Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

Published by panyawat_mcu_br, 2022-03-20 05:00:53

Description: ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

๕๐๐ ๗] ลกั ขณสงั ยุต ประกอบด้วย ปฐมวรรค ๑๐ พระสูตร ทุติยวรรค ๑๑ พระสูตร ๘] โอป๎มมสงั ยตุ ประกอบดว้ ย ๑๒ พระสตู ร ๙] ภกิ ขุสังยตุ ประกอบด้วย ๑๒ พระสตู ร ๑๐] ขนั ธวารวรรค ประกอบด้วย ขันธสังยุต ๑๑ พระสูตร อนิจจวรรค ๑๐ พระสูตร ภารวรรค ๑๑ พระสูตร นตุมหากวรรค ๑๐ พระสูตร อัตตทีปวรรค ๑๐ พระสตู ร ต่อด้วยมัชฌมิ ปณ๎ ณาสก์ ประกอบด้วย อุปยวรรค ๑๐ พระสูตร, อรหันตวรรค ๑๐ พระสตู ร, ขชั ชนยี วรรค ๑๐ พระสูตร, เถรวรรค ๑๐ พระสูตร, ปุปผวรรค ๑๐ พระ สตู ร ๑๑] อปุ ริปณ๎ ณาสก์ ประกอบด้วย อันตวรรค ๑๐ พระสูตร, ธัมมิกถิก วรรค ๑๓ พระสูตร, อวิชชาวรรค ๑๐ พระสูตร, กุกกุฬวรรค ๑๔ พระสูตร, ทิฏฐิวรรค ๑๐ พระสูตร ๑๒] ราธสังยตุ ประกอบด้วย ปฐมวรรค ๑๐ พระสูตร, ทุติยวรรค ๑๑ พระสตู ร ๑๓] ทิฏฐิสังยุต ประกอบด้วย โสตาป๎ตติวรรค ๑๘ พระสูตร, ทุติยคม นาทิวัณณนา ๒ ๑๔] โอกกนั ตสังยุต ๑๕] สารปี ตุ ตสังยตุ ๑๖] นาคสงั ยุต ๑๗] ฌานสงั ยตุ ภาค ๓ พรรณนาความในสฬาตนสังยุต เวทนาสังยุต มาตุคามสังยุต ชุมพุ ขาทกสงั ยุต สามณั ฑกสงั ยตุ โมคคัลลานสังยุต จิตตสงั ยุต คามณิสังยุต อสังขตสังยุต อัพ ยากตสังยุต, มัคคสังยุต, โพชงคสังยุต, สติป๎ฏฐานสังยุต, อินทริยสังยุต, สัมมัปปธานสัง ยุต, พลสังยุต, อิทธิปาทสังยุต, อนุรุทธสังยุต, อานาปานสังยุต, โสตาป๎ตติสังยุต, และ สจั จสังยุต สาระสาคัญจากคัมภีร์สารตั ถปกาสินี [๑] คุณสมบัติของบัณฑติ ประการ คอื ๓๙๖ ๑] เปน๐ ผูฉ้ ลาดในธาตุ ๒] เปน๐ ผฉู้ ลาดในอายตนะ ๓๙๖ ส.สฬา.อ. [ไทย] ๓/๑๑๖/๕๖

๕๐๑ ๓] เป๐นผฉู้ ลาดในป๎จจยาการ ๔] เป๐นผฉู้ ลาดในเหตแุ ละมิใช่เหตุ [๒] อสรพษิ ๔ จาพวก ไดแ้ ก่๓๙๗ ๑] งูปากไม้ เม่ือถูกชนิดน้ีกัด ทั้งร่างกายจะแข็งเหมือนไม้แห้ง ข้อต่อ ต่างๆ ในร่างกาย จะแข็งหมดท้ังตัว เหมือนถูกเสียบไว้บนหลาวเหล็ก เพราะเมื่อถูกกัด แลว้ จะทําใหป้ ฐวีธาตุกาํ เริบ ๒] งูปากเน่า เมื่อถูกงูชนิดน้ีกัด จะมีนํ้าหนองไหลเยิ้มอยู่เหมือนขนุน สุก เนา่ เป๐นดังนํา้ ท่ีเขาใสไ่ ว้ในหม้อเกรอะ เพราะเมอื่ ถกู กัดแลว้ จะทาํ ให้อาโปธาตุกําเริบ ๓] งูปากไฟ ท่ัวเรือนร่างของคนที่ถูกงูปากไฟกัด จะไหม้กระจายไป เหมอื นกาํ ขี้เถา้ และเป๐นเหมือนกําแกลบ เพราะเม่อื ถกู กัดแล้วจะทาํ ให้เตโชธาตุกําเรบิ ๔] งูปากศาสตรา ท่ัวเรือนร่างของคนที่ถูกงูศาสตรากัด จะขาดเป๐น ช่องเหมือนสถานทฟ่ี าู ผา่ เหมอื นปากต่อท่ีเร่อื นทถ่ี ูกสว่านใหญเ่ จาะ เพราะเม่ือถูกกัดแล้ว จะทําให้วาโยธาตกุ าํ เรบิ [๓] ลักษณะการนอน ๔ ประการ ไดแ้ ก่๓๙๘ ๑] การนอนของผูบ้ รโิ ภคกาม ผู้บรโิ ภคกามโดยมาก นอนตะแคงซ้าย ๒] การนอนของเปรต โดยมากเปรตยอ่ มนอนหงาย ๓] การนอนของสีหะ โดยมาก สีหมฤคราช นอนตะแคงขวา วางเท้า หน้าทัง้ ๒ ไวข้ า้ งหนึ่ง เทา้ หลงั ทั้ง ๒ ไว้ขา้ งหนง่ึ สอดหางเขา้ ไปตามหว่างขา กําหนดที่ตั้ง ของเท้าหน้า เท้าหลัง และหาง วางศีรษะเหนือเท้าทั้งหน้าทั้ง ๒ แม้นอนท้ังวันเมื่อต่ืนก็ ไม่สะดงุ้ ตนื่ ชะเง้อศรี ษะกาํ หนดโอกาสทเ่ี ท้าหน้าเป๐นต้นตง้ั อยู่ หากมีอะไรละเคล่ือนไป ก็ เสียใจว่า ไมเ่ หมาะสม ไมส่ มควรแกช่ าตมฤค กจ็ ะนอนต่อ ไม่ยอมออกหาเหยื่อ แต่เม่ือไม่ ละ คงที่ จึงร่าเรงิ ยินดี ลกุ ข้ึนสะบัดกาย สะบัดสร้อยคอ แผดสีนาท ๓ คร้ังแล้วค่อยออก หาเหยอื่ ๔] การนอนของพระตถาคต เท้าซ้ายทับเท้าขวา เหล่ือมกันเล็กน้อย กําหนดสตเิ ข้าสู่จตุตถฌาน น้ีทา่ นเรียกว่า การนอนของพระตถาคต [๔] ว่าด้วยอาหารของโพชฌงค์ หรือองคค์ ุณทีท่ ําห้โพชฌงคเ์ จรญิ ๓๙๙ ๓๙๗ ส.สฬา.อ. [ไทย] ๓/๒๓๘/๘๗. ๓๙๘ ส.สฬา.อ. [ไทย] ๓/๒๓๙/๑๑๒.

๕๐๒ ๑] ธรรม ๔ ประการ ทเี่ ปน๐ ไปเพ่อื ความเกิดขึ้นแห่งสติสัมโพชฌงค์ คือ สติสัมปชัญญะ, การหลีกเว้นจากคนมีสติหลงลืม, การคบคนมีสติตั้งมั่น, และ ๔ ความ น้อมจิตไปในธรรมนั้น ๒] ธรรม ๗ ประการ ท่ีเป๐นไปเพ่ือความเกิดขึ้นแห่งธัมม วิจยสัมโพชฌงค์ คือ ความเป๐นผู้ไต่ถาม, การทําวัตถุให้สละสลวย, การปรับอินทรีย์ให้ เสมอกนั , การเหลีกเว้นบคุ คลทรามปญ๎ ญา, การคบหาคนมีป๎ญญา, การพิจารณาปาฐะที่ ต้องใชป้ ๎ญญาอันลกึ ล้าํ , และการน้อมจิตไปในธัมมวิจยะนัน้ ๓] ธรรม ๑๑ ประการ ท่ีเป๐นไปเพื่อความเกิดข้ึนแห่งวิริยสัมโพชฌงค์ คือ ความพิจารณาเห็นภัยในอบาย, ความเป๐นผู้มีปกติเห็นอานิสงส์, การพิจารณาเห็น ทางดําเนิน, ความเคารพในการเท่ียวบิณฑบาต, การพิจารณาเห็นความเป๐นใหญ่แห่ง มรดก, การพิจารณาเห็นความเป๐นใหญ่แห่งศาสดา, การพิจารณาเห็นความเป๐นใหญ่ แหง่ ชาติ, การพจิ ารณาเห็นความเป๐นใหญ่แห่งสพรหมจารี, การเลียงเว้นจากบุคคลเกียจ คร้าน, การคบหาบุคคลผู้ปรารภความเพยี ร, และการนอ้ มใจไปในวิริยะน้ัน ๔] ธรรม ๔ ประการ ท่เี ปน๐ ไปเพือ่ ความเกดิ ข้ึนแห่งปีติสัมโพชฌงค์ คือ การระลึกถึงพระพุทธคุณ, การระลึกถึงพระธรรมคุณ, การระลึกถึงพระสังฆคุณ, การ ระลกึ ถึงศลี , การระลึกถงึ การบรจิ าค, การระลกึ ถึงเทวดา, การระลึกถงึ พระนพิ พาน, การ ละเว้นคนเศร้าหมอง, การคบหาคนผ่องใส, การพิจารณาควาแห่งพระสูตรอันชวน เลอื่ มใส, และการนอ้ มใจไปในปีตินั้น ๕] ธรรม ๗ ประการ ทเ่ี ป๐นไปเพือ่ ความเกดิ ขึน้ แหง่ ปส๎ สทั ธสิ ัมโพชฌงค์ คือ การเสพโภชนะอนั ประณีต, เสพฤดูท่ีเป๐นสุข, เสพอิริยาบถท่ีเป๐นสุข, ประกอบความ เพียรปานกลาง, หลีกเว้นบุคคลผู้มีกายกระสับกระส่าย, คบหาบุคคลผู้มีกายสงบ, และ นอ้ มจติ ไปในป๎สสทั ธิน้ัน ๖] ธรรม ๑๐ ประการ ท่เี ปน๐ ไปเพือ่ ความเกิดข้นึ แห่งสมาธิสัมโพชฌงค์ คอื การทาํ วตั ถุใหส้ ละสลวย, การปรับอินทรีย์ให้เสมอกัน, ความฉลาดในนิมิต, การยกจิต ในสมยั , การขม่ จติ ในสมัย, การทาํ จติ ให้ร่าเริงในสมัย, การเพ่งจิตอยู่เฉยๆ ในสมัย, หลีก เว้นบุคคลผ้มู ีจิตไมเ่ ป๐นสมาธิ, คบหาบุคคลผมู้ จี ติ เป๐นสมาธ,ิ และน้อมจติ ไปในสมาธนิ ้นั ๗] ธรรม ๕ ประการ ท่ีเป๐นไปเพื่อความเกิดขึ้นแห่งอุเบกขาสัม โพชฌงค์ คอื การวางเฉยในสัตว,์ การวางเฉยในสังขาร, การเว้นบุคคลผู้พัวพันอยู่ในสัตว์ ๓๙๙ ส.สฬา.อ. [ไทย] ๓/๒๓๒/๒๙๖.

๕๐๓ และสังขาร, การคบหาบุคคลผู้วางเฉยในสัตว์และสังขาร, และการน้อมจิตไปในอุเบกขา นั้น [๕] หลกั การและวธิ กี ารแหง่ สกิ ขาบท ในคมั ภีรพ์ รรณนาถึงอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ ในทนี่ ี้ คดั มาเป๐นตวั อย่างเฉพาะในส่วนทเี่ ปน๐ ศีล ๕ เบื้องตน้ ๔๐๐ ๑] ปาณาติบาต การทําสัตว์มีชีวิตให้ตกล่วง การฆ่าสัตว์มีชีวิต การ ทําลายสัตว์มีชีวิต โดยโวหารได้แก่สัตว์ โดยปรมัตถ์ได้แก่ชีวิตินทรีย์ มีองค์ประกอบ ๕ ประการ ไดแ้ ก่ สัตว์มีชีวิต, รู้ว่าสัตว์มีชีวิต, จิตคิดจะฆ่า, มีความพยายาม, และสัตว์ตาย เพราะความพยายามน้นั โดยวิธกี ารอยา่ งใดอยา่ งหน่งึ ตอ่ ไปน้ี - ฆ่าเอง - ส่งั ให้คนอื่นฆา่ - ฆา่ ด้วยเครื่องมือที่ปลอ่ ยออกไป - ฆ่าด้วยเครอื่ งมือที่อยู่กบั ท่ี - ฆา่ ด้วยอาํ นาจวชิ ชา - ฆา่ ด้วยฤทธ์ิ ๒] อทินนาทาน การลักส่ิงของผู้อื่นด้วยกิริยาของโจร มีองค์ประกอบ ๕ ประการ ได้แก่ ของท่ีเขาหวงแหน, รู้ว่าของนั้นเขาหวงแหน, จิตคิดจะลัก, มีความ พยายาม, และได้ของมาดว้ ยความพยายามน้นั ทงั้ นี้ โดยวิธีการอย่างใดอย่างหน่ึงต่อไปนี้ - ขโมย - กรรโชก - ปดิ ซอ่ น - กําหนดสิง่ ของหรอื เวลา - สับเปลยี่ น ๓] กาเมสุมิจฉาจาร เจตนาที่ล่วงเกินฐานะที่ไม่พึงถึงอันเป๐นไปทาง กายทวารดว้ ยความประสงค์จะเสพอสัทธรรม มีองค์ประกอบ ๕ ประการ ได้แก่ หญิงที่ ไม่พึงถึง, จิตคิดจะเสพในหญิงนั้น, มีความพยายามในการเสพ, และการยังมรรคให้ถึง มรรคแล้วหยดุ อยู่ มีวธิ ีการอย่างเดียวเทา่ นน้ั คอื ทําดว้ ยตวั เอง [สาหัตถิกประโยค] หญิงที่ไม่พึงถงึ /ลว่ งละเมิด ๒๐ จําพวก ดงั ต่อไปน้ี - หญงิ ทมี่ ารดารกั ษา ๔๐๐ ส.สฬา.อ. [ไทย] ๒/๑๐๙-๑๑๑/๒๑๓-๒๒๕

๕๐๔ - หญงิ ทบ่ี ดิ ารักษา - หญงิ ทม่ี ารดาและบดิ ารกั ษา - หญงิ ที่พ่ีนอ้ งชายรักษา - หญิงที่พีน่ อ้ งหญิงรกั ษา - หญิงที่ญาตริ กั ษา - หญงิ ทีโ่ คตรรกั ษา - หญิงทธ่ี รรมรกั ษา - หญิงทม่ี ีการอารักขา - หญิงทม่ี ีอาชญารอบดา้ น - หญิงที่เขาซอ้ื มาดว้ ยทรพั ย์ - หญิงทอ่ี ยู่ร่วมดว้ ยความพอใจ - หญงิ ทอ่ี ยู่ร่วมเพราะโภคะ - หญงิ ทีอ่ ยู่ร่วมเพราะเครื่องนงุ่ หม่ - หญงิ ที่ผู้ปกครองเต็มใจยกให้ - หญงิ ทช่ี ายยกเทริดลงจากศรี ษะ - หญงิ ที่เป๐นทั้งภรรยาและทาสี - หญงิ ทเ่ี ปน๐ ทงั้ ภรรยาและลกู จา้ ง - หญิงทเ่ี ป๐นเชลยศึก - หญงิ ที่อยดู่ ว้ ยกันเพยี งครู่เดียว ๔] มสุ าวาท เจตนของบคุ คลผมู้ ุ่งหวังจะกล่าวใหค้ ลาดเคลือ่ นจากความ เป๐นจริง มีสมุฏฐาน ๒ ประการคือ กายประโยค และวจีประโยค มีองค์ประกอบ ๔ ประการ คือ เร่ืองไม่จรงิ , มีจิตคิดจะกล่าวให้คลาดเคล่ือน, มีความพยายามท่ีเกิดจากจิต นั้น, การทาํ ใหผ้ ู้อื่นเข้าใจเนอื้ ความน้นั มุสาวาทนนั้ มปี ระโยคเดยี วคือ สาหัตถิกประโยค ๕] สุราเมรยปานะ เจตนาของบุคคลผู้ มีองค์ประกอบ ๕ ประการ ได้แก่ นา้ํ เมา, จิตคดิ จะดื่ม, มีความพยายาม, และน้ําเมาล่วงลาํ คอไป สตุ ตสังคหะ, คัมภรี ์

๕๐๕ สุตตสังคหะ๔๐๑ รจนาโดยพระอริยวังสะ หรือฉายาเต็มของท่านคือ สมันต ปาสาทิกมหาอรยิ วงั สะ เปน๐ ชาวพมา่ สันนษิ ฐานว่า ท่านเกิดประมาณ พ.ศ.๑๙๗๑ เป๐น คัมภีร์ที่รวบรมพระสูตรท่ีอยู่ในนิกายต่างๆ มาไว้เป๐นกลุ่มเดียวกัน โดยจัดเรียงเป๐น หมวดหมู่ ๗ หมวดหมู่ รวม ๘๕ พระสตู ร ซ่ึงพระสูตรเหล่าน้ี ล้วนเป๐นพระสูตรท่ีปรากฏ ในพระไตรปิฎก แตร่ วบรวมไว้เปน๐ ง่ายตอ่ การอธิบาย และทําความเข้าใจ ประกอบด้วย ไปดว้ ย ๑. พรรณนาเร่ืองทาน ๖ สูตร ประกอบดว้ ยกาลทานสูตร, สุมนสูตร, สัปปุ ริทานสตู ร, เวลามสูตร, ทักขิณาวิภังคสูตร, และจุฬกัมมวิภังคสูตร ซึ่งท้ังหมดน้ีอยู่ในอัง คตุ ตรนกิ าย ปญ๎ จกนบิ าต, นวกนบิ าต และมชั ฌมิ นิกาย อุปรปิ ณ๎ ณาสก์ ตามลาํ ดบั ๒. พรรณนาเร่ืองศีล ๖ สูตร ประกอบด้วยมหานามสูตร, อุปาสกจัณฑาล สตู ร, อปุ าสกรตนสตู ร, วานิชชสูตร, วิสาขุโปสถสูตร, และสิงคาลกสูตร พระสูตรเหล่าน้ี ปรากฏอยู่ในสงั ยตุ ตนกิ ายา มหาวรรค, องั คตุ ตรนิกายา ปญ๎ จกนิบาต, อังคุตตรนิกาย จตุ กกนิบาต, องั คตุ ตรนิกาย อฏั ฐกนบิ าต, และทฆี นิกาย ปาฏิกวรรค ตามลาํ ดบั ๓. พรรณนาเร่ืองสวรรค์ ๕ สูตร ประกอบด้วยธัมมหทยวิภังคสูตร, ฉัตต มาณวกวิมาน, เรวตีวิมาน, คุตติลวิมาน, และอเนกวัณณวิมาน ปรากฏอยู่ในวิภังค์ แห่ง อภิธรรมปฎิ ก, และขทุ ทกนิกาย วิมานวัตถตุ ามลําดับ ๔. พรรณนาเรื่องโทษของกาม ๕ สูตร ประกอบด้วยเทวทูตสูตร, มหา ทุกขักขนั ธสูตร, อัฏฐิปุญชรสตู ร, ปาเวยยกสูตร, และสูกรโปติกาวตั ถุ ปรากฏอยู่ในมัชฌิม นกิ าย มูลปณ๎ ณาสก์, ขทุ ทกนิกาย อติ วิ ุตตกะ, สังยุตตนิกาย นิทานทานวรรค, และขุททก นกิ าย ธรรมบท ๕.พรรณนาเรื่องกิจของฆราวาส ๓๑ สูตร ประกอบด้วย ปราภวสูตร, อัคคัปปสาทสูตร, สพรหมกสูตร, นิรยัปป๎ตติสูตร, ปสันนจิตตสูตร, เทวาวจนสูตร, ป๎ฏ ฐานสูตร, มาปญุ ญภายสิ ูตร, อภุ ยัตถสตู ร, ปฐมสตลุ ลปกายิกสูตร, ทุติยสตุลลปกายิกสูตร , อาทติ ตสูตร, ยาวชราสูตร, ปวาสิมิตตสูตร, มุจจุนาพภาหตสูตร, สัทธีธวิตตสูตร, รูปาชี รณสตู ร, ปาเถยยสตู ร, ธรรมรถสูตร, นอุญญาตตัพพสูตร, ชรามรณสูตร, อัตตัปปิยสูตร, ปมาทสูตร, อัปปมาทสูตร, อปุตตกสูตร, ตโมตมสูตร, ป๎พพตูปมสูตร, โลกานุวิจรณ มหาราชสูตร, สุปุพพัณหสูตร, สัลลสูตร, ปรากฏอยู่ในอังคุตตรนิกาย, ขุททกนิกาย, สัง ยุตตนิกาย, วนิ ัยปฎิ ก จูฬวรรค, ทีฆนกิ าย มหาวรรค ๔๐๑ วิโรจน์ คุ้มครอง, คัมภีร์สุตตสังคหะ: การปริวรรต การแปล และการวิเคราะห์, [สถาบันวจิ ัยพุทธศาสตร์: มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๕๙], ๕๒๔ หนา้ .

๕๐๖ ๖. พรรณนาเรื่องการอนุโมทนา ๑๔ สูตร ปรากฏในนขสิขสูตร, นิธิกัณฑ สูตร, จรมิ าโลปสูตร, พลทานสูตร, ปุญญวัฑฒนสูตร, ป๎ญจัฏฐานทานสูตร, ยาคุทานาโม ทนสตู ร, วัสสการานโุ มทนาสูตร, วิหารทานานุโมทนาสูตร, เวฬุวนทานสูตร, คิหิปฏิปทา สูตร, มหาสมยสูตร, ติโรกุฑฑสูตร, และชาณุสโสณิสูตร ปรากฏในสังยุตตนิกาย ขุททก นกิ าย องั คตุ ตรนกิ าย วนิ ยั ปิฎก จูฬวรรค, และทีฆนกิ าย ๗. พรรณนาเร่ืองข้อปฏิบัติของบรรพชิต ๑๘ สูตร ประกอบด้วยอันธ กวนิ ทสูตร, มหาราหุโลวาทสตู ร, ธัมมวิหารีสตู ร, ราหโุ ลวาทสตู ร, นันทาสูตร, ตุวฏกสูตร, อนตั ตลักขณสตู ร, จฬู ราหโุ ลวาทสตู ร, อัชฌัตติกงั คสตู ร, พาหิรังคสูตร, ปิณฑิยาโลปสูตร, อารทั ธวิรยิ สตู ร, ชาครสูตร, ทุติยเวทนาสูตร, ภิทุรสูตร, ทสธัมมสูตร, อาริญญิกสูตร, ทส พลสูตร ปรากฏในองั คตุ ตรนิกาย, มชั ฌมนกิ าย, ขทุ ทกนิกาย, และสงั ยตุ ตนกิ าย ลักษณะคาประพันธ์ คัมภีร์สุตตสังคหะ แต่งผสม [วิมิสสะ] ท้ังแบบร้อยแก้ว [คัชชะ] และร้อย กรอง [ป๎ชชะ] ทง้ั น้ขี ้นึ อยู่กับลักษณะของพระสูตร กล่าวคือ พระสูตรบางพระสูตรท่ีอ้าง ถึงมที ้งั ร้อยแก้วและรอ้ ยกรอง บางพระสูตรร้อยกรองลว้ นก็มี, บางพระสูตรเป๐นร้อยแก้ว ลว้ นกม็ ี ในส่วนท่ีเป๐นร้อยกรองมีฉันทลักษณ์หลายลักษณะ หลักๆ ประกอบด้วย ป๎ฐยาวัตคาถา, อินทรวเิ ชยี รคาถา, และอินทรวงศ์ฉนั ท์ สโุ พธาลังการ,คัมภีร์ คัมภร์สุโพธาลังการ๔๐๒ รจนาโดยพระสังฆรักขิตมหาสามีเถระ แห่งลังกา เป๐นวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาภาษาบาลีอีกคัมภีร์หน่ึงที่แต่งเป๐นแบบร้อยกรอง ล้วน รวมท้งั หมด ๓๖๗ คาถา ประพนั ธ์ในรปู ฉนั ทลกั ษณ์ต่างๆ หลากหลาย และสลับกัน ไปอย่างสละสลวย และถือวา่ เป๐นคมั ภรี ท์ ่ที รงคณุ ค่าทางด้านการศึกษาพระพุทธศาสนาที่ สําคัญอีกคัมภีร์หนึ่ง เฉพาะอย่างยิ่ง เป๐นแม่บทของการประพันธ์งานวรรณกรรมอย่าง ครบเครอ่ื ง ไมว่ า่ จะในแงส่ ัททาลงั การ และอตั ถาลงั การ เน้อื หาคัมภีรแ์ บ่งออกเปน๐ ๕ ปรจิ เฉท และมีเนอื้ หาดังนี้ ปริจเฉทที่ ๑ ว่าด้วย โทสาวโพธะ แสดงข้อบกพร่องของงานประพันธ์ ประกอบดว้ ย ๖๗ คาถา คอื นับตั้งแต่ คาถาที่ ๑-๖๗ ตวั อยา่ ง ๔๐๒ สฆํ รกขฺ ติ มหาสามิตเฺ ถร, สโุ พธาลงกฺ าโร, ฉบบั วดั เขาสนามชยั

๕๐๗ ๑. มุนนิ ฺทวทนมโฺ ภช- คพภฺ สมภฺ วสนุ ฺทรี สรณํ ปาณินํ วาณี มยฺหํ ปีณยตํ มนํ. ๒. รามสมมฺ าทฺยลงกฺ ารา สนตฺ ิ สนฺโต ปรุ าตนา ตถาปิ ตุ วฬญฺเชนตฺ ิ สทุ ฺธมาคธกิ า น เต. ๖๖. ทฏุ ฺฐาลงกฺ รณํ เตตํ ยตถฺ าลงกฺ ารทูสนํ ตสสฺ าลงการนทิ เฺ ทเส รูป’มาวิ ภวิสสฺ ตฯิ ๖๗. กโตตรฺ สงเฺ ขปนยา มยายํ โทสานเมสํ ปวโร วภิ าโค เอโสวลํ โพธยตํิ ุ กวีนํ ตมตฺถิ เจ เขทกรํ ปรมฺปิ. แปล ขอพระสทั ธรรมอนั งามบังเกดิ ข้นึ ในหอ้ งแหง่ บงกชคอื พระโอษฐ์ของพระจอมมนุ ี ซ่งึ เป็นทพี่ งึ่ ของปราณชาติทงั้ หลาย จงยงั ใจของขา้ พ เจใ้ หเ้ อิบอม่ิ [๑] คัมภรี ์อลังการท่ดี ีงามมรี ามสัมมะเปน็ ต้น แม้จะมีอยู่กอ่ น ถงึ กระน้ัน ผู้รภู้ าษามคธอย่างเดยี ว ไมอ่ าจใช้สอยคัมภีร์เหล่าน้นั ได้ [๒] ๔๐๓ สว่ นการเสียอลังการมีอยู่ในพากย์ใด พากย์นั้นเป็นทุฏฐาสังกติโทษ อุทาหรณ์ของโทษดังกล่าว จักปรากกในนิเทศแห่งอลังการ [๖๖] การจําแนก อนั สําคญั แห่งโทษเหลา่ นี้ ข้าพเจา้ เรยี บเรียงไวโ้ ดยนัยสงั เขป หากยังมีโทษอ่ืนท่ี กระทําความลําบากอยู่อีก การจําแนกน้ี ก็พอที่จะยังเหล่ากวีให้เข้าใจได้ดีเป็น แน่ [๖๗] ๔๐๔ ปริจเฉทที่ ๒ ว่าด้วยโทสปริหาราวโพธะ แสดงการแก้ไขข้อบกพร่องของ การประพนั ธ์ประกอบด้วย ๔๘ คาถา คือ นับตัง้ แต่คาถาท่ี ๖๘-๑๑๕ ตวั อยา่ ง ๖๘. กทาจิ กวโิ กสลลฺ า วิโรโธ สกโล ปฺยยํ โทสสงฺขยฺ มตกิ ฺกมมฺ คณุ วีถึ วิคาหเต. ๖๙. เตน วตุ ตฺ วโิ รธาน- มวิโรโธ ยถา สยิ า ตถา โทสปริหารา- วโพโธ ทานิ นียเต. ๑๑๕. โทเส ปรหี ริตุเมส วโรปเทโส สตฺถนฺตรานุสรเณน กโต มเยวํ วญิ ญฺ ายิมํ ครุ วุ รานธกิ ปฺปสาทา ๔๐๓ พระคันธสาราภิวงศ์ แปลและอธิบาย, สุโพธาลังการมัญชี, [กรุงเทพฯ: หจก.ไทย รายวันการพมิ พ,์ ๒๕๔๖], หน้า ๑. ๔๐๔ พระคนั ธสาราภวิ งศ์ แปลและอธบิ าย, สุโพธาลงั การมัญชี, หน้า ๑๐๗.

๕๐๘ โทเส ปรํ ปริหเรยฺย ยโสภลิ าสี. แปล โทษท้ังหมดน้ีล่วงพ้นการนับว่าเป็นโทษ ย่อมหยั่งลงสู่ วิถแี ห่งคุณดว้ ยความฉลาดของกวไี ดใ้ นบางคราว [๖๘] ดังนั้น ความไม่ผิดของ โทษท่ีกล่าวมาแล้ว จะมีได้โดยประการใด ข้าพเจ้าจะกล่าวถึงปริจเฉทท่ีแสดง การแกไ้ ขโทษโดยประการนั้นไว้ ณ บัดน้ี [๖๙] ๔๐๕ คําแนะนําอันดีเพื่อแก้ไขข้อท่ีเป็นโทษทั้งหลายนี้ ข้าพเจ้ากล่าวแล้ว อย่างนี้ โดยคล้อยตามคัมภีร์อื่น เหล่ากวีผู้มุ่งเกียรติยศทราบคําแนะนําน้ีด้วย การอุปการะของครูผู้ประเสริฐแล้ว พึงแก้ไขข้อบกพร่องท้ังหลายให้หมดไป [๑๑๕] ๔๐๖ ปริจเฉทที่ ๓ ว่าด้วยคุณาวโพธะ แสดงสัททาลังการะของบทประพันธ์ ประกอบดว้ ย ๔๘ คาถา คอื นบั ต้ังแตค่ าถาที่ ๑๑๖-๑๖๓ ตัวอยา่ ง ๑๑๖. สมภฺ วนฺติ คณุ า ยสฺมา โทสาเนวมตกิ กฺ เม ทสเฺ สสสฺ ํ เต ตโต ทานิ สทเฺ ท สมฺภูสยนฺติ เย. ๑๑๗. ปสาโทโชมธุรตา สมตาสขุ มุ าลตา สิเลโสทารตา กนตฺ ิ อตฺถพยฺ ตตฺ สิ มาธโย. ๑๖๓. โย สททฺ สตฺถกุสโล กสุ โล นิฆนฑฺ -ุ ฉนโฺ ทอลงฺกติสุ นจิ จฺ กตาภิโยโค โสยํ กวติ ฺตวิกโลปิ กวสี ุ สงขฺ ยฺ - โมคฺคยฺห วนิ ฺทติ หิ กติ ตฺ มิ มนทฺ รปู ํ. แปล ในเม่ือผ่านพ้นบรรดาโทษเสียได้เช่นน้ี สัททาลังการ ย่อมเกิดขึ้น ดังน้ัน ข้าพเจ้าจะแสดงสัททาลังการท่ีตกแต่งเสียงเหล่าน้ัน ณ บัดนี้ [๑๑๖] สัททาลังการมี ๑๐ อย่าง คือ ปสาทคุณ โอชคุณ มธุรตาคุณ สมตาคณุ สขุ ุมาลตาคุณ สิเลสคุณ อทุ ารตาคุณ กันติคณุ อัตถพยัตติคุณ และ สมาธคิ ณุ [๑๑๗] ๔๐๗ ๔๐๕ พระคันธสาราภวิ งศ์ แปลและอธบิ าย, สุโพธาลงั การมญั ชี, หนา้ ๑๑๗. ๔๐๖ พระคันธสาราภิวงศ์ แปลและอธิบาย, สุโพธาลงั การมญั ชี, หน้า ๑๙๖. ๔๐๗ พระคนั ธสาราภิวงศ์ แปลและอธบิ าย, สุโพธาลังการมญั ชี, หนา้ ๒๓๑.

๕๐๙ ชนผู้ฉลาดในคัมภีร์ไวยากรณ์ ฉลาดในนิฆัณฑุศาสตร์ ฉันทศาสตร์ และ อลงั การศาสตร์ กระทําความเพยี รเป๐นนจิ ศีล แม้เขาจะบกพรอ่ งจากความเป๐นกวี ก็หยั่งสู่ ความนับในหมกู่ วี ย่อมจะไดร้ บั เกยี รติคุณหาน้อยไม่ [๑๖๓] ๔๐๘ ปริจเฉทที่ ๔ ว่าด้วยอัตถาลังการาวโพธะ แสดงอัตถาลังการของบท ประพันธ์ ประกอบด้วย ๑๗๔ คาถา คอื นับต้ังแตค่ าถาที่ ๑๖๔-๓๓๗ ตัวอย่าง ๑๖๔. อตถฺ าลงกฺ ารสหติ า สคณุ า พนฺธปทฺธติ ยโต อจจฺ นฺตกนตฺ าว วจุ จฺ นเฺ ต เต ตโตธนุ า. ๑๖๕. สภาววงกฺ วุตฺตีนํ เภทา ทฺวิธา อลกํ รฺ ิยา ปฐมา ตตถฺ วตฺถนู ํ นานาวตถฺ าวภิ าวินี. ๓๓๗. อจิ จฺ านุคมฺม ปุริมาจรยิ านภุ าวํ สงฺเขปโต นคิ ทิโตยมลงกฺ ตนี ํ เภโทปรูปริ กวีหิ วิกปปฺ ยิ านํ โก นาม ปสฺสติ ุมลํ ขลุ ตาสมนตฺ ํ. แปล ลําดับแห่งบทประพันธ์ท่ีเพียบพร้อมด้วยสัททาลังการ กอปรด้วยอัตถาลังกร น่าจะพอใจย่ิง เหมือนสาวงามผู้มีคุณสมบัติกุลสตรี มี ทรัพย์สนิ และถนิมพิมพาภรณ์ ดังนั้น ข้าพเจ้าจะกล่าวอัตถาลังการเหล่านั้น ณ บัดนี้ [๑๖๔] อลังการมี ๒ ประเภท โดยจําแนกเป็นสภาววุตติ และวังกวุตติ ในอลังการเหลา่ น้ัน อย่างแรกแสดงสภาวะตา่ งๆ ของเนอ้ื เรื่องราว [๑๖๕] ๔๐๙ ประเภทแห่งอตั ถาลงั การทั้งหลายน้ี ข้าพเจ้าอาศัยความสามารถของปุริมา จารย์แล้วกล่าวไว้โดยสังเขปอย่างนี้ ใคร่เล่าอาจเห็นที่สุดของอลังการเหล่านั้นท่ีกวี ทง้ั หลายพึงจาํ แนกไว้ตอ่ ๆ มาโดยแท้ [๓๓๗] ๔๑๐ ปริจเฉทที่ ๕ วา่ ดว้ ยรสภาวาวโพธะ แสดงรสและอาการทางใจท่ีก่อให้เกิด รสของงานประพนั ธ์ ประกอบด้วย ๓๐ คาถา คือ นับตงั้ แตค่ าถาท่ี ๓๓๘-๓๖๗ ตวั อย่าง ๓๓๘. ปฏิภานวตา โลก โวหารมนุสารนิ า ตโตจติ ยฺ สมลุ ฺลาส เวทนิ า กวินา ปรํ. ๓๓๙. ฐายีสมพฺ นธฺ ิโน ภาว - วิภาวา สานภุ าวกา ๔๐๘ พระคนั ธสาราภวิ งศ์ แปลและอธิบาย, สโุ พธาลังการมัญชี, หน้า ๓๓๗. ๔๐๙ พระคันธสาราภิวงศ์ แปลและอธิบาย, สุโพธาลงั การมัญชี, หนา้ ๓๔๓. ๔๑๐ พระคันธสาราภิวงศ์ แปลและอธบิ าย, สโุ พธาลังการมญั ชี, หน้า ๖๖๒.

๕๑๐ สมฺปชชฺ นฺติ นิพนธฺ า เต รสสสฺ าทาย สาธนุ ํ. ๓๖๗. ฐายีภาโว สโม เมตฺตา- ทยาโมทาทิสมฺภโว ภาวาทีหิ ตทุกฺกโํ ส สนโฺ ต สนฺตนเิ สวิโต. แปล ภาวะและวิภาวะพร้อมด้วยอนุภาวะท่ีเก่ียวเนื่องกับฐายี ภาวะน้ัน ซี่งแต่งโดยกวีผู้มีปฏิภาณดําเนินตามคําของชาวโลกและเข้าใจความ เหมาะสมชัดเจนเป็นอย่างดียิ่ง ย่อมเป็นไปเพื่อความยินดีอรรถรสแก่สาธุชน [๓๓๘-๒๒๙]๔๑๑ ฐายีภาวะ คือความสงบอันเกิดจากความปรารถนาดี ความสงสาร และความยินดีเป็นต้น เม่ือความยง่ิ ยวดแหง่ ความสงบน้ันด้วยภาวะ [มีพยภิจารี ภาวะ] เป็นตน้ จึงแสดงสันตรสอันสตั บรุ ุษซ่องเสพ [๓๖๗]๔๑๒ ขนบการประพันธใ์ นคัมภีรส์ ุโพธาลงั การ ๑. ข้อบกพร่องของงานประพันธ์ คัมภีร์สุโพธาลังการ แสดง ขอ้ บกพร่องของบทประพันธ์ไว้ ๓ ประเภท ประกอบด้วย ๑.๑ ปทโทษ ข้อบกพร่องในการใช้คํา มี ๘ ประการ ๑] วริ ุทธัตถนั ตระ ใชค้ ํา/ศพั ทท์ ม่ี คี วามหมายอื่นแย้ง กล่าวคือ ส่ือความหมายตรงขา้ มกบั ความตอ้ งการของผพู้ ูด ความจริงผู้พูดต้องการจะพูด ให้ผู้ฟังเข้าใจอย่างหนึ่ง ครั้นพูดออกไปแล้ว ผู้ฟังกลับเข้าใจอีกอย่างหนึ่ง ไม่ ตรงกับท่ีต้องประสงค์ ท้ังนี้เพราะคําที่นํามาพูดมีทางแย้งกันได้กับความหมาย ในทางอ่ืนซ่ึงเด่นกว่า เช่น ตปสฺสี ภวํ โคตโม แปลว่า ท่านพระโคดม ท่าน เป็นคนกําพร้า ตปสฺสี คําน้ี เวรัญชพราหมณ์ใช้ในอรรถตําหนิ คือ คน กาํ พร้า แตป่ รากฏในอรรถชมเชยคอื ผมู้ ตี บะ ๒] อัธยัตถะ ใช้คํา/ศัพท์ท่ีมีความหมายเกิน กล่าวคือเกิน ความเป็นจรงิ ที่ควรจะเป็น ส่งผลให้บทวิเสสนะไม่เหมาะสมกับบทวิเสสยะ เช่น ในตกิ นิบาต ชัมพุขาทกชาดก สุนัขจิ้งจอกเห็นกากินลูกหว้าก็อยากกินบ้าง จึง พูดชมกาในลกั ษณะต่างๆ ฝ่ายกาก็พดู ชมสนุ ขั จงิ้ จอกตอบไปเชน่ เดยี วกนั สุนขั จง้ิ จอก: โกยํ พนิ ฺทุสฺสโร วคฺคุ สรวนตฺ าน’มตุ ตฺ โม อจฺจุโต ชมฺพสุ าขาย โมรจฉฺ าโปว กชู ติฯ แปล ใครนนั่ มเี สยี งไพเราะหยดย้อย ยอดเย่ยี ม จบั อย่ทู ก่ี ่งิ ต้น หวา้ เจรจาดว้ ยสาํ เนยี งอนั น่าพอใจ คลา้ ยลกู นกยงู กา: กลุ ปุตโฺ ต ปชานาติ กลุ ปุตตฺ ํ ปสสํ ิตํฃ ๔๑๑ พระคนั ธสาราภวิ งศ์ แปลและอธิบาย, สโุ พธาลังการมญั ชี, หนา้ ๖๖๓. ๔๑๒ พระคันธสาราภวิ งศ์ แปลและอธบิ าย, สโุ พธาลังการมัญชี, หน้า ๗๕๐.

๕๑๑ พยฺคฆจฺฉาปสรีรวณณฺ - ภญุ ชฺ สมฺม ททามิ เตฯ แปล กุลบุตรรู้จักสรรเสริญกุลบุตรด้วยกัน นี่ท่านผู้มี ผิวพรรณเช่นกับลูกเสือโคร่ง เชิญท่านบริโภคเถิดเพ่ือน เราจะให้ลูกหว้าสุกแก่ ทา่ น ๓] กิลิฏฐะ ใช้คํา/ศัพท์ไม่ชัดเจน ทําให้เข้าใจยาก ต้อง วิเคราะห์นานกว่าจะทราบความหมาย เช่น ประโยคว่า โสยํ วลฺลโภ ตาย ปิ ยา อาลิงฺคฺยเตฯ ตัวอย่าง ปิยา มาจาก ปี ศัพท์ แปลว่า เมีย ลงตติยา วภิ ัตตใิ นอนภหิ ติ กตั ตา บทนีเ้ ข้าใจยาก ไม่ปรากฏรูปธาตุ ปัจจัย มีแต่คําว่า ปิ ยา ที่ลงปฐมาวิภัตติ นอกจากคํา/ศัพท์ไม่ชัดเจนแล้ว การใช้ยมกบางอย่างก็นับเข้าในกิ ลิฏฐะ ๔] วิโรธิ ใชค้ าํ /ศัพทผ์ ิด หรอื ขดั แย้ง มีหลายลกั ษณะ เช่น ผิด เทสะ, ผิดกาล, ผิดทํานอง หรือจังหวะท่ีถูกต้องควรจะเป็น, ผิดปกติท่ีมีอยู่ใน โลก, ผดิ ความเหมาะสมทางโลกหรอื ทางธรรม, และผดิ หลักฐาน ๕] เนยยะ ต้องเพิ่มบทอ่ืนเข้ามาจึงจะทําให้ความหมายชัดเจน หรือพูดไมข่ าดคํา ทําใหข้ อ้ ความไม่สมบูรณ์ เช่น สพฺพาปิ ธวลา ทิสา โรจนฺติ รตฺติยํ [ทศิ ทั้งปวงขาวสว่างในราตรี] ประโยคนี้ความยังไม่เต็ม ฟังแล้วต้องนึก ตอ่ ไปอกี วา่ ทําไมจึงขาว เข้าใจไม่ได้เลย หรือประโยคว่า อตฺถิ นาม ตาต สุ ทินฺน อาภิโทสิกํ ปริภุญฺชิสฺสสิฯ [พ่อสุทิน ทรัพย์ของพวกเรามีอยู่มิใช่หรือ ทําไมพ่อบริโภคข้าวบูด] คําว่า อตฺถิ ในประโยคนี้ เป็นเนยยโทษ เพราะไม่ มกี ัตตา ทําให้ผู้อื่นไม่ทราบว่า ผู้พูดหมายถึงอะไร อรรถกถาจึงเติมคําว่า ธนํ [ทรพั ย์] เข้ามา ๖] วิเสสนาเปกขา มองหาวิเสสนะ หมายความว่า ต้องเพ่ิม บทวิเสสนะเข้ามาช่วยเพื่อให้ความชัดเจน ถ้าไม่มีวิเสสนะก็ไม่ได้ความ เช่น อทุ าหรณว์ า่ ตํ โส ภิญฺโย ปสฺสติ จกขฺ ุนา [เขาจอ้ งดคู นนน้ั ด้วยนยั นต์ า] ความ จริงเมื่อพูดว่า “ดู” ก็บ่งชัดอยู่แล้วว่าเป็นเรื่องนัยน์ตา ไม่จําเป็นต้องใส่คําว่า “นัยน์ตา” ก็ได้ แต่ประโยคนี้ใส่เข้ามาเพื่อต้องการให้มีความหมายพิเศษกว่า ปกติ เช่น จ้องดูด้วยนัยน์ตาแดงเร่ือเพราะความโกรธ เป็นต้น จกฺขุนา ใน ประโยคน้ี จงึ ตอ้ งมวี เิ สสนะ หรือเพิ่มวิเสสนะ เพอื่ ความจะได้สมบูรณ์ แม้ในคํา วา่ ตบดว้ ยฝา่ มือ, ชกดว้ ยหมดั , ถองด้วยศอก, เตะด้วยเท้า เป็นต้น ก็ถือเป็นวิ เสสนาเปกขา ๗] หีนัตถะ ใช้คาํ /ศัพท์ท่ีมีความหมายตํา่ กว่าความเป็นจรงิ ทํา ใหด้ อ้ ยความหมายลง เช่น เม่ือพระอาทิตย์อุทัย ทาํ ให้หง่ิ หอ้ ยสิน้ แสงไป ในที่นี้

๕๑๒ เมอื่ พระอาทิตย์แผดแสงเต็มที่ แทนที่จะมีอํานาจมากมาย เช่น สามารถคลอบ คลุมแสงจันทร์และดวงดาวอื่นๆ ได้ทั้งหมด แต่เพียงทําให้ห่ิงห้อยหมดแสงไป เทา่ น้นั ๘] อนัตถะ ใช้คาํ /ศัพทท์ ี่ไม่มีความหมาย เป็นคําที่ใช้เพียงเพ่ือ ทําบทให้เตม็ ไมม่ คี วามหมายพเิ ศษอันใดออกไป เช่น ปาทปรู ณมตฺตํ ยํ อนตฺถมิติ ตํ มตํ ยทา หิ วนฺเท พทุ ธฺ สสฺ ปาทปงเฺ กรุหมปฺ ิ จฯ คาถาบทนี้ หิ, อปิ และ จ ไม่มีความหมายอะไรเลย ใส่ลงไป เพือ่ ให้ครบบาทในอนุฏฐภุ าฉนั ทซ์ ึ่งมี ๘ พยางค์เท่านัน้ ๑.๒ วากยโทษ ข้อบกพร่องของพากย์ มี ๙ ประการ ๑] เอกัตถะ มีอรรถเดียว หมายถึง การใช้คํา/ศัพท์ที่มี ความหมายเดียวกันในพากยม์ ากกวา่ ๑ ครงั้ [ซ้ํา] เช่น อาภาติ วาริโท วาริ โท อยํ [เมฆท่ีให้น้ํานี้ ย่อมสว่างไสวไปทั่ว] วาริโท ในท่ีน้ีจัดเป็นเอกัตถโทษ เอกัตถโทษ เป็นได้ ๒ ลักษณะคือ ๑] มีศัพท์และอรรถเหมือนกัน ๒] มีศัพท์ ต่างกนั แตอ่ รรถเหมือนกัน ดังตวั อย่าง [๑] สทฺโท อตฺถโต วุตฺตํ ยตถฺ ภยิ ฺโยปิ วจุ จฺ ติ ตเมกตถฺ ํ ยถา’ภาติ วาริโท วารโิ ท อยํ ฯ [๒] ตติ ฺถิยงฺกรุ พชี านิ ชหํ ทฏิ ฐคิ ตานิ’ห ปสาทเติ ปสนฺเน โส มหามุนิ มหาชเน ฯ แปล อีกนัยหนึ่ง เช่น พระมหามุนีพระองค์นั้น ทรง กาํ จดั ทิฏฐิอันเปน็ พชื เพาะหน่อเดยี รถีย์ในโลกนี้ ทรงยังมหาชนผู้เล่ือมใสแล้วให้ เล่ือมใส ๒] ภัคครีติ หักลําดับ กล่าวคือ การเรียบเรียงเรื่องราวต่างๆ ไมเ่ ปน็ ไปตามลําดับ หรือผดิ ลําดับ ทาํ ให้ความลกั ลน่ั ๓] พยากิณณะ สับสน หมายถึงการวางบทไว้สับสน ไม่เป็น ระเบียบเรียบร้อยตามหลักภาษา เช่น วางนามไว้ทางหน่ึง คุณไว้ทางหนึ่ง กรรมไว้ทางหน่งึ กรยิ าไว้ทางหน่ึง ทําให้ผู้อ่านเกิดความสงสัยหรือไม่เข้าใจได้ เชน่ พหุคเุ ณ ปณมติ ทชุ ฺชนานปํ ยฺ ยํ ชโน หิตํ ปมทุ โิ ต นจิ ฺจํ สุคตํ สมนุสสฺ รํ ฯ ประโยคน้ี พหุคุเณ ต้องสัมพันธ์กับ มนุสฺสรํ แต่กลับวางไว้ ขา้ งต้นกริยาว่า ปณมต,ิ ทชุ ชฺ นานํ สัมพันธ์กบั หิตํ กลับมี อยํ ชโน ค่ันกลาง, คาํ ว่า ปมุทโิ ต เปน็ วเิ สสนะของ ชโน กลบั วางต่อเข้ากับ หติ ํ, บทว่า นิจฺจํ เข้า

๕๑๓ กับคําว่า หิตํ กลับวางต่อจาก ปมุทิโต, สุคตํ เป็นกรรมเข้ากับ ปมุทิโต กลับมาวางห่างกันมาก ซ้ํายังใกล้กับ สมนุสฺสรํ อีกด้วย เม่ือดูรูปคาถาแล้ว ก็ ตอ้ งเกดิ ความสบั สน เพอื่ ไมเ่ กิดความสบั สน คาถาน้ี อาจเขยี นใหม่ดังนี้ พหคุ เุ ณ สรนโฺ ตยํ ชโิ น ตฏุ โฺ ฐ ปโมทิโต สตตฺ ํ ทชุ ฺชนานมปฺ ิ ปณเม สุคตํ หติ ํ ฯ ๔] คามมะ ไม่สุภาพ หมายถึง การใช้คําไม่สละสลวย เป็น ถ้อยคําชาวบ้านใช้กันท่ัวไป เป็นภาษาตลาด มิใช่ถ้อยคําท่ีกลั่นกรองแล้ว เช่น กิน แดก ขี้ เย่ยี ว เปน็ หากใช้คําสุภาพว่า รับประทาน อุจจาระ ปัสสาวะ ก็ พน้ จากคามมโทษ คามมโทษนี้ ไม่ได้หมายถึงคําไม่สุภาพอย่างเดียว แต่ยังหมาย รวมไปถึงพากยท์ ่เี ข้าใจยาก เพราะเชื่อมบทไว้ไม่ถูกต้อง การเชื่อมบทก็คือการ เขียนบที่ควรแยกกันเป็น ๒ บทให้ติดกันเป็นบทเดียวกัน หรืออ่านผิดจังหวะ วรรคตอนท่คี วรมีในแต่ละบท ทาํ ใหผ้ ู้อา่ นเข้าใจความหมายผิดจากเดมิ เช่น ยา ภวโต ปิยา [หญิงรกั ของผเู้ สพเมถุน] เดิมคอื ยา ภวโต ปยิ า [หญิงใดเปน็ ทีร่ ัก ของท่าน] ๕] ยติหีนะ เว้นวรรคผิด หมายความว่า ผิดจังหวะหยุดตาม ระเบียบบัญญัติที่กล่าวไว้ในฉันทลักษณ์ เช่น ยติปลายบาท คําในแต่ละบาท ตอ้ งสิ้นสุดที่ปลายบาท ไม่ควรเช่ือสนธิหรือสมาสให้ติดต่อเป็นบทเดียวกัน แม้ เวลาอ่านก็ต้องเว้นระยะหยุดเล็กน้อยในที่สุดของแต่ละบาท ไม่ควรอ่านติดกัน, ยติครึ่งคาถา คือจังหวะหยุดระหว่างบาที่ ๒-๓ เป็นยติท่ีแน่นอน จึงห้ามการ เชื่อมสนธิหรือสมาสในระหว่างบาท, และยติกลางบท คือ ศัพท์ท่ีมีพยางค์ มากกว่า ๒ พยางค์ข้ึนไป จะเขียนให้ครบหมดในบาทเดียวไม่ได้ ยังไม่หมด ศัพท์ กต็ อ้ งแยกคําไปไว้ในบาทตอ่ ไป ๖] กมัจจุตะ คลาดลาํ ดับความ หมายถึง การลําดับความของ บทไม่เหมาะสม คลาดเคล่ือนจากทีช่ าวโลกใชก้ นั อยู่ ขอ้ นี้ สะทอ้ นให้เห็นวา่ กวี ทั้งหลาย จะต้องศึกษาคติ หรือธรรมเนียมของโลกนั้นๆ ให้เช้าใจโดยถ่องแท้ มิเชน่ นัน้ ก็อาจลาํ ดบั ความไม่ถกู ตอ้ ง ๗] อติวุตตะ พูดเกินไป หมายถึง พูดถึงข้อที่เกินไปจากวิสัย ของชาวโลก เช่น ประโยควา่ อากาศคบั แคบยง่ิ นกั เพราะการขยายตัวแห่งถัน ของหญิงน้ัน” ประโยคนี้กล่าวถึงความใหญ่แห่งถันของหญิง แต่เกินวิสัยของ โลก เพราะไม่มีสตรีนางใดจะมีถันใหญ่โตขนาดไม่มีช่องว่างอากาศในระหว่าง ถนั ทัง้ สอง

๕๑๔ ๘] อเปตัตถะ ปราศจากความ หมายถึง ปราศจากความรวม อยา่ งใดอย่างหนง่ึ ทผี่ พู้ ูดมุ่งจะส่ือให้ผู้ฟังรับรู้ จับความไม่ได้ เหมือนคําพูดของ คนวิกลจรติ พร่ําพดู ไปไร้สาระ ๙] พันธผรุสะ มีเสียงกระด้างในบทประพันธ์ หมายความว่า การเรียงคําเขา้ เป็นประโยคในภาษาบาลี เฉพาะอย่างย่ิงในฉันทลักษณ์ ควรใช้ อักษรเสียงออ่ นเข้าไปผสมตามความเหมาะสม เพ่ือให้เกิดความอ่อนช้อย มิให้ เสยี งกระด้างจนเกนิ ไป อกั ษรเสยี งแขง็ ท่คี วรหลกี เลี่ยง ดังตัวอย่าง พนเฺ ธ ผรสุ ตา ยตฺถ ตํ พนธฺ ผรุสํ ยถา ขรา ขิลา ปริกฺขณี า เขตเฺ ต ขิตตฺ ํ ผลตยฺ ’ลํ อักษรเสียงแข็งในท่ีนี้มีอยู่ถึง ๖ พยางค์ คือ ข ขิ ขี เข ขิ และ ผ ซ่ึงเรียงอยู่ในบาทท่ี ๓ และ ๔ บาทละ ๓ พยางค์ จัดเป็นพันธผรุส โทษ ๑.๓ วากยตั ถโทษ ขอ้ บกพรอ่ งในอรรถของพากย์ มี ๖ ประการ ๑] อปักกมะ ปราศจากลําดับ หมายความว่า มีเนื้อความผิด ลําดับก่อนหลังในพากย์ ลําดับดังกล่าวอาจเป็นลําดับของอุเทศและนิเทศ เช่น ทาน ศีล ภาวนา เขียนลําดับเป็น ภาวนา ทาน ศีล เป็นต้น หรือลําดับของ เหตแุ ละผล ขนั้ ตอน พิธกี ารตา่ งๆ ผดิ จากขอ้ เทจ็ จรงิ ๒] โอจิตยหีนะ ทรามจากความเหมาะสม ในที่น้ี หมายเอา การอวดดี ธรรมดาการยกยอ่ งตนเองมใิ ชว่ สิ ัยของคนดี แมพ้ ระพทุ ธพจนก์ ็กล่าว ตาํ หนกิ ารยกยอ่ งตน เม่ือปรากฏการยกย่องตนเองในบทประพันธ์ ก็จัดเป็นโอ จิตยหนี โทษ ทรามจากความเหมาะสมในขอ้ น้ี ยังรวมไปถึงการพูดขัดกันเอง ในบทประพันธ์ เช่น ในประโยคเดียวกัน ท่อนแรกการพรรณนาถึงน้ําพระทัย ของพระเวสสันดรว่าสามารถสละทุกส่ิงทุกอย่างได้แม้กระท่ังชีวิต แต่พรรณนา ทอ่ นหลังวา่ พอถึงคราวจะให้ลูกเป็นทาน พระทยั กลบั หวนั่ ไหว เปน็ ต้น ๓] ภัคครีติ หักลําดับ หมายถึง การแต่งเร่ืองน้ัน ต้องมี ข้อความเรียบร้อยระดับเดียวกันโดยวิภัตติตรงกัน เน้ือความในแต่ละพากย์ ตรงกนั ๔] สสังสยะ ชวนสงสัย หมายถึง ไม่ใช้คําหรือศัพท์ที่มี ความหมายท่ีชวนให้สงสัย เช่น “โค” ในคําว่า “โคปทสฺสนปีณิโต” ชวนให้ สงสยั เพราะคําว่า โค แปลว่า วัว ก็ได้ แปลว่า รัศมี, ปฐพี, ความรู้ผ, ดวง อาทิตย์, น้ํา, และอินทรีย์ ก็ได้ แต่คนทั่วไปเข้าใจความหมายแรกมากกว่า

๕๑๕ ความหมายหลัง โค ในประโยคนี้จึงชวนให้สงสัยว่า ผู้เขียนต้องการส่ือถึง อะไร ๕] คามมะ ไม่สุภาพ หมายถึง การใช้คํา หรือศัพท์ที่มี ความหมายไม่สุภาพ หรือแม้กระท่ังใช้คําอย่างใดอย่างหนึ่ง ให้มีความหมาย อย่างหน่ึง แต่อาจเป็นคําทท่ี าํ ใหผ้ อู้ ่านนึกถงึ หรอื ตคี วามไปถงึ อีกเรื่องหน่ึงซ่ึงมี นัยอนั ไมส่ ุภาพ เชน่ วากฺยตถฺ โต ทปุ ปฺ ตีติ- กรํ คามฺมํ มตํ ยถา โปโส วีรยิ วา โสยํ ปรํ หนฺตฺวาน วิสฺสมฯิ คําทไี่ มส่ ุภาพในคาถานีไ้ ดแ้ ก่ ๑. วีรยวา เป็นได้ท้ัง วีริยะ+วนฺตุ ปัจจัย แปลว่า มี ความเพยี รมาก, วีรยิ แปลวา่ นํ้าเชอ้ื /นา้ํ อสุจิ กไ้ ด้ ๒. ปรํ แปลวา่ อยา่ งยิง่ ก็ได้ แปลวา่ ศัตรู กไ็ ด้ ๓. หนฺตวฺ าน แปลวา่ กําจดั ก็ได้ แปลวา่ เสพ ก็ได้ ๖] ทุฏฐาลังกติ เสียอลังการ คือแต่งผิดอลังการ ในท่ีน้ี หมายเอาอุปมาลังการ เช่น กล่าวอุปมาผิดลิงค์ อุปมาผิดวิภัตติ อุปมาต่าง พจน์ อุปมาทราม อุปมาเกินตัว อุปมาความไม่เด่น อุปมามองหาอุปมาอ่ืน อปุ มากระทอ่ นกระแท่น เปน็ ต้น ๒. วังกวุตติ ๓๕ ประเภท ศาสตร์ของการประพันธ์ที่ช่วยเสริม วรรณศิลป์ วงั กวุตติ ถอื เปน็ ๑ ในอัตถาลังการ ๒ อย่าง คือ สภาววุตติ คือ การกลา่ วโดยตรง และวงั กวตุ ติ กล่าวโดยอ้อม การกล่าวโดยตรง เป็นการส่ือความหมายตามตัวอักษร อย่างไรก็ ตาม ในงานวรรณกรรม ผปู้ ระพันธ์สามารถเลือกที่จะสื่อสารถึงผู้อ่านให้เข้าใจ ความหมายทีต่ นต้องการสอ่ื ถึง ด้วยข้อความหรือเน้ือหาอีกอย่างหน่ึง เรียกว่า เป็นการส่อื สารโดยออ้ ม โดยผ่าน ๓๕ แนวทาง ประกอบด้วย๔๑๓ ๑] อติสยวตุ ติ หมายถึง แสดงคุณอันพิเศษลํ้าเลิศ มี ๒ ลกั ษณะ คอื วิสยั ทพ่ี ้นจากโลก และทเี่ ป็นวสิ ยั ของโลก เช่น ปิวนฺติ เทหกนฺตี เย เนตตฺ ญฺชลปิ เุ ฏน เต นาลํ หนฺตํฃ ชิเน’สํ ตฺวํตณฺหํ ตณหฺ าหโรปิ กฯึ ๔๑๓ พระคันธสาราภวิ งศ์ แปลและอธบิ าย, สุโพธาลังการมญั ชี, หนา้ ๓๕๔.

๕๑๖ แปล ข้าแต่พระชินสีห์ หมู่ชนดื่มพระรัศมีแห่งพระวรกายา ของพระองคด์ ้วยพนมคอื นัยนต์ า แม้พระองค์ทรงขจดั ตณั หาแล้ว ไฉนมิอาจหัก ห้ามความกระหายาของพวกเขา๔๑๔ ความท่ีว่า “พระองค์สามารถขจัดตัณหาได้ ไฉนจึงไม่สามารถ ขจดั ความกระหายใครด่ ขู องชนเหล่านนั้ ” เปน็ การกล่าวโดยอ้อม เพ่ือพรรณนา ว่า รัศมีของพระพุทธองค์งดงามยอดเยี่ยม [วังกวุตติ] และในความเป็นจริง การดมื่ สงิ่ ใด ย่อมดับความกระหาย แต่การช่ืนชมรัศมีของพระพุทธเจ้าแล้วดับ ความกระหายไม่ได้ เป็นวิสยั ทพ่ี น้ โลก [เปน็ อติสยวตุ ติ] ๒] อุปมา หมายถึง เปรียบเทียบ การเปรียบเทียบน้ี สามารถรู้ได้ด้วยศัพท์, ความหมาย, ประโยคทั้งประโยค โดยใช้รูปสมาส, ปัจจัย, หรือกลุ่มศัพท์เชิงอุปมา เช่น อิว ยถา วิย สทิสเป็นต้น การ เปรียบเทียบอาจเปรียบเทียบคุณลักษณะ, ทรามจากคุณลักษณะ, ซ้อนความ, เช่ือมกัน, เปรียบเทยี บเชงิ ตําหน,ิ เชงิ ปฏิเสธ, เปน็ ต้น ๓] รปู กะ หมายถงึ แสดงว่าอุปมานะและอุปไมยเป๐นสิ่งเดียวกัน เปน๐ รปู แบบหน่ึงของอปุ มา แตเ่ ป๐นเรือ่ งปกปิดความต่างกันโดยยกเอาแต่ความไม่ต่างกัน ของวตั ถุทเี่ ป๐นอุปมานะและอุปไมยข้ึนกล่าวไว้ ก็เป๐นท่ีเข้าใจกันดีโดยไม่ต้องมีศัพท์หรือ ความใดๆ ระบุ เชน่ มาตาปติ ุไซร้ พรหมของ บุตรนา ความในประโยคน้ี ไม่มีอุปมา แต่รูปแสดงให้เห็นว่าเป๐นการ เปรยี บเทยี บมารดาบดิ าว่าเป๐นพรหม สทธฺ า พชี ํ ตโป วุฏฐฺ ิ ปํฺญา เม ยคุ นงฺคลํ หิรี อีสา มโน โยตตฺ ํ สติ เม ผาลปาจนํ ฯ ความในคาถานี้ ก็ไม่มีคําแสดงอุปมา แต่มีรูปเป๐นอุปมาทั้งหมด กล่าวคือ เปรียบศรัทธาเป๐นเมล็ด, ความเพียรเป๐นฝน, ป๎ญญาเป๐นแอก และไถ,หิริเป๐น หงอนไถ, ใจเป๐นเชือก สตเิ ป๐นผาลและประตัก ๔] อาวตุ ติ หมายถึง กลา่ วซาํ้ แบ่งเป็น ๓ ประเภท ได้แก่ ซาํ้ ความ, ซาํ้ บท, ซา้ํ ท้งั สอง ตัวอยา่ ง เช่น มโน หรติ สพเฺ พสํ อาททาติ ทสิ า ทส คณหฺ าติ นมิ มฺ ลตฺตญฺจ ยโสราสิ ชินสฺส’ยํฯ ๔๑๔ พระคันธสาราภิวงศ์ แปลและอธบิ าย, สุโพธาลงั การมญั ชี, หน้า ๓๖๑.

๕๑๗ คาถานี้เป็นตัวอย่าง ซ้ําความ คือ กล่าวซํ้าความ สังเกตบท กรยิ าท้งั ๓ คอื หรติ, อาททาต,ิ และคณหฺ าติ มีความหมายอย่างเดียวกัน แต่ ใช้รูปศัพทแ์ ตกตา่ งกัน วภิ าเสนตฺ ิ ทสิ า สพพฺ า มุนโิ น เทหกนฺตโิ ย วภิ า เสนฺติ จ สพฺพาปิ จนทฺ าทนี ํ หตา วยิ ฯ คาถาน้ี วิภาเสนฺติ ในบาทแรก กับ วิภา เสนฺติ ในบาทที่ ๓ ทั้งสองศพั ท์เขยี นเหมือนกัน แต่บทแรกเป็นกริยา บทหลังแยกกัน และมีอรรถ ต่างกัน ๕] ทปี กะ หมายถึง ส่องความตลอดท้ังประโยค ด้วยรูป อย่างใดอย่างหนึ่งกล่าวคือ กิริยา, ชาติ, คุณลักษณะ ซ่ึงท้ัง ๓ รูปน้ี แม้จะ เรียงไว้ส่วนใดของประโยค ก็สามารถส่องความได้ท้ังหมด การส่องความ ลักษณะน้ีแบ่งเป็น ๓ ประเภท ได้แก่ ส่องความในต้นประโยค, ส่องความ ท่ามกลางประโยค, และส่องความในทส่ี ดุ ประโยค ตวั อยา่ ง อกาสิ พุทฺโธ เวเนยฺย- พนฺธูน’มมโิ ตทยํ สพพฺ าเปหิ จ สมํ- เนกตติ ฺถิยมททฺ นํ แปล พระพุทธเจ้าทรงกระทําความเจริญอันหาประมาณมิได้ แก่ไวไนยชนแล้ว และทรงกระทําการยํ่ายีเหล่าเดียรถีย์เป็นอเนก พร้อมด้วย บาปท้ังหมด ฯ คาถาน้ีเป็นเปน็ อาทิทปี กะ คือส่องความในประโยคต้น ด้วยรูป กิริยา คือมกี ิริยาเป็นบทสอ่ ง เรียงไวต้ ้นประโยค สังเกตบทว่า อกาสิ ในคาถา น้ีมีบทเดียว แต่ก็ส่งความไปถึงพากย์หลังด้วย กล่าวคือ เป็นบทกริยาของ อเนกติตถฺ ิยมททฺ นํ ดว้ ย ๖] อกั เขปะ หมายถึง กล่าวเชิงปฏิเสธแต่มุ่งแสดงความ พิเศษ มี ๓ ประเภท ได้แก่ ปฏิเสธอดีต [อตีตักเขปะ], ปฏิเสธปัจจุบัน [วัตต มานกั เขปะ], และปฏิเสธอนาคต [อนาคตกั เขปะ] เช่น กโุ ต กวุ ลยํ กณเฺ ณ กโรสิ กลภาสินิ กิ’มปงคฺ า’ปรยิ าตตฺ - มสฺมึ กมมฺ นิ มญฺญเสฯ แปล เธอผมู้ ีเสยี งออ่ นหวาน เหตุใดจงึ ทดั ทรงดอกอุบลไว้ทรี่ ิม หู เธอสาํ คัญวา่ หางตายงั ไม่พอเพยี งในการประดบั กระนน้ั หรอื ๔๑๕ คาถานี้ เป็นอุทาหรณ์ กล่าวปฏิเสธการทัดดอกอุบลด้วยความ มงุ่ หมายจะแสดงความพเิ ศษว่า หางตาของหญิงสาวงามเหมอื นดอกอบุ ลอยูแ่ ล้ว ๔๑๕ พระคันธสาราภิวงศ์ แปลและอธิบาย, สโุ พธาลงั การมัญชี, หน้า ๔๗๘.

๕๑๘ แม้จะไม่ทัดดอกอุบลไว้ หางตาก็ประดับใบหน้าอยู่แล้ว คาถานี้เป็นอักเขปะ ประเภทวัตตมานกั เขปะ [ปฏเิ สธปัจจบุ ัน] ๗] อัตถันตรนยาสะ หมายถึง ยํ้าความอื่น กล่าวคือกล่าว ยืนยนั ข้อความในพากยแ์ รกท่ีกล่าวไว้แลว้ โดยมี หิ ศัพท์ประกอบร่วมในพากย์ หรือไมม่ ี หิ ประกอบรว่ มในภาคด้วยกไ็ ด้ ตัวอย่าง [๒๔๐] เตปิ โลกหติ า’สตตฺ า สรู โิ ย จนฺทิมา อปิ อตฺถํ ปสฺส คมสิ สฺ นตฺ ิ นิยโม เกน ลงฆฺ ยเตฯ คาถาน้เี ปน็ ตวั อยา่ งของการกล่าวยืนยันข้อความในพากย์แรกท่ี กลา่ วไวแ้ ล้ว โดยไม่มี หิ ศัพท์ กล่าวคือ ข้อความแรกระบุว่า “ดูเถิด แม้ดวง อาทติ ยแ์ ละดวงจนั ทร์นนั้ เก่ียวเนอื่ งกับความเจริญแก่ชาวโลก ก็จักถึงความดับ สูญไป” ส่วนความในบาที่ ๔ ว่า “ใครเล่าจะพ้นกฏธรรมชาติได้” ครอบคลุม สังขตธรรมทง้ั หมดที่ระบถุ ึงใน ๓ บาทแรก [๒๔๑] สตถฺ า เทวมนสุ สฺ านํ วสี โสปิ มุนิสฺสโร คโตว นพิ พฺ ตุ ึ สพเฺ พ สงขฺ ารา น หิ สสฺสตาฯ คาถาน้ี เป็นตัวอยา่ งของการกลา่ วยนื ยันข้อความแรกท่ีกล่าวไว้ แล้ว โดยมี หิ ศพั ทท์ ําหนา้ ทย่ี ํ้าความ กล่าวคือ ข้อความแรกระบุว่า “แม้พระ จอมมนุ ีพระองค์นั้น ผเู้ ป็นศาสดาของเทวดาและมนษุ ยท์ ง้ั หลาย มคี วามชาํ นาญ กย็ งั เสด็จดับขนั ธ์” ส่วนข้อความในบาท่ี ๔ ว่า “โดยแท้จริงแล้ว สังขารท้ังปวง ไม่เที่ยงแทถ้ าวร” เปน็ บาทท่ที าํ หนา้ ทยี่ าํ้ ความในบาทท่ี ๑-๓ ๘] พยติเรก หมายถึง จําแนกความแตกต่าง ความหมายก็ คอื มีวัตถอุ ยู่สองสิง่ ทดั เทยี มกัน เมื่อกลา่ วถึงความเสมอกันของวัตถุเหล่าน้ันไว้ โดยตรงหรือให้อนุมานรู้เองแล้ว ได้แสดงความแตกต่างกันของวัตถุอย่างหนึ่ง หรอื ทัง้ สองอย่าง การประดบั คาํ ในลักษณะอยา่ งนี้ เรียกว่า พยตเิ รกะ พยตเิ รกะ มี ๔ ประเภท คอื ๑. กล่าวถงึ วตั ถสุ องสิ่งทเี่ สมอกันแล้วจาํ แนกส่งิ เดียว ๒. กลา่ วถึงวัตถุสองส่งิ ทเ่ี สมอกันแลว้ จําแนกทัง้ สองส่ิง ๓. อนมุ านรวู้ ตั ถุสองสงิ่ ที่เสมอกนั แล้วจําแนกส่ิงเดยี ว ๔. อนุมานรวู้ ัตถสุ องสง่ิ ทเ่ี สมอกันแลว้ จาํ แนกทงั้ สองส่ิง ตวั อยา่ ง [๒๔๕] คมฺภีรตตฺ มหตตฺ าทิ- คุณา ชลธินา ชิน ตลุ ฺโย ตฺว’มสิ เภโท ตุ สรเี รเน’ทิเสน เตฯ

๕๑๙ แปล ข้าแต่พระชินเจ้า พระองค์เสมอกับสาครโดยคุณสมบัติ คือความลุ่มลึก และความยิ่งใหญ่เป็นต้น แต่ต่างด้วยสรีระเช่นนี้ของ พระองค์๔๑๖ คาถาน้ี เป็นการกล่าวถึงวัตถุสองสิ่งท่ีเสมอกัน แล้วจําแนกส่ิง เดียว จาํ แนกสิ่งเดียวในทนี่ ี้กค็ อื จําแนกเรือ่ งสรีระของพระพทุ ธเจ้าว่าไม่เหมือน สาคร [๒๔๖] มหาสตฺตา’ติคมภฺ รี า สาคโร สุคโตปิ จ สาคโรญฺชนสงกฺ าโส ชโิ น จามกี รชชฺ ุติฯ แปล สาครและพระสุคตลุ่มลึกยิ่ง ชื่อว่ามหาสัตว์ สาคร เหมอื นยาแตม้ ตา พระชินเจา้ งามด่ังทองจามีกร๔๑๗ คาถานี้เป็นการกล่าวถึงวัตถุสองสิ่งที่เสมอกัน แล้วจําแนกทั้ง สองส่งิ [๒๔๗] น สนตฺ ปาปหํ เนวิจฺ- ฉิตทํ มิคโลจนํ มุนนิ ทฺ นยวทวฺ นฺทํ ตว ตคฺคณุ ภูสิตํฯ แปล ดวงตามฤคมิได้ขจัดความเร่าร้อน มิได้อํานวยผลท่ี ชาวโลกปรารถนา ขา้ แตพ่ ระจอมมุนี พระเนตรทั้งคู่ของพระองค์ประดับด้วย พระคณุ น้ัน๔๑๘ คาถาน้ี เป็นการอนุมานรู้วัตถุสองอย่างที่เสมอกัน แล้วจําแนก สง่ิ เดยี ว ๙] วิภาวนา หมายถึง แสดงเหตุอื่นจากเหตุท่ีประจักษ์ชัด หมายความว่า ขอ้ ใดทรี่ ไู้ ด้ด้วยเหตุประจักษ์แก่ชาวโลกท่ัวไป ท่านผู้แต่งปฏิเสธ เหตุนั้นแล้ว แสดงเหตุอื่นท่ีไม่ประจักษ์แทน หรือแสดงผลคือความเกิดข้ึนเอง ตามธรรมชาติ ซ่ึงทาํ ให้ข้อความน้ันชดั เจนขน้ึ ตวั อย่าง อนญฺชิตา’สิตํ เนตตฺ ํ อธโร’รญชฺ ติ า’รุโณ สมานตา ภมุ จายํ ชนิ า’นาวญฺฉิตา ตวฯ แปล ข้าแต่พระชินเจ้า พระเนตรของพระองค์ดําขลับมิใช่ หยอดตา ริมพระโอษฐ์แดงเร่อื มิใช่ยอ้ มสี และพระขนงกโ็ ก่งงามมิใช่ดดั ไว้๔๑๙ ๔๑๖ พระคนั ธสาราภิวงศ์ แปลและอธิบาย, สุโพธาลงั การมัญชี, หน้า ๔๙๓. ๔๑๗ พระคนั ธสาราภิวงศ์ แปลและอธิบาย, สุโพธาลงั การมญั ชี, หน้า ๔๙๕. ๔๑๘ พระคันธสาราภิวงศ์ แปลและอธบิ าย, สุโพธาลงั การมัญชี, หน้า ๔๙๘. ๔๑๙ พระคันธสาราภวิ งศ์ แปลและอธบิ าย, สโุ พธาลังการมัญชี, หนา้ ๕๐๔.

๕๒๐ ๑๐] เหตุ หมายถึง แสดงเหตุ จําแนกเป็น ๒ ประเภท คือเหตุทําใหเ้ กิด และเหตุทําให้รู้ การกล่าวเหตุไว้โดยไม่ตกแต่งคํา เช่น หน่อ ยอ่ มเกดิ เพราะเมล็ด ร้วู า่ ไฟมอี ยู่เพราะควัน เปน็ ต้น ไมจ่ ดั เป็นอลังการ แต่การ แสดงสิ่งท่ียังไม่ได้เกิดข้ึนให้เกิดข้ึน หรือแสดงความไม่เกิดข้ึนแห่งที่เคยเกิด มาแลว้ จดั เปน็ อลงั การ [๒๕๕] ธีเรหิ สห สํวาสา สทฺธมมฺ สสฺ าภิโยคโต นิคคฺ เหนนิ ฺทรฺ ิยานญจฺ ทกุ ฺขสฺสปุ สโม สยิ าฯ แปล ความสงบแห่งทุกข์พึงมี เพราะการอยู่ร่วมกับธีรชน ทง้ั หลาย การศกึ ษาพระสทั ธรรม และการข่มอนิ ทรีย์ อธิบาย ลําพังการกล่าวว่า “ความสงบแห่งทุกข์พึงมี” มิใช่ อลังการ แต่การแสดงเหตุ หรือจําแนกเหตุต้ังแต่คําว่า “เพราะการอยู่ร่วมกับ ธีรชน”, “เพราะการศึกษาพระสัทธรรม”, และ “เพราะการข่มอินทรีย์” ทํา หนา้ ทตี่ กแตง่ คาํ จึงจัดเปน็ อลังการ ๑๑ กมะ หมายถึง แสดงตามลาํ ดบั ไม่ข้ามลําดับ ๑๒] ปยิ ตระ หมายถึง กลา่ วถึงสิ่งที่เป็นท่ีรักย่ิงมากกว่าเร่ือง อืน่ ดว้ ยการใชถ้ อ้ ยคาํ อนั แสดงความยิง่ ยวด แตพ่ รรณนาข้อความน้นั โดยออ้ ม ๑๓] สมาสวตุ ติ หมายถึง กล่าวโดยย่อ การกล่าวใน ลักษณะนี้ เป็นการไม่พูดถึงวัตถุที่ใจมุ่งจะกล่าว แต่กล่าวออกมาด้ วยการ เปรียบเทียบชมเชย ก็เป็นที่ทราบกันว่า หมายถึงสิ่งใด เช่น ประโยคว่า \"มหาสมทุ รนอี้ ํานวยมฤตอนั บริสทุ ธ์ิ เปน็ บอ่ เกดิ แห่งรัตนอันงามเลิศ และลุ่มลึก เราบรรลุแล้วด้วยบุญ” ประโยคน้ี แม้ไม่พูดถึง ก็ทราบโดยทันทีว่า กําลัง พรรณนาถึงพระนิพพาน ๑๔] ปรกิ ปั ปนา หมายถึง คาดคะเนไปอีกทางหน่ึงจาก ความเป็นจริง หมายความว่า ความเป็นไปของส่ิงที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ซึ่ง เปน็ ไปอย่ตู ามภาวะนัน้ ๆ ในเวลากวรี จนา กลับดาํ รไิ ปอีกทางหนึ่งโดยละสภาวะ ของตน แต่เม่อื รวมความเขา้ แลว้ ก็เป็นอนั ให้ทราบถงึ วัตถนุ ้ัน คัมภีร์สุโพธาลังการ จําแนกปริกัปปนา ๔ ประเภท กล่าวคือ การดําริที่มีอุปมาอยู่ภายใน, การดําริกิริยา, การดําริคุณ, และการดําริที่ อนุมานรู้ ศัพท์ท่ีใชส้ าํ หรบั แสดงปรกิ ัปในบทประพนั ธ์ เช่น มญฺเญ [คงจะ, เหน็ จะ], สงเฺ ก [คงจะ], ธุวํ [แน่แท้], นูน [แน่แท้], อิว [คงจะ], ตกฺเกมิ [ดําริ], ปริกปฺเปมิ [ดาํ ร]ิ , จนิ ตฺ ยามิ [คดิ เหน็ ], ยถา [ฉนั ใด] เป็นตน้ หากพบคําเหล่านี้

๕๒๑ ก็พึงเข้าใจว่า บทประพันธ์น้ันเป็นปริกัปปนาลังการ แต่ถ้าไม่มีศัพท์เหล่าน้ีอยู่ ก็สังเกตท่ีพากษ์ การก หรอื อรรถของพากย์ ๑๕] สมาหติ ะ หมายถึง แสดงการได้เหตุอื่นที่ช่วยให้กิจสําเร็จ หมายความวา่ ผทู้ ี่มงุ่ จะกระทาํ กจิ อย่างใดอย่างหน่ึง มีการเอาชนะศัตรูเป็นต้น ย่อมได้รับส่ิงสนับสนุนอย่างอ่ืนเป็นอุปการะให้กิจน้ันสําเร็จ การกล่าวถึงการ ได้รับสิ่งสนับสนุนอ่นื น้นั เรียกวา่ สมาหติ ะ ๑๖] ปรยิ ายวตุ ติ หมายถงึ พูดโดยออ้ ม กลา่ วคอื การไม่ กลา่ วระบุถึงข้อความทผ่ี ู้กล่าวปรารถนา กลบั กลา่ วโดยอ้อมใหผ้ ู้ฟังเข้าใจเอาเอง เช่นประโยควา่ “ทรพั ย์วางไว้ท่ีลานโล่ง ไร้คนดูแล ท่านผู้ต้องการทรัพย์ หาก ท่านต้องการ ท่านจงไปตามปรารถนาเถิด” คาถานี้กล่าวถึงการชักชวนให้ไป ขโมยทรัพย์ แตไ่ มพ่ ดู ตรงๆ ๑๗] พยาชวัณณะ หมายถึง กล่าวชมเชยในเชิงตําหนิ กล่าวคอื การแตง่ สดดุ ี แต่มลี ักษณะคล้ายตาํ หนิ คณุ ที่กล่าวสรรเสริญก็ปรากฏ คล้ายกับจะเป็นโทษ เช่นประโยคว่า “พระเจ้าปรศุรามแม้เป็นฤาษีก็ทรงชนะ ปฐพีนี้ได้ พระองค์แม้เป็นกษัตริย์ก็ทรงชนะปฐพีน้ีได้เช่นกัน ดังนั้น พระองค์ อยา่ ทรงมัวเมาอยเู่ ลย” หรอื ประโยคว่า “ดูกรนนั ทกะ เธอแสดงธรรมเทศนาอัน พิสดารแกภ่ กิ ษุท้งั หลาย จนตถาคตเมอื่ ยหลังอยู่เม่ือยืนรอให้แสดงธรรมจบใกล้ ซุม้ ประตู” เปน็ ตน้ ๑๘] วิเสสวตุ ติ หมายถึง แสดงความพิเศษโดยพูดถึงความ บกพร่อง กล่าวคือมุ่งจะแสดงความพิเศษ แต่กลับกล่าวถึงความบกพร่อง ถือเอาความบกพร่องเป็นเคร่ืองส่องความพิเศษ เช่น ประโยคว่า “ข้าแต่พระ จอมมุนี พระดํารสั ของพระองคม์ ิได้แข็งกระด้างเลย แต่ขุดความเมามันของหมู่ ชนอย่างหนักหน่วงจนหมดรากเหง้าได้” หรือประโยคว่า “อาวุธของกามเทพ มไิ ดแ้ ขง็ กระดา้ ง ทั้งไมค่ ม ถึงกระนั้น กามเทพน้ีกเ็ อาชนะไตรโลกได้” เปน็ ตน้ ๑๙] รฬู หาหังการ หมายถงึ แสดงความอหงั การ เช่นประโยค ว่า “เจา้ พนักงานทงั้ หลาย จงเตรียมรถและมา้ อนั วิจิตรด้วยเครื่องอลงั การต่างๆ ท้ังมั่นคงและแข็งแรง ท่านท้ังหลายจงดูความพยายามของเราผู้กําจัดศัตรูให้ พา่ ยแพไ้ ปในบัดน้ี” ๒๐] สเี ลสะ หมายถึง ซอ้ นความ กล่าวคือ มีอรรถใกล้เคียง กันสองนัยอยู่เสมอ เช่น ประโยคว่า “ดวงอาทิตย์น้ีมีกระแสแห่งรัศมี กําจัด ความมืดมน น่าช่ืนชม ข้ึนสู่อุทัยบรรพตอันสูงใหญ่แล้ว ยังหมู่ชนให้ต่ืนอยู่ ยอ่ มรงุ่ โรจน์” [๒๘๙] อนฺธนตฺ มหโร หารี สมารฬู ฺโห มโหทยํ

๕๒๒ ราชเต รสํ มิ าลี’ยํ ภควา โพธยํ ชเนฯ ภควา ดวงอาทิตย์, หรอื พระผู้มีพระภาคเจา้ อนฺธนฺตมหโร กําจัดความมืดมน, หรือกําจัดความหลังอัน เปรียบดังความมดื มิด สมารฬู ฺโห ข้นึ , บรรลุ มโหทยํ อทุ ัยบรรพต, ความเจริญ โพธยํ ให้ตื่นอยู่ [ต่ืนจากนิทรา], ให้ตื่นอยู่ [ต่ืนจาก ความหลง] ๒๑] ตุลยโยคติ า หมายถงึ แสดงการประกอบรว่ มกันเป็น คูๆ่ กลา่ วคือ กลา่ วเทยี บเคยี งเปน็ คูๆ่ เพอ่ื ตาํ หนิ หรือสรรเสรญิ เป็นการยกส่ิง สองสิ่งมาเทียบเคียงกัน แล้วกล่าวคู่เคียงกันไป ท้ังนี้ เพ่ือสรรเสริญ หรือ ตําหนิก็ได้ เช่น “ทั้งสองเป็นคนกระจอก เป็นคนอ่อนเปลี้ย เป็นคนตาเหล่ มี ปุ่มเกิดทีศ่ ีรษะ ขา้ พระพุทธเจ้าไมร่ ู้จักวา่ คนไหนคืออลิ ลิสะเศรษฐี” ๒๒] นิทสั สนะ หมายถึง แสดงผลอ่ืนจากผลเดิม กล่าวคือ การแสดงผลท่ีเกิดจากเหตใุ ดเหตุหนึง่ กอ่ นแลว้ ยงั กลา่ วถึงผลอีกอย่างหน่ึงท่ีเกิด ต่อจากผลเดิม ความหมายก็คือ กล่าวถึงผล ๒ อย่างจากเหตุเดียวกันนั่นเอง เช่น “บาปท้ังหลายสําแดงความพินาศไปแห่งชนผู้เห็นแย้งกับพระธรรมราชา ยอ่ มถึงความเส่ือมไปเพราะการเสดจ็ ข้ึนแหง่ พระจอมสมณะ” เปน็ ต้น ๒๓] มหนั ตตั ตะ หมายถึง พรรณนาความย่ิงใหญ่แห่ง สมบัติ หรืออัธยาศัยอย่างสูงสุด เช่นประโยคว่า “ก่อนการเสด็จออกผนวช พระโพธิสัตว์ทรงเป็นผ้มู ีเศวตฉตั รอันดารดาษด้วยแสดงแพรวพราวแห่งรัตนะใน พระมงกฏุ เสวยสิรสิ มบัตอิ นั ย่งิ ” เปน็ ตน้ ๒๔] วญั จนะ หมายถึง อําพรางข้อความท่ีกล่าวถึงแล้วแสดง ขอ้ ความอ่ืน เป็นการปิดข้อที่จะพึงยกย่องเสีย แล้วแสดงวัตถุอื่นอย่างใดอย่าง หนง่ึ ท่จี ะเสมอหรือไม่เสมอกับข้อท่ีจะยกย่อง เช่นประโยคว่า “ณ เบ้ืองพระพัก ตรของพระจอมมุนีผคู้ งที่ พระยามารมไิ ดม้ ีศรเป็นพนั และมไิ ดม้ ศี รีห้าดอก แต่ ในชนเหลา่ อื่น พนั แหง่ ศรของพระยามารนั้นกลับเพิ่มเป็นสิบเทา่ ” เป็นตน้ ๒๕] อัปปกตัตถุติ หมายถึง ชมเชยส่ิงที่ตนกระทําไม่ได้ กล่าวคือ ผู้เบ่ือหน่ายหมดกําลังใจเพราะต้องฟังคําส่ังของนายหรือถูกคนอ่ืน รบกวน จึงคิดจินตนาการชมเชยส่ิงท่ีตนทําไม่ได้ เช่นประโยคว่า “ฝูงเนื้อที่ไม่ พึ่งพาผู้อื่นเป็นอยู่สบายด้วยน้ําและหญ้าแพรกอ่อนเป็นต้นอันหาได้ง่ายในป่า ทงั้ หลาย” [๓๑๔] สุขํ ชีวนฺติ หริณา วเนสวฺ ’ปรเสวิโน

๕๒๓ อนายาโสปลาเภหิ ชลทุพพฺ งฺกุราทภิ ิฯ ๒๖] เอกาวลิ หมายถึง การแต่งคล้องกันเป็นสายเดียวเหมือน ลูกโซ่ หมายความว่า บทเบ้ืองปลายคล้องจองกับบทเบ้ืองต้น เช่นประโยคว่า “พระบาทยุคลของพระศาสดางามด้วยแถวพระนขา แถวพระนขาผุดผ่องด้วย รัศมี พระรศั มีมีกจิ อย่างเดียวคอื ขจัดความมดื ช่างงาม” [๓๑๖] ปาทา นขาลริ ุจิรา นขาลี รสํ ิภาสรุ า รํสี ตโมปหาเรก- รสา โสภณฺติ สตฺถโุ นฯ ๒๗] อัญญมัญญวิภูสนะ หมายถึง แต่งเกื้อกูลกันโดยการเป็น ส่ิงที่ถูกตกแต่งและเคร่ืองตกแต่ง เช่นประโยคว่า “รัศมีมณฑลวาหนึ่ง ย่อม ได้รับความงามย่ิงด้วยพระมนีผู้มีชาวโลกเป็นญาติมิตรพระองค์น้ัน แม้พระมุนี พระองค์นัน้ ก็ไดร้ ับความงามเช่นนน้ั ดว้ ยรศั มีมณฑลวาหนง่ึ ดจุ กนั ” ๔๒๐ ๒๘] สหวตุ ติ หมายถึง กล่าวกิริยาหรือคุณลักษณะร่วมกัน, กล่าวกริยาร่วมกัน เช่นประโยคว่า “รัศมีแห่งพระนขาของพระศาสดา ย่อม รงุ่ โรจนเ์ สมอแสงจันทร์ พระเพ็ญพักตรของพระศาสดาน้ัน ก็งามเสมอกับดวง จนั ทร์” [๓๒๑] ชลนตฺ ิ จนทฺ รสํ หี ิ สมํ สตฺถุ นขสํ โว วิชมฺภติ จ จนเฺ ทน สมํ ตมฺมขุ จนทฺ มิ าฯ คาถาน้ี ชลนฺติ เป็นกริยาร่วมกับของรัศมีแห่งพระนขา และแสงจนั ทร์ วิชมฺภติ เป็นกริยาร่วมของพระพักตรและดวง จนั ทร์ ๒๙] วิโรธติ า หมายถึง แต่งแย้งกัน หมายความว่า การ แสดงความเกย่ี วขอ้ งกนั ระหว่างบทท่ีมีข้อความขัดแย้งกันโดยคุณลักษณะ หรือ กิริยาเปน็ ต้น แตม่ ่งุ หมายเพอ่ื เชิดชอู ยา่ งสูงส่ง เชน่ ประโยควา่ [๓๒๔] คณุ า สภาวมธรุ า อปิ โกเกกพนธฺ ุโน เสวติ า ปาปเสวีนํ สมปฺ ทเู สนฺติ มานสฯํ แปล พระคุณท้ังหลายของพระผู้เป็นญาติมิตรอันเลิศของ ชาวโลก แมจ้ ะมีสภาพออ่ นหวาน กท็ าํ รา้ ยใจของผู้ฝักใฝ่ในบาป ในท่ีนี้แสดงพระพุทธคุณว่ามีสภาพอ่อนหวาน แต่แย้งกับกิริยา คือการทาํ รา้ ยใจ ๔๒๐ พระคันธสาราภวิ งศ์ แปลและอธิบาย, สุโพธาลงั การมัญชี, หนา้ ๖๓๒.

๕๒๔ ๓๐] ปรวิ ตุ ติ หมายถงึ แลกเปลย่ี น หมายถึง การได้รับสิ่งใด ส่ิงหน่งึ ท่ีเศษซึ่งตนต้องการด้วยการใหส้ ่ิงใดสง่ิ หน่ึงท่ีไม่สําคัญ ถ้าไม่มีการให้มา ก่อน กไ็ ม่มกี ารไดร้ บั เช่นประโยคว่า “พระมนุ ีได้ประทานส่ิงท่ีชอบใจมีนัยน์ตา เป็นตน้ แก่ผู้อ่นื ไว้ในปางกอ่ น บัดนี้ จงึ ทรงบรรลสุ ริ คิ อื พระสัพพญั ญตุ ญาณ” ๓๑] ภมะ หมายถึง แต่งกลับความ กล่าวคือ กลับความ ไปเสยี อีกอยา่ งหนึง่ จากข้อความท่เี ข้าใจกัน เชน่ ประโยคว่า “ในเมื่อทิศท้ังหลาย สว่างไสวไปอยู่ด้วยรัศมีแห่งพระขนา ณ พระบาทยุคลของพระชินเจ้า ชน ท้ังหลายผ้พู บเห็นสําคญั ว่าเป็นแสงจนั ทร์พากนั ชื่นชมนัก” ประโยคน้ียกรัศมแี หง่ พระนขาแห่งพระบาทของพระพุทธองค์ข้ึนเป็นเหตุให้ทิศรุ่งเรือง แต่กลับไป กล่าวถึงความเข้าใจของชนทั้งหลายว่าเป็นแสงจันทร์ไป แต่ความเข้าใจของผู้ สดับ ก็คงเป็นอนั ร้กู นั วา่ ทา่ นผ้แู ต่งกล่าวสดดุ ีรัศมพี ระนขาแห่งพระพทุ ธบาทว่า เสมอกับแสงจันทร์ ๓๒] ภาวะ หมายถึง แสดงจุดมุ่งหมายของผู้แต่งเหมือน แสดงภาพใหเ้ ดน่ ชัดด้วยอาการอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงอันปฏิเสธข้อความอื่นบ้าง ไม่ ปฏิเสธบ้าง เช่นประโยคว่า “แม้ในยามโลกประลัย สาครก็มิใช่สาคร เขา สัตบริภัณฑ์ก็มิใช่เขา แต่สัตบุรุษไม่ละท้ิงกรอบของตนแม้สักเล็กน้อยจึงเป็นสิ่ง เหลา่ นั้นมใิ ช่หรือ” ประโยคนี้มุ่งแสดงคุณธรรมของสัตบุรุษว่า แม้จะได้รับความ ทุกขย์ ากลาํ บาก ก็ไม่หวัน่ ไหวตอ่ โลกธรรมจนท้ิงความประพฤติของตน ๓๓] มสิ สะ หมายถงึ การแต่งผสมกันระหว่างสัททาลังการ และอัตถาลังการไว้ในบทประพันธ์เดยี วกนั ๓๔] อาสี หมายถึง แสดงความปรารถนา อลังการ ประเภทน้ี นยิ มใช้ในการเริ่มตน้ คัมภรี ท์ ่ีผ้แู ต่งแสดงความปรารถนาของตน ๓๕] รสี หมายถึง การแต่งบทประพันธ์ให้เกิดรส ต่างๆ มีรสรักเปน็ ตน้ อน่ึง คัมภีร์สุโพธาลังการ มีเนื้อหารายละเอียดท่ีเกี่ยวกับขนบการ ประพันธ์มาก แตถ่ กู นาํ มาร้อยเรยี งในรปู ของคาถาประพันธ์ ซึง่ ถูกจาํ กัดด้วยคํา และคณะฉันท์ จําเป็นต้องอาศัยการอธิบาย และอุทาหรณ์เสริมเพื่อความกระ จา่ ย ผเู้ ขียนไดอ้ าศยั แนวคาํ อธิบาย และตวั อย่างจากคัมภีร์สุโพธาลังการมัญชรี ซ่ึงพระคันธสาราภิวงศ์ได้เรียบเรียงเอาไว้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว ผู้ ปรารถนารายละเอียด พึงศกึ ษาเพิม่ เตมิ ต่อไป

๕๒๕ สมุ งคลวลิ าสนิ ี สุมังคลวิลาสินี ๔๒๑ เป็นคัมภีร์อรรถกถาอธิบายความพระ สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค, ทีฆนิกาย มหาวรรค และทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค พระพุทธโฆสาจารย์ ได้แต่งข้นึ โดยอาศัยเนื้อหาจากมหาอรรถกถา และมูลอรรถกถามาเรียบเรียงขึ้นเป็นภาษาบาลีราว พ.ศ.๑๐๐๐ ฉบับแปลเป็น ภาษาไทย ท่านแยกออกเป็น ๓ เลม่ กลา่ วคอื เล่มท่ี ๑ อธิบายความในพระไตรปิฎกทีฆนิกาย สีลขันธวรรค รวม ๑๓ พระสูตร ประกอบด้วย พรหมชาลสูตร, สามัญญผลสูตร, อัมพัฏฐ สูตร, โสณฑัณฑสูตร, กูฏทันตสูตร, มหาลิสูตร, ชาลิยสูตร, มหาสีหนาทสูตร, โปฏฐปาทสตู ร, สุภสตู ร, เกวัฏฏสตู ร, โลหิจจสตู ร, และเตวิชชสูตร เล่มท่ี ๒ อธิบายความในพระไตรปิฎกทีฆนิกาย มหาวรรค รวม ๑๐ พระสตู ร ประกอบดว้ ย มหาปทานสูตร, มหานิทานสูตร, มหาปรินิพพาน สูตร, มหาสุทัสสนสูตร, ชนวสภสูตร, มหาโควินทสูตร, มหาสมยสูตร, สักก ปญั หาสตู ร, มหาสตปิ ัฏฐานสตู ร, และปายาสิสตู ร เล่มที่ ๓ อธิบายความในพระไตรปิฎกทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค รวม ๑๑ พระสูตร ประกอบด้วย ปาฏิกสูตร, อุทุมพริกสูตร, จักกวัตติสูตร, อัคคัญญสูตร, สัมปทานสูตร, ปาสาทิกสูตร, ลักขณสูตร, สิงคาลกสูตร, อาฏานาฏิยสตู ร, สังคีตสิ ตู ร, และทสุตตรสตู ร สาระสาํ คญั ในคัมภรี ส์ มุ งั คลวลิ าสนิ ี [๑] คันถารัมภกถา กรณุ าสีตลหทยํ ปญฺญาปชฺโชตวหิ ตโมหตมํ. สนรามรโลกคํรุ วนเฺ ท สุคตํ คตวิ ิมุตฺตํฯ พุทฺโธปิ พทุ ฺธภาวํ ภาเวตฺวา เจว สจฺฉิกตวฺ า จ. ยํ อปุ คโต คตมลํ วนเฺ ท ตมนตุ ฺตรํ ธมมฺ ํฯ สุคตสฺส โอรสานํ ปุตฺตานํ มารเสนมถนาน.ํ อฏฺฐนฺนมฺปิ สมูหํ สิรสา วนเฺ ท อรยิ สงฺฆฯํ อติ ิ เม ปสนฺนมติโน รตนตฺตยวนทฺ นามยํ ปญุ ฺญ.ํ ยํ สวุ หิ ตนฺตราโย หตุ วฺ า ตสสฺ านุภาเวนฯ ทฆี สสฺ ทฆี สตุ ฺตงฺกติ สฺส นปิ ณุ สสฺ อาคมวรสฺส. พทุ ฺธานุพุทฺธสวํ ณณฺ ติ สฺส สทฺธาวหคณุ สสฺ ฯ ๔๒๑ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีล ขนั ธวรรค, [กรุงเทพฯ: มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๕๗], ๕๔๕ หนา้ .

๕๒๖ อตถฺ ปฺปกาสนตถฺ ํ อฏฐฺ กถา อาทิโต วสิสเตหิ. ปญจฺ หิ ยา สงคฺ ีตา อนสุ งคฺ ีตา จ ปจฉฺ าปิฯ สหี ฬทปี ํ ปน อาภตาถ วสนิ า มหามหนิ เฺ ทน. ฐปิตา สหี ฬภาสาย ทปี วาสนี มตถฺ ายฯ อปเนตฺวาน ตโตหํ สีหฬภาสํ มโนรมํ ภาส.ํ ตนฺตินยานจุ ฉฺ วิกํ อาโรเปนโฺ ต วิคตโทสฯํ สมยํ อวโิ ลเมนโฺ ต เถรานํ เถรวสํ ปทีปานํ. สุนปิ ณุ วินจิ ฉฺ ยานํ มหาวิหาเร นิวาสนี ฯํ หิตฺวา ปนุ ปปฺ นุ าคตมตฺถํ อตฺถํ ปกาสยสิ สฺ ามิ. สุชนสฺส จ ตฏุ ฺฐตฺถํ จิรฏฺฐติ ตถฺ ญฺจ ธมฺมสฺสฯ สลี กถา ธตุ ธมมฺ า กมฺมฏฐฺ านานิ เจว สพฺพานิ. จรยิ าวิธานสหิโต ฌานสมาปตตฺ ิวติ ถฺ าโรฯ สพฺพา จ อภญิ ฺญาโย ปญญฺ าสงกฺ ลนนิจฉฺ โย เจว. ขนธฺ ธาตายตนนิ ทฺ รฺ ิยานิ อริยานิ เจว จตฺตาริฯ สจจฺ านิ ปจจฺ ยาการเทสนา สปุ ริสทุ ธฺ นปิ ุณนยา. อวมิ ตุ ตฺ ตนตฺ มิ คฺคา วิปสฺสนา ภาวนา เจวฯ อิติ ปน สพฺพํ ยสฺมา วิสทุ ฺธมิ คเฺ ค มยา สุปรสิ ทุ ธฺ ํ. วตุ ฺตํ ตสฺมา ภยิ โฺ ย น ตํ อิธ วิจารยิสสฺ ามฯิ “มชเฺ ฌ วิสุทฺธมิ คโฺ ค เอส จตุนฺนมปฺ ิ อาคมานญหฺ ิ. ฐตฺวา ปกาสยิสสฺ ติ ตตถฺ ยถา ภาสติ ํ อตถฺ ํ”ฯ อิจฺเจว กโต ตสมฺ า ตมปฺ ิ คเหตวฺ าน สทธฺ เิ มตาย. อฏฺฐกถาย วชิ านถ ทีฆาคมนิสสฺ ติ ํ อตถฺ นฺตฯิ แปล ข้าพเจ้า [พระพทุ ธโฆสาจารย]์ ขอกราบไว้พระสคุ ต ผู้ กําจัดความมดื คอื โมหะด้วยแสงสวา่ งคอื พระปัญญา ผทู้ รงหลุดพน้ จากคตไิ ด้ แลว้ ผมู้ พี ระหฤทยั เยอื กเยน็ ดว้ ยพระกรุณา ผู้ทรงเปน็ ครูของสัตวโ์ ลกพรอ้ มทงั้ มนษุ ย์และเทวดาฯ ขอไหว้พระธรรมอนั ยอดเยีย่ ม แม้ท่ีพระพทุ ธเจ้าทรงใช้ อบรมและทรงทําให้แจ้งความเป็นพทุ ธ แลว้ เขา้ ถึงความเป็นผู้ปราศจากมลทนิ ฯ และขอกราบไหวพ้ ระอรยิ สงฆ์ คอื ชุมชนแห่งพระอรยิ บคุ คลทั้ง ๘ ผูเ้ ป็นบตุ ร เกดิ แต่พระอุระของพระสุคต ผยู้ ํ่ายีมารและเสนามารได้แล้วฯ บุญใดอันเกิดจาก การกราบไหวพ้ ระรัตนตรัย ไดม้ ีแกข่ ้าพเจา้ ผูม้ ใี จเลอื่ มใสแลว้ อย่างน้ี ด้วย อานภุ าพแหง่ บญุ นนั้ ขอให้ข้าพเจา้ เป็นผปู้ ลอดภยั จากอันตรายฯ พรอรหนั ต์ผู้เชยี่ วชาญ ๕๐๐ องค์ ไดส้ ังคายนาอรรถกถาใดไวแ้ ต่ เบอื้ งต้น และพระสงั คีตกิ าจารยไ์ ด้สงั คายนาเพ่มิ เติมไวใ้ นภายหลัง เพ่อื ประกาศ

๕๒๗ เนือ้ ความแหง่ ทีฆนกิ ายอนั ประเสริฐไวใ้ นคัมภรี น์ ี้ ท่านเหลา่ นน้ั กาํ หนดหมาย ด้วยพระสูตรขนาดยาว ซึ่งพระพุทธเจา้ และพระสาวกกล่าวสงั วรรณนาไว้ อนั เป็นเหตนุ าํ มาซึ่งความศรัทธา กค็ มั ภีร์อรรถกถาน้ัน พระมหามหนิ ทะองค์อรหนั ตไ์ ดน้ ํามา ประดิษฐานไวท้ เ่ี กาะสิงหฬ ต่อมาได้เรยี บเรยี งด้วยภาษาสงิ หฬ เพื่อประโยชน์ แก่ชาวสงิ หฬฯ ขา้ พเจ้าจักปริวรรตอรรถกถาภาษาสิงหฬน้ัน มาเป็นภาษาอนั นา่ ร่นื รมย์ และถูกต้องตามนัยแห่งพระบาลี ไม่มีขอ้ บกพรอ่ งทางภาษา ไม่ คัดคา้ นลทั ธขิ องพระเถระท้ังหลาย ผู้สังกดั อยู่ในนิกายมหาวิหาร ผู้เปน็ ประทีป แห่งเถรวงศ์ ซึง่ มกี ารวนิ ิจฉัยโดยละเอียดรอบคอบ จะตดั ทอนขอ้ ความทีซ่ ้ําๆ กันออกเสีย แล้วเรียบเรียงอรรถกถาทีฆนิกาย เพ่ือความชืน่ ชมยนิ ดขี องสาธชุ น และเพือ่ ความต้ังม่ันตลอดกาลนานของพระสัทธรรมฯ เรื่องศีล ธุดงคธรรม กัมมฏั ฐานทัง้ ปวง ความพิสดารของฌานและ สมาบตั ิ ซง่ึ ประกอบดว้ ยวธิ ีทีค่ ล้อยตามจริยา อภญิ ญาทง้ั ปวง คาํ วินิจฉยั ที่ ประมวลไว้ดว้ ยปัญญาฯ ขันธ์ ธาตุ อายตนะ อนิ ทรยี ์ อริยสจั ๔ ซ่ึงมนี ยั อนั บรสิ ทุ ธ์ิ ละเอียด และวปิ สั สนาภาวนา เรื่องศีลเปน็ ตน้ ทก่ี ล่าวมาทง้ั หมดน้ี ขา้ พเจา้ กล่าวไว้แล้วอย่งดียง่ิ ในปกรณ์วิเสสชอ่ื วสิ ุทธมิ รรค ฉะนน้ั ในอรรถกถาน้ี ข้าพเจ้าจะไม่นําเร่อื งเหลา่ นัน้ มาเขยี นไวอ้ กี เพราะปกรณ์ช่ือวสิ ุทธมิ รรคที่ขา้ พเจา้ ไดร้ จนาไว้ ท่ามกลางแหง่ นกิ ายทงั้ ๔ จักประกาศเนอ้ื ความตามท่กี ล่าวไว้ในนิกายทั้ง ๔ เหลา่ นน้ั ฯ จึง ขอใหส้ าธุชนทัง้ หลาย จงถอื เอามติในปกรณช์ ือ่ วิสุทธมิ รรคนัน้ กบั อรรถกถา ช่ือมงั คลวิลาสินนี ้ีไวเ้ ป็นหลกั แลว้ ทาํ ความเข้าใจเน้ือความองิ อาศัยคัมภรี ท์ ฆี นกิ าย ด้วยประการฉะนี้แลฯ๔๒๒ [๒] องค์ความร้ทู ่ีนา่ สนใจในคัมภรี ์ ๑] วธิ ีนับพระธรรมขนั ธ์๔๒๓ พระพุทธพจน์ ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ ท่านแสดงวิธีนับ ดังตอ่ ไปน้ี ๑. พระสูตรมีอนสุ นธิเดยี ว นบั เป็น ๑ พระธรรมขันธ์ ๒. พระสตู รมีหลายอนุสนธิ นบั ธรรมขนั ธต์ ามจาํ นวนอนสุ นธิ ๓. คําถามปัญหา พระพุทธพจน์ที่ประพันธ์เป็นคาถา นับเป็น ๑ พระธรรมขนั ธ์ ๔๒๒ ท.ี สี.อ.[ไทย] ๑/๑-๒. ๔๒๓ ที.ส.ี อ.[ไทย] ๑/๔๓.

๕๒๘ ๔. คาํ วสิ ชั ชนา นับเป็น ๑ พระธรรมขันธ์ ๕. ในพระอภิธรรม การจําแนกเป็นติกะและทุกะแต่ละหมวด และการจาํ แนกเป็นจติ ตวารแตล่ ะหมวด นับเป็น ๑ พระธรรมขนั ธ์ ๖. ในพระวินัยมีวัตถุ มาติกา บทภาชนีย์ อันตราบัติ อาบัติ อนาบัติ และติกปริจเฉทในวัตถุเป็นต้นนั้น แต่ละส่วน นับเป็น ๑ พระ ธรรมขันธ์ ๒] คําศพั ท์ทเ่ี น่อื งดว้ ยพิธีกรรมทวั่ ไป๔๒๔ ๑. สริ วิ หฺ ายนํ ทาํ พธิ ีเรยี กขวญั ๒. สนตฺ ิกมํมํ ทาํ พธิ บี นบาน ๓. ปณธิ ิกมมฺ ํ ทาํ พธิ ีแก้บน ๔. ภูริกมฺมํ ตงั้ ศาลพระภูมิ ๕. วตฺถุกมมฺ ํ ทําพธิ ีปลูกเรอื น ๖. วตฺถปุ ริกรณํพิธีบวงสรวงพ้ืนที่ ๗. สวํ ทนํ ให้ฤกษ์เรยี งหมอน ๘. มหตุปฏฐฺ านํบวงสรวงท้าวมหาพรหม ๓] ปวารณาสงเคราะห์๔๒๕ ปวารณาสงเคราะห์ หมายถึง การเลื่อนวันปวารณา ออกไปอกี ๑ เดือน คือแทนที่จะปวารณาในวนั ขน้ึ ๑๕ คํา่ เดอื น ๑๑ ก็เลื่อน ไปปวารณาวนั ขึ้น ๑๕ เดือน ๑๒ พระพุทธเจ้าทรงกระทําปวารณาสงเคราะห์ กรณีภิกษุมีสมถะและวิปัสสนาออ่ น [สเจ ปน อนฺโตวสฺเส ภิกฺขูนํ สมถวิปสฺสนา ตรุณา โหนฺติ, มหาปวารณาย อปวาเรตฺวา ปวารณาสงฺคหํ ทตฺวา กตฺติกปุณฺณมายํ ปวาเรตฺวา มิคสิรสฺส ปฐมปาฏิปททิวเส มหาภิกฺขุสงฺฆปริวาโร นิกฺขมิตฺวา มชฺฌิมมณฑฺ เล โอสรติ.] ๔] เรือนใหญ่ ๔ หลังในเชตวันมหาวิหาร๔๒๖ ๑. กเรริกุฏี ราคา ๑๐๐,๐๐๐ กหาปณะ อนาถปิณ ฑิกเศรษฐใี ห้สร้างถวาย ๒. โก สั ม พ กุฏี ร า ค า ๑ ๐ ๐ ,๐ ๐ ๐ กหา ปณ ะ อนาถปณิ ฑกิ เศรษฐใี ห้สรา้ งถวาย ๔๒๔ ที.ส.ี อ.[ไทย] ๑/๒๖-๒๗/๑๔๑-๑๔๒. ๔๒๕ ท.ี ส.ี อ.[ไทย] ๑/๒๕๔/๓๒๐. ๔๒๖ ท.ี ส.ี อ.[ไทย] ๒/๑/๑.

๕๒๙ ๓. คันธกุฏี ราคา ๑๐๐,๐๐๐ กหาปณะ อนาถปิณ ฑกิ เศรษฐใี หส้ ร้างถวาย ๔. สฬลฆระ ราคา ๑๐๐,๐๐๐ กหาปณะ [เ รื อ น ไม้สน] พระเจ้าปเสนทิโกศลโปรดใหส้ ร้าง ๕] นิยาม ๕ ประการ๔๒๗ ๑. กัมมนิยาม กฏธรรมชาติเก่ียวกับกรรม “การให้ผล อันน่าปรารถนาแห่งกุศล การให้ผลท่ีไม่น่าปรารถนาแห่งอกุศล ช่ือว่า กัมม นิยาม” เสริมด้วยคําว่า “ในอากาศ ก็หนีไม่พ้น” ผนวกความหมายทั้ง ๒ ประการนี้ การให้ผลของกรรมน้ันแน่นอนใน ๒ ลักษณะ คือ ๑] ทําอย่างไร คือดีก็ตาม ชั่วก็ตาม ก็จะได้ผลอย่างนั้น ๒] ไม่มีใครหนีผลกรรมพ้น ต่อให้ สามารถเหาะได้กต็ าม ๒. อุตุนยิ าม กฎธรรมชาตเิ กย่ี วกบั ฤดู “ในชนบทนั้นๆ ในกาลนั้นๆ มกี ารเกบ็ ดอกไมแ้ ละผลไม้ เป็นต้นพร้อมกันครั้งเดียว ลมพัด ลม ไม่พัด แดดกล้า แดดอ่อน ฝนตก ฝนไม่ตก ดอกบัวแย้มบานกลางวัน กลางคนื หุบ ช่อื ว่า อตุ นุ ยิ าม” ๓. พชี นยิ าม กฎธรรมชาติเกยี่ วกับพชื “ เ ม ล็ ด ข้าวสาลีเกิดจากเมล็ดข้าวสาลีเท่าน้ัน ผลท่ีมีรสหวานก็เกิดจากพืชที่มีรสหวาน เทา่ น้นั ผลทมี่ ีรสขม ก็เกิดจากพชื ท่ีขมเท่าน้ัน ขอื่ วา่ พชี นยิ าม” ๔. จิตตนยิ าม กฎธรรมชาติเก่ียวกับจิต “ธรรมที่เกิด เปน็ จิตและเจตสิกดวงแรกๆ ย่อมเป็นปัจจัยโดยเป็นอุปนิสสยปัจจัย แก่ธรรมที่ เปน็ จติ และเจตสิกดวงหลงั ๆ ช่ือว่า จติ ตนยิ าม” ๕. ธัมมนิยาม กฎธรรมชาติเก่ียวกับธรรม “ความ เป็นไปแห่งความสั่นสะเทอื นของ ๑๐ สหัสสีโลกธาตุ เป็นต้น ในการเสด็จลงสู่ พระครรภม์ ารดา เป็นตน้ ของพระโพธสิ ัตวท์ งั้ หลาย ช่ือ ธรรมนยิ าม ๖] ความเห็นเร่อื งสูกรมทั ทวะ ๓ ประการ๔๒๘ มติท่ี ๑ เป็นชื่อข้าวสุกท่ีอ่อนนุ่ม ซึ่งมีวิธีปรุงถั่วเข้า กับปญั จโครส มติท่ี ๒ วิธีปรุงรสช่ือสูกรมัททวะ แตว่ ิธปี รงุ รสแบบน้ัน มาในรสายนศาสตร์ ๔๒๗ ที.ส.ี อ.[ไทย] ๒/๑/๓๗-๓๘. ๔๒๘ ท.ี สี.อ.[ไทย] ๒/๑๘๙/๒๕๑.

๕๓๐ มติท่ี ๓ ปวัตตมังสะของสุกรตัวใหญ่ที่สุดตัวหนึ่งซึ่งไม่ หน่มุ เกนิ ไม่แกเ่ กนิ ไป อ่อนนุ่ม และละเอยี ดออ่ น ปรุงให้สกุ ดี อทุ ศิ ๔๒๙ ๗] ผังภูมิสถาปัตยกรรมงานปราสาทที่นางวิสาขาสร้าง ๑. ให้สร้างปราสาทในเนื้อท่ีประมาณ ๑ กรีส ปราสาทนั้นมี ๑,๐๐๐ หอ้ ง แบ่งเป็น ๒ ชั้น ชน้ั บน ๕๐๐ หอ้ ง ชั้นล่าง ๕๐๐ หอ้ ง ๒. ให้สร้างเรือน ๒ ช้ัน ๕๐๐ หลัง ปราสาทเล็กอีก ๕๐๐ หลงั และศาลายาวอกี ๕๐๐ หลงั แวดล้อมปราสาทใหญน่ ้ัน ๓. การฉลองวิหาร ใช้เวลา ๔ เดือนจึงสน้ิ สุด ข้อสั ง เ กต จา กหลักฐ า น ใ น คัมภี ร์ ลักษณะ ภู มิ สถาปัตยกรรมทั้งหมดท่ีนางวิสาขาให้สร้างถวายพระสงฆ์ มีพระพุทธเจ้าเป็น ประมุข อนุมานได้ว่า ปราสาทใหญ่ ๒ ชั้น รวม ๑,๐๐๐ ห้อง ตั้งอยู่ตรงใจ กลาง โดยมีเรือน ๒ ช้ัน ๕๐๐ หลัง ปราสาท ๕๐๐ หลัง และศาลายาวอีก ๕๐๐ หลัง ล้อมรอบ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปวงกลม วงรี หรือแม้กระทั่ง ๔ เหล่ียมกไ็ ด้ ๘] ผ้าบงั สกุ ลุ ๒๓ ชนิด๔๓๐ ๑. โสสานิก ผา้ ตกทปี่ ่าช้า ๒. ปาปณิกะ ผา้ ตกท่ีประตูตลาด ๓. รถิกะ ผ้าที่เขาทง้ิ ไวต้ ามทางรถ ๔. สงั การโจฬกะ ผ้าที่เขาทง้ิ ไวต้ ามกองขยะ ๕. โสตถยิ ะ ผา้ เชด็ ครรภ์มลทนิ หญิงคลอดบตุ ร ๖. สนิ านะ ผ้าอาบนํา้ ๗. ติตถะ ผา้ ทเ่ี ขาทง้ิ ไว้ตามทา่ นํ้า ๘. คตปัจจาคตะ ผ้าท่ีเขาห่อคนตายไปป่าช้าแล้ว นํากลับมา ๙. อัคคิทฑั ฒะ ผา้ ท่ีเหลอื จากไฟไหม้ ๑๐.โคขายิตะ ผา้ ทีถ่ ูกโคเคี้ยว ๑๑.อุปจกิ ขายิตะ ผ้าท่ีถูกปลวกกดั ๑๒.อุนทรุ ขายิตะ ผา้ ทถี่ ูกหนกู ัด ๔๒๙ ท.ี สี.อ.[ไทย] ๓/๑๑๑/๖๘. ๔๓๐ ที.สี.อ.[ไทย] ๓/๓๐๙/๓๑๔.

๕๓๑ ๑๓.อันติจฉินนะผา้ ทร่ี มิ ขาด ๑๔.ทสจั ฉนิ นะ ผา้ ทข่ี าดชาย ๑๕.ธชาหฏะ ผา้ ทธ่ี งนํามา ๑๖.ถูปะ ผา้ ทเ่ี ขาบชู าไวท้ ี่จอมปลวก ๑๗.สมณจวี ระ ผ้าของภกิ ษุด้วยกนั ๑๘.สามทุ ทยิ ะ ผ้าท่คี ลื่นทะเลซัดขึ้นฝ่งั ๑๙.อาภิเสกกิ ะ ผ้าที่เขาท้ิงๆ ไว้ในทีร่ าชาภิเษก ๒๐.ปนั ถิกะ ผ้าที่ตกอยู่ในหนทาง ๒๑.วาตาหฏะ ผา้ ทถ่ี ูกลมหอบไป ๒๒.อทิ ธมิ ยะ ผ้าทส่ี ําเรจ็ ดว้ ยฤทธิ์ ๒๓.เทวทัตติยะ ผ้าทเ่ี ทวดาถวาย ๓] นิคมนกถา เอตฺตาวตา จ— อายาจโิ ต สุมงคฺ ล ปริเวณนวิ าสนิ า ถิรคุเณน. ทาฐานาคสงฆฺ ตฺเถเรน เถรวสํ นฺวเยนฯ ทีฆาคมวรสฺส ทสพล คุณคณปริทปี นสสฺ อฏฐฺ กถํ. ยํ อารภึ สมุ งคฺ ล วิลาสินึ นาม นาเมนฯ สา หิ มหาฏฺฐกถาย สารมาทาย นฏิ ฐฺ ติ า. เอสา เอกาสตี ปิ มาณาย ปาฬยิ า ภาณวาเรหิฯ เอกูนสฏฺฐิมตฺโต วิสทุ ธฺ ิมคฺโคปิ ภาณวาเรห.ิ อตถฺ ปปฺ กาสนตถฺ าย อาคมานํ กโต ยสฺมาฯ ตสมฺ า เตน สหา’ยํ อฏฺฐกถา ภาณวารคณนาย. สปุ ริมิตปรจิ ฉฺ นิ ฺนํ จตตฺ าลสี สตํ โหตฯิ สพพฺ ํ จตฺตาลสี าธิกสต ปริมาณํ ภาณวารโต เอวํ. สมยํ ปกาสยนฺตึ มหาวิหาเร นวิ าสนิ ฯํ มลู กฏฐฺ กถาสาร มาทาย มยา อมิ ํ กโรนเฺ ตน. ยํ ปุญญฺ มปุ จติ ํ เตน โหตุ สพโฺ พ สุขี โลโกติฯ ปรมวิสทุ ธฺ สทธฺ าพุทฺธวิ รี ยิ ปฏิมณฺฑิเตน สีลาจารชฺชวมทฺทวาทิคุณ สมุทยสมทุ ิเตน สกสมยสมยนฺตรคหนชฺโฌคาหณสมตฺเถน ปญฺญาเวยยฺ ตตฺ ิยสมนฺ นาคเตน ติปฏิ กปรยิ ตตฺ ิปฺปเภเท สาฏฺฐกเถ สตฺถุสาสเน อปฺปฏหิ ตญาณปปฺ ภา เวน มหาเวยยฺ ากรเณน กรณสมปฺ ตฺตชิ นิตสุขวินคิ ฺคตมธโุ รทารวจนลาวณฺณยตุ ฺ เตน ยุตตฺ มุตฺตวาทินา วาทีวเรน มหากวนิ า ปภินฺนปฏิสมภฺ ทิ าปริวาเร ฉฬภญิ ฺญาทปิ ฺปเภทคุณปฏิมณฑฺ เิ ต อตุ ตฺ รมิ นสุ ฺสธมเฺ ม สุปปฺ ตฏิ ฐฺ ิตพุทธฺ นี ํ

๕๓๒ เถรวสํ ปฺปทปี านํ เถรานํ มหาวหิ ารวาสีนํ วํสาลงกฺ ารภูเตน วปิ ุลวสิ ุทฺธพทุ ธฺ นิ า พุทฺธโฆโสติ ครูหิ คหิตนามเธยฺเยน เถเรน กตา อยํ สุมงคฺ ลวิลาสนิ ี นาม ทฆี นกิ ายฏฐฺ กถา— ตาว ตฏิ ฺฐตุ โลกสฺมึ โลกนิตฺถรเณสินํ. ทสฺเสนฺตี กลุ ปตุ ตฺ านํ นยํ ทิฏฺฐวิ ิสุทฺธิยาฯ ยาว พุทฺโธติ นามมฺปิ สทุ ฺธจิตฺตสฺส ตาทิโน. โลกมฺหิ โลกเชฏฐฺ สฺส ปวตฺตติ มเหสโิ นตฯิ สุมงฺคลวลิ าสินี นาม ทีฆนกิ ายฏฐฺ กถา นฏิ ฺฐิตา. แปล กด็ ว้ ยการพรรณนาประมาณเทา่ นี้ ขา้ พเจ้าอนั พระทาฐานาคสงั ฆเถระ ผ้อู ยู่ในบริเวณสุมังคลวหิ าร ผู้มคี ณุ อนั มั่นคง ผูอ้ นโุ ลมตามเถระวงศ์ ขอร้องแลว้ จึงไดเ้ ริม่ แต่งอรรถกถาโดยมชี ่อื วา่ สมุ งั คลวิลาสนิ ี แห่งคมั ภรี ์ทฆี นกิ ายอันประเสริฐด้วยการบรรลธุ รรม ซง่ึ แสดงหม่แู ห่งคณุ ของพระทศพล กอ็ รรถกถาชือ่ สมุ ังคลวลิ าสนิ ีนน้ี น้ั ยึดเอาสาระจากมหาอรรถกถาจบลงแล้ว ด้วยภาณวารแห่งพระบาลีประมาณ ๘๑ ภาณวาร แม้วิสทุ ธมิ รรค ซึง่ มีประมาณ ๕๙ ภาณวาร ขา้ พเจ้าไดร้ จนาไว้แล้ว เพอ่ื ประกาศเน้ือความแหง่ คัมภีรท์ ั้งหลาย ฉะนนั้ อรรถกถานี้ วา่ โดยการนบั ภาณวาร มี ๑๔๐ ภาณวาร ซ่งึ กาํ หนดนบั อยา่ งดแี ล้ว เหมือนคมั ภรี ว์ สิ ทุ ธมิ รรคนน้ั ซ่ึงมปี ระมาณ ท้ังหมด ๑๔๐ ภาณวารเช่นกนั อนึ่ง บุญใดอนั ขา้ พเจา้ ผูย้ ึดถอื เอาสาระ ในมลู อรรถกถาทป่ี ระกาศลัทธิ ของเหลา่ พระเถระผู้อยู่ในมหาวิหาร รจนาอรรถกถานี้ ได้สัง่ สมบญุ ไว้แล้ว

๕๓๓ ดว้ ยบุญน้ัน ขอชาวโลกท้ังมวลจงมคี วามสุขเถดิ อรรถกถาทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค อรรถกถาทีฆนิกาย ช่ือสุมังคลวิลาสินี นี้ อันพระเถระผู้ประดับด้วยศรัทธา ความรู้ และความเพียรอันบริสุทธิ์อย่างย่ิง มีเหตุเกิด คณุ คือศีล อาจาระ ความซอ่ื ตรง และความอ่อนโยนเปน๐ ต้นเกิดข้ึนแล้ว ผู้สามารถหยั่งลง สู่รกชัฏคือลัทธิของตนและลัทธิ ของผู้อ่ืน ประกอบพร้อมด้วยป๎ญญาและความเฉียบ แหลม ผู้มีรัศมีแห่งญาณอันกิเลส ใดๆ ขัดขวางไม่ได้ ในศาสนาของพระศาสดา ท่ี แตกต่างด้วยปริยัติคือพระไตรปิฎก พร้อม ทั้งอรรถกถา เป๐นนักไวยากรณ์ผู้ยิ่งใหญ่ ผู้ ประกอบด้วยความเพริดพริ้งแห่งคําพูดที่ไพเราะ อ่อนหวาน ให้เกิดความสุข เพราะ สมบตั ิคอื การทํา ผู้มีวาทะที่เปล่งออกอย่างถูกต้อง ผู้ประเสริฐกว่านักพูด เป๐นมหากวี ผู้ เปน๐ เครือ่ งประดับวงศข์ องเหลา่ พระเถระผู้อย่ใู น มหาวหิ าร ซ่งึ เป๐นประทีปแห่งเถรวงศ์ ผู้ มคี วามรตู้ ง้ั ม่ันดแี ลว้ ในอตุ ตรมิ นุสสธรรมที่ประดับ ด้วยคุณมีอภิญญา ๖ ประการเป๐นต้น เป๐นประเภท มีปฏิสัมภิทาท่ีแตกฉานเป๐นบริวาร มีพุทธิป๎ญญาอันบริสุทธิ์ ไพบูลย์ กวา้ งขวาง มชี อ่ื ท่คี รูทง้ั หลายยึดถือว่า พทุ ธโฆส ได้รจนาไว้แลว้ ขออรรถกถาทีฆนกิ ายชอ่ื สุมังคลวิลาสนิ ี เมอ่ื จะแสดงนัยแหง่ ทฏิ ฐอิ นั บรสิ ทุ ธิข์ องเหล่ากลุ บุตร ผแู้ สวงหาธรรมเครือ่ งสลดั ออกจากโลก จงต้งั ดาํ รงมั่นอยู่ในโลก ตราบเทา่ ท่แี ม้พระนามวา่ พุทธะ ของพระศาสดาผูม้ พี ระทยั บริสทุ ธ์ิ ผคู้ งท่ี ผู้ประเสริฐท่ีสดุ ในโลก ผู้ทรงแสวงหาพระคุณอนั ยิง่ ใหญ่ ยังคงเป๐นไปอยใู่ นโลกเทอญ๔๓๑ พรรณนาปาฏกิ วรรค อันเปน็ อรรถกถาของทฆี นิกาย ช่ือวา่ สมุ ังคลวิลาสนิ ี จบ ๔๓๑ ท.ี ส.ี อ.[ไทย] ๓/๔๑๓-๔๑๔.

๕๓๔ หมวด ศ ศาสนวงศ์ บาลวี า่ สาสน-วํส ศาสนวงศ์๔๓๒ หรอื ประวตั ศิ าสนานี้ พระปญ๎ ญาสามี พระภิกษุชาวพม่า แต่ง เปน๐ ภาษามคธ พรรณนาถงึ พทุ ธประวัติตงั้ ต้นแต่ประสูติจนถึงการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ออกไปในตา่ งประเทศ เชน่ เกาะสีหฬ แควน้ สุวรรณภูมิ แคว้นโยนก แคว้นวนวาสี แคว้น อปรันตะ แคว้นกัสมีรคันธาระ แคว้นมหิงสกะ แคว้นมหารัฐ และแคว้นจีน รวม รายละเอียดเรื่องทัง้ หมด ๑๗๔ เร่ือง แบ่งเป๐นปริจเฉทได้ ๑๐ ปริจเฉทตอนท้ายเล่มระบุ ว่า แตง่ เสร็จเมอ่ื วันเพญ็ เดอื นอา้ ย จลุ ศักราช ๑๒๒๓ หรือ พ.ศ. ๒๔๐๕ คําปรารภในการแต่ง ท่านระบุไว้ว่า ได้รับการร้องขอจากพระภิกษุ ต่างประเทศ โดยเฉพาะจากเกาะสหี ฬ และในประเทศพม่าเองก็มีหนังสือประวัติศาสนา ท่ีโบราณจารยท์ งั้ หลายเรียบเรียงไว้อย่างพิสดาร แต่เป๐นภาษาพม่า จึงไม่มีประโยชน์แก่ ชาวตา่ งประเทศทั้งหลาย ทา่ นจงึ ไดแ้ ตง่ ศาสนวงศ์ขึน้ เป๐นมูลภาษา [ภาษามคธ] โดยสอบ ทานจากคมั ภรี ์ท่ีโบราณจารยแ์ ต่งไว้เปน๐ ภาษาพมา่ ศาสนวงศ์แบ่งหมวดหมู่เนื้อหาเป๐น ๑๐ ปริจเฉท แต่ละปริจเฉทมี รายละเอยี ดยอ่ ยมากบ้าง น้อยบ้างไมเ่ ท่ากัน ประมวลรวมกันแล้วมที ั้งหมด ๑๗๔ เร่ือง มี รายละเอยี ดพอสงั เขปดังนี้ ปริจเฉทที่ ๑ ว่าด้วยประวัติศาสนามาสู่สถานท่ี ๙ แห่งในคัมภีร์ศาสนวงศ์ ลําดับความเป๐นมาของพระพุทธเจา้ เมอื่ คร้ังได้รับการพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าพระนาม ว่าทปี ง๎ กร ทรงบาํ เพ็ญบารมี ๓๐ ทัศตลอด ๔ อสงไขยแสนกัปป์ กระท่ังจุติลงมากําเนิด ในครรภ์พระนางสิริมหามายาในเมืองกบิลพัสดุ์ เมื่อวันเพ็ญเดือนวิสาขะ กระทั่งเสด็จ ออกผนวช ได้ตรัสรู้เปน๐ พระสมั มาสัมพุทธเจ้า ประกาศศาสนาเป๐นเวลา ๔๕ ปี ยังศาสนา ให้รุ่งโรจนต์ ลอดพระชนมายุได้ ๘๐ ปี จึงเสด็จดับขันธปรินิพพาน เรื่อยมาจนถึงการทํา สงั คายนาครงั้ ท่ี ๑ ครง้ั ที่ ๒ และครั้งท่ี ๓ ต่อมาถงึ การส่งสมณทูตไปประกาศศาสนาในท่ี ตา่ งๆ ๙ แหง่ หรือ ๙ สาย มีหัวหน้าคณะนําไป ๑ รูปบ้าง ๒ รูปบ้าง ตอนท้ายปริจเฉท ๔๓๒ พระป๎ญญาสามี, ศาสนวงศ,์ แสง มนวิทูร ผู้แปล. [กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๐๕], ๕๑๒ หนา้ .

๕๓๕ ได้กล่าวถึงพระเถระปรัมปรา เป๐นการแสดงถึงวงศ์ของพระเถระที่ทําหน้าท่ีสืบพระ ศาสนา และการแตกนกิ ายเปน๐ มหายาน ปริจเฉทท่ี ๒ ว่าด้วยเร่ืองประวัติศาสนาของชาวเกาสีหฬ พรรณนาความ เร่ิมตั้งแต่พระมหินทะ พร้อมด้วยพระเถระ ๖ องค์ มีพระอิฏฏิยะ เป๐นต้น กับสามเณร สุมนผเู้ ปน๐ หลาน และอบุ าสกชอื่ ภัณฑุกะ ออกเดินทาง [คัมภีร์ระบุว่ามาโดยทางอากาศ] ไปเกาะสหี ลเม่อื พ.ศ.๒๓๖ ซ่ึงเวลานน้ั พระเจา้ เทวานัมปยิ ติสสะ เพง่ิ ราชภิเษกได้เพียง ๑ เดอื น ทรงยงั พระราชาพร้อมราชบริพาร ๔๐,๐๐๐ เลื่อมใส ประดิษฐานศาสนาในลังกา มศี ษิ ยส์ บื ทอดมาเป๐นระยะๆ ดงั นี้ พระมหนิ ทะ มีศิษย์ชื่อ พระอริฏฐเถระ พระอรฏิ ฐเถระ มีศษิ ยช์ อ่ื พระติสสทตั ตะ พระตสิ สทตั ตะ มีศิษยช์ อ่ื พระกาฬสมุ นะ พระกาฬสมุ นะ มศี ษิ ย์ชอ่ื พระทีฆสมุ นะ พระทฆี สมุ นะ มศี ิษยช์ อ่ื พระทีฆะ พระทีฆะ มศี ษิ ย์ช่ือ พระทีฆสุมนะ พระทีฆสุมนะ มศี ิษยช์ ื่อ พระกาฬสมุ นะ พระกาฬสมุ นะ มศี ษิ ย์ชื่อ พระนาคะ พระนาคะ มศี ิษยช์ อ่ื พระพทุ ธรกั ขิตะ พระพทุ ธรักขิตะ มีศิษย์ชื่อ พระตสิ สะ พระติสสะ มีศษิ ย์ชอื่ พระเรวตะ พระเรวตะ มศี ิษยช์ อ่ื พระสุมนะ พระสมุ นะ มศี ิษยช์ อ่ื พระจฬู นาค พระจฬู นาค มศี ิษย์ชอ่ื พระธรรมปาลิตะ พระธรรมปาลติ ะ มศี ษิ ย์ช่อื พระเขมะ พระเขมะ มศี ิษยช์ ื่อ พระอปุ ติสสะ พระอปุ ติสสะ มีศษิ ย์ชื่อ พระผุสสเทวะ พระผุสสเทวะ มีศษิ ย์ชื่อ พระสุมนะ พระสมุ นะ มศี ิษยช์ อ่ื พระมหาปทมุ ะ พระมหาปทุมะ มศี ษิ ยช์ อ่ื พระมหาสีวะ พระมหาสีวะ มศี ษิ ยช์ อ่ื พระอุบาลี พระอุบาลี มศี ิษยช์ อ่ื พระมหานาคะ พระมหานาคะ มศี ิษย์ชื่อ พระอภยะ

๕๓๖ พระอภยะ มศี ิษยช์ อื่ พระติสสะ พระตสิ สะ มศี ิษย์ชอ่ื พระสุมนะ พระสมุ นะ มีศิษย์ชอ่ื พระจูฬาภยะ พระจฬู าภยะ มีศษิ ย์ชอ่ื พระตสิ สะ พระตสิ สะ มศี ิษย์ช่อื พระจูฬเทวะ พระจฬู เทวะ มีศิษย์ชือ่ พระสิวะ ต่อแตน่ น้ั คัมภรี ไ์ ด้พรรณนาถึงคุณลักษณะของพระวินัยธร ๓ ประการ, ต่อ ดว้ ยพรรณนาเรอื่ งราวเกาะสีหฬเกดิ ทพุ ภิกขภัย, การจดจาํ ปริยัต,ิ การสังคายนาธรรมข้ึน สู่ใบลาน, พระภิกษุชาวชมพูทวีปกับภิกษุเกาะสีหฬแยกคณะกัน ๑๑๘ ปีหลังจาก ประดิษฐานศาสนาในลังกา, พระเจ้าวิชัยพาหุและพระเจ้าปรักกมพาหุฟ๒ืนฟู พระพุทธศาสนา, การแปลพระสูตรเป๐นภาษาสีหฬ, ประวัติพระพุทธโฆสาจารย์, ยุค พระพุทธศาสนารุ่งเรืองในสีหฬ, พระภิกษุในเกาะสีหฬทรงจําพระไตรปิฎก, และ พรรณนาความท่ีพระเถระในเกาสีหฬแตง่ คมั ภรี ์อรรถกถา ฎีกา คัณฐี และปกรณ์สําคญั ๆ ปริจเฉทท่ี ๓ ว่าด้วยเร่ืองศาสนวงศ์ในรัฐสุวรรณภูมิ ความพรรณนาเร่ิม ตั้งแต่การนิยามความหมายของคําวา่ สวุ รรณภมู ิ หมายถงึ ช่ือของรัฐหน่ึงในรามัญทัง้ ๓ รัฐ ประกอบด้วย หงสาวดี เมาะตมะ และสวุ รรณภูมิ ความระบุว่า เม่ือพระพุทธเจ้าตรัสรู้ได้ ๗ สัปดาห์ ตยุสสะ กับ ภัลลิกะ เป๐นรายแรกท่ีประดิษฐานศาสนาในรามัญเมื่อวันข้ึน ๕ คา่ํ เดอื น ๘, คร้ังที่ ๒ กระทําโดยพระควัมปติเถระ ๘ ปีหลังพุทธปรินิพพาน, คร้ังที่ ๓ กระทําโดยพระโสณะและพระอตุ ตระ ประมาณ ๒๓๕ ปี หลังพุทธปรนิ ิพพาน ลุถึง พ.ศ.๑๐๖๐ รามัญอ่อนกําลังลง เพราะเหตุพิบัติ ๓ ประการคือ โจร ผู้ร้าย, ไข้ปุา, และศัตรูทางศาสนา ลุมาจนถึงรัชสมัยของพระเจ้าอนุรุทธ จึงได้มีการ ฟื๒นฟูนพระศาสนา นับเปน๐ การประดษิ ฐานศาสนาในรามัญคร้ังที่ ๔ ครั้งท่ี ๕ กระทําโดย พระพุทธวงศ์และพระมหานาคเถระ ซ่ึงรับสิกขาบทใหม่จากสีหล ครั้งที่ ๖ โดยการนํา พระเมธังกรเถระและพระเสวสุวรรณ ทั้งสองรูปนี้ก็ไปรับสิกขาบทใหม่จากลังกา เรียน ปริยัติธรรมจนแตกฉาน ชอบอยู่ปุา ประพฤติสมาทานธุดงค์ เป๐นผู้มักน้อยสันโดษ ลุ มาถงึ พ.ศ.๑๒๖๒ พระเจ้าธรรมเจดีย์ได้ทรงฟื๒นฟูศาสนาในเมืองหงสาวดี อาศัยความท่ี พระองคเ์ ป๐นผฉู้ ลาดในปิฎก ๓ เวท ๔ ไวยากรณศาสตร์ ฉันทศาสตร์ และอลังการศาสตร์ จึงใส่พระทัยตอ่ การศึกษาเลา่ เรียนเปน๐ พเิ ศษ ทรงดํารวิ า่ ศาสนาของพระผู้มีภาคยอ่ มเนื่องดว้ ยการบรรพชาและอุปสมบท ส่วนอุปสมบท ก็ย่อมเก่ียวเนื่องกับสีมาสมบัติ ปริสสมบัติ และญัตติกรรมวาจาสมบัติ พระองคจ์ ึงทรงปรึกษาหารือกับพระเถระในรัฐรามัญเพ่ือวินิจฉัยสีมาต่างๆ ให้เกิดความ

๕๓๗ บรสิ ุทธิ์ ทรงสลดพระทยั วา่ มผี ูก้ ล่าวว่าศาสนาจะอยู่ได้ ๕,๐๐๐ ปี แต่เพียง พ.ศ.๑๒๖๔ เท่านั้น ศาสนาก็มีมลทินแล้ว เกิดความสงสัยในอุปสมบทกรรมหลายแห่ง จึงมีรับสั่งให้ ภิกษุผู้มีกําลังสติป๎ญญาไปเกาะสีหฬแล้วรับสิกขาบทใหม่ กลับมาประดิษฐานศาสนาใน รัฐรามัญใหป้ ราศจากมลทนิ รายละเอียดหัวข้อท่ีแจกแจงการประดิษฐานศาสนาในรามัญ ๗ ครั้ง ถัด จากนนั้ กพ็ รรณนาถึงพระภิกษุรามัญแตกแยกคณะ, จบลงด้วยพระรามัญแต่งคัมภีร์โลก ทีปสาระ, ฏีกาอภิธรรมช่ือมธุรสารัตถทีปนี, คําอธิบายฉันท์ช่ือกวิสาระ, ป๎ฏฐานสารัตถ ทีปนี, และอเผคคุสาระ ศาสนาได้หยั่งรากลงเจริญมั่นคงเป๐นท่ีอาศัยของพระมหาเถระ ผู้ทาํ คัมภีร์ไว้มิใชน่ อ้ ย ปริจเฉทท่ี ๔ ว่าด้วยเรื่องศาสนวงศ์ในรัฐโยนก ความพรรรณนาถึง พระพทุ ธเจา้ ทรงเหน็ วา่ ในอนาคตพระศาสนาของพระองค์จะตั้งม่ันในรัฐโยนก จึงพร้อม ดว้ ยพระภิกษุสงฆ์ เสด็จเทยี่ วไปสู่ประเทศต่างๆ ได้เสด็จถึงนครลภุญชะ ทรงรับผลเสมอ จากนายพรานคนหนึ่ง ครน้ั ทรงบรโิ ภคแล้วโยนเมลด็ ไป เมล็ดสมอคา้ งอยบู่ นอากาศไม่ตก ดิน ทอดพระเนตรเห็นแล้วก็ทรงแย้มพระสรวล พระอานนท์เห็นจึงกราบทูลถาม ทรง พยากรณว์ ่า สถานทน่ี ้ี ในอนาคตจะเปน๐ ทปี่ ระดษิ ฐานเจดีย์ของพระองค์ ศาสนาจะเจริญ งอกงาม สถานทีท่ รงบริโภคผลสมอ ได้ช่อื วา่ หรภิ ุญชะ ความต่อมาไดพ้ รรณนาถึงประวัตเิ ชยี งใหม,่ ประวตั ิพระพุทธปฏิมาแก้วมณี, พระนาคเสนเถระประดษิ ฐานศาสนาในแควน้ โยนก, พญาเจ้าเมืองประดิษฐานศาสนาใน โยนกครั้งท่ี ๔, พระเจ้าอเนกเสติภินทะครองโยนก, พระเถระในโยนกแต่งคัมภีร์ เช่น พระญาณวิลาสเถระแต่งสังขยาปกาสกะ, พระสิริมงั คลเถระกลับมาจากลงั กา ได้แต่งฎีกา , พระอตุ ตราราม แต่งคัมภรี ว์ สิ ทุ ธิมรรคทีปนี เป๐นตน้ ปรจิ เฉทที่ ๕ วา่ ด้วยเรื่องศาสนวงศ์ในรัฐวนวาสี ความพรรณนาต้ังแต่สมัย พระเจ้าทวตั ตโปงคะสถาปนาพระพุทธศาสนาเป๐นครั้งแรกในเมืองศรีเกษตร รัฐวนวาสี, ต่อมาพระรักขิตเถระได้มาที่เมือง ทําให้ชาวเมืองเลื่อมใสประดิษฐานศาสนาให้ม่ันคงย่ิง ตอนท้ายปริจเฉท พรรณนาถึงพระอรหันต์ในเมืองศรีเกษตร ได้รับการร้องขอจาก พระราชาใหแ้ ต่คมั ภีรธ์ รรมศาสตร์ พระศาสนาในยุคน้ีรุ่งเรืองย่ิงเหมือนพระจันทร์ในวัน เพ็ญ ปริจเฉทที่ ๖ ว่าด้วยศาสนวงศ์ในรัฐอปรันตะ ความพรรณนาว่า พระพุทธศาสนาได้มาถึงพม่าแล้วตั้งแต่ประมาณ ๒๐ ปี ก่อนพุทธปรินิพพาน แต่ยังไม่ แพร่หลายนัก จึงมีความพยายามในการส่งพระภิกษุมาประกาศศาสนาเรื่อยมา แม้

๕๓๘ พระพุทธเจ้าก็เคยเสด็จมาพร้อมด้วยเหล่าพระสาวก ทรงเคยรับวิหารจันทน์แดงท่ีพวก พอ่ คา้ สรา้ งถวาย เมื่อเสดจ็ มากจ็ ะทรงประทับท่ีวิหารจนั ทนแ์ ดงน้ี ความในคัมภีร์พรรณนาถึงลัทธิของพวกสมณกุตตกะ สอนผู้คนไปในทางที่ ผิด เช่น คนทําปาณาติบาตมา สวดปริตบทน้ันบทน้ีแล้วจะพ้นบาป ผู้ทําอนันตริยกรรม ใคร่พ้นจากบาป ก็สวดปริตบทน้ันบทน้ี ถ้าจะทําการสมรส ต้องมอบตัวให้อาจารย์ก่อน ผู้ใดละเมิดจารีต จะประสบบาปอย่างหนกั [คล้ายธรรมเนียมของเผ่าอีก้อ ท่ีอยู่ดอยสะโง้ อําเภอเชียงแสน] ต่อมาได้อาศัยพระเจ้าอนุรุทธะได้ช่วยชําระพระศาสนาให้บริสุทธิ์ ประดิษฐานศาสนาในนครอริมัททนะ และจากคัมภีร์ทําให้ทราบว่า ชาวนครอริมัททนะ เป๐นผู้คงแก่ปริยัติเป๐นอย่างมาก แม้ผู้หญิงก็มีภูมิความรู้ทางด้านไวยากรณ์ สามารถ ทอ่ งจําพระสตู รต่างๆ ดว้ ยปากเปล่าได้ ความทราบไปถึงสามเณรรูปหน่ึงชาวเมืองรัตนปุ ระ ประเทศรามัญ ได้เดนิ ทางไปเพื่อทดสอบ ครัน้ มาถงึ ใกล้เมอื งอริมัททนะ เห็นเด็กหญิง คนหน่งึ เฝาู ไร่ฝูายอยู่ จงึ เขา้ ไปถามหนทาง เดก็ หญงิ ถาม กโุ ต อาคโตสิ สามเณรตอบวา่ รตนปุรโต อหํ อาคจฉฺ ติ เด็กหญิงถาม กหุ ึ คโตสิ ? สามเณรตอบว่า อรมิ ททฺ นนครํ คจฉฺ ติ เด็กหญิงเห็นสามเณรพูดอย่างน้ันก็กล่าวตอบว่า ท่านพูดภาษามคธไม่ ใครค่ รวญ วนิ ิจฉัยการผกู ประโยคเสยี แทนที่จะผูกประโยคบอกกัตตาคือผู้ทําเป๐น “ฉัน” กลบั บอกกตั ตาเปน๐ “เขา” ถ้อยคําของบณั ฑิตจะต้องไดถ้ ้อยกระทงความ มอี รรถสมบูรณ์ ไมพ่ ลาดจากนยั ของศัพท์ เหมือนจันทรเ์ ตม็ ดวงมิใช่หรือ ? ๔๓๓ สามเณรได้ยินเช่นนั้นก็อดสูใจย่ิงนัก คิดว่า เด็กหญิงจนๆ เฝูาไร่เฝูานายัง ฉลาดปราชญเ์ ปรือ่ งถึงเพียงน้ี จะปวุ ยกล่าวไปใยถงึ ผู้ใหญช่ ั้นผู้ดีมีทรัพย์ ดังนั้นจึงหมุนตัว กลับเมอื งรัตนปุระ โดยไมย่ อมเดนิ เขา้ ไปในเมอื งอกี ตอ่ ไป ความต่อมา พรรณนาถึงศาสนาในนครเกตุมดี, ข้อถกเถียงเร่ืองนํ้าตาลสด เปน๐ สุราเมรัยหรือไม่, ศาสนาในนครขันธปุระ, ศาสนาในนครวิชยปุระ, มูลเหตุพระภิกษุ ในนครวชิ ยปุระเปน๐ อลัชชี, พระภกิ ษุแยกคณะเปน๐ อรญั ญวาสีและคามวาสี, สมณกุตตกะ ชกมวย, สมยั พระเจ้าสีหสรู ะ, ประวตั ิพระกัณฏกขิปเถระ, พระเถระนครวิชัยแต่งคัมภีร์, พระเจ้าสังขยาโจโยนสร้างนครไชปุระ, พระเจ้าสติวะสร้างนครรตนปุระ, ศาสนาใน นครรตนปรุ ะ, พระเจ้าสิริธรรมราชาธิบดีประหารภิกษุอลัชชี, สมัยพระเจ้ามะงอกรีจฺวา ๔๓๓ พระป๎ญญาสาม,ี ศาสนวงศ,์ หนา้ ๑๒๐.

๕๓๙ โจก, สงครามระหวา่ งพมา่ กบั รามญั , ภกิ ษหุ า้ มสงครามโดยสันตวิธี, พระเจ้ามริญะงอลบ ศักราช, สมยั พระเจา้ มหานรบดี, ประวัตพิ ระมหาอริยวงศ์ และพระเรตังเถระ, สมัยพระ เจา้ สริ สิ ุธรรมราชาธิบด,ี สมัยพระเจ้าศรตี รภิ วนาทติ ยนรบดี, สมยั พระเจา้ สิริหังสวา, สมัย พระเจ้าโมฆาเพียรบดี, สมัยพระเจ้าอเนกเสติภินทะ, สมัยพระเจ้าอุกกังสิกะ, สร้าง นครรตนปุระคร้ังท่ี ๒, สมัยพระเจ้ามหาธรรมราชา, พระเถระพม่าแสดงภูมิรู้ที่เมือง รามัญ, ความพรรณนาเรือ่ ยมาจนถึงการกล่าวถึงประเทศพม่าว่มีคณะสงฆ์ ๕ คณะ และ จบลงด้วยศาสนาในนครวชิ ัยปรุ ะ นครไชยปุระ และนครรตนปุระ ปรจิ เฉทที่ ๗ ว่าด้วยศาสนวงศ์ในรัฐกัสมีระและคันธาระ เน่ืองจากรัฐกัสมี ระและคนั ธาระอยูใ่ กลก้ นั พระโมคคัลลบี ุตรตสิ สเถระ จึงสง่ พระมชั ฌนั ติกะ และคณะอีก ๔ รูป เพยี งชุดเดยี ว คมั ภรี ์พรรณนาไว้ว่า แคว้นน้ีมีพญานาคอรวาลอาศัยอยู่ และมีฤทธ์ิ มาก แต่พระเถระก็ปราบพญานาค ให้ตั้งอยู่ในไตรสรณคมน์ ผู้คนเลื่อมใสต้ังอยู่ในไตร สรณคมน์เชน่ เดยี วกัน ความในปรจิ เฉทที่ ๗ มีเพยี งเท่านี้ ปรจิ เฉทท่ี ๘ ว่าด้วยศาสนวงศ์ในรัฐมหิงสกะ ความพรรณนาไว้เพียงส้ันๆ วา่ เม่ือสังคายนาครั้งท่ี ๓ ลุล่วงแล้ว พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ ส่งพระเรวตเถระพร้อม พระภกิ ษอุ ีก ๔ รปู รวมเปน๐ ๕ ไปถงึ ไดแ้ สดงเทวทตู สูตรให้มหาชนฟง๎ มีคนได้บรรลุธรรม ๔ หมืน่ และบวชทั้งหมด ๔ หม่นื ความในปริจเฉทที่ ๘ มเี พียงเทา่ นี้ ปริจเฉทที่ ๙ ว่าด้วยศาสนวงศ์ในแคว้นมหารัฐ ความเร่ิมต้นด้วยการ พรรณนาถึงพระมหาธรรมรักขิตเถระ พร้อมภิกษุ ๔ รูป เดินทางไปแคว้นมหารัฐ แสดง นารทชาดก และเวสสันดรชาดกให้คนเลื่อมใส คัมภีร์ระบุว่า มหารัฐนั้นอยู่ใกล้ประเทศ สยาม ความระบุไวอ้ ีกวา่ ในปี พ.ศ.๒๒๙๐ พระเจ้ากิตตสิ ิริราชสีหมหาราช ได้ส่งพระราช สาส์นมาขอพระสงฆ์จากประเทศไทย ทาํ ใหเ้ กดิ อุบาลีวงศ์ในลงั กา ความในปรจิ เฉทที่ ๙ มีเพียงเท่านี้ ปริจเฉทที่ ๑๐ ว่าด้วยศาสนวงศ์ในรัฐจีน ความพรรณนาถึงเม่ือสังคายนา ครั้งที่ ๓ ส้ินสุดลง พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ ได้ส่งพระมัชฌิมเถระไปรัฐจีน พร้อมกับ พระกัสสปโคตรเถระ พระอลกเทวเถระ พระขุททภิยเถระ และพระมหาเรวตเถระ รัฐน้ี อยู่ใกลป้ ระเทศหมิ พานต์ พระเถระไปแสดงธรรมจักรกัปปวตั นสูตร ยงั ประชาชนในรัฐทั้ง ๕ ก๊กให้เลอื่ มใส แต่ละก๊กได้บวชในสาํ นกั ประมาณกก๊ ละ ๑,๐๐๐ คน ความในปริจเฉทท่ี ๑๐ มีเพียงเทา่ น้ี

๕๔๐ หมวด ห, ฬ

๕๔๑ หมวด อ อเผคคสุ ารทีปนีจฬู ฎีกา อเผคคุสารทีปนีจูฬฎีกา๔๓๔ เป๐นคัมภีร์พรรรณนาเรื่องราวเกี่ยวกับจิต เจตสิก รูป นิพพาน อธิบายไขความคัมภีร์อภิธัมมัตถวิภาวินี [อนุฎีกา] และเพ่ือให้ พุทธศาสนิกชนได้ทราบประวัติความเป๐นมาของคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาตลอดถึง หลักธรรมคําสั่งสอนของพระพุทธเจ้า เป๐นคัมภีร์ในสายพระอภิธรรมที่แพร่หลายอยู่ใน ประเทศไทย ลาว พมา่ เขมร มอญ คัมภีร์อเผคคุสารทีปนีจูฬฎีกา ระบุประวัติผู้แต่งและปีท่ีแต่งไว้ว่า พระติ ปฎิ กธรเถระ นามว่ามหาสุวรรณทีปะ ผู้เป๐นอาจารย์ของพระสีวลีเทวี เป๐นพระราชโอรส ของพระเจ้าปรักกมพล ซงึ่ เป๐นพระภาตุของพระเจ้าป๎ญญาชวราช ท่านแต่งคัมภีร์น้ีไว้ใน นครหงสาวดี เมื่อปีพุทธศักราช ๒๐๙๓ ดังมีปรากฏในคัมภีร์อเผคคุสารทีปนีจูฬฎีกา ฉบบั ภาษาบาลี ปรจิ เฉทท่ี ๙ วา่ “อจิ ฺเจวํ อุปายลทฺเธ หํสวตินคเร สีวลิเทวิยา อาจาริเยน ปรกกฺ มพลราชปุตเฺ ตนปํฺญาชวราชภาตภุ เู ตน ติปิฏกธเรน มหาสุวณฺณทีปตฺเถเรน รจิตา อเผคฺคุสารทปี นี นาม จฬู ฏกี าย วณฺณนา สมตฺตา” อเผคคสุ ารทปี นจี ฬู ฎีกานน้ั เป๐อปนคัมภีร์ท่ีมีประวตั คิ วามเปน๐ มาไม่น้อยกว่า ๔๐๐ ปี และได้รบั ความนิยมจากพทุ ธศาสนกิ ชนอย่างแพรห่ ลาย มีเนอื้ หาสาระของธรรม ลว้ น ๆ ไม่เกี่ยวขอ้ งกับบุคคล เหตุการณ์และสถานท่ีใด ๆ ทั้งสิ้น เมื่อยกหลักธรรมขึ้นมา ก็จะอธิบายด้วยวิธี ลักษณะ คุณสมบัติ และความเป๐นไปของสภาวธรรม ตามความเป๐น จริงท่ีสุด เช่น เม่ือกล่าวถึงเรื่องบุคคล ทางพระอภิธรรมหรือในปรมัตถ์ ถือว่าคนไม่มี มี แต่ส่ิงที่ประชุมกันของขันธ์ ธาตุ อายตนะเท่าน้ัน ส่วนที่เรียกว่าคนนั้นเรียกโดยสมมติ โวหาร ซ่ึงเนื้อความน้ันมี ๙ ปรจิ เฉท แต่ละปริจเฉท มีเนื้อความโดยย่อดงั นี้๔๓๕ ปรจิ เฉทท่ี ๑ เป๐นการรวบรวมเร่ืองจิตทั้งหมดทุกภพภูมิมาไว้ในปริจเฉทน้ี ไดเ้ รียนรจู้ ิตทั้งหมด ๘๙ หรือ ๑๒๑ เช่น จิตกุศล จิตอกุศล จิตที่เป๐นผลบุญ จิตท่ีเป๐นผล บาป และจติ ทเี่ ป๐นกิริยา ๔๓๔ พระมหาอรรถเมธ อตถฺ วรเมธี [พฒั นพวงพนั ธ]์ , การตรวจชาระคัมภีร์อเผคคุสารทีปนี จฬู ฎีกา, วิทยานพิ นธ์พทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบาลี, [บัณฑิตวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลยั , ๒๕๔๘], ๒๘๔ หนา้ . ๔๓๕ พระมหาอรรถเมธ อตฺถวรเมธี [พัฒนพวงพันธ์], การตรวจชาระคมั ภรี อ์ เผคคสุ ารทีปนี จูฬฎีกา, หนา้ ๒๕

๕๔๒ ปริจเฉทท่ี ๒ เป๐นการรวบรวมเรื่องของเจตสิกปรมัตถ์ ซึ่งเป๐นธรรมชาติท่ี ประกอบกบั จติ ปรงุ แตง่ จิต ทาํ ให้จติ รูส้ กึ คดิ แตกต่างกันทั้งหมด ๕๒ การศึกษาปริจเฉทนี้ จะทําใหร้ ้สู ว่ นประกอบปรงุ แตง่ ของจติ ใจอยา่ งละเอยี ด ปรจิ เฉทท่ี ๓ เป๐นการรวบรวมจิตและเจตสิกสงเคราะห์จิตและเจตสิกลงใน เวทนา เหตุ กิจทวาร อารมณ์และวัตถุ ซ่ึงเป๐นฐานอันสําคัญท่ีจะก้าวไปสู่การเรียนรู้ ปรจิ เฉทที่สงู ๆ เช่น เรื่องของวิถีจิต เร่ืองของเหตุปจ๎ จยั เป๐นตน้ ปริจเฉทท่ี ๔ เป๐นการแสดงของการทํางานของจิตและเจตสิกในขณะรับ อารมณท์ างปญ๎ จทวารและทางมโนทวาร เช่น เหน็ ครั้งหนงึ่ มขี บวนการของจิตและเจตสิก เกิดต่อเนื่องกันอย่างไร คิดชอบใจ ไม่ชอบใจ มีกระบวนการทํางานของจิตและเจตสิก อย่างไร ซ่ึงมรี ายละเอยี ดอยู่ในปรจิ เฉทน้ี ปริจเฉทท่ี ๕ เป๐นการรวบรวมจิตทเ่ี จตสิกทาํ งานเก่ียวข้องกับกรรม กฎแห่ง กรรมอยา่ งละเอยี ดถีถ่ ้วน ทั้งฝุายกุศลกรรมและฝุายอกุศลกรรม และภพภูมิอันเป๐นท่ีอยู่ ของสัตว์ทง้ั ๓๑ ภูมิ ปริจเฉทที่ ๖ เป๐นการรวบรวมเรื่องรูปทั้งหมดมาไว้ให้ศึกษาในจํานวนรูป ท้ังหมด คือส่วนประกอบของร่างกายของมนุษย์และสัตว์ทั้งหลาย รูปท้ังหมดมี ๒๘ รูป ในแต่ละรูปมีช่ือเรียกว่าอะไร มีลักษณะอย่างไร เกิดขึ้นมาจากสมุฏฐานอะไร ทั้งหมด ตัง้ แต่เกิดจนตาย ปริจเฉทท่ี ๗ เป๐นการรวบรวมจิต เจตสิก รูป นิพพาน สงเคราะห์เป๐น หมวดหมู่แห่งธรรมที่เป๐นไปเพ่ือการตรัสรู้ หมวดหมู่แห่งอกุศลมี ๙ กอง หมวดหมู่แห่ง ธรรมท้ังหลายปนกันและการจาํ แนกธรรมโดยความเป๐นขันธ์ อายตนะ ธาตุ อินทรีย์และ อริยสจั จ์ ๔ เป๐นตน้ ปรจิ เฉทที่ ๘ เป๐นการรวบรวมจิต เจตสิก และทําหน้าที่เป๐นเหตุเป๐นป๎จจัย กันและกัน และหลักปฏิจจสมุปบาท คือ ธรรมท่ีเป๐นเหตุเป๐นผลต่อเนื่องกันไม่ขาดสาย ธรรมที่เปน๐ เหตมุ เี ท่าไรธรรมทเ่ี ป๐นผลมเี ท่าไร อะไรบ้างเปน๐ ต้น ปริจเฉทที่ ๙ เปน๐ การรวบรวมเรอื่ งของการปฏิบัติทั้งสมาธิและวิป๎สสนามา ไว้ในท่ีน้ีจะศึกษาเรื่องของสมาธิได้อย่างถี่ถ้วนทั้ง ๔๐ แบบ เรียนรู้ถึงการปฏิบัติจนได้ ฌาน อภิญญาการแสดงฤทธิ์ต่าง ๆ ตลอดจน มรรค ผล นิพพาน รวมเนื้อหามี ๙ ปรจิ เฉทมิได้มีนอกเหนือไปจากน้ี ตวั อย่างเนื้อหาในพระคัมภีร์ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมมฺ าสมพฺ ทุ ธฺ สฺส คนถฺ ารมภฺ กถา

๕๔๓ เย เต จพฺภติตา พทุ ฺธา เย จ พทุ ธฺ า อนาคตา เตสปุ ิ เอกเมกสสฺ คุณสารา อสงฺขิยา. เตสญจฺ สพพฺ สํฆานํ ตเถว คุณราสโย สพฺเพ เต เม นลาเฏว ตฏิ ฺฐเปมิ สพพฺ ทา. สพฺพคนเฺ ถสุ โย สาโร สขุ โุ ม อตคิ มฺภีโร ตํ คเหตวฺ าน ภาสิสสฺ ํ อเผคคฺ สุ ารทีปนึ. วณฺณนํ จฬู ฏีกาย วจิ ติ ตฺ นยมณฺฑติ ํ ตํ เม สุณาถ สาธโว ปณฑฺ ิตา สทุ ฺธมานสา. สุตวฺ า จ สุขุมํ ญาณํ เปสยิตฺวาน ญาตพฺพํ อเปเสตฺวาน ญาตพฺพํ ครหโทสโรปนนฺติ. คนฺถารมภฺ กถาวณณฺ นา ปกรณารมเฺ ภ ปฐมํ ตาว ปณามปฏิญฺญาตปการอภิเธยฺยอภิธานปก รณปโยชนนิสฺสเย ทสฺเสํตุ วิสุทฺธกรุณาญาณนฺติอาทิ วุตฺตํ. ตตฺถ ปณาโม อนฺ ตรายนิวารณตฺถํ. ปฏิญฺญาตํ อวสฺสํ ภารสมฺปตฺตวหนตฺถํ. ปกาโร อุสฺสาห ชนนตฺถํ. อภิเธยฺโย ปกรณสฺส อุคฺคหณตฺถํ. อภิธานํ โวหารสุขตฺถํ. ปกรณํ คารวุปฺปาทนตฺถํ. ปโยชนํ ปน ทุวิธํ มุขฺยปรมฺปรปโยชนวเสน. เตสุ มุขฺยป โยชนํ สมตุ เฺ ตชนตฺถ.ํ ปรมฺปรปโยชนํ สมปฺ ตตฺ ทิ สฺสนตฺถํ. นิสฺสโย อตฺตุกฺกํสนนิวา รณตฺถํ ทสฺสิโตติ. ตตถฺ วสิ ุทฺธกรณุ าญาณนตฺ ิ ลพฺภมานกวเสน เอกตฺตึสวจนตฺถา. กถํ กรุณปู มตาย หิ เอกาทส. ตถา ญาณปู มตาย. อุภยปฺปธานตาย นวนยาติ. ตตฺถ กรุณูปมตาย เอกาทสนยา ตาว วิสุทฺธสทฺทสฺส กรุณาวิเส สนตฺเถน ตโย. ญาณวิเสสนตฺเถน เทฺว. อุภยวิเสสนตฺเถน ตโย. พาหิรตฺถวิเส สนตฺเถน ตโยติ. ญาณูปมตาย เอกาทสาติ วิสุทฺธสทฺทสฺส๑๙ กรุณาวิเสสนตฺ เถน ปญฺจ อุภยพาหิรตฺถวิเสสนตฺเถน ตโย ตโยติ. อุภยปฺปธานตาย นวาติ วิ สทุ ธฺ สทฺทสสฺ กรณุ าวเิ สสนตเฺ ถน ตโย. อุภยวิเสสนตเฺ ถน จตฺตาโร. พาหิรตฺถวิเส สนตฺเถน เทฺวติ.๔๓๖ แปล ขอนอบน้อมแด่องค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบ ด้วยพระองค์เองพระองค์น้ัน ฯ คนั ถารัมภกถา ๔๓๖ พระมหาอรรถเมธ อตถฺ วรเมธี [พัฒนพวงพนั ธ์], การตรวจชาระคัมภีร์อเผคคุสารทีปนี จฬู ฎกี า, หนา้ ๕๒.

๕๔๔ พระพุทธเจ้าในอดีตและพระพุทธเจ้าในอนาคตแต่ละพระองค์ มีสารธรรม เป๐นคณุ นบั ไม่ถว้ น ฯ อน่งึ พระสงฆ์ทั้งหมด ของพระพุทธเจ้าเหล่านั้น ก็มีกองคุณอย่าง นั้นเหมือนกัน ข้าพเจ้า๑ขอตั้งหมวดคุณเหล่าน้ันท้ังหมดไว้ ท่ีหน้าผาก ของข้าพเจ้า ใน กาลทุกเมื่อฯ บรรดาคัมภีร์ทั้งหมด เน้ือแท้ใด ที่ละเอียดลึกซ้ึงอย่างย่ิง ข้าพเจ้า จักเล่า เรียนเนื้อแท้น้ันกล่าวอเผคคุสารทีปนี ฯ ขอท่านท้ังหลายผู้เป๐นคนดี ผู้เป๐นบัณฑิต ผู้มีใจ บริสทุ ธ์ิจงสดับ การพรรณนาจูฬฎีกาท่ีประดับด้วยนัยอันวิจิตรของข้าพเจ้า ฯ อนึ่ง พวก ท่าน ครั้นสดับแล้ว พึงส่งญาณอันสุขุมไปแล้วจึงทราบ ไม่ส่งไปแล้ว ก็พึงทราบ การก่อ โทษคอื การตาํ หนติ ิเตียนแล ฯ คนั ถารมั ภกถาวรรณนา คัมภีร์ก่อนอ่ืน ในการเร่ิมต้น มีการพูดถึง วิสุทธกรุณาญาณ เพื่อแสดงถึง การแสดงการเคารพบชู าการตัง้ ใจแนว่ แนจ่ ุดประสงคค์ มั ภรี ์วธิ กี ารและที่อ้างองิ ฯ ในเร่ือง ท่กี ล่าวมาน้นั การกราบไหว้บูชาก็เพ่ือปูองกันอุปสรรค ฯ การตั้งใจแน่วแน่ก็เพ่ือการนํา ภารกิจให้ประสบความสําเร็จอย่างแน่นอน ฯ จุดประสงค์ ก็เพ่ือการสร้างกําลังใจ ฯ จุดประสงค์ กเ็ พอื่ การศึกษาคมั ภรี ์ ฯ อภิธานก็เพ่ือเป๐นการง่ายในการพูด ฯ คัมภีร์ ก็เพ่ือ ความนา่ เช่อื ถอื ฯ วธิ ีการมี ๒ ประการคอื มขุ ปาฐะ [ท่องจํา] การสืบทอดกันต่อ ๆ มา ฯ ในสองอย่างนั้น มุขปาฐะ ก็เพื่อความแม่นยํา ฯ การสืบทอดกันต่อ ๆ มา ก็เพื่อแสดง ความสมบูรณ์ ฯ ท่ีอ้างอิง ก็เพ่ือห้ามไม่ใหํใ ช้ความเหฝูนส่วนตัวเป๐นหลัก ฯพึงทราบ ความหมายคาถาเร่ิมต้นน้ัน ดังต่อไปน้ี เม่ือคํานึงถึงส่ิงท่ีจะได้รับ วิสุทธกรุณาญาณ หมายถงึ นัยยะ ๓๑ ประการ ฯ คืออย่างไร เมอ่ื เปรยี บเทยี บกับความกรณุ ากม็ ี ๑๑ นัยยะ ฯ เมื่อเปรียบเทยี บกบั ญาณกม็ ี ๑๑ นัยยะเช่นเดียวกัน ฯ เม่ือถือว่า กรุณาและญาณเป๐น หลกั ก็มีนยั ยะ ๙ ประการ ฯ บรรดานัยยะ ๓๑ ประการน้ัน อันดับแรก ขอกล่าวถึงนัยยะ ๑๑ เมื่อ เปรียบเทยี บกับกรุณาศพั ทว์ ่า วสิ ุทธ มนี ยั ยะ ๓ ในฐานะเปน๐ ตัวขยายกรุณา ฯ มีนัยยะ ๒ ในฐานะเป๐นตัวขยายญาณ ฯ มีนัยยะ ๓ ในฐานะเป๐นตัวขยายท้ังกรุณาท้ังญาณ ฯ มีนัย ยะ ๓ ในฐานะภายนอกและฐานะเป๐นตัวขยาย ฯ มีนัยยะ ๑๑ เมื่อเปรียบเทียบกับญาณ ศัพท์ว่า วิสุทธ มีนัยยะ ๕ ในฐานะเป๐นตัวขยายกรุณา มีนัยอย่างละ ๓ ในฐานะเป๐นตัว ขยายกรุณาและญาณทั้งสองและฐานะภายนอก ฯ นัยยะมี ๙ เมื่อถือว่ากรุณาและญาณ ทงั้ สองเป๐นหลกั อ ศัพทว์ า่ วิสทุ ธ มีนยั ยะ ๓ ในฐานะเปน๐ ตวั ขยายกรุณา ฯ มีนัยยะ ๔ ใน

๕๔๕ ฐานะเปน๐ ตวั ขยายทั้งกรุณาท้ังญาณทั้ง ๒ ฯ มีนัยยะ ๒ ในฐานะภายนอกและฐานะเป๐น ตวั ขยาย ฯ๔๓๗ อนาคตวงศ์,พระคัมภีร์ พระคัมภีร์อนาคตวงศ์ เปน๐ วรรณคดบี าลวี า่ ดว้ ยเร่ืองพระพุทธเจ้าในอนาคต มีทั้งหมด ๔ ฉบับ คือ ๑] คัมภีร์อนาคตวงศ์ ฉบับของพระกัสสปเถระ ท่านเป๐นชาว อินเดียใต้ มีชีวิตอยู่ระหว่าง พ.ศ.๑๗๐๓-๑๗๗๓ รจนาในรูปของร้อยกรองล้วน ประกอบด้วย ๑๔๒ คาถา ๒] อมตรรสธารา อรรถกถาอนาคตวงศ์ ผลงานของพระอุป ติสสเถระชาวลังกา ๓] อมตรสธารา ฎีกาอนาคตวงศ์ ผลงานของพระอุปติสสเถระชาว ลงั กา และ ๔] คมั ภรี ์ทสโพธสิ ัตตปุ ปต๎ ติกถา ว่าด้วยพระพุทธเจ้าในอนาคต ๑๐ พระองค์ พระบณั ฑติ เถระไดต้ รวจสอบ และจดั ทําคาํ แปลเป๐นภาษาสิงหล๔๓๘ ๓ เล่มแรก ปรากฏอยู่ในรายชื่อคัมภีร์ท่ีพระเจ้าอยู่บรมโกศ สมัยกรุงศรี อยุธยา พระราชทานสง่ ไปชว่ ยสบื พระพทุ ธศาสนาในประเทศลังกา เม่อื พ.ศ.๒๒๙๙ สําหรับพระคมั ภรี ์อนาคตท่ีนํามาจัดทําคําอธิบายในสารานุกรมวรรณกรรม พระพุทธศาสนาน้ี เปน๐ คัมภรี อ์ นาคตวงศ์ฉบับร้อยแก้วทีร่ จนาในประเทศไทย สันนิษฐาน ว่า รจนาก่อนสมัยสุโขทัย เพราะในบานแพนกของหนังสือไตรภูมิพระร่วง ซ่ึงเป๐นพระ ราชนิพนธข์ องพญาลไิ ท ระบุช่อื คัมภีรอ์ นาคตวงศืไว้ด้วย อย่างไรก็ตามคัมภีร์อนาคตวงศ์ ฉบับน้ี ไมส่ ามารถระบสุ ถานท่แี ตง่ สมัยท่แี ต่ง และประวัติผู้แตง่ ในบทสรุปงานวิจัยของผา่ น วงษอ์ ว้ น๔๓๙, คมั ภีรอ์ นาคตวงศ์ อุเทศที่ ๑-๑๐: การตรวจชําระและศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชา ภาษาตะวันออก บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้สรุปความเป๐นมาของ คมั ภีร์อนาคตวงศ์ สรุปความไดว้ า่ คัมภีร์อนาคตวงศ์แต่งขึ้นท่ีล้านนา ระหว่างพุทธศตวรรษท่ี ๑๖-๑๘ จาก เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ น่าจะแต่งขึ้นสมัยพระเจ้าอาทิจจราชกษัตริย์แห่งนครหริ ๔๓๗ พระมหาอรรถเมธ อตถฺ วรเมธี [พัฒนพวงพนั ธ]์ , , หน้า ๑๗๙. ๔๓๘ ประภาส สุระเสน, ผแู้ ปล. พระคมั ภรี ์อนาคตวงศ์, [กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์สุรวัฒน์ , ๒๕๔๐], หน้า ๑. ๔๓๙ ผ่าน วงษ์อ้วน, คัมภีร์อนาคตวงศ์ อุเทศท่ี ๑-๑๐: การตรวจชาระและศึกษาเชิง วิเคราะห์, [วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาตะวันออก บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, ๒๕๒๒], หน้า ๒๓๑.

๕๔๖ ภุญชัย หรอื อาจหลังก็ได้ แต่คงแต่งก่อนสมัยสุโขทัยแน่นอน ส่วนความคิดเร่ืองโพธิสัตว์ ๑๐ องค์นัน้ อาจไดแ้ นวคิดมาจากลังกา หรอื จากไทยเอง หรอื อาจทงั้ ๒ แห่งกเ็ ป๐นได้ เกยี่ วกบั การแต่ง แต่งเป๐นร้อยกรองแบบพระสูตรในนิกายท้ังหลายท่ีพบใน พระสุตตันตปฎิ ก คือแต่งเป๐นร้อยแก้วสลับร้อยกรอง และมีการเท้าความจากป๎จจุบันไป หาอดีต เพ่ือโยงอดีตมาหาป๎จจุบัน ภาษาท่ีใช้เป๐นแบบสนทนาระหว่างพระสารีบุตรกับ พระพุทธเจ้า จุดเด่นอยู่ท่ีสะท้อนให้เห็นชีวิตความเป๐นอยู่ การเศรษฐกิจ และความ เช่ือถือในพระพุทธศาสนาของคนโบราณในสมัยแต่งคัมภีร์ได้เป๐นอย่างดี เนื้อหาท่ีแต่ง เปน๐ ทงั้ นิยายโบราณ และคําสง่ั สอน ส่วนวัตถปุ ระสงคใ์ นการแตง่ แม้ผ้แู ตง่ จะไม่บอกไว้ ก็ สนั นษิ ฐานไดจ้ ากเน้อื เร่ืองวา่ ต้องการแสดงจรยิ วัตรของพระโพธิสัตว์ เพื่อให้ผู้อ่านได้เกิด ความหวัง และเกิดศรทั ธาในการทาํ ความดี และจากเน้ือเรื่อง ผู้แต่งคงได้รับอิทธิพลจาก ฝุายมหายาน แต่ไม่คอ่ ยมคี วามรใู้ นเนือ้ หามากนัก เนอ้ื หาพระคมั ภีร์อนาคตวงศท์ า่ นแบง่ เป๐นอุเทศรว่ มทั้งหมด ๑๐ อุเทศ ตาม จํานวนพระพทุ ธเจ้าในอนาคต ๑๐ พระองค์ท่ีพระคัมภีร์พรรณนาถึง โดยก่อนหน้าท่ีจะ พรรณนาถึงในอุเทศแรก ผู้รจนาได้เขียนบทนมัสการพระรัตนตรัย และแสดงที่มาของ เนือ้ หาในพระคมั ภีร์อนาคตวงศ์ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมมฺ าสมพฺ ทุ ฺธสฺส สตถฺ า สาวตถฺ ิยํ อปุ นิสสฺ าย ปุพฺพาราเม วิสาขาย การาปิเต วสนฺโต อชิตตฺ เถรํ อารพฺภ อนาคเต อปุ ฺปนนฺ ํ ทสโพธิสตตฺ ํ เทเสสิ ฯ คาแปล ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ผู้เป๐นพระ อรหันต์ ตรสั รชู้ อบดว้ ยพระองค์เอง ฯ พระบรมศาสดา ทรงอาศัยกรงุ สาวัตถี ประทบั อย่ใู นบุพพารามท่ีนางวิสาขา มหาอุบาสิกาสร้างถวาย ทรงปรารภพระอชิตเถระ ทรงแสดงพระโพธสิ ัตว์ทจ่ี ะเสด็จตรัสรู้ ในอนาคต ๑๐ พระองค์ ต่อแตน่ ั้น กพ็ รรณนาความในแต่ละอุเทศ ตามลาํ ดบั ดังน้ี๔๔๐ อุเทศที่ ๑ ว่าด้วยพระศรีอริยเมตไตรยสัมพุทธเจ้า พรรณนาความตั้งแต่ เสด็จจุติลงมาจากสวรรค์ชั้นดุสิต ถือปฏิสนธิในครรภ์ของนางพรหมวดี ภรรยาของสุ พรหมพราหมณ์ผ้เู ป๐นปโุ รหิตของพระเจา้ สงั ขจกั รพรรดแิ หง่ เกตุมวดีนคร ๔๔๐ ประภาส สุระเสน, ผ้แู ปล. พระคัมภรี อ์ นาคตวงศ์, หน้า ๗๕.

๕๔๗ อุเทศท่ี ๒ ว่าด้วยพระรามสัมพุทธเจ้า พรรณนาความตั้งแต่ศาสนาของ พระศรีอริยเมตไตรยเสื่อมไปแล้ว ไฟไหม้แผ่นดิน เม่ือภัททกัปล่วงไปแล้ว เป๐นช่วงสุญญ กัปต่อจากสญุ ญกัป เป๐นมัณฑกัป ในมณั ฑกัปจะมีพระพุทธเจ้า ๒ พระองค์ คือ พระราม พุทธเจ้า และพระธรรมราชาพุทธเจ้า อุเทศท่ี ๓ ว่าด้วยพระธรรมราชาสัมพุทธเจ้า พรรณนาความต้ังแต่พระ ศาสนาพระรามพุทธเจ้าเสื่อมแล้ว พระเจ้าป๎สเสนทิโกศลจะตรัสรู้เป๐นพระพุทธเจ้าพระ นามว่าพระธรรมราชา มหาชนอาศัยตน้ กัลปพฤกษ์ทเี่ กิดด้วยพุทธานุภาพเลย้ี งชวี ิต อุเทศท่ี ๔ ว่าด้วยพระธรรมสามีสัมพุทธเจ้า พรรณนาความต้ังแต่เมื่อ ศาสนาของพระธรรมราชาพุทธเจ้าเสื่อมไปล้ว มัณฑกัปจะถูกไฟไหม้ ต่อจากน้ันจะมีกัป ใหม่ เรียกว่า สารกปั พระอภิภูเทวราช หรือพระยามารจักได้ตรัสรู้เป๐นพระพุทธเจ้าพระ นามวา่ พระธรรมสามี มหาชนอาศัยขมุ ทรัพย์ทเ่ี กิดด้วยพุทธานุภาพเลี้ยงชีวติ อุเทศที่ ๕ วา่ ด้วยพระนารทสัมพุทธเจ้า พรรณนาความต้ังแต่ศาสนาพระ ธรรมสามพี ทุ ธเจา้ ล่วงไปแล้ว สารกปั ผา่ นไปแล้ว ลถุ งึ สญุ ญกปั เมวื่ สญุ ญกัปผ่านไป มัณฑ กปั บังเกดิ ขั้น ในมณั ฑกัปมีพระพุทธเจา้ ๒ พระองค์ คือพระนารทพุทธเจ้า และพระรังสี มนีพุทธเจา้ อสุรินทราหู จกั ตรัสรเู้ ป๐นพระพุทธเจ้าก่อน ในสมัยน้ี จักมีรส ๗ ประการใน แผ่นดิน มหาชนอาศยั รสดินเลีย้ งชวี ติ อเุ ทศที่ ๖ ว่าด้วยพระรังสีมนุ ีสมั พทุ ธเจ้า พรรณนาความต้ังแต่เมื่อศาสนา ของพระนารทพทุ ธเจ้าลว่ งไปแลว้ โสณพราหมณ์จกั ไดต้ รัสรู้เป๐นพระพุทธเจ้าพระนามว่า รังสีมนุ ี ในสมยั นี้ มหาชนจกั เล้ยี งชีวิตดว้ ยพาณิชยกรรมและเกษตรกรรม อเุ ทศท่ี ๗ วา่ ด้วยพระเทวเทพสมั พทุ ธเจ้า พรรณนาความเมื่อพระศาสนา ของพระรงั สีมุนพี ทุ ธเจา้ ลว่ งไปแลว้ และมัณฑกัปก็ล่วงไปแล้ว เกิดมีมัณฑกัปหน่ึง ในกัป นัน้ จกั มพี ระพุทธเจ้า ๒ พระองค์ คอื พระเทวเพทพทุ ธเจ้า และพระนรสีห์พุทธเจ้า สุภพ ราหมณจ์ ักได้ตรัสรเู้ ป๐นพระพทุ ธเจ้าพระนามว่าเทวเทพ มหาชนไม่ตอ้ งทําไร่ไถนา ไม่ต้อง ค้าขาย แต่ดํารงชีพด้วยข้าวสาลีหอมท่ีเกิดด้วยพุทธานุภาพ จะมีต้นกัลปพฤกษ์ต้นหน่ึง อบุ ตั ิ ห้อยระยา้ ดว้ ยเสอ้ื อาภรณ์ คนต้องการอะไรกไ็ ปสอยเอาจากต้นกัลปพฤกษน์ ั้น อุเทศท่ี ๘ ว่าด้วยพระนรสีห์สัมพุทธเจ้า พรรณนาความเม่ือศาสนาพระ เทวเทพพทุ ธเจา้ ล่วงไปแล้ว โตเทยยพราหมณ์จะได้ตรัสรู้เปน๐ พระพทุ ธเจา้ พระนามว่า นร สหี ์ มพี ระวรกายสงู ๖๐ ศอก มีพระชนมายุ ๘๐,๐๐๐ ปี มีต้นแคฝอยเป๐นสถานท่ีตรัสรู้ ด้วยพุทธานุภาพ จะมีขา้ วสาลีหอมเกดิ เป๐นปกติ มหาชนไม่ต้องทําไร่ไถนา ไม่ต้องค้าขาย แต่อาศยั ข้าวสาลีหอมบริโภค มีต้นกัลปพฤกษใ์ หม้ หาชนได้อาศัย ผู้ใดปรารถนาอะไรก็ไป สอยเอา

๕๔๘ อเุ ทศท่ี ๙ วา่ ด้วยพระตสิ สสมั พุทธเจา้ พรรณนาความเม่ือพระศาสนาของ พระนรสีหพ์ ทุ ธเจ้าส้ินไปแล้ว มัณฑกัปผ่านพ้นไปแล้ว สุญญกัปได้อุบัติขึ้น เมื่อสุญญกัป ผ่านไปแลว้ มณั ฑกัปหนึง่ อบุ ัตขิ ึ้นในมัณฑกัปนัน้ มพี ระพทุ ธเจ้า ๒ พระองค์ คอื พระติสส พทุ ธเจา้ และพระสมุ งั คลพุทธเจ้า ช้างนาฬาคิรี จะได้มาตรัสรู้เป๐นพระพุทธเจ้าพระนาม ว่าติสสะ มหาชนอาศัยตน้ กัลปพฤกษ์เล้ยี งชีวิต อุเทศท่ี ๑๐ วา่ ดว้ ยพระสมุ ังคลสัมพุทธเจ้า พรรณนาความเม่อื พระศาสนา ของพระตสิ สพทุ ธเจ้าส้นิ สดุ แล้ว ช้างปาลเิ ลยกะโพธสิ ัตวจ์ ักไดต้ รัสรู้เป๐นพระพุทธเจ้าพระ นามวา่ สุมังคละ ทรงมีพระวรกายสูง ๖๐ ศอก ด้วยพุทธานุภาพ จักมีต้นกัลปพฤกษ์ต้น หนึง่ มหาชนอาศยั ต้นกลั ปพฤกษ์นนั้ เล้ียงชีวิต ทุกคนมีความสุขทั่วหน้า บทส่งท้าย เรียกว่า นิคมคาถา พรรณนาสรุปพระโพธิสัตว์ ๑๐ พระองค์ พระพุทธเจ้าในอนาคต ๑๐ พระองค์, ต้นไม้สําหรับตรัสรู้ ๑๐ ประเภท, กัป ๕ ประกอบด้วย สารกัป, มณั ฑกปั , วรกปั , สารมณั ฑกปั , และภัทรกัป, และพระโพธิสัตว์ ๓ จาํ พวก ไดแ้ กพ่ ระปญ๎ ญาธิกะ, พระสทั ธาธิกะ, และพระวิรยิ าธกิ ะ “คําสอนของพระโลกนาถท่ีเป๐นอักขระและพุทธรูป อักขระหนึ่งๆ พึงมีผล เสมอกันทีเดียว บคุ คลถวายดอกไม้ ๑ ดอกในพระชินเจา้ จะเปน๐ ผู้มีรูปงาม มีป๎ญญามาก ทรงไว้ซง่ึ พระไตรปฎิ ก ตลอด ๘๐ โกฏิกปั ” “พระนพิ พานเป๐นสขุ อย่างย่งิ ” อภิธมั มาวตาร อภิธัมมาวตาร๔๔๑ ตามศัพท์แปลว่า “คัมภีร์เป๐นเครื่องข้ามพ้นพระ อภิธรรม” โดยความหมายคือเป๐นคัมภีร์อธิบายอภิธรรม ผู้รจนาคือพระพุทธทัตตเถระ เป๐นชาวทมิฬ เกิดท่ีเมืองอุรคปุระ ป๎จจุบันคือเมืองอุไรปุร แคว้นโจฬะ ประเทศอินเดีย เนื้อหาเป๐นการประมวลสาระในอภิธรรมทั้ง ๗ คัมภร์ และอรรถกถาพระอภิธรรม เป๐น รอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรองจํานวน ๑,๔๑๖ ขอ้ เพื่อใหก้ ลุ บุตรสามารถเรียนรู้พระอภิธรรมได้ โดยงา่ ย ดังคาํ ปรารภ [คันถารมั ภกถา] ในการแตง่ คัมภรี ว์ ่า “ข้าพเจา้ จักประพนั ธค์ ัมภีร์นามว่า อภธิ ัมมาวตาร โดยย่อ อันไพเราะเจริญ ปญ๎ ญา แกเ่ หล่าภิกษุเพื่อความเป๐นผู้ฉลาดในพระอภิธรรมอันเป๐นปิฎกสูงสุดนั้น ซึ่งเป๐น ๔๔๑ พระพุทธทัตตเถระ, อภิธัมมาวตาร, พระคันธสาราภิวงศ์ ผู้แปลและอธิบาย, [กรุงเทพฯ: ไทยรายวนั การพมิ พ,์ ๒๕๔๙], ๕๖๓ หน้า.

๕๔๙ ประดุจกุญแจ ดเี ลิศใช้ไขบานประตูคือโมหะแก่ภิกษุผู้เข้าไปสู่มหานครแห่งพระอภิธรรม อันเป๐นสําเภาของ ภิกษุผู้ข้ามมหาสมุทรแห่งพระอภิธรรมที่ข้ามได้ยากดุจสําเภาของ พอ่ ค้าผู้ข้ามมหาสมทุ รที่ขา้ ม ได้ยาก และเหมอื นดั่งรัตนะทรงค่าที่วางไว้ในมือของภิกษุผู้ ศึกษาพระอภิธรรม ทา่ นทั้งหลาย ผูม้ ีใจตงั้ มน่ั จงสดับคมั ภีรน์ ้นั เถดิ ” ๔๔๒ เนอื้ ความคมั ภรี แ์ บง่ ออกเปน๐ ๒๔ ปริจเฉท กล่าวถึงปรมัตถธรรม ๔ คือ จิต เจตสกิ รูป และนิพพานไว้ใน ๑๑ ปริจเฉทแรก และกล่าวถึงเรื่องเบ็ดเตล็ดท่ัวไปใน ๑๓ ปริจเฉทหลงั มรี ายละเอยี ดดงั น้ี คือ๔๔๓ ๑. จิตตนิเทศ คําอธิบายจิต ในปริจเฉทแรกน้ีแสดงปรมัตถธรรม ๔ คือ จิต เจตสิก รูป และนิพพาน ต่อจากน้ันแสดงความหมายของจิต ลักษณะ หน้าที่ [รสะ] อาการปรากฏ [ปจ๎ จุปฏ๎ ฐาน] และเหตุใกล้ [ปทัฏฐาน] ของจิต พร้อมทั้งประเภทของ จิต โดยละเอยี ด มีท้งั คาํ รอ้ ยแก้วและคาถาสลบั กันไป รวมคาถาได้ ๕๙ บท ๒. เจตสกิ นิเทศ คําอธิบายเจตสิก โดยแสดงความหมายและประเภท ของ เจตสกิ มที งั้ คําร้อยแก้วและคาถา ๒๐ บทสลบั กันไป ๓. เจตสิกวิภาคนิเทศ คําอธิบายเจตสิกเป๐นหมวดหมู่ ในปริจเฉทนี้แสดง จํานวนและช่ือเจตสิก ๕๒ ดวง จากน้ันแสดงเจตสิกที่ประกอบได้ในจิตต่างๆ อย่าง ไพเราะ ประกอบด้วยคาถาลว้ น ๓๘ บท ๔. เอกวธิ าทินเิ ทศ คาํ อธิบายจิตทม่ี ปี ระเภทเดยี วเป๐นตน้ มีคาถา ๕๕ บท ๕. ภูมิบุคคลจิตตุปปัตตินิเทศ คําอธิบายการเกิดข้ึนของจิตตามภูมิและ บคุ คล มี คาถา ๑๐๙ บท ๖. อารัมมณวิภาคนิเทศ คําอธิบายอารมณ์เป๐นหมวดหมู่ โดยจําแนก อารมณ์ ท่ีมีรปู เสียง กลิ่น รส สมั ผัส และธรรมารมณ์ มคี าถา ๘๕ บท ๗. วปิ ากจติ ตปั ปวตั ตนิ ิเทศ คาํ อธบิ ายคามเป๐นไปแห่งวิปากจติ มีคาถา ๙๙ บท ๘. ปกิณณกนิเทศ คําอธิบายจิตโดยทั่วไปโดยข้อเบ็ดเตล็ดโดยยกอุปมา ต่างๆ มคี าถา ๘๕ บท ๙. ปุญญวิปากปัจจยนิเทศ คําอธิบายป๎จจัยของผลบุญ โดยแสดงปุญญาภิ สงั ขารเปน๐ ตน้ มีคาถา ๖๒ บท ๔๔๒ พระพุทธทัตตเถระ, อภิธมั มาวตาร, หนา้ ๒. ๔๔๓ พระพทุ ธทตั ตเถระ, อภิธมั มาวตาร, หน้า [๑๑].


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook