท ตัวอย่าง แสดงช่ือภูเขาอ่ืนอีก ๗ ลูก คือ กาญจนบรรพต รช ตบรรพต มณบี รรพต อัญชนบรรพต สานุบรรพต หิงคุลบรรพต ผลิกบรรพต ท่ีกล่าวใน กณุ าลชาตกฏั ฐกถา วิธที ่ี ๒ อธิบายความหมายของศัพท์ ตัวอยา่ ง ชือ่ วา่ จกั รวาฬ คือ โลกธาตุ อ้างโลกทีปสารว่า ชื่อว่า จักรวาฬ อนั ภเู ขาจักรวาฬแวดลอ้ มไว้ งดงามด้วยภูเขาสิเนรุ เขาสัตตบริภัณฑ์ ทวีปใหญ่ ท้ัง ๔ ทวปี นอ้ ย ๒,๐๐๐ และมหาสมุทร วิธที ี่ ๓ วเิ คราะหศ์ ัพท์ ตวั อย่าง สังขารโลก ขันธ์แม้ทั้งสอง [คือท่ีเน่ืองด้วยอินทรีย์ และท่ีไม่เนื่องด้วยอินทรีย์ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือมีชีวิต และไม่มีชีวิต] ชื่อว่าสังขารโลก เพราะปจ๎ จยั ทง้ั หลายปรงุ แต่งข้นึ และยอ่ มทรดุ โทรมยอ่ ยยับไป วธิ ที ่ี ๔ ไวพจน์ ตวั อย่าง ในเลสวัคค์ [อภธิ านัปปทีปกิ า] แสดงช่ือภเู ขาไว้ ๙ ช่ือ คือ ปพพฺ ต คิริ เสล อทฺที นค อจล สีลจุ ฺจย สขี รี ภธู ร [๒] เน้อื หาดา้ นการเลา่ เรือ่ ง มี ๕ วิธี ไดแ้ ก่ วิธที ่ี ๕ ลักษณะ ตวั อยา่ ง ลักษณะของจักรวาฬเป๐นแผ่นกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง ๑,๒๐๓,๔๕๐ โยชน์ มีความหนา ๑/๕ ของเส้นผ่าศูนย์กลาง คือ ๒๔๐,๐๐๐ โยชน์ จักรวาฬจึงเป๐นแผ่นปฐพีซ่ึงมีลักษณะดังกลองแบนต่อเน่ืองเป๐นผื่นเดียว เบ้ืองล่างของ แผน่ มหาปฐพีมีแผ่นนาํ้ หนา ๒ เท่าของเสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง คือ ๔๘๐,๐๐๐ โยชน์รองรับอยู่ และมีแผน่ ลมหนา ๒ เท่าของแผ่นนํ้า คือ ๙๖๐,๐๐๐ โยชน์รองรับอยู่อีกทีหนึ่ง ตัวมหา ปฐพีแยกเป๐น ๒ ช้ัน แต่ละช้ันหนา ๑๒๐,๐๐๐ โยชน์ ช้ันบนเรียกว่าดินฝุน ชั้นล่าง เรยี กว่าแผน่ ศลิ าฯ ๕๔ แมช่ วี มิ ุตตยิ า, จักกวาฬทปี นี: ลักษณะเดน่ ภูมปิ ญั ญา และคุณค่า, หนา้ ๒๖๘.

๖๙ วธิ ีที่ ๖ พรรณนาความ ตวั อยา่ ง แสดงลกั ษณะภเู ขา ๗ ลูกขา้ งต้นคือ กาญจนบรรพต เปน๐ ยอดภเู ขาสุทสั สนะ รชตบรรพต เปน๐ ยอดภเู ขาไกรลาส มณบี รรพต เป๐นยอดภูเขาจติ ระ อญั ชนบรรพต เปน๐ ยอดภูเขากาฬะ สานุบรรพต ภเู ขาเจือ หิงคุลบรรพตและผลิกบรรพต เปน๐ ภเู ขาพเิ ศษ วธิ ที ี่ ๗ อธิบายขยายความ ตัวอยา่ ง คําว่า สานุบรรพต มีอรรถาธิบายว่า คําว่า สานุ หมายถึงดิน นน้ั ถกู ตอ้ ง เพราะทา่ นกล่าวไวใ้ นกรณั ฑยิ ชาตกัฏฐกถาว่า “ในภูเขาดิน และ ในภเู ขาหิน” แม้ชาตกาจารย์ก็ได้กล่าวไว้ในเกทารชาตกัฏฐกถาว่า “บทว่า สานุปพฺพเต หมายความว่า ปุาง้ิวมีอยู่บนเขาที่เจือด้วยดิน และกล่าวไว้ในเวสสันตรชาตกัฏฐกถาว่า บทวา่ สานุปพพฺ ตํ หมายความวา่ ภูเขาเจอื ดิน ดังน้ี จริงอยู่ คําว่า ความเจือในที่น้ี ได้แก่ เจือด้วยดินและหิน ด้วยเหตุน้ีแล ในอุโปสถขันธกัฏฐกถาจึงได้กล่าวว่า ภูเขามี ๓ อย่าง คอื ภเู ขาดินล้วน ภูเขาหินลว้ น และภูเขาเจอื ทง้ั ๒ อย่าง คอื ดินและหินฯ วธิ ีที่ ๘ อธิบายความหมายทางธรรม ตัวอย่าง ยกตัวอย่างเร่ืองยักษ์สูจิโลมะฟ๎งธรรมแล้วได้บรรลุ โสดาป๎ตติผล เพ่ืออธิบายข้อความว่า “บุญนั้นเองย่อมบังเกิดแก่เวมานิกเปรตเหล่าน้ัน จาํ เดมิ แตก่ ารบรรลมุ รรคผล” วิธีท่ี ๑๒ สรุป ตวั อยา่ ง สรุปลําดับภูขาสิเนรุโดยถือตามพระบาลีและเนมิ ชาตกฏั ฐกถา ซง่ึ กล่าวตรงบาลวี ่า แม้ในเนมิชาตกัฏฐกถานั้น ก็ได้กล่าวถึงภูเขาสุทัสสนะ ทําให้อยู่โดย ลาํ ดับภายนอกภเู ขาทั้งหมด และกล่าวโดยลําดับ ทาํ ภเู ขาอัสสกัณณะให้อยู่ในท่ีใกล้ภูเขา สเุ นรุ คนผู้เป๐นบณั ฑิตอาจคิดว่า ทา่ นเขียนโดยความประมาท แตพ่ ระพุทธเจ้าทรงเห็นสิ่ง ท้ังปวง แม้เรื่องนี้ท้ังส้ิน พระองค์ก็ทรงเห็นด้วยพระจักษุ แล้วจึงตรัสไว้ เพราะฉะนั้น ความเปน๐ อย่างอื่น [จากพระพุทธวจนะ] จึงเป๐นไปไม่ได้เลยฯ [๓] เนอ้ื หาด้านการวิเคราะห์ มี ๓ วิธี ได้แก่ วธิ ีที่ ๙ ตงั้ ประเดน็ และช้แี จง

๗๐ ตัวอยา่ ง คัมภีร์ชินาลังการฎีกา แยกแผ่นดินจักรวาฬออกเป๐น ๒ “ที่ตัง้ อยภู่ ายใตเ้ รียกวา่ แผ่นดินศิลา ที่ตั้งอยู่เบื้องบนเรียกว่าภูเขาจักรวาฬฯ แผนดิน ศิลาหนา ๑๒๐,๐๐๐ โยชน์ ภูเขาจักรวาฬและแผ่นดินฝุนหนาเท่ากับแผ่นดินศิลาฯ แผ่นดินศลิ าและแผ่นดินฝุน ๒ อยา่ งรวมกนั หนา ๒๔๐,๐๐๐ โยชน์” และได้กล่าวอีกว่า “ด้วยประการฉะนี้ แผ่นดินที่รองรับโลก จึงเป๐น ๓ คือ แผ่นดินฝุน แผ่นดินลม และ แผ่นดินน้ําฯ เบื้องล่างแต่นั้นไปเป๐นอัชฏากาศ ภูเขาจักรวาฬ ต้ังอยู่โดยรอบ กําหนด ขอบเขตจักรวาฬทั้งสิ้นในแผ่นดินฝนุ ฯ [คําของพระฎีกาจารย์น้ัน ปรากฎคล้ายจะผิดในเบื้องต้นและเบ้ือง ปลาย [คือ คํากล่าวในตอนต้นและตอนปลายไม่ตรงกัน] เพราะแทนที่จะกล่าวว่า มหา ปฐพเี ป๐น ๒ อย่าง [ท่ีถกู ] พึงกล่าววา่ มหาปฐพเี ปน๐ ๔ อยา่ ง คอื แผ่นดินฝุน แผ่นดินศิลา แผน่ ดนิ ลม และแผ่นดนิ นํ้า ถ้าภูเขาจักรวาฬต่อเน่ืองเป๐นอันเดียวกันกับแผ่นศิลา ก็ไม่พึงกล่าวว่า ภเู ขาจกั รวาฬต้งั อยู่บนแผ่นดินฝุน แตพ่ งึ กลา่ วว่า ตัง้ อย่ใู นแผน่ ดนิ ศลิ า ทจ่ี ริง ความที่ว่า มหาปฐพเี ปน๐ ๒ อย่างน้ัน [คือแผ่นดินฝุน กับแผ่นดิน ศลิ า] มิได้ปรากฏในอรรถกถาแหง่ พทุ ธวจนะพร้อมทัง้ ฎีกา ซึ่งล้วนกลา่ วว่า มหาปฐพีเป๐น ๔ อย่าง คอื แผ่นดินฝนุ แผ่นดินศิลา แผน่ ดนิ ลม และแผ่นดนิ นา้ํ ] วธิ ีท่ี ๑๐ วิเคราะหป์ ัญหา [ความเห็นแตกต่างในคัมภีรต์ า่ งๆ] ตัวอยา่ ง แผ่นดนิ ของจกั รวาฬ เนื่องเป๐นผนื เดียวกันกับแผ่นดิน ของจกั รวาฬอนื่ หรอื ไม่ มีคําถามแทรกมาว่า แผ่นดินของจักรวาฬน้ันๆ อันภูเขาจักรวาฬ กําหนดไว้แลว้ มิไชห่ รือ ? ตอบ: ไมใ่ ช่ เพราะแผน่ ของจักรวาฬนนั้ เน่ืองเป๐นอันเดยี วกันกับแผ่นดิน ของจกั รวาฬอ่นื จากจักรวาฬนน้ั คัมภรี ์โลกทปี สารเห็นว่า จกั รวาฬไม่ต่อเน่ืองกันและกัน ถ้าต่อเน่ืองกัน แผน่ ดนิ กจ็ ะไม่ไหว คํานั้น ปรากฏคล้ายกับจะไม่ชอบ เพราะพระผู้มีพระภาคตรัสการไหว แห่งแผ่นดินของจักรวาฬท่ีเน่ืองกันเป๐นแผ่นเดียวกัน ดังเช่นในปริพพานสูตร และ ปรนิ พิ พานสูตรอัฏฐกถา วิธที ่ี ๑๑ วิเคราะหน์ ้าหนักของหลักฐานในการอ้างองิ ตวั อยา่ ง บรรดาพระบาลีและอัฏฐกถา พระบาลีนั่นแหละมี กําลังกว่าอัฏฐกถาทั้งปวง บรรดาอัฏฐกถา อัฏฐกถาใดไม่ผิดจากพระบาลีดุจเนมิ

๗๑ ชาตกฏั ฐกถา อฏั ฐกถานนั้ มีกําลงั อฏั ฐกถาทผ่ี ิดจากพระบาลีมีมากก็จริง แต่อัฏฐกถาท่ีไม่ ผิดจากพระบาลีแม้อัฏฐกถาเดียว ก็มีกําลังมากกว่าอัฏฐกถาที่ผิดจํานวนมาก ดุจดวง จันทร์แมด้ วงเดยี ว ก็มีกาํ ลงั กว่าดาวนักษัตรจาํ นวนมาก ฉะน้นั จันทสรุ ิยคติทปี นี จนั ทสรุ ิยคติทปี นี๕๕ คาํ ประพันธเ์ ปน๐ ความเรียงประเภทร้อยแก้ว ผรู้ จนาคือ พระอุดมมังคลเถระ ขุนสารประเสริฐ อาลักษณ์พบคัมภีร์นี้อยู่ในหอพระมณเฑียรธรรม จึงนําทูลเกล้า จึงมีรับส่ังให้ไปนมัสการเผดียงนิมนต์พระธรรมอุดม วัดราชบูรณาราม แปลและอธิบายความออก เม่ือ พ.ศ.๒๓๔๖ [จุลศักราช ๑๑๕๖] จากน้ันจึงมีนําไป ปรกึ ษาสมเดจ็ พระสงั ฆราช พระพนรัตน์ และพทุ ธโฆษาจารย์ พระยาธรรมปรีชา ร่วมกัน พิจารณาตรวจสอบและรบั รองวา่ ถกู ถ้วนดีแลว้ จันทสุริยคติทีปนี ได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ.๒๔๕๙ รวมอยู่ใน ประชุมหนังสือเก่า ภาค ๑ ซึ่งหม่อมเจ้าปิยภักดีนารถ พิมพ์อุทิศถวายสนองพระเดช พระคุณ พระเจ้าวรวงษเ์ ธอ กรมหม่นื วิศณนุ ารถนิภาธร เนื้อหาวรรณกรรมกล่าวถึงพระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้พระภิกษุเรียนวิชา ฤกษ์ยาม โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรักษาตนให้พ้นจากโจรันตราย จากน้ันก็กล่าวถึงการ วินจิ ฉัย ๘ ประการ มาตราวัด เช่น การกําหนดระยะทางเป๐นโยชน์ ศอก คืบ ขนาดของ เขาพระสุเมรุ วถิ กี ารโคจรของพระอาทิตย์ พระจันทร์ กลุม่ ดาวท่ีอยู่รอบพระจันทร์ ฤกษ์ ยาม ราศีต่างๆ เน้อื ความบางตอนไดข้ ยายความคมั ภีรโ์ ลกศาสตรท์ ่ีมีอยแู่ ลว้ เนือ้ เร่อื ง๕๖ เนื้อเรื่องจันทสุริยคติทีปนี แบ่งเน้ือหาออกเป๐น ๘ หัวข้อ/มาติกา ประกอบด้วย ๑. รัตนวนิ จิ ฉยั วา่ ดว้ ยการกาํ หนดศอกโดยใช้ประมาณของบุรุษ ๓ จําพวก คือ มหาถามบุรษุ , มชั ฌิมถามบุรุษ, และหีนถามบุรุษ เป๐นเกณฑ์ บุรุษในมัชฌิมประเทศ ในปจ๎ จุบนั นี้ จดั เป๐นหนี ถามบรุ ุษ เพราะมีกาํ ลงั น้อย หน่งึ ศอกของมชั ฌิมถามบรุ ุษแต่ก่อน นั้น เท่ากับหนึง่ ศอกและหนึง่ คบื ของปกตบิ รุ ษุ ในปจ๎ จบุ ัน ๒. โยชนวินิจฉัย ว่าด้วยการกาํ หนดความยาวของโยชน์ ซึง่ มีวธิ ีวดั ดงั นี้ ๕๕ นยิ ดา เหล่าสุนทร, จันทสุริยคติทีปนี, กระทรวงการต่างประเทศ จัดพิมพ์เผยแพร่ใน โอกาสครบรอบความสมพนั ธ์ ๖๕ ปี ระหว่งไทย-เมียนมาร,์ ๒๕๖๐. ๕๖ นยิ ดา เหลา่ สนุ ทร, จันทสรุ ยิ คติทปี นี, หน้า ๑๑-๑๓.

๗๒ ๑] โยชน์หน่งึ มคี วามยาวเท่ากับชวั่ แอกรถหนง่ึ ๒] ใช้อุสุภเป๐นเกณฑ์ ซ่งึ อสุ ุภนน้ั แบ่งเปน๐ ๓ อยา่ ง คอื สรรี อสุ ุภ มีความ ยาวทว่ี ดั จากจงอยปากของโคอุสุภราชมาถึงปลายหาง เทียบได้เท่ากับ ๗ ศอก, พลอุสุภ มีความยาวซึ่งวัดได้จากช่วงกระโดดเต็มแรงของโคอุสุภราช เทียบได้เท่ากับ ๑๔ ศอก, และสรอุสุภ วดั จากการบรรลอื เสียงของโคอสุ ุภราช ๓] กาํ หนดดว้ ยโกสะ ๕๐๐ ชว่ั ธนู มีค่าเทา่ กับ ๑ โกสะ ๔ โกสะ มีคา่ เท่ากับ ๑ คาพยตุ ๔ คาพยุต มคี า่ เทา่ กบั ๑ โยชน์ ๔] กาํ หนดโดยไมเ้ ท้ายาว ๔ ศอก เทียบได้ดงั น้ี ๗ ศอกx๒๐ ครั้ง เท่ากับ ๓๕ วา [๑๔๐ ศอก] ๓๕ วา เทา่ กบั ๑ อสุ ภุ ๘๐ อสุ ภุ เทา่ กับ ๑ คาพยุต ๔ คาพยตุ เทา่ กบั ๑ โยชน์ โยชนน์ อกจากกาํ หนดดว้ ยชัว่ แอกรถ อสุ ุภ และโกสะแล้ว โยชน์อาจกําหนด ดว้ ยไมว้ ัดจักรวาล [จกั รวาลยฐั ิ] และไม้วัดเขาพระสเุ มรุ [สุเนรยุ ัฐิ] และไม้วัดทางเข้าออก ของพระอาทิตย์และพระจันทร์ [อยนยฐั ิ] อกี ด้วย ๓. ปกิรรณกวินิจฉัย ว่าด้วยขนาดเขาพระสุเมรุ ซึ่งเป๐นพระยาเขาอัน ประเสรฐิ มีความสูงซ่งึ ใชส้ ุเนรยุ ัฐิ [ไมว้ ัดเขาพระสเุ มร] เปน๐ เครอื่ งวดั วัดจากท่ีจมลงไปใต้ น้ําจนโผล่มาเหนือนํ้าได้ ๑๖๘,๐๐๐ โยชน์ เขาพระสุเมรทางด้านทิศเหนือ ใต้ ตะวนั ออก ตะวันตก จะมรี ศั มจี ากทองอนิ ทนลิ [เงินและแกว้ ผลึก] แผ่ปกคลุม ส่วนนํ้าใน สที นั ดรมหาสมุทร เพราะเหตุทีไ่ ม่มีลมพดั จึงใสสะอาด แมแ้ ววหางนกยงู ก็จะจมลง ๔. คติวนิ ิจฉัย พระจันทรม์ ีรัศมซี ึง่ ใช้จักรวาลยัฐิวัดได้ ๔๙ โยชน์ ปริมณฑล วัดได้ ๑๔๗ โยชน์ ส่วนพระอาทิตย์มีรัศมี ๕๐ โยชน์ ปริมณฑลวัดได้ ๑๕๐ โยชน์ ปริมณฑลของพระจันทรอ์ ยูต่ ่าํ กว่าพระอาทิตย์ได้ ๑ โยชน์ พระจันทร์มีวิถีโคจร ๒ แบบ คือ วถิ ีโคจรทางตรง [อุชุงคมนะ] จากบุรพทิศไปสู่ป๎จฉิมทิศ ช้ากว่าพระอาทิตย์ และวิถี โคจรทางขวาง [ติริยังคมนะ] จากทักษิณทิศซ่ึงอยู่ใกล้ขอบเขาจักรวาลมาถึงอุตรทิศซ่ึง ใกล้เขาพระสุเมรุ เรว็ กว่าพระอาทิตย์ ขณะท่ีพระจันทร์และพระอาทติ ยโ์ คจรรอบเขาพระสเุ มรนุ ้นั ดาวนักขัตฤกษ์ ท้งั ๒๗ ดวง คอื อัศวินี ภรณี กฤติกา โหริณี มฤคศีรษะ อาทรา ปุนวสุ ปุษยะ อาศเลศา มฆา บูรพาผลคุณี อุตรผลคุณี หัสตะ จิตรา สวาตี วิศาขา อนุราธา เชษฐะ มูล ะ

๗๓ บรู พาษาฒ ศรวณะ ศรวิษฐะ ศตภิษัช บูรพภัทบท อุตรภัทรบท และเรวตี ก็จะโคจรไป ทงั้ สองข้างของพระจนั ทร์และพระอาทิตย์ หากดาวนักขัตฤกษ์ที่โคจรรอบพระอาทิตย์ก็ จะถูกรัศมีอันแรงกล้าของพระอาทิตย์บดบัง แต่ถ้าไปรอบพระจันทร์ก็จะปรากฏแก่ตา โลก ราศีซึ่งเป๐นท่ีอยู่ประจําของดาวนักขัตฤกษ์ทั้ง ๒๗ ดวง มี ๑๒ ราศี แต่ละ ราศีมปี ริมณฑลได้ ๒๒๕,๐๐๐ โยชน์ ๕. วถิ ีวินจิ ฉยั วา่ ดว้ ยวิถีทางดาํ เนนิ แห่งพระจันทรแ์ ละพระอาทติ ย์ มี ๓ วิถี คือ อชะวิถี นาควถิ ี และโควิถี อชะวิถี เป๐นวิถีของแพะซึ่งไม่ชอบน้ํา คือตั้งแต่เดือน ๑๒ จนถึงเดือน ๓ เป๐นเวลาท่ีพระอาทิตย์สถิตอยใู่ นราศวี ฉิ ิก ธนู มงั กร และกุมภะ ฝนจะไม่มี นาควิถี เป๐นวิถีของช้างซึ่งชอบน้ํา คือเดือน ๑๐, ๑๑, ๔, ๕ พระอาทิตย์สถิตอยู่ในราศี กัญ ตุลย์ มีน และเมศ ฝนจะตกมาก ส่วนโควิถี เป๐นวิถีของโค ซึ่งชอบความสบาย พอประมาณ คือเดือน ๖, ๗, ๘, ๙ พระอาทิตย์สถิตอยู่ในราศีพฤกษ์ เมถุน กรกฏ และ สิงห์ ฝนจะตกไม่มาก ไม่น้อยจนเกินไป เท่าที่กล่าวมาน้ีเป๐นวิถีดําเนินของพระจันทร์ และพระอาทิตย์ ประทักษิณ เขาพระสุเมรุในในกาลปกติ แต่ถ้าเป๐นกาลพิบัติแล้ว พระจันทร์และพระอาทิตย์จะมีวิถี ดําเนนิ ท่ผี ิดปกติไป เรยี ว่า วิสมคติ ซึ่งมี ๕ ประการ คือ วงั กคติ ดําเนินคตดุจงอนไถ, อติ วังกคติ เดินดุจงอนไถอันคตย่ิงนัก, กุฏิลคติ ดําเนินดุจวงเดือน, สิงฆคติ ดําเนินเร็วเกิน ปกติ และมณั ฑคติ ดําเนินช้ากวา่ ปกติ ๖. อยนวินิจฉัย ว่าด้วยการโคจรของพระจันทร์และพระอาทิตย์จากเขา พระสุเมรไุ ปยงั ขอบจกั รวาล เปน๐ วิถกี ารโคจรทีเ่ รียกวา่ ติรยิ งั คมนะ หรือ การซดั ส่าย การ โคจรในลักษณะน้ี พระอาทิตย์จะใช้เวลาจากเขาพระสุเมรุถึงขอบจักรวาลนานถึง ๖ เดอื น ขณะท่พี ระจนั ทร์จะใช้เวลากึง่ เดอื นเทา่ นน้ั มณฑลท้ัง ๓ ได้แก่ อันโตมณฑ ทใี่ กลเ้ ขาพระสเุ มรุ มชั ฌิมมณฑล ทางกลาง และ พาหิรมณฑล ซ่ึงอยู่ใกล้เขาจักรวาล การกําหนดมณฑลนั้น ก็ถือระยะจากเขาพระ สุเมรุมาถึงขอบจักรวาล ตรงกึ่งกลางเป๐นมัชฌิมมณฑล ส่วนอันโตมณฑลน้ัน วัดจาก เขาอัสสกรรณซ่ึงเป๐นเขาสุดท้ายของสัตตบริภัณฑ์ [ที่ห่างมาจนสุด] มาถึงพาหิรมณฑล วัดดว้ ยจกั รวาลโยชน์ได้ ๑๑๙,๘๖๔ โยชน์ หากวัดอากาศประเทศจากเขาพระสุเมรุ [นับ จากเขาอสั สกรรณ] ถงึ เขาจกั รวาล วดั ได้ ๕๕๙,๗๒๕ โยชน์ ๗. อาโลกวินิจฉัย พระจันทรแ์ ละพระอาทติ ย์ เม่อื ดําเนินไปในมณฑลทั้ง ๓ อันได้แก่ อันโตมณฑล มัชฌิมมณฑล และพาหิรมณฑล ทําความสว่างให้แก่ทวีปทั้ง ๓

๗๔ พร้อมกัน โดยแผ่ไปเป๐นระยะทางได้ ๙ แสนโยชน์ การที่กําหนดเป๐น ๓ ทวีปนั้น มีคํา ชแ้ี จงดังนี้ เม่อื พระอาทติ ย์แรกขนึ้ ในชมพทู วีป บุพพวิเทหทวีป เป๐นเวลาเท่ียง อุตตรกุ รทุ วีป เปน๐ เวลาอสั ดงคต และอมรโคยานทวปี เป๐นเวลาเท่ยี งคืน เม่ือบุพพวิเทหทวีปเป๐นเวลาเช้า อุตตรกุรุทวีปเป๐นเวลาเท่ียง อมรโคยาน ทวปี เป๐นเวลาอัสดงคต และชมพูทวปี เป๐นเวลาเทยี่ งคืน และหมนุ เวียนกนั ไปเชน่ นี้จนครบ ๔ ทวปี แต่การที่เป๐นเวลาเท่ียงในทวีปใด เช่น เป๐นเวลาเท่ียงในชมพูทวีป แต่ในบุพพวิเทหทวีป และอมรโคยานทวีป ก็จะแลเห็น เป๐นกึ่งวงเท่านั้น เพราะเร่ิมเป๐นเวลาอัสดงคต และแรกเวลาข้ึนในทวีปทั้ง ๒ ท่ีเหลือ เพราะฉะนน้ั จักรวาลน้ีจึงมมี ดื และสว่างเท่ากัน ในเดอื น ๔, ๕ ต่อกนั และ ๑๐, ๑๑ ตอ่ กัน ชว่ งเวลากลางวันและกลางคืนมี นาทแี ละโยชน์เท่ากัน แต่เม่ือพระอาทิตยเ์ คลือ่ นสรู่ าศีอน่ื นาทใี นกลางวันจะเพิ่มขึ้น ส่วน กลางคืนจะลดลง นาทีในกลางคืนจะทวีข้ึน ส่วนกลางวันจะลดลง เมื่อพระอาทิตย์ย่าง เขา้ สู่ราศกี รกฏไปเร่ือย แตท่ ้งั น้ี ในเวลากลางวันกลางคืน นาทีย่อมจะไม่ย่ิงหย่อนกว่ากัน อยู่ในระหวา่ ง ๓๖, ๒๔ นาทเี ทา่ นั้น ๘. อุปติวินิจฉัย การปรากฏของพระจันทร์และพระอาทิตย์ ทําให้เกิด กลางคนื กลางวนั เดือน ปี และฤดู ในปีหนึ่งมี ๓ ฤดู หรือ ๖ ฤดูก้ได้ การแบ่งเป๐น ๖ ฤดู นน้ั ได้แก่ เหมันตฤดู [ฤดูน้ําค้าง] ตั้งแต่แรมค่ํา ๑ เดือน ๑๒ ไปถึงวันเพ็ญเดือนย่ี, สิสิร ฤดู [เย็น] แรมคํ่า ๑ เดือนย่ี ไปถึงวันเพ็ญเดือน ๔, วสันตฤดู [ฤดูที่เป๐นที่อยู่ของความ ยินดี เพราะดอกไม้บาน] แรมคํ่า ๑ เดือน ๔ ถึงวันเพ็ญเดือน ๖, คิมหันตฤดู [ฤดูแห่ง ความเรา่ ร้อน] ต้ังแต่แรมค่ํา ๑ เดือน ๖ ถึงวันเพ็ญเดือน ๘, วัศสานฤดู ต้ังแต่แรมคํ่า ๑ เดือน ๘ ถงึ วันเพ็ญเดอื น ๑๐ และสรทฤดู นบั ตง้ั แต่แรมคาํ่ ๑ เดือน ๑๐ ถึงวันเพ็ญเดือน ๑๒ อน่งึ จันทสุรยิ คติทีปนี ที่กรมศิลปากรติพม์เผยแพร่อยู่ในป๎จจุบัน เป๐นฉบับ ท่ีมีการแปลและอธิบายใหม่โดยพระธรรมอุดม เน้ือหาในตอนเร่ิมต้นจึงมีบทนมัสการ ซ้อน เร่ิมต้นเป๐นบทนมัสการของผู้แปลและอธิบาย ต่อแต่น้ันจึงยกบทนมัสการของผู้ รจนามาแสดงอีกคร้ัง ก่อนดําเนนิ การอธบิ ายความ ตวั อยา่ ง นมัตถุ จักวินิจฉัยในคติดําเนินแห่งพระจันทร์ พระอาทิตย์ ตามวาระพระ บาฬีในคัมภีร์จันทสุริยคติทีปนี มีวาระพระบาฬีประณามคาถาเป๐นคําอุดมมังลาจารย์ กลา่ วไว้ในต้นพระคัมภรี ์ ดังน้ี

๗๕ นตฺวา โลกวทิ ฃํ พุทฺธํ สทฺธมฺมมุตฺตมํ คุณํ อทุ ุมพฺ รมหาเถรํ ครุเมวาภิวนทฺ เิ ย บาฬียฏฺฐกถาทสี ุ โหราสตเฺ ถสุ สนุ ฺทรํ ฯลฯ อตถฺ ํ เญยยฺ า วนิ ิจฉฺ ยาตฯิ อธิบายในบาทพระคาถาว่า อหํ อันว่าข้า อุตตมมังคลาจริโยนาม มีนาม ปรากฏช่ือว่าอุดมมังคลาจารย์ นัตวา ขอประนอมทวารไตรยนมัสการ พุทฺธํ ซึง่พระคุณ แห่งสมเด็จพระสรรเพชรพุทธองค์ โลกวิทํ อันชื่อว่าโลกวิทู ด้วยอรรถว่าตรัสรู้ซ่ึงสรรพ ไญยธรรม อันมใี นอนันตะโลกธาตุทั้งหลาย นัตวา หน่งึ ข้าพเจา้ ขอถวายอญั ชุลกี ร ประนม นมัสการ สัทธัมมํ ซ่ึงคุณแห่งพระนพโลกุตรธรรม กับท้ังปริยัติธรรมอันเป๐นของสัปบุรุษ และมีโดยบรมัตถ์แลกระทําซ่ึงฝูงสัตว์ผู้ปฏิบัติตามมิให้ตกไปในสงสารทุกข์ อบายทุกข์ แลว้ แลทรงไว้ อตุ ตมํ คณํ หน่ึงข้าพเจ้าขอประนอมนมัสการไหว้คุรแห่งหมุ่พระอัษฏาริย สงฆ์ อนั อุดมด้วยศลี าทิคุณ เป๐นเน้ือนาบุญอดุมเขตร ควรแก่สักการบูชาแห่งสรรพเทพา มนุษย์ทั้งหลาย ผู้ควรแก่เคารพแห่งข้า บัดนี้ ข้าพเจ้าจะนํามาซ่ึงอรรถอันประกอบด้วย สารสุนทรภาพไพเราะห์ แด่คัมภีร์พระบาฬีและอรรถกถาเป๐นอาทิ แลคัมภีร์โหราสาตร ตามประสงค์ แล้วจักรจนาซ่ึงพระคัมภีร์ ช่ือว่า จันทสุริยคติทีปนี สําแดงคติดําเนินแห่ง พระจันทร์พระอาทิตย์อันสถิตย์ดําเนินในมณฑลจักรราษี เป๐นฎีกาแก้กระ แสความ ออกมาแต่พระพทุ ธนาม คือบทว่า โลกวิทเู ปน๐ กระทู้เหต.ุ ... ๕๗ จตรุ าสีติสหัสส์ านิ อชั โฌคาโฬห์ มหณั ณ์ เว ฯลฯ สเิ นรุ ปพ๎ ์พราชาติ วตุ ต์ ํ ฯ อธิบายว่า เขาพระสุเมราชอันเป๐นพระยาเขาอันประเสริฐ ต้ังอยู่ใน ทา่ มกลางจักรวาล หย่งั ลงในมหาสมุทก็ได้ ๘ หมืน่ ๔ พนั โยชน์ สูงแตห่ ลังน้าํ ขน้ึ ไปก็ได้ ๘ หม่ืน ๔ พันโยชน์ สริท้ังเบ้ืองบนแลภายใต้นํ้าเข้ากันเป๐นแสน ๖ หม่ืน ๘ พันโยชน์ กาํ หนดดว้ ยสเิ นรยุ ฏั ฐิ คอื ไมส้ ้าวยาว ๑๐ ศอกคืบน้นั ถา้ จะวัดดว้ ยจักรวาฬัฏฐิไม้ส้าวยาว ๒๐ ศอก ทั้งภายใต้นํ้า แลสงู พน้ หลงั น้ําน้ัน กค็ งได้แต่ ๘ หมื่น ๔ พันโยขน์เท่านั้น ถ้าจะ วัดโดยกว้างแลยาวในที่กึ่งกลางพอเสมอหลังนํ้า โดยยาวได้ ๘ หมื่น ๔ พันโยชน์ โดย กว้างก็ได้ ๘ หมื่น ๔ พันโยชน์ ด้วยโยชน์อันวัดด้วยไม้ส้าวสําหรับวัดจักรวาล คือ ยาว ๒๐ ศอก เหตุบาลีว่า สิเนรุ ป๎พ์พตราชา จตุราสีติโยชนสหัส์สานิ ฯลฯ วิต์ถาเรนาติ จัก์ กวาฬโยชนํ เหฏฐ์ าธปิ เปตํฯ ข้างเขาพระสุเมรุฝุายปาจินทิศแล้วด้วยเงิน ฝุายข้างทักษิณ ทิศแลว้ ด้วยแก้วอนิ ทนิล ข้างปจ๎ ฉิมทิศแล้วด้วยแก้วผลึก ข้างอุตรทิศแล้วด้วยทอง อันว่า ๕๗ พระอดุ มมังคลเถระ, จันทสุริยคติทีปนี, [กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร จัดพิมพ์, ๒๕], หน้า ๒๖.

๗๖ รัศมสี ีเงนิ เป๐นอาทิ อันซ่านออกจากทิศทงั้ ๔ มปี าจินทิศเปน๐ ตน้ โดยภาคเบ้ืองบนแห่งเขา ยุคนธร ไปโดยหลังมหาสมุทรจดถึงขอบเขาจักรวาลแลว้ ก็ตัง้ อยู่ มหาสมุทท้ัง ๔ ก็ปรากฏ มีในระหว่างรัศมีพระเมรุทั้ง ๔ ทิศนั้น จึงมีคําปรวาทีอาจารย์โจทย์ว่า เมื่ออนุมานดูใน ห้องจักรวาลอัน ๑ น้ี เห็นควรจะสว่างอยู่เป๐นนิจ จะไม่มีที่มืดเลยส้ินกาลทุกเมื่อ ด้วย โอภาสรัสมแี หง่ พระเมรุ และรัศมีแก้วอันประดับในทิพยพิมาน มีเวชยันตะปราสาทเป๐น อาทิ อนั ประดษิ ฐานอยู่ ณ ยอดเขาพระเมรุนัน้ ...๕๘ จามเทวีวงศ์ จามเทววงศ์๕๙ ว่าด้วยเรื่องพงศาวดารเมืองหริภุญไชย ผู้แต่งคือพระโพธิ รังษี แต่งเป๐นภาษาบาลี แต่งประมาณ พ.ศ.๑๙๕๐-๒๐๐๐ ต้นฉบับมีทั้งหมด ๑๕ ปริจเฉท แบ่งเร่ืองเป๐นตอนๆ พระยาปริยัติธรรมธาดา [แพ ตาละลักษมณ์] ถอดความ เป๐นภาษาไทย ฉบับท่ีใช้ในการจัดทําอธิบายคร้ังน้ี ได้รับการตีพิมพ์เป๐นอนุสรณ์ในการ พระกุศลสมโภชพระอัฏฐพระวิมาตาเธอ กรมพระสทุ ธาสนิ ีนาฏฯ เมอื่ วันท่ี ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๓ ปรจิ เฉทท่ี ๑ ว่าคาํ นมัสการ และว่าด้วยพุทธพยากรณ์เกี่ยวกับเมืองหริภุญ ปุญชยั วา่ จะเป๐นท่ีประดิษฐานพระสารรี ิกธาตุ ปริจเฉทท่ี ๒ ว่าด้วยอุบัติพระฤาษี ๔ องค์ จนถึงพระฤาษีวาสุเทพสร้าง มิคสงั ฆนคร สรา้ งปุรมิ นคร สร้างอวิทูรนคร และสรา้ งรัมมนคร ปรจิ เฉทท่ี ๓ วา่ ดว้ ยพระฤาษีวาสุเทพกับพระฤาษีสุกกทันต์สร้างหริปุญชัย นคร ปริจเฉทที่ ๔ ว่าด้วยพระฤาษีสุกกทันต์ ขอนางจามเทวีราชธิดาพระเจ้า ละโว้ ไปครองปริปญุ ชยั นคร ปรจิ เฉทท่ี ๔ ตอนปลายกบั ปรจิ เฉทท่ี ๕-๖ ฉบบั เดิมความขาด ได้เอาความ ในชินกาลมาลณิ ีมาแซกให้เตม็ วา่ ด้วยความบังเกิดขึ้นของนครหริปุญชัยนคร จนถึงพระ เจ้ามลิ ักขราชมารบหริปญุ ชยั นคร ปริจเฉทท่ี ๗ วา่ ด้วยสงครามพระเจา้ มหันตยศกบั พระเจา้ มิลักขราช ปรจิ เฉทท่ี ๘ ว่าด้วยราชาภิเศกพระเจา้ มหันตยศ ๕๘ พระอุดมมังคลเถระ, จนั ทสรุ ิยคตทิ ีปน,ี หน้า ๓๒. ๕๙ พระโพธิรังษี, จามเทวีวงศ์, พระยาปริยัติธรรมธาดา ผู้แปล. [พิมพ์ในงาน ปลงศพ เจา้ ทพิ เนตร อินทวโรรสสุรยิ วงศ,์ ๒๔๖๓], ๓๕๓ หน้า.

๗๗ ปริจเฉทที่ ๙ ว่าด้วยอบุ ัติของเขลางนคร ปรจิ เฉทท่ี ๑๐ วา่ ด้วยสรา้ งอาลัมพางคนคร ปรจิ เฉทที่ ๑๑ ว่าดว้ ยพระนางจามเทวีสน้ิ พระชนม์ ปรจิ เฉทท่ี ๑๒ ว่าดว้ ยลําดบั กษตั รยิ ์ ๒๘ พระองค์ ปรจิ เฉทท่ี ๑๓ วา่ ดว้ ยแผน่ ดนิ พระเจ้าอาทติ ยราช ปริจเฉทที่ ๑๔ วา่ ดว้ ยสงครามพระเจ้าอาทติ ยราชกับพระเจ้าลโว้ ปรจิ เฉทท่ี ๑๕ ว่าด้วยพระเจา้ อาทติ ยราชพบพระบรมธาตุ ตัวอย่างเน้อื หาในคัมภรี ์ ปรจิ เฉทที่ ๑ นมัตถุ สคุ ตสสฺ บาลี อาทิจฺโจวํโส ชโิ น โย มนุสสฺ ชาโต ทิปทานมินฺโท พฺยามปฺปภาโส อภปิ ฺปมาโร มณปิ โชโต ชนิ ํ ตํ นมามิฯ คมฺภรี มตฺถํ นิปุณณฺ ํ สทุ ุททฺ สํ สาสปปฺ พีชีว สิเนรเุ หฏฐฺ ํ นามนยานํ มนุ เิ สวิตนตฺ ํ สขุ ุมธมมฺ ํ ปวรํ นมามิ ฯ วสิ ทุ ธฺ สลี ํ สสุ มาหิตินฺทรยิ ํ วริ ชชฺ ปตฺตํ พุทฺธสาวกานํ อาหุเนยฺยานํปจิ ปาหเุ นยยฺ ํ สุภาวิตํ สฆํ วรํ นมามิ ฯ แปล สมเด็จพระชินสีห์เจ้า ผู้เป๐นวงศ์แห่งพระอาทิตย์ผู้ประเสริฐ พระองค์ใด ได้ถือเอากําเนิดในชาติมนุษย์แล้ว พระองค์ก็เป๐นเจ้าเป๐นใหญ่กว่าสัตว์สอง เท้าท้ังหลาย มีพระกายอันงามส่องรัศมีสว่างข้างละวา ประดุจดังว่าดวงมณีโชติอัน รุง่ โรจน์อยูฉ่ ะนั้น ข้าพเจา้ นมัสการ ซงึ่ สมเดย็ พระชนิ สีห์เจ้าพระองค์น้ัน [ดว้ ย] ชุงนุงธรรมท้ังหลายมีนัยต่างๆ ธรรมชาติอันใดเล่า มีอรรถอันลึกลํ้าคัมภีร ภาพเต็มที่ ยากท่ีบคุ คลจะเลง็ เห็นได้ง่าย เพียงดังว่าเมล็ดพรรณผักกาดอันอยู่ใต้เขาพระ สิเนรุราช อันนักปราชญ์ มีสมเด็จพระมุนีนาถเป๐นต้นเสพย์แล้ว ข้าพเจ้าขอนมัสการซึ่ง พระเจา้ ธรรมเจ้าอันทรงไว้ซ่งึ อรรถอนั สขุ มุ ประเสริฐน้ัน [ดว้ ย]

๗๘ ประชมุ พระพทุ ธสาวกท้ังหลาย ผู้ควรซ่ึงวตั ถุทานอันบุคคลนํามาบูชา ผู้ควร ซ่ึงสักการเครื่องต้นรับแขก หมู่ใดเล่า มีศีลบริสุทธิ์แล้ว สํารวมอินทรีย์เรียบร้อย ถึงซึ่ง ธรรมอันอาจหาญแล้ว ข้าพเจ้านมัสการพระสงฆ์เจ้า ผู้ประเสริฐ ผู้มีศีลคุณอันจําเริญดี แลว้ หมูน่ ้ัน [ด้วย]๖๐ บาลี วตถฺ ตุ ฺตยนตฺ ี ปวรํ นมติ วฺ า สธาตุชนิ ํ สพฺพถา วิตนฺตํ โพธํิ จฺ รุกฺขํ ปวรํ นมิตวฺ า กโรมิ รกขฺ า ปริปนถฺ กาเม ฯ อนฺตราโย วิธเํ สนฺตุ สพเฺ พเต เสฏฺฐเตชสา อนตฺ ราเย วธํเสตวฺ า วตฺตยิสฺสามิ จารกิ ํฯ วตถฺ นู ํ นครํ รมมฺ ํ หริปํุ ฺเชยยฺ นามกํ ชินธาตุปฺปปต๎ ฺตนี ํ นานารตนสยํ ตุ ฺตฯํ นานาชนสมากินฺนํ นานาโภคสมทิ ธฺ นิ ํ นานาลงฺการสมฺปนฺนํ ตทิ สานํว รมฺมกํ ฯ จาริกํ ภาสมานํ เทยฺยภาษานสุ ารณํ ตํ ภาสํ ลหุกํ โหติ นานรุ ูป๏ ชนิ ํ ปูรีฯ วตฺตยิสสฺ ามิ ตํ ภาสํ ปาฬพิ ฺยํชฺ นมกขฺ รํ ปทาคาถาภิคนฺถานํ สวนยิ ยฺ ํ มโนรมฺมํฯ ปสาทชนนฏฐฺ านํ สาธยานํ นรนารนิ ํ ตสมฺ า ตํ ภํชฺ มานํ เม นสิ ามยถ สาธโวติฯ แปล ขา้ พเจ้านมัสการแลว้ ซ่ึงพระรัตนอันประเสริฐว่า “วัตถุตฺตยํ” คือ ประชุมแห่งวัตถุสาม ดังน้ี ก็ได้ชื่อว่านมัสการแล้ว ซ่ึงพระชินสีห์เจ้า กับทั้งด้วยพระ ธาตอุ ันแผก่ วา้ งไปแล้วโดยที่ทง้ั ปวงด้วย ซ่ึงพระโพธพิ ฤกษอ์ ันประเสริฐด้วย ขอให้กระทํา ซง่ึ การรักษาความไม่มอี นั ตรายแก่ข้าพเจา้ เทอญ ฯ อันตรายทงั้ หลายทัง้ ปวงเหลา่ นี้ ขอจงกาํ จัดไปให้วินาศ ด้วยเดชอํานาจแห่ง พระรตั นไตรยเจา้ อนั ประเสรฐิ ขา้ พเจา้ กําจัดอนั ตรายทง้ั หลายให้พินาศไปแล้ว จึงจักแปล ซง่ึ คาํ จารกึ ใหเ้ ป๐นไป ณ กาลบัดนี้ บรรดาประเทศ คอื พระนครท้งั หลายในเวลาโน้น ที่ข้ึนชื่อลือนามแล้ว พระ นครหริภยุ ชยั เปน๐ เมอื งรน่ื รมยส์ ําราญ มีช่ือเสียงโด่งดังมาก เพราะเป๐นประเทศท่ีประชุม ๖๐ พระโพธริ ังษี, จามเทวีวงศ์, พระยาปรยิ ัติธรรมธาดา ผู้แปล, หนา้ ๑-๒

๗๙ เกิดพระสารีริกธาตุของพระชินสีห์เจ้า ทั้งประกอบด้วยแก้วเก้าเนาวรัตนต่างๆ มีหมู่ ประชุมชน คือห้างพ่อค้านานาประเทศ ชนหลายชาติประชุมอยู่เป๐นอันมาก ม่ังค่ัง สมบูรณ์ด้วยโภคสมบัติ และพัสดุอุปกรณ์เครื่องใช้สอยน้อยใหญ่ต่างๆ เป๐นเมืองเกษม สาํ ราญร่นื รมยส์ นุกสบาย คลา้ ยกับเทวโลกอันเป๐นรัมยสถานของเทวดาทั้งหลาย๖๑ การที่จะกลา่ วความตามสํานวนภาษาไทย ของนักปราชญ์ทั้งหลาย ผู้กล่าว คาํ จารกึ ไวแ้ ล้ว ภาษาไทยนนั้ กม็ ีเนอ้ื ความอันเบา มีอยู่ ไม่เป๐นภาษาสมควรแก่ชาวเมือง ของพระชนิ สีห์เจ้า ข้าพเจา้ จงึ จดั แปลภาษาไทยน้ันข้ึนสู่อักษรโดยพยัญชนะแห่งบาฬี ให้ เป๐นคัมภรี ์อนั ร้อยกรองตรองไว้แลว้ โดยบทแลคาถาอันเสนาะน่าฟง๎ อาจยังใจใหร้ ื่นรมย์ได้ ทั้งจะได้เปน๐ เหตใุ ห้เกิดความเลอ่ื มใสแกส่ าธุสัปปรุ ษุ ชายหญงิ ทงั้ หลาย เพราะเหตุน้ัน เม่ือ ข้าพเจ้ากล่าวอยู่ซ่ึงตํานานคําจารึกน้ัน ขอท่านผู้สาธุสัปปุรุษท้ังหลาย จงต้ังใจสดับโดย สกั กจั จเคารพ เทอญฯ๖๒ เมอื่ พระโพธริ งั ษี แสดงคาํ นอบนอ้ มพระรัตนตรัย และแสดงจุดประสงค์ของ การแต่จามทีวงศ์ตามธรรมเนียมแล้ว ก็เริ่มพรรณนาความนับตั้งแต่เม่ือครั้งสมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ ปุาอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ได้ทรงเล็ง พระญานเห็นพวกเมงคบุตรทั้งหลายเป๐นอันมากเที่ยวอยู่ในปุา อาศรัยบ้านชโรหคามใน ปาุ ใหญ่ เข้ามาในข่ายคือพระญานของพระองค์ จึงได้เสด็จไปโดยนภากาศไปประทับนั่ง ใต้ต้นไมต้ ้นหนึ่งระหว่างบา้ นโกนตคามและบ้านชโรหคาม จากน้ันก็ทรงเข้าไปบิณฑบาต ในหมู่บา้ นเพ่ือโปรดพวกเมงคบตุ รทั้งหลาย ความพรรณนาตามลาํ ดบั กระทั้งสนิ้ สดุ ในปริจเฉทที่ ๑๕ ว่าด้วยพระเจ้าอา ทิตยราชพบพระบรมธาตุ สิ้นสุดดว้ ยประโยควา่ ขณะน้ัน คร้ันเมื่อรัศมีของผะอบที่บรรจุพระธาตุอันประเสริฐ มีประมาณ เท่าปลีกล้วยอันใหญ่ อันเต็มไปด้วยเครื่องหอม และเต็มไปด้วยเคร่ืองอบอันเป๐นทิพย์ พลุ่งขึ้นมาแล้ว ผะอบพระธาตุอันประเสริฐของพระเจ้อโสกราชก็เปล่งแสงสว่างด้วย รตั นะเจด็ ถึงเป๐นอเนกัปปการ รุ่งเรืองอยู่ด้วยอานุภาพพระธาตุ สิ้นกาลนาน ประชุมชน ทงั้ หลาย มพี ระเจ้าอาทิตยราชเป๐นประธาน กเ็ กดิ ความเลื่อมใส มใี จร่นื เริงยิ่งสูงขนึ้ สูงขึ้น กเ็ ปล้อื งวตั ถาภรณ์อนั ประเสรฐิ กระทําการบชู าพระชินธาตุ ครั้งนนั้ เสยี งเอกเกริกกึกก้อง ๖๑ พระโพธิรงั ษี, จามเทวีวงศ์, พระยาปรยิ ตั ธิ รรมธาดา ผแู้ ปล, หนา้ ๓-๔. ๖๒ พระโพธิรังษ,ี จามเทวีวงศ์, พระยาปริยตั ธิ รรมธาดา ผ้แู ปล, หนา้ ๕.

๘๐ ใหญ่ ก็ประพฤติเป๐นไปในสถานที่น้ัน ดว้ ยเสียงสาธุการและเสียงสังข์เสียงกลองและเสียง ดรุ ยางค์วง์ดนตรี มีองค์ ๕ ประการ นิเทศแสดงด้วยพระธาตปุ าฏิหารอยา่ งน้ี และพระธาตุจมไปในแผ่นดนิ อกี พระมหาเถระผมู้ นี ามวา่ โพธริ ังสี ได้แตง่ ไว้แลว้ ปรจิ เฉทท่ี ๑๕ จบแล้ว๖๓ จูฬคนั ถวงศ์ พระคมั ภรี จ์ ูฬคนั ถวงศ์๖๔ เปน๐ พระคัมภรี ์หนึง่ ในพระพุทธศาสนา จารึกไว้ใน ใบลาน เปน๐ ภาษาบาลี อกั ษรพม่า ผู้รจนาคือพระนันทป๎ญญาจารย์ พระสงฆ์ฝุายอรัญญ วาสี เมอื งหงสาวดี ประเทศพม่าเป๐นผรู้ จนาไว้ รปู แบบการประพันธ์เป๐นลักษณะวิมิสสะ คือร้อยแกว้ ผสมร้อยกรอง เน้ือหาพระคัมภีร์กล่าวถึงประวัติของพระคัมภีร์บาลี อรรถกถา ฎีกา อนุ ฎีกา สัททาวิเสสที่มีอยู่ในพระพุทธศาสนาแต่โบราณ ต่มาพระอาจารย์ธัมมานันทะได้ ปริวรรตจากอกั ษรพม่าเปน๐ อกั ษรไทยขณะพาํ นกั อยู่ทีว่ ัดโพธารามกบั พระธรรมคุณาภรณ์ [เช้า ฐิตปํฺโญ] จากนั้นท่านได้นํามามอบให้พระอาจารย์กิตฺติวุฑฺโฒที่วัดมหาธาตุ พระ อาจารยก์ ติ ตวุฑโฒเหน็ ว่าเปน๐ หนังสอื ทม่ี ปี ระโยชน์ จึงนาํ มามอบให้อาจารย์สิริ เพ็ชรไชย แปลเปน๐ ภาษาไทยในเวลาตอ่ มา คมั ภรี จ์ ฬู คันถวงศ์ แบ่งออกเป๐น ๕ ปริจเฉท คอื ๑. ปิฏกัตตยทีปกปริเฉท ตอนทีแ่ สดงพระไตรปิฎก ๒. คันถการกาจริยทปี กปริเฉท ตอนที่แสดงอาจารย์ผู้แตง่ คัมภีร์ ๓. อาจาริยสัญชาตฐานทีปกปริเฉท ตอนท่ีแสดงถิ่นฐานท่ีเกิดของ อาจารยท์ ี่แตง่ คมั ภรี ์ ๔. อายาจกาจริยทีปกปริเฉท ตอนที่แสดงอาจารย์ผู้อาราธนาให้แต่ง คมั ภีร์ ๕. ปกณิ ณกทปี กปริเฉท ตอนทแ่ี สดงข้อเบ็ดเตล็ด ตวั อย่างปริจเฉทที่ ๑ ๖๓ พระโพธริ งั ษี, จามเทวีวงศ์, พระยาปริยัตธิ รรมธาดา ผูแ้ ปล, หนา้ ๓๕๓. ๖๔ พระนันทป๎ญญาจารย์, จูฬคันถวงศ์, สิริ เพ็ชรไชย ผู้แปล. [กรุงเทพฯ: มูลนิธิอภิธรรม มหาธาตุวิทยาลยั , ๒๕๔๖], ๑๐๙ หน้า.

๘๑ [๓] พระพุทธพจน์ทั้งหมดมีวิมุตติรสเป๐นเหตุ จึงจัดเป๐นอย่างเดียวเท่านั้น และวา่ โดยปฎิ กก็จัดเปน๐ ๓ อย่าง [๔] และพระพุทธพจน์ทั้งมวลนั้น ว่าด้วยนิกายแบ่งเป๐น ๕ นิกาย ว่าโดย องค์จัดเป๐น ๙ องค์ และว่าโดยจํานวนพระธรรมขันธ์ แจกเป๐นแปดหมื่นสี่พันพระ ธรรมขันธ์ แล [๕] วา่ โดยปิฎกเป๐นอย่างไร ? ก็ปิฎกมี ๓ อย่างคือ วินัยปิฎก อภิธรรมปิฎก สุตตนั ตปิฎก [๖] ในปิฎกท้ัง ๓ นั้น วินัยปิฎกเป๐นไฉน คือ ปาราชิกกัณฑ์ ปาจิตตีย์กัณฑ์ มหาวรรคกณั ฑ์ จูฬวรรคกณั ฑ์ และปรวิ ารกัณฑ์ [๗] อภิธรรมปิฎกเป๐นไฉน คือ ธรรมสังคณีปกรณ์ วิภังคปกรณ์ ธาตุกถา ปกรณ์ ปุคคลบัญญัติปกรณ์ กถาวัตถุปกรณ์ ยมกปกรณ์ ป๎ฏฐานปกรณ์ ปกรณ์ทั้ง ๗ ดังกลา่ วมานี้ ชือ่ อภิธรรมปิฎก [๘] สตุ ตันตปิฎกเป๐นไฉน คือ พระพุทธพจน์ที่เหลือมีสีลขันธวรรค เป๐นต้น ชื่อว่า สุตตันตปฎิ ก [๙] ว่าโดยนิกาย เป๐นอย่างไร คือ นิกายมีอยู่ ๕ ได้แก่ ทีฆนิกาย มัชฌิม นกิ าย สงั ยตุ ตนกิ าย องั คุตตรนิกาย และขุททนกิ าย [๑๐] ในคัมภรี ์ทงั้ ๕ นน้ั ทีฆนิกาย เป๐นไฉน ? คือ วรรคท้ัง ๓ เหล่านี้คือ สีล ขนั ธวรรค มหาวรรค ปาฏกิ วรรค ชอ่ื ทีฆนิกาย ใน ๓ วรรคนม้ี ีสตู ร ๓๔ สูตร ฯ นิกายใดมี สตู ร ๓๔ สตู ร มสี ีลขนั ธวรรคเป๐นตน้ นกิ ายนั้นแลช่อื ว่า ทฆี นิกาย ตัวอย่างปรจิ เฉทที่ ๓ [๒๐] กอ็ าจารยท์ ั้งหลาย มีท้ังพระโบราณจารย์ มีท้ังพระอรรถกถาจารย์ มี ทง้ั พระคันถการกาจารย์ มที งั้ พระอาจารย์ผูม้ ีชอ่ื ทั้ง ๓ ชอ่ื [๒๑] พระโบราณจารย์ เปน๐ ไฉน ? - ได้แก่ พระขีณาสพท้ัง ๕๐๐ ในคร้ังปฐมสังคายนา ได้ต้ังชื่อนิกายท้ัง ๕ พร้อมท้งั อรรถาธิบาย ชาํ ระบทและพยัญชนะตลอดไม่มสี ว่ นเหลอื ลงเลย - ได้แก่พระขณี าสพท้งั ๗๐๐ ในครงั้ ทุติยสังคายนา ไดก้ ระทํากิจมีเนื้อความ แหง่ ศัพทเ์ ป๐นต้นของนิกายทัง้ ๕ นั่นแหละซ้าํ อีก - ไดแ้ ก่พระขีณาสพประมาณ ๑,๐๐๐ ในครั้งตติยสังคายนา ได้กระทํากิจมี ชําระเน้ือความแห่งศัพท์เปน๐ ตน้ แหง่ นกิ ายทง้ั ๕ น่ันแหละซํา้ อกี - ไดแ้ กพ่ ระขณี าสพจํานวน ๑,๒๐๐ ทีเ่ หลือ เวน้ พระมหากจั จายนะ ชอ่ื พระ โบราณจารย์ ด้วยประการฉะน้ี

๘๒ [๒๒] พระโบราณจารยน์ ่นั แหละ ช่ือ พระอรรถกถาจารย์ [๒๓] พระคนั ถการกจารย์ เป๐นไฉน ? ได้แก่อาจารยร์หลายท่าน มีพระพุท โฆสะเป๐นต้น ชอ่ื พระคนั ถการกาจารย์ [๒๔] พระอาจารย์ผู้มีช่ือทั้ง ๓ ช่ือ เป๐นไฉน ? ได้แก่พระมหากัจจายนะ มี ชือ่ ทง้ั ๓ ชื่อ [๒๕] คัมภรี อ์ ะไรบา้ งท่พี ระมหากัจจายนะแต่งไว้ ? ได้แก่คมั ภีรท์ งั้ ๖ นค้ี ือ - คมั ภรี ์กจั จายนะ - คมั ภรี ม์ หานิรุตติ - คัมภีรจ์ ูฬนิรุตติ - คมั ภีรเ์ นตติคันถะ - คัมภีร์เปฏโกปเทส - คัมภีร์วัณณตี ิ ตวั อย่างปรจิ เฉทที่ ๓ [๙๔] กใ็ นบรรดาอาจารย์ทั้งหลาย อาจารย์ชาวชมพูทวีปก็มี อาจารย์ชาวลังกา ทวปี ก็มี อาจารย์ชาวชมพูทวีปเป๐นไฉน? อาจารยช์ าวลงั กาทวีปเป๐นไฉน? [๙๕] พระมหากัจจายนะเป๐นอาจารย์ชาวชมพูทวีป ก็ท่านเป๐นปุโรหิตของพระ เจา้ จัณฑปช๎ โชต ในกรงุ อชุ เชนี แคว้นอวนั ตี เหน็ โทษแห่งกามทงั้ หลาย ละฆราวาสบวชใน พระศาสนาของพระศาสดา ได้แตง่ คมั ภรี ป์ ระการดงั กล่าวแล้วในหนหลัง [๙๖] อาจารย์ทั้ง ๕ คือ พระมหาอรรถกถาจารย์ พระมหาป๎จจริกาจารย์ พระ มหากรุ ุนทิกาจารย์ พระอาจารย์ไม่ปรากฏนามอีก ๒ ท่าน ช่ือว่าอาจารย์ชาวลังกาทวีป ไดย้ นิ วา่ ทา่ นเหล่านัน้ ได้มีมาช้านานกอ่ นอาจารย์พระพทุ ธโฆสะดว้ ยซาํ้ [๙๗] อาจารยม์ หาพุทธโฆสะ เป๐นชาวชมพทู วปี ไดย้ นิ วา่ ท่านเป๐นบุตรพราหมณ์ เกสี ผู้เป๐นปุโรหิตของพระเจ้าสังคมะ ในแคว้นมคธ บวชในพระศาสนาของพระศาสดา ไปยังลังกาทวปี ไดแ้ ตง่ คัมภีร์มปี ระการดังกล่าวในหนหลัง [๙๘] อาจารย์ ๑๑ ท่าน เหล่านคี้ อื - อาจารย์พทุ ธทตั ตะ - อาจารยอ์ านันทะ - อาจารย์ธรรมปาละ - บุรพาจารยอ์ กี ๒ ท่าน - อาจารยม์ หาวชริ พุทธิ - อาจารยว์ มิ ลพุทธิ

๘๓ - อาจารยจ์ ฬู วชิรพุทธิ - อาจารยท์ ปี ๎งกร - อาจารย์จูฬธรรมปาละ - อาจารย์กัสสปะ เปน๐ อาจารยช์ าวชมพูทวปี ได้แต่งคมั ภรี ม์ ีประการดังกลา่ วในหนหลงั ตัวอย่างปริจเฉทท่ี ๔ [๑๐๔] ก็คัมภีร์ที่อาจารย์ทั้งหลายแต่งโดยได้รับอาราธนาก็มี อาจารย์ทั้งหลาย แต่งโดยมิได้รับอาราธนาก็มี คัมภีร์อะไรบ้างอาจารย์ท้ังหลายแต่งโดยได้รับอาราธนา? คมั ภีร์อะไรบ้างอาจารยท์ ้งั หลายแต่งโดยมไิ ดร้ ับอาราธนา? [๑๐๕] - คมั ภีร์มหากัจจายนะ - คมั ภีร์มหาอรรถกถา - คมั ภรี ์มหาป๎จจรี - คัมภรี ์มหากุรนุ ที - คัมภีร์อรรถกถามหาป๎จจรี - คมั ภรี ์มหาอรรถกถามหากุรุนที รวม ๖ คัมภีร์น้ี ท่านอาจารย์แต่งไว้เพ่ือประโยชน์ให้พระศาสนารุ่งเรือง เพื่อ ความดาํ รงอยู่แหง่ พระสทั ธรรม โดยอตั โนมัติ [๑๐๖] ส่วนในบรรดาคมั ภีรข์ องพระพุทธโฆสะ - คมั ภรี ว์ สิ ุทธิมรรค อาจารย์พุทธโฆสะแต่งโดยได้รับอาราธนาจากพระเถระช่ือ สังฆปาละ - คัมภีร์อรรถกถาทีฆนิกาย อาจารย์พุทธโฆสะแต่งโดยได้รับอาราธนาจากพระ เถระชือ่ ทาฐานาคะ - คัมภีร์อรรถกถามัชฌิมนิกาย อาจารย์พุทธโฆสะแต่งโดยได้รับอาราธนาจาก พระเถระชอ่ื พุทธมิตตะ - คัมภีร์อรรถกถาสังยุตตนิกาย อาจารย์พุทธโฆสะแต่งโดยได้รับอาราธนาจาก พระเถระชอื่ โชตปิ าละ - คมั ภรี ์อรรถกถาอังคุตตรนิกาย อาจารย์พุทธโฆสะแต่งโดยได้รับอาราธนาจาก พระเถระชื่อ ภัททนั ตะ กับทง้ั อาชวี ก - คมั ภีรอ์ รรถกถาชื่อ สมันตปาสาทกิ า อาจารยพ์ ุทธโฆสะแต่งโดยไดร้ บั อาราธนา จากพระเถระชอื่ พทุ ธสริ ิ

๘๔ - คัมภีร์อรรถกถาแห่งคัมภีร์อภิธรรมทั้ง ๗ อาจารย์พุทธโฆสะแต่งโดยได้รับ อาราธนาจากพระเถระชอื่ จูฬพุทธโฆสะ - คัมภีร์อรรถกถาธรรมบท อาจารย์พุทธโฆสะแต่งโดยได้รับอาราธนาจากพระ เถระชื่อ กมุ ารกัสสปะ - คัมภีร์อรรถกถาชาดก อาจารย์พทุ ธโฆสะแตง่ โดยได้รับอาราธนาจากพระเถระ ชื่อ พระอตั ถทัสสี พระพทุ ธมิตตะ และพระพุทธปยิ ะ - คัมภีร์อรรถกถาขุททกปาฐะ คัมภีร์อรรถกถาสุตตนิบาต อาจารย์พุทธโฆสะ แตง่ โดยอตั โนมตั ิ - คัมภีร์อรรถกถาอปทาน อาจารย์พุทธโฆสะแต่งโดยได้รับอาราธนาจากพระ เถระ ๕ องค์ ผรู้ นู้ กิ ายท้ัง ๕ - คัมภีร์กังขาวิตรณี อรรถกถาปาติโมกช์ อาจารย์พุทธโฆสะแต่งโดยได้รับ อาราธนาจากพระเถระชอ่ื โสนะ ปริจเฉทที่ ๕ แสดงข้อเบ็ดเตล็ด เช่นถามตอบเก่ียวกับการต้ังชื่อเรื่อง การยก สังคายนาจดลงในใบลาน ผลานิสงส์ของการสร้างคัมภีร์ ตลอดทั้งการจาร และการให้ ผู้อ่นื จารสืบตอ่ ไป เน้ือหาคมั ภรี จ์ บลงด้วยคํานคิ มว่า “ข้าพเจ้านั้นเกิดในแคว้นหงสา ปรากฎช่ือว่า นันทป๎ญญาจารย์ ประกอบด้วย สทั ธาคณุ และสลี คุณ แสวงหาแกน่ พระธรรมอยู่ ขา้ พเจ้านนั้ ไปจากแคว้นหงสาน้ัน สู่เมือง ปขุ นั นี้ ค้นคว้าพระธรรมทงั้ ปวงอยู่ ๒๐ ปี วิสัชชนาพระธรรมทั้งปวงแก่พระภิกษุด้วยกิจ ท่ีชักชวนกนั ทํา ข้าพเจ้าและหมู่คณะไป ๖ ปี แสวงหาพระนิพพานอันมีสภาพสงบ ย่ํายี กามทัง้ หลายอยู่บ่อยๆ ได้แต่งคัมภีร์ฉบับน้อยชื่อ คันถวงศ์ อันรวบรวมพระไตรปิฎกอัน น่ารื่นรมย์ใจ เป๐นเครือ่ งรบั ใชอ้ นั ประเสรฐิ ฉะนี้แลฯ”

๘๕ หมวด ฉ

๘๖ หมวด ช ชาตกัฏฐกถา ชาตกฏั ฐกถา๖๕ คอื อรรถกถาชาดก ขุททกนิกาย ผู้รจนาคือพระพุทธโฆสา จารย์ อธิบายความในพระไตรปิฎก ๒ เล่ม คือเล่มที่ ๒๗ และ ๒๘ ซ่ึงว่าด้วยอดีตชาติ ของพระพทุ ธเจา้ เรยี กว่า ชาดก มอี ยทู่ ้งั หมด ๑๐ ภาค แบ่งเป๐นอธิบายความขุททนิกาย ชาดก เล่ม ๑ จํานวน ๗ ภาค และอธิบายความใน ขุททกนิกาย เล่ม ๒ จํานวน ๓ ภาค ประมวลชาดกทัง้ สน้ิ ๕๔๗ เร่ือง เรยี งลําดบั หมวดหม่ดู งั นี้ ชาดกทม่ี ี ๑ คาถา เรียกวา่ เอกกนบิ าต ชาดกทีม่ ี ๒ คาถา เรยี กวา่ ทุกนบิ าต ชาดกที่มี ๓ คาถา เรยี กวา่ ตกิ นบิ าต ชาดกที่มี ๔ คาถา เรยี กวา่ จตกุ กนิบาต ชาดกที่มี ๕ คาถา เรียกว่า ป๎ญจกนิบาต ชาดกทม่ี ี ๖ คาถา เรยี กว่า ฉักกนบิ าต ชาดกท่ีมี ๗ คาถา เรียกว่า สตั ตกนิบาต ชาดกทมี่ ี ๘ คาถา เรียกวา่ อฏั ฐกนิบาต ชาดกที่มี ๙ คาถา เรียกวา่ นวกนบิ าต ชาดกที่มี ๑๑ คาถา เรียกว่า เอกทสกนิบาต ชาดกที่มี ๑๒ คาถา เรยี กว่า ทวาทสกนบิ าต ชาดกทม่ี ี ๑๓ คาถา เรียกว่า เตรสนบิ าต ชาดกท่มี ี ๑๔ คาถาขึ้นไป เรยี กว่า ปกณิ ณกนิบาต ชาดกที่มี ๒๐ คาถาขึ้นไป เรียกว่า วสี ตินบิ าต ชาดกทม่ี ี ๓๐ คาถาขึ้นไป เรยี กวา่ ตึสตนิ ิบาต ชาดกทม่ี ี ๔๐ คาถาขนึ้ ไป เรยี กวา่ จัตตาฬีสนบิ าต ชาดกที่มี ๕๐ คาถาขึ้นไป เรียกวา่ ป๎ญญาสนิบาต ชาดกทม่ี ี ๖๐ คาถาข้ึนไป เรยี กว่า สัฏฐินบิ าต ชาดกทม่ี ี ๗๐ คาถาขึน้ ไป เรียกวา่ สัตตตินิบาต ชาดกที่มี ๘๐ คาถาข้นึ ไป เรยี กว่า อสีตินิบาต ชาดกทม่ี ี ๙๐ คาถาขึ้นไป เรยี กว่า มหานบิ าต ๖๕ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก, [กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๗], ภาค ๑ และ ภาค ๒.

๘๗ โครงสร้างคัมภีร์อรรถกถาชาดก พระพุทธโฆสาจารย์วางลําดับของการ นําเสนอเนื้อหาเปน๐ ๕ สว่ น ประกอบด้วย ๑. ปัจจุบันนทิ าน บอกเหตุของเรอ่ื งว่าเกดิ ขึ้นเม่ือครั้งพระพุทธเจ้าประทับ อยู่ ณ ทใี่ ด ปรารภใคร ว่าดว้ ยเร่อื งอะไร และแสดงชาดกเร่ืองนั้นๆ ประกอบ เพ่ือให้เกิด ความแกล้วกลา้ ในการปฏิบัตธิ รรม หรือเกิดความอาจหาญในการละชั่ว ทําความดี ๒. อดีตนิทาน แสดงเรื่องราวในอดีตชาติ เป๐นเหตุให้พระพุทธเจ้าทรงยก ชาดกเรื่องน้ันมาประกอบการแสดงธรรมในระหวา่ งน้นั ๓. คาถา เป๐นคําสุภาษิตท่ีพระพุทธเจ้าตรัสไว้ในรูปของคาถา หรือฉันท ลกั ษณ์ เพ่ือประโยชน์ในการทรงจํา และการถา่ ยทอดธรรม ๔. ไวยากรณ์ เปน๐ การอธิบายความหมายของศัพท์ และเน้ือความแห่งคํา ในคาถานัน้ ๆ ใหเ้ กิดความแจม่ แจง้ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเข้าใจชดั เจนแก่ผูศ้ ึกษาย่ิงขึน้ ๕. สโมธาน เปน๐ การประมวลเร่ืองหรือสรุปเร่ืองเพื่อให้ผู้ฟ๎งทราบว่า ใคร เคยเกิดเป๐นใครในเร่ืองน้ัน พร้อมทั้งแสดงให้เห็นว่า การกระทําความถูก-ผิด ดี-ช่ัวน้ัน ย่อมเปน๐ เหตุใหเ้ วยี นว่ายอยูใ่ นวฏั ฏะสงสาร และรบั ผลแห่งกรรมนน้ั อยา่ งแน่นอน ตวั อย่างการอธิบายความในอรรถกถาชาดก อปัณณกชาตกวณั ณนา [๑] พรรณนาว่าด้วยการปฏบิ ตั ิไมผ่ ดิ ๖๖ พระผู้มีพระภาคเจ้าเม่ือเสด็จเข้าไปอาศัยพระนครสาวัตถี ประทับอยู่ ใน พระเชตวนั มหาวหิ าร ตรัสอปน๎ ณกธรรมเทศนานก้ี ่อน ถามว่า กเ็ รือ่ งนเี้ กดิ ขน้ึ เพราะปรารภใคร ? ตอบว่า เพราะปรารภสาวกของเดยี รถยี ์สหาย ของท่านเศรษฐ.ี ความพิสดารมีว่า วันหน่ึง ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ชักพาพวกสาว ก ของอัญญเดยี รถยี ์ ๕๐๐ คน ผู้เปน๐ สหายของตน ใหถ้ ือดอกไม้ ของหอม เครื่องลูบไล้เป๐น อันมาก และนํา้ มนั นาํ้ ผึ้ง น้าํ ออ้ ย และผ้าเครื่องปกปิด ไปยงั พระเชตวัน ถวายบังคมพระ ผู้มีพระภาคเจ้า บูชาด้วยของหอม และดอกไม้เป๐นต้น สละเภสัชและผ้าถวายแก่ภิกษุ สงฆ์ แล้วนั่ง ณ ส่วนสุดข้างหน่ึง สาวกของอัญญเดียรถีย์เหล่าน้ัน ถวายบังคมพระ ตถาคตแลว้ แลดพู ระพกั ตรข์ องพระศาสดาอนั งามสง่า ดจุ พระจันทรใ์ นวันเพ็ญ แลดูพระ วรกายดุจกายพรหมอันประดับด้วยพระลักษณะและพระอนุพยัญชนะ แวดวงด้วยพระ ๖๖ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑, [กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๗], หนา้ ๑๕๕-๑๖๙.

๘๘ รัศมีด้านละวา และลําแสงแห่งพุทธรัศมีที่ฉายออกเป๐นวงกลมๆ เป๐นคู่ๆ อยู่ใกล้ๆ ท่าน อนาถปิณฑกิ เศรษฐนี ้นั เอง ลําดบั น้นั พระศาสดาไดต้ รัสธรรมกถาอันไพเราะ วิจิตรด้วยนัยต่าง ๆ ด้วย พระสุรเสียงประดุจเสียงพรหม น่าสดับฟ๎ง แก่สาวกของอัญญเดียรถีย์เหล่านั้น สาวก ของอัญญเดียรถีย์เหล่าน้ันฟ๎งพระธรรมเทศนาของพระศาสดาแล้ว มีจิตเลื่อมใส ลุกข้ึน ถวายบงั คมพระทศพล ทาํ ลายสรณะของอัญญเดียรถยี ์แล้ว ได้ถึงพระ พุทธเจ้าเป๐นสรณะ จําเดิมแต่นั้น พวกอัญญเดียรถีย์เหล่านั้น มีมือถือของ หอมและดอกไม้เป๐นต้น ไปพระ วิหาร ฟ๎งธรรม ให้ทาน รักษาศีล กระทาํ อุโบสถกรรม พร้อมกับท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี เปน๐ ประจํา ตอ่ มา พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ได้เสด็จจากกรงุ สาวัตถกี ลับไปกรงุ ราชคฤห์อีกแล ในเวลาท่ีพระตถาคตเสด็จไปแล้ว สาวกอัญญเดียรถีย์เหล่านั้นก็ได้ทําลายสรณะนั้นเสีย กลับไปถึงอัญญเดียรถีย์เป๐นสรณะอีก ดํารงอยู่ในฐานะอันเป๐นเค้ามูลเดิมของตนน่ันเอง ฝุายพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยับย้ังอยู่ ๗ - ๘ เดือน ได้เสด็จกลับไปยังพระเชตวัน เหมอื นเดมิ อกี ท่านอนาถบณิ ฑิกเศรษฐกี ็พาสาวกอัญญเดียรถีย์ เหล่านั้นไปเฝูาพระศาสดา อกี บชู าพระศาสดาดว้ ยของหอมและดอกไมเ้ ปน๐ ต้น ถวายบังคมแล้วน่ัง ณ ส่วนข้างหน่ึง พวกสาวกอญั ญเดียรถยี ์แมเ้ หลา่ น้นั กถ็ วายบงั คมพระผมู้ พี ระภาคเจ้าแล้วนั่ง ณ ส่วนข้าง หนึ่ง ครั้งนั้น ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีกราบทูลแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าถึงความที่พวก สาวกอัญญเดียรถยี เ์ หลา่ นนั้ เมอ่ื พระตถาคตเสดจ็ หลีกจาริกไปแล้ว ได้ทําลายสรณะท่ีรับ ไว้ กลับไปถืออญั ญเดยี รถยี ์เปน๐ สรณะ ดํารงอยู่ในฐานะเดิมอีก พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเปิดดอกปทุมคือพระโอษฐ์แล้ว เปล่งพระสุรเสียง อันไพเราะเหมอื นบคุ คลเปดิ ขวดแก้วทหี่ อมด้วยของทิพย์ เต็มไปด้วยของหอมชนิดต่างๆ ดว้ ยอานุภาพแห่งวจีสุจริต ท่ีพระองค์ให้เป๐นไปติดต่อส้ินโกฏิกัปอันหาประมาณมิได้ จึง ตรัสถามว่า แนะอุบาสกท้ังหลาย ได้ยินว่า พวกท่านทําลายสรณะ ๓ เสียแล้วถึงอัญญ เดียรถีย์เป๐นสรณะ จริงหรือ ? ลําดับน้ัน เม่ือพวกสาวกอัญญเดียรถีย์เหล่านั้นไม่อาจ ปกปิดไว้ได้พากันกราบทูลว่า จริง พระเจ้าข้า พระศาสดาจึงตรัสว่า ดูก่อนอุบาสก ทง้ั หลาย ในโลกธาตุ เบ้ืองล่างจดอเวจีมหานรก เบ้ืองบนจดภวัคคพรหม และตามขวาง หาประมาณมิได้ ช่ือว่าบุคคล เชน่ กับพระพุทธเจา้ โดยพระคุณทง้ั หลาย ย่อมไม่มี บุคคลท่ี ยง่ิ กวา่ จักมมี าแต่ไหน แล้วทรงประกาศคุณของพระรัตนตรัยท่ีทรงประกาศไว้ด้วยพระ สูตรทั้งหลายแลว้ จึงตรสั วา่ บุคคลจะเป๐นอุบาสกหรืออุบาสิกากต็ าม ผู้ถึงพระรัตนตรัยอัน ประกอบด้วยอุดมคุณอย่างน้ี ชื่อว่าจะเป๐นผู้บังเกิดในนรกย่อมไม่มี อน่ึงพ้นจากการ

๘๙ บงั เกดิ ในอบายแล้ว ยังจะเกดิ ข้นึ ในเทวโลกไดเ้ สวยมหาสมบัติ เพราะเหตุไร พวกท่านจึง พากันทําลายสรณะเหน็ ปานน้ี แลว้ ถึงอัญญเดยี รถีย์เป๐นสรณะ กระทํากรรมอันไม่สมควร เลย ในอธกิ ารน้ี ควรแสดงสูตรเหลา่ นี้ เพ่ือแสดงวา่ เหล่าชนผูถ้ งึ รัตนะ ๓ ว่าเป๐น สรณะด้วยอํานาจโมกษะ และความเป๐นสรณะอันอุดมแล้ว จะไมเ่ กิดในอบายท้งั หลายวา่ เหลา่ ชนผู้นับถอื พระพุทธเจ้าเป๐นสรณะ จักไม่ไปสู่อบายภูมิ ครนั้ ละกายมนษุ ย์แล้วจกั ทําใหห้ ม่เู ทพบรบิ ูรณ์เต็มที่ฯ เหล่าชนผู้ นับถือพระธรรมเป๐นสรณะ จักไม่ไปยังอบายภูมิ ครั้นละกาย มนุษย์แล้วจักทําให้หมู่เทพบริบูรณ์เต็มที่ฯ เหล่าชนผู้นับถือ พระสงฆ์เป๐นสรณะแล้ว จักไม่ไปสู่อบายภูมิ ครั้นละกายมนุษย์ แลว้ จกั ทําใหห้ มูเ่ ทพบรบิ รู ณเ์ ตม็ ทีฯ่ มนุษย์เปน๐ จํานวนมาก ผูถ้ ูกภัยคุกคามแล้ว ต่างถึงภูเขาบ้าง ปุาไม้บ้าง อารามและรุกขเจดีย์บ้างเป๐นสรณะฯ น้ันมิใช่สรณะ อันเกษม น้ันไม่ใช่สรณะสูงสุด เพราะอาศัยสรณะเช่นนนั้ ย่อมไม่ พ้นจากทุกข์ทั้งปวงฯ ส่วนผู้ที่ถึงพระพุทธ พระธรรม และ พระสงฆ์เป๐นสรณะ ย่อมใช้ป๎ญญาชอบพิจารณาเห็นอริยสัจ ๔ ประการ คือทุกข์ เหตุเกิดทุกข์ ความดับทุกข์ และอริยมรรคมี องค์ ๘ อันเป๐นข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ฯ น่ันเป๐นสรณะอัน เกษม นั่นเป๐นสรณะอันสูงสุด เพราะผู้อาศัยสรณะเช่นน้ัน ย่อม พน้ จากทกุ ข์ทง้ั ปวงได้ฯ พระศาสดาทรงแสดงธรรมมีประมาณเท่านี้เท่านั้น แก่พวกสาวก อัญญ เดยี รถีย์เหล่านัน้ ยังไม่สิ้นเชงิ . อีกอย่างหน่ึงแล ไดท้ รงแสดงธรรมโดยนัยมีอาทิอย่างนี้ ว่า ดูก่อนอุบาสกทั้งหลาย ช่ือว่าพุทธานุสสติกัมมัฏฐาน ธัมมานุสสติกัมมัฏฐาน สังฆานุสสิตกัมมัฏฐาน ย่อมให้โสดาป๎ตติมรรค ย่อมให้โสดาป๎ตติผล ย่อมให้ สกทาคามิมรรค ย่อมให้สกทาคามิผล ยอ่ มให้อนาคามมิ รรค ย่อมให้อนาคามิผล ย่อมให้ อรหัตมรรค ย่อมให้อรหัตผล ครั้นทรงแสดงธรรมแล้วจึงตรัสว่า พวกท่านทําลาย สรณะชอ่ื เห็นปานน้ี การทํากรรมอันไม่สมควรแล้ว อนึ่งพุทธานุสสติกัมมัฏฐานเป๐นต้น อันเปน๐ ทางให้ถึงโสดาป๎ตตมิ รรคเป๐นตน้ น้ี พงึ แสดงโดยพระสูตรทัง้ หลาย มีอาทิอย่างนี้ว่า ดูก่อนภกิ ษุท้งั หลาย ธรรมเอกอนั บคุ คลเจรญิ แล้ว กระทําให้มากแล้ว ย่อมเป๐นไปเพื่อ ความหน่าย เพือ่ คลายกําหนัด เพ่ือความดับ เพ่ือความสงบระงับ เพื่อรู้ย่ิง เพื่อความ ตรสั รูเ้ พอื่ นิพพาน ธรรมเอกเป๐นไฉน? คอื พทุ ธานสุ สติ

๙๐ พระผู้มีพระภาคเจ้าครั้นทรงโอวาทอุบาสกทั้งหลาย โดยประการต่าง ๆ อยา่ งนีแ้ ลว้ ได้ตรัสวา่ ดกู ่อนอุบาสกทัง้ หลาย แม้ในกาลก่อน มนุษยท์ ัง้ หลาย ถือเอา สิ่งท่ี ไม่ใชส่ รณะ วา่ เป๐นสรณะ โดยการถือเอาดว้ ยการคาดคะเน โดยการถือ เอาผิด ได้ตกเป๐น ภกั ษาหารของยกั ษใ์ นทางกนั ดาร ซ่งึ อมนุษย์หวงแหนแลว้ ถึงความพนิ าศอย่างใหญห่ ลวง ส่วนเหล่ามนุษย์ผู้ถือการยึดถือชอบธรรม ยึด ถือความแน่นอน ยึดถือไม่ผิด ได้ถึงความ สวัสดีในทางกนั ดารน้ันนั่นเอง ครั้นตรัสแลว้ ไดท้ รงนิ่งเสีย ลําดับนนั้ แล ทา่ นอนาถบณิ ฑิกคฤหบดีลุกข้ึน จากอาสนะ ถวายบังคมพระผู้ มีพระภาคเจ้า กล่าวชมเชยแล้ว ประคองอัญชลี เหนือเศียรเกล้า กราบทูลอย่างนี้ว่า บัดน้ี การที่พวกอุบาสกเหล่านี้ ทําลายสรณะอันอุดมแล้ว ถือสรณะยึดถือเอาด้วยการ คาดคะเน ยึดถือเอาอย่างผิด ๆ ปรากฏแก่พระองค์ก่อน ส่วนในปางก่อนพวกมนุษย์ผู้ ยึดถือด้วยการคาดคะเน มีความพินาศ และพวกมนุษย์ผู้ยึดถือโดยชอบธรรม มีความ สวัสดีในทางกันดารท่ีอมนุษย์หวงแหนยังล้ีลับสําหรับข้าพระองค์ ไม่ปรากฏแก่ข้า พระองค์เลย ดังข้าพระองค์ขอโอกาส ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าโปรดทรงกระทําเหตุนี้ ให้ ปรากฏ เหมือนยังพระจนั ทรเ์ ต็มดวงให้เด่นขึ้นในอากาศฉะน้ัน. ลําดับน้ัน พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนคฤหบดี เราแลบําเพ็ญ บารมี ๑๐ ทัศในกาลหาปรมิ าณมิได้ ได้แทงตลอดพระสัพพัญํุตญาณ ก็เพื่อ จะตัดความสงสัย ของชาวโลกนั่นแล ท่านจงเง่ียโสตฟ๎งโดยเคารพ แล้วได้ทรงเล่าอดตี นทิ านไว้ดังนี้ ในอดีตกาล ได้มีพระราชาพระนามว่าพรหมทัตอยู่ในพระนครพาราณสี แคว้นกาสิกรฐั ในกาลน้นั พระโพธสิ ัตว์ถือปฏสิ นธใิ นตระกูลพอ่ ค้าเกวียน ครั้นเติบใหญ่ได้ เท่ียวกระทําการคา้ ด้วยเกวียน ๕๐๐ เลม่ ในการเดินทางไปค้าขายของพระ โพธิสัตว์น้ัน บางครงั้ จากเดนิ ทางจากต้นแดนไปยงั ปลายแดน บางคร้งั จากปลายแดน ไปยงั ตน้ แดน ในเมอื งพาราณสีนั่นเองมีบุตรพ่อค้าเกวียนอีกคนหนึ่ง บุตรพ่อค้าเกวียนคน น้ัน เป๐นคนเขลา เป๐นคนไม่มีป๎ญญา ไม่ฉลาดในอุบาย ในกาลน้ัน พระโพธิสัตว์มาเอา สินค้ามีค่ามาจากเมืองพาราณสีบันทุกเต็มเกวียน ๕๐๐ เล่ม เตรียมการจะเดินทางแล้ว พักอยู่ ฝุายบุตรพ่อค้าเกวียน ผู้เขลาน้ันก็บันทุกเต็มเกวียน ๕๐๐ เล่ม เตรียมการจะ เดินทางแล้วพักอยู่เหมือนกัน พระโพธิสัตว์คิดว่า ถ้าบุตรพ่อค้าเกวียนผู้เขลาน้ีจักไป พร้อมกับเราทเี ดียวไซร้ เม่ือเกวียนพันเลม่ ไปพร้อมกนั แมท้ างกจ็ ักไมพ่ อเดิน ฟืน และน้ํา เป๐นต้น ของพวกมนุษย์ก็ดี หญ้าของพวกโคก็ดี จักหาได้ยาก บุตรพ่อค้าเกวียนผู้เขลาน้ี หรอื เรา ควรจะไปข้างหน้าจึงจะสมควร พระโพธิสตั วน์ นั้ จึงเรียกบุตรพ่อค้าเกวียนนั้นมาบอกเน้ือความนั้นแล้วกล่าว ว่า เราทง้ั สองไม่อาจไปรวมกนั ทา่ นจกั ไปกอ่ นหรือจะให้เราไปก่อน บุตรพ่อค้าเกวียนนั้น

๙๑ คิดวา่ เมอื่ เราไปข้างหน้าจะมี อานิสงสม์ าก เราจักไปโดยหนทางยงั ไม่แตกเลย พวกโคจัก ได้เค้ยี วกินหญ้าทย่ี ังไม่มใี ครถกู ต้อง พวกผ้คู นจกั มีผักอันเกื้อกูลแก่แกงซ่ึงยังไม่ได้จับต้อง นํา้ จักใส เราเม่อื ไปตามชอบใจ จกั ตงั้ ราคาขายสินค้าได้ บุตรพ่อค้าเกวียนน้ันจึงกล่าว ว่า สหาย เราจักไปกอ่ น พระโพธสิ ัตวไ์ ดเ้ ห็นการไปทีหลังว่ามีอานิสงส์มาก โดยทรงคิดอย่างน้ีว่า คน เหล่าน้ีเม่ือไปก่อน จักกระทําหนทางขรุขระท่ีให้เรียบเตียน เราจักเดินทางไปตามทางท่ี คนเหลา่ นไ้ี ปแลว้ เมื่อโคงานซ่งึ เดินทางไปกอ่ นกนิ หญา้ แก่และแขง็ โคท้ังหลายของเราจัก เค้ยี วกนิ หญ้าอรอ่ ยซ่ึงงอกขน้ึ มาใหม่ ผักซงึ่ ใชท้ าํ แกงของพวกมนษุ ย์ ซง่ึ งอกขึน้ จากท่ีท่ีถูก เดด็ เอาไปจักแตกยอดออกมาใหม่ จกั เปน๐ ของอรอ่ ย ในทที่ ี่ไม่มนี ํ้า คนเหล่าน้ีจักขุดบ่อทํา ให้นํ้าเกิดข้ึน เราจักด่ืมน้ําในบ่อท่ีคนเหล่าน้ีขุดไว้ การต้ังราคาสินค้า เราไปข้างหลังจัก ขายสินค้า ตามราคาท่ีคนเหล่าน้ีตั้งไว้ พระโพธิสัตว์น้ันเห็นอานิสงส์มีประมาณเท่านี้จึง กล่าวว่า ดูก่อนสหาย ท่านจงไปก่อนเถิด บุตรพ่อค้าเกวียนผู้เขลารับคํา แล้ว จึงเทียม เกวยี นทั้งหลายเป๐นการใหญ่ ออกไปล่วงพ้นถ่ินท่ีอยู่ของมนุษย์ ถึงปากทางกันดาร โดย ลําดบั . ช่ือว่ากันดารมี ๕ อย่าง คือ กันดารเพราะโจร ๑ กันดารเพราะสัตว์ร้าย ๑ กันดารเพราะขาดน้ํา ๑ กนั ดารเพราะอมนษุ ย์ ๑ กนั ดารเพราะอาหารน้อย ๑ กันดารใน ที่น้นี ัน้ หมายเอากันดารเพราะการขาดน้าํ และกันดารเพราะมีอมนุษย์สิงอยู่ เพราะฉะน้ัน บุตรพ่อค้า เกวียนผู้เขลานั้นจึงตั้งตุ่มใหญ่ ๆ ไว้บนเกวียนท้ังหลาย บรรจุเต็มด้วยน้ํา เดินทางกนั ดาร ๖๐ โยชน์. คร้ันในเวลาที่บุตรพ่อค้าเกวียนผู้เขลาน้ันถึงท่ามกลางทางกันดาร ยักษ์ผู้ อาศัยอยู่ในทางกันดารคิดว่า เราจักให้พวกมนุษย์เหล่านี้ ทิ้งน้ําท่ีบรรทุกมาเสีย ทําให้ ออ่ นเพลยี กระปลกกระเปลย้ี แลว้ กินมันทั้งหมด จึงนิรมิตยานน้อย น่าร่ืนรมย์ เทียมด้วย โคหนุ่มขาวปลอด ห้อมลอ้ มดว้ ยอมนุษย์ ๑๒ คน ชมุ่ ด้วยน้ําและโคลน ถืออาวุธพร้อมทั้ง โล่เปน๐ ตน้ ประดบั ดอกอุบลและโกมทุ มผี มเปยี กและผ้าเปียกน่ังมาบนยานน้อยนั้น มีล้อ ยานเป๒อื นเปอี กตม เดินสวนทางมา ธรรมดาว่าพ่อค้าเกวียนทั้งหลาย เม่ือใดท่ีลมพัดมาข้างหน้า เมื่อนั้นก็จะน่ัง บนยานน้อยคนั หนา้ หอ้ มลอ้ มด้วยคนอุป๎ฏฐาก เพื่อหลีกเล่ียงฝุนที่เกิดขึ้น ในกาลใด ลม พดั มาขา้ งหลงั ในกาลน้นั ก็หลีกยานไปอยูท่ างข้างหลงั ก็ในกาลน้ัน ลมพัดได้มาข้างหน้า เพราะฉะนัน้ บุตรพ่อค้าเกวยี นผู้เขลานน้ั จงึ ได้ไปขา้ งหน้า ยักษ์นั้นเห็นบุตรพ่อค้าเกวียน นั้นกําลังมาอยู่ จึงให้ยานน้อยของตนหลีกลงจากทาง และได้ทําการปฏิสันถารกับบุตร พอ่ คา้ เกวยี นน้นั ว่า ท่าน ท้ังหลายจะไปไหน

๙๒ ฝุายบุตรพ่อค้าเกวียนนํายานน้อยของตนหลีกลงจากทาง เพ่ือให้ให้เกวียน สินค้าทง้ั หลายทตี่ ามหลังอยู่ไปก่อน แล้วยนื กล่าวกะยักษ์ว่า ท่านผู้เจริญ พวกเรามาจาก เมืองพาราณสี ส่วนท่านทั้งหลายประดับดอกอุบลและโกมุท ถือดอกปทุมและบุณฑริก เป๐นตน้ เค้ียวกนิ เหง้าบวั เปือ๒ นดว้ ยเปือกตม มหี ยดนํา้ ไหล พากันเดินมา ในหนทางท่ีท่าน ท้ังหลายผา่ นมา ฝนตกหรอื หนอ มีสระนํา้ อนั ดารดาษดว้ ยดอกอบุ ลเปน๐ ต้นหรือ ยักษ์ได้ฟ๎งถ้อยคําของบุตรพ่อค้าเกวียนน้ัน แล้วจึงกล่าวว่า สหาย ท่านพูด อะไร ท่ีนั่น ราวปุาเขียวปรากฏอยู่ ต้ังแต่ท่ีนั้นไป ปุาท้ังสิ้นมีน้ําอยู่ทั่วไป ฝนตกเป๐น ประจํา แม้แต่ซอกเขาก็เต็มไปด้วยนํ้า ในที่นั้น ๆ มีสระน้ําดารดาษด้วยดอกปทุม แล้ว ยกั ษ์จึงถามว่า ทา่ นพาเกวยี นเหล่านมี้ า จะไปไหนกัน? บุตรพ่อค้าเกวียนกล่าวว่า จะ ไป ยังชนบทชื่อโน้น ยักษ์กล่าวว่า ในเกวียนเหล่าน้ีบรรทุกสินค้าอะไรหรือ ? บุตรพ่อค้าจึง ตอบช่อื สนิ คา้ ให้ทราบ ยกั ษ์กลา่ ววา่ เกวียนทีม่ ากําลงั ขา้ งหลังดูเป๐นเกวียนที่หนักมาก ใน เกวียนน้ันมีสินค้าอะไร บุตรพ่อค้าเกวียนกล่าวว่า ในเกวียนน้ันมีน้ํา ยักษ์กล่าวว่า ท่าน ท้ังหลายนําน้ํามาข้างหลังด้วย ได้กระทําความเน่ินช้าแล้ว ก็ต้ังแต่น้ีไป ความกังวลเรื่อง น้ํายอ่ มไมม่ ี ขา้ งหน้ามีน้าํ มาก ทา่ นทั้งหลายจงทุบตุ่ม เทน้ําทิ้งเสีย จงไปด้วยเกวียน เบา เถิด กแ็ หละครั้นกลา่ วอยา่ งนีแ้ ล้วจึงพูดว่า ท่านท้ังหลายจงไปเถอะ ความ ชักช้าจะมีแก่ พวกเรา แลว้ เดินไปหน่อยหนึ่ง ถึงที่ท่ีคนเหล่านั้นมองไม่เห็น ก็ได้ไปยังนครยักษ์ของตน นน่ั แล. ฝาุ ยพ่อค้าเกวยี นผเู้ ขลานั้น เพราะความท่ีตนเป๐นคนเขลาจึงเชื่อคําของยักษ์ น้ัน จงึ ให้ทุบตมุ่ ท้ังหลายท้ิงทั้งหมดไม่เหลอื นํา้ แม้สักฟายมือเดยี ว แลว้ ขบั เกวยี นไป แต่ว่า ในทางขา้ งหนา้ นา้ํ แมแ้ ต่นดิ เดียวก็มิได้มี มนุษย์ทั้งหลาย เมื่อไม่ได้น้ําดื่ม ก็พากันลําบาก แลว้ คนเหลา่ นัน้ พากนั ไปจนพระอาทิตย์อัสดง จึงปลดเกวยี น พักเกวยี นใหเ้ ป๐นวงแล้วผูก โคที่ล้อเกวียน นํ้าก็ไม่มีให้แก่พวกโค ข้าวปลาอาหารก็ไม่มีแก่พวกมนุษย์ พวกพ่อค้า เกวยี นเหล่านั้นกม็ กี าํ ลงั เปล้ยี ลง ไม่ใสใ่ จในการงาน พากนั นอนหลับไปในนั้น ๆ ครั้นถึงเวลากลางคืน ยักษ์ทั้งหลายพากันมาจากท่ีอยู่ ฆ่าโคและมนุษย์ ท้ังหมดนั้นให้ถึงแก่ความตาย แล้วกินเน้ือ ของโคและมนุษย์เหล่าน้ัน ไม่มีเหลือแม้แต่ กระดูก แล้วจึงพากันไป ชนเหล่านั้นแม้ทั้งหมดถึงความพินาศ เพราะอาศัยบุตรพ่อค้า เกวียนผู้โง่เขลาคนเดียว ด้วยประการอย่างนี้ กระดูกทั้งหลายก็ได้กระจัดกระจายไปใน ทิศน้อยใหญ่ เกวยี น ๕๐๐ เล่มได้ตัง้ อยูต่ ามท่ีบรรทกุ ไว้เต็มอย่างเดิมแล. ฝุายพระโพธิสัตว์แล จําเดิมแต่วันที่บุตรพ่อค้าเกวียนโง่ออกไปแล้ว ก็ยับยั้ง อยปู่ ระมาณกง่ึ เดอื น จึงพากันออกจากพระนครพร้อมกับเกวียน ๕๐๐ เล่ม ถึงปากทาง กันดารโดยลําดับ พระโพธิสัตว์นั้นจึงให้ใส่น้ําให้เต็มตุ่ม ณ ปากทางกันดารนั้น แล้วให้

๙๓ เท่ียวตีกลองปุาวร้องภายในกองค่าย ประกาศให้พวกชนประชุมกันแล้วกล่าวอย่างน้ีว่า ทา่ นผเู้ จรญิ ทงั้ หลาย ถ้าพวกท่านยังไมไ่ ด้รับอนุญาตจากข้าพเจ้า อย่าได้เทนํ้า แม้สักเท่า ฟายมือหน่ึงทีเดียว ช่ือว่าต้นไม้มีพิษ ย่อมมีในทางกันดาร ใบไม้ดอกไม้หรือผลไม้ ท่าน ท้ังหลายไม่เคยกินมาก่อนมีอยู่ พวกท่านถ้ายังไม่ได้ไต่ถามข้าพเจ้า ก็จงอย่าได้เค้ียวกิน ครั้นให้โอวาทแก่คนทง้ั หลายอย่างนี้แลว้ จงึ เดนิ ทางกันดารดว้ ยเกวยี น ๕๐๐ เลม่ . เม่ือพระโพธิสัตว์ถึงท่ามกลางทางกันดาร ยักษ์นั้นได้แสดงตนใน หนทาง สวนกนั แก่พระโพธสิ ตั ว์ โดยนัยก่อนนั่นแหละ พระโพธิสัตว์พอเห็นยักษ์นั้นเท่านั้นก็ได้รู้ ว่า ในทางกันดารน้ีแหละ ไม่มีนํ้า นี้ชื่อว่ากันดารเพราะ ไม่มีน้ํา อนึ่ง ผู้นี้ไม่มีท่าทีเกรง กลวั มนี ยั นต์ าแดง แม้เงาของเขาก็ไมป่ รากฏ บุตรพ่อค้าเกวียนผู้เขลาพร้อมทั้งบริวารคง ถูกยักษ์น้ีกินเสียแล้วโดยไม่ต้องสงสัย แต่ยักษ์นี้เห็นจะไม่รู้ความท่ีเราเป๐นบัณฑิต และ ความทเี่ ราเป๐นผูฉ้ ลาดในอบุ าย. ลําดับนั้น พระโพธิสัตว์น้ันกล่าวกะยักษ์นั้นว่า พวกท่านจงไปเถิด พวกเรา ชื่อวา่ เปน๐ พอ่ คา้ ยงั ไมเ่ หน็ นาํ้ อ่นื จะไมท่ งิ้ นํา้ ที่บรรทกุ เอามา แต่เราทั้งหลายจะท้ิงในที่ท่ีได้ เหน็ แล้ว ทําเกวยี นทั้งหลายให้เบาแล้วจึงไป ฝุายยักษ์ ไปได้หน่อยหนึ่ง เข้าถึงท่ีท่ีมองไม่ เห็น แล้วไปนครยักษ์ของตนทเี ดยี ว เม่ือยักษ์ไปแล้ว คนทั้งปวงจึงเข้าไปหาพระโพธิสัตว์แล้วกล่าวว่า ข้าแต่ เจ้านาย คนเหล่าน้ีกล่าวว่า นั่นแนวปุาเขียวปรากฏอยู่ จําเดิมแต่น้ันไป ฝนจักตกเป๐น นติ ย์ เป๐นผู้สวมมาลัยดอกอุบลและโกมุท ถือกําดอกปทุมและบุณฑริก เค้ียวกินเหง้าบัว มผี า้ เปยี ก และมีผมเปียก มีหยาดน้ําและโคลนไหลหยดมา พวกเราจักทิ้งน้ํา มีเกวียนเบา จะไปได้เร็ว ฝาุ ยพระโพธิสตั ว์ไดฟ้ ๎งคาํ ของคนเหลา่ นนั้ แลว้ จงึ ให้พักเกวียน ให้คนท้ังหมด ประชมุ กนั แล้วถามวา่ พวกท่านเคยฟง๎ มาจากใคร ๆ หรือว่า ในท่ีกันดารน้ี มีสระนํ้าหรือ สระโบกขรณี คนทง้ั หลายกลา่ วว่า ข้าแต่เจา้ น้อย ไมเ่ คยไดย้ นิ พระโพธิสัตวก์ ลา่ วว่า น้ีช่ือ ว่ากันดารเพราะไม่มีน้ํา บัดนี้ คนพวกหนึ่งพูดว่า เบ้ืองหน้าแต่แนวปุา เขียวน่ัน ฝนตก ธรรมดาว่าลมฝนจะพัดไปถึงที่มีประมาณเท่าไร ? คน ทั้งหลายกล่าวว่า พัดไปได้ ประมาณ ๓ โยชน์ ขอรับ เจ้านาย พระโพธิสัตว์ ถามว่า ลมกับฝนกระทบร่างกายของ บุคคลแม้คนหนึ่ง บรรดาพวกท่าน มีอยู่หรือ ? คนท้ังหลายกล่าวว่า ไม่มีขอรับ พระ โพธิสตั วถ์ ามว่า ธรรมดา ก้อนเมฆย่อมปรากฏในท่ีมีประมาณเท่าไร ? คนทั้งหลายกล่าว ว่า ในท่ีประมาณ ๓ โยชน์ ขอรับ พระโพธิสัตว์ถาม ก็บรรดาท่านท้ังหลาย ใคร ๆ เห็น กอ้ นเมฆกอ้ นหนึ่ง มอี ยู่หรือ ? คนท้งั หลายกล่าวว่า ไม่มีขอรบั พระโพธสิ ตั ว์ ธรรมดาสายฟาู ปรากฏในทมี่ ีประมาณเทา่ ไร ?

๙๔ คนทง้ั หลาย ในทป่ี ระมาณ ๔ - ๕ โยชน์ ขอรบั . พระโพธิสัตว์ กบ็ รรดาทา่ นทั้งหลาย ใคร ๆ ทเ่ี ห็นแสงสวา่ งของสายฟูา มีอยู่ หรอื ? คนทง้ั หลาย ไม่มีขอรบั . พระโพธิสัตว์ ธรรมดาเสียงฟูารอ้ งจะไดย้ นิ ในทีป่ ระมาณเทา่ ไร ? คนทั้งหลาย ในท่ี ๑ - ๒ โยชน์ ขอรบั . พระโพธสิ ัตว์ กบ็ รรดาทา่ นทั้งหลาย ใคร ๆ ท่ีไดย้ ินเสยี งฟูารอ้ ง มีอยู่ หรือ ? คนทัง้ หลาย ไมม่ ีขอรบั . พระโพธิสตั ว์ ท่านทั้งหลายรูจ้ กั คนเหล่าน้หี รือ ? คนทง้ั หลาย ไมร่ ูจ้ กั ขอรบั . พระโพธสิ ตั วก์ ล่าววา่ คนเหลา่ น้ีไมใ่ ชม่ นุษย์ คนเหล่านี้เป๐นยักษ์ พวกมันจัก มาเพือ่ ยใุ หพ้ วกเราทง้ิ นํ้า กระทําใหอ้ ่อนกาํ ลงั แล้วจะเคี้ยวกนิ บุตรพ่อค้าเกวียนผู้เขลาซ่ึง ไปข้างหน้า ไม่ฉลาดในอุบาย เขาคงถูกยักษ์เหล่าน้ีหลอกให้ทิ้งน้ํา ปล่อยให้ลําบากแล้ว เค้ียวกินเสียเป๐นแน่ เกวียน ๕๐๐ เล่ม จักจอดอยู่ตามที่บรรทุกไว้เต็มน่ันแหละ วันน้ี พวกเราจักเห็นเกวียนเหล่าน้ัน ท่านทั้งหลาย อย่าได้ทิ้งน้ําแม้แต่ฟายมือหน่ึง จงรีบขับ เกวียนไปเรว็ ๆ เมือ่ พระโพธิสัตว์นั้นมาถึง ก็เห็นเกวียน ๕๐๐ เล่ม ตามท่ีบรรทุกไว้เต็มน่ัน แหละ กระดกู ของมนษุ ย์ท้งั หลายและของเหลา่ โคกระจัดกระจาย อยู่ในทิศน้อยใหญ่ จึง ให้ปลดเกวียน ให้ตั้งกองคา่ ยโดยเอาเกวยี นวงรอบ ให้คนและโคกนิ อาหารเย็น ต่อเวลายัง วนั ใหโ้ คท้ังหลายนอนตรงกลางกลุม่ คนทัง้ หลาย ตนเองพาเอาคนผู้มีกําลังแข็งแรง มือถือ ดาบ ตั้งการอารักขาตลอดราตรีทั้ง ๓ ยาม จนอรุณขึ้น วันรุ่งข้ึน พระโพธิสัตว์ทํากิจท้ัง ปวงใหเ้ สร็จแตเ่ ชา้ ตรู่ ให้โคท้งั หลายกนิ แลว้ ให้ทิ้งเกวียนท่ีไม่แขง็ แรงเสีย ให้เอาแต่เกวียน ทแ่ี นน่ หนา ให้ท้ิงสง่ิ ของท่ีมีราคานอ้ ยเสยี ให้ขนสง่ิ ของท่มี ีค่ามากข้นึ ไปยังทต่ี นปรารถนา ๆ ขายสิ่งของด้วยมูลค่า ๒ เท่า ๓ เท่า ได้พาบริษัท ทั้งหมดไปยังนครของตน ๆ น่ันแล อีก. พระศาสดาคร้ันตรสั ธรรมกถานี้แลว้ ตรัสวา่ ดูกอ่ นคฤหบดี ในกาล ก่อน คน ผู้มปี รกติยดึ ถอื โดยการคาดคะเน ถงึ ความพินาศใหญ่หลวงด้วย ประการอย่างนี้ ส่วนคน ผู้มปี รกติยดึ ถอื ตามความจรงิ พน้ จากเง้อื มอื ของ พวกอมนษุ ย์ ไปถึงที่ที่ปรารถนา ๆ โดย สวัสดี แล้วกลบั มาเฉพาะยังทอ่ี ยูข่ องตนได้ เมื่อจะสบื ต่อแม้ทั้ง ๒ เป๐นผู้ตรัสรู้เองโดยโดย ยิง่ ในอป๎ณณกธรรมเทศนาน้ี จงึ ตรัสคาถาน้ีว่า คนพวกหนง่ึ กล่าวฐานะไมผ่ ิด นักเดาทง้ั หลาย

๙๕ กล่าวฐานะน้นั ว่าเปน๐ ท่สี อง คนมีป๎ญญาร้ฐู านะ และมใิ ชฐ่ านะนัน้ แล้วควรถือเอาฐานะที่ไมผ่ ดิ ไว้. บรรดาบทเหล่าน้ัน บทว่า อปณณฺ ก ได้แก่ เป๐นไปอยา่ งแนน่ อนคือ ไม่ ผิด เป๐นเคร่ืองนําออกจากทกุ ข์. บทว่า าน ไดแ้ ก่ เหตุ. จริงอยู่ ในเหตุ เพราะเหตุที่ผลชื่อว่าย่อมตั้งอยู่ เพราะมีความเป๐นไปต่อเนื่องกับ เหตุนั้น ฉะนั้น ท่านจึงเรียกเหตุน้ันว่าฐานะ และพึงทราบประโยคของบทว่า าน น้นั ในประโยคมอี าทวิ า่ านญฺจ านโต อ านญฺจ อ านโต ฐานะโดย ฐานะ และ มใิ ชฐ่ านะ.โดยมใิ ชฐ่ านะ. ดงั น้นั แม้ด้วยบทท้ังสองว่า อปณฺณกฏฺ าน ท่านแสดงว่า เหตุใดนํามาซึ่งความสุขโดยส่วนเดียว เหตุน้ัน บัณฑิตท้ังหลายปฏิบัติแล้ว เหตุอัน เป๐นไปอย่างแน่นอน เหตอุ นั งาม ช่ือว่า อป๎ณณกะไม่ผิด นเ้ี ป๐นเหตอุ ันไมผ่ ิด เป๐นเหตุ เครื่องนําออกจากทุกข์ ความย่อในที่น้ี เพียงเท่านี้. แต่เม่ือว่าโดยประเภท สรณ คมน์ ๓ ศีล ๕ ศีล ๘ ศีล ๑๐ ปาฏิโมกขสังวร อินทรีย์สังวร อาชีวปาริสุทธิศีล ป๎จจยปฏิเสวนะ การเสพป๎จจัย จตุปาริสุทธิศีลแม้ท้ังหมด ความคุ้มครองทวารใน อินทรีย์ท้งั หลาย ความรู้ประมาณในโภชนะ ชาคริยานุโยค ฌาน วิป๎สสนา อภิญญา สมาบัติ อริยมรรค อริยผลแม้ท้ังหมดน้ี เป๐นฐานะอันไม่ผิด คือเป๐นกรปฏิบัติไม่ผิด อธิธบายว่า เปน๐ ขอ้ ปฏิบัติอนั เปน๐ เครือ่ งนําออกจากทุกข์ ก็แหละ เพราะเหตุที่ฐานะอันไม่ผิดนี้ เป๐นช่ือของข้อปฏิบัติเครื่องนํา ออกจากทกุ ข์ เพราะฉะน้ันแหละ พระผูม้ ีพระภาคเจา้ เมอ่ื จะทรงแสดงข้อปฏิบตั ิอันไม่ ผิดน้นั จึงตรัสพระสตู รน้วี ่า \"ภิกษุท้ังหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ เป๐นผู้ปฏิบัติข้อ ปฏิบัติอันไม่ผิด เป๐นผู้มีความเพียร และเป๐นผู้ปรารภความเพียรน้ันเพื่อความส้ินอา สวะทงั้ หลาย ๓ ประการเปน๐ ไฉน ? ดกู อ่ นภิกษทุ ง้ั หลาย ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ัยน้ี ๑. เป๐นผคู้ มุ้ ครองทวารในอนิ ทรยี ท์ งั้ หลาย ๒. เปน๐ ผูร้ ู้ประมาณในโภชนะ ๓. เป๐นผ้ปู ระกอบตามความเพยี รเคร่อื งตน่ื อยู่. ภิกษุทั้งหลายอย่างไรเล่า ภิกษุเป๐นผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ท้ังหลาย. ภิกษุทั้งหลายภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ เห็นรูปด้วยจักษุ ย่อมไม่ถือเอาโดยนิมิต ฯลฯ ภิกษุทั้งหลาย อย่างน้ีแล ภิกษุช่ือว่าเป๐นผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย. ภิกษุ ทั้งหลาย กอ็ ยา่ งไรเล่า ภิกษุเป๐นผู้รู้ประมาณในโภชนะ. ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย ภิกษุใน พระธรรมวินัยนี้ พิจารณาโดยแยบคายแลว้ บรโิ ภคอาหาร มิใช่เพื่อเล่น มิใช่เพื่อมัวเมา มิใช่เพ่ือประดับ มิใช่เพ่ือตกแต่ง เพียงเพื่อให้กายนี้ดํารงอยู่ เพ่ือให้ดําเนินไป เพื่อ

๙๖ งดเว้นการเบียดเบียนเพอื่ อนเุ คราะหพ์ รหมจรรย์ ดงั น้ัน เราจะบําบดั เวทนาเกา่ ไม่ให้ เวทนาใหม่เกดิ ขึ้น การยังชวี ติ ใหด้ ําเนินไป ความไม่มโี ทษและการอยู่ผาสกุ จักมีแก่เรา. ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเป๐นผู้รู้ประมาณในโภชนะ อย่างนี้และ ภิกษุท้ังหลาย ก็อย่างไร เล่า ภกิ ษุจึงจะเป๐นผู้ประกอบเนือง ๆ ซ่ึงความเพียรเครื่องตื่นอยู่ ภิกษุท้ังหลาย ภิกษุ ในพระธรรมวินยั น้ีชําระจติ จากธรรมเครอื่ งกางกั้น ด้วยการจงกรม ด้วยการนั่งตลอด วัน ชําระจิตจากธรรมเครื่องกางก้ัน ด้วยการจงกรม ด้วยการฟ๎ง ตลอดปฐมยามแห่ง ราตรี สาํ เร็จสีหไสยาโดยข้างเบ้ืองขวา เอาเท้าซ้อนเท้า มีสติสัมปชัญญะ ทําไว้ในใจ ถึงความสําคัญในการลุกขึ้น ตลอดมัชฌิมยามแห่งราตรีลุกขึ้นแล้ว ชําระจิตจากธรรม เคร่อื งกางกั้น ดว้ ยการจงกรม ด้วยการนง่ั ตลอดปจ๎ ฉมิ ยามแหง่ ราตรี. ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษจุ ึงชื่อวา่ เป๐นผ้ปู ระกอบเนือง ๆ ซงึ่ ความเพียรเป๐นเครือ่ งตืน่ อยู่\" ก็ในพระสูตรนี้ตรัสธรรม ๓ ประการ อป๎ณณกปฏิปทา คือข้อปฏิบัติไม่ผิดน้ี ยอ่ มใชไ้ ด้จนกระท่ังอรหัตผลทีเดียว. ในอป๎ณณกปฏิปทานนี้ แม้อรหัตผลก็ย่อมชื่อว่า เป๐นปฏิปทาแก่การอยู่ด้วยผลสมาบัติ และแก่ปรินิพพานที่ไม่มีขันธ์ ๕ เหลือ. บทว่า เอเก ได้แก่ คนผู้เป๐นบัณฑิตพวกหน่ึง. แม้ในบทว่า เอเก นั้น ไม่มีการกําหนดลง ไปอย่างแน่นอนว่า คนช่ือโน้น ก็จริง แต่ถึงกระนั้น คําว่า เอเก ท่ีแปลว่า พวกหนึง่ น้ี พงึ ทราบวา่ พระผู้มพี ระภาคเจา้ ตรัสหมายเอาเฉพาะพระโพธิสัตว์พร้อมทั้ง บริษัท. บทว่า ทุติย ที่สอง ในบทว่า ทุติย อาหุ ตกฺกิกา นักเดากล่าวว่าเป๐น ฐานะท่สี อง น้ี ไดแ้ ก่ เหตุแห่งการยึดถือเอาโดยการเดา คอื เหตุอันไม่เป๐นเคร่ืองนํา ออกจากทกุ ข์ วา่ เป๐นทสี่ อง จากฐานะอันไมผ่ ิดท่หี น่ึง คอื จากเหตอุ ันเป๐นเคร่ืองนํา ออกจากทกุ ข์. ก็ในบทว่า อาหุ ตกฺกิกา นี้ มีการประกอบความกับบทแรก ดังต่อไปน้ี :- คนท่ีเป๐นบัณฑิตพวกหนึ่ง มีพระโพธิสัตว์เป๐นประธาน ถือเอาฐานะท่ีไม่ ผดิ คอื เหตุอันเปน๐ ไปอย่างแน่นนอน ได้แก่เหตุอันไม่ผิด เหตุอันเป๐นเครื่องนําออก จากทกุ ข์ สว่ นนักคาดคะเน มบี ตุ รพอ่ คา้ เกวียนผู้เขลาเป๐นประธานน้ัน กล่าวคือ ได้ ถือเอาฐานะที่เป๐นไปโดยไม่แน่นอน คือ เหตุท่ีผิด ได้แก่ เหตุอันไม่เป๐นเครื่องนํา ออกจากทกุ ข์ ซึ่งมีโทษ วา่ เป๐นที่สอง บรรดาชนทงั้ สองพวกนนั้ ชนทีถ่ อื ฐานะอันไม่ผิดน้ัน เป๐นผู้ปฏิบัติปฏิปทา ขาว สว่ นชนทถี่ อื เหตุอนั ไมเ่ ปน๐ เคร่อื งนําออกจากทุกข์ กลา่ วคอื การยึดถือโดยคาดคะเน เอาว่า ขา้ งหน้ามีนา้ํ ว่าเป๐นที่สองน้ัน เป๐นผปู้ ฏิบตั ิปฏิปทาคํา. ในปฏิปทาสองอย่างน้ัน ปฏิปทาขาว เป๐นปฏิปทาไม่เส่ือม ส่วนปฏิปทาดํา เป๐นปฏิปทาเส่ือม เพราะฉะน้ัน

๙๗ ชนผู้ปฏิบัตปิ ฏปิ ทาขาว เป๐นผู้ไมเ่ ส่อื ม ถงึ แกค่ วามสวัสดี ส่วนชนผู้ปฏิบัติปฏิปทาดํา เป๐นผู้เส่ือม ถึงแก่ความพินาศฉิบหาย.พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแก่อนาถบิณฑิกคฤหบดี ถึงเน้ือความดังพรรณนามาน้ีแล้ว ตรัสพระดํารัสนี้ให้ยิ่งข้ึนว่า คนมีป๎ญญา รู้ฐานะ และมิใช่ฐานะนแ้ี ล้วควรถอื เอาฐานะที่ไมผ่ ิดไว้. บรรดาบทเหล่าน้ัน บทว่า เอตทญฺาย เมธาวี ความว่า กุลบุตรผู้ ประกอบด้วยป๎ญญาอันหมดจด สูงสุด ซึ่งได้นามว่า เมธา รู้คุณและโทษความเจริญ และความเสื่อม ประโยชน์และมิใช่ประโยชน์ ฐานะและมิใช่ฐานะในฐานะทั้งหลาย กล่าวคอื การยึดถือฐานะไม่ผิด และการยึดถือโดยการคาดคะเนท้ังสอง คือ ในฐานะท่ี ไมผ่ ิดและฐานะที่ผดิ น้ี. บทว่า ต คณฺเห ยทปณฺณก ความว่า ควรถือเอาฐานะที่ไม่ผิดคือที่ เป๐นไปโดยแน่นอน เป๐นปฏิปทาขาว เป๐นเหตุเครื่องนําออกจากทุกข์กล่าวคือ ปฏิปทาอื่นไม่เสื่อมนั้นน่ันแหละไว้. เพราะเหตุไร ? เพราะภาวะมีความเป๐นไป แน่นอนเปน๐ ตน้ . สว่ นนอกนไ้ี มค่ วรถือเอา. เพราะเหตุไร ? เพราะ ภาวะมีความเป๐นไปไม่แน่นอน. จริงอยู่ ชื่อว่าอป๎ณณกปฏิปทาน เป๐นปฏิปทาของ พระพุทธเจ้า พระป๎จเจกพุทธเจ้าและพระพุทธบุตรท้ังปวงแล. ก็พระพุทธเจ้าท้ังปวง ต้ังอยู่เฉพาะในอป๎ณณกปฏิปทาบําเพ็ญบารมีท้ังหลายด้วยความเพียรม่ัน ช่ือว่าเป๐น พระพุทธเจ้าท่ีลานต้นโพธิ. แม้พระป๎จเจกพุทธเจ้าก็ยังป๎จเจกโพธิญาณให้เกิดข้ึน แม้ พทุ ธบตุ รทัง้ หลายก็ตรสั รูเ้ ฉพาะสาวกบารมีญาณ. พระผู้มีพระภาคเจ้าแม้ทรงประทานกุศลสมบัติท้ัง ๓ กามาวจรสวรรค์๖ และสมบัติในพรหมโลก แก่อุบาสกเหล่าน้ัน ด้วยประการดังน้ี ในที่สุดทรงแสด งอปณ๎ ณกปฏิปทานี้ว่า ช่ือว่าปฏิปทาที่ไม่ผิด ให้อรหัตผล. ช่ือว่าปฏิปทาที่ผิด ให้การ บงั เกดิ ในอบาย ๔ และในตระกูลต่ํา ๕ แล้วทรงประกาศอริยสัจ ๔ โดยอาการ ๑๖ ให้ ย่ิงในรูป. ในเวลาจบอริยสัจ ๘ อุบาสก ๕๐๐ คน แม้ท้ังหมดนั้น ดํารงอยู่แล้วใน โสดาป๎ตตผิ ล. พระศาสดา ครั้งทรงแสดงพระธรรมเทศนานี้แล้ว ทรงประมวลชาดกมา แสดงทรงทําพระเทศนาให้จบ ลงว่า บุตรพ่อค้าเกวียนผู้โง่เขลาในสมัยน้ัน ได้เป๐น พระ เทวทัต ในบัดนี้ แม้บริษัทของบุตรพ่อค้าเกวียนโง่น้ันก็ได้เป๐นบริษัทของเทวทัต ในบัดน้ี บริษทั ของบตุ รพ่อค้าเกวยี นผเู้ ป๐นบัณฑติ ในคร้งั นัน้ ได้เป๐นพุทธบริษัทใน บัดน้ี ส่วนบุตร ของพ่อคา้ เกวียนผเู้ ป๐นบณั ฑติ ในครง้ั น้ัน ได้เปน๐ เราตถาคต.

๙๘ อนึ่ง แม้ในอรรถกถาชาดกเรื่องอื่นๆ ก็ดําเนินเรื่อง และอธิบายความใน ลักษณะอยา่ งนี้ ตัวอยา่ งการการวิเคราะหเ์ นื้อหา และหลักธรรมตา่ งๆ เรอ่ื งท่ี ๑ อปัณณกชาดก [๑] สนั ตเิ กนิทาน ๑.๑ สถานท่ีปรารภชาดก : เชตวนั มหาวิหาร เมืองสาวตั ถี ๑.๒ นิทาน : ปรารภสหายของอนาถปิณฑิกเศรษฐี ๕๐๐ คนได้ฟ๎ง ธรรมแล้วเกดิ ความเล่อื มใส จงึ เข้ารีตในพระพทุ ธศาสนา แตเ่ มื่อพระพุทธเจ้าเสด็จไป ทอ่ี นื่ ก็กลับเข้ารตี เดมิ อนาถปิณฑิกเศรษฐีจึงกราบทูลเรื่องราวให้ทรงทราบ จึงทรง แสดงการที่บคุ คลถอื สรณะผดิ แลว้ ถงึ ความพินาศ [๒] ทูเรนิทาน ๒.๑ สถานที่ปรารภเหตุ : รัชสมัยของพระเจ้าพรหมทัต ครองเมือง พาราณสี แคว้นกาสี ๒.๒ นิทาน : พระโพธิสัตว์เดินทางไปด้วยคารวานเกวียนเพื่อค้าขาย ตา่ งเมือง แต่มคี ารวานเกวียนกลุ่มอ่ืนจะไปทางเดียวกันด้วย ทรงเห็นว่าไม่ควรไปพร้อม กนั ทีเดยี ว เพราะจะทาํ ใหป้ ระสบความลําบาก จึงได้ปรึกษาว่าใครควรจะไปก่อนไปหลัง พ่อค้าเกวียนกลมุ่ หนงึ่ เหน็ วา่ การไปก่อนจะก่อให้เกิดประโยชน์หลายด้าน เช่น สามารถ กําหนดราคาสินค้าได้ตามต้องการ วัวพาหนะก็สามารถเลือกกินหญ้าได้ตามปรารถนา เป๐นต้น จึงอาสาไปก่อน ขณะท่ีพระโพธิสัตว์คิดว่า การไปทีหลังจะก่อให้เกิดประโยชน์ หลายประการ เช่น ถ้าหนทางไม่สะดวก พื้นขรุขระ ก็จะปรับพ้ืนให้เสมอ หญ้าท่ีวัว พาหนะกลุม่ แรกกินแลว้ ก็จะงอกขึน้ ใหม่ วัวท่ีไปท่ีหลังก็จะได้กินหญ้าอ่อนมีรสเลิศ เป๐น ต้น จงึ อาสาไปทหี ลงั กลุ่มพอ่ คา้ ท่เี ลอื กไปก่อน ในระหว่างทาง เชื่อถือถ้อยคําของยักษ์ จึงถูกจับ กินเป๐นอาหาร ขณะท่ีกลุ่มพ่อค้าพระโพธิสัตว์ มีวิจารณญาณ รู้จักไตร่ตรอง ไม่เช่ือ ถอ้ ยคําของยกั ษ์ จึงสามารถนําพาบรวิ ารของตนพ้นภยั กลับบ้านด้วยความสวัสดี [๓] การเสวยพระชาติ ๓.๑ เปน๐ พ่อค้า ๓.๒ ไม่ปรากฎนาม [๔] ปรัชญา แนวคิด และคติธรรมจากเรอ่ื ง ๔.๑ ต่างคนต่างมุมมอง : ในการตัดสินใจเดินทางไปค้าขาย พ่อค้าผู้ โลเลเลือกไปก่อน เพราะมองเห็นประโยชน์อีกมุมหนึ่ง ขณะท่ีพ่อค้าโพธิสัตว์เลือกไปที

๙๙ หลงั มองกรณเี ดียวกันน้ีอกี มุมหน่งึ คงไมส่ ามารถใชเ้ หตผุ ลเป๐นเครอ่ื งตดั สินว่า ใครผิดใคร ถกู ในกรณีน้ี ประโยชน์สูงสุดทจ่ี ะพึงมีพงึ เกดิ ขึ้นตอ้ งพจิ ารณาองคป์ ระกอบอ่นื รว่ มดว้ ย ๔.๒ ผู้ไม่สารวมอินทรีย์ย่อมเป็นภักษาของยักษ์: ทรงใช้อุทาหรณ์ เร่อื งนี้ส่ังสอนภิกษุให้สํารวมอินทรีย์ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เพื่อไม่ให้ตกเป๐นเหยื่อ ของยักษ์ คอื กเิ ลสตณั หาอนั นําสัตวไ์ ปส่กู ารเวยี นว่ายตายเกิดในภพน้อยภพใหญ่ เพราะผู้ ถูกตณั หาครอบงําแล้ว ยอ่ มถูกกระแสแห่งตณั หาน้ันพัดพาไปตามใจชอบ ๔.๓ ทตุ ยิ อาหุ ตกฺกิกา: ชาดกเรื่องนม้ี องความรู้เชิงตรรกะเป๐นเสมือน ทางสองแพร่ง เหตเุ พราะยังมผี ดิ -มีถกู อยู่ ความรู้ชนิดนี้ จึงเป๐นความรู้ท่ียังไม่สามารถนํา สตั ว์ออกจากทุกข์ทง้ั ปวงได้ เรอ่ื งที่ ๒ วณั ณปุ ถชาดก [๑] สันติเกนทิ าน ๑.๑ สถานทีป่ รารภชาดก : เชตวนั มหาวิหาร เมืองสาวตั ถี ๑.๒ นทิ าน : ปรารภภกิ ษุรปู หนึ่งเรียนกมั มัฏฐานจากสํานักพระศาสดา แล้ว ปลกี วิเวกทําความเพยี รตลอดพรรษา แต่ไม่สามารถยังคุณวิเศษให้เกิดขึ้นได้ จึงเกิด ความท้อถอย และปรารถนาจะลาสิกขา เพ่ือน ๆ จึงนาํ ตัวไปถวายพระศาสดา และกราบ ทูลเรื่องราวให้ทรงทราบ พระพุทธเจ้าทรงให้กําลังใจด้วยการยกเรื่องราวในอดีตมา กระตุ้นเตือน ว่า ครั้งก่อนโน้น ได้อาศัยความเพียรของเธอเพียงคนเดียว ทุกคนจึงถึง ความสวัสดี ไฉนเวลานี้จงึ มาทิง้ ความเพยี รพยายามเล่า [๒] ทเู รนทิ าน ๒.๑ สถานท่ีปรารภเหตุ : รัชสมัยของพระเจ้าพรหมทัต ครองเมือง พาราณสี แคว้นกาสี ๒.๒ นิทาน : พระโพธสิ ัตวเ์ ป๐นพอ่ คา้ บรรทุกสินค้าไปขายต่างเมือง ซ่ึง ตอ้ งเดนิ ทางผา่ นทะเลทรายระยะทาง ๖๐ โยชน์ [๑ โยชน์= ๑๖ กิโลเมตร] เมื่อใกล้ ออกจากทะเลทราย พระโพธิสัตว์จึงสั่งให้เทน้ําท้ิง เพ่ือให้เกวียนเบาขึ้น แต่ระหว่าง น้ัน คนนําทางเกิดอ่อนเพลีย และหลับไป ทําให้หลงทาง วนกลับไปกลับมาใน ทะเลทรายไมส่ ามารถออกไปได้ เมอื่ น้ําหมด จึงได้รับความลําบากอยา่ งหนัก พระโพธสิ ัตว์ จงึ ใช้อุบายค้นหาแหล่งน้ําในทะเลทราย ครั้นพบกอหญ้า จงึ ให้คนงานของตนขดุ ลงไปด้วยหวังจะพบตานา้ํ ครัน้ ขดุ ลึกไปประมาณ ๖๐ ศอก ก็ ยังไม่พบตานา้ํ ซาํ้ ยังพบกับกอ้ นหนิ ใหญอ่ กี ทาํ ให้คนขุดเกิดความท้อแท้ และล้มเลิก ความต้งั ใจ พระโพธิสตั ว์จงึ ลงไปก้นบอ่ แนบหูฟ๎งเสียง ก็มั่นใจว่าต้องมีตานํ้าใต้ก้อน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook