Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

Published by panyawat_mcu_br, 2022-03-20 05:00:53

Description: ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

๔๐๐ อสงไขยหน่ึงๆ พึงทราบด้วยประการฉะนี้ฯ ถามว่า พึงทราบอย่างไร ตอบว่า พระอานนเถระ ทลู ถามวา่ ขา้ แตพ่ ระองค์ผู้เจริญ กัปหนึ่งนานใหมพระเจ้าข้าฯ พระพทุ ธเจา้ ตอบว่า “นานมาก อานนท์” พระอานนท์ถูลว่า “พวกข้าพระองค์ จะพึงทราบได้อย่างไร ขอพระองค์ได้โปรดอุปมาฯ” พระพุทธเจ้าตรัสว่า “อานนท์ ถา้ อยา่ งนนั้ เธอจงฟัง” แลว้ ตรัสคาถานีว้ ่า หนงึ่ สบิ รอ้ ย พัน หมื่น แสน, ๑๐ แสนเป็น ๑ โกฏิ, ๑๐ โกฏเป็น ๑ ปโกฏิ, ๑๐ ปโกฏิเป็น ๑ นหุต, ๑๐ นหุตเป็น ๑ นินนหุต, ๑๐ นินนหุตเป็น ๑ อักโขภิณี, ๑๐ อักโขภิณี เปน็ ๑ พินทุ, ๑๐ พินทุ เปน็ ๑ อพั ภุพะ, ๑๐ อัพภุพะเป็น ๑ นิรพั ภุพะ, ๑๐ นริ พั ภุพะเป็น ๑ อหหะ, ๑ อหหะเป็น ๑ อฏั ฏะ, ๑๐ อัฏฏะเป็น ๑ อัพพะ, ๑๐ อพั พะเป็น ๑ โสภัณธิ กะ, ๑๐ โสภณั ธฺกะเปน็ ๑ อุปละ, ๑๐ อปุ ละเป็น ๑ กุมุทะ, ๑๐ กุมทุ ะเปน็ ๑ ปทมุ ะ, ๑๐ ปทุมะเปน็ ๑ ปุณฺฑริกะ, ๑๐ ปุณฑริกะเป็น ๑ กถานะ, ๑๐ กถนาะเป็น ๑ มหากถานะ, ๑๐ มหากถานะเปน็ ๑ อสงไขย บุคคลย่อมนับอสงไขยโดย ละเอยี ดดังพรรณนามานี้ ฯ๓๐๗ ปริจเฉทท่ี ๔ จนฺทมิ สรุ ิยคตทิ ปี นี [จนฺทมิ สรุ ยิ คตกิ ถา] [๖๒] อทิ านิ จนฺทมิ สุริยคตกิ ถา สมฺปตตฺ า ฯ อนธฺ กาเรน ภีตานํ สตฺ ตานํ จนทฺ มิ สุรยิ า ปาตภุ วนตฺ ีติ อาทนิ า วตุ ฺตฯํ เตสุ กสฺส กึ ปมาณํ, โก กสฺมึ วสต,ิ โก อุปริ โก กสมฺ ึ วสติ, โก อุปริ ลีมกติ, เนสํ วิถิโย กถํ จรนฺติ, กิตฺต เก ฐาเน อาโลกํ กโรนฺติ, กิมตฺถํ เต ราหุ คิลตีติ วุจฺจติฯ ตตฺถ จนฺทมณฺฑลํ อุชกุ ํ อายามโต จ วติ ถฺ ารโต จ อุพฺเพธโต จ เอกูนปญฺญาสโยชนํ, ปริมณฺฑล โต ปน ตีหิ โยชเนหิ โอนทิยฑฺฌสตโยชนํฯ สุริยมณฺฑลํ ปน อชุกํ ปญฺญาส โยชนํ ปริมณฑฺ ลโต ทยิ ฑสฺ ตโยชนํฯ เตสุ ปน จนฺทมณฑลํ เหฏฺฐา สุริยมณฺฑลํ อุปรฯิ อนตฺ รา เตสํ โยชนํ โหติ ฯ จนทฺ สสฺ เหฏฺฐมนฺตโต สุริยสฺส อุปริมนฺต โต โยชนสตํ โหติฯ จนฺทวิมานสฺส อนฺโต มณิมยํ พาหิรํ รชฏปริกุชิตํ อนฺโต ๓๐๗ ทองคํา สุธรรม, การตรวจสอบชาระและการศึกษาเชิงวิเคราะห์คัมภีร์โลกสัณฐาน โชตรตนคณั ฐี, หนา้ ๒๕๕-๒๕๖.

๔๐๑ จ พหิ จ สมลีตลเมว โหตฯิ สรุ ิยวิมานสฺส อนฺโต กนกมยํ พาหริ ํ ผลิกปริกฺขิตํ โหติ อนฺโต จ พหิ จ อุณฺหเมวฯ จนฺโท อุชุกํ สนิทํ คจฺฉติฯ โส หิ อมาวลิยํ สุริเยน สทธฺ ึ คจฺฉนฺโต ทิวเส ทิวเส โถกํ โอทิยนฺโต ปุณฺณมาลิยํ อุปฑฺฒมคฺค โต โอหียตฯิ ติรยิ ํ ปน สีฆํ คจฉฺ ติ ฯ แปล ปรจิ เฉทที่ ๔ ว่าด้วยการแสดงการโคจรของพระจันทรแ์ ละพระอาทติ ย์ [เร่อื งการโคจรของพระจนั ทรแ์ ละพระอาทติ ย์] [๖๒] บัดนี้ ถึงเวลาที่จะกล่าวถึงเรื่องการโคจรของพระจันทร์และ พระอาทิตย์แล้วฯ ท่านกล่าวคําเป็นต้นว่า “พระจันทร์และพระอาทิตย์ ย่อม ปรากฏแก่สัตว์ท้ังหลายผู้กลัวความมืด”ฯ มีคํากล่าวอีกว่า “บรรดาพระจันทร์ และพระอาทิตยน์ ้นั อยา่ งไหนมีประมาณเทา่ ไร, พระจันทร์และพระอาทิตย์อยู่ท่ี ไหน, อย่างไหนโคจรเบ้ืองบนเร็วแค่ไหน, ทางโคจรของพระจันทร์และพระ อาทิตย์โคจรอยา่ งไร, พระจันทร์ พระอาทติ ยใ์ หแ้ สงสว่างในทม่ี ปี ระมาณเท่าใด, ทาํ ไมราหจู งึ อมพระจนั ทร์และพระอาทิตยเ์ หลา่ นัน้ ”ฯ บรรดาพระจันทร์และพระ อาทิตย์น้ัน พระจันทร์วัดตรงๆ ท้ังโดยส่วนยาวและส่วนกว้างได้ประมาณ ๔๙ โยชน์, แต่วัดโดยปริมณฑล [วัดรอบ] ได้ประมาณ ๑๔๗ โยชน์ฯ ส่วนพระ อาทิตย์วัดตรงๆ ได้ ๕๐ โยชน์ วัดโดยรอบได้ ๑๕๐ โยชน์ฯ อนึ่ง บรรดา พระจันทร์และพระอาทิตย์นั้น พระจันทร์อยู่ตํ่า พระอาทิตย์อยู่สูงฯ ระหว่าง พระจันทรแ์ ละพระอาทิตย์ [ห่างกัน] ประมาณ ๑ โยชน์ฯ จากส่วนตําสุดของ พระจันทร์ [จนถึง] ส่วนสูงสุดของพระอาทิตย์มีประมาณ ๑๐๐ โยชน์ฯ ด้าน ในจันทวมิ านเปน็ แกว้ ดา้ นนอกหมุ้ ด้วยเงิน ทั้งภายในและภายนอกเย็นเท่ากันฯ สุริยวิมานด้านในเป็นทอง ด้นนอกหุ้มด้วยแก้วผลึก ท้ังด้านในและด้านนอก ร้อนทีเดียวฯ พระจันทร์โคจรตรงๆ ช้าๆ ก็พระจันทร์เมื่อโคจรไปกับพระ อาทิตย์ในดิถีอมาวสี [ดิถีท่ีอยู่ร่วมกันของพระจันทร์และพระอาทิตย์] โคจร ลา่ ช้าหน่อยหนง่ึ ทุกวันๆ ยอ่ มลา่ ช้าจากครึ่งทาง ในวันพระจันทร์เต็มดวงฯ ก็ พระจน้ ทรน์ ้ัน ยอ่ มโคจรเรว็ ในทางเฉยี งฯ๓๐๘ ๓๐๘ ทองคํา สุธรรม, การตรวจสอบชาระและการศึกษาเชิงวิเคราะห์คัมภีร์โลกสัณฐาน โชตรตนคณั ฐี, หนา้ ๓๑๐.

๔๐๒ หมวด ว วชริ สารตั ถสังคหะ,พระคมั ภรี ์ พระคัมภีรว์ ชิรสารตั ถสังคหะ๓๐๙ หรือ “ประมวลอรรถอนั เป๐นสาระประดุจดัง เพชร” เปน๐ ผลงานของพระสิริรัตนป๎ญญาเถระ ผู้เป๐นปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาสมัย ล้านนาที่มีผลงานโดดเด่นด้านการแต่งคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาอีกรูปหน่ึง เพราะ นอกจากคัมภีร์วชิรสารัตถสังคหะแล้ว คัมภีร์ชินกาลมาลีปกรณ์ก็เป๐นผลงานของท่าน สารัตถะของพระคัมภีร์เป๐นการร้อยเรียงอรรถท่ีเป๐นสารัตถะต่างๆ ท่ีสําคัญท่ีเป๐น ประโยชน์ ครอบคลุมศาสตร์ต่างๆ ไว้เป๐นจํานวนมาก เช่น นิรุกติศาสตร์ โหราศาสตร์ คณิตศาสตร์ อลังการศาสตร์ อักษรศาสตร์ คันธัพพศาสตร์ และหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา พระคัมภีร์วชิรสารัตถสังคหะ รจนาเรียบร้อยเมื่อ พ.ศ.๒๐๗๘ ลักษณะบท ประพันธ์เป๐นประเภทร้อยกรอง ในรูปฉนั ทลกั ษณ์บาลีประเภทต่างๆ เช่น ปฐยาวัตฉันท์, มาลินีฉันท์, วสันตดิลกคาถา เป๐นต้น เนื้อหากําหนดเป๐นเร่ืองๆ รวม ๑๘ เรื่อง นับ ปกณิ ณกะด้วยเป๐น ๑๙ เรือ่ ง นาวาเอก [พิเศษ] แย้ม ประพัฒนท์ อง จัดคัมภีร์เล่มนี้อยู่ใน ประเภท “บันเทิงคดีของนักศึกษาภาษาบาลี” เพราะอํานวยโอชารส เป๐นอาหารทาง ปญ๎ ญา ออกรสสนุกสนานทุกระยะๆ ท่ีสําคัญเป๐นประโยชน์แก่ผู้สนใจท่ัวไป อ่านแล้วได้ ความร้ใู นคตทิ างพระพุทธศาสนา ทําให้ทราบว่า หัวใจต่างๆ น้ัน ท่ีแท้เป๐นอักษรย่อของ ข้อธรรมต่างๆ ที่ท่านผกู เป๐นคํายอ่ จากอักษรต้นบ้าง กลางบ้าง ปลายบ้าง เพื่อสะดวกแก่ การจดจํา การแปล ผู้แปล คือ นาวาเอก [พิเศษ] แย้ม ประพัฒน์ทอง ได้วางรูปแบบ คาถาประพันธ์ พร้อมท้ังคําแปลภาษาไทยเป๐นเป๐นคาถาๆ ไป จากน้ันก็เขียนข้อสังเกต หรอื คาํ อธิบายเสริม มากบา้ ง นอ้ ยบ้างตามความเหมาะสมจนครบถ้วนตลอดทั้งเล่ม รวม ท้ังสนิ้ ๑๙ เรื่อง ๔๑๔ คาถา เพื่อเป๐นแนวทางในการศึกษา จะได้ยกตวั อยา่ งมาแสดงตอ่ ไปตามสมควร บทปณามคาถา (๑) สนตฺ ํ สนเฺ ตหิ ปชู ติ ํ พุทฺธํ พทุ ฺเธน เทสติ ํ ธมมฺ ํ ธมมฺ วรํ ลทธฺ ํ สงฆฺ ํ สงฆฺ วรํ นเมฯ ๓๐๙ พระสิริรัตนป๎ญญาเถระ, พระคัมภีร์วชิรสารัตถสังคหะ, นาวาเอก [พิเศษ] แย้ม ประพฒั นท์ อง, [กรุงเทพฯ: เปย๑ี มศลิ ป์ กราฟฟิคอาร์ต, ๒๕๕๖], ๒๕๖ หน้า.

๔๐๓ แปล ข้าพเจ้า [พระสิริรัตนป๎ญญาเถระ] ขอน้อมนมัสการ พระพุทธเจ้า ผู้ทรงสงบแล้ว อันสัตบุรุษท้ังหลายพากันบูชาแล้ว ขอนมัสการพระธรรม เจา้ อันพระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ขอน้อมนมัสการพระสงฆเจ้า ผู้ได้รับพระธรรมเจ้าอัน ประเสรฐิ แล้ว เปน๐ หมทู่ ่ปี ระเสรฐิ (๒) พาทฆิ านฺตตตฺ ยํ วนเฺ ท กาวามาติวิธาทรํ ตสฺเสว อานุภาเวน โสตถฺ ิ เม โหตุ สพฺพทาฯ แปล ข้าพเจ้า น้อมไหว้พระรัตนตรัยมีพระพุทธเจ้าเป๐นต้น มี พระสงฆ์เป๐นที่สุด ด้วยทวารท้ัง ๓ คือ กาย วาจา และใจอย่างนอบน้อม ด้วยอานุภาพ แห่งพระรตั นตรยั นั้นนน่ั เทียว ขอความสวัสดีจงมีแก่ขา้ พเจ้า ในกาลทงั้ ปวง๓๑๐ ขอ้ สังเกตของผแู้ ปล จาก ๒ คาถา สะท้อนใหเ้ ห็นถงึ อัธยาศัยอนั ละเอยี ดออ่ น และความเชี่ยวชาญ ในหลักอลังการของผู้ประพนั ธ์ โดยสังเกตไดจ้ าก คาถาที่ ๑ บทท่ีเป๐นจุดเด่นทุกบท คือมีพยัญชนะพร้อมกันท้ังหมด เช่น สนฺตํ สนฺเตหิ, พุทฺธํ พุทฺเธน, ธมฺมํ ธมฺมวรํ, สงฺฆํ สงฺฆวรํ การประพันธ์ได้เช่นน้ี มิใช่เรื่อง ง่าย แสดงถึงความเช่ียวชาญในอลงั การศาสตรอ์ ย่างยอดเยยี่ ม คาถาท่ี ๒ เป๐นบทที่แสดงถึงความฉลาดในนิรุติศาสตร์ กล่าวคือ ในบท ประพนั ธ์ทา่ นร้อยคาํ วา่ “พาทิฆานฺตตฺตยํ” แปลวา่ พระรตั นตรัยมีพระพุทธเจ้าเป๐นต้น มี พระสงฆเจา้ เป๐นทสี่ ุด แปลจากบทคือ พาทิ=พ [อักขระต้นของ พุทธ] + อาทิ, ฆานฺต=ฆ [อกั ขระปลายของ สงฆฺ ]+อนฺต, นอกจากน้ยี งั มี “กาวามา ซึ่งแต่ละบทเป๐นอักขระต้นของ คาํ วา่ กาย วาจา และมโน อาทสิ ังเกต สังเกตอักขระต้น [๙] พุธสํ มงคฺ ลํ โลเก ทกุ ขฺ นาสกรํ วรํ พธุ สํ สรณํ คจฺฉ สุขกาโมสิ จ ตวุ ฯํ แปล พุธสํ เป๐นมงคลในโลก กระทําความทุกข์ให้พินาศ เป๐นสิ่ง ประเสรฐิ ถงึ พธุ สํเป๐นสรณะเถดิ ถา้ ทา่ นต้องการความสขุ ข้อสังเกตของผู้แปล ให้สังเกตบทต้น พุธสํ กล่าวคือ พุ เป๐นอักษรต้นของคําว่า พุทฺธ, ธ เป๐น อักษรต้นของคําว่า ธมฺม, สํ เป๐นอักษรต้นของคําว่า สงฺฆ ถ้าแปลเต็มรูปก็ต้องแปลว่า “พระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า พระสังฆเจ้า เป๐นมงคลในโลก กระทําความทุกข์ให้พินาศ ๓๑๐ พระสิริรัตนป๎ญญาเถระ, พระคมั ภีร์วชิรสารตั ถสังคหะ, หนา้ ๑.

๔๐๔ เป๐นสิ่งประเสริฐ ถึงพระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า พระสังฆเจ้าเป๐นสรณะเถิด ถ้าท่าน ต้องการความสุข” [๑๐] ยสสฺ ทสกฺขรา อสํ- วสิ ุโล อ ปุ ส พุ ภ วจสา ปคุณา ตวฺ ตโฺ ถ มนสา โส สุขํ ลภฯิ แปล อักขระ ๑๐ คอื อ, ส,ํ ว,ิ ส,ุ โล, อ, ปุ, ส, พ,ุ ภ คลอ่ งปาก และ อรรถะคล่องใจ แก่บคุ คลใด บคุ คลนั้นไดร้ ับความสขุ ขอ้ สงั เกตของผแู้ ปล คาถานี้เป๐นอาทิสังเกต คืออักขระท้ัง ๑๐ นั้น เป๐นอักขระต้นของพระนาม พระพทุ ธเจา้ หรือพระพทุ ธคณุ ทัง้ ๑๐ บท คอื อ เป๐นอักขระหนต้นของพระคุณบท อรหํ สํ เป๐นอักขระหนต้นของพระคุณบท สมฺมาสมพฺ ทุ โฺ ธ วิ เปน๐ อักขระหนต้นของพระคณุ บท วิชฺชาจรณสมปฺ นโฺ น สุ เป๐นอกั ขระหนตน้ ของพระคุณบท สคุ โต โล เป๐นอกั ขระหนตน้ ของพระคณุ บท โลกวทิ ู อ เปน๐ อกั ขระหนตน้ ของพระคุณบท อนตุ ฺตโร ปุ เปน๐ อักขระหนต้นของพระคณุ บท ปรุ สิ ทมมฺ สารถิ ส เปน๐ อักขระหนตน้ ของพระคุณบท สตถฺ า เทวมนสุ สฺ านํ พุ เปน๐ อกั ขระหนตน้ ของพระคณุ บท พทุ ฺโธ ภ เปน๐ อักขระหนตน้ ของพระคณุ บท ภควา [๑๗] สสีหโิ อสจุ าปตี ิ ยสสฺ ิมานนตฺ เร สิยงุ อทลทิ โฺ ทติ ตํ อาหุ อโมฆนฺตสฺส ชีวิตํ แปล ทรพั ย์เหล่าน้ีคือ สะ, สี, หิ, โอ, สุ, จา, ปา พึงมีในภายในของ บุคคลใด นกั ปราชญ์กลา่ วบุคคลนั้นว่า “ผูไ้ ม่จน” ชวี ิตของบคุ คลนั้น ไม่เปลา่ ประโยชน์ ข้อสงั เกตของผแู้ ปล ส คือ สทธฺ าธนํ ทรพั ย์คือศรัทธา สี คือ สีลธนํ ทรพั ยค์ ือศีล หิ คอื หริ ิธนํ ทรพั ย์คอื หริ ิ โอ คอื โอตฺตปฺปธนํ ทรัพยค์ อื โอตตปั ปะ สุ คือ สตุ ธนํ ทรัพย์คอื สตุ ะ จา คือ จาคธนํ ทรพั ย์คอื จาคะ ปา คือ ปํญฺ าธนํ ทรพั ยค์ อื ปญ๎ ญา

๔๐๕ อันตสังเกต สังเกตอกั ษรปลาย [๔๙] มนิ ตฺ า ทส ปทา ปํจฺ - ปํฺญาสวณณฺ ลงฺกตา ปูริตา เยน โส โลเก อคฺคปุคคฺ ลนฺตํ คโตฯ แปล บท ๑๐ ประการมี มิ อักขระ เป๐นที่สุด ประดับด้วยอักขระ ๕๕ อกั ขระ อันท่านผู้ใดบาํ เพ็ญเตม็ ทีแ่ ล้ว ท่านผนู้ นั้ ยอ่ มถงึ ความเปน๐ บุคคลผเู้ ลศิ ในโลก ขอ้ สังเกตของผ้แู ปล บททง้ั ๑๐ ประการ มี “ม”ิ เป๐นท่ีสุดในที่นี้ ได้แก่บารมี ๑๐ ประการ เขียน ไล่เรยี งแบบเตม็ แลว้ จะได้ ๕๕ อกั ษรพอดี ทานบารมี บาลวี า่ ทานปารมิ มี ๕ อักษร ศีลบารมี บาลวี า่ สีลปารมิ มี ๕ อักษร เนกขมั มบารมี บาลวี ่า เนกฺขมมฺ ปารมิ มี ๖ อกั ษร ป๎ญญาบารมี บาลวี ่า ปญญาปารมิ มี ๕ อกั ษร วิริยบารมี บาลีวา่ วิรยิ ปารมิ มี ๖ อกั ษร ขนั ตบิ ารมี บาลวี า่ ขนฺติปารมิ มี ๕ อกั ษร สัจจะบารมี บาลวี ่า สจจฺ ปารมิ มี ๕ อกั ษร อธษิ ฐานบารมี บาลวี ่า อธิฏฺฐานปารมิ มี ๗ อักษร เมตตาบารมี บาลวี ่า เมตตฺ าปารมิ มี ๕ อกั ษร อุเบกขาบารมี บาลีว่า อเุ บกขฺ าปารมิ มี ๖ อกั ษร อาทยันตสังเกต กาํ หนดอักขระตน้ และทีส่ ดุ [๕๖] ถนตฺ า ติปฏิ กา อาทิ เทสติ าปิ วสิ ุง วิสงุ เอเกกํ อทุ ฺธรติ ฺวาน วภิ เช ปฏิปาฏิยาฯ แปล พระไตรปฎิ ก มีอกั ขระ คอื อ เป๐นเบือ้ งตน้ มอี กั ขระคอื ถ เป๐น ที่สุด แม้พระผู้มีพระภาคทรงแสดงเทศนาไว้แผนกหน่ึงๆ บัณฑิตพึงยกข้ึนทีละข้อๆ จําแนกโดยลําดับ ขอ้ สังเกตของผ้แู ปล อกั ษร อ เปน๐ ต้น ในท่ีน้ี ไดแ้ ก่พระดํารัสแรก ภายหลังตรัสรู้ ซึ่งตรัสเป๐นพระ คาถาวา่ อเนกชาติสงสฺ ารํ สนธฺ าวิสสฺ ํ อนพิ ฺพิสํ คหการํ คเวสนฺโต ทกุ ฺขา ชาติ ปนุ ปฺปนุ ํ

๔๐๖ ฯลฯ วสิ งฺขารคตํ จิตตฺ ํ ตณฺหานํ ขยมชฌฺ คาฯ สว่ นทวี่ า่ มี ถ อักษร เปน๐ ท่ีสุด ได้แก่พระดํารัสที่ตรัสเป๐นป๎จฉิมวาจาก่อนจะ เสด็จดับขนั ธปรนิ พิ พานว่า อามนตฺ ยามิ โว ภกิ ฺขเว ปฏเิ วทยามิ โว ภิกฺขเว ขยวยธมมฺ า สงขฺ ารา อปปฺ มาเทน สมฺปาเทถฯ อาทปิ าโทตตระ ไขที่บาทตน้ เปน๐ วิธีการประพนั ธ์อีกแบบหนึง่ เก่ียวกับ การปุจฉา วิสัชชนา โดยนํามาแต่งไว้เป๐นบาทต้น ส่วนบาทต่อไปเป๐นคําปุจฉา หรือ คาํ ถาม การแต่งทาํ นองนที้ ่านเรียกวา่ อาทปิ าโทตตระ คอื ไขทบ่ี าทต้น ดูตัวอย่าง [๑๑๙] ภทู กวํ ายุ ยตินฺโท กา สตฺเต ธรณํิ จฺ กํ ธาเรติ โก ชลํ สลี ํ โก โก ทสพลํ วทฯ แปล แผน่ ดิน นาํ้ ลม พระภกิ ษุ พระจอมสงฆ์ อะไรทรงสัตวไ์ ว้ อะไร ทรงธรณไี ว้ อะไรทรงนํา้ ไว้ ใครทรงศลี ใครทรงกําลัง ๑๐ ท่านแถลง ข้อสงั เกตของผ้แู ปล คาถานี้ บาทท่ี ๑ ตามท่ีแปลไว้ แผ่นดิน ฯลฯ พระจอมสงฆ์น้ัน เป๐นคําเฉลย ของปญ๎ หา ซง่ึ บาทต่อมาเปน๐ คําถามตลอด เม่ือจะจัดให้เขา้ รูปกัน จะเปน๐ ดังนี้ ถาม กา สตฺเต ธาเรติ อะไรทรงสัตวท์ ้งั หลาย ตอบ ภู แผ่นดนิ ถาม กํ ธรณี ธาเรติ อะไรทรงแผ่นดิน ตอบ อุทกํ นา้ํ ถาม โก ชลํ ธาเรติ อะไรทรงน้าํ ไว้ ตอบ วายุ ลม ถาม โก สลี ํ ธาเรติ ใครทรงศลี ตอบ ยติ พระภิกษุ ถาม โก ทสพลํ ธาเรติ ใครทรงพลงั ๑๐ ตอบ ยตินฺโท พระจอมสงฆ์ [พระพทุ ธเจ้า] คาํ ถาตอบคอื ภู-อทุ กํ-วาย-ุ ยตนิ ฺโท ปรากฏเปน๐ บาทต้นของคาถาท้ังนั้น จึงได้ ชือ่ วา่ “ไขทีบ่ าทต้น”

๔๐๗ สิเลสกะ จุความ [๑๑๓] ตณิ คฺคํ ขาทติ เภกํ คิลติ กาลปปุ ฺผิโต นาโค เทวมนสุ สฺ านํ ธมฺมํ เทสติ เกวลฯํ แปล นาคเค้ียวยอดหญ้า กลืนกินกบ มีดอกบานตามฤดูกาล แสดง ธรรมทงั้ ส้นิ แก่เทวดาและมนุษยท์ ั้งหลาย ข้อสังเกตของผู้แปล คาถานี้เป๐นอุทาหรณ์ของการแต่งแบบสิเลสกะ ให้สังเกตคําว่า นาโค ใน คาถาน้ี ซงึ่ มคี ําเดียว แตม่ ีอรรถต่างกนั คอื จคุ วาม ๔ นยั ดงั น้ี นาค ๑ เค้ยี วยอดหญ้า ไดแ้ ก่ ช้าง นาค ๑ กลนื กินกบ ได้แก่ งู นาค ๑ มีดอกบานตามฤดู ได้แก่ ต้นกากะทงิ นาค ๑ แสดงธรรม ไดแ้ ก่ พระพทุ ธเจ้า ปเหฬี บทสนุกสนาน [๑๔๘] เอกูนวสี ติ นารี นฺหานาย นทึ คตา ตาสวฺ กํ กุมฺภโี ร คณหฺ ิ วสี ติ ฆรมาคตาฯ ข้อสงั เกตของผู้แปล คาถานี้ ถ้าแปลตามรูปศัพท์ท่ีเรียงไว้ ก็จะมีข้อความผิดผันไ คือ แปลว่า “นารี ๑๙ คน ไปสู่แม่นํ้า เพื่ออาบน้ํา ในสตรีเหล่าน้ัน จระเข้คาบไปคนหนึ่ง นารี ๒๐ กลับมาเรือน” เพ่งเนื้อความตามน้ี จะเหน็ ได้ว่า ขัดแย้งกับข้อเท็จจริง แต่ถ้าปรับจํานวน เสียใหม่ คอื ไป ๒๐ ถูกจระเขค้ าบไปหน่งึ กลับ ๑๙ กเ็ ปน๐ อนั ถกู ตอ้ ง ดังนี้ แปล นารี ๒๐ คน ไปสู่แม่น้ํา เพื่ออาบนํ้า ในนารีเหล่าน้ัน จระเข้ คาบไป ๑ นารี ๑๙ คนกลบั มาเรือน ยมก ซ้ํา คือมีศัพท์ท่ีมีรูปเสมอกันเป๐นคู่ๆ ในการประพันธ์ แบ่งเป๐น ๓ ประเภท คือ ซํา้ เบื้องต้น, ซํ้าทา่ มกลาง, และซาํ้ ทีส่ ดุ ของบาททั้งหลายเปน๐ เกณฑ์ ลักษณะ การซาํ้ อาจซ้าํ ไม่มีคาํ สลบั , ซา้ํ มีคาํ สลบั , หรอื ซ้าํ ผสมกันทงั้ ๒ ลกั ษณะ ก็ได้ เช่น [๑๘๓] สาทรํ สา ทรํ หนฺตุ วหิ ิตา วิหติ า มยา วนฺทนา วนฺทนามาน- ภาชเน รตนตฺตเยฯ แปล การกราบไหว้ ข้าพเจ้าต้ังไว้แล้วอย่างมีความเอ้ือเฟ๒ือ ในพระ รัตนตรัย อันเป๐นภาชนะแห่งการกราบไหว้และบูชา การกราบไหว้ของข้าพเจ้าน้ัน มี ประโยชนเ์ กอ้ื กลู วิเศษ โปรดกาํ จดั ความกระวนกระวายเถดิ

๔๐๘ [๑๙๑] น ภาสุรา เตปิ สุรา วภิ ูสติ า ตถา สุรา ภูริ สรุ าปราชติ า น ภาสุ ราชาปิ ตถา สุราชโิ ต ยถา สุราชนฺติ สรุ าวนิ ิสสฺ ฏาฯ แปล แมเ้ ทวดาเหลา่ นน้ั ประดับองค์งดงามวิเศษแล้ว ก็ยังไม่งดงาม หนึ่ง พวกอสูรซึ่งด่ืมสุรา ก็พากันพ่ายแพ้เพราะสุรา แม้ถึงพระราชาอ่าองค์ทรงเคร่ือง เช่นน้ันแล้ว ก็ยังไมง่ ดงาม เหมือนหมูช่ นท่งี ดเวน้ สุรา งดงามอยู่ ปกณิ ณกะ หมวดเบ็ดเตลด็ นาโคว นาคมารุยฺห นาคมูลํ อุปาคมิ นาคปุปผฺ ํ คเหตวฺ าน นาคสสฺ อภิปชู ยิฯ แปล นาคน้ันแหละ ข้ึนสู่นาค เข้าไปใกล้โคนนาค เก็บดอกนาค น้อมบชู าแดน่ าค ขอ้ สังเกตของผู้แปล คาถานี้ แสดงถึงศพั ทค์ ือ นาค [นา-คะ] ว่ามคี วามหมายหลายนัย เชน่ นาโค หมายถึง ผู้ประเสริฐ ได้แก่ พระราชา นาคํ หมายถึง สตั ว์ประเสรฐิ ได้แก่ ช้าง นาคมูลํ หมายถงึ โคนตน้ กากะทิง นาคปปุ ผฺ ํ หมายถงึ ดอกกากะทงิ นาคสฺส หมายถึง ผู้หมดบาป ได้แก่ พระพทุ ธเจา้ คาถาน้ีแปลใหม่ได้ความว่า พระราชาสเด็จขึ้นช้างต้น เสด็จเข้าไปใกล้ต้น กากะทิง ทรงเก็บดอกกากะทงิ น้อมบชู าแดพ่ ระพุทธเจา้ [๓๕๕] น นิปนฺโน น นิสินโฺ น ต ตฏิ ฺฐํ น จรมฺปิ จ อรหตฺตผลํ ปตฺโต กตโม โส กเถถ โภฯ แปล พระสาวกองค์ใด ไม่นอน ไม่นั่ง ไม่ยืน ไม่เดินด้วย บรรลุพระ อรหัตตผลได้ ท่านผเู้ จรญิ ขอเชญิ ท่านเฉลยวา่ พระสาวกองคน์ ั้นคอื พระอะไร ? คาถานี้ เปน๐ ป๎ญหาถามถึงพระสาวกองค์หนึ่ง คือพระอานนท์ ซ่ึงมีเร่ืองราว ของท่านปรากฏอยู่ในการบรรลุพระอรหัตตผล คราวปฐมสังคายนาคร้ังท่ี ๑ หลังพุทธ ปรินิพพานได้ ๓ เดือน จะเห็นได้ว่า คัมภีร์วชิรสารัตถสังคหะ เป๐นคัมภีร์ที่นอกจากจะแสดงถึง ความปรีชาสามารถของผแู้ ต่งแลว้ ยังถอื เปน๐ แบบแผนของการประพันธ์วรรณกรรมบาลี

๔๐๙ แกอ่ นุชนรนุ่ หลงั ไดเ้ ป๐นอย่างดี นอกจากนั้น สาระสําคัญต่างๆ ท่ีปรากฎในคมั ภีร์ สามารถ ใชเ้ ปน๐ แนวทางในการศกึ ษา สง่ เสรมิ สตปิ ๎ญญาความรแู้ ก่ผ้ใู คร่ในการศกึ ษาโดยทั่วไปดว้ ย วังสมาลีนี คัมภีร์วังสมาลินี๓๑๑ เป๐นอีกคัมภีร์หน่ึงที่ลักษณะเป๐นพงศาวดาร ทํานอง เดียวกันกับคัมภีร์มหาวงศ์ ทั้งรูปแบบการประพันธ์ และเนื้อหาบางตอน ซึ่งกล่าวถึง ประวัติความเป๐นมาของพระพุทธศาสนาในลังกา กล่าวถึงมิลินทป๎ญหา และกล่าวถึง ประวตั ิพระพุทธโฆสาจารย์ หลักฐานทป่ี รากฏอยใู่ นประเทศไทย มตี ้นฉบับใบลานเท่าที่มี การสาํ รวจพบจาํ นวน ๑๓ ฉบบั ตน้ ฉบับเหลา่ น้ี มที ั้งทเี่ ป๐นฉบบั หลวง ซึง่ พระมหากษัตริย์ รัชกาลตา่ งๆ นับตงั แต่รัชกาลท่ี ๑-๕ เปน๐ ต้นมา โปรดฯ ให้สรา้ งข้ึน และฉบับธรรมดา ซึ่ง มีทัง้ ปรากฏและไมป่ รากฏนามผู้สร้าง ท้ัง ๑๓ ฉบับนั้น มีจํานวน ๑๑ ฉบับ ถูกเก็บรักษา ไว้ที่หอสมุดแห่งชาติ อีก ๒ ฉบับท่ีเหลือเก็บรักษาไว้ท่ีวั ดบวร นิเวศวิหาร กรงุ เทพมหานคร และวัดสงู เมน่ อําเภอสงู เมน่ จังหวดั แพร่ คัมภีร์วังสมาลินี แบ่งเนื้อหาเป๐น ๒ ตอน ตอนท่ี ๑ เรียกว่า วังสมาลินี เน้ือหาสาระกล่าวถงึ เร่อื งราวต่างๆ ต้ังแตเ่ ร่มิ แรกท่พี ระพทุ ธเจ้าเสดจ็ ลงมาอบุ ตั ิในโลก ได้ ตรัสรู้เป๐นพระพุทธเจ้า การเสด็จไปลังกา ๓ คร้ัง และการสังคายน ๓ ครั้ง ความ เจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาในลังกา ประวัติและเหตุการณ์ต่างๆ ท่ีเกี่ยวกับ พระมหากษัตริย์ของลังกา เริ่มตั้งแต่รัชสมัยของพระเจ้าวิชัย ซึ่งข้ึนครองราชย์เป๐น กษตั รยิ พ์ ระองคแ์ รกของลังกาเมือ่ พ.ศ.๑ ไปจนถึงรัชสมัยของพระเจ้ากุฏกัณณติสสราช ซึ่งข้ึนเสวยราชย์เม่ือ พ.ศ.๕๐๒ จากน้ันกล่าวถึงเรื่องมิลินทป๎ญหา เม่ือสิ้นสุดมิลินท ป๎ญหา มีหลักฐานจารึกไว้ในคัมภีร์บอกว่า จบวังสมาลินีเพียงเท่านี้ หลังจากน้ันก็เป๐น ตอนท่ี ๒ เรยี กวา่ มหาวงั สมาลนิ ี ประกอบด้วยประวัติพระพุทธโฆสาจารรย์ และประวัติ พระมหากษตั ริยข์ องลังการ ๒๘ พระองค์ เริ่มต้งั แต่รัชสมัยของพระเจ้าติภาติกราช พ.ศ. ๕๒๔ จนถึงรัชสมัยของพระเจ้ามหาเสน ซ่ึงข้ึนเสวยราชย์เม่ือ พ.ศ.๘๑๘ เป๐นอันส้ินสุด ตอนทเ่ี รียกวา่ มหาวงั สมาลนิ ี และเป๐นอนั จบเนือ้ หาทง้ั หมดของคมั ภรี ว์ ังสมาลนิ ี๓๑๒ ๓๑๑ เนทษิ รุจิรรุจนะ, การศึกษาเชงิ วิเคราะห์คัมภรี ์วงั สมาลนิ ี, วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรม หาบัณฑิต ภาควิชาภาษาตะวันออก, [บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๒], ๕๘๖ หน้า. ๓๑๒ เนทษิ รจุ ิรรุจนะ, การศึกษาเชิงวเิ คราะหค์ มั ภรี ์วงั สมาลนิ ี, หนา้ ๗-๘.

๔๑๐ เน้ือหาทั้งหมด ประพันธ์เป๐นบทร้อยกรอง ประกอบด้วยด้วยฉันทลักษณ์ ประเภทต่างๆ หลายรูปแบบ พบมากท่ีสุดคือปฐยาวัตคาถา คิดเป๐นร้อยละ ๙๘ ของ เนื้อหาท้ังหมด อีกร้อยละ ๒ เป๐นฉันท์รูปแบบอื่นๆ๓๑๓ ประกอบด้วย อินทรวิเชียร จํานวน ๑๒ คาถา, วังสฏั ฐะ ๙ คาถา, วสันตดิลก ๖ คาถา, อินทรวงศ์ ๖ คาถา, อุเปนท รวิเชียร ๖, คาถา, มาลินี ๕ คาถา, ปหัสสิณี ๔ คาถา, อุปชาติ ๓ คาถา, โตฏกะ, สัทธรา และสัททุลลวิกีฬิต อย่างละ ๑ คาถา, และที่ไม่จัดอยู่ฉันท์ลักษณะใดๆ ตามคัมภีร์วุต โตทัยอกี ๒ บท ตวั อยา่ งปหัสสณิ ีคาถา อตชิ คตฉี นั ท์ ๑๓ พยางค์ เวสาเข นรปติ ปุณณฺ มายเมวํ เทวานํ ปิยวจโน ปคฬุ ฺหนาโม ลงฺกายํ ปจติ ตฺ มตี ิ อสุ ฺสวายํ อตฺตานํ ขนสุขโทภิเสจยิ โสติฯ รปู แบบฉันทลักษณ์ ม คณะ น คณะ ช คณะ ร คณะ ครุ ๑๒๓ ๔๕๖ ๗๘๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ มนฺ า ชฺรา โค ติ ท ส ย ตปิ ฺ ป หสฺ สิ ณี สา ๒๒๒ ๑๑๑ ๑๒๑ ๒๑๒ ๒ รายละเอยี ดเนือ้ หาแต่ละบท คัมภีร์วังสมาลีนีแบ่งเนื้อหาออกเป๐น ๒๖ ปริจเฉท แต่ละปริจเฉทมี รายละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้๓๑๔ ปริจเฉทที่ ๑ การเสด็จไปลังกา กล่าวถึงพระพุทธเจ้าต้ังแต่ได้รับการ พยากรณ์ว่าจะได้เป๐นพระพุทธเจ้า ในที่สุดได้ตรัสรู้เป๐นพระพุทธเจ้า แล้วเสด็จไปลังกา ทวปี รวม ๓ ครง้ั ปริจเฉทท่ี ๒ กลา่ วถงึ สถานที่ต่างๆ ท่ีพระพทุ ธเจา้ ประทับจาพรรษา, ๒๐ ปแี รก พระพุทธเจา้ มไิ ดป้ ระทับ ณ ที่ใดท่ีหนงี่ เป๐นประจํา แต่หลังจากน้ัน ทรงประทับอยู่ ท่พี ระเชตวัน และบุปผาราม เมืองสาวตั ถี ๓๑๓ เนทิษ รจุ ิรรจุ นะ, การศกึ ษาเชิงวเิ คราะหค์ ัมภีร์วงั สมาลินี, หนา้ ๕๖๓. ๓๑๔ เนทษิ รจุ ิรรุจนะ, การศึกษาเชิงวเิ คราะห์คมั ภรี ว์ ังสมาลนิ ี, หนา้ ๕๕๔-๕๖๓.

๔๑๑ ปริจเฉทที่ ๓ การแบ่งพระบรมธาตุ กล่าวถึงการปรินิพพานของ พระพุทธเจ้า และเหตุการณ์ต่างๆ ในระหว่างจะแบ่งพระบรมธาตุกัน โดยมีโทณ พราหมณเ์ ป๐นบคุ คลสาํ คัญในการแบ่งพระบรมธาตุ ปริจเฉทท่ี ๔ กล่าวถึงการสังคายนาคร้ังท่ี ๑ โดยมีพระมหากัสสปะเป๐น บุคคลสําคัญในการดําเนินการ การฝ๎งพระบรมธาตุโดยพระเจ้าอชาตศัตรู การนิพพาน ของพระเถระ ผู้ร่วมทําสังคายนาครั้งท่ี ๑ มีพระมหากัสสปะและพระอานนท์เป๐นต้น รวมทัง้ กล่าวถึงประวัตขิ องพระเจา้ ชาตศัตรู ปริจเฉทท่ี ๕ การสังคายนาครัง้ ท่ี ๒ กลา่ วถึงราชวงศ์พระเจ้าอชาตศัตรูซ่ึง เป๐นวงศ์ปิตุฆาต เมื่อถึงรัชสมัยพระเจ้านาคทาสกะ จึงถูกประชาชนกําจัด ต่อมาในรัช สมัยของพระเจ้าอโศก มีเหตุการณ์สําคัญเกิดขึ้นคือ ภิกษุชาวเมืองเวสาลีบัญญัติ ข้อบัญญัติ ๑๐ ประการขึ้น ข้อบัญญัติ ๑๐ ประการน้ี เป๐นสาเหตุนําไปสู่การสังคายนา ครง้ั ที่ ๒ การสงั คายนาคร้ังน้ี มีพระยสกากัณฑบุตร พระเรวตะ และพระสรรพกามีเป๐น บุคคลสําคัญในการดําเนินการ โดยมีพระเจ้าอโศกทรงเป๐นผู้อุปถัมภ์ นอกจากนั้น ยัง กล่าวถึงการไปเชิญติสสมหาพรหมบนเทวโลกมาเกิดในโลกมนุษย์ เพ่ือช่วยกันกําจัด เสนยี ดจัญไรพระศาสนา ปริจเฉทท่ี ๖ การสงั คายนาครั้งที่ ๓ กล่าวถึงประวัติความเป๐นมาของพระ เจา้ อโศกว่า พระองค์เป๐นพระราชโอรสของพระเจ้าพินทุสาร ในอดีตชาติเคยเป๐นพ่ีน้อง กันกับพระเจา้ เทวานัมปิยตสิ สะและนิโครธสามเณร และทรงมีพระราชโอรส ๑ องค์ คือ พระมหินทเถระ และทรงมีพระราชธิดา ๑ องค์ คอื พระนางสงั ฆมติ ตาเถรี ทรงเล่ือมใสใน พระศาสนามาก ทรงให้สร้างพระวิหารขึ้นถึง ๒๔ ,๐๐๐ แห่ง ทรงอนุญาตให้พระราช โอรส และพระราชธิดาออกผนวช ทรงให้การอุปถัมภ์การสังคายนาครั้งท่ี ๓ การ สังคายนาครั้งท่ี ๓ นี้ เน่ืองมาจากพวกเดียรถีย์ปลอมเข้ามาบวชในพุทธศาสนา การ สังคายนาครั้งน้ีมีพระโมคคัลลีบุตรติสสเถระเป๐นบุคคลสําคัญในการดําเนินการ ทําการ สังคายนาท่ีอโศการาม ใชเ้ วลา ๔ เดือน จงึ สําเรจ็ มภี กิ ษุณรหันต์ ๑,๐๐๐ รูป เข้าร่วมใน การสังคายนาครัง้ น้ี ปรเิ ฉทท่ี ๗ การประดิษฐานพระศาสนาในนานาประเทศ กล่าวถึงพระโมค คัลลีบุตรติสสเถระส่งพระภิกษุออกไปเผยแผ่พระศาสนา ๕ สาย แต่ละสายมีพระเถระ เป๐นหวั หนา้ คณะ ๑ รปู พระมหินทเถระเป๐นหัวหน้าคณะไปเผยแผย่ งั เกาะลังกา ปรเิ ฉทที่ ๘ การอภิเษกพระเจ้าวิชัย พระเจ้าวิจัยเป๐นกษัตริย์องค์แรกของ ลงั กา เปน๐ ราชโอรสของพระเจ้าสีหพาหุและพระนางสีหสิวลี ถูกลอยแพไปยังเกาะลังกา

๔๑๒ เพราะมีความประพฤติเกเร ได้นางยักษณีคนหน่ึงช่วยในการกําจัดพวกยักษ์ ทรงสร้าง ตามพบัณณนิ ครขน้ึ แล้วขน้ึ เสวยราชย์อยู่ที่นั้น มีพระราชธิดาพระเจ้าบัณฑราชแห่งชมพู ทวีปเปน๐ พระมเหสี ปรเิ ฉทที่ ๙ กลา่ วถึงการอภเิ ษกพระเจา้ บัณฑุวาสุเทพ พระเจ้าอภัย พระ เจ้าบณั ฑกุ าภัย และพระเจา้ เทวานัมปิยติสสะ พระเจ้าบัณฑุวาสุเทพเป๐นพระราชโอรส พระเจ้าสุมิตตะแห่งสีหบุรีชมพูทวีป ได้อภิเษกขึ้นเป๐นพระราชาหลังจากพระเจ้าวิชัย สวรรคต มีพระนางภัททกัจจานาเป๐นพระมเหสี พระเจ้าอภัยเป๐นพระราชโอรสพระเจ้า บณั ฑุวาสเุ ทพได้ขึน้ เสวยราชยต์ ่อจากพระเจา้ บณั ฑุวาสุเทาท พระเจ้าบัณฑุกาภัยข้ึนเสวย ราชย์ต่อจากพระเจ้าอภัย โดยมีพระนางสุวรรณปาลีเป๐นพระมเหสี พระเจ้าเทวานัมปิย ติสสะเป๐นพระราชโอรสพระเจ้ามุฏสิวะทรงข้ึนเสวยราชย์ต่อจากพระราชบิดาทรงมี บญุ ญาธกิ ารมาก ปรเิ ฉทท่ี ๑๐ เร่อื งถูปาราม กล่าวถึงพระมหินทเถระไปลังกาได้พบกับพระ เจ้าเทวานมั ปิยติสสะ สนทนาโต้ตอบกับพระองค์ด้วยไหวพริบปฏิภาณ จนทําให้พระเจ้า เทวานมั ปยิ ติสสะเลอื่ มใส พระองคท์ รงปรารภจะสรา้ งพระสถูปเพ่ือบรรจุพระบรมธาตุไว้ สักการะบูชา สุมนะสามเณรเป๐นผู้ไปอัญเชิญพระธาตุรากขวัญข้างซ้ายและขวามาจาก ชมพูทวปี และเทวโลก ปรเิ ฉทท่ี ๑๑ การอัญเชิญต้นพระศรมี หาโพธิ กล่าวถึงพระเจ้าเทวานัมปิย ติสสะมพี ระราชประสงค์จะใหพ้ ระนางอนุฬาเทวี และหญิงบริวารทรงผนวช พระมหินท เถระจึงให้ไปนิมนต์พระนางสังฆมิตตาเถรีมาจากชมพูทวีป พร้อมกับให้อัญเชิญต้นพระ ศรีมหาโพธิมาลังกาดว้ ย พระเจ้าอโศกทรงประกอบพิธีตัดกิ่งต้นพระศรีมหาโพธิ และพิธี สง่ ตน้ พระศรีมหาโพธอิ ยา่ งมโหฬาร ปริเฉทท่ี ๑๒ การปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ กล่าวถึงการเตรียมรับต้นพระ ศรีมหาโพธ์ิและประวัตกิ ารนําต้นพระศรมี หาโพธิ์มาลังกา ๓ ครั้ง ในสมัยพระพุทธเจ้า ๓ พระองค์ สมัยพระกกุสนั ธพุทธเจา้ ลังกาทวีปชือ่ โอชทวีป มหาเมฆวันชื่อมหาติตถวัน เจ ตยิ บรรพตช่อื เทวกฏู ถูปารามชื่อปฏิยาราม ผู้นําต้นพระศรีมหาโพธ์ิมาลังกาคือพระนาง นันทาเถรี สมัยพระโกนาคมนะพทุ ธเจ้า ลังกาทวีปช่ือวรหวีป มหาเมฆวันช่ือมหานามวัน ผู้นําตน้ พระศรมี หาโพธิ์มาลังกาคือพระนางกนกานันทิภิกษุณี สมัยพระกัสสป สัมมาสัม พทุ ชเจ้า ลงั กาทวีปช่ือ มัณฑทวีป มหาเมฆวันช่ือมหาสาคร เจดียบรรพตชื่อสุภกูฏ ผู้นํา ต้นพระศรีมหาโพธิ์มาลังกาคือพระนางสุธรรมาเถรี เม่ือต้นพระศรีมหาโพธิ์มาถึงลังกามี

๔๑๓ การเฉลิมฉลองกนั อย่างมโหฬาร พระมหนิ ทเถระไดม้ อบต้นพระศรีมหาโพธ์ิซ่ึงงอกขึ้นมา ใหมข่ ณะท่อี ยู่ในลงั กาใหป้ ระชาชนนาํ ไปปลกู ในหลายที่ ปริเฉทท่ี ๑๓ พระเจ้าอโศกและพระเจ้าเทวานัมปิยติสสะทรงทานุบารุง พระศาสนาให้เจริญรงุ่ เรอื ง กล่าวถงึ การหย่ังลงแห่งมูลรากพระศาสนาในลังกา โดยพระ เจ้าเทวานัมปิยติสสะโปรดให้พระญาติของพระองค์มีมัตตาภัยผู้อนุชาเป๐นต้น พร้อม ประชาชนชาวลงั กาอุปสมบทเป๐นพระภกิ ษเุ ล่าเรยี นพระไตรปิฎก ทําให้บริษัท ๔ เพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็วท้ังในลังกาทวีป และชมพูทวีป ด้วยความร่วมมือกันทั้งทางโลกและทาง ธรรมของพระราชา ๒ พระองค์ คือ พระเจ้าอโศก และพระเจ้าเทวานมั ปิยตสิ สะ ปริเฉทท่ี ๑๔ การนพิ พานของพระมหินทเถระและพระนางสังฆมิตตาเถรี พระมหินทเถระเมื่ออายุได้ ๖๐ ปี กเ็ ขา้ สนู่ พิ พานทีเ่ จติยบรรพตในรัชสมัยพระเจ้าอุตติยะ และในปีเดียวกนั นนั้ พระนางสังฆมติ ตาเถรผี ู้มอี ายไุ ด้ ๕๙ ปี ก็เข้าสู่นิพพานเช่นกัน พระ เจ้าอุตติยะทรงปฏิบัติต่อสรีรศพของพระเถระและพระเถรีอยา่ งดีย่งิ ปรเิ ฉทที่ ๑๕ กลา่ วถงึ พระเจา้ เอฬาระ ว่าเป๐นพระราชาลังกาเช้ือสายทมิฬ มีพระราชอัธยาศัยชื่อตรงมาก พระราชโอรสของพระองค์ขับรถพระที่นั่งเหยียบลูกใคจ ตาย ทรงรับส่งั ใหน้ าํ พระราชโอรสไปนอนใหร้ ถเหยียบตายเช่นกัน รับส่ังให้จับงูท่ีแอบข้ึน ไปกินลูกนกบนต้นตาลมาผ่าท้องแขวนไว้บนยอดตาล รถทรงของพระองค์กระทบพระ เจดยี ท์ ําใหอ้ ฐิ แตกเสียหาย ทรงประสงค์จะให้รถเหยียบพระองค์ให้ตาย แต่พวกอํามาตย์ ทัดทานไว้โดยให้ซ่อมแซมแทน ทรงบรรทมรักษาอุโบสถศีลอยู่บนพ้ืนหญ้ากลางแจ้ง เพ่ือใหฝ้ นตกต้องตามฤดกู าล ปริเฉทที่ ๑๖ เร่ืองคามณิราชกุมาร กล่าวถึงประวัติความเป๐นมาของพระ นางวิหารเทวีและคามณิราชกมุ าร ซึ่งเป๐นพระราชโอรสของนางว่า พระนางวหิ ารเทวีเป๐น ธิดาพระเจ้าปยิ ติสสะถูกลอยแพมาข้นึ นัง่ ใกล้วิหารแหง่ หน่งึ ในท่ีสุดได้เป๐นพระมเหสีพระ เจ้ากากวรรณติสสะ นางเป๐นหมันได้ไปอ้อนวอนสามเณรรูปหนึ่งซึ่งอาพาธใกล้จะ มรณภาพให้ปรารถนาเป๐นพระโอรสของนาง เมื่อสามเณรมรณภาพแล้วได้มาบังเกิดใน พระครรภ์ของนาง ในท่ีสุดก็ประสูติมาเป๐นคามณิราชกุมาร นอกจากนั้นพระนางวิหาร เทวี ยังได้ประสูติพระราชโอรสอีกองค์หน่ึงพระนามว่า ติสสะ พระราชบิดาได้นําข้าว ปายาสท่ีเหลือจากพระสงฆ์ฉันแล้วมาเสี่ยงทายในเร่ืองต่าง ๆ ๓ คร้ัง ๒ ครั้งแรกทรง อธิษฐานเกยี่ วกบั เร่ืองให้พระโอรสทั้งสองไม่ทอดทิ้งพระศาสนาและราชประเพณีต่าง ๆ ส่ิงต่าง ๆ ก็เป๐นไปด้วยดี ส่วนครั้งที่ ๓ ทรงอธิษฐานเกี่ยวกับเร่ืองจะไม่ให้พระโอรสทั้ง

๔๑๔ สองประทษุ ร้ายตอ่ กัน และการไมร่ บกบั พวกหมิฬ พระราชโอรสทั้งสองไม่ทรงเสวยพระ กระยาหาร ซ่ึงเหตกุ ารณ์จะตอ้ งเปน๐ ไปตรงกนั ข้ามจากคําอธิษฐาน ปริเฉทที่ ๑๗ เรื่องนายทหารของคามณีราชกุมาร ๑๑ คน ซึ่งมี ความสามารถพิเศษคนละอย่าง และมีพละกําลังเท่ากับข้าง ๑๐ เชือกเหมือนกันทุกคน และกล่าวถึงอดีตชาตขิ องนายทหารเหลา่ น้นั ดว้ ย นายทหารทั้ง ๑๑ คน คือ สันธมิตตะ สุรนิมมละ มหาโสณะ โกฎฐยิมพระ เถรปุตตาภัย ภรณะ เวพุสุมนะ บัญชเทวะ ปุสสเท วะ ลดียวสภะ และทาฏฐาเสนะ นายทหารท้ัง ๑๑ คน มที หารเปน๐ บรวิ าร คนละ ๑๐ คน ทหารบริวารต่อ ๆ มาก็มที หารเปน๐ บรวิ ารอีกคนละ ๑๐ คน โดยนัยน้ีคามณีราชกุมารจึง มีทหารทั้งหมด ๑๒,๒๒๑ คน ปรเิ ฉทท่ี ๑๘ การยุติสงครามระหว่างกษัตริย์สองพ่ีน้อง กล่าวถึงความณิ ราชกุมารทรงชักชวนพระราชบิดาทําสงครามกับพวกทมิท แต่ถูกห้ามไว้จึงไม่ พอใจ หลบหนไี ปอยทู่ ่อี ่นื และได้พระนามใหม่วา่ ทฏุ ฐคามณรี าชกุมาร เมอื่ พระราชบิดาสวรรคต ได้ยกทัพมายึดเอาราชสมบัติได้ทําสงครามกับ ติสสะผู้เป๐นอนุชาเพราะพระอนุชาไม่ ยอมใหพ้ ระราชมารดาและรา้ งกุณฑลไปอยู่กับพระองค์ ตอนแรกพระองค์แห้หลบหนีไป ของชุมผู้คนได้จํานวนมากแล้วยกทัพกลับมาใหม่ ได้ชนข้างกับพระอนุชา ในที่สุด พระองค์ทรงชนะติสสะอนุชา หลบหนีไปอยู่กับพระโคธาภัยและได้อาศัยพระเถระรูปนี้ นํามาขา กพระเชษฐาแลว้ ท้งั สองพระองคก์ ค็ นื ดีต่อกัน ปริเฉทท่ี ๑๙ ชัยชนะของพระเจ้าทุฏฐคามณี กล่าวถึงพระเจ้าทุฎฐคามณี กับนายทหารใหญ่ ๑๑ คน และช้างกุณฑลออกสู้รบกับพวกทมิฬตามหัวเมืองต่าง ๆ ได้รับชัยชนะมาโดยตลอด ในที่สุดพระองค์ได้ทําสงครามยุทธหัตถีกับพระเจ้าเอฬาระ ทมิฬ และได้รับชัยชนะ จากนั้นทรงเกิดความสังเวชสลดใจเม่ือทรงระลึกถึงคนจํานวน มากท่ีถูกฆ่าตายในสงคราม ได้รับการปลอบโยนจากพระอรหันต์ ๘ รูป จากเกาะปิยังคุ ก็ ทรงเบาพระทยั ทรงปรารภที่จะลงทัณฑกรรมแก่พระองค์ในกรณีท่ีพระองค์ทรงบริโภค พริกสดกอ่ นท่จี ะถวายแก่พระสงฆ์ ปริเฉทท่ี ๒๐ การสร้างมริจวัฏฏิกวิหารและการสร้างโลหะปราสาท หลงั จากพระเจ้าทฎุ ฐคามณีไดร้ ับชัยชนะขน้ึ เสวยราชยใ์ นลังกาทวปี ท้ังหมดแล้ว พระองค์ ได้เสด็จไปสรงสนานในบึงติสสวาปีตามโบราณราชประเพณี พวกอํามาตย์นําพระแสง ดาบทมี่ พี ระบรมธาตบุ รรจุอยู่ขา้ งในไปป๎กไว้ทีแ่ หง่ หนึ่ง เวลาท่พี ระองคจ์ ะเสดจ็ กลับ พวก อํามาตย์ไม่สามารถถอนพระแสงดาบข้ึนได้ จึงทรงให้สร้างมริวัจฏฏิกวิหารข้ึน ณ ที่น้ัน เพื่ อ เ ป๐ น ก า ร ล ง ทั ณ ฑ ก ร ร ม ใ น เ ร่ื อ ง ที่ พ ร ะ อ ง ค์ เ ส ว ย พ ริ ก ส ด ก่ อ น ที่ จ ะ ถ ว า ย แ ก่ ส ง ฆ์

๔๑๕ นอกจากน้ัน เม่ือค้นพบจารึกที่พระเจ้าเทวานัมปิยติสสะทรงจารึกไว้ ก็ได้สร้างโลหะ ปราสาทข้ึนโดยจําลองแบบมาจากปราสาทในเทวโลก สิ้นทรัพย์เฉพาะท่ีประเมินค่าได้ ๓๐ โกฏิ ปริเฉทท่ี ๒๑ การได้สิ่งของต่าง ๆ เมื่อเร่ิมสร้างพระมหาสถูป เมื่อพระ เจา้ ทฏุ ฐคามณีทรงปรารภท่ีจะสร้างพระมหาสถูปตามท่ีพบในจารึกของพระเจ้าเทวานัม ปิยติสสะ ทรงดําริหาวิธีการท่ีจะได้สิ่งของต่าง ๆ มาสร้างพระมหาสถูปโดยไม่ให้ ประชาชนเดือดรอ้ น ดว้ ยบญุ ญานภุ าพของพระองค์ สง่ิ ทเ่ี ป๐นวสั ดอุ ปุ กรณ์ในการกอ่ สร้าง ทั้งหมดก็เกิดขึ้นด้วยกาํ นาเทวดาบนั ดาล ปริเฉทท่ี ๒๒ การสร้างห้องพระบรมธาตุ กล่าวถึงการก่อสร้างพระมหาก ถูป ตั้งแต่การกําหนดขนาด การวางศิลาฤกษ์ การคัดเลือกนายช่าง และการลงมือ ก่อสร้างห้องทีจ่ ะใช้บรรจุพระบรมธาตุ พระเจ้าทุฏฐคามณีทรงรับสั่งให้สร้างอย่างวิจิตร สวยงาม ให้สร้างต้นโพธ์ิแก้วและส่ิงของมีค่าต่าง ๆ มากมาย รวมทั้งรูปต่าง ๆ อัน เกี่ยวกบั พุทธประวตั ิไว้ในหอ้ งน้นั ปริเฉทท่ี ๒๓ การบรรจุหระบรมธาตุ กล่าวถึงพระโสณุตตระ ไปอัญเชิญ พระบรมธาตุมาจากนาคพิภพ เพื่อให้พระเจ้าทุฎฐคามณีทรงบรรจุในพระมหาสถูป ซึ่ง พระโสณุตตระต้องใชอ้ บุ ายหลอกลอ่ พระยานาคหลายรปู แบบจึงสามารถนํามาได้ ก่อนที่ จะบรรจุในพระสถูป พระบรมธาตุได้แสดงปาฏิหาริย์มากมาย รวมทั้งแสดงยมก ปาฏหิ ารยิ ์ เหมือนเมือ่ ครัง้ ทีพ่ ระพทุ ธองคท์ รงแสดงท่ีต้นคัณฑามพฤกษ์ ปริเฉทท่ี ๒๔ พระเจ้าทุฎฐคามณีสวรรคตแล้วเสด็จเข้าสู่สวรรค์ชั้นดุสิต พระเจ้าทุฎฐคามณีทรงประชวรอย่างหนัก ขณะท่ีการสร้างพระเจดียส่วนยอดและการ ฉาบปูนทาสียังไม่สําเร็จ เจ้าติสสะผู้อนุชาได้รับดําเนินการต่อแต่เพ่ือให้พระเจ้าทุฎฐคา มณีได้ทอดพระเนตรเห็นพระเจดียที่ก่อสร้างสําเร็จแล้วก่อนจะสวรรคต จึงให้พวกร่าง จําลองสงิ่ ต่าง ๆ ทยี่ ังไมเ่ สรจ็ ให้สําเร็จเรยี บร้อยแล้วให้หามพระเจ้าทุฏฐคามณีมาบรรทม อยูใ่ นระหว่างพระสถูปและโลหะปราสาท มีพระภิกษุมายืนห้อมล้อมพระองค์ ๙๖ โกฏิ พวก อาลักษณ์อา่ นบัญชีรายการพระราชกุศลที่พระองค์ทรงบําเพ็ญมาตลอดถวาย พวก เทวดาจากสวรรค์ชน้ั ตา่ ง ๆ นํารถมาเช้ือเชิญให้พระองค์ขึ้นรถเสด็จไปสวรรค์ชั้นของตน ๆ พระองคโ์ ปรดให้คอยจนกวา่ จะสดับพระธรรมเทศนาจบ ในที่สุดพระองค์ทรงสวรรคต ไปจตุ ิทีร่ ถท่ีมาจากสวรรคช์ ัน้ ดุสิต จากนัน้ กเ็ สด็จข้นึ สสู่ วรรค์ชน้ั ดุสิต

๔๑๖ ปริเฉทท่ี ๒๕ เรื่องพระราชา ๑๐ พระองค์ กล่าวถึงพระราชา ๑๐ พระองค์ พร้อมกับกล่าวถึงสถานท่ีหรือส่ิงของต่าง ๆ ท่ีพระราชาเหล่านั้นหรงสร้างขึ้น ใหม่หรือทรงปฏิสังขรณ์ในพระศาสนา รวมท้ังการบําเพ็ญพระราชกุศลอื่น ๆ ด้วย พระราชาเหลา่ นั้นทรงข้นึ ครองราชย์มาตามลาํ ดับดงั นี้ พระเจา้ ศรัทธาติสสะ พระเจา้ ถลู ตั ถนะ พระเจ้าลญั ชติสสะ พระเจา้ ชัลลาฏนาคะ พระเจา้ วัฏฏคามณี พระเจ้ามหาจูฬิมหาติสสะ พระเจา้ โจรนาค พระเจา้ วกกุ ะ พระเจ้าทารภุ าติกติสสะ พระเจ้ากฏุ กณั ณตสิ สะ ปริเฉทที่ ๒๖ เรือ่ งมิลนิ ทปญั หา กลา่ วถึงเรอื่ งมิลนิ ทป๎ญหา ตั้งแต่อดีตชาติ ที่พระนาคเสนเปน๐ พระภิกษุ พระเจ้ามลิ ินทะเปน๐ สามเณร ๆ ถูกพระภิกษุตีเพราะไม่ยอม เอาขยะไปทิ้ง แค้นใจจึงตั้งความปรารถนาขอให้คนมีเดชานุภาพ และป๎ญญานุภาพยิ่ง กวา่ ใคร ๆ ในทกุ ภพทุกชาตทิ ี่เกิด ส่วนพระภิกษุก็ปรารถนาในทํานองเดียวกันโดยขอให้ ตนมีปญ๎ ญายงิ่ กวา่ สามเณร ต่อมาทง้ั สองคนไดม้ าเกิดเปน๐ พระเจา้ มลิ ินทะและพระนาค เสน แล้วได้ถามป๎ญหาโต้ตอบซึ่งกันและกันจนเป๐นที่เลื่องลือไปทั่วชมพูทวีป ป๎ญหาที่ ถามคตอบกันที่ปรากฏในคัมภีร์วังสมาลินีคือ นามป๎ญหา วัสสป๎ญหา ทุกกรป๎ญหา เมณฑกป๎ญหา วชั ฌาวัชฌป๎ญหา และอนมุ านปญ๎ หา เนือ้ หาสาระของวังสมาลินจี บเพยี งเทา่ นี้ ตอ่ จากน้เี ปน๐ เนอ้ื หาสาระของส่วนท่ีเรียกว่า มหาวังสมาลินี มีอยู่ด้วยกัน ๒ ปริจเฉทดงั น้ี ปรเิ ฉทท่ี ๒๗ ประวตั พิ ระพุทธโฆสาจารย์ กล่าวถึงประวัติ พระพุทธโฆสา จารยต์ ง้ั แต่ไดร้ ับการเช้ือเชิญให้จุติจากดาวดึงส์มาเกิดในโลกมนุษย์ มีบิดาเป๐นพราหมณ์ ช่ือเกสี ซึ่งเปน๐ อาจารย์สอนไตรเพทแก่พระราชา เมื่อโฆสกุมารเกิดมาได้ ๗ ปี ก็เรียนจบ ไตรเพท พระเถระรูปหน่ึงซึ่งเป๐นสหายบิดาใช้อุบายชักนําให้ออกบรรพชา เมื่อออก บรรพชาแลว้ ได้ศกึ ษาเลา่ เรียนพระไตรปฏิ กจนแตกฉาน พออายุได้ ๒๐ ปี ก็ได้อุปสมบท

๔๑๗ เป๐นพระภิกษุ วันหนึ่งเกิดความคิดในเชิงดูหม่ินพระอุป๎ชฌายะว่า มีป๎ญญาน้อยกว่าตน จงึ ถกู ลงทณั ฑกรรมให้ไปแปลพระพุทธพจน์พรอ้ มท้ังอรรถกถาจากภาษาสิงหลเป๐นภาษา มคธ พระพทุ ธโฆสาจารยจ์ ึงออกเดนิ ทางไปลังกาทวีป ระหว่างทางได้พบกับพระพุทธทัต ตเถระ ๆ ได้ทักทายปราศรัยถามถึงจุดประสงค์ท่ีเดินทางไปลังกา เม่ือทราบจุดประสงค์ แล้วไดม้ อบเหลก็ จาร หินลบั และยาถวายแก่พระพุทธโขลาจารย์แล้วกแ็ ยกทางจากกัน พระพุทธโฆสาจารย์ เดินทางไปถงึ ลังกาได้เข้าเฝูาพระสังฆราชลังกา ได้ช่วย หาคําอธิบายพระอภิธรรมบทหน่ึง ให้แก่พระสังฆราช จึงได้รับนิมนต์ให้ช่วยสอนพระ อภิธรรม แตพ่ ระพทุ ธโธสาจารย์ได้ปฏเิ สธ พรอ้ มกับแจง้ ความประสงคใ์ ห้ทราบว่า ตนเอง มาเพอ่ื แปลพระพทุ ธพจนเป๐นภาษามคธ พระสังฆราชจึงมอบคาถาบทหนึ่งให้ไปลองแต่ง พระพุทธโฆสาจารยไ์ ด้นาํ ไปแต่งเปน๐ คมั ภีรวิสทุ ธมิ รรค และต้องแตง่ ใหมถ่ งึ ๓ ครงั้ เพราะ ถูกเทวดาขโมยต้นฉบับไปใน ๒ คร้ังแรก จนรุ่งเช้าเทวดาจึงได้นํามาคืน พระพุทธโขมา จารย์ได้นําต้นฉบับทั้ง ๓ ฉบับซ่ึงมีข้อความไม่ผิดเพ้ียนกันแม้เพียงหนึ่งอักขระไปถวาย พระสังฆราช ๆ และหมู่สงฆ์พิจารณาแล้วก็พอใจ ยินยอมให้แปลพระพุทธพจน์เป๐นมคธ ภาษาได้ พระพุทธโฆสาจารย์พํานักอยู่ท่ีโลหปราสาท แปลพระไตรปิฎกพร้อมอรรถกถา เปน๐ ภาษามคธอยู่ ๓ เดอื นก็เสร็จแล้วนาํ ไปถวายพระสังฆราช หลงั จากนน้ั ไดน้ ําคัมภีร์เดิม ที่เปน๐ ภาษาสงิ หลมาเผาทงิ้ และกอ่ นจะกลบั ชมพูทวปี ได้เทศนาเป๐นภาษาสันสกฤตให้ชาว ลังกาฟ๎งด้วย เม่ือเดินทางกลับมาถึงชมพูทวีปได้รีบไปแจ้งเรื่องท้ังหมดที่ตนดําเนินการ แลว้ ใหพ้ ระอุปช๎ ฌายะทราบ พระอุป๎ชฌายะจึงยกโทษให้ จึงเป๐นการหลุดพ้นจากทัณฑ กรรม หลังจากน้นั ได้เดนิ ทางไปเยี่ยมบดิ ามารดาและนพิ พานไปเมื่อถงึ เวลาอันสมควร ปรเิ ฉทที่ ๒๘ เรื่องพระราชา ๒๕ พระองค์ กล่าวถึงพระราชาของลังกาต่อ จากพระเจ้ากุฏิกัณณติสสะอกี ๒๘ พระองค์ และกล่าวถึงพระสถูปเจดีย์ วิหาร และสระ น้ํา ที่พระราชาแต่ละพระองค์ให้สร้างขึ้น รวมท้ังการบูรณะปฏิสังขรณ์พระสถูปเจดีย์ วิหาร ทีม่ อี ยูก่ ่อนดว้ ย พระราชาทั้ง ๒๘ พระองค์เสด็จข้ึนครองราชย์เป๐นลําดับต่อกันมา ดงั น้ี พระเจ้าภาตกิ ราช พระเจ้ามหาทาธิกนาคราช พระเจ้าอามุณฑคามณอี ภยั พระเจา้ กถริ ชานตุ ิสสราช หระเจ้าจุฬาภัย พระนางศวิ ลา พระเจา้ อฬิ นาค

๔๑๘ พระเจ้าจัณฑมุขศิวะ พระเจ้ายสฬาฬติสสะ พระเจา้ สุภราช พระเจ้าวสภราช พระเจ้าวังกนาสกิ ติสสะ พระเจ้ากฎพาหุกคามณี พระเจา้ มหัลลนาก พระเจา้ ภาติกตสิ สะ พระเจา้ กณิฏฐตสิ สะ พระเจา้ อชุ นุ าค พระเจา้ กญุ ชนาค พระเจา้ ศิรนิ าค พระเจ้าโวหารติสสะ พระเจา้ อภยั นาค พระเจ้าสิรินาค พระเจ้าวิชยั พระเจ้าสงั ฆตสิ สะ พระเจา้ สิรสิ ังขโพธิ พระเจา้ โคฏกาภัย พระเจ้าเชฏฐตสิ สะ พระเจา้ มหาเสนะ วมิ ุตตมิ รรค วิมุตตมิ รรค๓๑๕ เปน๐ ผลงานรจนาของพระอุปติสสเถระ ส่วนประเด็นว่าท่าน เป๐นชาวอินเดีย หรือลังกา ยังไม่เปน๐ ที่ยตุ ิ ตน้ ฉบับแต่งเปน๐ ภาษาบาลี แต่งขึ้นก่อนคัมภีร์วิ สทุ ธิมรรคของพระพุทธโฆสาจารย์ อยางไรก็ตาม ต้นฉบับภาษาบาลีได้สญู หายไปแล้ว ยัง เหลือแต่ฉบับที่ถ่ายทอดมาเป๐นภาษาจีน โดยท่านพระติปิฏกสังฆปาละแห่งฟูนาน เม่ือ ศตวรรษที่ ๖ แห่งคริสต์ศักราช ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๗๙ ได้มีการถ่ายจากภาษาจีนเป๐น ๓๑๕ พระอปุ ติสสเถระ, วิมุตติมรรค, พระราชวรมุนี [ประยูร ธมฺมจิตฺโต] และคณะ ผู้แปล. [กรงุ เทพฯ:สาํ นักพมิ พศ์ ยาม, ๒๕๔๑], ๔๒๗ หน้า.

๔๑๙ ภาษาองั กฤษอีกทอดหนึง่ โดยพระเอฮารา เจ้าอาวาสวดั นกิ ายนิจิเรนในญปี่ นุ รว่ มกับพระ โสมเถระ และพระเขมินทเถระ มีการจัดพิมพ์ในรูปหนังเล่มหนังสือคร้ังแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๔ วิมุตติมรรค เป๐นคัมภีร์ท่ีแสดงแนวทางแห่งการหลุดพ้นท้ัง ๕ ประการ ประกอบด้วย วิกขัมภนวิมุตติ [หลุดพ้นด้วยการข่มไว้], ตทังควิมุตติ [หลุดพ้นด้วยองค์ นั้นๆ], สมุจเฉทวิมุตติ [หลุดพ้นด้วยการตัดขาด], ปฏิป๎สสัทธิวิมุตติ [หลุดพ้นด้วยความ สงบ], และนิสสรณวิมุตติ [หลุดพ้นด้วยการสลัดออกไป] โดยใช้แนวแห่งศีล สมาธิ และ ป๎ญญา ตามนัยแห่งพระบาลีวา่ สลี ํ สมาธิ ปํฺญา จ วิมุตตฺ ิ จ อนุตฺตรา อนุพุทฺธา อเิ ม ธมฺมา โคตเมน ยสสสฺ ินา แปล พระโคดมผู้มียศ ได้ตรัสรู้ธรรมเหล่านี้ คือ ศีล สมาธิ ป๎ญญา และวมิ ุตตอิ นั ยอดเยี่ยม วิมุตติมรรค แบ่งเน้ือหาออกเป๐น ๑๒ บท อธิบายธรรมไปตามลําดับแต่ละ บทดงั ต่อไปน้ี บทที่ ๑ นทิ านกถา อุทเทศคาถา วิมตุ ตมิ รรคพรรณนา ไตรสิกขา บทท่ี ๒ ศีลปริจเฉท ว่าด้วยนิยามความหมายของศีล, ลักษณะของศีล, อานิสงส,์ ศลี และวตั ร, อธบิ ายศลี ๒ ประเภท, ศีล ๓ ประเภท, ศีล ๔ ประเภท, เหตุที่ทํา ให้บุคคลสํารวมศลี บทท่ี ๓ ธุตังคปริเฉท ว่าด้วยธุดงค์ ๑๓ รายละเอียดแจกแจง และอธิบาย ตามหวั ขอ้ จนครบท้งั ๑๓ ขอ้ , ข้อผอ่ นปรนในการสมาทานธดุ งค์ และปกณิ ณกกถา บทที่ ๔ สมาธิปริจเฉท อธิบายความหมายของสมาธิ, อานิสงส์ของสมาธิ, ธรรมท่ีเป๐นเหตุเกิดสมาธิ, สมาธิ ๒ ประเภท, สมาธิ ๓ ประเภท, สมาธิ ๔ ประเภท, สมาธิ ๕ ประเภท, ฌาน ๔ และฌาน ๕ บทท่ี ๕ กัลยาณมิตรปริจเฉท ว่าด้วยคุณสมบัติของกัลยาณมิตร, การ แสวงหากัลยาณมิตร, หนา้ ทขี่ องผู้เรมิ่ ศึกษา บทท่ี ๖ จรยิ าปรจิ เฉท วา่ ดว้ ยประเภทของจริยา, บุคคล ๑๔ ประเภท, จริต ๑๔ ย่อลงเป๐น ๗, การฝึก, สาเหตุของจริยา, ลักษณะ ๗ ประการของจริยา, และปกิณณ กกถา

๔๒๐ บทที่ ๗ กมั มฏั ฐานารมั มณปริจเฉท วา่ ดว้ ยวิธีการกําหนดคุณลักษณะ บทท่ี ๘ กัมมัฏฐานปรจิ เฉท ตอนที่ ๑ กสณิ ๑๐ ตอนท่ี ๒ ว่าด้วยทุตยิ ฌานเปน๐ ตน้ ตอนท่ี ๓ วา่ ด้วยกสิณ เปน๐ ต้น ตอนท่ี ๔ วา่ ดว้ ยอนุสสติ เปน๐ ตน้ ตอนท่ี ๕ วา่ ด้วยเมตตาภาวนา เปน๐ ต้น บทที่ ๙ อภญิ ญาปริจเฉท วา่ ด้วยอิทธิวิธี ๗ ชนิด, อธิษฐานฤทธิ์, วิกุพพนา ฤทธ,ิ์ มโนมยทิ ธิ, ทิพโสต, เจโตปรยิ ญาณ, ปุพเพนิวาสานสุ สติญาณ, และทพิ จกั ษุ บทที่ ๑๐ ป๎ญญาปริจเฉท ว่าด้วยความหมายของป๎ญญา, ป๎ญญา ๒ ประเภท, ปญ๎ ญา ๓ ประเภท, ปญ๎ ญา ๔ ประเภท บทที่ ๑๑ ตอนท่ี ๑ อุบายปริจเฉท ว่าดว้ ยขันธ,์ อายตนะ, ธาต,ุ ปฏจิ จสมุปบาท ตอนท่ี ๒ สจั จอบุ าย วา่ ด้วยอริยสจั ๔ มที กุ ข์ สมทุ ัย นโิ รธ และมรรค บทที่ ๑๒ ตอนที่ ๑ สจั จญาณปรจิ เฉท วา่ ด้วย ขันธ์ ธาตุ อายตนะ ความแตกต่าง ระหว่างนามและรปู อุทยพั พยญาณ ภังคญาณ และอปุ มาด้วยเสยี งกลอง ตอนท่ี ๒ สัจจญาณ ว่าด้วยภยตูป๎ฏฐานญาณ, มุญจิตุกัมยตาญาณ, อนโุ ลมญาณ,โคตรภญู าณ, สังโยชน์ ๓, พระอรหันต์, ปกิณณกกถา, สมถะและวิป๎สสนา, อกุศลจิตตุปบาท ๑๒, อนมิ ติ ตเจโตสมาธิ และสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบตั ิ วสิ ุทธชนวลิ าสนิ ี วิสุทธชนวิลาสินี๓๑๖ เป๐นอรรถกถาอธิบายความในพระไตรปิฎก ขุททก นิกาย อปทาน เป๐นผลงานของพระพุทธโฆส ลักษณะบทประพันธ์เป๐นแบบวิมิสสะ คือ ผสมระหว่างรอ้ ยแก้ว และร้อยกรอง ร้อยแก้วเดินเร่ืองอธิบายเป๐นส่วนใหญ่ แต่ก็มีบาง เร่ืองบางตอนมีบทร้อยกรองเสริม อปทาน แปลวา่ ประวัติ ชวี ประวตั ิ หรอื อัตตชีวประวัติ ในคัมภีร์ท่านใช้เป๐น คํากลางๆ ว่า ประวัติ ถ้าต้องการเน้นว่าเป๐นประวัติของใครก็นําไปสนธิคํา เช่น ๓๑๖ พระพทุ ธโฆสาจารย,์ อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขุททนกิ าย อปทาน ภาค ๑, [กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพม์ หาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙], ๕๕๑ หน้า.

๔๒๑ พุทธาปทาน พระประวัติของพระพุทธเจ้า, ป๎จเจกพุทธาปทาน ประวัติของพระป๎จเจก พุทธเจ้า เถราปทาน ประวัติของพระเถระ เถริยาปทาน ประวัติของพระเถรี เป๐นต้น เนอ้ื หาของคัมภีร์เน้นการบําเพญ็ บารมขี องเจ้าของประวตั ินนั้ ๆ วิสุทธชนวิลาสินี แบ่งออกเป๐น ๒ ภาค ภาคแรกประกอบด้วยพุทธาปทาน ๑ เร่อื ง ป๎จเจกพทุ ธาปทาน ๔๑ เรือ่ ง และเถราปทาน ๑๐ เรื่อง ภาคท่ี ๒ ประกอบด้วย อรรถกถาเถราปทาน ๒๔๑ เรือ่ ง เถริยาปทาน ๔๐ เรอื่ ง ตัวอย่าง สาระสาคัญจากคัมภีร์ (๑) ประโยชน์ของการอาศัยอยู่โคนตน้ ไม้ ๑๐ ประการ๓๑๗ ๑) ริเรมิ่ น้อย ๒) ไม่ตอ้ งดูแลปฏิบัติ ๓) ไมต่ อ้ งปลกุ ให้ต่นื ๔) ปิดชอ่ งทําความช่ัว ๕) ปดิ ชอ่ งข้อครหา ๖) ไมก่ ่อให้เกดิ ความหวงแหน ๗) ตัดความอาลัย ๘) ไม่ตอ้ งถกู ไล่ออก ๙) ผอู้ ยู่กม็ ีความปีติ ๑๐)ไม่มคี วามห่วงใย (๒) อรรถแหง่ พทุ ธะ (พทุ โธ) ๓๑๘ ๑) เพราะตรัสรู้สัจจะทงั้ หลายแล้ว ๒) เพราะทรงเป๐นสพั พญั ํู ๓) เพระทรงเป๐นผูเ้ หน็ ธรรมทั้งปวง ๔) เพราะไม่มคี นอ่นื แนะนํา ๕) เพราะทรงเปน๐ ผูเ้ บกิ บาน ๖) เพราะทรงเปน๐ พระขณี าสพ ๗) เพราะเป๐นผ้ปู ราศจากอุปกิเลสโดยสน้ิ เชงิ ๓๑๗ พระพุทธโฆสาจารย,์ อรรถกถาภาษาไทย พระสตุ ตันตปฎิ ก ขทุ ทนกิ าย อปทาน ภาค ๑, หน้า ๑๘. ๓๑๘ พระพุทธโฆสาจารย์, อรรถกถาภาษาไทย พระสตุ ตันตปฎิ ก ขทุ ทนกิ าย อปทาน ภาค ๑, หนา้ ๑๕๔.

๔๒๒ ๘) เพราะการถอื บวช ๙) เพราะไม่เป๐นทส่ี อง ๑๐)เพราะทรงละตัณหาไดแ้ ลว้ ๑๑)เพราะเสด็จถงึ ทางสายเอก ๑๒)เพราะตรสั รู้อนตุ ตรสัมมาสมั โพธิญาณลําพงั พระองค์เดียว ๑๓)เพราะทรงเปน๐ ผูข้ จัดความไมร่ ู้ไดแ้ ลว้ ๑๔)เพราะทรงเปน๐ ผู้ได้เฉพาะซง่ึ ความรู้ (๓) เหตุผลท่พี ระพุทธเจ้าถูกพระเทวทัตกลิง้ ศิลากระทบ๓๑๙ ในป๎ญหาข้อท่ี ๕ พึงทราบวินิจฉัยดังต่อไปน้ี คําว่า การถูกศิลากระทบ (สี ลาเวโธ) ความวา่ ผมู้ จี ิตอนั โทสะกระทบแล้ว กล้ิงศิลาทับ ได้ยินว่า ในอดีต พระโพธิสัตว์ และน้องชายเป๐นลูกพ่อเดียวกัน โศดยการท่ีบิดาล่วงไป พ่ีน้องท้ัง ๒ น้ัน ทะเลาะกัน เพราะอาศัยพวกทาส จงึ ได้คดิ รา้ ยกันและกัน พระโพธิสตั ว์กดทบั นอ้ งชายไว้ เพราะความ ท่ตี นมีพละกลัง แลว้ กลง้ิ หินทบลงบนนอ้ งชายน้นั พระโพธสิ ตั วน์ ้นั เสวยทุกขใ์ นนรกหลาย พันปี เพราะผลแห่งกรรมนั้น ในอัตภาพสุดท้ายน้ีเกิดเป๐นพระพุทธเจ้า....เพราะเหตุนั้น พระผูม้ ีพระภาคจึงตรสั ว่า ในกาลก่อน เราได้ฆ่าน้องชายต่างมารดา เพราะเหตุแหง่ ทรัพย์ จบั โยนลงซอกภเู ขา แล้วโยนหินทบั ไว้ ด้วยผลแห่งกรรมน้ัน พระเทวทตั จึงผลกั ก้อนหินกลงิ้ ลงมา สะเกด็ หินกระทบนิ้วหัว แม่เทา้ ของเรา (จนหอ้ เลอ้ื ด) ในอดีตพระโพธิสัตว์เกิดในตระกูลหนึ่ง ในเวลาเป๐นเด็กกําลังเล่นในถนน ใหญ่ ไดเ้ หน็ พระปจ๎ เจกพทุ ธเจา้ ผู้กาํ ลังเท่ยี วบณิ ฑบาตในถนน จึงคิดว่า “สมณะโล้นนี้จะ ไปไหน” จึงหยิบสะเก็ดหินโยนไปบนหลังเท้าพระป๎จเจกพุทธเจ้านั้น หนังหลังเท้าขาด เลอื ดไหลออก เพราะบาปกรรมนั้น พระโพธิสัตว์น้ันได้เสวยทุกข์ใหญ่ในนรกหลายพันปี ถึงเปน๐ พระพทุ ธเจ้าก็ได้เกิดห้อพระโลหิต เพราะสะเก็ดหินกระทบบนหลังพระบาทด้วย อํานาจกรรมเก่า... (๔) การนยิ ามคา/ศัพท์ คําว่า บุตร ได้แก่ บุตร ๔ จําพวก คือ บุตรที่เกิดจากตน, บุตรท่ีเกิดจาก ภรรยา, และบตุ รคืออนั เตวาสิก ๓๑๙ พระพทุ ธโฆสาจารย,์ อรรถกถาภาษาไทย พระสตุ ตนั ตปิฎก ขทุ ทนกิ าย อปทาน ภาค ๑, หน้า ๑๘๘.

๔๒๓ คําว่า สหายํ (สหาย) มีอธิบายว่า การมา การไป การยืน การนั่ง การร้อง เรยี ก การเจรจา การสนทนากับบคุ คลใด เป๐นความสุข บคุ คลนัน้ ท่านเรยี กวา่ สหาย๓๒๐ คําว่า พระอังคีรส ความว่า รัศมีซ่านออกจากพระวรกาย คือจากสรีระของ พระพุทธเจ้าพระองค์ใด พระพุทธเจ้าพระองค์น้ันพระนามว่าพระอังคีรส, บุคคลใดย่อม ไมไ่ ปสู่อบาย ๔ เพราะฉนั ทาคติ โทสาคติ โมหาคติ และภยาคติ หรือเพราะอํานาจปาปส มาจาร เพราะฉะนน้ั บคุ คลนนั้ ชอ่ื วา่ นาคะ บุคคลนั้นเป๐นอันบุคคลพึงบูชาอย่างมากมาย ดว้ ย เป๐นนาคด้วย เพราะฉะนน้ั ชอ่ื ว่า มหานาค๓๒๑ (๕) การวิเคราะห์ศัพท์ พึงทราบวิเคราะห์ในคําว่า อชฺฌายโก มนฺตธโร นั้น ที่ชื่อว่าผู้เล่าเรียน เพราะความหมายว่า ย่อมศึกษา คือย่อมคิด บุคคลท่ีศึกษานั่นแหละ ชื่อว่า อัชฌายกะ จริงอยู่ อ-อกั ษรในคาํ วา่ อชฺฌายิโก นี้ ย่อมเป๐นไปในอรรถ ๑๐ ประการ ดังที่ท่านกล่าว ไวอ้ ยา่ งนี้ว่า อ-อกั ษรเป๐นไปในอรรถประเสริฐ ในความเจรญิ ในความเปน๐ ไปเช่นนั้น ฯลฯ ในความว่างเปล่า และในอรรถว่าเล็กน้อย อธิบายว่า ท่ีช่ือว่า อัชฌา ยกะ เพราะ ความหมายว่าย่อมศึกษา คือย่อมคิด ได้แก่ย่อมกระทการสาธยายด้วยวิธีฟ๎งและทรง จําเป๐นต้นของศิษย์ท้ังหลาย อธิบายว่า คนช่างคิดนั่นเอง ท่ีชื่อว่าทรงมนต์ เพราะ ความหมายว่า ยอ่ มทรงจาํ มนตท์ ัง้ ปวงที่ศกึ ษามาในสํานักของอาจารย์ด้วยใจ คือยังมนต์ ใหเ้ ปน๐ ไปฯ๓๒๒ (๖) ความประพฤติ ๘ อย่าง๓๒๓ ๑) เมื่อน้อมใจเชื่อ ชื่อวา่ ย่อมประพฤตดิ ้วยศรทั ธา ๒) เมื่อประคองใจ ชอื่ ย่อมประพฤติด้วยวิริยะ ๓) เมอื่ ตัง้ จิตม่นั ชอื่ ว่ายอ่ มประพฤตดิ ว้ ยสติ ๔) เมื่อทาํ ความไม่ฟุูงซ่าน ชือ่ ว่าย่อมประพฤตดิ ว้ ยสมาธิ ๕) เมื่อรู้ชดั ชือ่ ว่าย่อมประพฤติดว้ ยป๎ญญา ๖) เม่ือรู้แจ้ง ช่อื วา่ ย่อมประพฤตดิ ้วยวญิ ญาณจริยา ๗) เม่ือมนสิการว่า “กุศลธรรมท้ังหลาย ย่อมดําเนินไปแก่ผู้ปฏิบัติ อยา่ งน้ี” ชื่อวา่ ย่อมประพฤติด้วยความประพฤติในอายตนะ ๓๒๐ ขุ.อปทาน.อ.(ไทย) ๑/๒๐๒. ๓๒๑ ข.ุ อปทาน.อ.(ไทย) ๒/๕๒/๙๕. ๓๒๒ ขุ.อปทาน.อ.(ไทย) ๒/๗๕/๒๐๖. ๓๒๓ ข.ุ อปทาน.อ.(ไทย) ๑/๒๐๗.

๔๒๔ ๘) เมื่อมนสิการวา่ “ผู้ปฏิบัติอย่างน้ี ย่อมบรรลุคุณวิศษ” ช่ือว่า ย่อม ประพฤตดิ ้วยความประพฤติเป๐นคุณวเิ ศษ (๗) ประวัตใิ นอดีตชาติของพระราหุลเถระ๓๒๔ ประวัติของท่านพระราหลุ เถระ มคี าํ เร่มิ ตน้ ว่า ปทุมุตตฺ รสฺส ภควโต ดงั น้.ี ท่านผู้มีอายุแม้นี้ ก็ได้บําเพ็ญบุญญาธิการไว้ในพระพุทธเจ้าองค์ก่อน สั่ง สมบุญอันเป๐นอุปนิสัยแห่งพระนิพพานในภพนั้น ๆ ในกาลแห่งพระพุทธเจ้าพระนาม ว่าปทมุ ุตตระ บงั เกิดในเรือนมีตระกลู ถงึ ความเป๐นผู้รู้เดียงสาแล้ว ฟ๎งพระธรรมเทศนา อยู่ในสํานักพระศาสดา เห็นพระศาสดาทรงต้ังภิกษุรูปหน่ึงไว้ในฐานะอันเลิศกว่าภิกษุ ทง้ั หลายผ้ใู คร่ตอ่ การศกึ ษา เมอื่ ปรารถนาตําแหน่งน้ันด้วยตนเอง บําเพ็ญบุญอันยิ่งมีการ ชาํ ระเสนาสนะ ทาํ ให้สว่างไสวเป๐นต้นแล้วได้ต้ังความปรารถนาไว้. ท่านจุติจากอัตภาพ นน้ั แล้ว ท่องเทยี่ วไปในเทวดาและมนุษย์ทัง้ หลาย เสวยสมบัติท้ังสองในพุทธุปบาทกาล นี้ เพราะอาศัยพระโพธิสัตว์ของเรา จึงบังเกิดในพระครรภ์ของพระนางยโสธราเทวี ได้นามว่าราหุลกุมาร ทรงเจริญด้วยขัตติยบริวารเป๐นอันมาก. วิธีบรรพชาของท่าน มาแล้วในขันธกะนั้นเอง. ท่านบรรพชาแล้วได้รับพระโอวาทด้วยดี ด้วยสุตตบทเป๐นอัน มากในสํานักพระศาสดา มีญาณแก่กล้า เจริญวิป๎สสนาบรรลุพระอรหัต. ก็ท่านเป๐น พระอรหัต พิจารณาข้อปฏบิ ตั ขิ องตน เม่ือพยากรณ์พระอรหัตผลจึงได้ภาษิตคาถา ๔ คาถาเหล่านี้วา่ ชนทงั้ หลายยอ่ มร้จู ักเราว่า พระราหุลผูเ้ จรญิ สมบูรณ์ด้วยคณุ สมบัติ ๒ ประการคือ ชาตสิ มบัติ ๑ ปฏปิ ต๎ ติสมาบตั ิ ๑ เพราะเปน๐ โอรสของพระพุทธเจ้า และเป๐นผมู้ ีปญ๎ ญาเห็นธรรมท้ังหลายฯ อนง่ึ เพราะอาสวะของเราสิน้ ไป และภพใหม่ไมม่ ีต่อไป เราเป๐นพระอรหันตเ์ ป๐นพระทกั ขิไณยบุคคล มีวชิ ชา ๓ เป๐นผเู้ ห็นอมตธรรมฯ สตั วท์ ้งั หลายเปน๐ ดงั คนตาบอด เพราะเป๐นผู้ไม่เห็นโทษ ในก้าน ถกู ขา่ ยคือตณั หาปกคลมุ ไว้ ถูกหลังคาคอื ตัณหา ปกปดิ ถกู มารผกู แล้วด้วยเคร่อื งผู คอื ประมาท ๓๒๔ พระพุทธโฆสาจารย,์ อรรถกถาภาษาไทย พระสตุ ตันตปิฎก ขุททนกิ าย อปทาน ภาค ๒, หน้า ๒๑-๒๔. (ใชส้ ํานวนแปล ฉบับ มมร. ชดุ ๙๑ เลม่ )

๔๒๕ เหมอื นปลาในปากลอบฉะนัน้ ฯ เราถอนกามน้นั ข้นึ ไดแ้ ลว้ ตดั เคร่อื งผูกของมารไดแ้ ลว้ ถอนตณั หาพรอ้ มท้งั รากขึ้นแลว้ เป๐นผ้มู คี วามเยือกเย็นดับแลว้ ฯ บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อุภเยเนว สมปนฺโน ความว่า ผู้สมบูรณ์ คือประกอบด้วยคุณสมบัติทั้งสอง คือชาติสมบัติ ๑ ปฏิป๎ตติสมบัติ ๑. บทว่า ราหลุ ภทฺโทติ ม วทิ ู ความวา่ เพอ่ื นสพรหมจารีท้ังหลาย รู้จักเราว่า ราหุลภัททะ. จริงอยู่ พระเจ้าสุทโธทนมหาราชทรงทราบว่า พระราหุลนั้นประสูติแล้ว ทรงยึดเอา ถ้อยคําที่พระโพธิสัตว์ตรัสว่า ราหุล (เคร่ืองผูก) เกิดแล้ว เคร่ืองผูกพันเกิดแล้ว จงึ ยึดเอาพระนามว่าราหลุ ดังนี้ . ในขอ้ น้นั พระองคท์ รงยดึ เอาปริยายท่ีพระบิดาตรัส แลว้ แต่ต้นน่ังเอง จึงตรัสว่า ราหุลภทฺโทติ ม วิทู ดังน้ี. บทว่า ภทฺโท เป๐นคํากล่าว สรรเสริญน้นั เอง. ในกาลต่อมา พระศาสดาทรงตัง้ ทา่ นไวใ้ นตําแหนง่ อันเลิศ โดยภาวะ เป๐นผู้ใคร่ต่อการศึกษาว่า ภิกษุท้ังหลาย ราหุลน้ีเป๐นผู้เลิศแห่งภิกษุสาวกของเราผู้ใคร่ ต่อการศกึ ษา. ท่านได้รับตําแหน่งเอทัคคะอย่างน้ีแล้ว ระลึกถึงบุพกรรมของตนเกิด โสมนัส ประกาศถึงปุพพจริยาปทาน จึงตรัสว่า ปทุมุตฺตรสฺส ภควโต ดังน้ีเป๐นอาทิ. บทว่า สตฺตภูมิมฺหิ ปาสาเท ความว่า ชื่อว่า ปาสาทะ เพราะยังความเลื่อมใสคือยัง ความโสมนัสให้เกิด. ภูมิท้ัง ๗ ดังอยู่ในช้ันสูง ๆ ในปราสาทใด ปราสาทนี้นั้น ช่ือว่า สัตตภูมิ ปราสาท ๗ ช้ัน บทว่า อาทาส สนฺถรึ อห ความว่า เราได้ทําพื้นแว่นให้ สําเร็จแล้วได้ลาดถวาย อธิบายว่า ได้ลาดบูชาพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ประเสริฐของ โลกผู้คงท.่ี บทวา่ ขณี าสวสหสฺเสหิ ความว่าเกลื่อนกล่น คือแวดล้อมไปด้วยพระอรหันต์ ๑,๐๐๐ องค์. ชือ่ วา่ ทฺวิปทินฺโท เป๐นจอมแห่งสัตว์สองเท้า คือเป๐นจอม เป๐นเจ้าแห่ง สัตว์สองเท้า เป๐นผู้องอาจกว่านระเป๐นมหามุนี เข้าไปหาคือเข้าไปยังพระคันธกุฎี พรอ้ มด้วยสัตวส์ องเท้าเหล่าน้ัน . บทว่า วิโรเจนฺโต คนฺธกุฏึ ความว่า พระศาสดาผู้ ประเสริฐผูเ้ ปน๐ เทพยิ่งกวา่ เทพท้ังหลาย ช่ือว่า เทวเทโว, ผู้องอาจกว่านระท้ังหลายชื่อ ว่า นราสโภ ยงั พระคันธกุฎีน้ันให้สว่างไสว ประทับนั่ง ณ ท่ามกลางภิกษุสงฆ์ ได้ตรัส ภาษติ พยากรณค์ าถาเหล่าน้.ี บทว่า เยนายํ โชติตา เสยฺยา ความว่า ที่นอนกล่าวคือ ปราสาทน้ี อันอุบาสกใดให้โชติช่วงแล้ว คือสว่างไสวรุ่งเรืองแล้ว . เราได้ลาดด้วยดี คือทําให้เสมอ เหมือนคันฉ่องทําพ้ืนให้ใสดุจกระจก อันสําเร็จด้วยสัมฤทธ์ิและโลหะ

๔๒๖ ฉะน้ัน. อธบิ ายว่า เราจกั ยกยอ่ งอุบาสกน้นั คือจักกระทําให้ปรากฏ. คําท่ีเหลือรู้ได้ งา่ ยท้ังนั้น. บทวา่ อฏฺฐานเมตํ ยํ ตาทิ ความว่า เป๐นผู้คงท่ีด้วยเหตุใด คือช่ือว่าเป๐นผู้ คงท่ีเพราะเป๐นผู้ไม่หว่ันไหวในอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ ได้ประสบคือถึงความยินดี คือไม่เกียจคร้านในเรือนคือในการครองเรือน.อธิบายว่า แต่เหตุท่ีเขาจะคงท่ีถึงความ ยนิ ดใี นเรอื นนนั้ ไมเ่ ปน๐ ฐานะที่จะมีได้ คอื ไม่เปน๐ เหตุ. บทวา่ นภิ ฺขนติ วฺ า อคารสฺมา ความว่า เขาจักออกจากการอยู่ครองเรือน สละการครองเรือนนั้นเหมือนสละใบหญ้า ออกบวชเป๐นผู้มีวัตรดีศึกษาดีงาม. บทว่า ราหโุ ล นาม นาเมน ความว่า ชื่อวา่ ราหลุ เพราะเปน๐ พระนามท่ีพระสิทธัตถะ พระราช บิดาตรัสว่า ราหุล (เคร่ืองผูก) เกิดแล้ว เครื่องผูกเกิดเเล้ว เพราะสดับข่าวว่า พระกุมารประสูติแลว้ ที่พระเจ้าสุทโธทนมหาราชทรงส่งไป. พึงเห็นว่าพระองค์ตรัส ว่า ราหุล (เคร่ืองผูก) เกิดแล้ว โดยประสงค์ว่า พระกุมารน้ีเกิดมาเหมือนทําอันตรายต่อ บรรพชา คือการออกเพื่อคุณอันยิ่งใหญ่เป๐นต้นของเรา เหมือนราหูจอมอสูรต้ังข้ึน เคลื่อนไป เพราะกระทําแสงสว่างแห่งวิมานแห่งพระจันทร์และพระอาทิตย์ให้ หม่นหมองฉะนั้น. บทว่า อรหา โส ภวิสฺสติ ความว่า ท่านคือผู้เช่นน้ัน ผู้สมบูรณ์ด้วย ธรรมอนั เป๐นอุปนสิ ัย ประกอบการขวนขวายในวิปส๎ สนาจกั เป๐นพระอรหนั ตขณี าสพ. บทวา่ กกิ ีว อณฑฺ ํ รกฺเขยฺย ความว่า พึงเป๐นผู้ไม่ประมาทรักษาศีลเหมือนนก ดอ้ ยตวี ดิ รกั ษาฟองไข่คือพืชฉะนั้น. บทว่า จามรี วิย วาลธึ ความว่า พึงสละแม้ชีวิต ไมท่ ําลายศีลรักษาไว้ เหมอื นจามรีรักษาขนหางไม่ดึงขนหาง คือเมื่อขนหางติดคล้องใน ท่อนไมก้ ไ็ ม่ดึงมา เพราะกลัวขาดยอมตาย. ป๎ญญาท่านเรียก นิปกะ ในบทว่า นิปโก สีลสมฺปนฺโน น้ี.พระผู้มีพระภาคเจ้าน้ันทรงพยากรณ์อย่างน้ีว่า ผู้ประกอบด้วยป๎ญญา เครอื่ งรกั ษาตนนน้ั ชื่อวา่ นปิ กะ จักเป๐นผู้สมบูรณ์ดว้ ยศลี เพราะรักษาไว้ไม่ขาดไม่ทําลาย เป๐นตน้ . ทา่ นบรรลุพระอรหัตผลอย่างน้ีแล้ว วันหนึ่งน่ังในท่ีอันสงัดกล่าวคํามีอาทิว่า เรารกั ษาพระมหามนุ ีอยา่ งนด้ี ้วยสามารถแหง่ โสมนสั . คาํ ท่ีเหลือรไู้ ด้งา่ ยทง้ั นั้นแล. วสิ ุทธิมรรค,คมั ภีร์ คัมมภีร์วิสุทธิมรรค หมายถึง คัมภีร์ท่ีแสดงทางแห่งความบริสุทธ์ิ หรือ แนวทางปฏบิ ตั ิเพ่ือความบริสุทธต์ิ ามลําดับ โดยใช้แนวทางแหง่ ไตรสิกขา ๓ เป๐นกรอบใน

๔๒๗ การอธิบายความ รวม ๒๓ นิเทศ มคี วามยาว ๕๙ ภาณวาร ผู้รจนาคัมภีร์วิสุทธิมรรคคือ พระพุทธโฆสะ ระยะเวลาในการรจนาคมั ภีรใ์ นคาํ ปรารภระบุ ๙๕๖ ผ้รู จนาเปน๐ ชาวอินเดีย แต่เดินทางไปประเทศลังกา เพ่ือขอแปลคัมภีร์อรรถ กถาจากภาษาสิงหลเป๐นภาษาบาลี แล้วนํากลับไปเผยแพร่ที่อินเดีย เนื่องจากเวลานั้น อินเดยี ประสบป๎ญหาเร่อื งคัมภรี ์อรรถกถาต่างๆ ได้เสยี หายไป ที่ประชุมสงฆ์ในมหาวิหาร ณ กรุงอนุราธปุระได้วางเงื่อนไขทดสอบกําลังสติป๎ญญาความสามารถก่อน จึงได้มอบ คาถา ๑ บาทจากคัมภีร์สังยุตตนิกาย สคาถวรรคให้พระพุทธโฆสะไปรจนาคัมภีร์ข้ึนมา อยา่ งหน่ึง จึงเป๐นทม่ี าของคมั ภีรว์ สิ ทุ ธิมรรค พระบาลตี น้ เคา้ แห่งการอธิบายวิสทุ ธมิ รรค มีดังน้ี สีเล ปตฏิ ฐฺ าย นโร สปํฺโญ จติ ตฺ ํ ปํญฺ ํฺจ ภาวยํ อาตาปี นิปโก ภิกขฺ ุ โส อิมํ วิชฏเย ชฏํ ฯ แปล ภิกษุผู้ฉลาด มีความเพียร มีป๎ญญาบริหารตน ดํารงอยู่ในศีล อบรมจิต และปญ๎ ญา ถึงถางชฏั นไี้ ด้ สาระสาคัญของวิสุทธิมรรค คาํ วา่ วสิ ทุ ธมิ รรค แยกออกเปน๐ ๒ คํา คือ วิสทุ ธิ และ มรรค วิสุทธิ ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคท่านหมายถึง นิพพาน, ความปราศจากมลทิน, ความบริสุทธ์ิ มรรค แปลว่า ทาง รวมความว่า ทางแห่งพระนิพพาน, ทางแห่งความ บรสิ ุทธ,ิ์ ทางนาํ ไปสู่ความปราศจากมลทิน๓๒๕ อนงึ่ “ทาง” ทีเ่ ป๐นไปเพอ่ื ความหมดจด ความบริสุทธิ์ ในคัมภีร์พระไตรปิฎก ท่านแสดงไวห้ ลายนยั เช่น ๑. ทาง หมายถงึ วิป๎สสนา ไดใ้ นประโยคว่า สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจาติ ยทา ปํญฺ าย ปสสฺ ติ อถ นพิ ฺพินทฺ ติ ทกุ เฺ ข เอส มคฺโค วสิ ุทฺธิยาตฯิ เม่ือใด อรยิ สาวกเหน็ ดว้ ยป๎ญญาว่า สงั ขารทั้งปวงไมเ่ ท่ยี ง เมอื่ นน้ั ย่อมหนา่ ยในทุกข์ น่นั เป๐นทางแหง่ ความบริสุทธ์ิ๓๒๖ ๒. ทาง หมายถงึ ฌานและปญ๎ ญา ได้ในประโยคว่า ๓๒๕ พระพทุ ธโฆสเถระ, คมั ภีร์วสิ ทุ ธิมรรค, สมเด็จพระพุฒาจารย์ แปล. [Taiwan: The Corporate Budy of The Buddha Ecucational Foundation,๒๕๔๘], หน้า ๓. ๓๒๖ ขุ.ธ.[ไทย] ๒๕/๒๗๗/๑๑๘.

๔๒๘ นตถฺ ิ ฌานํ อปํฺญสสฺ นตฺถิ ปํญฺ า อฌายิโน ยมฺหิ ฌานํฺจ ปํฺญา จ ส เว นิพฺพานสนตฺ เิ กฯ ฌานไม่มแี ก่ผูไ้ มม่ ปี ญ๎ ญา ป๎ญญายอ่ มไมม่ แี ก่ผู้มฌี าน ฌานและปญ๎ ญามใี นผู้ใด ผู้น้นั แลอยู่ใกลพ้ ระนพิ พาน๓๒๗ ๓. ทาง หมายถงึ กรรม วิชชา ธรรม เป๐นตน้ ได้ในประโยควา่ กมมฺ ํ วิชชฺ า จ ธมฺโม จ สลี ํ ชีวิตมุตฺตมํ เอเตน มจฺจา สชุ ฺฌนตฺ ิ น โคตฺเตน ธเนน วาติฯ กรรม วชิ ชา ธรรม ศีล และชวี ิตอนั อดุ ม สตั วท์ ั้งหลายย่อมบริสทุ ธิ์ได้ดว้ ยคณุ ธรรม ๕ ประการนี้ หาใชบ่ ริสุทธดิ์ ว้ ยโคตรและทรัพย์ไม่๓๒๘ ๔. ทาง หมายถงึ ศีล ป๎ญญา เป๐นต้น ไดใ้ นประโยควา่ สพฺพทา สีลสมปฺ นฺโน ปํฺญวา สุสมาหโิ ต อารทธฺ วิริโย ปหติ ตฺโต โอฆํ ตรติ ทตุ ฺตรนตฺ ิฯ บคุ คลผสู้ มบูรณ์ด้วยศีล มีปญ๎ ญา มจี ิตต้ังม่ัน มีความเพียรปรารภแล้ว มีตนสง่ ไปแล้ว ในกาลทกุ เมอ่ื ย่อมข้ามห้วงนํ้าอนั ขา้ มแสนยาก๓๒๙ ๕. ทาง หมายถงึ สตปิ ฏ๎ ฐาน ไดใ้ นประโยควา่ เอกายโน อยํ ภกิ ฺขเว มคโฺ ค สตตฺ านํ วิสทุ ธฺ ยิ า ฯเปฯ นพิ ฺพานสฺส สจฺฉิกิริยาย ยทิทํ จตตฺ าโร สติปฏฺฐานาติ ภิกษุทั้งหลาย ทางน้ีเป๐นทางสายเอก เพ่ือความบริสุทธ์ิแหงสัตว์ ทงั้ หลาย ฯลฯ เพื่อทําให้แจง้ ซ่ึงพระนพิ พาน ทางสายน้ี ได้แก่สติป๎ฏฐาน ส่๓ี ๓๐ ทางแห่งวิสุทธิ [นิพพาน] จากตัวอย่างท่ีตรัสไว้ในคัมภีร์พระไตรปิฎก ต่าง กรรม ต่างวาระ ดังที่ยกตัวอย่างมาข้างต้น ทําให้ได้ข้อสรุปว่า ไม่มีข้อกําหนดตายตัวว่า จะต้องเริ่มต้นจากอะไรก่อน ท้ังนี้เพราะข้ึนอยู่กับภูมิหลัง และบารมีธรรมท่ีส่ังสมมาไม่ เหมอื นและไมเ่ ท่ากนั บางทา่ นอาจเรม่ิ ตน้ จากศีล บางทา่ นอาจเร่ิมตน้ จากสมาธิ บางท่าน ๓๒๗ ข.ุ ธ.[ไทย] ๒๕/๓๗๒/๑๔๙. ๓๒๘ ส.ํ ส. [ไทย] ๑๕/๔๘/๖๒. ๓๒๙ ส.ํ ส. [ไทย] ๑๕/๙๖/๑๐๒. ๓๓๐ ท.ี ม. [ไทย] ๑๐/๓๗๓/๓๐๑.

๔๒๙ อาจเริ่มต้นจากปญ๎ ญา คัมภีร์อรรถกถาท้ังหลายที่แสดงประวัติการบรรลุธรรมของเหล่า พระสาวก สาวกิ า น่าจะยนื ยันข้อสรปุ ข้างตน้ ได้ อน่ึง การบรรลุธรรมน้ันอาศัยองค์ธรรม ซ่ึงองค์ธรรมน้ันมีความสัมพันธ์ เชือ่ มโยงกันอยู่ ไมส่ ามารถแยกกันเปน๐ เอกเทศ ดงั น้ัน แมจ้ ะบอกว่า บางท่านเร่ิมต้นจาก ศีล จากสมาธิ หรือจากป๎ญญา แตกต่างกันไปตามภูมิหลัง และบารมีท่ีสั่งสมมาไม่ เหมือนกัน แต่ทั้งศีล สมาธิ และป๎ญญา ไม่ว่าจะพิจารณาจากมุมของไตรสิกขาก็ดี จาก อรยิ มรรคมีองค์ ๘ กด็ ี จากสตปิ ฏ๎ ฐานสี่ก็ดี หรอื องคธ์ รรมอ่ืน ๆ ก็ดี ล้วนอิงอาศัยกัน ต่าง ก็สนับสนุน ส่งเสรมิ กันและกนั ทัง้ ส้ิน นัยแห่งคาถาท่ีมาของคมั ภีร์วิสุทธมิ รรค บาทพระคาถาท่ีพระมหาเถรชาวสิงหฬนํามาให้พระพุทธโฆสาจารย์รจนา คัมภีร์เพื่อทดสอบสติป๎ญญาก่อนมอบคัมภีร์อรรถกถาให้แปลเป๐นภาษาบาลีน้ัน มาใน บาลีชฏสูตร [พระสูตรว่าด้วยความยุ่ง] สังยุตตนิกาย สคาถวรรค ปรารภเทวดาทูลถาม ป๎ญหากบั พระพุทธเจา้ ใจความว่า อนฺโตชฏา พหิชฏา ชฏาย ชฏิตา ปชา ตํ ตํ โคตม ปุจฺฉามิ โก อิมํ วชิ ฏเย ชฏนตฺ ิฯ แปล หม่สู ตั ว์ยุ่งท้งั ภายใน ยุง่ ทงั้ ภายนอก ถูกความยุ่งพาให้นงุ นังแลว้ ขา้ แต่พระโคดม เพราะฉะนนั้ ขา้ พระองคข์ อทูลถามพระองคว์ า่ ใครพึงแก้ความยงุ่ นี้ได้ฯ๓๓๑ พระพุทธเจ้าทรงสดับป๎ญหาทูลถามของเทวดาแล้ว ได้ทรงพยากรณ์แก่ เทวดา ดงั น้ี สีเล ปตฏิ ฺฐาย นโร สปํฺโญ จติ ตฺ ํ ปํฺญํฺจ ภาวยํ อาตาปี นปิ โก ภกิ ขฺ ุ โส อิมํ วชิ ฏเย ชฏนฺตฯิ แปล นรชนผูม้ ีปญ๎ ญา เหน็ ภัยในสังสารวัฏ ดาํ รงอยูใ่ นศีลแลว้ เจรญิ จติ และป๎ญญา มีความเพยี ร มีปญ๎ ญาเคร่อื งบริหารนั้น พงึ แก้ความยุ่งน้ีได้๓๓๒ ๓๓๑ส.ํ ส. [ไทย] ๑๕/๒๓/๒๖ ๓๓๒สํ.ส. [ไทย] ๑๕/๒๓/๒๗

๔๓๐ ใหส้ ังเกตคําวา่ ป๎ญญาในประโยคน้ใี หด้ ี เพราะทรงใช้คําวา่ ป๎ญญาถงึ ๓ ครั้ง กลา่ วคือ ๑. นรชนผู้มปี ญ๎ ญา [=สปํโฺ ญ] ๒. มีปญ๎ ญารักษาตน [=นิปโก] ๓. อบรมจิตและป๎ญญาอยู่ [=ปํญฺ ํฺจ ภาวยํ] ภาษาไทย แม้จะแปลว่า “ป๎ญญา” เหมอื นกันหมดทงั้ ๓ แห่ง แตพ่ อมา พจิ ารณาดูความหมาย และศัพทท์ ่ีใช้ กลับทรงใช้ไมเ่ หมอื นกัน หรือแมแ้ ต่ทท่ี รงใชศ้ ัพท์ เหมอื นกนั [สปํโฺ ญ,ปํญฺ ํ] กใ็ ช้ในความหมายท่ีไม่เหมือนกัน จงึ ยากต่อการทําความ เข้าใจ พระพทุ ธโฆสาจารย์ มีความประสงค์จะกระทาํ บาลพี ระพทุ ธพจนน์ ใี้ ห้ ชดั เจนยิง่ ขนึ้ จงึ ไดห้ ยิบขึน้ มารจนาขยายความ ได้เปน๐ คัมภีร์ใหม่เรยี กชอ่ื วา่ วสิ ุทธิมรรค แปลวา่ แนวทางแห่งความบรสิ ุทธิ์ หรือแนวทางแห่งพระนิพพานดังได้กลา่ วข้างต้น อนงึ่ ในคัมภีรน์ ้ี ทา่ นเรม่ิ แจกแจงปญ๎ ญาในพระพุทธพจนน์ ที้ ันที โดยแบ่ง ป๎ญญาออกเป๐น ๓ ประเภท ไดแ้ ก่ ปญ๎ ญาขอ้ แรก [สปํฺโญ] หมายถงึ สชาติกปญ๎ ญา ป๎ญญาข้อสอง [นปิ โก] หมายถึง ปารหิ าริกปญ๎ ญา ป๎ญญาข้อสาม [ปํญฺ ํจฺ ภาวยํ] หมายถงึ วปิ ๎สสนาปญ๎ ญา ประเดน็ ปญ๎ หาคือ ปญ๎ ญา ๓ ประเภทนี้ คืออะไร ทาํ หน้าท่ีแตกตา่ งกนั อย่างไรในเชิงปฏบิ ัติ ตรงนเี้ ปน๐ โจทย์ทเี่ ราต้องกาํ หนดใหช้ ดั เจน อยา่ เพงิ่ นําไปปะปนกับ หวั ขอ้ ธรรมอนื่ ๆ เพราะจะทําให้เกิดความสบั สน สชาติกปัญญา หมายถงึ ป๎ญญาทเ่ี ราเคยสะสมมาแลว้ ในอดตี ชาติ ป๎ญญา ประเภทนจ้ี ึงมีมาพรอ้ มกบั ปฏิสนธิ หมายถึง จิตท่ีทาํ หนา้ ที่ปฏิสนธิ ได้มปี ญ๎ ญาตวั น้เี ข้าไป ประกอบแลว้ เราจึงเรยี กจิตนว้ี ่า จิตที่ประกอบด้วยป๎ญญา [ญาณสมั ปยุต] ป๎ญญาประเภทนี้กค็ อื “บารมี” ที่เราแต่ละคนแต่ละทา่ นได้สั่งสมมาใน อดตี ชาติ เหมือนอยา่ งที่องค์สมเด็จพระสมั มาสัมพุทธเจ้า ตลอดเหล่าอริยสาวกทั้งหลาย ทา่ นเคยบําเพ็ญมาแลว้ ในอดีตชาติ มาเกิดใหม่ในชาตนิ ี้ กไ็ ม่จาํ เปน๐ ตอ้ งอบรมปญ๎ ญา ประเภทน้อี กี เพราะมีบริบูรณแ์ ล้ว ป๎ญญาประเภทนเ้ี มื่อถงึ เวลาที่เหมาะสม กจ็ ะทํา หนา้ ท่กี ระตุ้นเตือน หรือนาํ พาจติ ของผูน้ นั้ ไปสู่การปฏิบตั ิเพอ่ื ความหลุดพน้ ปารหิ าริกปญั ญา แปลตามศัพท์ว่า ป๎ญญาเป๐นเครื่องบริหาร ผู้เขียนแปลไว้ เบ้อื งต้นวา่ ป๎ญญาเคร่ืองรักษาตน ปญ๎ ญาประเภทน้ีก็ได้แก่ตัวสติ ซ่ึงทําหน้าที่รู้สึกตัวอยู่ ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป๐นขณะทํา พูด คิด ปราศจากสติเสียแล้ว ย่อมไม่อาจรักษาตนได้

๔๓๑ ป๎ญญาตัวน้ีจึงเป๐นหัวใจสําคัญของผู้ปฏิบัติ และเป๐นหัวใจของคําสอนของ พระพทุ ธศาสนาทัง้ หมด พระพทุ ธพจน์ที่เปน๐ ป๎จฉมิ วาจาทตี่ รัสเตือนให้พระสงฆ์สาวกอยูด่ ้วยความไม่ ประมาทก็คอื ทรงสอนให้อยู่อยา่ งมีสติ ให้สตติ ามรักษา ตามค้มุ ครอง ซึ่งถ้าจะโยงมาหา พระพทุ ธพจน์ท่ียกมาอา้ งในพระคาถาน้กี ไ็ ด้แก่ปาริหาริกป๎ญญานเี่ อง วิปัสสนาปัญญา หมายถงึ ป๎ญญาทท่ี ําหนา้ ท่กี าํ หนดรู้รูป-นามตามความเปน๐ จริง ป๎ญญาประเภทนตี้ ้องอาศัยการอบรม บาลีทา่ นจึงใชค้ ําว่า ปํฺญํฺจ ภาวยํ [อบรม ป๎ญญาอยู่] คือต้องอบรมจงึ จะเกดิ ไมใ่ ชม่ ีมาก่อนเหมอื นสชาตกิ ป๎ญญา อนง่ึ ในบาลพี ระพทุ ธพจน์ท่ีพระพทุ ธโฆสาจารยย์ กขึ้นมาขยายความเปน๐ คัมภีร์วิสุทธมิ รรค เมอ่ื สรุปแลว้ ก็จะไดค้ ุณสมบัติทีเ่ ปน๐ ฐานสําคญั สําหรบั การปฏิบตั ิเพอ่ื นาํ ไปส่คู วามหลุดพ้น ๖ ประการ คอื ๑. ต้องมีศลี [สีเล ปตฏิ ฺฐาย] ๒. ต้องมีความเพยี ร [อาตาป]ี ๓. มองเห็นภยั ในวัฏฏะ [ภิกฺข]ุ ๔. มีอุปนิสัยที่เคยอบรมมาในชาติปางกอ่ นช่วยส่งเสรมิ [สปํโฺ ญ] ๕. มปี ๎ญญาเครือ่ งรกั ษาตนในปจ๎ จบุ นั [นิปโก] ๖. มปี ญ๎ ญาเคร่ืองกําหนดรรู้ ูปนามตามความเป๐นจริง [จิตตฺ ํ ปํญฺ ํฺจ ภาวยํ] ผูม้ เี ครื่องมอื ๖ ประการน้ี ผู้นั้นเข้าขา่ ยเปน๐ ผ้มู คี ุณสมบัติเหมาะสมทําหนา้ ที่ ถางชัฏคือกิเลสได้ ใครมี แต่ไมค่ รบ กต็ ้องส่ังสมกันต่อไป สรปุ ได้วา่ ทางแหง่ วิสทุ ธิมรรคตามนัยแหง่ พระบาลที ีย่ กขึ้นมาเป๐นแนวทางใน การรจนาคัมภีร์กค็ ือ ศีล สมาธิ และปญ๎ ญา ศลี เป๐นเบอื้ งตน้ แห่งพรหมจรรย์ เป๐นเบ้อื งต้นแหง่ ศาสนา เป๐นความงาม เบ้อื งต้น เพราะนํามาซึง่ ความไมเ่ ดอื ดร้อน, สมาธิ เป๐นทา่ มกลางแหง่ พรหมจรรย์ เป๐น ทา่ มกลางแหง่ ศาสนา เปน๐ ความงามในท่ามกลาง เพราะนาํ มาซ่ึงคณุ มีการแสดงฤทธ์ิเป๐น ต้น, ป๎ญญาเปน๐ ท่ีสดุ แหง่ พรหมจรรย์ เปน๐ ท่ีสดุ แหง่ พระศาสนา เปน๐ ความงามในท่ีสดุ เพราะนํามาซึ่งความเป๐นผูค้ งทใ่ี นอิฏฐารมณแ์ ละอนิฏฐารมณ์ โครงสรา้ งคัมภีร์วสิ ุทธมิ รรค

๔๓๒ พระพุทธโฆสาจารย์ได้แต่งคัมภีร์วิสุทธิมรรค โดยใช้แนวทางของไตรสิกขา อันได้แก่ ศีล สมาธิ และป๎ญญา มาเป๐นหลักในการแจกแจงแนวทางสําหรับการปฏิบัติ เพ่อื พระนพิ พาน แบง่ เปน๐ ๒๓ ปรจิ เฉจ จดั กลุ่ม ดงั นี้ ๑.๔.๑ หมวดศีล ประกอบดว้ ย ๒ ปรจิ เฉท ไดแ้ ก่ ปรจิ เฉทที่ ๑ ศลี นเิ ทศ, ปรจิ เฉทที่ ๒ ธตุ ังคนเิ ทศ ๑.๔.๒ หมวดสมาธิ ประกอบดว้ ย ๑๑ ปรจิ เฉท ได้แก่ ปริจเฉทที่ ๓ กมั มัฏฐานคหณนิเทศ, ปริจเฉทท่ี ๔ ปฐวีกสณิ นิเทศ, ปริจเฉทที่ ๕ เสสกสณิ นิเทศ, ปริจเฉทท่ี ๖ อสุภกมั มฏั ฐานนิเทศ, ปรจิ เฉทท่ี ๗ ฉอนุสสตินิเทศ, ปริจเฉทท่ี ๘ อนุสสตกิ ัมมฏั ฐานนิเทศ, ปรจิ เฉทที่ ๙ พรหมวหิ ารนิเทศ, ปรจิ เฉทท่ี ๑๐ อารปุ ปนิเทศ, ปริจเฉทที่ ๑๑ สมาธนิ เิ ทศ, ปริจเฉทท่ี ๑๒ อทิ ธิวิธนเิ ทศ, และ ปรจิ เฉทท่ี ๑๓ อภญิ ญานเิ ทศ ๑.๔.๓ หมวดปญั ญา ประกอบด้วย ๑๐ ปรจิ เฉท ไดแ้ ก่ ปริจเฉทท่ี ๑๔ ขนั ธนเิ ทศ, ปริจเฉทท่ี ๑๕ อายตนธาตุนิเทศ, ปริจเฉทท่ี ๑๖ อนิ ทรียสัจจนเิ ทศ ,ปริจเฉทท่ี ๑๗ ปญ๎ ญาภูมินิเทศ, ปริจเฉทที่ ๑๘ ทิฏฐิวสิ ุทธนิ เิ ทศ, ปริจเฉทท่ี ๑๙ กังขาวิตรณวิสุทธินิเทศ, ปรจิ เฉทท่ี ๒๐ มัคคมัคคญาณทสั สนวิสทุ ธนิ ิเทศ, ปริจเฉทที่ ๒๑ ปฏปิ ทาญาณทัสสนวสิ ุทธินเิ ทศ, ปรจิ เฉทที่ ๒๒ ญาณทัสสนวิสุทธนิ เิ ทศ, และ ปรจิ เฉทท่ี ๒๓ ปญ๎ ญาภาวนานสิ ังสนิเทศ วิธกี ารอธิบายความในวิสุทธิมรรค

๔๓๓ พระพุทธโฆสาจารย์ได้แต่งวิสุทธิมรรคโดยใช้แนวทางแห่งศีล สมาธิ และ ป๎ญญาเป๐นหลักในการแจกแจง โดยประมวลหลักธรรมที่เก่ียวข้องที่มีอยู่ในคัมภีร์ พระไตรปิฎกทัง้ หมดมาวางเป๐นแนวทางสาํ หรบั การปฏบิ ัตเิ ปน๐ ลําดบั การนําเสนอ แม้จะเรยี งลําดับศีล สมาธิ และปญ๎ ญา แต่ในทางปฏิบัติ ผู้สนใจ แนวทางการปฏบิ ัติ ไมว่ ่าจะเปน๐ สมถะ หรือวปิ ส๎ สนากัมมฏั ฐาน กส็ ามารถเลือกแนวทางท่ี เหมาะสมสําหรับตนมาพิจารณา หรือตรวจสอบการปฏิบัติ และผลของการปฏิบัติได้ อยา่ งอิสระ ในการอธิบาย พระพุทธโฆสาจารย์ ใช้วิธีการอธิบายด้วยการต้ังเป๐นกระทู้ ถาม-ตอบ เพื่อหาคํานิยาม และอธิบายรายละเอียดของข้อธรรมให้ชัดเจน และเข้าใจ ตรงกนั จากนั้นก็จําแนกประเภทของข้อธรรมน้ัน ๆ เช่น ในการอธิบายเรื่องศีล ท่านก็ จะตอ้ งกระทู้ และถามถามตอบเรยี งลาํ ดบั ต้ังแต่ ความหมาย ลักษณะ รส อาการปรากฏ ปทัฏฐาน ประเภท อานิสงส์ สิ่งสนบั สนุบและขัดขวาง ตวั อย่างการอธบิ ายในหมวดศีล ก] ความหมายของศลี นยิ ามท่ี ๑ “เจตนาเป๐นต้นของบุคคลผงู้ ดเว้นจากปาณาติบาตเป๐นต้นอยู่ก็ดี ของบคุ คลผบู้ ําเพญ็ วัตรปฏิบตั อิ ย่กู ็ดี ช่อื ว่า ศีล”๓๓๓ จากบทนิยามนี้จะเห็นว่า พระพุทธโฆสาจารย์ได้ให้ความหมายของศีล ๒ ประเภท กล่าวคือ อย่างแรกเพ่งถึง “เจตนางดเว้น” จากการล่วงละเมิดสิกขาบทท่ีทรง บัญญัติไว้อย่างใดอย่างหนึ่ง ได้แก่ ศีล ๕, ศีล ๘, ศีล ๑๐, ศีล ๒๒๗, และศีล ๓๑๑ นอกจากนี้ยังรวมไปถึงเจตนาในกรรมบถ เจตนาในสังวร ๕ ประการด้วย, อย่างหลัง เปน๐ “เจตนาท่ีจะบาเพ็ญ” วัตรปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง ในวิสุทธิมรรคท่านหมายเอา ธุดงค์ ๑๓ ข้อ ด้วยบทนิยามหลังนี้เอง ทําให้ธุดงค์ ๑๓ ข้อ ถูกจัดอยู่ในกลุ่มของศีลตาม ไปดว้ ย การนิยามความหมายศีลตามนัยน้ี สอดคล้องกับหลักโอวาทปาติโมกข์ ๒ แรก ได้แก่ ไม่ทําความช่ัวทั้งปวง สอดคล้องกับ “เจตนางดเว้น”, ทําแต่ความดี สอดคล้องกับ “เจตนาท่ีจะเพญ็ ” ๓๓๓ พระพทุ ธโฆสาจารย,์ วสิ ทุ ธิมรรค, สมเดจ็ พระพฒุ าจารย์ [อาจ อาสภมหาเถร] แปล. หน้า ๙.

๔๓๔ นิยามที่ ๒ “การไม่ล่วงละเมิด ช่ือว่า ศีล”๓๓๔ ท่านขยายความต่อไปอีกว่า หมายถึงการไมล่ ว่ งละเมิดทั้งทางกาย วาจา ของบุคคลผู้สมาทานศีลแล้ว ข] ลกั ษณะ, รส, อาการปรากฏ, และปทัฏฐานของศีล ความปกติ คือลักษณะของศีลการกําจัดเสียซ่ึงโทษ เป๐นรสของศีล, ความ สะอาด เปน๐ อาการปรากฏของศีล, หริ แิ ละโอตตัปปะ เปน๐ ปทัฏฐานของศีล๓๓๕ ค] ประเภทของศีล ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคได้จัดศีลไว้หลายประเภท โดยแบ่งตามจํานวนข้อ เช่น ศลี ๑, ศลี ๒, ศีล ๓, ศลี ๔, ศีล ๕ เปน๐ ต้น ศลี ๑ ไดแ้ กค่ วามปกติ ศีล ๒ เชน่ [๑] จารติ ศีล ได้แกศ่ ีลท่ีเป๐นข้ออนุญาต และวาริตศีล ได้แก่ศีลที่ เป๐นข้อห้าม, [๒] อาภิสมาจาริกศีล ได้แก่ศีลที่เป๐นมรรยาทสงฆ์ท่ัวไป และอาทิพรหม จารกิ ศลี ได้แก่ศีลที่เป๐นเบ้ืองต้นของพรหมจรรย์, [๓] โลกิยศีล ได้แก่ศีลท่ีประกอบด้วย อาสวะ และโลกุตตรศลี ไดแ้ กศ่ ีลท่ีไม่ประกอบดว้ ยอาสวะ เป๐นตน้ ศีล ๓ เช่น [๑] หีนศีล ได้แก่ศีลที่บุคคลสมาทานด้วยความเป๐นผู้ใคร่ยศ- มัชฌิมศีล ได้แก่ศีลท่ีบุคคลสมาทานเพราะเป๐นผู้ใคร่บุญ -ปณีตศีล ได้แก่ศีลท่ีบุคคล สมาทานเพราะอาศยั อาริยภาวะวา่ ศีลนี้เป๐นส่ิงทค่ี วรทาํ , [๒] อตั ตาธิปไตยศีล ได้แก่ศีลท่ี ประพฤติเพราะปรารภตนเอง -โลกาธิปไตยศีล ได้แก่ศีลที่ประพฤติเพราะต้องการ หลีกเล่ียงการตําหนิจากชาวโลก -ธัมมาธิปไตยศีล ได้แก่ศีลที่ประพฤติเพราะความ ตอ้ งการบูชาธรรม, [๓] ปรามัฏฐศีล ไดแ้ ก่ศลี ที่ปรารภสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งประพฤติ- อปรามัฏฐศีล ได้แก่ศีลที่ไม่ได้อาศัยตัณหาปรารภสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง - และปฏิป๎สสัทธิศีล ได้แก่ศีลที่ประกอบด้วยมรรคญาณ และผลญาณของพระเสขบุคคล และอเสขบคุ คลทง้ั หลาย เป๐นต้น ศีล ๔ เช่น ภิกขุศีล ได้แก่ [๑] ศีลของพระภิกษุ ภิกขุณีศีล ได้แก่ศีลของ ภิกษุณี - อนุปสัมป๎นนศีล ได้แก่ศีลของสามเณร -คหัฏฐศีล ได้แก่ศีลของคฤหัสถ์, [๒] ปกติศีล ได้แก่เบญจศีล-อาจารศีล ได้แก่ศีลท่ีเป๐นขอบเขตของประเพณีของตน ๆ -ธัมม ตาศลี ไดแ้ ก่ ศีลท่เี ปน๐ ปกตธิ รรมดาของบคุ คลนัน้ ๆ เช่น ศลี ของมารดาพระโพธิสัตว์ เป๐น ต้น -ปุพพเหตุกศีล ได้แก่ศีลในชาติน้ัน ๆ ของจําพวกสัตว์ผู้บริสุทธ์ิ, ปาติโมกขสังวรศีล ได้แก่ศีลการสํารวมในพระปาติโมกข์ของภิกษุผู้มองเห็นภัยในโทษแม้มีประมาณน้อย - ๓๓๔ พระพุทธโฆสาจารย,์ วสิ ุทธมิ รรค, หนา้ ๑๑. ๓๓๕ พระพุทธโฆสาจารย์, วสิ ุทธิมรรค, หน้า ๑๒.

๔๓๕ อินทรียสังวรศีล ได้แก่ศีลคือการสํารวมระวังตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ- อาชีวปาริสุทธิศีล ได้แก่ศีลคือการเลี้ยงชีวิตในทางท่ีชอบ ที่ควร-ป๎จจยสันนิสสิตศีล ได้แก่ศีลคือการ พจิ ารณาโดยอุบายอนั แยบคายแล้วใชส้ อยป๎จจัย ๔ เปน๐ ตน้ ง] อานสิ งส์ของศลี อานิสงส์ของศีลมีแสดงไว้ในคัมภีร์พระไตรปิฎกหลายแห่ง พระพุทธโฆสา จารยไ์ ดป้ ระมวลไว้ หลายประการ เปน๐ ตน้ วา่ ๑] เปน๐ เหตุใหไ้ มเ่ ดอื ดรอ้ น ๒] เปน๐ เหตุให้ประสบกองแหง่ โภคทรพั ย์ ๓] เกยี รตศิ พั ท์อันงามของผมู้ ศี ลี ย่อมฟูุงขจรไป ๔] เข้าสสู่ งั คมใด ๆ กไ็ มเ่ ก้อเขิน ๕] ไมห่ ลงทํากาละกิรยิ า ๖] ย่อมเขา้ ถึงสุคติโลกสวรรค์ ๗] เป๐นทรี่ ักเป๐นท่เี จริญใจเปน๐ เบื้องต้น มคี วามสน้ิ ไปแห่งอาสวะเปน๐ ทส่ี ดุ แมพ้ ระผู้มพี ระภาคกต็ รัสไวว้ า่ “ภกิ ษทุ งั้ หลาย ถา้ ภกิ ษุมงุ่ หวังอยูว่ า่ ขอให้เรา พึงเป๐นที่รักเป๐นท่ีเจริญใจ เป๐นที่เคารพ และเป๐นที่สรรเสริญของบรรดาภิกษุเพ่ือน พรหมจารีทง้ั หลาย เธอพงึ ทาํ ให้บรบิ ูรณใ์ นศีลทั้งหลายเถิด”๓๓๖ จ] สงิ่ สนบั สนุนและขดั ขวางศีล สิ่งสนับสนุนศีล ได้แก่ ไม่ปรารถนาลาภ ไม่ปรารถนายศ ไม่เก่ียวข้องด้วย เมถนุ สังโยค ความไมป่ ระมาท ,ความไมป่ ระกอบดว้ ยบาปธรรมทั้งหลาย เช่น ความโกรธ ความผูกโกรธ ความลบหลู่ ความริษยา ความตระหนี่ ความมีมารยา ความโอ้อวด เป๐น ต้น ส่ิงที่ขัดขวางศีล ได้แก่ ลาภ ยศ เมถุนสังโยค ๗ การมองไม่เห็นโทษของศีล วิบตั แิ มเ้ ล็กนอ้ ย ธุตังคนิเทศ ธุดงคถ์ อื เปน๐ เครอื่ งมือทจี่ ะช่วยขัดเกลา หรือส่งเสริมใหศ้ ลี นน้ั มคี วามผ่องแผ้ว ช่วยส่งเสริมให้ภิกษุมีความเป๐นผู้มักน้อย สันโดษ มีความขัดเกลากิเลส โน้มไปในความ สงัด ไม่ส่ังสมกิเลส การปรารภความเพียร และความเป๐นผู้เล้ียงง่ายเป๐นต้น ซึ่งถือเป๐น ปจ๎ จยั สําคญั ท่เี กื้อกูลต่อการชาํ ระตนใหบ้ รสิ ุทธิ์ ถงึ ทางแห่งวิสทุ ธิ ๓๓๖ พระพทุ ธโฆสาจารย์, วิสทุ ธิมรรค, หนา้ ๑๔.

๔๓๖ ก] ประเภทของธุดงค์ ธุดงคท์ ีพ่ ระพุทธเจา้ บญั ญตั ิไว้มี ๑๓ ประการ ได้แก่๓๓๗ ๑. ปังสุกูลกิ ังคะ ถอื ผา้ บงั สุกุลเป๐นวัตรใช้เฉพาะแต่ผ้าบังสุกุล คือไม่รับจีวร จากทายก เที่ยวแสวงหาผ้าบังสุกุล [ท่ีระบุไว้ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคมีจํานวน ๒๓ ชนิด มี ผา้ ที่ตกอยู่ในปุาช้า, ผา้ ตกอยู่ในตลาด, ผ้าท่ีเขาท้ิงไว้ข้างถนน, ผ้าที่ท้ิงไว้ ณ กองขยะมูล ฝอย, ผ้าเชด็ ครรภ,์ ผ้าท่ตี กอยู่ในทาง เปน๐ ตน้ ] มาเยบ็ ย้อมทาํ จีวรเอง ผ้าท่ีจะนับได้ว่าเป๐นผ้าบังสุกุล ต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามต่อไปน้ี [๑] ผ้าท่ีมี คนถวาย [๒] ผ้าทภ่ี ิกษุไปขอไดม้ า [๓] ผา้ ทเี่ กดิ ขึ้นประจําเสนาสนะ หรือผ้าท่ีรับเอาด้วย ส่วนแหง่ พรรษา อานิสงส์ของการถือผ้าบังสุกุลเป๐นวัตร [๑] ดํารงตนอยู่ในอริยวงศ์ [๒] ไม่ เป๐นทุกข์ในการรักษา [๓] ไม่หวาดกลัวเพราะโจรภัย [๔] ไม่เป๐นการบริโภคด้วยตัณหา [๕] มีมพี ฤติการณ์เปน๐ ทเี่ กาะอาศัยของผอู้ ื่น [๖] มบี รขิ ารเหมาะแก่สมณสารูป ๒. เตจวี รกิ งั คะ ถอื ไตรจวี รเป๐นวัตร คือ ถือผ้าเพียงสามผืนได้แก่ จีวร สบง สังฆาฏิ อย่างละผืนเทา่ น้นั ไม่ใชจ้ วี รนอกจากผา้ สามผืนน้นั การขาดธุดงคข์ อ้ นีถ้ ือเอาผา้ ผนื ที่ ๔ เปน๐ ประมาณ กรณีจําเป๐นต้องซัก หรือต้องย้อม ให้ถือปฏิบัติโดยซักหรือย้อมผ้าสบง หรือ จวี รกอ่ น เมอื่ ซักหรือยอ้ มเสร็จแล้ว ให้นุ่งห่มดว้ ยผา้ ผืนน้นั แล้วก็ยอ้ มหรอื ซกั ผืนตอ่ ไป ไม่ ควรใชผ้ า้ สงั ฆาฏินุ่ง ถา้ อยูใ่ นเสนาสนะปาุ จะซกั พรอ้ มกัน ๒ ผนื ก็ได้ แตต่ อ้ งอยู่ใกล้ ๆ ผ้า เผ่อื มีใครมาเหน็ จะไดด้ ึงผ้ามาปกปิดทันท่วงที อนงึ่ ผา้ ผืนท่ี ๔ นั้น ถา้ เปน๐ องั สะ ถอื ว่าธดุ งค์ยงั ใช้ไดอ้ ยู่ ไม่ขาด ๓. ปิณฑปาติกังคะ ถือเท่ียวบิณฑบาตเป๐นวัตร คือ ไม่รับนิมนต์ หรือลาภ พิเศษอย่างอ่ืนใด เช่น สลากภัต อุทเทสภัต ป๎กขิกภัต อาคันตุกภัต คลานภัต วารกภัต คมกิ ภัต วิหารภัต เป๐นต้น ฉันเฉพาะอาหารท่บี ณิ ฑบาตมาได้ หลกั การของปิณฑปาติกังคะธุดงค์ คือ ปฏิเสธลาภอันฟุมเฟือย ยินดีเฉพาะ อาหารทไ่ี ด้มาจากการเที่ยวบิณฑบาต สอดคล้องกับพระพุทธพจน์ท่ีว่า “การบวชอาศัย โภชนะคอื คําข้าวอันจะพงึ ไดด้ ้วยกําลงั ปลีแขง้ ” ๔. สปทานจาริกังคะ ถือเท่ียวบิณฑบาตไปตามลําดับบ้านเป๐นวัตร คือ รับ ตามลําดับบ้านตามแถวเดียวกัน ไม่รับข้ามบ้านข้ามแถว หรือเท่ียวบิณฑบาตไปตาม ๓๓๗ พระพุทธโฆสาจารย,์ วิสุทธิมรรค, หนา้ ๘๓-๘๔.

๔๓๗ ตรอก ตามห้องแถวเรียวลําดับเรื่อยไปเป๐นแนวเดียวกัน ไม่ข้ามไปเลือกรับท่ีโน้นท่ีนี่ ตามใจชอบ ๕. เอกาสนกิ ังคะ ถอื นงั่ ฉันที่อาสนะเดียวเป๐นวัตร คือ ฉันวันละมื้อเดียว ลุก จากท่แี ลว้ ไมฉ่ นั อีกในวนั นนั้ การถือปฏิบัตอิ ยา่ งอุกกฤษฏ์ ได้แกก่ ารกําหนดว่า โภชนะจะ มากหรือน้อยก็ตาม เมื่อหย่อนมือลงในโภชนะน้ันแล้ว จะไม่ยอมรับโภชนะอื่นอีก ขั้น กลางคืออาหารยังไม่หมดบาตร ก็รับอาหารอื่นได้ อย่างตํ่าคือ ยังไม่ลุกเพียงใด ก็ฉันได้ เร่ือย ๆ จนกวา่ จะลา้ งมือหรอื บาตร ๖. ปัตตปิณฑิกังคะ ถือฉันเฉพาะในบาตรเป๐นวัตร คือ ถือการฉันเฉพาะใน บาตรไมใ่ ชภ้ าชนะอน่ื ๗. ขลปุ ัจฉาภัตติกังคะ ถือห้ามภตั ทเ่ี ขานํามาถวายภายหลงั คอื เม่ือลงมือฉัน แลว้ มีผนู้ าํ อาหารมาถวายอีก กไ็ ม่รบั ๘. อารัญญิกังคะ ถืออยู่ปุาเป๐นวัตร คือ ไม่อยู่ในเสนาสนะในบ้านหรือใกล้ บ้าน อาศัยอยู่เฉพาะในป่าห่างจากบ้าน ระยะห่างนี้ ท่านกาหนด ๕๐๐ ช่ัวธนูเป็น เกณฑ์ ๙. รกุ ขมูลกิ งั คะ ถอื อยโู่ คนไมเ้ ปน๐ วตั ร ไม่อยใู่ นที่มุงบงั ๑๐.อัพโภกาสิกังคะ ถืออยู่ในที่แจ้งเป๐นวัตร คือ อยู่เฉพาะกลางแจ้ง ไม่อยู่ ในทมี่ งุ บัง หรือแม้แต่โคนไม้ [ห้ามถอื ในฤดฝู น] ๑๑.โสสานิกังคะ ถืออยูป่ าุ ชา้ เป๐นวัตร คือ อยแู่ รมคนื ในปาุ ช้าเปน๐ ประจาํ ๑๒.ยถาสันถติกังคะ ถือการอยู่ในเสนาสนะตามแต่เขาจัดให้ ไม่เลือก เสนาสนะเอาตามพอใจตัวเอง ๑๓.เนสชั ชกิ งั คะ ถือการนงั่ เป๐นวตั ร คอื ถอื นัง่ ยนื เดนิ เท่าน้ันไมน่ อน อน่งึ ธุดงคท์ ้ัง ๑๓ ประการน้ี สรปุ ลงได้ ๒ ประการ ได้แก่ [๑] ธุดงค์ที่อาศัย ป๎จจัย ได้แก่ธุดงค์ ๑๒ ประการ มี ป๎งสุกูลิกังคะ, เตจีวริกังคะ, ปิณฑปาติกังคะ เป๐น ตน้ ๓๓๘ [๒] ธดุ งคท์ อ่ี าศัยความเพียร ไดแ้ ก่ เนสัชชิกังคะ ข] จดุ มุ่งหมายของธุดงค์ ๓๓๘ แบ่งเป๐นธุดงค์ท่ีประกอบด้วยจีวร ๒, ประกอบด้วยบิณฑบาต ๕, และประกอบด้วย เสนาสนะ ๕ รวมเปน๐ ธุดงค์ท่อี าศัยป๎จจยั ๑๒ ประการ ดู วสิ ุทธมิ รรคแปล, หน้า ๑๓๐.

๔๓๘ คาํ วา่ ธตุ มีความหมายว่า ธรรมเป๐นเครื่องกําจัดกิเลส๓๓๙ สนธิกับคําว่า องค์ รวมกันจึงมีความหมายว่า องค์แห่งธรรมเป๐นเครื่องกําจัดกิเลส หมายความว่า ธุดงค์ทั้ง ๑๓ ประเภท เปน๐ องคธ์ รรมสาํ หรบั ฝึกตนของภิกษุผมู้ ุ่งกาํ จัดกิเลส พระพุทธโฆสาจารยไ์ ด้อ้างขอ้ ความในคมั ภรี ป์ ริวาร แห่งพระวินัย และคัมภีร์ อังคุตตรนิกาย ป๎ญจกนิบาต สุตตันตปิฎก แสดงจุดมุ่งหมายของธุดงค์ไว้ ๕ ประการ ได้แก่ ๑. เพือ่ ความมกั น้อย ๒. เพ่อื ความสนั โดษ ๓. เพอื่ ความขดั เกลา ๔. เพือ่ ความสงัด ๕. เพือ่ ความตอ้ งการด้วยกศุ ล สองประการแรก ได้แก่ ความมักน้อย และความสันโดษ เป๐นการสนับสนุน หลักธรรมข้อ อโลภะ สามประการหลัง ได้แก่ ความขัดเกลา ความสงัด และความ ต้องการด้วยกศุ ล เปน๐ การสนบั สนนุ ขอ้ ธรรม อโลภะ และอโมหะ อนึ่ง ธุดงค์เป๐นข้อวัตรปฏิบัติท่ีลําบาก และเป๐นการอยู่อย่างขัดเกลา ราคะ ย่อมสงบลงเพราะอาศัยการปฏิบัติที่ลําบาก ผู้ไม่ประมาทย่อมละโมหะได้เพราะอาศัย ความขดั เกลากิเลส นอกจากนีก้ ารถือปฏบิ ตั ิในอารัญญิกังคะธุดงค์กับรุกขมูลิกังคะธุดงค์ ส่งเสริมการปฏิบัติสําหรับผู้มีโทสจริตด้วย เพราะว่า เม่ือโยคีบุคคลอยู่อย่างไม่ถูก กระทบกระทง่ั ในปุา หรือโคนต้นไม้ แม้โทสะก็ย่อมสงบลงเปน๐ ธรรมดา อนึ่ง แม้ในหมวดสมาธิ และหมวดป๎ญญา ท่านก็วธิ ีการอธิบายแบบเดียวกนั กล่าวโดยสรุป พระพุทธโฆสาจารย์ แจกแจงวิสุทธิมรรคโดยอาศัยหลัก ไตรสิกขา คอื ศลี สมาธิ และปญ๎ ญา เป๐นพื้นฐานในการอธิบายบาลีพระพทุ ธพจนท์ ีว่ า่ นรชนผูม้ ีปญ๎ ญา เหน็ ภัยในสงั สารวฏั ดํารงอยูใ่ นศลี แลว้ เจรญิ จิตและปญ๎ ญา มคี วามเพียร มปี ญ๎ ญาเครอ่ื งบริหารนน้ั พงึ แกค้ วามยงุ่ นี้ได้ โดยประมวลหลักธรรมต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องจํานวนท้ังสิ้น ๒๓ ปริจเฉท มา ขยายความเพื่อสนบั สนนุ แนวทางปฏิบัติเพือ่ การบรรลถุ ึงพระนิพพาน เร่ิมตั้งแต่สีลนิเทศ ธุตังคนเิ ทศ ซ่ึงถกู ผนวกเขา้ กบั ไตรสิกขาเบอื้ งตน้ ในสว่ นของสมาธิก็ประมวลอารมณ์ของ สมถกรรมฐานทัง้ ๔๐ ประเภทมาแสดง พรอ้ มทั้งผนวกส่วนที่ว่าด้วยการแสดงฤทธ์ิ และ ๓๓๙ พระพุทธโฆสาจารย์, วิสุทธิมรรค, หนา้ ๑๒๗.

๔๓๙ ความร้ขู ้นั อภิญญาเข้ากับจิตตสิกขา ส่วนป๎ญญาสิกขา ก็ประมวลส่วนที่เป๐นอารมณ์ของ วิป๎สสนาท้ังหมด พร้อมท้ังส่วนของวิสุทธิ ๗ ประการ มาขยายความเพ่ือให้เห็นแนว ปฏบิ ัตเิ พ่ือให้เกดิ วิป๎สสนาญาณระดบั ตา่ ง ๆ นบั ไดว้ า่ วิสทุ ธิมรรค ได้แสดงแนวทาง หรอื หนทางเพอื่ นําไปสู่การบรรลุพระ นิพพานได้ครบถ้วน สามารถเป๐นปกรณ์สําหรับทบทวน หรือตรวจสอบการปฏิบัติของ พระโยคีบคุ คลผูม้ งุ่ ทางหลุดพน้ ไดเ้ ปน๐ อย่างดี วสิ ุทธมิ ัคคคัณฐี, คมั ภีร์ คําวา่ คัณฐี ตามรากศพั ท์ มคี วามหมายว่า ข้อ ขอด ปล้อง ปม หัวข้อ ท่ีต่อ หรอื สว่ นทีเ่ ข้าใจยาก เปน๐ ชื่อคัมภรี ท์ ีพ่ ระคันถรจนาจารย์ได้รจนาข้ึนเพื่ออธิบายข้อความ ท่ีเข้าใจยาก วิสุทธิมัคคคัณฐี ก็เป๐นคัมภีร์หนึ่งท่ีแก้บทท่ีมีเน้ือความลี้ลับ เข้าใจยากที่ ปรากฏในคมั ภีรว์ สิ ุทธมิ รรค สอดคลอ้ งกบั การแสดงจุดประสงคข์ องการรจนาคัมภีร์ในบท ปฏิญญาวา่ “เนือ้ ความอนั ลึกซึง้ เหลา่ ใด ในคัมภร์วิสุทธิมรรค ยังไม่แจ่มแจ้งนัก ข้าพเจ้า จะกล่าวขยายความเพมิ่ เติมสักเลก็ น้อย เพอื่ ใหเ้ กิความแจ่มแจ้งแห่งเน้ือความเหล่านั้น” ผ้รู จนาคือพระสารทัสสีเถระ ประวัติของท่านไม่ปรากฏชัด แต่มีชื่อปรากฎ ในเอกสารว่าท่านเป๐นผู้รจนาคัมภีร์คัณฐีพระอภิธรรมทั้งหมด นับต้ังแต่ คุยฺหตฺถทีปนี, ธมฺมสงฺคณีวณฺณนา, วิภงฺควณฺณนา, ธาตุกถาวณฺณนา, ปุคฺคลปํฺญตฺติวณฺณนา, กถาวตฺถุวณฺณนา, ยมกวณฺณนา, ปฏฺฐานวณฺณนา, และวิสุทธิมคฺคคณฺฐีทีปนี๓๔๐ ช่วง ระยะเวลาของการรจนาคัมภีร์ ประมาณ พ.ศ.๑๖๐๐-๑๗๐๐ ซึ่งเป๐นช่วงที่มีการศึกษา และแต่งคมั ภรี ฎ์ ีกากนั มากในลงั กา๓๔๑ ตน้ ฉบับตัวเขียนคัมภีร์วิสุทธิมัคคคัณฐีในประเทศไทย มีฉบับสมบูรณ์เท่าท่ี คน้ พบ ๒ ฉบบั คอื ฉบับหอสมุดแห่งชาติ สร้างในสมัยรัชกาลท่ี ๑ ในคราวทําสังคายนา พระไตรปิฎกและรวบรวมคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา และฉบับเทพชุมนุม หอสมุดสันติ วัน วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม สร้างสมัยรัชกาลที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ หน้าปก ๓๔๐ พระมหาบูรณะ ชาตเมโธ, วิสุทฺธิมัคคคัณฐี: การชาระและการศึกษาวิเคราะห์, [วทิ ยานิพนธด์ ษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๔], หน้า ๒๒. ๓๔๑ พระมหาบรู ณะ ชาตเมโธ, วิสุทฺธิมัคคคัณฐี: การชาระและการศึกษาวิเคราะห์, หน้า ๒๓.

๔๔๐ ระบุว่า หนังสอื หลวง เติมในแผน่ ดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราช อทุ ิศสร้างไว้สําหรับวัดพระเชตุพน๓๔๒ โครงสร้าง เนื้อหา และลกั ษณะคาประพนั ธ์๓๔๓ โครงสร้างการรจนาคัมภีร์บาลีทางพระพุทธศาสนา มักประกอบด้วย ส่วนประกอบ ๓ ส่วน คือ ๑] คนั ถารัมภะ บทปรารภของผู้รจนา ๒] เนื้อความของคัมภีร์ และ ๓] นิคมคาถา คือ บทส่งท้าย วิสุทธิมัคคคัณฐี ก็ประกอบด้วยโครงสร้างตามขนบ การประพันธค์ ัมภรี ์บาลโี ดยท่วั ไปดังกล่าวน้ี บทปรารภของผู้รจนา โดยท่ัวไป อาจปรารภด้วยคําปรารถนาของผู้รจนา, ปรารภดว้ ยเรอื่ งหรอื เนือ้ หาทร่ี จนา, หรือปรารภด้วยการนอบน้อมพระรัตนตรัย อย่างใด อย่างหนึ่งก็ได้ ในคัมภรี ์วิสทุ ธมิ ัคคคัณฐีน้ี พระสารทัสสี ได้ปรารภด้วยการนอบน้อมพระ รัตนตรัยเป๐นเบื้องต้น ซึ่งการปรารภด้วยการนอบน้อมพระรัตนตรัยเช่นนี้ จะต้อง ประกอบด้วยบทปณาม และบทปฏญิ ญา บทปณาม คือการน้อมน้อม มี ๓ ประการ คือ กายปณาม วจีปณาม และ มโนปณาม ในบรรดาปณามท้งั ๓ น้นั วจีปณามมปี ระโยชน์มากกวา่ กายปณาม และมโน ปณาม เพราะก่อใหเ้ กิดประโยขชน์แก่ตนเอง และผูท้ ี่ได้สดับเร่ืองราวการกล่าวสรรเสริญ พระพุทธคุณเป๐นต้นนั้นโดยเฉพาะ ขณะท่ีกายปณาม และมโนปณาม เป๐นเร่ืองเฉพาะ บุคคลนั้นๆ ส่วนบทปฏิญญา เป๐นคํารับรอง หรือการให้เหตุผลยืนยัน โดยถือเอาส่ิงที่ เคารพบูชานั้นเครื่องยืนยันเจตนาในการรจนาคมั ภีร์ ในวสิ ทุ ธิมคั คคัณฐี พระสารทัสสี ได้เร่ิมต้นด้วยบทปณาม ต่อแต่น้ันก็รจนา บทปฏญิ ญาตอ่ ตามลาํ ดับ ดงั นี้ บาลี นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพทุ ธฺ สสฺ สพฺพํฺํุ สพพฺ ทสสฺ าวึ สพฺพสตตฺ หิเตสนิ ,ํ นมสฺสติ ฺวาน สทฺธมมฺ ํ โอรสํจฺ คณุตตฺ มฯํ วสิ ุทฺธิมคเค เย อตถฺ า- นํฺญายนติ ิ วิภาวินา, เตสํ วภิ าวนตฺถาย กํจฺ ิมตถฺ ํ ภณามเหฯ ๓๔๒ พระมหาบรู ณะ ชาตเมโธ, วิสุทฺธิมัคคคัณฐี: การชาระและการศึกษาวิเคราะห์, หน้า ๒๗. ๓๔๓ ดูรายละเอียดใน พระมหาบรู ณะ ชาตเมโธ, วิสุทฺธิมคั คคัณฐี: การชาระและการศึกษา วิเคราะห์, หน้า ๒๘ เป๐นตน้ ไป

๔๔๑ แปล ขอความนอบน้อมจงมแี ดพ่ ระผูม้ พี ระภาคอรหันตสมั มาสัมพทุ ธเจ้าพระองค์ นัน้ ข้าพเจ้า [พระสารทัสสี] ขอนมัสการพระสัพพัญํูพุทธเจ้า ผู้ทรงเห็นธรรม ท้ังปวง ผู้ทรงแสวงหาประโยชน์เกื้อกูลแก่สรรพสัตว์ พระสัทธธรรม และคณะพระอริย สงฆ์ผู้ประเสริฐ ซึ่งเป๐นพุทธบุตร เนื้อความอันลึกซ้ึงเหล่าใด ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ยังไม่ แจ่มแจ้งนัก ข้าพเจ้าจะกล่าวขยายความเพ่ิมเติมสักเล็กน้อย เพื่อความแจ่มแจ้งแห่ง เน้อื ความเหลา่ นน้ั ฯ๓๔๔ จากเนื้อความบาลี จะเห็นว่า คําปฏิญญาของผู้รจนาในคัมภีร์ ครบ องค์ประกอบ ๕ ประการตามขนบการประพันธ์วรรณกรรมบาลี กล่าวคือ ๑] สัญญา หมายถึงช่ือหนังสือ ชื่อคัมภีร์ ๒] นิมิต หมายถึง เหตุที่ต้องรจนา ๓] กัตตา หมายถึง ผู้ รจนา ๔] ปรมิ าณ หมายถงึ จาํ นวนบทประพันธ์ หรือขนาดความส้นั ยาวของบทประพันธ์ และ ๕] ประโยชน์ หมายถงึ ผลทีค่ าดหวังไวว้ า่ จะได้รับจากงานประพันธ์ ในปฐยาวัตร ๑ คาถา น้ี สัญญา ท่านแสดงด้วย วิสุทฺธิมคฺเค, นิมิต ท่าน แสดงดว้ ย เย อตฺถานํ ญายนฺติ วิภาวนา, กัตตา ท่านแสดงด้วย ภณาม ระบุตัวผู้รจนาคือ มยํ แปลวา่ ข้าพเจ้าทัง้ หลาย บทน้ีใชใ้ นความหมายแสดงความเคารพด้วย, ปริมาณ ท่าน แสดงดว้ ยคาํ ว่า กํิ จฺ ิมตฺถํ, และ ประโยชน์ ท่านแสดงด้วยคําวา่ เตสํ วภิ าวนตฺถาย ในส่วนของเนอ้ื หา ในคัมภีร์วิสุทธิมัคคคัณฐีท่านพระสารทัสสี ได้รจนาโดยอนุโลมตามคัมภีร์วิ สทุ ธมิ รรคโดยจัดปรจิ เฉทตามคัมภีร์วิสุทธิมรรค เลือกบทท่ีตนคิดว่า นักศึกษาควรเข้าใจ ขยายความตามทเี่ ห็นเหมาะสมโดยย่อ ในสีลนิทเทส ท่านแสดงเน้ือความว่าด้วยปาริสุทธิศีล อย่างย่อๆ โดยเน้น การรักษาสกิ ขาบทดว้ ยการใช้ชวี ิตเปน๐ เดิมพัน จากนนั้ แสดงเรื่องการสมาทานธุดงค์ไว้โดย ย่อ พอเป๐นแนวทาง ในสมาธินทิ เทส แสดงวธิ ีเจรญิ สมถะด้วยอารมณ์ ๔๐ ประการ เริ่มด้วยปฐวี กสณิ แสดงการทําวงกสิณ การบริกรรม นิมิต การขยายนิมิต อุปจารนิมิต ปฏิภาคนิมิต บรรลปุ ฐมฌาน ทตุ ิยฌาน ตติยฌาน จตุถฌาน กสณิ ทเี่ หลือ จากน้ันแสดงอสุภกัมมัฏฐาน ๓๔๔ พระมหาบูรณะ ชาตเมโธ, วิสุทฺธิมัคคคัณฐี: การชาระและการศึกษาวิเคราะห์, หน้า ๒๐๗.

๔๔๒ เปน๐ ลาํ ดับต่อไป จากนั้นแสดงอนุสสติ ๑๐ มีพุทธานุสสติเป๐นต้นจนจบ จากนั้นแสดงวิธี เจริญพรมวหิ าร วิธเี จริญอัปปมัญญา ฌานท่ีเกิดจากพรมวิหาร ๔ จากนั้นแสดงวิธีเจริญ อรปู กมั มัฏฐาน มอี ากาสานัญจายตนะเป๐นต้น จนถึงเนวสัญญานาสัญญายตนะเป๐นที่สุด จากน้ันแสดงวิธีเจริญอาหาเรปฏิกูลสัญญา วิธีเจริญจตุธาตุววัตถาน จากน้ันแสดงวิธี เจริญกัมมัฏฐานเพ่ือได้อภิญญา โดยยกฤทธ์ิ ๑๐ ประการขึ้นขยายความโดยสังเขป อานุภาพของอภิญญา ผลของอภิญญา และเหตุที่อภิญญาเจตนาไม่สามารถให้ผลใน ปฏสิ นธิกาลได้ ในป๎ญญานทิ เทส ท่านแสดงจําแนกปรมัตถธรรมด้วยอํานาจ ขันธ์ อายตนะ ธาตุ อินทรีย์สัจจะ ปฏิจจสมุปบาท ป๎ฏฐานคืออํานาจของป๎จจัยธรรม ๒๔ มีเหตุป๎จจัย เป๐นอาทิ ท่ีเข้าอุดหนุนอุปการะองค์แห่งปฏิจจสมุปบาทขณะเป๐นเหตุธรรม อํานวยผล ธรรมให้เกิดขึ้นต้ังอยู่และดับไปทั้งโดยตรง คือสุตตันตนัย และโดยอ้อมคืออภิธรรมนัย เพื่อยกระดับป๎ญญาให้สูงข้ึน ทําให้เกิดการปล่อยวางอุปาทานขันธ์ จนพิจารณาเห็นรูป นาม จากนั้นแสดงวิสุทธิ ๗ มีทฏิ ฐิวสิ ทุ ธิเปน๐ ต้น ควบคู่กบั วปิ ๎สสนาญาณมีนามรูป ปริจเฉทญาณเป๐นต้น เป๐นลําดับไป จนถึงญาณทัสสนวิสุทธิกับมรรคญาณ แสดงความ ต่างแห่งป๎จจเวกขณญาณ วิธีเจริญยุคธรรมคือสมถะและวิป๎สสนาเพื่อเข้านิโรธสมาบัติ โดยระบคุ ุณสมบัติของพระอรยิ บคุ คลทจี่ ะเขา้ นิโรธสมาบัติไว้ สุดท้ายแสดงนิคมนกถา ไว้ จํานวน ๔ คาถา นิคมน์คาถาน้ีท่านรจนาเปน๐ คาถาไว้ ๔ คาถา คอื บาลี สทฺธมฺมฏฐฺ ติ กิ าเมน มหาราเชน การิโต, ปํุ ฺญเสฏฺโฐ อยํ คนฺโถ โสธเนหิ จ สิทธฺ โิ ตฯ สทธฺ มฺมฏฺฐิติกาเมน โย ปุตโฺ ต ปุํญฺ สํฺจโย, ตสฺส เตเชน สพฺเพปิ สขุ เมทนฺตุ ปาณิโนฯ นิฏฺฐติ ายํ คนฺโถเยว สทฺธมฺมสุทฺธกิ าเมน, กลยฺ าณนามภกิ ขฺ นุ า อยํ คนโฺ ถ สสุ ิกฺขิโตฯ เตน ปํุ ญฺ านภุ าเวน เมตเฺ ตยยฺ พทุ ฺธสนฺตเิ ก, ปฏิสมฺภทิ าภํิ ฺญาหิ [สมาปตฺตหี ิ จ] ภเวยยฺ ํ อคฺคสาวโกติ ฯ คาแปล คัมภรี อ์ นั ประเสริฐสดุ ด้วยบุญกศุ ลนี้ อันพระมหาราชา ผู้ปรารถนา ความดํารงมั่นแห่งพระสัทธรรม อาราธนาให้รจนาข้ึน โดยการตรวจชําระและทําให้ สําเร็จ กุลบุตรใดมีความปรารถนาความดํารงมั่นแห่งพระสัทธรรม ก็จงพากเพียรส่ังสม

๔๔๓ บุญ[ศึกษา]ดว้ ยเดชแหง่ บุญน้ัน ขอปาณชาตทิ ั้งหลายแม้ท้ังปวง จงเข้าถึงความสุข คัมภีร์ นีอ้ นั ข้าพเจ้าผู้ปรารถนาความบริสุทธ์ิแห่งพระสัทธรรมให้สําเร็จแล้ว คัมภีร์นี้ อันภิกษุผู้ ไดช้ ื่อวา่ เป๐นคนดไี ดศ้ กึ ษาแล้วอย่างดี ด้วยอานุภาพแห่งบุญนัน้ ขอให้ข้าพเจ้าพึงเป๐นพระ อัครสาวก ผู้สมบูรณ์ด้วยปฏิสัมภิทา ๔ อภิญญา ๖ [และสมาบัติทั้งหลาย] ในสํานักของ พระเมตไตรยพุทธเจา้ ๓๔๕ วตุ โตทยั ,คัมภรี ์ คัมภีร์วุตโตทัย๓๔๖ แปลตามศัพท์ว่า บ่อเกิด หรือแหล่งกําเนิดคาถา (วุตฺต- คาถา, อทุ ย บอ่ เกิด หรอื แหลง่ เกิด) ผู้รจนาคอื พระสงั ฆรกั ขิตมหาสามีเถระ ประพันธ์เป๐น บทร้อยกรองล้วน ประกอบด้วย ๑๓๗ คาถา แบ่งเป๐น ๖ ปริจเฉท แต่ละปริจเฉทมี เน้อื หารายละเอยี ด ดงั ต่อไปน้ี ปริจเฉทที่ ๑ สัญญาปริภาสานิเทศ ว่าด้วยการแสดงชื่อและกฏท่ัวไป มี จํานวน ๑๖ คาถา คอื ตง้ั แต่คาถาที่ ๕-๑๖ ปริจเฉทที่ ๒ มัตตาวุตตินิเทศ ว่าด้วยการแสดงมาตราพฤติ มีจํานวน ๒๙ คาถา คอื คาถาท่ี ๑๗-๔๕ ปรจิ เฉทที่ ๓ สมวุตตินิเทศ ว่าด้วยการแสดงสมคาถา มีจํานวน ๖๑ คาถา คอื คาถาท่ี ๔๖-๑๐๖ ปริจเฉทท่ี ๔ อัทธสมวุตตินิเทศ ว่าด้วยการแสดงอัทธสมคาถา มีจํานวน ๑๑ คาถา คอื คาถาที่ ๑๐๗-๑๑๗ ปริจเฉทที่ ๕ วิสมวุตตินิเทศ ว่าด้วยการแสดงวิสมคาถา มีจํานวน ๑๑ คาถา คอื คาถาท่ี ๑๑๘-๑๒๘ ปริจเฉทที่ ๖ ฉัปปจ๎ จยวภิ าค ว่าด้วยการจําแนกนัย ๖ ประการ มีจํานวน ๙ คาถา คือคาถาท่ี ๑๒๙-๑๓๔ อน่ึง ในส่วนคาถาท่ี ๑-๔ เป๐นบทคันถารัมภะ ซ่ึงประกอบไปด้วยบทน้อบ นอ้ มพระรัตนตรยั ๑ คาถา เหตุผลในการประพันธ์ ๑ คาถา ใจความสรุปของคัมภีร์วุต โตทยั ๒ คาถา และคาถาท่ี ๑๓๕-๑๓๗ เปน๐ สว่ นของนคิ มคาถา ๓๔๕ พระมหาบรู ณะ ชาตเมโธ, วิสุทฺธิมัคคคัณฐี: การชาระและการศึกษาวิเคราะห์, หน้า ๔๒๘. ๓๔๖ พระสังฆรักขิตมหาสามีเถระ, คัมภีร์วุตโตทัย ฉบับแปลโดยวัดจากแดง. (สมทุ รปราการ: วัดจากแดง, มปป.), ๖๐ หน้า.

๔๔๔ ในคมั ภีรว์ ตุ โตทัย แสดงคาถาไว้ ๒ ประเภท ได้แก่ ๑. มตฺตา ได้แก่ มาตราพฤติ คือคาถาที่นับมาตราในแต่ละบท มีท้ังหมด ๒๖ คาถา จําแนกเป๐น ๑) อริยาชาติ ๖ คาถา ๒) คีติชาติ ๔ คาถา ๓) เวตาลียชาติ ๙ คาถา และ ๔) มัตตาสมกชาติ ๗ คาถา ในมาตราพฤติ ประกอบด้วยคณะ ๕ ได้แก่ ภ คณะ (๒ ๑ ๑), ช คณะ (๑ ๒ ๑), ส คณะ (๑ ๑ ๒), สัพพครคุ ณะ (๒ ๒), และ สพั พลหคุ ณะ (๑ ๑ ๑ ๑) ๒. วณฺณ ได้แก่ วรรณพฤติ คือคาถาท่ีนับพยางค์ในแต่ละบาท มีท้ังหมด ๘๒ คาถา คือ ๑) สมคาถา ๖๑ คาถา ๒) อัทธสมคาถา ๑๑ คาถา และ ๓) วิสมคาถา ๑๐ คาถา ในวรรณพฤติ ประกอบด้วยคณะ ๘ ได้แก่ ม คณะ (๒ ๒ ๒), น คณะ (๑ ๑ ๑), ภ คณะ (๒ ๑ ๑), ย คณะ (๑ ๒ ๒), ช คณะ(๑ ๒ ๑), ส คณะ (๑ ๑ ๒), ร คณะ (๒ ๑ ๒), และ ต คณะ (๒ ๒ ๑) คาถาทแี่ สดงไว้ในคมั ภรี ว์ ตุ โตทยั มีทัง้ ส้นิ ๑๐๘ ชนดิ ไดแ้ ก่ ๑. อจลธิติ ๒. อปรวตั ตะ ๓. อปรันตกิ า ๔. อปราชิตา ๕. อริยาคตี ิ ๖. อรยิ าสามัญ ๗. อาขยานกี ๘. อาปาฏลกิ า ๙. อนิ ทรวิเชียร ๑๐.อนิ ทรวงศ์ ๑๑.อุคคีติ ๑๒.อชุ ชลา ๑๓.อุทจิ จวตุ ติ ๑๔.อุปคตี ิ ๑๕.อปุ จิตตะ ๑๖.อุปจิตรา ๑๗.อุปชาติ ๑๘.อปุ ฏ๎ ฐติ า

๔๔๕ ๑๙.อเุ ปนทรวเิ ชยี ร ๒๐.อุพภาสกะ ๒๑.โอป๎จฉนั ทสกะ ๒๒.กมลา ๒๓.กุมารลลติ า ๒๔.กุสมุ วิจติ ตา ๒๕.กุสุมิตลตาเวลลติ า ๒๖.เกตุมตี ๒๗.คตี ิ ๒๘.จปลา ๒๙.จปลาวตั ตะ ๓๐.จัมปกมาลา ๓๑.จารุหาสนิ ี ๓๒.จิตรปทา ๓๓.จิตรา ๓๔.ชฆนจปลา ๓๕.ตการวปิ ลุ า ๓๖.ตนุมัชฌา ๓๗.ตามรสะ ๓๘.โตฏกะ ๓๙.ทกั ขิณันตกิ า ๔๐.ทุตมัชฌา ๔๑.ทุตวลิ มั พิตะ ๔๒.โทธกะ ๔๓.นการวปิ ลุ า ๔๔.ป๎จจวุตติ ๔๕.ปณวะ ๔๖.ป๎ฐยาอริยา ๔๗.ป๎ฐยาวตั ๔๘.ปภัททกะ ๔๙.ปมาณิกา

๔๔๖ ๕๐.ปมติ ักขรา ๕๑.ปวัตตกะ ๕๒.ปหรณกลกิ า ๕๓.ปหาสินี ๕๔.ปาทากลุ กะ ๕๕.ปงิ คลวิปุลา ๕๖.ปยิ ังวทา ๕๗.ปฏุ ะ ๕๘.ปปุ ผิตัคคา ๕๙.ภการวิปลุ า ๖๐.ภทั ทกะ ๖๑.ภัททวริ าชะ ๖๒.ภทั ทกิ า ๖๓.ภัชคสสุ ุสฏา ๖๔.ภุชงั คปั ปยาตะ ๖๕.มณคิ ณุ นกิ ระ ๖๖.มัตตา ๖๗.มตั ตาสมกะ ๖๘.มโนรมา ๖๙.มันทักกนั ตา ๗๐.มาณวกะ ๗๑.มาลนิ ี ๗๒.มขุ จปลา ๗๓.เมฆวปิ ผชุ ชติ า ๗๔.ยวมตี ๗๕.รการวปิ ลุ า ๗๖.รโถทธฏา ๗๗.รจุ ริ า ๗๘.รุมมวตี ๗๙.ลลิตา ๘๐.วตั ตะ

๔๔๗ ๘๑.วสนั ตดิลก ๘๒.วังสัฏฐะ ๘๓.วาณนิ ี ๘๔.วาโตมมี ๘๕.วานวาสกิ า ๘๖.วชิ ชมุ มาลา ๘๗.วิปรตี ป๎ฐยาวัต ๘๘.วิปรตี าขยานกี ๘๙.วิปุลาอริยา ๙๐.วิสิโลกะ ๙๑.วุตตะ ๙๒.เวควตี ๙๓.เวตาลยี ะ ๙๔.เวสสเทวี ๙๕.สมานกิ า ๙๖.สสิกลา ๙๗.สัททลู วกิ กีฬิตะ ๙๘.สัทธารา ๙๙.สาลนิ ี ๑๐๐. สวาคตา ๑๐๑. สขิ รณิ ี ๑๐๒. สิริ ๑๐๓. สทุ ะวิราชติ ะ ๑๐๔. สุมุขี ๑๐๕. เสตวปิ ลุ า ๑๐๖. หรณิ ปลตุ า ๑๐๗. หริณี ๑๐๘. หลมขุ ี ตัวอยา่ งฉันท์

๔๔๘ (๑) อจลธิติคาถา คาถาน้ีผูกด้วยลหุ ๑๖ พยางค์ คือมี น คณะ ๔ คณะ แต่ละบาทจึงมีเพียง ๑๖ มาตรา เมื่อรวมทั้ง ๔ บาท ก็เป๐นลหุ ๖๔ พยางค์ หรือ ๖๔ มาตรา ตัวอยา่ ง สิรสรสรุ ุจิตตนธุ ร ติภวุ น- สุวิทิตสวุ ิสทวรยสชนิ วร ขรตรกสิรสต‖มมิตมตขิ ร- ภวชลนิธนิ ปิ ติตชนคณมวฯ แปล ข้าแต่พระชินเจ้าผู้ทรงเกียรติยศหมดจดเลื่องลือในไตรภพ มี พระวรกายงามย่งิ พระสุรเสยี งไพเราะ ขอพระองค์โปรดรักษาปวงชนผู้ตกไปในห้องน้ํา คอื ภพที่นา่ พร่ันพรึง ไม่มีที่เปรียบปาน และมที ุกขน์ ่ากลวั ยิ่ง๓๔๗ (๒) อปรวัตตคาถา คาถาท่ีมี น น ร คณะ ลหุ และครุ (ในวิสมบาท) ส่วน ในสมบาท มี น ช ช ร คณะ เขียนเป๐นแผนผงั ดังนี้ วิสมบาท ย ทิ น น ร ล คา น ชา ช รา ๑๑๑๑๑๑๒๑๒๑๒ น น ร ลค สมบาท ย ทิ จ ต ทา ป ร วตฺ ต มจิ ฺ ฉ ติ ๑๑๑๑๒๑๑๒๑๒๑๒ นชชร ตวั อยา่ ง วินยนมติพทุ ฺธทิ ปี นํ วสิ มบาท วินยวนิ ิจฺฉยเมตมุตตฺ มํ สมบาท ววิ ธิ นยยตุ ํ อเุ ปนฺติ เย วิสมบาท วินยนเย ปฏุตํ อเุ ปนฺติ เตฯ สมบาท ๓๔๗ พระคันธสาราภิวงศ์, วุตฺโตทัยมัญชรี, (ลําปาง: วัดท่ามะโอ พิมพ์ในงานมงคลอายุ พระธมั มานนั ทมหาเถระ ๘ มกราคม ๒๕๔๔), หนา้ ๑๔๑.

๔๔๙ แปล ชนเหล่าใดศึกษาคัมภีร์วินัยวินิจฉัยอันดีเลิศ แสดง ความรู้ในมติของวินัย อันกอปรด้วยนัยต่างๆ น้ี ชนเหล่าน้ัน ย่อมเข้าถึงความ เฉลียวฉลาดในนัยแหง่ วนิ ัย๓๔๘ (๓) หลมุขีคาถา แปลว่า คาถาที่มี ร คณะเหมือนคราดอยู่ข้างหน้า คือ คาถาทม่ี ี น ส คณะท้าย ร คณะ ในทุกบาทของคาถา เขียนผงั ประกอบ ดงั นี้ รา น สา ย ทิ ห ล มุ ขี ๒๑๒๑๑๑๑๑๒ รนส จงกฺ เม มรวุ ิมติ โย ฉนิ ฺทยํ กมิ รตนเิ ย อทิ ธฺ ปิ าฏิหีรณกโร จกขฺ ุมํ ตมภปิ ณเมฯ แปล พระพุทธเจ้าผู้เพยี บพร้อมดว้ ยพุทธจกั ษุ ทรงกาํ จดั ความกังขา ของเทวดา แสดงอิทธิปาฏิหาริย์ เสด็จจงกรม ณ ท่ีจงกรมอันสําเร็จด้วยรัตนะ ข้าพเจ้า ขอน้อมไหวพ้ ระพทุ ธเจา้ พระองค์น้ัน๓๔๙ เวสสนั ตรทีปนี เวสันตรทีปนี หรือพระมหาเวสสันตรทีปนี เป๐นผลงานของพระสิริมงคลา จารย์ พระมหาเถระผเู้ ป๐นปราชญ์ชาวเชียงใหม่ หรือชาวล้านนา ท่านรจนาผลงานช้ินไว้ เม่ือ พ.ศ.๒๐๖๐ โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ืออธิบายความหมายของคําและความในมหา เวสสันดรชาดก รวมทั้งหลักธรรมที่เข้าใจยาก จากคําศัพท์ต่างๆ ท่ีใช้ในสมัยนั้น ด้วย การเสริมความ ขยายความ และตีความ อย่างละเอียด ใช้ประโยคส้ันๆ ภาษากระชับ แต่ไม่เสียความ อธิบายเป๐นขั้นตอน ตามลําดับข้อของคาถา ไม่มีการตัดตอน เพ่ือเป๐น หลักในการศึกษาเวสสันดรชาดก จะได้เข้าใจตามเนื้อเร่ือง และเนื้อความ โดยอ้างอิง ข้อมูล และหลักฐานจากคัมภีร์ต่างๆ ไม่น้อยกว่า ๙๓ คัมภีร์ ผนวกด้วยการเสนอ ขอ้ คดิ เห็นของพระเถระนักปราชญล์ ้านนา ร่วมสมัยท่รี ะบุนาม ๓ รูป คือ พระอโนมทัสสี พระมหาปุสสเทวะ และพระรัตนบัณฑิต ๓๔๘ พระคันธสาราภิวงศ,์ วุตโฺ ตทัยมญั ชรี, หน้า ๒๙๖. ๓๔๙ พระคนั ธสาราภวิ งศ,์ วตุ ฺโตทัยมญั ชรี, หน้า ๑๗๖.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook