Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ED-APHEIT 2020

ED-APHEIT 2020

Published by ED-APHEIT, 2020-04-06 04:37:45

Description: การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร
สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ
หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption”
ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.)

Keywords: ED-APHEIT 2020 ศึกษาศาสตร์ สสอท.

Search

Read the Text Version

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ผู้เรียนเป็นสาคัญ กล่าวโดยสรุป การบริหารงานบุคคลมีความสาคัญ เพราะเป็นภารกิจท่ีผู้บริหารจะใช้ความรู้ ความสามารถในการบริหารให้ทุกคนร่วมมือกันปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้ สถานศึกษาสามารถ ปฏบิ ตั งิ านได้อย่างคลอ่ งตวั โดยท่ีเปูาหมายสูงสุดของการมีความรับผิดชอบในการบริหารงานบุคคลน้ีก็เพื่อสนับสนุน การจดั การเรยี นการสอนสาหรบั ผูเ้ รียนเปน็ สาคญั 4. ดา้ นการบริหารงานทว่ั ไป งานการบริหารงานทั่วไปของสถานศึกษา มีความสาคัญเนื่องจากเป็นงานที่ให้บริการสนับสนุน ส่งเสริม ประสานงานและอานวยการ ให้การปฏิบัติงานของสถานศึกษาเป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล นอกจากน้ันยังเป็นงานการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและผลงานของสถานศึกษาต่อ สาธารณชน ซ่ึงจะก่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เจตคติท่ีดี เล่ือมใส ศรัทธาและให้การสนับสนุนการจัดการวิจัยของ สถานศึกษา (กระทรวงศึกษาธิการ, 2546) นอกจากน้ี งานการบรหิ ารงานท่วั ไปของสถานศึกษา เปน็ ส่วนหน่ึงของการ กระจายอานาจทางการวจิ ัยตามมาตรา 39 แหง่ พระราชบญั ญตั ิการวิจัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 ซ่งึ กาหนดใหง้ านการบรหิ ารทัว่ ไปเปน็ กจิ กรรมสนับสนุนการดาเนนิ งานของสถานศึกษาท่ีเก่ียวกับงานการ บริหารวิชาการ การบริหารงบประมาณ และการบริหารงานบุคคลให้เกิดความคล่องตัว สามารถดาเนินงานไปสู่ เปูาหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวโดยสรุป การบริหารท่ัวไป มีความสาคัญเนื่องจากเป็นกิจกรรมสนับสนุนการ ดาเนินงานของสถานศึกษาท่ีเกี่ยวกับการบริหารวิชาการ การบริหารงบประมาณ และการบริหารงานบุคคลให้เกิด ความคลอ่ งตวั สามารถดาเนนิ งานไปสูเ่ ปูาหมายได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ กลา่ วโดยสรุป การบริหารสถานศึกษาเป็นงานท่ีผู้บริหารต้องรับผิดชอบ ซึ่งมีท้ังงานหลักและงานสนับสนุน งานหลัก คือ งานการบริหารวิชาการ ส่วนงานอ่ืนเป็นงานสนับสนุน ซ่ึงเม่ือพิจารณาแล้วพอจะสรุปงานบริหาร สถานศึกษาได้เปน็ 4 ด้าน คอื การบรหิ ารวชิ าการ การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารท่ัวไป ดงั ภาพท่ี 4 หน้า92

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) หลักการบริหารสถานศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน การบริหารงาน การบรหิ ารงาน การบริหารงาน การบรหิ ารงาน วชิ าการ งบประมาณ บุคลากร ทว่ั ไป 1. การพฒั นาหลกั สตู ร 1. การจัดทาและเสนอขอ 1. การวางแผนอตั รา 1. การดาเนินงานธุรการ สถานศึกษา งบประมาณ กาลงั และกาหนด 2. งานเลขานุการคณะ ตาแหนง่ 2. การพฒั นากระบวน 2. การพัฒนากระบวน กรรมการสถานศกึ ษาขัน้ การเรยี นรู้ การเรียนรู้ 2. การสรรหาและการ พ้นื ฐาน บรรจแุ ตง่ ต้งั 3. การจัดทาสามะโนผู้เรยี น 3. การวดั ผลประเมนิ ผล 3. การตรวจสอบ ตดิ ตาม 4. การพัฒนาระบบเครอื ขา่ ย และเทยี บโอนผลการ ประเมนิ ผล และ 3. การเสริมสรา้ ง ข้อมลู สารสนเทศ เรยี น รายงานผลการใชเ้ งิน ประสิทธภิ าพในการ 5. งานเทคโนโลยีสารสนเทศ และผลการดาเนินงาน ปฏิบตั ิราชการ 6. การจัดระบบการบรหิ าร 4. การวิจยั เพือ่ พฒั นา และพัฒนาองคก์ ร คุณภาพการวจิ ยั 4. การระดมทรัพยากร 4. วนิ ยั และการรกั ษา 7. การจดั ระบบควบคุมภายใน และการลงทนุ เพ่อื การ วินยั 8. งานบรกิ ารสาธารณะ 5. พัฒนาแหลง่ การ วิจยั 9. งานเทคโนโลยีเพ่ือการวจิ ยั เรยี นรู้ 5. การออกจากราชการ 10. การสง่ เสรมิ สนับสนุน 5. การบรหิ ารการเงิน ด้านวชิ าการ 6. การพัฒนาส่ือ 6. การบริหารบัญชี 11. การประสานงานและ นวตั กรรม และ 7. การบริหารพสั ดแุ ละ พัฒนาเครอื ขา่ ยการวจิ ยั เทคโนโลยเี พอื่ การ 12. การบริหารจดั การอาคาร วิจยั สินทรัพย์ สถานท่แี ละสภาพแวดลอ้ ม 13. การรับนกั เรียน 7. การนเิ ทศการวิจัย 14. การส่งเสรมิ และประสาน 8. การแนะแนวการวิจยั งานการวิจัยในระบบ นอก 9. การพฒั นาระบบการ ระบบ และตามอธั ยาศัย 15. การส่งเสรมิ กจิ การนกั เรียน ประกนั คณุ ภาพ 16. การประชาสัมพนั ธ์ ภายในสถานศกึ ษา 17. แจกงานที่ไม่ได้ระบไุ วใ้ น 10. การส่งเสริมความรู้ งานอืน่ ทางวิชาการแก่ ชุมชน ภาพที่ 4 หลักการบรหิ ารสถานศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2550) หนา้ 93

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ความหมายของโรงเรยี นเอกชนนอกระบบ พระราชบัญญตั โิ รงเรยี นเอกชน พ.ศ. 2550 และแก้ไขเพิ่มเตมิ ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2558 ได้ให้สาระสาคัญของการ จัดตัง้ โรงเรียนนอกระบบ ไว้ดงั น้ี (สานกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน, 2558) โรงเรียนนอกระบบ หมายความว่า โรงเรียนที่จัดการศึกษาโดยมีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเง่ือนไขสาคัญของการสาเร็จ การศึกษา และใหห้ มายความรวมถงึ ศนู ยก์ ารศึกษาอสิ ลามประจามัสยิด (ตาดกี า) และสถาบันศึกษาปอเนาะ นักเรยี น หมายความวา่ ผรู้ บั การศึกษาในโรงเรยี น ผรู้ บั ใบอนุญาต หมายความว่า ผ้รู ับใบอนุญาตใหจ้ ัดต้งั โรงเรียน (เจ้าของกิจการ) ผบู้ รหิ าร หมายความวา่ ผู้บรหิ ารของโรงเรียนนอกระบบ 1. วฒุ กิ ารศกึ ษา ไม่ต่ากว่าปริญญาตรี (สาหรับประเภทกวดวชิ า ตอ้ งเป็นปรญิ ญาตรี หรอื สงู กวา่ ทาง การศกึ ษา - ศกึ ษาศาสตร/์ ครศุ าสตร์) 2. ประสบการณ์การทางาน ต้องมหี นังสอื รบั รองประสบการณ์ ดังนี้ - ประเภทวชิ าชพี ประเภทศิลปะและกีฬา ประเภทสร้างเสริมทักษะชีวิต ต้องมีประสบการณ์ใน การทางานสาขาท่ีเกี่ยวข้อง หรือการสอน ไม่น้อยกว่า 1 ปี ให้ระบุ วันเร่ิมทางาน และส้ินสุด พร้อมหลักฐานการจด ทะเบียนการคา้ ของนติ ิบุคคลผู้รบั รองการทางาน - ประเภทกวดวิชา ต้องมีประสบการณใ์ นการทางานสาขาที่เก่ียวข้อง หรือการสอน ไม่น้อยกว่า 3 ปี  กรณเี ป็นข้าราชการครเู กษยี ณอายุ ใหใ้ ชบ้ ตั รประจาตัวขา้ ราชการบานาญ  กรณีเป็นครเู อกชน ให้ใช้สาเนาสมดุ ประจาตวั ครู  กรณเี ปน็ ครโู รงเรยี นนอกระบบ ให้ใช้หนังสือแตง่ ตั้ง และหนงั สอื ถอดถอน ครู/ผสู้ อน ครู หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพซ่ึงทาหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ ด้วย วธิ กี ารตา่ งๆในโรงเรียน ผู้สอน หมายความว่า ผู้ทาหน้าท่ีด้านการเรียนการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยวิธีการต่างๆในโรงเรียน นอกระบบ บุคลากรทางการศึกษา หมายความว่า ผู้สนับสนุนการศึกษาซึ่งเป็นผู้ทาหน้าท่ีให้บริการ หรือปฏิบัติงาน เกี่ยวเน่อื งกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนเิ ทศ และการบริหารการศึกษาในโรงเรยี น ผอู้ นุญาต หมายความวา่ เลขาธกิ ารคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน หรือผู้อานวยการสานักงานเขต พนื้ ทกี่ ารศึกษา ซ่งึ เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน มอบหมาย พระราชบญั ญัติที่เก่ียวขอ้ งกับการจดั ต้งั โรงเรียนเอกชนนอกระบบ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (2558) ได้กาหนดระเบียบ กฎหมายท่ีเก่ียวข้องตาม พระราชบญั ญัตโิ รงเรยี นเอกชน พ.ศ. 2550 ไวด้ ังน้ี มาตรา 120 การจดั ต้งั โรงเรยี นนอกระบบ ตอ้ งได้รับใบอนญุ าตจากผอู้ นญุ าต หนา้ 94

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ประเภทและลักษณะของโรงเรยี นนอกระบบ รวมทัง้ การจัดการเรียนการสอนและหลักสตู รของ โรงเรียนนอก ระบบ ใหเ้ ป็นไปตามท่คี ณะกรรมการกาหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา 121 การขอรับใบอนุญาต และการออกใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนนอกระบบ ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ วิธีการและเง่อื นไขทกี่ าหนดในกฎกระทรวง โดยผขู้ อรับใบอนุญาตจะต้องแนบรายละเอียดเกี่ยวกับกิจการ ของโรงเรยี นนอกระบบมาพรอ้ มกบั คาขอและอยา่ งน้อยต้องมีรายการดงั ต่อไปนี้ (1) ชอื่ ประเภท และลกั ษณะของโรงเรยี นนอกระบบ (2) ที่ตงั้ และแผนผงั แสดงบริเวณและอาคารของโรงเรียนนอกระบบ (3) หลักสูตร วธิ กี ารเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลการศึกษา (4) หลักเกณฑก์ ารคิดค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอ่ืน รวมท้ังหลักเกณฑ์ในการเพิ่ม คา่ ธรรมเนยี มดังกล่าว (5) รายการอ่ืนตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง เมื่อได้รบั อนุญาตแล้ว ผู้ได้รับอนุญาตจะเปล่ียนแปลงรายการตามวรรคหนึ่งไม่ได้ เว้นแต่ จะได้รับ อนญุ าตจากผู้อนญุ าต ให้ผู้อนญุ าตพจิ ารณาคาขออนญุ าตใหแ้ ล้วเสรจ็ ภายในเก้าสิบวันนับแตว่ ันท่ีไดร้ ับคาขออนุญาต มาตรา 122 ใหผ้ ู้รับใบอนุญาตจัดใหม้ ีผู้บริหารคนหนง่ึ เปน็ ผูด้ ูแลรับผิดชอบการบริหารงานของโรงเรียนนอก ระบบให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับของทางราชการและรายละเอียดตาม มาตรา ๑๒๑ วรรคหน่ึง โดย ผรู้ ับใบอนญุ าตซง่ึ มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามวรรคสองจะเป็นผู้บริหารเองก็ได้ และให้ส่งหลักฐานการ แตง่ ต้งั หรือการเข้าเปน็ ผบู้ ริหารแล้วแต่กรณี ให้ผู้อนุญาตทราบภายใน สามสิบวนั นับแตว่ ันแตง่ ต้ังหรือวันเข้าบรหิ าร ประเภทของโรงเรียนเอกชนนอกระบบ สามารถแบ่งและลกั ษณะของโรงเรยี นนอกระบบได้ 7 ประเภทดังนี้ 1. ประเภทสอนศาสนา เปน็ โรงเรียนทจี่ ัดตั้งขนึ้ โดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะการสอนศาสนา 2. ประเภทศิลปะและกีฬา เป็นโรงเรียนท่ีจัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาเก่ียวกับ ดนตรี ศิลปะ และ กฬี า 3. ประเภทวิชาชพี เป็นโรงเรยี นทตี่ ัง้ ขึ้นโดยมีวัตถปุ ระสงค์ใหก้ ารศกึ ษาเกี่ยวกบั วิชาชีพ เพื่อให้นักเรียนนาไป ประกอบอาชพี หรอื เพม่ิ เตมิ ทักษะในการประกอบอาชพี 4. ประเภทกวดวิชา เปน็ โรงเรยี นที่ต้ังขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเ์ สรมิ ความรู้บางรายวิชา ตามหลักสูตรการศึกษา ขน้ั พ้ืนฐาน 5. ประเภทสร้างเสริมทักษะชีวิต เป็นโรงเรียนท่ีตั้งข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์ สร้างเสริมความคิด เชาว์ป๎ญญา และทักษะอืน่ ๆ 6. ประเภทศูนยก์ ารศึกษาอิสลามประจามัสยดิ (ตาดีกา) เป็นศูนย์การศึกษาที่จัดต้งั ข้นึ โดยมีวัตถุประสงค์ตาม กฎหมายวา่ ด้วยศูนยก์ ารศกึ ษาอสิ ลามประจามัสยดิ (ตาดกี า) 7. ประเภทสถาบนั ศึกษาปอเนาะ เป็นสถาบันท่ีจัดตั้งขึ้นให้เป็นทางเลือกหน่ึงของชุมชน โดยมีวัตถุประสงค์ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยสถาบันศึกษาปอเนาะ หน้า95

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) กลยุทธ์ในการบริหารโรงเรียนกวดวิชา ชญตว์ ผเู้ ขียนขอสรุปประเด็นเปน็ 4 ด้านตามหลกั การบริหารสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานตามพระราชบัญญัติการศึกษา แหง่ ชาตดิ งั น้ี 1. ด้านงานวชิ าการ มรี ายละเอียดของกลยุทธ์ดงั น้ี จัดทาหลกั สูตรออนไลน์ ในรายวชิ าคณติ ศาสตรพ์ น้ื ฐานเนื่องจากคณิตศาสตร์พ้ืนฐานเป็นรายวิชาท่ีผู้เรียน ต้องเข้าใจ Concept ให้ดีก่อนทจี่ ะนาความรตู้ ่างๆไปประยกุ ตก์ ับศาสตรอ์ ่นื ๆ จัดทาหลักสูตรเฉพาะรายบุคคล เนื่องจากการเรียนการสอนคณิตศาสตร์น้ันคาว่า Scope&Sequence เปน็ สิ่งที่สาคญั ผูส้ อนจะต้องเขา้ ใจกอ่ นวา่ ความรพู้ ืน้ ฐานของผ้เู รยี นนัน้ อย่ตู รงไหน สาระการเรยี นรอู้ ะไรมาก่อนมาหลัง (พงศธร มหาวจิ ติ ร, 2562) ใช้นวัตกรรมการเรียนการสอนที่ทันสมัย เช่น Theme-Based Learning เป็นการเรียนรู้โดยใช้ประเด็น เรื่อง โดยมหี ลกั การและแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้แบบบูรณาการโดยที่เป็นการเรียนรู้ที่สามารถเชื่อมโยงความรู้ของ ผู้เรียนให้ผนวกเข้ากับทักษะในรูปแบบต่างๆได้ (พงศธร มหาวิจิตร, 2558) Study Tour เป็นการเรียนรู้โดยผ่าน ประสบการณไ์ ปยงั สถานท่ีตา่ งๆท่ีนา่ สนใจ อีกทง้ั ยังผสมผสานทฤษฎีการเรยี นการสอนต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นการสร้างองค์ ความร้ดู ว้ ยตัวเอง (Constructivism)หรอื การเรียนรู้แบบร่วมมอื รว่ มใจ (Co-Operative Learning) เป็นตน้ หนา้ 96

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) จดั ทา Application ทเี่ ปน็ แบบ One Stop Service ทส่ี ามารถส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ใน รปู แบบนอกระบบและตามอัธยาศยั อาทเิ ช่น การจัดการศกึ ษาโดยครอบครัว (พรพล พอนอ่วม, 2561) รวมไปถึงการ จดั การศึกษานอกโรงเรยี น เป็นตน้ 2. ดา้ นการเงนิ มีรายละเอียดของกลยทุ ธด์ ังน้ี จัดทาระบบการจัดการทางการเงิน (Server)ท่ีสามารถเก็บข้อมูลและประมวลผลได้อย่างรวดเร็วแบบ เรียลไทม์ (Real Time) วางแผนการออมและการลงทนุ ในสว่ นของทเี่ ป็นเครอ่ื งมือทางการเงิน วางแผนการขยายสาขาและเฟรนไชส์ 3. ดา้ นบุคคล มีรายละเอียดของกลยทุ ธด์ ังน้ี จดั ทา PLC (Professional Learning Community) ออนไลน์ระหวา่ งครผู สู้ อนแตล่ ะคน หนา้ 97

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) สร้างกรอบมาตรฐานของครใู นแตล่ ะรายวิชาในโรงเรยี น ส่งเสรมิ ใหค้ รสู ร้างและเผยแพร่งานวิชาการ 4. ดา้ นท่วั ไป มรี ายละเอยี ดของกลยุทธ์ดงั น้ี สรา้ งระบบบริหารจัดการภายใน (Server) ที่สามารถเชื่อมตอ่ ระหวา่ งกล่มุ งานตา่ งๆได้ ใบบนั ทกึ ผลการเรยี นที่สง่ ให้ผ้ปู กครอง หนา้ 98

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) เขยี นหนังสือในรูปแบบที่เป็น Know How เพ่ือเป็นการประชาสัมพนั ธโ์ รงเรียนอกี ทางหน่งึ หาวธิ กี ารจดทะเบยี นใหเ้ ป็นศูนยก์ ารเรียน เนื่องจากการทโี่ รงเรยี นนอกระบบสามารถจดทะเบียนเป็นศูนย์ การเรียนได้น้ัน โรงเรียนสามารถที่จะออกวุฒิการจบการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจากสานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาจังหวดั ได้ โดยผ่านโรงเรียนนอกระบบน้ันๆเป็นตวั กลาง หาแนวร่วมเครือข่ายการเรียนรู้ในละแวกใกล้เคียง เพื่อประโยชน์ในการพานักเรียนไปศึกษาดูงานนอก สถานท่ี เป็นตวั แทนใหค้ าปรึกษาเกยี่ วกบั Homeschool สร้างสรรค์กิจกรรมบริการสังคม (CSR) เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถมีส่วนเข้าร่วมกับกิจกรรมที่พวกเขาสนใจ และเป็นประโยชน์จริงๆ อีกทั้งยังสามารถสร้างความรักและความสัมพันธ์ท่ีแน่นแฟูนมากข้ึนระหว่างเด็กนักเรียนกับ ผปู้ กครองสาหรบั การทากจิ กรรมตา่ งๆ จัดทาแผนการตลาดออนไลน์ สรา้ งหลกั สูตรสาหรบั การอบรมทม่ี คี วามน่าสนใจในปจ๎ จุบัน เช่น หลกั สตู รพ่อแมส่ อนเลขได้ หลกั สูตรสร้าง โรงเรยี นเบ้อื งต้น เป็นตน้ สรุป สามารถแสดงเป็นกรอบแนวความคดิ ของบทความวชิ าการเร่ือง กลยทุ ธ์การบรหิ ารโรงเรยี นเอกชนนอกระบบ ในยุค Disruption กรณีศึกษา : โรงเรียนกวดวิชา ชญตว์ โดยพิจารณาจากองค์ประกอบท่ีเก่ียวข้องกับหลักสูตร แกนกลางขัน้ พื้นฐาน ทักษะของผเู้ รยี น รวมไปถึงบทบาทของครูผู้สอน จากนั้นได้นามาสร้างเป็นกลยุทธ์ของโรงเรียน โดยผ่านหลักการบริหารสถานศึกษาข้ันพื้นฐานท้ัง 4 ด้านคือ ด้านวิชาการ ด้านการเงิน ด้านบุคคล และด้านท่ัวไปดัง ภาพที่ ดงั นี้ หนา้ 99

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) หลกั ขส้นัูตพรแ้ืนกฐนากนลาง ผทู้เรกั ยีษนะใกนาศรตเรวียรนรษร้ขูทอี่ 2ง1 Skill Set สาหรบั กลยุทธ์รร. ชญตว์ บทบาทผูส้ อนในยคุ ยคุ Disruption Disruptive Innovation ด้านการเงนิ หลกั การบริหารสถานศกึ ษา ด้านทวั่ ไป ข้นั พน้ื ฐาน วางแผนการออมและลงทุน ระบบ Server เช่อื มทุก ระบบ Server ดา้ นบุคคล ส่วนงาน วางแผนการขยายสาขา PLCOnline งานเขยี นหนังสือ และเฟรนไชส์ สรา้ งกรอบมาตรฐานของครู ใบบนั ทึกผลการเรียนให้ สง่ เสรมิ ครูสรา้ ง/เผยแพร่งาน ดา้ นวิชาการ ผ้ปู กครองOnline วชิ าการ จัดให้เป็นศูนยก์ ารเรยี น เรียน Online (พืน้ ฐาน) MOU บริการสังคม CSR หลักสตู รเฉพาะรายบุคคล ใหค้ าปรกึ ษาดา้ น ประยกุ ตใ์ ชน้ วัตกรรมการสอน Homeschool จดั ทา Application ทเี่ ปน็ แบบ One Stop Service สร้างหลักสตู รอบรมตา่ งๆ วางแผนการตลาด Online ภาพท่ี 5 กลยทุ ธ์โรงเรียนกวดวิชา ชญตว์ หนา้ 100

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ข้อเสนอแนะ โรงเรยี นกวดวิชา ในสายตาของคนทั่วไป ณ ป๎จจุบัน คือ สถานที่ที่สาหรับใช้ในการเรียนแบบลัดๆ ท่องและ จาเพ่อื การนาไปใช้ในห้องสอบ ปราศจากศาสตร์และศลิ ป์ในการเรียนการสอน มีวิธีการเรียนการสอนไม่ก่ีรูปแบบ เช่น การบรรยาย (Lecture) การสอนตรง (Direct Teaching) อีกทั้งยังถูกมองว่าเป็นอีกกลุ่มธุรกิจหน่ึงในเร่ืองของเงินท่ี สะพัด เป็นต้น ซึ่งไม่แปลกที่คนท่ัวไปจะคิดเกี่ยวกับโรงเรียนกวดวิชาว่าไม่เป็นโรงเรียนเต็มร้อยเปอร์เซ็นต์ ออกแนว เปน็ ธุรกิจมากกวา่ แตส่ าหรับผู้เขียนเอง มองวา่ ผบู้ รหิ ารโรงเรยี นกวดวิชาทงั้ หลายต้องใช้คาว่า “ไม่ใช่โรงเรียนเต็มร้อย เปอรเ์ ซ็นต”์ ให้ไดป้ ระโยชนท์ ส่ี ุดในยคุ Disruption ไมว่ ่าจะเป็นในเร่ืองของการคิดนอกกรอบ ออกแบบหลักสูตรและ กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีตอบโจทย์ผู้เรียน และที่สาคัญต้องสร้างคุณค่าของการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้เข้าใจ ถึงแม้ยุค Disruption จะมกี ารเปลยี่ นแปลงแบบหน้ามือไปหลงั มือ ผูเ้ ขียนยงั มีความเชื่ออยู่ว่า AI แทนครูได้ไม่หมด และถ้าครูได้ ปรบั หรอื พฒั นาให้ตวั เองให้เข้ากบั ยคุ ได้แลว้ น้ัน จะก่อให้เกิดประโยชนต์ ่อผู้เรียนและวงการศกึ ษาของประเทศไทยได้ เอกสารอ้างองิ กนกวรรณ การะเกตุ. (2563). Meta Skill ทักษะท่ี ธีรศักดิ์ สุขสันติกมล. (2559). การเปลี่ยนแปลงทาง คนรุ่นใหม่ต้องมี เพ่ือโอกาสท่ีดีกว่า. [Online], สังคมในยุคทันสมัย. วารสารมนุษยสังคมปริทัศน์ สืบค้นเมื่อ 8 ม.ค. 2563. Available from ,18(1), 81-90. http://stepstraining.co/trendy/meta-skill-new- gen-must-have/. นัฐฐยา พิพัฒน์นราธร. (2561). การบริหารจัดการสู่ ความเป็นเลิศของโรงเรียนเอกชนในกรุงเทพ.วารสาร คณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน. (2558). การ บณั ฑติ ศึกษามหาจุฬาขอนแก่น,5(1), 223-240. กาหนดประเภทและลักษณะของโรงเรียน การ จัดการเรยี นการสอน และหลกั สูตรของโรงเรียนนอก ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2544). จิตวิทยาการ ระบบ (ฉบับท่ี 2)พ.ศ. 2558. [Online], สืบค้นเมอ่ื 8 บริหารงานบุคคล. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์เสริม ม ก ร า ค ม 2563. Avaliable from กรุงเทพฯ. http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.p hp?NewsID=43977&key=news_act/. พงศธร มหาวิจิตร. (2558). Theme-Based Unit : ความท้าทายในการออกแบบการเรยี นรสู้ าหรบั ครยู คุ คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. (2558). ใหม.่ วารสารศึกษาศาสตรป์ รทิ ัศน,์ 30(2), 93-101. แนวทาง : การจัดต้ังโรงเรียนเอกชน นอกระบบ. [Online], สืบค้นเมื่อ 8 มกราคม 2563. Avaliable พงศธร มหาวิจิตร. (2562). การประยคุ ใชแ้ นวคิดการ from http://trang1.net/pstr1. เรียนรู้โดยใชป้ รากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับการเรียน แบบเชิงรุกในรายวิชาการประถมศึกษา เพ่ือ คนึงนิจ อนุโรจน์. (2562). แนวทางการรับมือกับ เสริมสร้างทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21. วารสาร Disruption. แพทยสารทหารอากาศ, 66(1), 66-72. ศึกษาศาสตรม์ หาวิทยาลยั ขอนแก่น, 42(2), 75-92. พรพล พอนอ่วม. (2561). การจัดการศึกษาโดย ค ร อ บ ค รั ว โ ด ย ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร ก า ร เ รี ย น รู้ หน้า101

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) อิเล็กทรอนิกส์. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปรัชญาดุษฎี Advances that will transform life, business, บัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย and the global economy. Mckinsey : ศรปี ทมุ . McKinsey Global Institute. สนุ ีย์ ชยั สขุ สงั ข.์ (2557). กลยุทธ์การบริหารวิชาการ The Partnership for 21st Skills. (2009). P21 เพื่อเสริมสร้างทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ของนักเรียน โรงเรียนเอกชนทางเลือก. วิทยานิพนธ์หลักสูตรครุ Framework Definitions. [Online], สืบค้นเมื่อ 8 ศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ม . ค . 2563. Available from สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2555). รูปแบบ http://www.p21.org/storage/documents/P21_ ก า รบ ริ หา รจั ด ก า รส ถ าน ศึก ษ าขั้ นพ้ื น ฐา น . กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ Frame work _Definitions.pdf/. มหาวทิ ยาลยั . Wood, T. (2019). The Fourth Industrial Manyika, J., Chui, M.,Bughin, R.,Bisson, P.,and Revolution. [Online], สืบค้นเมื่อ 9 ม.ค. 2563. Marrs, A. (2013). Disruptive technologies: Available from http://www.kadant.com/en- us/maintenance/the-fourth-industrial- revolution/. หน้า102

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) การทดลองใช้ Blend Learning ในการเรียนการสอนวชิ าการฟังการพูดภาษาจีน และการสารวจความพึงพอใจของนักศกึ ษาชน้ั ปที ี่ 1 มหาวิทยาลยั ธรุ กิจบัณฑติ ย์ THE EXPERIMENT USING BLENDED LEARNING IN CHINESE PROGRAM (LISTENING AND SPEAKING COURSE) AND THE FIRST YEAR STUDENTS‖ SATISFACTION SURVEY OF DHURAKIJ PUNDIT UNIVERSITY โชตกิ านต์ ใจบญุ ศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรุ กจิ บัณฑติ ย์ E-mail [email protected] บทคดั ยอ่ ในยุคท่ีเทคโนโลยีมีบทบาทกับชีวิตทุก ๆ ด้าน การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนภาษาจีนจึง เปน็ เคร่อื งมอื สาคญั ในการชว่ ยเหลือให้ผเู้ รียนสามารถเรยี นร้ไู ดอ้ ย่างเตม็ ประสทิ ธิภาพ บทความน้ีมีวัตถปุ ระสงค์1) เพื่อ ศกึ ษาการประยุกต์ใชก้ ารเรยี นการสอนแบบผสมผสานในรายวิชาการฟ๎งการพูดภาษาจีน และ 2) เพื่อเป็นแนวทางใน การจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี รปู แบบใหม่ นอกจากน้ียังเพ่ือศึกษาทัศนคติของนักศึกษาต่อการเรียนรู้รูปแบบใหม่ โดยเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามนักศึกษาช้ันปีท่ี 1 คณะศิลปศาสตร์ หลักสูตรภาษาจีนธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย์ จานวน 66 คน คาสาคญั : การเรียนการสอนแบบผสมผสาน, วิชาภาษาจนี เพื่อการฟง๎ พูด, การประยุกต์ ABSTRACT In present time where technology plays every role. Technology application for Chinese program is a helpful tools in helping students to learn with full efficiency. The objectives for this article are: 1) to study the application of Blend Learning in Chinese skills, listening and speaking, and 2) to be a guideline for the modern teaching and learning of Chinese language. In addition, it also can be used to study the student's attitude towards this new learning, by collecting data from first-year students majoring in Chinese Business in the Faculty of Arts, Dhurakij Pundit University who enrolled in Chinese Listening and Speaking course, amount 66 students. Click here to enter text. KEYWORDS: Blended Learning,Chinese Listening and Speaking course,Application หน้า103

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) บทนา โลกของเรากาลงั เข้าสู่ยุค “ดิจิทัลเปล่ียนโลกการศึกษา” อย่างเต็มตัว การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีแบบ ก้าวกระโดดทาให้การเรียนการสอนแบบเดิมไม่อาจตอบโจทย์การอยู่รอดในยุคป๎จจุบันได้อีกต่อไป ในยุคแห่งการ เปลี่ยนแปลงเช่นน้ี ทั่วโลกต่างก็ได้ปฏิวัติการศึกษาโดยแสวงหากระบวนการสอนเช่น Project-Based, Play-Based Learning Team-Based Learning Task-Based Learning เพ่ือเข้ามาทดแทนระบบการศึกษาแบบเดมิ นอกจากนี้ใน ปจ๎ จุบนั เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communications Technology:ICT) ถูกนามาใช้ เปน็ เครอื่ งมือในการพัฒนาและสนบั สนุนการศึกษามากข้นึ หนึ่งในรปู แบบการจัดการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารมาใช้ในการจัดการศึกษานั้นกค็ อื การนาบรกิ ารต่าง ๆ ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมาพัฒนาเป็นส่ือการสอน และจดั การเรยี นการสอนเป็นการเรียนผา่ นระบบอเิ ล็กทรอนิกส์โดยใช้เทคโนโลยีอินเทอรเ์ น็ตเป็นสื่อกลางในการติดต่อ ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน จึงทาให้ข้อจากัดเร่ืองเวลาและสถานที่ทางการศึกษาหายไป และทาให้ ผู้เรียนสามารถ ติดต่อส่ือสารกับผู้สอนและเพ่ือนร่วมชั้นเรียนได้ทุกเวลา แต่ทว่าการเรียนผ่านระบบอินเทอร์เน็ตเพียงด้านเดียวก็ อาจจะยังไม่เหมาะสมกับเน้ือหาทุกประเภท หรือสถานการณ์บางสถานการณ์ การเรียนในชั้นเรียน กิจกรรมและ ปฏิสัมพันธ์ในชั้นเรียนอาจจะช่วยเติมเต็มและพัฒนาผู้เรียนได้มากกว่า ดังนั้นเพ่ือให้การเรียนรู้สมบูรณ์ท่ีสุด นัก การศกึ ษาหลาย ๆ ทา่ นได้นาเอาวิธีจัดการเรียนแบบผสมผสานเข้ามาประยุกต์ใช้ โดยใช้ประโยชน์จากส่ือเทคโนโลยี หรือบนเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ตใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รียนรดู้ ว้ ยตนเองก่อน จากนั้นใช้เวลาในชั้นเรียนในการฝึกฝน ตอบข้อสงสัย หรือทากิจกรรมอื่น ๆ ท่ีส่งเสริมการเรียนรู้อย่างเต็มท่ี ด้วยเหตุนี้การเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning) จึง ไดร้ ับความนิยมอย่างมากในปจ๎ จุบนั หากเราจะพจิ ารณาถึงความเหมาะสมในการประยุกตใ์ ชก้ ารเรียนการสอนแบบผสมผสานในรายวิชาภาษาจีน หรอื การสอนภาษาจีนในประเทศไทย ก็คงต้องเข้าใจถึงสภาพการเรยี นการสอนภาษาจีน และป๎ญหาของการเรียนการ สอนภาษาจนี ทเ่ี กดิ ขนึ้ ดงั จะยกตวั อยา่ งจากรายวชิ าการฟ๎งการพูดภาษาจีนซ่ึงเป็นรายวิชาที่เน้นการฝึกฝนทักษะการ ฟ๎งและการพดู ของผเู้ รยี น จนสร้างให้เกิดทักษะการสื่อสาร รายวิชาน้ีต้องการเวลาในการฝึกฝนด้านการสนทนาและ การสอื่ สารเปน็ จานวนมาก เพ่ือให้ผู้เรียนคุ้นชินกับคาศัพท์ และการเรียกใช้ประโยคในการส่ือสารในสถานการณ์จริง แต่ทว่าการเรียนภาษาจีนในสง่ิ แวดลอ้ มที่มิใชป่ ระเทศของภาษาที่สองนั้น การท่ีผู้เรียนจะได้ใช้ภาษาจนี อย่างเต็มท่ีก็หนี ไม่พน้ ชน้ั เรียน เน่ืองจากระยะเวลาที่ไม่เพียงพอต่อการเรียนรู้และการฝึกฝนทักษะ การนาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศ และอินเทอรเ์ น็ตเข้ามาชว่ ยจดั การเรยี นการสอนนั้นจงึ เป็นส่งิ ท่จี าเปน็ ต่อผู้เรียนในลักษณะเช่นนี้ บทความนี้จึงเล็งเห็น จุดเดน่ ของการเรียนการสอนแบบผสมผสานที่จะสามารถแกไ้ ขป๎ญหาด้านเวลาเรยี นทีไ่ ม่เพยี งพอในการพฒั นายกระดับ ทักษะการสอื่ สารของผเู้ รียน เพอ่ื แก้ปญ๎ หาดงั กล่าวในรายวชิ าการฟง๎ การพูดภาษาจนี ในภาคการเรียนที่ผ่านมาจึงได้มี การปรบั เอาการเรียนการสอนแบบผสมผสานมาใชใ้ นรายวิชาให้ผู้เรียนสามารถใช้เวลานอกช้ันเรียนเพื่อเรียนรู้เนื้อหา ความรู้ในบทเรียน และใช้เวลาในช้ันเรียนทากิจกรรมการฟ๎ง การพูด และการส่ือสารให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วย ตนเองมากทส่ี ุด (Zhang Haisen & Li Yan,2006) หน้า104

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) การเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) นกั วชิ าการตา่ งให้นิยามเก่ียวกับการเรียนการสอนแบบผสมผสานในเชิงท่ีสอดคล้องกัน เช่น Smith (2001) ไดใ้ ห้นิยามวา่ การเรียนการสอนแบบผสมผสานเป็นการจัดการเรียนการสอนทางไกลโดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย (เช่น โทรทัศน์ อินเทอร์เน็ต ข้อความเสียง และการประชุมทางโทรศัพท์) ผสมผสานกับการจัดการศึกษาแบบด้ังเดิม ซ่ึง ค่อนข้างที่จะสอดคล้องกับ Coil และ Moonen (2001) ที่กล่าวว่าการเรียนการสอนแบบผสมผสาน เป็นการ ผสมผสานระหวา่ งการเรยี นแบบเผชิญหน้ากบั การเรียนแบบออนไลน์เข้าด้วยกัน ซึ่งมีท้ังส่วนประกอบที่เป็นการเรียน ในหอ้ งเรียนและการเรียนแบบออนไลนโ์ ดยใช้องค์ประกอบของการเรียนแบบออนไลน์เติมเต็มช่องว่างของการเรียนใน ห้องเรียน กล่าวโดยสรุป ก็คือการเรียนการสอนแบบการผสมผสานน้ีเป็นการมาบรรจบกันโดยการผสมผสานของ ลักษณะการเรยี นการสอนท่มี สี ิ่งแวดล้อมแตกต่างกัน กล่าวคือ ดา้ นแรกเป็นลักษณะของส่ิงแวดล้อมทางการเรียนการ สอนแบบดั้งเดิมในช้ันเรียน (Traditional Classroom) ท่ีผู้สอนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กันแบบเผชิญหน้า (face-to- face) อีกด้านหนึ่งเป็นการนาเอาลักษณะของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนการสอนที่นาเอาความก้าวหน้าทางด้าน เทคโนโลยีส่ือคอมพิวเตอร์ (Computer-mediated) แบบออนไลน์เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน เพอื่ ใหผ้ ้เู รียนเกดิ การเรียนรแู้ ม้ว่าไมไ่ ดอ้ ยภู่ ายในช้นั เรยี น (ศรีศกั ดิ์ จามรมาน, 2552) รูปภาพที่ 1 แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน ที่มา:https://blogs.kent.ac.uk/landodlatestnews/2019/02/20/introducing-blended-learning/ ตามที่ Carman (2002) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับองค์ประกอบของการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended learning design: five key ingredients) ว่าองคป์ ระกอบของการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานน้ัน ตอ้ งประกอบด้วย 5 ป๎จจยั ดงั น้ี 1. เหตุการณ์สด (Live Event) จะเป็นการบรรยานในชั้นเรียนดั้งเดิม การประประชุมผ่านระบบวีดิโอ หรือ เปน็ การสนทนาแบบประสานเวลา หน้า105

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 2. การเรียนตามอัตราการเรียนรู้ของผู้เรียน (Self-Paced Learning) นั่นก็คือการจัดการเรียนการสอนให้ สอดคล้องกับประสบการณ์การเรียนของผู้เรียน เพ่ือให้ผู้เรียนได้เรียนด้วยตนเองตามความสามารถของส่วนบุคคล เครือ่ งมือทใี่ ช้ไดแ้ ก่ อินเทอรเ์ น็ต และซีดีรอม 3. การเรียนรู้ร่วมกัน (Collaboration) คือ การติดต่อสื่อสารระหว่างผู้เรียน ประกอบด้วยจดหมาย อเิ ล็กทรอนิกส์ การสนทนา และการคดิ รว่ มกัน 4. การประเมินผล (Assessment) คือ การวดั และประเมินผลการเรยี นรูข้ องผเู้ รียนตามวัตถุประสงค์ของการ เรยี น ประกอบด้วยการทดสอบ การสอบโดยไม่แจ้งล่วงหน้า การตัดสินผลการเรียน การประเมินแฟูมสะสมงาน เป็น ตน้ 5. อปุ กรณส์ นบั สนุน (Support Materials) หมายถงึ อปุ กรณท์ ่ีใชส้ นบั สนุนการเรียนการสอนแบบผสมผสาน บทความน้ีได้อ้างเอาองค์ประกอบทั้ง 5 ของ Carman (2002) เป็นหลักในการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน เพอื่ ให้เกิดการเรียนร้แู ละใช้เวลาในช้นั เรียนทีม่ ีอย่างจากดั ให้เกดิ ประโยชน์สูงสดุ รูปภาพที่ 2 องคป์ ระกอบของการจัดการเรยี นการสอนแบบผสมผสาน (Blended learning design: five key ingredients) ของ Carman (2002) ที่มา:https://blogs.kent.ac.uk/landodlatestnews/2019/02/20/introducing-blended-learning/ การใช้วิธกี ารสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) ในการสอนภาษาจนี การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศจีนสมัยป๎จจุบันเร่ิมมีการให้ความสาคัญกับการเรียนการสอนท่ีเน้น ผู้เรียนเป็นหลัก กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยจะเห็นได้จากงานวิจัยในปีต่าง ๆ ที่ได้เสนอแนวทาง และการประยกุ ต์ใช้การเรียนการสอนแนวใหม่ สาหรบั การเรียนการสอนแบบผสมผสานน้ัน ในภาษาจีนเรียกว่า “混 合式教学” นกั วิชาการชาวจีนมองว่าการสอนรูปแบบนี้คอื การนาเอาจุดเด่นของการสอนแบบด้ังเดิมและจุดเด่น หน้า106

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ของการสอนบนอนิ เทอรเ์ น็ตมาผสมผสานกันอยา่ งมีทักษะ กลา่ วคอื เป็นการดงึ เอาศกั ยภาพในด้านชกั จูง กระตุ้น และ ควบคมุ กระบวนการสอนของผสู้ อนออกมา และดงึ เอาความกระตือรือร้น ความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนออกมาอย่าง เต็มที่ด้วยเช่นกนั (He Kekang,2005: 38) วธิ กี ารเรียนการสอนแบบผสมผสานกับการเรยี นการสอนภาษาจีนได้ถูกนามาอภิปรายกันอย่างกว้างขวาง ดัง จะเหน็ ไดจ้ ากบทความและงานวจิ ัยในช่วงแรก ๆ ท่ีได้วิเคราะห์ข้อดีและข้อเสียของการเรียนการสอนแบบผสมผสาน กับการประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนภาษาจีนสาหรับนักศึกษาต่างชาติ โดยส่วนใหญ่จะนาเสนอกับผู้เรียนท่ีอยู่ใน ประเทศจีน เช่น Mao Jiabin (2016) ที่ได้แนะนางานวิจัยเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน เพ่ือดึง เข้าสู่ประเด็นความจาเป็นและความเป็นไปได้ของการใช้วิธีการสอนแบบผสมผสานในการจัดการเรียนการสอน ภาษาจนี และไดน้ าเสนอแนวทางใหมใ่ นการออกแบบแผนการสอนภาษาจีนแบบผสมผสานสาหรับการสอนภาษาจีน สาหรับนานาชาติ และไดพ้ ูดถึงปญ๎ หาทอ่ี าจจะเกิดขนึ้ และหลังจากนี้ในปี 2018 ก็มีงานเขียนเกี่ยวกับความน่าจะเป็น และความจาเป็นที่ต้องใช้การเรียนการสอนแบบผสมผสานกับการเรียนการสอนภาษาจีนในแต่ละวิชา เช่น Chen Liyuan, Liu Qian, Zhang Xiaoying Zhao Dan, Wang Shiju (2018) เสนอแนวคิดการใช้รูปแบบการสอน MOOC (MASSIVE OPEN ONLINE COURSE) ในการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานในรายวิชาเชิงทฤษฎีการสอนและเทคนิค การสอนภาษาจนี ในชั้นเรยี นแก่นักศึกษาในสาขาการเรียนการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ เพ่ือแก้ป๎ญหา ทรัพยากรท่ีขาดแคลนและพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนอย่างสูงสุด นอกจากนี้ Shang Xiuchun (2019)ได้นาเอา รูปแบบการสอนแบบ SPOC (ย่อมาจาก Small Private Online Course เป็นรูปแบบการสอนท่ีประกอบด้วยการ ผสมผสานกนั ระหวา่ งชั้นเรยี นจริงและการศึกษาออนไลน์) กับรูปแบบการสอนแบบผสมผสาน มาแก้ป๎ญหาการสอน ตวั อกั ษรจีนทถ่ี ือว่าเป็นอุปสรรคของการเรยี นการสอนภาษาจนี โดยประโยชน์ของการใช้รูปแบบการเรียนการสอนนี้มา ชว่ ยสร้างกระบวนการเรยี นร้กู ารเรยี นตัวอักษรจนี ของนักศึกษาตา่ งชาติ ยกระดับความสามารถในการเรียกใช้ตัวอักษร จีน จากนน้ั กไ็ ด้นาเสนอการออกแบบการสอนตัวอกั ษรจีนโดยใชว้ ิธีการสอนดังกลา่ วเพอื่ เป็นตัวอย่าง นอกจากรายวิชา ดงั กลา่ วยงั มี Zhang Jie (2019) และ Yang Zijuan & Wang Qiang ที่ได้นาเอาการเรียนการสอนแบบผสมผสานมา ประยุกต์ใช้กับวิชา HSK และวิชาภาษาจีนทักษะองค์รวม (Comprehensive Chinese) ซ่ึงผลงานวิชาการที่กล่าว มายังคงเป็นเพียงการวิเคราะห์จุดเด่นของวิชาภาษาจีนแต่ละวิชาประกอบกับข้อดีของการเรียนการสอนแบบ ผสมผสาน เสนอเป็นแนวทางในการออกแบบการเรียนการสอนในวิชาน้ัน ๆ โดยผู้เรียนในรายวิชาต่างก็เป็นนักศึกษา ชาวต่างชาติท่ไี ปศึกษาที่ประเทศจนี นอกเหนือจากกลุม่ ผูเ้ รียนภาษาจีนดงั กล่าวยังมีกลุ่มผเู้ รยี นภาษาจีนกลางที่เป็นชน กลุ่มน้อยในประเทศจีน ดังเช่นงานวิจัยของ Fan Yu,Wu Hongyan (2018) ที่ได้นาเอาข้อได้เปรียบของระบบ อนิ เทอรเ์ นต็ มาประยกุ ต์กับการเรียนการสอนแบบดั้งเดมิ ในการปฏิรูปการเรียนภาษาท่ีสองของชนกลุ่มน้อยในประเทศ จนี เพอ่ื สรา้ งเป็นรูปแบบการเรียนรู้ online และ offline เพ่อื พฒั นาทักษะภาษาจีนของผู้เรียนภาษาจีนที่เป็นชนกลุ่ม นอ้ ยในประเทศจีน จากนน้ั ยงั ไดว้ ิเคราะห์ถึงการสร้างหลักสูตรวิชาบนอินเทอร์เน็ต และอธิบายจุดเด่นของหลักสูตรนี้ และนอกจากนย้ี งั ได้อธิบายการจัดดาเนินการการเรยี นรแู้ บบ offline นาจุดเด่นของท้ังสองแบบมาผสมผสานกันอย่าง ลงตัวเพือ่ เสนอขอ้ คดิ เห็นทีด่ กี ว่า เหมาะสมกบั ผ้เู รยี นทเ่ี ปน็ ชนกลุ่มนอ้ ยทอ่ี ย่รู ะหว่างการเรียนเตรยี มตวั ก่อนเข้าเรียนใน ระดับอดุ มศกึ ษา จากท่ีกล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่าในด้านการเรียนการสอนภาษาจีนยังขาดแคลนบทความหรืองานวิจัยท่ี ทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานกับรายวิชาจริง ๆ แต่จากข้อสันนิษฐานและแนวทางจาก หนา้ 107

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) วรรณกรรมที่ศึกษามา ต่างกส็ ะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความเปน็ ไปได้ และความจาเปน็ ทีจ่ ะต้องนารูปแบบการสอนน้ีมาปรับใช้ ในการเรียนการสอนภาษาจนี การใช้วิธีการสอนแบบผสมผสานในรายวิชาการฟังการพดู ภาษาจนี รายวิชาการฟง๎ การพูดภาษาจีนเป็นรายวิชาบังคับของหลักสูตรภาษาจีนธุรกิจ คาอธิบายรายวิชานี้คือทักษะ การฟง๎ และการพูด การฟ๎งบทสนทนาในสถานการณ์จาลอง โดยเน้นความสามารถในการส่ือความหมายและการออก เสยี งทถ่ี ูกต้อง ดงั นัน้ วัตถปุ ระสงคข์ องการเรียนรู้รายวิชาจึงเนน้ ทกั ษะการฟง๎ และพูดเป็นหลัก เพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้เวลา ในช้ันเรียนฝกึ ฝนทักษะการฟง๎ และการพดู อยา่ งเตม็ ที่ การเรียนการสอนวชิ านี้จึงไดป้ ระยุกต์เอาการเรียนการสอนแบบ ผสมผสานเข้ามาใช้เพ่ือให้ผู้เรียนใช้ประโยชน์จากส่ืออินเทอร์เน็ตในการเรียนรู้ก่อนท่ีจะเข้ามาในช้ัน เรียนเพื่อทา กิจกรรมทเี่ น้นทกั ษะการฟ๎งและการพดู ในรายวิชาน้ีอาศัย Google Classroom เป็นสื่อกลางในการติดต่อสื่อสาร ไม่ วา่ จะเปน็ ประกาศข่าวสาร การแจง้ ผลการเรียน การอัพโหลดไฟล์เอกสาร การอัพโหลดวีดิโอเน้ือหาบทเรียน และส่ือท่ี เก่ยี วขอ้ งกบั เนื้อหาบทเรยี นใน Youtube, Youku และเว็บไซดอ์ น่ื ๆ เปน็ ตน้ นอกจากนี้ในการมอบหมายการบ้านและ ภารกจิ รวมไปถงึ การประเมนิ ผลการเรยี นก็ยงั ใช้ Google Classroom เป็นตัวจัดการอีกดว้ ย ในระยะแรกทมี่ ีการเลอื กใชก้ ารเรียนการสอนแบบผสมผสาน สืบเน่ืองจากในภาคการเรียนที่ผ่านมาประสบ ป๎ญหาเวลาในการเรียนไม่เพยี งพอที่จะทาใหผ้ ูเ้ รยี นไดฝ้ กึ ใ้ชค้ าศัพทแ์ ละฝึกใช้รปู ประโยคท่ีได้เรียนมาในการสนทนาจาก สถานการณ์จาลอง หรือการฝึกพูดหรือฝึกฟ๎ง อีกทั้งผู้เรียนท้ังสองกลุ่มยังไม่พื้นฐานท่ีไม่เท่ากัน เพ่ือแก้ป๎ญหาเวลา ฝึกฝนท่ีไมเ่ พยี งพอ ผสู้ อนไดเ้ ลอื กบทเรียนสามบท รวมทงั้ หมด 3 สปั ดาหใ์ นการใช้วิธีการเรียนการสอนแบบผสมผสาน โดยการจัดลาดับการจดั การเรียนการสอน ดงั นี้ (1) ผู้สอนจัดทาวีดิโอตามเนื้อหาในบทเรียน ประกอบด้วยคาศัพท์ ไวยากรณ์ และรูปประโยค ให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้ก่อนเขา้ ชนั้ เรยี น วดี โิ อท่ีจัดทานี้แบ่งเป็นสองประเภท ประกอบด้วย้วิดิโอการสอนโดยการอัดหน้าจอสไลด์พาว เวอรพ์ ๊อยโดยอาจารยผ์ ูส้ อน ขอ้ ดีของสื่อประเภทน้ีตรงกับเนื้อหาในหนังสือ อีกประเภทคือสื่อการเรียนการสอน เช่น เพลง บทสนทนา หรอื เรอ่ื งราวท่ีมสี ่วนเกีย่ วขอ้ งกบั เนื้อหาในบทเรียน เกณฑ์การคัดสรรวีดิโอเหล่าน้ีคือ ต้องมีคาศัพท์ เหมือนกับในบทเรียน เพอื่ ให้ผ้เู รยี นฝึกการฟ๎ง ทบทวนคาศัพท์และประโยค สร้างความทรงจาให้แก่ผู้เรียน โดยวีดิโอ ประเภทนสี้ ามารถหาไดจ้ ากอินเทอร์เน็ต เน่ืองจากรายวิชานี้เป็นวิชาพ้ืนฐานของนักศึกษาช้ันปีที่ 1 เนื้อหาในบทเรียน เกีย่ วข้องกบั การใช้ชีวติ ประจาวนั เชน่ การแนะนาตนเอง การแนะนาครอบครัว การบอกวันท่ี สภาพอากาศ การบอก ทศิ ทางและการเดินทาง จึงทาให้สามารถเขา้ ถึงทรัพยากรเหลา่ นไ้ี ด้ค่อนข้างง่าย เน่ืองจากทรัพยากรท่ีต้ังค่าสาธารณะ ให้ผู้เรียนภาษาจีนออนไลน์ในระดับพ้ืนฐานนั้นมีมาก เว็บไซต์ท่ีสามารถเข้าถึงได้มีดังน้ี《18 Mandarin Chinese Pinyin Pronunciation》、《Seven Days of Mandarin Learning》、《Chinese Character》、 《Chinese Class Studio Lesson》、《Travel in China》、《Lakeside Chinese》、《 Laowang101》、《Learning Chinese now》、《Off the Great Wall》เป็นต้น วีดิโอการเรียนรู้ เหลา่ นี้มีเนอ้ื หาครอบคลุมทั้งการออกเสียง ไวยากรณ์ วฒั นธรรม และอักษรจนี หน้า108

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) (2) มอบหมายภารกิจการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ทาระหว่างรับชมหรือศึกษาเนื้อหาในวีดิโอ เช่น แบบฝึกหัด ทบทวนคาศัพท์ (3) ทบทวนเนอื้ หา และอธิบายเพิม่ เติมในส่วนทย่ี ากในช้นั เรยี น จากน้นั จดั กจิ กรรมการฟ๎งและพูดในชั้นเรียน หรอื เปน็ กระบวนการเรยี นรู้ร่วมกนั เปน็ กลุ่ม (4) สอบวัดผล (การฟ๎ง และการพูด) (5) หลังเรียนผู้เรียนทาแบบฝึกหัดผ่านเว็บไซด์ https://quizizz.com ซึ่งเป็นเว็บไซด์ในการจัดทา แบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบท่ีรองรับการฟ๎ง โดยสามารถอัดเสียงได้นานถึงสิบวินาที สอดคล้องกับการทาแบบฝึกหัด นอกช้นั เรยี น จุดเด่นของเว็บไซด์อยู่ที่บรรยากาศ และรูปแบบที่เหมือนเกมส์ ทาให้ผู้เรียนต่ืนเต้น และสนุกไปกับการ ทาแบบทดสอบ ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการจัดการเรียนการสอนแบบ Blended Learning ในรายวิชาการฟังการพูด ภาษาจนี การสารวจความพึงพอใจในคร้ังนไี้ ด้เก็บแบบสอบถามจากนักศึกษารายวิชาการฟ๎งการพูดภาษาจีน ช้ันปีท่ี 1 หลักสูตรภาษาจนี ธรุ กจิ มหาวทิ ยาลยั ธรุ กจิ บณั ฑติ ย์เปน็ จานวนทง้ั สน้ิ 66 คน โดยคิดเปน็ เพศชาย 10 คน เพศหญิง 56 คน การสารวจประกอบด้วยข้อมูลของผู้เรียน และสภาพการเรียนในลักษณะผสมผสานของผู้เรียน จากผลการ สารวจพบวา่ ผ้เู รียนส่วนใหญ่มักจะดวู ดี โิ อบรรยายเน้อื หาบทเรียนที่ผู้สอนจัดทาให้กอ่ นเข้าหอ้ งเรียน เปน็ จานวน 2 คร้ัง 29 คน รองลงมาคือเข้าชม 3 ครั้ง 23 คน มากกว่า 3 ครั้ง 13 คน ดู 1 คร้ัง 7 คน หากมองภาพรวมแล้วผู้เรียนให้ ความร่วมมือในการชมวดี ิโอเนือ้ หากอ่ นเรียนค่อนข้างดี เพราะมีเพียง 9 คนที่ไม่ได้ดูเป็นบางคร้ัง และไม่ได้ดูเลยเพียง แค่ 1 คน ชอ่ งทางการเข้าถึงวีดโิ อหรือเน้ือหาท่ีผู้สอนได้อัพโหลดให้ในกูเก้ิลคลาสรูมแบ่งเป็น 3 ประเภท ช่องทางที่ 1 คอื คอมพวิ เตอร์ โดยมีนกั ศึกษาจานวน 15 คนเลือกใชช้ อ่ งทางนี้ ช่องทางที่ 2 คอื แท๊บเลท หรือ ไอแพด (อุปกรณ์การ ส่ือสารเคล่ือนท่ี) มีผู้ใช้จานวนท้ังสิ้น 10 คน และช่องทางสุดท้ายคือ Smartphone หรืออุปกรณ์มือถือมีจานวน 40 คน นอกจากข้อมูลเกี่ยวกับสภาพการเรียนทั่วไปของนักศึกษาแล้ว ยังได้ประเมินความพึงพอใจในการเรียนรู้ รายวิชาฟ๎งพูดภาษาจีนโดยใช้วิธีการเรียนการสอนแบบผสมผสาน โดยความพึงพอใจได้แบ่งเป็นทั้งหมด 4 ด้าน คือ ความพงึ พอใจดา้ นการจัดการเรยี นการสอนของอาจารย์ ในด้านน้มี ีคา่ เฉล่ียที่ 4.52 จัดอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมือ คอื ความพงึ พอใจด้านบรรยากาศการจดั การเรียนการสอน และดา้ นกิจกรรมการเรียนรู้ ค่าความพึงพอใจท้ังสองด้านมี คา่ เฉล่ยี ท่ี 4.48 จัดอยู่ในระดับมาก และด้านสุดท้ายท่ีมีค่าเฉล่ียความพึงพอใจที่ 4.38 คือ ด้านประโยชน์ท่ีได้รับจาก การจัดการเรยี นรู้ ในดา้ นการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ผู้เรียนรู้สึกว่า สื่อท่ีผู้สอนให้ไปศึกษาก่อนเรียนช่วยให้ผู้เรียนมี ความรคู้ วามเขา้ ใจเนอื้ หาทจ่ี ะเรยี นไดด้ ี วธิ ีการทีผ่ สู้ อนนาเสนอส่ือให้กบั ผู้เรียนเหมาะสม ง่ายและสะดวกในการเข้าถึง นอกจากนี้ผู้เรยี นยงั สมั ผัสได้ถึงบรรยากาศของการเรียนทมี่ กี ารเปดิ โอกาสใหม้ ีสว่ นรว่ มในกจิ กรรม ทาให้ผู้เรียนมีความ กระตอื รอื รน้ และรับผิดชอบตอ่ กล่มุ โดยทง้ั 3 ดา้ นน้มี คี า่ เฉล่ียความพึงพอใจระหว่าง 4.20 - 4.50 จัดอยู่ในระดับมาก หนา้ 109

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) และผู้เรียนรู้สึกว่าบรรยากาศของการเรียนเปิดโอกาสให้ถามตอบและพูดคุยกับครูได้ใกล้ชิดขึ้น ค่าความเฉลี่ยอยู่ที่ 4.53 ในด้านกจิ กรรมการเรยี นรูค้ า่ ความพึงพอใจทาให้ทราบไดว้ า่ ผูเ้ รียนรสู้ ึกวา่ กิจกรรมการเรยี นรมู้ คี วามเหมาะสม กับเนื้อหา ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้แลกเปล่ียนความรู้ร่วมกันในชั้นเรียน ส่งเสริมการเรียนรู้ ทาให้มีความกล้าคิดกล้า ตัดสินใจ มีโอกาสแสดงความคิดเห็น กิจกรรมทาให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาท่ีเรียนได้อย่างชัดเจน และ เข้าใจเนือ้ หาได้มากขึน้ ที่สาคัญยงั ทาใหผ้ ู้เรียนไดม้ ีโอกาสเรยี นร้จู ากการปฏบิ ัตงิ านร่วมกับเพ่ือน ๆ และยังสามารถเอา เวลาในช้ันเรียนมาฝึกฝนทักษะและปฏิบัติงานได้มากข้ึน ซ่ึงสิ่งนี้เป็นส่ิงท่ีตอบโจทย์ป๎ญหาการเรี ยนภาษาท่ีสองใน สิ่งแวดล้อมที่ไม่ใชภ่ าษาแม่ นน่ั กค็ อื เวลาท่ีผเู้ รียนจะได้ใชภ้ าษาจนี มากทส่ี ดุ ก็คือในชั้นเรยี น ความพึงพอใจด้านประโยชนท์ ี่ไดร้ บั จากการเรยี นรู้ จากผลการสารวจพบว่าค่าเฉล่ียความพึงพอใจอยู่ท่ี 4.38 ต่าสดุ คือ 4.21 และสงู สดุ คอื 4.48 ผลการประเมนิ สะท้อนใหเ้ ห็นว่าผู้เรียนได้รับประโยชน์มากในการเรียนรู้ผ่านการ เรียนการสอนแบบผสมผสาน โดยทาให้เข้าใจเน้ือหาได้ง่ายกว่าการเรียนแบบด้ังเดิมเพราะได้ลงมือฏิบัติด้วยตนเอง มากกว่านั่งฟ๎งครูบรรยายในห้องเรียน และระหว่างการเรียนรู้ยังช่วยให้นักเรียนสร้างความรู้ความเข้าใจ ด้วยตนเอง และเกิดความภูมิใจในตนเองที่สามารถเข้าใจเนื้อหาท่ียากได้ด้วยตนเอง ได้รู้จักเพ่ือนในช้ันเรียนมากข้ึน นอกจากนี้ การเรียนรู้รูปแบบดงั กล่าวยงั ชว่ ยสง่ เสริมและพฒั นาทักษะและวธิ กี ารทางานของผเู้ รยี นไดอ้ ีกดว้ ย สรปุ การใชเ้ ทคโนโลยแี ละระบบอนิ เทอรเ์ น็ตเป็นตัวชว่ ยในการโอนถ่ายข้อมลู การเรียนรูจ้ ากผสู้ อนไปยังผู้เรียนเป็น ตัวช่วยในระบบการเรยี นรทู้ ส่ี ามารถชว่ ยเหลือผเู้ รยี นในกลุม่ ทีม่ ีพ้ืนฐานทางภาษาท่ีไม่เท่ากัน ซึ่งผู้เรียนสามารถจัดการ กบั การเรียนรู้ด้วยตนเอง หรือใชเ้ ทคโนโลยแี ละระบบอนิ เทอรเ์ นต็ เพ่ือทบทวนกอ่ นการสอบวัดผลตามความสะดวกของ ผู้เรียนแต่ละคน นอกจากนี้ ระบบเหล่าน้ียังสามารถช่วยให้ผู้สอนจัดระเบียบการวัดผล การจัดส่งผลงาน การสั่ง การบา้ นได้อย่างเป็นระบบ เน่ืองจากระบบเหล่านี้สามารถประมวลผลคะแนนผู้เรียนได้ทันทีหลังจากทาการทดสอบ และจัดเก็บคะแนนได้อย่างเป็นระบบ ท่ีสาคัญสามารถแจ้งผลคะแนนและคาแนะนาของผู้สอนได้อย่างทันที ทาให้ ผู้เรียนตน่ื ตัวอย่ตู ลอดเวลา นอกจากน้ี ระบบเหลา่ น้ียงั สามารถกระตุ้นใหผ้ ้เู รยี นไดเ้ รยี นร้รู ว่ มกนั อีกดว้ ย การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานในรายวิชาการฟ๎งการพูดภาษาจีนนี้ได้ยึดองค์ประกอบการจัดการ เรียนการสอนแบบผสมผสานของ Carman (2002) มาเป็นแมแ่ บบ โดยจัดให้มกี ารบรรยายสดในชนั้ เรียน พร้อมกับจัด กิจกรรมที่มีความหลากหลายตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบผสมสาน ซึ่งผู้เรียนให้ความร่วมมือ และมีความพึง พอใจในการเข้าเรียน โดยผลการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย 4.47 ใน องค์ประกอบท่ี 2 คือ การเรียนรู้ด้วยตนเอง ในรายวิชาการฟ๎งการพูดภาษาจีนได้จัดให้ผู้เรียนได้ศึกษาบทเรียนด้วย ตนเองบนเครือขา่ ยอนิ เทอร์เน็ตผ่านวดี ิโอบรรยายเนื้อหาบทเรียน และสื่อวีดิโอประกอบผ่านกูเกิ้ลคลาสรูม พร้อมกับ มอบหมายให้ผู้เรียนทาใบงาน และทดสอบการเรียนรู้หลังการเรียนในชั้นเรียน ในส่วนขององค์ประกอบที่ 3 การ ร่วมมือนั้น ในรายวิชานี้มีการสร้างกูเกิ้ลคลาสรูม ซึ่งประกอบด้วยกระดานสนทนา และการเชื่อมโยงเข้าสู่อีเมล์ มหาวิทยาลยั ของผู้สอนและผเู้ รียนทกุ ๆ คนซง่ึ ความร่วมมือเช่นน้ีตรงกับหลักการของ Carman นั่นก็คือความร่วมมือ ระหวา่ งผูเ้ รียนกับผู้เรียน และความร่วมมือระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน โดยความร่วมมือระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนนั้นยัง หนา้ 110

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) รวมไปถึงในชั้นเรียนและนอกช้นั เรยี น เพราะการเรยี นการสอนวิชานี้ผูกกับภารกิจที่ต้องทากับเพ่ือนในกลุ่มและเพ่ือน บัดด้ชี าวจีน ประเมนิ ไดจ้ ากผลงานกลุม่ ท่สี ่งในกูเกิ้ลคลาสรมู ในด้านการประเมินผล รายวิชานี้ได้มีการวัดประเมินผลทั้งก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียนเพ่ือ ประเมินผลการเรียนรูแ้ ละการทากิจกรรมในแต่ละขน้ั ส่งิ ท่ที าให้ผู้สอนสะดวกสบายก็คือ การประยุกต์ใช้เว็บไซต์ การ สร้างแบบทดสอบที่ไม่มีค่าใช้จ่าย เช่น กูเกิ้ลฟอร์ม (Quiz) และการใช้เว็บไซต์ Quizz ที่สามารถทาได้ท้ังในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียน นอกจากนี้ กม็ กี ารประเมินระหวา่ งเรียนผ่าน kahoot.it ในองคป์ ระกอบสุดท้าย น่ันกค็ ืออุปกรณส์ นับสนนุ ไดแ้ ก่ คอมพวิ เตอร์ แท๊บเล็ต มือถือสมาร์ทโฟน ต่างก็เป็น สง่ิ ที่ชว่ ยสนับสนุนให้ผูเ้ รยี นเข้าถงึ สื่อมัลตมิ ีเดยี เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ท่ีผู้สอนจัดเตรียมไว้ให้ ซึ่งข้อมูลต่าง ๆ เหล่านี้ ถูกบนั ทกึ ไว้ในระบบกูเกิ้ลคลาสรมู ซงึ่ เชื่อมโยงโดยตรงกับกูเกิ้ลไดร์ฟ ไฟล์ต่าง ๆ จะถูกจัดอย่างเป็นระบบ สะดวกต่อ การสบื ค้น และเข้าถึงในทุกท่ีทุกเวลา ท้งั นผี้ ู้สอนยงั สามารถปอู นกลบั คะแนนและคาติชมไดท้ ุกทท่ี กุ เวลา ข้อเสนอแนะ การเรียนการสอนแบบผสมผสานมีการนาเอาเว็บฯ เข้ามาช่วยเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการเรียนรู้ ใช้แทนท่ี กิจกรรมบางอยา่ งในชัน้ เรียน เชน่ การนาเวลาทเี่ หลอื จากการท่ีต้องมาฟ๎งบรรยายในชั้นเรียนไปใช้ในการฝึกฝนทักษะ เฉพาะด้าน การเรียนการสอนรูปแบบดังกล่าวช่วยปรับปรุงการเรียนการสอนในช้ันเรียนอย่างมาก ทั้งยังช่วยขยาย แหลง่ การเรยี นร้ใู หก้ วา้ งขึน้ และเพ่มิ โอกาสในการเข้าถึงส่ือการเรียนการสอนของผู้เรียนได้ แต่ก็ยังคงมีหลายป๎จจัยท่ี ต้องการการออกแบบทดี่ ี และการปรบั ปรงุ ขั้นตอนตา่ ง ๆ ในการสอน ดงั เช่นข้อเสนอแนะต่อไปนี้ (1) จากการสารวจความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานในรายวิชาการฟ๎งการพูด ภาษาจนี พบวา่ ควรปรบั ปรงุ ในดา้ นการออกแบบวีดโิ อหรือคลิปในขัน้ ตอนกอ่ นเข้าห้องเรยี น ควรออกแบบให้ผู้เรียนเกิด การจดจาคาศพั ท์ ไวยากรณ์ หรอื เนือ้ หาให้ได้มากขึน้ เนอ่ื งจากผเู้ รยี นใหค้ ะแนนความพึงพอใจตอ่ การจัดการเรียนรู้ ทา ใหจ้ าเนอ้ื หาได้นาน นอ้ ยท่ีสุด โดยมคี า่ เฉลยี่ ท่ี 4.21 (2) นอกจากนยี้ งั พบว่าความยาวของวดี ิโอบางส่วนท่ีอดั เอง หรอื ทห่ี าจากแหล่งทรัพยากรทางอินเทอร์เนตก็ดี นน้ั คอ่ นข้างยาวทาให้ผู้เรียนสมาธิหลุดไปได้เป็นบางช่วง จึงควรมีการออกแบบให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยอาจจะ จัดทาเป็นคลิปส้ัน 3-5 นาที และแบ่งเป็นส่วนการเรียนรู้แยกออกจากกันแทน เพื่อความสะดวกในการเรียนรู้ หรือ ทบทวนกอ่ นสอบ เอกสารอา้ งองิ a=2.93537822.246362472.1579450140- 155173080.1579450140 Carman,J.M. (2002) Blended learning design: Collis, B. & Moonen, J. (2001). Flexible five key ingredients. [Online], สบื คน้ เมือ่ 17 learning in a digital world: Experiences and มกราคม 2562. Available expectations. London: Kogan Page. [Online], fromhttps://pdfs.semanticscholar.org/d830/a9 062348f38551f4afb762d5c270f09c954a.pdf?_g หน้า111

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) สืบค้นเม่อื เม่อื 17มกราคม 2562. Available 索——以HSK课程为例.Issue of Journal fromhttps://www.researchgate.net/publicatio of Guangxi Open University,2019(30-2),15-19 n/234661407_Flexible_Learning_in_a_Digital_ Available World_Experiences_and_Expectations_Open_ fromhttp://www.cnki.com.cn/Article/CJFDTOT Distance_Learning_Series AL-GBDS201902004.htm Mao Jiabin (2016). The Application of Zhang Jie.(2019). A Study on The Mixed Blend_Learning Mode in International Teaching Mode of Comprehensive Chinese as A Foreign Language Course in Colleges and Chinese Teaching.数字化汉语教学 Universities..Journal of Educational Institute ,2016,57-63. of Jilin Province,2019(8-35),80-83. Available Petek Askar&Arif Altun.(2008) Learner fromhttp://www.cnki.com.cn/Article/CJFDTota Satisfaction on Blended Learning. Issue of l-JLJB201908020.htm. E-leader Krakow, 2008, Available พชิ ยั แกว้ บตุ ร.(2562) การประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยีความ fromhttps://pdfs.semanticscholar.org/3afd/86 เป็นจริงเสริม (Augmented Reality:AR) กับการ 2bf1fbfbac88d49e8e241af78e996067ff.pdf เรียนภาษาจีน: กรณีศึกษาชั้นปีท่ี 3 สาขา Singh, H. (2003). Building Effective Blended ภาษาต่างประเทศ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยา Learning Programs.Issue of Educational เ ข ต สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี .ว า ร ส า ร จี น ศึ ก ษ า Technology, 2003 (43, 6), 51-54. Available มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,2562 (12:1),113-139. fromhttp://asianvu.com/digital- สืบค้ นเ ม่ือ 17 มก รา คม 2562. Available library/elearning/blended-learning- fromhttps://www.tci- by_Singh.pdf thaijo.org/index.php/CSJ/article/view/202407/ 141227 Yang Zijuan & Wang Qiang.(2019).基于混 合学习的对外汉语教学模式探 หน้า112

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสทิ ธผิ ลขององคก์ รทางการศึกษา A Study of the Factors Affecting the effectiveness of Educational Organization พระสรภัค เขมปํฺโญ (รามญั อุดม) มหาวทิ ยาลยั สยาม E-mail [email protected] บทคัดยอ่ บทความน้มี ีวตั ถปุ ระสงค์เพ่อื ศึกษาประสิทธิผลขององค์กรทางการศึกษาและเพื่อวิเคราะห์ป๎จจัยที่ส่งผลต่อ ประสิทธผิ ลขององคก์ รทางการศึกษาในหวั ข้อประเดน็ ป๎จจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลขององค์กรทางการศึกษา มีวิธีการ รวบรวมสังเคราะห์แนวคิดและทฤษฎีจากนักวิชาการโดยสืบค้นข้อมูลและคัดเลือกบทความจากหนังสือทางวิชาการ ส่ือข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์รวมถึงงานวิจัย จานวน 15 เรื่อง โดยเกณฑ์ในการคัดเนื้อหาเพ่ือใช้ในการสังเคราะห์แนวคิด และทฤษฎีของนกั วชิ าการคอื จะต้องเป็นการศกึ ษาเกย่ี วกบั ประสิทธิผลขององค์กรและต้องเป็นงานวิจัยฉบับเต็ม ส่วน เกณฑ์ในการคดั ออกเน้อื หาคอื เปน็ บทความทไี่ ม่ไดศ้ กึ ษาเกยี่ วกับประสทิ ธิผลขององค์กรโดยตรง หรอื นาเสนอเป็นเพียง ขอ้ ความกลา่ วถึงไม่มีท่ีมาหรืออ้างอิงไม่ชัดเจน จากน้ันนาข้อมูลท่ีได้ไปสังเคราะห์ (Synthesis) เพ่ือนาไปสร้างกรอบ แนวคิดการวิจัยสรุปประเด็นสาคัญ ซ่ึงผลที่ได้จากการศึกษาพบว่า ประสิทธิผลขององค์กรทางการศึกษาซ่ึง ประกอบด้วย คณุ ภาพของผลงานหรอื การปฏิบัตงิ าน ความเจรญิ งอกงามของนักเรียน การยอมรับจากสังคม ความพึง พอใจของผูร้ ว่ มงาน และพบวา่ ปจ๎ จยั ทส่ี ่งผลต่อประสิทธิผลขององค์กรทางการศึกษามี 4 ป๎จจัย ประกอบด้วย ป๎จจัย ด้านกายภาพของสถานศึกษา ป๎จจัยด้านการบริหาร ป๎จจัยด้านบุคลากรและป๎จจัยภายนอกองค์กรและประสิทธิผล ขององค์กรทางการศึกษาเป็นการแสดงผลลัพธ์ที่สะท้อนถึงความสาเร็จในการบริหารในองค์กรทางการศึกษา ได้แก่ โครงสร้างองค์กรและเทคโนโลยี ลักษณะเฉพาะและทักษะของบุคลากร ความผูกพันกับงาน ความสามารถในการ ปฏิบัติงานของแต่ละบุคคล นโยบายด้านการบริหารและการปฏิบัติงาน ส่ิงแวดล้อมภายนอก ข้อเสนอแนะจาก การศึกษา ควรมีการสร้างและออกแบบเคร่ืองมือการวิจัยเกี่ยวกับป๎จจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลและทดสอบความ สอดคล้องระหว่างโมเดลการวิจยั กบั ขอ้ มลู เชงิ ประจักษ์ เพ่ือเป็นแนวทางให้ผู้ท่ีเก่ียวข้องและผู้ท่ีสนใจนาข้อมูลไปปรับ ใช้ในองค์กรทางการศึกษา ส่วนผู้บริหารสถานศึกษาสามารถศึกษาตัวแปรใดที่ส่งผลต่อประสิทธิผลขององค์กรเพ่ือ นาไปสู่ความสาเร็จในการบริหารสถานศกึ ษา คาสาคญั :ประสิทธิผลขององค์กร , ป๎จจัยทีส่ ่งผลต่อประสทิ ธผิ ล หน้า113

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ABSTRACT This article is intended to study the effectiveness of educational organizations and to analyze factors that affect the effectiveness of educational organizations.In the topic of factors affecting the effectiveness of educational organizations There is a way to compile, synthesize concepts and theories from academics by searching for information and selecting articles from academic books. Electronic information media including research Which the results of the study found that 15 items The criteria for screening the content for use in the synthesis of concepts and theories of academics are to study the effectiveness of the organization and to be a full research. As for the elimination criteria, it is an article that does not directly study the effectiveness of the organization. Or the presentation is just a message of no origin or unclear reference. After that, the synthesized data will be used to create a research framework summarizing important issues.Which the results of the study found that Effectiveness of educational organization which consists of The quality of work or operations The prosperity of students Acceptance from society Satisfaction of colleaguesand Thereare 4 factors affecting the effectiveness of the educational organization, consisting of physical factors of the school. Administrative factors Personnel and external factors And the effectiveness of the educational organization, showing the results that reflect the success of the administration in schools Including organizational structure and technology Specific characteristics and skills of personnel Commitment to work The ability to perform individual tasks Administrative and operational policies External environment Suggestions from studies The research instruments should be created and designed regarding the factors that affect the effectiveness and test the consistency between the research model and the empirical data. In order to be a guideline for related parties and interested persons to apply the information to apply in schools As for the school administrators, can study any variables that affect the effectiveness of the organization in order to be successful in school management. KEYWORDS: the effectiveness of Educational organization, the Factors Affecting the effectiveness บทนา ในสภาพป๎จจุบัน โลกอยู่ในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงและแข่งขันกันอย่างสูง สถานศึกษาหรือโรงเรียนเป็น องคก์ รหน่ึงท่ไี ดร้ ับผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงในระดับสูง ซ่ึงนับวันจะทวีความรุนแรง เพราะโรงเรียนเป็นสถานที่ สาคญั และมบี ทบาทในการทาหนา้ ทีอ่ บรมถ่ายทอดวชิ าแก่เยาวชน โรงเรียนจาเปน็ ตอ้ งมผี ู้บริหารท่ีมีภาวะผู้นาที่ทันต่อ หนา้ 114

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) สถานการณ์และบริหารแบบมืออาชีพเพื่อทาให้เกิดการพัฒนาในโรงเรียน จัดการกับป๎ญหาท่ีเกิดขึ้นมากมายและ สามารถสรา้ งวฒั นธรรมองคก์ รทดี่ ี ด้วยการใชว้ าจาและการนาไปปฏิบัติ ผูบ้ ริหารโรงเรยี นในป๎จจุบันน้ีจาเป็นต้องได้รับ การพฒั นาวิชาชพี อยตู่ ลอดเวลา และหากโรงเรียนมีผู้บริหารท่ีดมี ีประสิทธิผลมีความเชอ่ื มความสัมพันธ์กันกับโรงเรียน ท่ีประสบความสาเรจ็ ตัง้ แตม่ กี ารประกาศใช้รัฐธรรมนญู แหง่ ราชาอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560 ได้บัญญัติเก่ียวกับ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาไว้ในหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ โดยเฉพาะการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การจดั การศึกษาในทุกระดบั และทกุ รูปแบบใหส้ อดคล้องกับการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมจัดให้มีแผนการ ศึกษาแห่งชาติ กฎหมายเพื่อพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ ก้าวหน้าทันการเปล่ียนแปลงของสังคมโลก รวมทั้งปลูกฝ๎งให้ผู้เรียนมีจิตสานึกของความเป็นไทย มีระเบียบวินัย คานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและยึดม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตลอดจนการส่งเสริมและสนับสนุนการกระจายอานาจเพ่ือพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาใ ห้เท่าเทียมและ สอดคลอ้ งกับแนวนโยบายบนพน้ื ฐานแหง่ รฐั (ราชกิจจานุเบกษา,2560, หนา้ 23-24) หลังจากท่ีได้มีการศึกษาค้นคว้าเอกสารท่ีเก่ียวข้องกับประสิทธิผลขององค์กร จะทาให้มีความเข้าใจใน ประเดน็ ต่างๆ ที่ต้องการศึกษาชดั เจนย่ิงขึ้น ตลอดจนสามารถเชือ่ มโยงแนวคดิ ทฤษฎี เข้ากับแนวความคิดของเนื้อหาท่ี สนใจ จากนน้ั จึงกาหนดตัวแปรท่ีตอ้ งการศึกษา โดยคาดคะเนถึงข้อสรุปว่ามีตัวแปรใดบ้างท่ีเกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษา อย่างไรดงั นน้ั ผวู้ จิ ัยจะตอ้ งเข้าใจความหมายของตวั แปรระดับการวัดของตัวแปร และประเภทของตัวแปรเพ่ือจะได้ทา การตั้งสมมตุ ิฐานตอ่ ไป การกาหนดตัวแปรเปน็ เรอ่ื งทส่ี าคญั อกี ประการหนึ่งสาหรับการทาวิจยั เพราะการศกึ ษาเป็นการ แสวงหาความรู้หรอื ข้อเท็จจรงิ การจะหาความรหู้ รือขอ้ เทจ็ จรงิ จาเปน็ จะตอ้ งกาหนดขอบเขตใหช้ ดั เจนถึงประเด็นที่จะ ทาการศกึ ษาซึง่ จะต้องกาหนดออกมาในรูปของตัวแปรที่สามารถวัดได้สังเกตได้เสียก่อน ดังน้ันตัวแปรจึงเป็นสิ่งท่ีผู้ท่ี สนใจกาหนดเพอ่ื ทาการศกึ ษานั่นเอง ผู้ศึกษาจึงเกดิ ตระหนักและสนใจที่จะการศึกษาถึง ประสิทธิผลและป๎จจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลขององค์กร ทางการศึกษา ซ่ึงเป็นการศึกษาและการทาความเข้าใจเกี่ยวกับโรงเรียนที่ประสบความสาเร็จ เพ่ือให้ได้ข้อมูล สารสนเทศและแนวทางทีเ่ ปน็ ประโยชน์ต่อการการตัดสนิ ใจในการบริหารโรงเรียน ในการบริหารโรงเรียนจะท่ีประสบ ความสาเรจ็ ทีเ่ ป็นตามบรบิ ทของการศึกษา ซึ่งจะทาให้โรงเรียนท่ัวไปได้พัฒนา รวมถึงผู้ที่เก่ียวข้องและหน่วยงานทุก ระดับ ได้นาไปปฏบิ ตั ิอย่างถกู ต้องเหมาะสมกับโรงเรียนของตนเองให้มีประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลมากย่ิงขึ้น ผู้เขียน จึงสังเคราะห์วรรณกรรมและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับประสิทธิผลและป๎จจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลขององค์กรทาง การศกึ ษา ขอ้ มูลท่สี ะท้อนความต้องการและความสนใจในการศึกษาผลท่ีได้จากการศึกษาป๎จจัยเหล่านี้จะช่วยสร้าง ความชดั เจนด้านประสิทธิผลไปใช้ในสถานการณ์จริงและสามารถใช้เป็นแนวคิดในการสร้างเคร่ืองมือวัดประสิทธิผล ขององค์กรในหน่วยงานให้มมี าตรฐานได้ เน้อื หาสาระ วธิ ีการศกึ ษา การศึกษาคร้ังนี้เป็นการสังเคราะห์แนวคิดและทฤษฎีของนักวิชาการหลากหลายท่านทั้ งชาวไทยและ ชาวต่างชาติจากเอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ยี วข้องป๎จจยั ทีส่ ่งผลต่อประสิทธิผลขององค์กรทางการศึกษา เพ่ือทจ่ี ะกาหนด หน้า115

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) กรอบแนวคดิ หรอื โมเดลทส่ี ร้างข้ึน โดยสบื คน้ ข้อมลู สาคัญจากวรรณกรรมประเภทบทความวิชาการ บทความวิจัยและ วทิ ยานิพนธ์ จากฐานข้อมูลโครงการเครอื ข่ายห้องสมดุ ในประเทศไทย สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา รวมถึง จากตารา หนังสอื และบทความในวารสารวิชาการ โดยใช้คาสาคัญ (Keyword) ในการค้นหา ได้แก่ ป๎จจัยท่ีส่งผลต่อ ประสิทธิผลและประสิทธิผลขององคก์ รทางการศกึ ษา หลักการและเกณฑ์ในการคัดเลือกหรือสังเคราะห์เอกสารและงานวิจั ยรวมถึงนักวิชาการที่กล่าวถึงเนื้อหา โดยเกณฑใ์ นการคดั เน้อื หาเพื่อใชใ้ นการสังเคราะห์แนวคดิ และทฤษฎีของนักวิชาการคือจะต้องเป็นการศึกษาเกี่ยวกับ ประสิทธิผลขององค์กรและต้องเป็นงานวิจัยฉบับเต็ม ส่วนเกณฑ์ในการคัดออกเน้ือหาคือเป็นบทความท่ีไม่ได้ศึกษา เก่ียวกับประสิทธิผลขององคก์ รโดยตรง หรอื นาเสนอเป็นเพียงข้อความกล่าวถึงไม่มีท่ีมาหรืออ้างอิงไม่ชัดเจน จากนั้น นาขอ้ มลู ท่ไี ดไ้ ปสังเคราะห์ (Synthesis) เพอื่ นาไปสรา้ งกรอบแนวคดิ การวิจยั สรปุ ประเดน็ สาคญั แนวคดิ และทฤษฎเี ก่ียวกบั ประสิทธผิ ลขององค์กร จากการค้นคว้าผลงานทางวชิ าการและผลงานวจิ ยั เกีย่ วกับประสิทธผิ ลขององคก์ รของนกั วิชาการได้จากการ สงั เคราะหป์ ระสทิ ธผิ ลขององค์กร เพ่อื วัดประสิทธผิ ลองคก์ ร โดยพจิ ารณากระบวนการสาคัญท่ีสัมพันธ์กับประสิทธิผล องคก์ ร ธรรมชาติ การเปล่ยี นแปลงขององค์กรและสภาพแวดลอ้ ม รวมท้ังบทบาทสาคัญของการบริหารท่ีจะต้องสร้าง ความเขา้ ใจและตระหนกั ถึงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่างๆขององค์กรที่จะนาไปสู่การยกระดับความสาเร็จ และการมปี ระสทิ ธผิ ลขององค์กร ประสทิ ธิผลขององคก์ ร การบริหารองคก์ รใหป้ ระสบความสาเร็จ ผู้บริหารที่ทาให้องค์กรประสบความสาเร็จ ต้องมลี ักษณะผ้นู าของความปรารถนาและมจี ุดมุ่งหมายสอดรับกับผู้ใต้บังคับบัญชา ผู้นาอาจยกระดับความปรารถนา และจดุ มงุ่ หมายให้สงู ข้ึนไป แต่จะตอ้ งไม่สูงเกินไปจนกระท่ังผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาตามไม่ทัน มนุษย์ทุกคนมีภาวะผู้นาอยู่ใน ตัวเองท้ังน้ัน ถ้ามีความปรารถนาจะเป็นผู้นาที่ดีก็ควรจะเรียนรู้และพัฒนาตนเองให้มีคุณสมบัติ ดังต่อไปน้ี 1.ต้อง มุ่งเน้นการงานให้ประสบความสาเร็จ 2.สามารถอยู่ร่วมกันผู้ใต้บังคับบัญชา 3.เป็นท่ีพอใจในการทางานร่วมกับ ผู้ใต้บังคบั บญั ชา 4.เป็นท่ีชืน่ ชมจากองค์การภายนอกและยอมรับในการปฏิบัติงาน 5.มองโลกในแง่ดีไม่ยินดียินร้าย มี ใจเป็นกลาง (เสริมศกั ดิ์ วศิ าลาภรณ,์ 2540) ผบู้ ริหารตอ้ งมคี วามสมั พันธภาพกบั ผู้ร่วมงานอย่างราบรื่น ผู้ร่วมงานต้อง มคี วามอบอ่นุ รู้สึกสบายกายสบายใจ สามารถปฏิบัติงานได้เรยี บรอ้ ย ปราศจากความขัดแย้งระหว่างบุคคลในองค์การ ท้ังภายนอกและภายใน ตอบรับความสาเร็จในการดาเนินงาน (ประเสริฐ สมพงษ์ธรรม, 2545) องค์ประกอบของ ประสิทธิผลขององค์การ ต้องเริ่มจากผู้นาองค์การจะต้องมีบุคลิกภาพท่ีเหมาะสม มีการวางตัว การพูดจาดี มีความ เชอ่ื มน่ั ในตนเอง อดทนอดกลั้น กลา้ เผชิญกับป๎ญหาและความยากลาบาก มีความเห็นอกเห็นใจ มีจิตสานึกสาธารณะ ชว่ ยเหลอื เก้ือกลู สังคมส่วนรวม มคี วามกระตือรือร้นตื่นตัวตลอดเวลา มั่นใจในตนเอง มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ ความมี บุคลิกดังกล่าว จะช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้การปฏิบัติงานในองค์การมีประสิทธิภาพ (วันชัย นพรัตน์, 2547) การ จัดการบริหารในสถานศกึ ษามคี วามจาเป็นต้องอาศัยผู้บริหารการศึกษา จึงจะทาให้การบริหารและการจัดการศึกษา ประสบความสาเร็จและเป็นไปตามแนวทางท่ีพึงประสงค์ ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องเป็นผู้ทาการปฏิรูปที่มี ประสทิ ธิภาพ แบ่งแยกกิจกรรมท่เี กยี่ วกบั การบรหิ ารสถานศึกษา ดังน้ี 1.การทางานร่วมกัน 2.การช่วยให้ตระหนักใน เปูาหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา 3.การให้บริการแก่สังคม 4.การมีส่วนเก่ียวข้องกับบุคคลอ่ืนอย่างมี หน้า116

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ความสัมพนั ธท์ ด่ี ี 5.การใชท้ รัพยากรให้ได้ประโยชน์มากทส่ี ุดสาหรับการศกึ ษา (ธรี ะ รุญเจริญ, 2550) ประสิทธิผลของ องค์กรโดยมีองค์ประกอบท่ีสาคัญ ดังต่อไปน้ี1) คุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละหลักสูตรและสาขาท่ีเปิด ได้แก่ คุณลักษณะตามข้อกาหนดท่ีวางไว้ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ได้แก่ ความรู้ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม บุคลิกภาพ ลักษณะทางสังคมและการประกอบอาชีพ3) ระดับของคุณภาพของผลผลิต ได้แก่ ผลผลิตในระยะสั้น สามารถนาความร้ไู ปใช้การวัดผลทางการศกึ ษาและระยะยาว สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน 4) ผลท่ีเกิดขึ้น ต่อสังคม เป็นผลลัพธ์ท้ังหมดของผลที่มีต่อสังคม สังคมยอมรับในการนาไปปฏิบัติ(House & Mitchell,1974) ประสิทธิผลขององค์กรเกิดการยอมรับจากสังคมและคุณภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร (Steers, 1977) การ ปฏิบัติงานเกิดการยอมรับจากผู้บังคับบัญชาและการยอมรับจากสังคมภายนอก (King, 1989) ความพึงพอใจของ ผู้ร่วมงาน รวมถงึ ทศั นคตทิ ่ดี ตี อ่ กันและคณุ ภาพการปฏบิ ตั ิงานของทกุ คน (Hoy & Miskel ,1991) การยอมรับผู้นาและ รับคาสั่งจากผู้บังคับบัญชาจะทาให้องค์กรสามารถประสบความสาเร็จได้ (Campbell, 2003) องค์กรทางการศึกษา ต้องสร้างความเจริญงอกงามของนักเรียนและคุณภาพการปฏิบัติงานของคุณครูเพื่อผลลัพธ์ที่ดี (Hanson, 2003) ความเจริญงอกงามของนักเรียน รวมถึงการสร้างจิตสาธารณะให้เกิดประโยชน์ในองค์กรทางการศึกษา (Owens, 2007) สถานศกึ ษาตอ้ งหาทรพั ยากรและใชป้ จ๎ จัยนาเขา้ จากสิง่ แวดล้อมแลว้ เปลี่ยนสภาพจากกจิ กรรมการบริหาร เพื่อ เป็นผลผลิตของโรงเรียนโดยพิจารณาจากความสาเร็จของนักเรียน การปฏิบัติงานของครู การเติบโตของนักเรียน ความก้าวหน้าของบคุ ลากร การออกกลางคันของนกั เรยี น การลาออกของครู การขาดเรียนของนักเรียน การขาดงาน ของบคุ ลากร ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผูบ้ รหิ ารกับผู้ปฏิบัติงาน ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ทัศนคตินักเรียน ต่อโรงเรียนและความพึงพอใจของผู้ปฏบิ ตั งิ าน (Lunenberg andOrnstein, 2008) การทบทวนเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับประสิทธิผลขององค์กรทางการศึกษาสามารถสั งเคราะห์แนวคิดและ ทฤษฏขี องนักวชิ าการ ดงั แสดงในตาราง ดังต่อไปนี้ รายชือ่ นกั วชิ าการ รายการ ประสิทธผิ ลขององคก์ ร House & Mitchell 1974 Steers 1977 - ความพึงพอใจของผรู้ ว่ มงาน King 1989 - การยอมรบั จากผบู้ ังคบั บญั ชา Hoy & Miskel 1991 - การยอมรับจากสังคม Campbell 2003 Hanson 2003 Owens 2007 Lunenburg & Ornstein 2008 เส ิรมศัก ์ิด ิวศาลาภรณ์ 2540 ประเส ิรฐ สมพง ์ษธรรม 2545 วันชัย นพรัตน์ 2547 ีธระ ุรญเจริญ 2548 ผลรวม ความถี่ราย ้ขอ   5   3   5 หน้า117

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) - ความเจรญิ งอกงามของนกั เรียน   5 - จติ สาธารณะ  2 - คุณภาพการปฏิบัตงิ าน     6 - การออกกลางคนั ของนักเรยี น  2 สามารถสรปุ ได้จากการสังเคราะห์จากตารางประสิทธิผลขององค์กร โดยวัดประเมินจากจานวนค่าความถ่ีที่ มากจากผลรวมซ่ึงไดม้ ีนักวิชาการหลากหลายท่าน อาทิ (เสรมิ ศักดิ์ วศิ าลาภรณ์ 2540, ธีระ รุญเจรญิ 2548, ประเสริฐ สมพงษ์ธรรม 2545, วันชัย นพรัตน์ 2547, Hoy & Miskel 1991, House & Mitchell 1974, King 1989, Campbell 2003, Steers 1977, Lunenburg & Ornstein 2008, Owens2007, Hanson 2003) ซึ่งประกอบด้วย คณุ ภาพของผลงานหรอื การปฏบิ ัตงิ าน ความเจริญงอกงามของนักเรียน การยอมรับจากสังคมและความพึงพอใจของ ผรู้ ่วมงาน ซงึ่ เป็นสว่ นสาคญั ทที่ าใหอ้ งคก์ รประสบความสาเรจ็ ผู้ศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าแนวคิดของ Steers (1975) ซ่ึงอธิบายองค์ประกอบหลัก 4 ประการที่เป็นป๎จจัย สาคัญทาให้องค์กรมีประสิทธิผลคือ 1.ลักษณะเฉพาะขององค์กร เช่น โครงสร้างองค์กร เทคโนโลยี 2.ลักษณะของ สภาพแวดลอ้ มภายนอก เช่น เศรษฐกิจ เงอ่ื นไขทางการตลาด 3.ลักษณะเฉพาะของบคุ ลากร เช่น ระดับความพึงพอใจ ในงาน ความผกู พันกับงาน 4.นโยบายด้านการบริหารและการปฏิบัติงานองค์ประกอบของป๎จจัยที่ส่งผลประสิทธิผล ขององค์กรดังกล่าวข้างต้นสามารถอธิบายได้ว่าป๎จจัยท่ีส่งผลต่อประสิทธิผลขององค์กร ประกอบด้วย ด้านกายภาพ ภายในองค์กร ด้านบุคลากร ดา้ นการบริหารงานและด้านสภาพแวดล้อมภายนอก ดงั น้ันจึงอธบิ ายไดด้ งั ต่อไปนี้ แนวคิดและทฤษฎเี ก่ยี วกับปจั จยั ท่ีส่งผลต่อประสิทธิผลขององค์กร จาแนกป๎จจัยท่ีสาคัญตามแนวคิดและทฤษฎีของนักวิชาการ คือป๎จจัยภายในขององค์กรได้แก่ ป๎จจัยด้าน ลักษณะกายภาพของสถานศึกษา ป๎จจัยด้านการบริหารจัดการป๎จจัยด้านบุคลากรและป๎จจัยภายนอกองค์กร ดงั ตอ่ ไปน้ี ปัจจัยด้านกายภาพขององค์กรเป็นป๎จจัยที่แสดงถึงลักษณะสภาพของสถานศึกษาท่ีสามารถมองเห็นได้ ชัดเจนจากภายนอกอันจะส่งผลต่อประสิทธิผลขององค์กรทางการศึกษา ซึ่งมีนักวิชาการหลายท่านกล่าวถึง องค์ประกอบทส่ี าคญั ได้แก่ สถานทีต่ ง้ั ทาเลในการกอ่ สร้าง อาคารสถานท่ีมีความเพียงพอต่อการใช้งาน (ภัทรพล มหา ขนั ธ์,2545)ป๎จจัยภายในของสถานศึกษาต้องประกอบดว้ ยสถานที่ อาคารสถานท่ีเพียงพอ ความเพียงพอของเครื่องใช้ อุปกรณส์ านักงาน สง่ิ แวดล้อมปลอดโปรง่ (สทุ ธพิ งษ์ยงศก์ มล, 2543) ความเพียงพอของวัสดุอุปกรณ์ทรัพยากรการใช้ เทคโนโลยี(พรทพิ ย์ สระบงกช, 2544) ปจ๎ จยั ภายในองคก์ รทสี่ าคัญหนึ่งก็คือเทคโนโลยีเป็นระบบการประยุกต์ผลิตผล ทางวิทยาศาสตร์ (วัสดุ) และผลิตผลทางวิศวกรรม (อุปกรณ์) การใช้เทคโนโลยีสภาพแวดล้อม (อุทัยวรรณ โชชื่น, 2546) ในการเลือกทาเลท่ีตัง้ ของสถานศกึ ษาตอ้ งเกิดจากการวางแผนของบุคคลหลายฝุายโดยพิจารณาในเร่ืองต่อไปน้ี ลักษณะพื้นทขี่ นาดการคมนาคมและส่งิ แวดลอ้ ม (จรี วรรณ ขรภมู ิ, 2546) ป๎จจัยการบริหารท่ีสาคัญต้องเข้าใจพ้ืนฐาน ความเป็นอยู่ ที่เพียงพอต่อการดารงอยู่ เช่น ความเพียงพอของอุปกรณ์การเรียนการสอน ทรัพยากรที่จาเป็นใน โรงเรยี น (ปิติชาย ตนั ปิติ, 2547) และChrispeel & Ann (1990)อธิบายเกี่ยวกับป๎จจัยด้านกายภาพจะส่งผลคุณภาพ ของความสาเร็จโดยคานึงถึงความต้องการ ความเพียงพอของอุปกรณ์ที่จาเป็น Edmonds (1979)กล่าวว่าในองค์กร ทางการศกึ ษาตอ้ งประกอบดว้ ยความสามารถจดั การทรัพยากรพ้นื ฐานท่ีมแี ละเพิ่มมูลค่าให้เกิดประโยชน์มากยิ่งข้ึนไป หนา้ 118

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของสดุ าพร ทองสวสั ดิแ์ ละ สจุ ิตรา จรจติ ร (2556) ได้ทาวิจัยเร่ืองการสังเคราะห์งานวิจัย เกี่ยวกบั ป๎จจัยที่มีอิทธพิ ลตอ่ ประสทิ ธผิ ลของการบริหารสถานศึกษา ผลการวิจัยพบว่า ป๎จจัยด้านกายภาพหรือป๎จจัย แวดล้อมมีอิทธิพลต่อประสิทธิผลต่อการบริหารสถานศึกษาอยู่ในระดับมาก ดังน้ันจึงถือได้ว่าป๎จจัยด้านกายภาพมี ความสาคัญในระดับทสี่ าคัญต่อการบรหิ ารและผลลัพธ์ของความสาเรจ็ ขององคก์ รทางการศึกษา ปัจจัยด้านการบริหารงานเป็นป๎จจัยท่ีแสดงถึงกระบวนการดาเนินงานเก่ียวกับการบริหารจัดการของ สถานศึกษาอันสง่ ผลตอ่ ประสทิ ธิผลขององค์กรทางการศึกษาซึ่งมีนักวิชาการหลายท่านกล่าวถึงองค์ประกอบที่สาคัญ ได้แก่การบริหารเป็นป๎จจัยท่ีส่งผลต่อความสาเร็จขององค์กร ต้องประกอบด้วยภาวะผู้นาของผู้บริหาร โครงสร้าง องค์กรในการบริหาร การกาหนดกลยุทธ์วัตถุประสงค์ขององค์กร การจัดการแบ่งงานตามหน้าที่ของบุ คลากร มี แผนการจัดหลักสูตร (สุทธิพงษ์ยงศ์กมล, 2543)ป๎จจัยท่ีมีอิทธิพลของประสิทธิผลองค์กร ได้แก่ การบริหารในด้าน บุคลากร ต้องแบ่งงานตามหน้าที่ ตามความสามารถ ด้านการวางแผน จัดโครงสร้างองค์กรและด้านการประสานงาน ระหวา่ งบคุ คล ระหวา่ งองคก์ รและการจดั ทาแผนงานหลักสูตร (พรทิพย์ สระบงกช, 2544)การบริหารเป็นป๎จจัยหน่ึงท่ี สาคญั มีองคป์ ระกอบคอื คณุ ลกั ษณะผู้นา บรหิ ารโครงสรา้ งองค์กร การทาแผนหลักสูตร พัฒนาการเรียน การสื่อสาร ทัง้ ภายนอกและภายใน รวมถึงการนิเทศติดตามผลงานของระดับบุคคลและระดับองค์กร (ภัทรพล มหาขันธ์, 2545) วัฒนธรรมองคก์ รมีผลต่อประสทิ ธผิ ลองค์กรทัง้ ทางตรงและทางอ้อม รวมถึงโครงสร้าง การต้ังเปาู หมายขององค์กรต้อง มีความแข็งแรง มั่นคง(อทุ ยั วรรณ โชชนื่ , 2546)ความสาคญั ของป๎จจัยท่ีมีเหตุทาให้เกิดผลต่อประสิทธิผลขององค์กรก็ คือด้านการบริหารจัดการ การประสานการทางาน ระบบการบริหารงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์(ปิติชาย ตันปิติ, 2547)และยังสอดคลอ้ งกับแนวคิดและทฤษฎีของ Townsend (1997) กลา่ วถงึ การบริหารเป็นป๎จจัยหน่ึงท่ีสาคัญต้อง องค์กรทางการศกึ ษาเริม่ ตั้งแต่การกาหนดโครงสรา้ ง เปาู หมาย พันธกิจ แบ่งหน้าท่ีของแต่ละบุคคล ประสานงานและ การสือ่ สาร รวมถึงการวางระบบบริหารงาน Chrispeel & Ann (1990) อธิบายความสาเร็จขององค์กรตอ้ งอาศัยป๎จจัย การบรหิ ารจัดการ การวางแผน กาหนดเปูาหมาย การส่ือสารรวมถึงวัฒนธรรมองค์กรจึงจะเกิดประสิทธิผลมากย่ิงข้ึน และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของธนาเศษฐ์ เพ็ชรกลาง (2561) ได้ทาวิจัยเรื่องป๎จจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการ บริหารงานวชิ าการของโรงเรยี นขยายโอกาสทางการศกึ ษา สงั กัดสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 ผลการวิจัย พบว่า ป๎จจัยด้านการบริหารจัดการส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาอยู่ในระดับมาก จึงถือได้ว่า ปจ๎ จัยด้านการบรหิ ารมีความสาคญั ต่อการบรหิ ารและเกิดความสาเร็จขององค์กรทางการศกึ ษา ปจั จยั ด้านบุคลากรเปน็ ป๎จจัยทีแ่ สดงถึงคุณลกั ษณะและกระบวนการทางานของบุคลากรรวมถึงปฏิสัมพันธ์ ของบคุ ลากรทส่ี ง่ ผลตอ่ ประสทิ ธิผลขององค์กรทางการศึกษาซ่ึงมีนักวิชาการหลายท่านกล่าวถึงองค์ประกอบท่ีสาคัญ ได้แก่ ป๎จจัยด้านบุคลากรมีผลต่อความสาเร็จองค์กร ได้แก่ บุคลิกภาพ ลักษณะเฉพาะของบุคคล การอบรมพัฒนา ตนเอง การได้รับการสนับสนุน ความคาดหวังในความสาเร็จของงาน ความผูกพันต่อองค์กร สร้างทัศนคติท่ีดี ความ เข้าใจและการยอมรับบทบาทของตนเอง (สุทธิพงษ์ยงศ์กมล, 2543) ขวัญกาลังใจ แรงจูงใจ ความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลกบั บุคคล รวมถึงความสัมพันธผ์ บู้ ริหารกบั ผู้ใต้บงั คบั บัญชาเป็นปจ๎ จยั หนึ่งที่มีผลต่อการบริหารองค์กรให้ประสบ ความสาเร็จ (พรทิพย์ สระบงกช, 2544) บรรยากาศ ความผูกพันต่อองค์กร ความคาดหมายคาดหวังต่อการทางาน ความสาเรจ็ ขององคก์ รแสดงถึงตอ้ งการของแต่ละบคุ คลมีผลทจี่ ะพาองค์กรสปู่ ระสทิ ธิผลที่มุง่ หวังไว้ (ภทั รพล มหาขันธ์ , 2545) ในการเลือกคัดสรรหาบุคลากร มีความรู้ความในการสอนและจัดกิจกรรมต่างๆในเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อผู้เรียน การพัฒนาตัวผู้สอนให้ทนั ตอ่ การเปล่ียนแปลงตลอดเวลา ฝกึ อบรมสร้างความเชย่ี วชาญในสาขาที่สอน (อุทัยวรรณ โช หน้า119

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ช่ืน, 2546) การได้รับการดูแลสนับสนุน บรรยากาศในการสร้างความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน ช่ือเสียงในความสาเร็จ การ ยอมรับ เปูาหมายและการคาดหวังในผลของงาน(จีรวรรณ ขรภูมิ, 2546) บุคลากรมีความสาคัญท่ีเป็นป๎จจัยในการ ส่งเสรมิ ใหอ้ งคก์ รประสบผลตามเปาู ประสงค์ จะตอ้ งประกอบด้วยกระบวนการตัง้ แต่การคดั เลือกบคุ คลจากบุคลิกภาพ ลกั ษณะกายภาพ ความรู้ความสามารถทตี่ ้องการ การพัฒนาการเรยี นรู้ ความคาดหวงั ในการความสาเร็จต่อผเู้ รียนและ องค์กร เข้าใจบทบาทที่ตนได้รับ มีทัศนคติท่ีดีต่อเพื่อนร่วมงาน(ปิติชาย ตันปิติ, 2547)และแนวคิดของAustin & Reynolds (1990) กล่าวถึงบุคลากรหรือพนักงานเป็นป๎จจัยท่ีสาคัญต่อความสาเร็จองค์กร เช่น บุคลิกภาพของ บุคลากร ทัศนคติของบุคลากร Caldwell & Spink (1996)กล่าวถึงป๎จจัยแสดงคุณภาพของผลลัพธ์ขององค์กรต้อง อาศัยความเข้าใจในการคัดเลือกบุคลากร ความเข้าใจและการยอมรับบทบาท ความรู้ความสามารถในการสอนเพื่อ ประสิทธิผลขององค์กรและซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของศักดิ์นิรันทร์ วงษ์ศรีแก้ว (2560) ได้ศึกษาป๎จจัยที่ส่งผลต่อ ประสิทธิภาพการบริหารสถานศึกษาเอกชนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานในจังหวัดยโสธร ผลการวิจัยพบว่าป๎จจัยด้ าน บุคลากรมผี ลตอ่ ประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลของการบริหารองค์กรทางการศึกษาอยู่ในระดับมาก ดังนั้นจึงกล่าวว่า ปจ๎ จัยดา้ นบคุ ลากรมคี วามสาคัญในต่อการบรหิ ารให้เกดิ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลรวมทั้งผลลัพธ์ของความสาเร็จ ขององคก์ รทางการศกึ ษา ปจั จัยสภาพแวดลอ้ มภายนอกองค์กรเปน็ ป๎จจัยทีแ่ สดงถึงสภาพแวดล้อมจากภายนอกขององคก์ รจากสภาพ ที่เปล่ียนแปลง ปรับเปลี่ยน หมุนเวียนอันส่งผลต่อประสิทธิผลขององค์กรทางการศึกษาซึ่งมีนักวิชาการหลายท่าน กล่าวถึงองค์ประกอบท่ีสาคัญ ได้แก่ ป๎จจัยภายนอกที่มีผลเชิงบวกและเชิงลบเป็นป๎จจัยความร่วมมือร่วมแรงจาก ภายนอก ความคาดหวงั จากสงั คมภายนอก การสนับสนนุ กาลังพลกาลงั ทรัพยจ์ ากภายนอกสคู่ วามสาเรจ็ ภายในองค์กร (สุทธิพงษ์ยงศ์กมล, 2543) องค์กรทางการศึกษาต้องพ่ึงพาอาศัย ความร่วมมือของชุมชน ความคาดหวังของชุมชน การสนบั สนนุ ของกลมุ่ ชมุ ชน รวมถงึ การเปลยี่ นแปลงทางสังคม เศรษฐกิจส่งผลตอ่ การบรหิ ารจดั การภายในขององค์กร (พรทิพย์ สระบงกช, 2544) สภาพแวดลอ้ มภายนอกเปน็ ป๎จจัยสาคัญในการพฒั นา การเปล่ยี นแปลงภายในองค์กร อัน เกิดจากความไม่แน่นอน ความเปล่ียนแปลง ความไม่สมดุลเนื่องจากสภาพสังคม เศรษฐกิจ สภาพการเมืองการ ปกครอง รวมถึงการบริหารงบประมาณท่ีจาเป็น (ภัทรพล มหาขันธ์, 2545) การสนับสนุนความร่วมมือจากบุคคล หนว่ ยงานรวมองคก์ รภายนอกท่ีจะชว่ ยเหลอื ทั้งวัสดุอุปกรณ์ กาลังแรง ทุนทรัพย์งบประมาณจานวนเงินที่เพียงพอให้ เกิดประสิทธผิ ลขององคก์ รตามตอ้ งการ (อทุ ยั วรรณ โชช่ืน, 2546) การเปลี่ยนแปลงภายนอกเป็นป๎จจัยท่ีมีผลกระทบ ตอ่ ภายในองคก์ ร ไม่วา่ จะเป็นเร่ืองเศรษฐกิจการเมืองการปกครอง รวมถึงปฎิสัมพันธ์ที่ดีต่อบุคคลและต่อองค์กรจาก ภายนอกที่แสดงถึงความคิดเห็นที่เป็นทั้งด้านดีและด้านลบ(ปิติชาย ตันปิติ, 2547)และซ่ึงสอดคล้องกับแนวคิดและ ทฤษฎีของ Donohue (1995) อธิบายว่าองค์ประกอบภายนอกขององค์กรมีผลต่อประสิทธิผลขององค์กรอย่างมาก เชน่ สภาพการเมือง สงคราม เศรษฐกิจท่ีปรับเปล่ียนตามกระแส Austin & Reynolds (1990)กล่าวถึงการได้รับการ สนับสนุนจากภายนอกหรือการดูแลจากสังคมรอบด้านจะทาให้เกิดการพัฒนาและเปล่ียนแปลงไปในทางท่ีดีขึ้น Sribner (1999)อธิบายว่าความร่วมมือจากสังคม ชุมชนและการได้รับสนับสนุนจากภายนอกจะทาให้ป๎จจัยภายใน เติบโต เพ่ิมพูนไปตามป๎จจัยภายนอกและยังสอดคล้องกับงานวิจัยของเจริญศรี พันปี (2553) ได้ทาวิจัยเร่ืองการ วิเคราะห์ป๎จจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีบริหาร งานตามกฎกระทรวงว่าด้วยการกระจาย อานาจการบรหิ ารและการจัดการศึกษา ผลการวิจยั พบวา่ ป๎จจยั ภายนอกมีผลต่อการบริหารองค์กรและจัดการศึกษา ใหเ้ กดิ ประสทิ ธิผลองค์กรอย่ใู นระดับมาก ดงั น้ันจึงถอื ได้วา่ ปจ๎ จยั ภายนอกมีผลและอทิ ธิพลตอ่ การบริหารองคก์ ร หน้า120

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) การทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกยี่ วข้องกบั ปจ๎ จยั ท่สี ่งผลต่อประสิทธิผลขององค์กรทางการศึกษาสามารถ สังเคราะหแ์ นวคิดและทฤษฏขี องนักวิชาการ ดงั แสดงในตาราง ดังต่อไปนี้ รายชือ่ นักวชิ าการ สุทธิพงษ์ยงศ์กมล (2543) ปัจจัยท่สี ่งผลตอ่ พร ิทพ ์ย สระบงกช (2544) ประสทิ ธิผลขององคก์ ร ภัทรพล มหา ัขน ์ธ (2545) ปจั จัยด้านกายภาพขององค์กร ุอ ัทยวรรณ โชช่ืน (2546) สถานที่ตง้ั จีรวรรณ ขรภู ิม (2546) อาคารสถานที่ ิป ิตชาย ัตน ิป ิต (2547) ความเพียงพอของวัสดุอุปกรณ์ Edmonds (1979) ทรัพยากร Chrispeel & Ann (1990) การใชเ้ ทคโนโลยี Austin & Reynolds (1990) สภาพแวดล้อม Donohue (1995) ปจั จยั ดา้ นการบรหิ ารงาน Caldwell & Spink (1996) ภาวะผ้นู าของผ้บู ริหาร Townsend (1997) โครงสร้างองคก์ ร Sribner (1999) การแบ่งงานตามความสามารถ ผลรวม ความ ่ีถราย ้ขอ หลกั สูตรและการสอน การสอ่ื สารและประสานงาน  2 วฒั นธรรมขององค์การ  2 ระบบการบริหารงาน     5 ปจั จัยดา้ นบุคลากร 2 บุคลิกภาพของบคุ ลากร   2 ความรู้ความสามารถในการสอน  3 ความเขา้ ใจและการยอมรบั บทบาท   ทัศนคติของบคุ ลากร 2 ขวญั กาลังและแรงจงู ใจของบุคลากร  3 ความคาดหวังในความสาเรจ็ 3 ความผูกพันตอ่ องคก์ ร   3 ปัจจัยด้านสภาพแวดลอ้ มภายนอก  5   3 2   2    3  3  3 2  3 2          หน้า121

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) รายช่อื นักวชิ าการ สุท ิธพงษ์ยงศ์กมล (2543) ปัจจัยทีส่ ่งผลตอ่ พร ิทพ ์ย สระบงกช (2544) ประสิทธผิ ลขององคก์ ร ภัทรพล มหา ัขน ์ธ (2545) ความรว่ มมือสนับสนุนของชมุ ชน ุอ ัทยวรรณ โชช่ืน (2546) การสนับสนนุ ของกลุ่มสนบั สนุน จีรวรรณ ขรภู ิม (2546) สภาพเศรษฐกิจ การเมือง ิป ิตชาย ัตน ิป ิต (2547) Edmonds (1979) Chrispeel & Ann (1990) Austin & Reynolds (1990) Donohue (1995) Caldwell & Spink (1996) Townsend (1997) Sribner (1999) ผลรวม ความ ่ีถราย ้ขอ   4    5    4 สรปุ สรุปได้จากการสังเคราะห์องค์ประกอบของประสิทธิผลขององค์กรทางการศึกษาซ่ึงประกอบด้วย คุณภาพ ของผลงานหรอื การปฏบิ ัติงาน ความเจริญงอกงามของนกั เรยี น การยอมรบั จากสงั คมและความพึงพอใจของผู้ร่วมงาน ซ่ึงเป็นส่วนสาคัญที่ทาให้องค์กรประสบความสาเร็จ และมีป๎จจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลขององค์กรตามแนวคิดและ ทฤษฎีของนักวิชาการหลายท่าน มีป๎จจัยที่สาคัญ ได้แก่ ป๎จจัยเก่ียวกับด้านกายภาพขององค์กร ได้แก่ สถานท่ีต้ัง อาคารสถานท่ี ความเพียงพอของวัสดุอุปกรณ์ทรัพยากรท่ีมีอยู่ การใช้เทคโนโลยีสภาพแวดล้อม ด้านการบริหารงาน ไดแ้ ก่ ภาวะผูน้ าของผบู้ ริหารโครงสร้างองค์กร การแบ่งงานตามความสามารถหลักสูตรและการสอนการสื่อสารและ ประสานงานวัฒนธรรมขององค์กรระบบการบริหารงานด้านบุคลากร ได้แก่ บุคลิกภาพของบุคลากร ความรู้ ความสามารถในการสอน ความเข้าใจและการยอมรับบทบาททัศนคติของบุคลากร ขวัญกาลังและแรงจูงใจของ บุคลากรความคาดหวงั ในความสาเร็จความผูกพนั ตอ่ องคก์ รและด้านสงิ่ แวดล้อมภายนอก ไดแ้ ก่ ความร่วมมอื สนับสนุน ของชุมชนการสนับสนุนของกลมุ่ สนบั สนุน สภาพเศรษฐกิจ การเมอื ง ส่วนประสิทธิผลขององค์กรเป็นการแสดงผลลัพธ์ ที่สะท้อนถึงความสาเร็จในการบรหิ ารในสถานศึกษา ได้แก่ โครงสร้างองคก์ รและเทคโนโลยี เช่น โครงสร้างองค์กร ผล ของการใช้เทคโนโลยี ลักษณะเฉพาะและทักษะของบุคลากร เช่น ระดับความพึงพอใจในงาน ความผูกพันกับงาน ความสามารถในการปฏบิ ัติงานของแตล่ ะบคุ คล นโยบายดา้ นการบรหิ ารและการปฏบิ ตั งิ าน เช่น ระบบการบริหารงาน พันธกิจ เปาู หมาย สงิ่ แวดล้อมภายนอกเชน่ เศรษฐกจิ เงือ่ นไขทางการตลาดการแข่งขันที่สงู หนา้ 122

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) จากบทสรุปองคป์ ระกอบป๎จจัยท่สี ง่ ผลต่อประสิทธผิ ลขององคก์ รทางการศกึ ษา แสดงดังภาพ ดังน้ี องค์ประกอบปัจจยั ทส่ี ่งผลต่อประสิทธิผลขององคก์ รทางการศึกษา ปจ๎ จัยดา้ นกายภาพขององค์กร(X1) ประสิทธิผลขององคก์ ร(Y) -คณุ ภาพของผลงานหรอื การปฏิบตั ิงาน สถานท่ตี ัง้ -ความเจริญงอกงามของนกั เรยี น อาคารสถานที่ -การยอมรบั จากสังคม ความเพียงพอของวสั ดุอปุ กรณ์ -ความพึงพอใจของผูร้ ่วมงาน ทรพั ยากร การใช้เทคโนโลยี สภาพแวดล้อม ป๎จจยั ด้านการบริหารงาน(X2) ภาวะผ้นู าของผบู้ รหิ าร โครงสรา้ งองค์กร การแบ่งงานตามความสามารถ หลกั สตู รและการสอน การสื่อสารและประสานงาน วัฒนธรรมขององค์การ ระบบการบริหารงาน ป๎จจัยด้านบคุ ลากร(X3) บคุ ลกิ ภาพของบุคลากร ความรู้ความสามารถในการสอน ความเข้าใจและการยอมรบั บทบาท ทศั นคตขิ องบุคลากร ขวัญกาลังและแรงจูงใจของบุคลากร ความคาดหวงั ในความสาเร็จ ความผกู พนั ตอ่ องคก์ ร ปจ๎ จัยดา้ นสภาพแวดล้อมภายนอก(X4) ความรว่ มมือสนบั สนุนของชมุ ชน การสนับสนุนของกลมุ่ สนับสนุน สภาพเศรษฐกจิ การเมอื ง หนา้ 123

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ขอ้ เสนอแนะ ผลที่ได้จากขอ้ ค้นพบดงั กลา่ วควรมีการพัฒนาเพ่ือสรา้ งเครอ่ื งมือวัดท่มี ีความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหาและสามารถ นาแบบจาลองที่พัฒนาขึน้ ไปทดสอบกับขอ้ มูลเชิงประจักษ์ เพ่อื ให้เปน็ แนวทางใหผ้ ู้ทีเ่ กี่ยวขอ้ งและผูท้ สี่ นใจนาข้อมูลไป ปรับใช้ในสถานศึกษา องค์ความรู้ใหม่ที่ได้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาป๎จจัยพ้ืนฐานในการบริหารเพื่อ ประสทิ ธิผลสาหรบั สถานศึกษาทุกสังกัด ส่วนผู้บริหารสถานศึกษาสามารถศกึ ษาองค์ประกอบของตัวแปรใดท่ีส่งผลต่อ ประสิทธิผลขององคก์ รเพื่อนาไปส่คู วามสาเรจ็ ในการบรหิ ารสถานศึกษา เอกสารอา้ งอิง วิ ท ย า ก า ร จั ด ก า ร ส ถ า บั น ร า ช ภั ฏ กัลยารัตน์ ธีระธนชั ยกุล.( 2562). พ ฤติก รร ม อุบลราชธานี. ธนาเศษฐ์ เพ็ชรกลาง. (2561). ปัจจยั ทส่ี ่งผล ต่ อ อ ง ค์ ก า ร แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า อ ง ค์ ก า ร . ประสิทธผิ ลการบริหารงานวชิ าการ ของโรงเรีย น กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น. ขยายโอกาสทาง การศึกษา สังกัดสานักงานเขต จีรวรรณ ขรภูมิ. (2546).ปัจจัยท่ีส่งผลต่อ พ้นื ท่ี การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3. ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น วิ ท ย า นิ พ น ธ์ ค รุ ศ า ส ต ร ม ห า บั ณ ฑิ ต . พ้ื น ฐ า น โ ร ง เ รี ย น เ อ ก ช น ค า ท อ ทิ ก สั ง ฆ มหาวิทยาลัยราชภฎั นครราชสมี า. มณฑลสุราษฎร์ธานี. วิทยานิพนธ์ ธีระ รญุ เจริญ (2550).ความเปน็ มอื อาชีพใน ก า ร ปริญ ญา มห าบั ณฑิ ต .บั ณฑิ ตวิ ทย าลั ย จัดการศึกษาและบรหิ ารการศึกษา ยุ ค ป ฏิ รู ป มหาวิทยาลัยราชภฏั สุราษฎรธ์ านี. การศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ข้าวฟุาง. เจรญิ ศรี พันปี. (2553). การวเิ คราะห์ปัจจัยที่ ส่ ง ผ ล ประเสรฐิ สมพงษ์ธรรม.(2545).วิเคราะห์ภาวะผู้ น า ต่อประสิทธผิ ลของสถานศกึ ษา ข้ั น พ้ื น ฐ า น ที่ ของศกึ ษาธิการจังหวดั ทีส่ มั พนั ธ์ กับประสิทธิผล บริหารงานตาม กฎกระทรวงว่าด้วยการกระจาย องค์การสานกั งาน ศึ ก ษ า ธิ ก า ร จั ง ห วั ด . อานาจ การบริหารและ ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า . วิทยานิพนธ์ปรญิ ญา ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา วิ ท ย า นิ พ น ธ์ ค รุ ศ า ส ต ร ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต . บรหิ ารการศึกษา คณ ะ ครุ ศา ส ต ร์ จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. มหาวิทยาลยั . ฐานันดรอ์ ากาศโชติ. (2543). ปจั จยั ที่สง่ ผลต่อก า ร ปติ ชิ ายตนั ปติ ิ. (2547). วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญา ดุ ษ ฎี ปฏบิ ตั ิงานของโรงเรียนตาม นโยบายของรัฐ บณั ฑิตภาควิชานโยบายการ จั ด ก า ร แ ล ะ ในโครงการโรงเรียนสี ขาวกรมสามัญศึกษา. ความเปน็ ผนู้ าทางการ ศึกษา. วิ ท ย า นิ พ น ธ์ วทิ ยานพิ นธ์ ปริญญามหาบัณฑิตภาควิชาวิจัย ปริญญาดษุ ฎีบัณฑติ ส า ข า วิ ช า บ ริ ห า ร และ จิ ต วิ ท ย า ก า ร ศึ ก ษ า ค ณ ะ ค รุ ศ า ส ต ร์ การศกึ ษาคณะครุ ศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . พรทิพย์ สระบงกช. (2544).ปัจจัยที่ส่งผ ลต่อ ทองใบสุดชารี. (2545). ทฤษฎีองค์การ: คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ใ น โ ร ง เ รี ย น วิ เ ค ร า ะ ห์ แ น ว ค ว า ม คิ ด ท ฤ ษ ฎี แ ล ะ ก า ร ประยุกต์.อุบลราชธานี: โรงพิมพ์คณะ หนา้ 124

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) มั ธ ย ม ศึ ก ษ า สั ง กั ด ก ร ม ส า มั ญ ศึ ก ษ า ใ น สุทธิพงษ์ยงศ์กมล. (2543).การวิเคราะห์ปัจจัย ภาคตะวันออก. วิทยานิพนธ์ปริญญา ท่ี ส่ ง ผ ล ต่ อ ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ข อ ง โ ร ง เ รี ย น ท่ี มหาบณั ฑิตมหาวิทยาลัย บูรพา. ใ ช้ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ เ ป็ น สื่ อ ก า ร ส อ น . ภทั รพล มหาขนั ธ.์ (2545).การศกึ ษา ประสทิ ธิผลของ วิ ท ย า นิ พ น ธ์ ป ริ ญ ญ า ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต ศูนยก์ ารเรียนรชู้ ุมชน ทางการศึกษา น อ ก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระบบโรงเรยี น : อนาคตภาพจากการประยุกต์ โมเดล สมการโครงสรา้ งและการสนทนา ก ลุ่ ม . เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์ (2540).ภาวะผู้นา\"ทฤษฎี วิ ท ย า นิ พ น ธ์ ป ริ ญ ญ า ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต แ ล ะ แ น ว ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร บ ริ ห า ร ภ า ค วิ ช า น โ ย บ า ย ก า ร จั ด ก า ร แ ล ะ ค ว า ม การศึก ษาหน่วยท่ี 5.(พิมพ์ครั้งท่ี 2). เป็นผู้นาทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ กรงุ เทพฯ : สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ราชกิจจานุเบกษา ( 2560). รัฐธรรมนูญ แห่ง อุ ทั ย ว ร ร ณ โ ช ชื่ น . (2546).ปั จ จั ย ท่ี ส่ ง ผ ล ต่ อ ราชอาณ าจัก รไทย เล่ม 124/ต อนที่ ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ข อ ง โ ร ง เ รี ย น สั ง กั ด 47 ก/หน้า 23/24. กรงุ เทพฯ : โรง พิ ม พ์ สานกั งานการประถมศกึ ษา จังหวดั ภ า ค สานกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี. วันชัย นพรัตน์ (2547). ภาวะผู้นาของผู้บริหาร ตะวนั ออก.วิทยานพิ นธป์ รญิ ญา ม ห า บั ณ ฑิ ต : โ ร ง เ รี ย น ที่ สั ม พั น ธ์ กั บ ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ข อ ง บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั บูรพา. โ ร ง เ รี ย น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า สั ง กั ด ส า นั ก ง า น A.P.Scribner. (1999). High performing คณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติใน เขตการศึกษา 12.วิทยานิพนธ์ปริญญา Hispanic school : An introduction. ม ห า บั ณ ฑิ ต ส า ข า วิ ช า ก า ร บ ริ ห า ร In P.Reyes, JD.Scribner and Lessons การศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. from high performing Hispanic schools ศักด์ินิรันทร์ วงษ์ศรีแก้ว. (2560). ปัจจัยท่ีส่งผล ต่ อ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร บ ริ ห า ร : Creating Learning communities. สถานศึกษาเอกชนระดับการศึกษาขั้น New York : Teachers College Press. พื้ น ฐ า น ใ น จั ง ห วั ด ย โ ส ธ ร . วิ ท ย า นิ พ น ธ์ Armstrong Scott.J.and other. (1989). ครุ ศา ส ต ร ม ห า บั ณ ฑิ ต . ม ห า วิ ท ย า ลั ย The Wharton School, University ร้อยเอด็ . of Pennsylvania, Philadelphia, PA, สุดาพร ทองสวัสด์ิและ สุจิตรา จรจิตร. (2556). United States การสังเคราะห์งานวิจัยเก่ียวกับปัจจัยที่ Austin, G.E., and Reynolds,L. (1990). มี อิ ท ธิ พ ล ต่ อ ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ข อ ง ก า ร Managing for improved school บริหารสถานศึกษา. วิทยานิพนธ์ effectiveness An international ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัย survey.SchoolOrganization. หาดใหญ่. Caldwell,B.J. and Spink,J.M. (1996).The Self Managing School : Adminstrative ScienceQuarterly. London : Tayor and Francis (Mimeographed). หน้า125

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) Caplow, T. (1964). Principles of Lunenburg and Ornstein. (2004). Educational administration : Organization. New York : conceptsand practices.Belmont, California. : Wadsworth Pub. Co. Harcourt, Brace and World. Mott, P.E. (1972). The Characteristic of Chrispeel, J. and Ann H. (1990). A Study Effective Organization. New York : Harper and Row. of Factors Contributing to Newmann, F and G. Wehlage. (1995). Achieving and Sustaining School Successful School Restructuring. Madison, WI : Center on Effective in Elementary School. Organization and Restructuring of Schools. University of DissertationAbstractsInternational. Wisconsin Madison. Donohue,J.W. (1995). See the Catholic Owens, R. (1998). A Dual Process Model of Perfectionism Based o schools walk a fiscal tightrope. Reinforcement Theory. Behavior Modification. National Catholic Education Parsons, Talcott. (1960). Administrative Association (NCE). Science Quarterly. Effective of size, Complexity and Ownership Edmonds. (1979). Behavior In Organization. in Administrative Intensity. New York : Holt, Rinchart & Winston. New York : McGraw - Hill. Reid and Other. (1988). Towards the Hoy and Miskel. (1991). Educational Effective School. Oxford : Basic Blackwell. administration,theory, research and practice. New York: McGraw- Hill. Hoy, W.K. and Furguson. J. (1985). A Theoretical Frame work and Exploration of Organizational Effectiveness in School. Educational Administration Quarterly. หนา้ 126

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) นวัตกรรมอาหารเพือ่ รองรบั การเข้าสู่สังคมผสู้ งู อายใุ นประเทศญป่ี นุ่ Food Innovation to Support the Japanese Aging Society วรพล อิทธิคเณศร1,จักรพันธ์ จตุพรพันธ์2, สปุ รียา สังขท์ อง3,ดวงดาว อาจสมบญุ 4, และปฐมนาถ จงรตั นากุล5 1วทิ ยาบัณฑิตศกึ ษาด้านการจดั การ 2-4สาขาวชิ าภาษาญีป่ ุนเพอื่ การสอ่ื สารธรุ กจิ [email protected], [email protected] [email protected], [email protected] [email protected], [email protected] บทคัดยอ่ บทความวิชาการ เรื่อง นวัตกรรมอาหารเพ่ือรองรับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุในประเทศญ่ีปุน รายงาน การศกึ ษาเกย่ี วกับ นวตั กรรมอาหารเพื่อก้าวไปสู่ความสาเร็จในการส่งออกแบบผลิตภัณฑ์อาหารในสังคมผู้สูงวัยใน ประเทศญ่ีปุน ข้อมูลจาก World Population Ageing โดยองค์การสหประชาชาติ,2560 ระบุว่า ญี่ปุนมีสัดส่วน ผู้สูงอายุมากที่สุดในโลก และเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสูงสุด (Hyper-Aged Society) หรือสังคมที่มีประชากร อายุ 65 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 20 ของจานวนประชากรทั้งหมด และผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นผู้หญิงญ่ีปุน ซึ่งจาก ข้อมูลนี้เองจึงเกิดแนวคิดท่ีดีในการพัฒนาอาหารเพื่อผู้สูงอายุ ที่เรียกว่า Universal Design Food เพื่อช่วย ผู้สูงอายุ ที่มีป๎ญหาในการเค้ียว การกลืน และการย่อยอาหาร สามารถรับประทานอาหารได้ และได้รับสารอาหาร อยา่ งครบถ้วนดว้ ย ซึ่งเปน็ แนวคดิ ทป่ี ระเทศอ่ืนควรเอาพฒั นารูปแบบอาหารท่ีจะส่งออกไปประเทศญ่ีปุน Universal Design Food แบ่งออกเปน็ 4 รูปแบบ ไดแ้ ก่ 1) กลุม่ เนือ้ สัมผัสอ่อนนุ่ม 2) กลุ่มโภชนาการครบถ้วน 3) กลุ่มผู้ท่ีมี โรคประจาตวั และ 4) กล่มุ ปญ๎ หาเร่ืองการกลืน อาหารทีม่ เี นื้อสัมผัสอ่อนนุ่ม ซึง่ เหมาะกับ ความสามารถในการเค้ียว ของผสู้ ูงอายซุ ่ึงแตล่ ะระดบั แบ่งเป็นอาหารทเี่ ค้ยี วง่าย, อาหารที่ใช้เหงือกบดอาหารกลืนได้, อาหารท่ีใช้ลิ้นบดอาหาร ได้ ซึ่งเป็นอาหารที่ออกแบบมาสาหรับผู้ที่มีโรคประจาตัว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง คอเลสเตอรอลสูง และ อาหารท่ีสามารถกลืนได้เลยโดยไม่ต้องเค้ียว ซึ่งเหมาะกับผู้ท่ีมีป๎ญหาในการควบคุมการกลืน อาหารที่มีโภชนาการ ครบถ้วน โดยอาหารกลมุ่ นี้จะใหค้ ณุ ค่าทางอาหารครบถ้วนเหมาะสาหรับผู้สูงอายุท่ีเบื่ออาหาร อาหารท่ีออกแบบมา เพอ่ื ผสู้ ูงอายุ ทมี่ โี รคประจาตวั เช่น โรคเบาหวาน ความดัน เป็นต้น อาหารท่ีเป็นสารที่มีความข้นหนืด เหมาะกับกลุ่ม ทม่ี ีป๎ญหาในเรอ่ื งของการควบคุมการกลนื คนญป่ี นุ จะชอบกนิ อาหารท่มี ลี ักษณะน่ิม เช่น เต้าหู้ หรือเน้ือปลา เป็นต้น นวตั กรรมอาหารสาหรบั ผู้สูงอายุ ต้องคานึงถงึ เรอ่ื งรูปลกั ษณ์ท่ีดีคณุ คา่ ทางจติ ใจ สัดสว่ นของโภชนาการเหมาะสม เน้น โปรตีนและใยอาหารเพื่อช่วยในการขับถ่าย เพราะหากผู้สูงอายุได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนเหมาะสม จะช่วยให้ หนา้ 127

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ผสู้ ูงอายมุ สี ุขภาพดี ไมป่ ุวยง่าย มีชีวิตยืนยาว ซึง่ ยอ่ มชว่ ยให้รัฐประหยัดงบประมาณในการรักษาพยาบาลผู้สูงวัยและ นาเงนิ ไปพัฒนาประเทศในดา้ นอ่ืนๆ ได้ คาสาคัญ : นวตั กรรมอาหาร , ผู้สงู อายุ , ผลิตภณั ฑอ์ าหาร , การออกแบบผลิตภัณฑ์อาหาร ABSTRACT The academic article on ―food innovation to support the aging society in Japan reports a study of food innovation to advance the success of food product design in the aging society in Japan. The data from World Population Ageing by the United Nations (2017) indicates that Japan has the highest proportion of elderly people in the world and the upper-aged society (Hyper-Aged Society) or a society with a population of 65 years or more, amounting to more than 20 percent of its total population. Most of elderly people mentioned from the information are Japanese women. Based on this information, the idea to develop food for the elderly Japanese called “Universal Design Food” to help the elderly with problems in chewing, swallowing and digesting has emerged. So that they can get sufficient nutrients. This could be a concept for other countries to adopt and develop food styles to export to Japan. The Universal Design Food can be group into four types: 1) soft texture group, 2) complete nutrition group, 3) group of people with underlying diseases, and 4) group of swallowing problems, consisting of food that has a soft texture suitable for the chewing ability of the elderly. Likewise, food that are designed for people with underlying diseases as diabetes, high blood pressure, high cholesterol, and also food that could be directly swallowed without chewing which is suitable for those who have trouble in swallowing food with complete nutrition. These groups of foods will provide full nutritional value with suitability for elderly people who are tired of food, designed for the elderly with congenital diseases such as diabetes, pressure, etc. Japanese people prefer consuming soft foods such as tofu or fish meat, etc. Food designers must consider the look, value, nutrition, protein, and fiber to help with excretion. Consumption of such food innovation will help the elderly to stay healthy, and protect them from illnesses, helping the state to save the budget for the treatment of elderly people and bring money to develop necessary aspects. Keywords: food innovation, elderly, food products, food product design หน้า128

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) บทนา พฤติกรรมการบรโิ ภคเปน็ ปจ๎ จัยที่ขึน้ อย่กู ับอายุของผู้บริโภค ป๎จจุบันประเทศญี่ปุนได้เร่ิมเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย (Aging Society) โดยข้อมูลจากสานักงานสถติ แิ หง่ ชาติ: 2560 ระบุว่า จานวนผู้สูงอายุในประเทศเพิ่มข้ึนเร่ือยๆ จาก ตวั เลขประชากรที่มีอายุมากกว่า 60 ปี มีจานวนมากถึงร้อยละ 15 หรือราว 10 ล้านคน ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ทางโครงสร้างประชากรคร้ังใหญ่ คือมีอตั ราการเกดิ ท่ลี ดต่าลง เพราะคนสมัยใหม่มบี ตุ รนอ้ ยลง รวมถึงวิวัฒนาการทาง การแพทยล์ า้ หน้าข้ึน คนไทยมีชีวิตยืนยาวมากย่ิงขึ้น อัตราการเสียชีวิตในแต่ละปีก็ลดลงตามไปด้วยโดยในอีก 20 ปี ข้างหน้าได้มีการคาดการณ์ว่าประชากรกลุ่มน้ีจะเติบโตขึ้นเป็น 3 เท่า และประเทศไทยจะกลายเป็นประเทศท่ีมี ผู้สูงอายุมากท่ีสุดเป็นอันดับสองในภูมิภาคอาเซียนเป็นรองเพียงแค่สิงคโปร์เท่านั้น ซึ่งเช่ือว่าสัดส่วนผู้สูงอายุใน ประเทศ ของเราจะพุ่งไปถึง 1 ใน 4 ของประชากรทั้งหมด ป๎ญหาท่ีตามมาของการเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย คือ ป๎ญหา ด้านทรัพยากรบุคคล เพราะจานวนคนวัยทางานจะลดลงตามไปด้วย บวกกับอัตราการเกิดที่ต่า ทาให้สัดส่วนของ ประชากรวัยเด็กลดลง และจะไม่เพียงพอต่อการทดแทนจานวนแรงงานในทุกอุตสาหกรรมทั้งภาครัฐ และเอกชน เพอื่ ทดแทนกับจานวนพนักงานที่ปลดเกษียณ เหน็ ไดจ้ ากการขยายกาหนดอายุเกษียณจาก 60 ปีเป็น 65 ปี ที่สาคัญ คนวยั ทางานต้องมีภาระหนักขน้ึ เพอ่ื ดูแลผูส้ งู อายุอุตสาหกรรมอาหารทีส่ ร้างความสะดวกเช่นอาหารพร้อมปรุงจะเข้า มามีบทบาทสาคัญ นอกจากนี้ขนาดครอบครัวที่เล็กลงนั่นหมายถึงผู้สูงวัยมีแนวโน้มที่จะต้องอยู่ลาพังมากข้ึนจึง ต้องการความสะดวกในการดาเนินชีวิตมากขึ้นด้วย ซึ่งป๎ญหาเหล่านี้หากไม่วางแผนรับมือให้ดีแล้วอาจจะก่อให้เกิด ป๎ญหาไดใ้ นระยะยาวท้งั ในด้านสงั คมและภาคเศรษฐกจิ จากผลกระทบความเป็นสงั คมผู้สงู วยั ของท้งั สองประเทศ สิ่งทจี่ ะชว่ ยใหผ้ ู้ประกอบการ สามารถยกระดับการ ผลิตสินค้าได้อย่างรวดเร็วในยุคของสังคมผู้สูงวัย คือ การนาเรื่อง “นวัตกรรมแบบเปิด” มาประยุกต์ใช้ในการผลิต สินค้าให้กับผู้บริโภคที่เป็นผู้สูงอายุซึ่งมีจานวนมากในป๎จจุบัน ซึ่งประเทศญี่ปุนเป็นประเทศแถวหน้าท่ีทาการแนว ทางการจัดสินค้าบริโภคที่เหมาะสมกับผู้สูงอย่างมีคุณภาพ ซึ่งมีความเหมาะสมในการศึกษาและเป็นต้นแบบในการ นามาพัฒนาการผลิตสนิ คา้ บรโิ ภคสาหรบั ผสู้ งู อายุในประเทศไทยได้ตอ่ ไป สังคมผสู้ ูงอายใุ นญีป่ ุ่น ญ่ีปุนกาลังอยู่ในช่วงการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) โดยจากข้อมูลของ United Nations World Population Ageing พบว่า หลังจากปี 2552 ประชากรท่ีอยู่ในวัยพ่ึงพิงได้แก่ เด็กและ ผ้สู ูงอายุ จะมีจานวนมากกว่าประชากรในวยั แรงงาน และในปี 2560 จะเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ท่ีประชากรเด็ก น้อยกว่าผสู้ ูงอายุ สถานการณ์น้ีเป็นผลมาจากการลดภาวะเจริญพันธ์อย่างรวดเร็ว และการลดลงอย่างต่อเนื่องของ ระดับการตายของประชากร ทาให้จานวนและสัดส่วนประชากรสูงอายุของไทย เพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็ว (World Population Aging, 2560) หน้า129

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) สงั คมผู้สงู อายุ (Aging Society) หมายถึง สังคมที่มีประชากรอายุ 60 ปีข้ึนไปที่อยู่จริงในพ้ืนที่ต่อประชากรทุกช่วงอายุในพ้ืนท่ีเดียวกัน ใน อตั ราเท่ากับหรอื มากกวา่ รอ้ ยละ 10 ขน้ึ ไป หรอื มีประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไปท่ีอยู่จริงในพ้ืนที่ต่อประชากรทุกช่วงอายุ ในพื้นท่เี ดียวกัน ในอัตราเท่ากับหรอื มากกว่าร้อยละ 7 ขึ้นไป(World Population Ageing, 2560) ความหมายของนวัตกรรม นวัตกรรม หมายถงึ ความคดิ การปฏบิ ตั แิ ละการกระทาใหม่ ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อนหรือการพัฒนาดัดแปลง มาจากของเดิมที่มีอยู่แล้วให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดีย่ิงขึ้น เม่ือนานวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้การทางานนั้นได้ผลดีมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลสงู กวา่ เดิม นวตั กรรม (Innovation) มีรากศัพท์มาจาก innovare ในภาษาลาติน แปลว่าทาส่ิงใหม่ข้ึนมา ความหมาย ของนวัตกรรมในเชงิ เศรษฐศาสตร์ คือ การนาแนวความคดิ ใหมห่ รือการใชป้ ระโยชน์จากส่ิงทมี่ ีอยู่แล้วมาใช้ในรูปแบบ ใหม่ เพ่ือทาให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ หรือการทาในส่ิงท่ีแตกต่างจากคนอื่น โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงต่าง (Change) ที่เกดิ ขนึ้ รอบตัวเราให้กลายมาเปน็ โอกาส (Opportunity) และถ่ายทอดไปสู่แนวความคิดใหม่ท่ีทาให้เกิด ประโยชนต์ ่อตนเองและสงั คม นวัตกรรมเป็นตวั แปรทีน่ าไปสู่การเปลี่ยนแปลงองค์กรด้านต่าง ๆ ในเชิงธุรกิจ ได้แก่ ความอยู่รอด การ เจริญเติบโต การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน การสร้างโอกาสทางธุรกิจใหม่และสมรรถนะหลัก ซึ่ง นวัตกรรมไม่ใช่แค่การพฒั นาสินค้าใหม่ เท่านั้น แต่เกี่ยวข้องกับการลดต้นทุน การแสวงหาแนวทางการตอบสนอง ความต้องการของตลาด การยกระดบั คุณภาพชีวติ และการสรา้ งคุณภาพเพ่ิม นวตั กรรมในยคุ แรก ๆ เกดิ จากการคิดค้นใหม่ท้ังหมด แต่นวัตกรรมในยุคใหม่เกิดจากการพัฒนาให้เป็นชิ้น ใหมท่ ่ีมมี ลู คา่ และสามารถนาไปใชใ้ นเชงิ พาณิชยไ์ ด้ องคป์ ระกอบของนวัตกรรม องค์ประกอบของนวัฒกรรมประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1)เป็นสิ่งใหม่ 2) เน้นใช้ความรู้ความคิด สรา้ งสรรค์ 3) เป็นประโยชน์ ตอ้ งตอบได้วา่ สงิ่ ทเ่ี ราสร้างเป็นอยา่ งไร 4) เป็นทยี่ อมรับ และ 5) มีโอกาสในการพฒั นา นวตั กรรมมี 4 ประเภท 1. Product innovation: การเปลีย่ นแปลงในผลิตภัณฑ์หรอื บริการ 2. Process innovation: การเปล่ยี นแปลงกระบวนการผลิตหรือกระบวน การนาเสนอผลติ ภัณฑ์ 3. Position innovation: การเปล่ียนแปลงรูปแบบของสินค้าหรือบริการเป็นการเปล่ียนตาแหน่งของ ผลิตภัณฑ์ โดยการสรา้ งการรับรู้และความเข้าใจในผลิตภัณฑต์ อ่ ลูกค้า 4. Paradigm innovation: การมงุ่ ให้เกิดนวัตกรรมท่เี ปลีย่ นแปลงกรอบความคดิ นวัตกรรมแบบก้าวกระโดด (Radical Innovation) จะมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการเป็นผู้นาตลาดของ ธุรกิจ ร่วมท้ังสามารถสร้างมูลค่างการตลาดและความเป็นอยู่รอดของธุรกิจได้มากกว่านวัตกรรมแบบค่อยเป็นค่อย ไป แตก่ ารพัฒนาอย่างตอ่ เน่ืองเป็นสิ่งสาคัญมากสาหรับองค์กร ซ่ึงทาให้เกิดนวัตกรรมใหม่หรือบริการใหม่ ๆ ข้ึน หนา้ 130

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) เกดิ การขยายตวั ในทางธุรกจิ มากขึ้นมีการลงทนุ มากข้นึ ท้ังในภาคการผลิตและภาคบริการ การเปล่ียนแปลงแบบเพ่ิม ผลกาไร (Incremental) น้ีเปรียบเสมือนการเสริมรากฐานของการเรียนรู้ให้ม่ันคงย่ิงขึ้น เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ จากการแกป้ ๎ญหาตา่ งๆ ซึ่งสามารถเพม่ิ ผลิตภาพขององค์กรไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิผล นวัตกรรมมีความสาคัญต่อการพฒั นาองคก์ ร ทอ้ งถ่นิ และประเทศอย่างไร นวัตกรรมมีความสาคัญต่อการพัฒนาองค์กร ท้องถิ่นและประเทศ คือ ความสาเร็จของ องค์กร ทอ้ งถ่ิน และประเทศน้นั จะต้องเกดิ ข้นึ จาก นวัตกรรมไม่ทางใดก็ทางหน่ึง ไม่ว่าจะเป็นนวัตกรรมทางด้าน สินค้า ด้านกระบวนการทางาน ด้านการให้บริการ ด้านการจัดการ หรือด้านการตลาด และการท่ีองค์กรจะ สามารถประสบความสาเร็จได้อย่างต่อเน่ืองจะต้องเกิดขึ้นจากนวัตกรรม องค์กรสามารถนานวัตกรรมทางด้านการ จัดการ ใหม่ ๆ มาประยุกต์ใช้ในองค์กรได้ ย่อมทาให้องค์กรมีความพร้อมและสามารถท่ีจะแข่งขันกับองค์กรอ่ืน ๆ ได้ ได้แก่ การนาหลกั การแนวคดิ และวิธีการใหมท่ างดา้ นการจดั การเข้ามาใช้ในการบริหารองค์กร ถ้าองค์กรที่ไม่ สามารถก่อให้เกดิ การเปลย่ี นแปลง และพัฒนาตวั เองจากสิ่งใหม่ ๆ ได้แล้วยากที่องค์กรน้ัน จะครองความเป็นหน่ึง ได้ \"นวตั กรรม\" มคี วามสาคัญอย่างยิ่งตอ่ ประเทศไทย ในการจะยืนอยู่บนเวทีโลกอย่างเข้มแข็ง ทั้งในมิติ ด้าน เศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนา ที่ยั่งยืน การปรับเทคโนโลยีใน กระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมสู่การทา นวัตกรรม เปน็ เรือ่ งที่จาเป็น โดยเมอ่ื เปรยี บเทียบกบั ประเทศเพื่อนบา้ น หรือประเทศที่พฒั นาแล้วพบว่า ขณะนี้ การ ใช้เทคโนโลยีท่ีคิดค้นเองในประเทศเพิ่งเร่ิมต้น จึงต้องมีการเร่งกระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยีและการสร้าง นวตั กรรมให้เกิดขนึ้ อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในด้านการจัดการทรัพย์สินทางป๎ญญา และการบริหารจัดการภายใต้ แนวคดิ และรูปแบบใหม่ ท้ังในภาคอุตสาหกรรมและระดับท้องถ่ิน โดยสร้างให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมระหว่าง ประชาชนกับหนว่ ยงานภาครฐั เพอ่ื ขับเคลอ่ื นใหเ้ กิดนวัตกรรมจานวนมากพอที่จะสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศไดอ้ ย่างรวดเร็ว วงจร การปฏิบัติงาน (Operation) การปรับปรุงแก้ไขงาน (Improvement) และนวัตกรรม มีความ เกย่ี วข้องกนั คือ นวตั กรรมเกดิ จากการปฏบิ ตั งิ านท่มี ีการวางแผนการดาเนินงานอย่างรอบคอบรวมถึงการกาหนดสิ่ง ท่ีต้องการปรับปรุงเปล่ียนแปลงการพัฒนาส่ิงใหม่ ๆ และนาส่ิงท่ีดาเนินการมาวิเคราะห์ ทบทวนและปรับปรุง ผลงานหรอื สงิ่ ประดษิ ฐจ์ นกลายมาเปน็ นวตั กรรมในที่สุด ความสาคญั ของอาหารกบั วยั ผสู้ ูงอายุ ผสู้ ูงอายมุ ีความตอ้ งการปริมาณอาหารลดลงจากวัยหนุ่มสาว แต่จาเป็นต้องได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอ เพ่ือซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ และสร้างความต้านทานโรค อาหารมีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิตของแต่ละคน ผู้ท่ีมี ภาวะทางโภชนาการดีมีสุขภาพแข็งแรง มีการดาเนินชีวิตท่ีดี ไม่เครียดจนเกินไป การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ภายใน รา่ งกายจะเป็นไปอย่างช้าๆ ทาให้ไม่ค่อยแก่ ในทางตรงกันข้ามผู้ท่ีมีภาวะโภชนาการไม่ดี เจ็บปุวยดื่มสุรา มีน้าหนัก มากหรือนอ้ ยเกนิ ไป รา่ งกายจะเสือ่ มโทรมเร็วทาให้แก่เรว็ สาหรับปญ๎ หาเรื่องอาหารการกนิ หรอื โภชนาการในวัยนี้ มี ขอ้ คดิ อยวู่ ่า ขอให้รับประทานอาหารใหค้ รบหมู่ และควบคมุ ปริมาณโดยดจู ากการควบคุมน้าหนักตัวไม่ให้มากขึ้น และ ในกรณนี า้ หนักเกนิ อยแู่ ลว้ ควรจะลดนา้ หนักใหล้ งมาตามท่ีควรเป็นดว้ ย เพราะโครงสร้างของท่านเสื่อมตามวัย ถ้ายัง หนา้ 131

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ต้องแบกน้าหนักมากๆ จะเปน็ ปญ๎ หาได้ ผสู้ งู อายุงมกั มกี ารขาดอาหารได้งา่ ย เนอื่ งจากเมอ่ื ยา่ งเข้าส่วู ยั ผู้สูงอายุ ย่อมมี การเปล่ียนแปลงทางสภาวะร่างกาย สังคม และเศรษฐกิจ อันอาจนาไปสู่ภาวะทุโภชนาการได้ เช่น ผู้สูงอายุท่ีมีโรค ประจาตวั อาจจะเปน็ อุปสรรคในการไปหาซื้ออาหารขา้ งนอก หรือแมแ้ ต่การจะประกอบอาหารด้วยตนเอง การท่ีต้อง อยู่บ้านคนเดียว ขาดการติดต่อกับสังคมภายนอก ก็ปล่อยปละละเลยในเรื่องอาหารการกิน จนถึงป๎ญหาท่ีต้องใช้ จ่ายเงินอย่างระมดั ระวงั เพราะรายได้ลดลงหรือไม่มีเลย เนื่องจากต้องออกจากงานประจาท่ีเคยทาอยู่ ผู้สูงอายุบาง รายหนั เขา้ หาเครือ่ งด่มื ประเภทแอลกอฮอล์ เนื่องจากการเปล่ียนแปลงทางสังคม หรือป๎ญหาทางจิตใจ เมื่อผู้สูงอายุ ดมื่ สรุ ามาก ทาใหร้ า่ งกายหนั มาใช้พลังงานจากแอลกอฮอล์ ทาให้มีอาการเบื่ออาหาร และขาดสารอาหารอย่างอ่ืนที่ จาเป็น ที่สาคัญเช่น วิตามินบีหนึ่ง กรดโฟลิค เป็นต้น นอกจากน้ันโรคประจาตัวเร้ือรังที่มักพบในผู้สูงอายุก็ทาให้มี อาการเบื่ออาหาร หรือทาให้ร่างกายต้องการสารอาหารมากกว่าปกติ ผู้สูงอายุจึงเป็นกลุ่มที่มีการขาดอาหารได้ง่าย กว่ากลุม่ ประชากรอ่นื ๆ แนวคิดด้านการพฒั นาอาหารเพ่ือผสู้ งู อายุ ประเทศญ่ปี นุ ถือวา่ เปน็ ตน้ แบบที่ดเี ร่ืองการพัฒนานวัตกรรมเพอื่ ผูส้ งู วยั ไม่วา่ จะเป็นเคร่ืองมือทางการแพทย์ อุปกรณเ์ ครือ่ งใชภ้ ายในบา้ น เฟอร์นิเจอร์ บรรจุภัณฑ์ รวมท้ังผลิตภัณฑ์อาหารเชิงสุขภาพสาหรับผู้สูงอายุท่ีมีป๎ญหา เร่อื งการเคย้ี วและการกลนื ญี่ปุนมีแนวคิดพัฒนาอาหารเพื่อผู้สูงอายุท่ีเรียกว่า \"Universal Design Food\" เพื่อช่วยให้ผู้สูงอายุที่มี ปญ๎ หาในการเค้ยี ว การกลืน และการย่อยอาหาร รับประทานอาหารได้และได้รบั สารอาหารอยา่ งครบถว้ น โดยแนวคิด ดังกล่าวก่อต้ังโดยสมาคมจัดการดูแลอาหารของผู้สูงอายุ(Japan Care Food Conference) โดยกาหนดรูปแบบ อาหารทเ่ี ป็น Universal Design Food แบ่งออกเปน็ 4 รูปแบบ ได้แก่ 1) กลุ่มเนื้อสัมผัสอ่อนนุ่ม 2) กลุ่มโภชนาการ ครบถว้ น 3) กลุ่มผทู้ ี่มีโรคประจาตัว และ 4) กลุ่มป๎ญหาเร่อื งการกลนื  อาหารท่ีมีเนื้อสัมผัสอ่อนนุ่ม ซ่ึงเหมาะกับความสามารถในการเค้ียวของผู้สูงอายุซ่ึงแต่ละระดับ แบ่งเป็น อาหารที่เคี้ยวง่าย, อาหารท่ีใช้เหงอื กบดอาหารกลนื ได้, อาหารท่ีใชล้ ้ินบดอาหารได้ ซ่ึงเป็นอาหารท่ีออกแบบ มาสาหรบั ผทู้ ีม่ โี รคประจาตวั เชน่ เบาหวาน ความดันโลหติ สูง คอเลสเตอรอลสูง และอาหารที่สามารถกลืน ได้เลยโดยไมต่ ้องเคย้ี ว ซึ่งเหมาะกับผทู้ ม่ี ีปญ๎ หาในเรอื่ งของการควบคุมการกลนื  อาหารท่มี โี ภชนาการครบถว้ น โดยอาหารกลุม่ นี้จะให้คณุ ค่าทางอาหารครบถ้วนใน 1 หน่วยบริโภค เหมาะ สาหรับผ้สู ูงอายุทเ่ี บ่ืออาหาร  อาหารทอี่ อกแบบมาเพอื่ ผู้สงู อายทุ ่ีมโี รคประจาตัว เชน่ โรคเบาหวาน ความดัน เปน็ ต้น  อาหารทเ่ี ป็นสารที่มคี วามขน้ หนืด เหมาะกับกลมุ่ ทม่ี ปี ๎ญหาในเรอ่ื งของการควบคุมการกลืน จากการกลุ่มข้างต้น สินค้าบริโภคที่ลงทะเบียนว่าเป็นสินค้า \"Universal Design Food\" จะติดสัญลักษณ์ เคร่ืองหมายแสดงดังภาพท่ี 2 หน้า132

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ภาพท่ี 2 สัญลกั ษณ์เครื่องหมาย Universal Design Food แหลง่ ท่มี า สมาคมจัดการดูแลอาหารของผสู้ งู อายปุ ระเทศญปี่ ุนhttps://www.udf.jp/outline/udf.html จากภาพท่ี 2 เป็นสัญลักษณ์เครื่องหมายแสดงถึงสินค้าน้ีเป็นสินค้า Universal Design Food ซ่ึงเหมาะสาหรับ ผู้สูงอายุ และใต้สัญลักษณ์จะเขียนคาอธิบายคุณลักษณะของอาหารชนิดนั้น เช่น ในภาคที่ 2 “舌でつぶせ る” แปลว่า ละลายไดด้ ว้ ยลน้ิ ทาใหผ้ บู้ ริโภคท่ีมีป๎ญหาด้านการเคี้ยวอาหารมีความม่ันใจว่าผลิตภัณฑ์น้ีสามารถกิน โดยใช้แค่ลิ้นละลายได้ สาหรับในประเทศไทย นวัตกรรมอาหารสาหรับผู้สูงอายุอาจจะยังไม่เทียบเท่าญ่ีปุน แต่มีการวิจัยและพัฒนา อาหารตน้ แบบสาหรบั ผูส้ ูงอายทุ ่ีมภี าวะโรคเบาหวาน โรคมะเร็ง โรคความดนั โลหติ ซึง่ เอม็ เทคคาดว่าในอีก 2-3 ปี น่า ผลติ อาหารสาหรับผู้ปวุ ยสูงอายไุ ด้สาเร็จ รวมทงั้ \"เจลลโ่ี ภชนา\" หรอื \"อาหารเจล\" ตามโครงการอาหารพระราชทาน ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัว เพอื่ ช่วยผ้ปู ุวยทม่ี ีปญ๎ หาในการเค้ยี ว การกลนื โดยเฉพาะผปู้ ุวยมะเร็งในช่องปาก ท่ี สามารถนามาปรับให้กับผสู้ ูงวัยทม่ี ปี ญ๎ หาเร่ืองการเคี้ยวการกลืนได้ นอกจากนี้ ประเทศไทยได้ให้ความสนใจกับการผลิตอาหารเพ่ือผู้สูงอายุ เช่น สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยแี หง่ ประเทศไทย (วว.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเปิดตัวผลิตภัณฑ์อาหารพร้อมบริโภคสาหรับ ผู้สูงอายุ ประกอบด้วย ผลติ ภณั ฑ์อาหารมื้อหลัก อาหารว่าง และเครื่องดืม่ ระบมุ คี ณุ คา่ ทางโภชนาการเป็นผลิตภัณฑ์ อาหารทสี่ ะดวกตอ่ การบรโิ ภคเหมาะกับ 5 โรคฮิตที่พบในผ้สู งู อายไุ ด้แก่ ภาวะโรคเบาหวาน ภาวะโรคหัวใจและหลอด เลอื ด ภาวะโรคขอ้ (เกาต)์ ภาวะโรคกระดูกพรุน ภาวะโรคสมองและระบบประสาทพร้อมถา่ ยทอดเทคโนโลยีการผลิตสู่ เชงิ พาณิชย์ สร้างความเขม้ แข็งผปู้ ระกอบการดว้ ยผลงานนกั วจิ ัยไทย ยกระดบั คุณภาพชวี ติ ของประชาชนให้ดขี ึน้ นวตั กรรมเหล่านี้ลว้ นเปน็ ตนแบบท่ีน่าสนใจสาหรับภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทยในการผลิตอาหารสาหรับ ผ้สู ูงอายอุ อกมาเพอื่ จาหน่ายและสง่ ออกในสังคมผสู้ ูงวัยในญี่ปนุ ในอนาคต สรปุ ปญ๎ หาทางดา้ นโภชนาการและการรับประทานอาหารของผู้สูงอายุในประเทศญ่ีปุนและประเทศอ่ืนๆท่ีกาลัง เข้าสู่สงั คมผู้สงู วยั มีผลมาจากความเสื่อมทางด้านสรีระ โดยเฉพาะระบบการย่อย และดูดซึมอาหารของผู้สูงอายุเอง หนา้ 133

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ภาวะการเปลี่ยนแปลงทางการดารงชีวิต เช่น สภาพทางเศรษฐกิจด้วยลง กิจกรรมในชีวิตประจาวัน หรือการพบปะ สังสรรค์ทางสงั คมน้อยลงก็ทาให้ผู้สูงอายุเกิดอารมณ์เศร้าซึม หรือแม้กระทั่งป๎ญหาการเบื่ออาหาร เนื่องจากรับรู้รส อาหารด้อยลง การเลือกรับประทานอาหารโดยไมค่ านงึ ถึงประเภทที่หลากหลาย และความครบถ้วนของสารอาหารท่ี ควรได้รบั หรือไมค่ วรได้รบั มากนอ้ ยเกนิ ไป โรคขาดสารอาหาร หรือภาวะบกพร่องทางอาหาร เป็นป๎ญหาที่พบบ่อยใน ผู้สูงอายุ ทั้งนี้มีสาเหตุมาจากการยึดม่ันอยู่กับการกินท่ีไม่ถูกต้อง ขาดแคลนเงินซ้ืออาหาร ไม่มีความอยากอาหาร ระบบการยอ่ ยและดูดซมึ เสื่อมสภาพ และอารมณ์ทีผ่ นั แปร วา้ เหว่ วติ กกงั วล ทาใหค้ วามอยากอาหารลดลง แนวคิดท่ี ดีในการพัฒนานวัตกรรมอาหารเพ่ือผู้สูงอายุ ที่เรียกว่า Universal Design Food เพ่ือช่วยผู้สูงอายุ ที่มีป๎ญหาใน การเค้ียว การกลืน และการย่อยอาหาร สามารถรับประทานอาหารได้ และได้รับสารอาหารอย่างครบถ้วนด้วย ซ่ึง เป็นแนวคิดที่ประเทศอ่ืนควรเอาพัฒนารูปแบบอาหารที่จะส่งออกไปประเทศญ่ีปุน Universal Design Food แบ่ง ออกเป็น 4 รูปแบบ ได้แก่ 1) กลุ่มเน้ือสัมผัสอ่อนนุ่ม 2) กลุ่มโภชนาการครบถ้วน 3) กลุ่มผู้ที่มีโรคประจาตัว และ 4) กลุ่มป๎ญหาเรือ่ งการกลืน อาหารทีม่ เี นื้อสัมผัสอ่อนนุ่ม ซ่งึ เหมาะกับ ความสามารถในการเคีย้ วของผู้สูงอายุซึ่ง แต่ละระดับ แบ่งเป็นอาหารท่ีเคี้ยวง่าย, อาหารท่ีใช้เหงือกบดอาหารกลืนได้, อาหารท่ีใช้ล้ินบดอาหารได้ ซ่ึงเป็น อาหารท่ีออกแบบมาสาหรับผู้ที่มีโรคประจาตัว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง คอเลสเตอรอลสูง และอาหารท่ี สามารถกลนื ได้เลยโดยไม่ต้องเคี้ยว ซ่ึงเหมาะกับผู้ที่มีป๎ญหาในการควบคุมการกลืน อาหารที่มีโภชนาการครบถ้วน โดยอาหารกลุ่มนี้จะให้คุณค่าทางอาหารครบถ้วนเหมาะสาหรับผู้สูงอายุท่ีเบ่ืออาหาร อาหารที่ออกแบบมาเพื่อ ผ้สู งู อายุ ทม่ี โี รคประจาตัว เช่น โรคเบาหวาน ความดัน เป็นต้นอาหารท่ีเป็นสารที่มีความข้นหนืด เหมาะกับกลุ่มท่ีมี ป๎ญหาในเร่ืองของการควบคุมการกลืน คนญี่ปุนจะชอบกินอาหารท่ีมีลักษณะน่ิม เช่น เต้าหู้ หรือเน้ือปลา เป็นต้น นวตั กรรมอาหารสาหรับผ้สู ูงอายุ ตอ้ งคานึงถึงเรื่องรูปลักษณ์ท่ีดคี ณุ ค่าทางจติ ใจ สัดสว่ นของโภชนาการเหมาะสม เน้น โปรตีนและใยอาหารเพื่อช่วยในการขับถ่าย เพราะหากผู้สูงอายุได้รับสารอาหารท่ีครบถ้วนเหมาะสม จะช่วยให้ ผสู้ งู อายุมีสขุ ภาพดี ไม่ปุวยง่าย มีชวี ติ ยืนยาว ซงึ่ ย่อมช่วยให้รัฐประหยัดงบประมาณในการรักษาพยาบาลผู้สูงวัยและ นาเงินไปพัฒนาประเทศในดา้ นอื่นๆ ได้ เอกสารอ้างองิ https://www.mhesi.go.th/main/th/3 4-news/news-gov/4408-5-sp-13249 กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2558).วว. ขวญั เชิญ ภาคฐิน. (2550). ปจั จัยทม่ี คี วามสัมพันธ์ เปดิ ตวั ผลติ ภณั ฑอ์ าหารพรอ้ มบรโิ ภค ต่อความสาเรจ็ ของการประกอบการ เหมาะกบั 5 โรคฮติ ทพ่ี บใน อุตสาหกรรมอาหารขนาดกลางและ ผสู้ ูงอายุ.[Online], สบื คน้ เมอ่ื 23 ขนาดยอ่ ม. กรุงเทพมหานคร: พฤศจิกายน 2561. หน้า134

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาโท อาหารการกนิ ในวยั สูงอาย.ุ [Online], สืบค้นเมอื่ 23 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พฤศจิกายน 2561. ความหมายนวัตกรรม. [Online], สบื คน้ เม่ือ23 http://www.bangkokhealth.com/healt พฤศจกิ ายน h/article 2561. http://salc.trang.psu.ac.th/index .php/14-2013-06-06-06-30-05 อาหารและสขุ ภาพ[Online], สบื ค้นเมอื่ 23 พฤศจกิ ายน สมาคมจดั การดูแลอาหารของผู้สูงอายปุ ระเทศญ่ีปุน 2561. (Japan Care Food Conference). http://www.khonthai.com/Vitithai/food.thml Euromonitor International (2009) Consumer \"Universal Design Food\" คอื อะไร (ユ Lifestyles. Japan. ニバーサルデザインフー Handheld, R. B., & Nichols, E. L. Jr. (1998). An ドとは). [Online], สืบคน้ เม่อื 29 Introduction to supply chain มกราคม 2563. management. NJ: Prentice Hall, https://www.udf.jp/outline/udf.html Upper Saddle River. สถาบนั เวชศาสตรผ์ ู้สงู อายุ กรมการแพทย์ World Population Aging: 1950-2050 of Department of Economic and กระทรวงสาธารณสขุ อาหารสาหรบั Social Affairs. [Online], 23 ผู้สูงอายุ. [Online], สืบค้นเมอ่ื 23 November 2018. Available พฤศจิกายน fromhttp://www.un.org/esa/popula 2561.http:// www.studentchula.ac.t tion/publications/worldageing19502 h/~ 49370781/adult.htm 050/pdf/91chapterv.pdf อาหารและโภชนาการสาหรบั ผูส้ ูงอาย.ุ Frese, Michael. (2000), Success and failure [Online],สบื คน้ เมอ่ื 23 พฤศจิกายน of microbusiness Owners in 2561. http://www.stou.ac.th/ANU/Hea Africa:A Psychological Approach. lthy thaiteen/HTT/Howang/c 13.htm United States of America: Greenwood PublishingGroup. หนา้ 135

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ผลการจัดการเรยี นรู้โดยใชบ้ ทเรียนออนไลนแ์ บบ google classroom ท่ีมีตอ่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น วทิ ยาศาสตร์ และคณุ ลกั ษณะใฝ่รู้ใฝเ่ รยี นสาหรบั นกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรียนสาธติ มหาวิทยาลัยศรนี คริ นทรวโิ รฒ ปทุมวัน The Effect of Learning Management by Using google classsroom Online Lessons on Science Learning Achievement and Learning PursuingCharacteristics for Student in Mathayomsuksa I of Patumwan Demonstration School, Srinakharinwirot University. ศริ ิลักษณ์ คงมนต์ สุนทร ภรู ีปรีชาเลศิ และอาจารย์กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ปทมุ วนั E-mail [email protected]. บทคดั ยอ่ การศกึ ษาวจิ ยั คร้ังนี้มีจุดมงุ่ หมายเพื่อศกึ ษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์และคุณลักษณะใฝุรู้ใฝุเรียน ของนกั เรยี นหลงั จากไดร้ ับการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชบ้ ทเรียนออนไลน์แบบ google classroom กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ีเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวนั จานวน 50 คน จากจานวนนักเรียน 349 คน ซึ่งได้มาโดยการ สุ่มแบบกลุ่ม จากนั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนออนไลน์แบบ googleclassroom เครื่องมือท่ีใช้ในการ ทดลอง ไดแ้ ก่ แผนการจดั การเรยี นรผู้ ่าน google classroom จานวน 7 แผนการจดั การเรียนรู้ และเครื่องมือที่ใช้ใน การเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ มีค่าดัชนีความสอดคล้อง ระหว่าง 0.67 – 1.00 ค่าอานาจจาแนกตั้งแต่ 0.40– 0.83 และคา่ ความยากตงั้ แต่ 0.20 – 0.80 และมีความเชื่อมั่นท้ัง ฉบับเท่ากับ 0.82 แบบวัดคณุ ลักษณะใฝรุ ใู้ ฝุเรียน มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.67 - 1.00 และค่าความเชื่อม่ัน โดยใชส้ ูตรสมั ประสทิ ธิแ์ อลฟามคี า่ เท่ากบั 0.84 สถติ ทิ ี่ใช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูลคือค่าเฉล่ยี และคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศกึ ษาพบวา่ 1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 32.14 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4.21 อยใู่ นระดับดีมาก 2. ค่าเฉลย่ี เทา่ กบั 205.07 คา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 21.76 อยู่ในระดับดี เมอื่ พิจารณาเป็นรายด้านเรียง จากมากไปนอ้ ยคือ ความอยากรู้อยากเห็นและความเพียรพยายาม ความมีเหตุผล การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ความตั้งใจอย่างมีสติ และกล้าคดิ รเิ รม่ิ ตามลาดับ คาสาคญั : บทเรยี นออนไลน์ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ คณุ ลกั ษณะใฝรุ ใู้ ฝุเรยี น หน้า136

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ABSTRACT The purpose of this research was to study learning achievement in science and student learning characteristics after learning management by using google classroom online lessons. The samples used in this research were 50 from 349 of Mathayomsuksa 1 students in the second semester of the academic year 2018 at the Patumwan Demonstration School selected by random sampling method. The statistics used for data analysis were mean and standard deviation. The study found that 1. The average achievement scores of students in science is 32.14 and the standard deviation is 4.21 which is at a very good level. 2. The average of Avidity for learning score of Mattayomsuksa 1 students is 205.07 and Standard deviation is 21.76 Considered in descending order; Curiosity, Perseverance, Reasoning, Self-study, Intension, Initiation. KEYWORDS: Learning Management by Using google classsroom Online Lessons Science Learning Achievement and Learning Pursuing Characteristics for Student บทนา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กาหนดเปูาหมายของการจัดการศึกษาว่า “การจัดการ ศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกัน” (หมวด 2 มาตรา 10) โดยมีแนวทางการจัดการศึกษาท่ีมุ่งเน้นให้ ผเู้ รยี นทุกคนต้องสามารถเรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองได้และถือว่า ผู้เรียนสาคัญท่ีสุดการจัดการศึกษาต้องคานึงถึงความ แตกต่างระหว่างบุคคล และมีการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียน การสอนได้อย่างเหมาะสม (กระทรวงศึกษาธิการ. 2542 : 12) ซึ่งในป๎จจุบันการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนและการสอนท่ีเน้นและให้ความสาคัญกับผู้เรียน โดยยึด ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่มีเป็นไปในลักษณะของการเรียนรู้ตลอดชีวิต ( Long life education) ส่งผลต่อรูปแบบการจัดการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเร่ืองของส่ือการเรียนการสอนท่ีเป็น องค์ประกอบที่สาคัญในระบบการเรียนการสอนน้ัน จึงต้องมีการปรับเปลี่ยนไป เพ่ือให้สอดคล้องกับเปูาหมาย และ แนวทางการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ประกอบกับในป๎จจุบันกระทรวงศึกษาธิการ ได้ เล็งเห็นความสาคัญของการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communications Technology : ICT) มาใช้เป็นเครื่องมือสาคัญและเป็นประโยชน์ต่อการยกระดับคุณภาพการศึกษา ช่วยเพ่ิม ประสิทธิภาพการเรียนการสอนได้อย่างรวดเร็ว รวมท้ังยังช่วยแก้ป๎ญหาความไม่เท่าเทียมทางการศึกษาอีกด้วย (สานักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ. 2557 : ออนไลน์)ครูจึงต้องพร้อมท่ีจะปรับตัวและพัฒนาตนเองให้เท่าทัน เทคโนโลยีอยเู่ สมอ รจู้ กั นาเทคโนโลยีท่ีมีอยู่มาปรับใช้เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการเรียนการสอน เช่น การสืบค้นเนื้อหา หน้า137

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) สาระหรือเหตกุ ารณท์ ีเ่ กีย่ วข้องกบั เนอ้ื หาบทเรียน การพัฒนาสอ่ื การเรียนรู้ เป็นต้น และต้องมีความกระตือรือร้นที่จะ พัฒนาความรู้และทักษะของตนอยู่เสมอ โดยอาศัยเทคโนโลยีเป็นเคร่ืองมือช่วยในการพัฒนาตนเอง เรียนรู้เทคนิค รูปแบบ และวิธกี ารเรียนการสอนทมี่ ีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับลักษณะของนักเรียน การบริหารจัดการชั้นเรียน เป็นสิ่งสาคัญที่ช่วยให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ ในยุคท่ีเทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องนั้น ได้มีความ พยายามในการพัฒนาเครื่องมือ (Tools) ที่จะช่วยให้ผู้เรียนกับผู้สอนเกิดความสะดวก รวดเร็ว และ ประหยัด ทรพั ยากร ท่ตี อ้ งใช้ในการเรยี นการสอน ในขณะเดียวกันก็ทาให้การเรียนการสอนท่ีมีความน่าสนใจเหมาะกับยุคสมัย ปจ๎ จบุ ัน ซง่ึ ไม่มคี า่ ใช้จา่ ยใดๆ ดงั ในงานวจิ ยั นไ้ี ดใ้ ชร้ ะบบของ google classroom ซึ่งมีประโยชน์หลากหลายได้ในการ จดั การเรยี นรู้ อาทเิ ชน่ ประหยัดเวลาในการจดั การเรียนรู้, ส่งเสริมการส่ือสารและทางานรว่ มกันระหว่างนักเรียนได้ทุก ท่ีทุกเวลา, มีระบบสนับสนุนและช่วยเหลือในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในระบบออนไลน์ที่ทันสมัย เป็นต้น ซึ่ง เหมาะสมอยา่ งยงิ่ กบั บรบิ ทของนกั เรียนโรงเรยี นสาธิตมหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน ซึ่งสามารถใช้งานระบบ อินเทอร์เน็ตที่โรงเรียนจัดให้แบบครบวงจร เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในรูปแบบที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพผ่านระบบ ออนไลนใ์ นทุกระดบั ชน้ั คุณลักษณะใฝุรู้ใฝุเรยี นเปน็ คุณลักษณะท่ีสาคญั ของผ้เู รยี นทค่ี วรสง่ เสรมิ ใหร้ ักการเรียนรู้เพ่ือให้สามารถอยู่ใน สงั คมการเรียนร้ไู ด้อย่างมคี วามสขุ (อารี พันธ์มณี , 2540) ประโยชนข์ องคณุ ลกั ษณะใฝุรู้ใฝุเรียนจะสร้างศักยภาพใน การนาชีวิตไปสู่ความสาเร็จเป็นคุณลักษณะท่ีพบเห็นโดยท่ัวไปในแบบประเทศท่ีพัฒนาแล้วทั่วโลกแต่แทบจะไม่มีใน สงั คมไทย รากฐานความรู้ของคนไทยจึงออ่ นแอ ไมส่ ามารถแข่งขันกับผู้อ่ืนได้ ความไม่ใฝุรู้ใฝุเรียนของคนไทยในสังคม นอกจากจะนาความพ่ายแพ้มาสู่ชีวิตแต่ละคนแล้วยังส่งผลเสียต่อชาติบ้านเมืองอีกด้วย (เกรียงศักด์ิ เจริญวงศ์ ศักดิ์, 2543) ผูว้ จิ ัยในฐานะของอาจารย์ผู้สอนวชิ าวทิ ยาศาสตร์มาเปน็ ระยะเวลากว่า 10 ปตี ้องการท่จี ะศกึ ษาวา่ การจดั การ เรียนรู้โดยใช้บทเรียนออนไลน์แบบ google classroom ส่งผลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์และ คุณลักษณะใฝรุ ู้ใฝุเรียนของนักเรียนหรือไม่จึงดาเนินการศึกษาวิจยั เรื่องดังกล่าว วตั ถุประสงคข์ องโครงการวิจัย 1. เพอื่ ศึกษาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวิทยาศาสตร์ หลังจากได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนออนไลน์ แบบ google classroom 2. เพ่ือศึกษาคุณลกั ษณะการใฝุรู้ใฝเุ รียนของนักเรยี นหลงั จากได้รับการจดั การเรียนรู้โดยใช้บทเรียนออนไลน์ แบบ google classroom ขอบเขตของโครงการวจิ ยั ประชากรทีใ่ ชใ้ นการวิจัย ประชากรท่ีใชใ้ นการวจิ ัยครั้งนีเ้ ป็นนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปทื ่ี 1 โรงเรียนสาธติ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทมุ วนั ปีการศึกษา 2561 จานวน 349 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวจิ ยั หนา้ 138

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) กลมุ่ ตวั อยา่ งที่ใช้ในการวิจัยครั้งนีเ้ ป็นนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปืที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ ปทุมวนั ปีการศึกษา 2561 จานวน 50 คน ซ่ึงได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) โดยใช้ หอ้ งเรยี นเปน็ หน่วยในการสุ่มด้วยการจับสลากมา 1 ห้องเรียนจากห้องเรียนทั้งหมด 7 ห้อง ซ่ึงโรงเรียนจัดห้องแบบ คละความสามารถของนกั เรียน ตัวแปรทีใ่ ชใ้ นการวิจัย ตัวแปรอิสระคือ การจดั กิจกรรมการเรียนร้โู ดยใชบ้ ทเรียนออนไลน์แบบ google classroom ตัวแปรตาม คอื ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิทยาศาสตรแ์ ละคุณลกั ษณะการใฝุร้ใู ฝุเรยี น วธิ ีดาเนินการวิจัย 1. เครื่องมอื ที่ใช้ในงานวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี แบ่งเป็น 2 ประเภท ประกอบด้วยเคร่ืองมือที่ใช้ ในการทดลองและเคร่อื งมอื ทใี่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ซึ่งมีรายละเอยี ด ดงั น้ี 1.1 เคร่ืองมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ผ่านกูเกิลคลาสรูมในรายวิชาวิทยาศาสตร์ จานวน 7 แผน 1.2 เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 1.2.1 แบบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ แบบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนวิทยาศาสตร์ มีลักษณะปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 40 ข้อ โดยแบบ วัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ได้ผ่านการประเมินจากผู้เช่ียวชาญ 3 ท่าน พบว่ามีค่าดัชนีความสอดคล้อง ระหว่าง 0.67 - 1.00 ค่าอานาจจาแนกต้ังแต่ 0.40 – 0.83 และค่าความยากต้ังแต่ 0.20 – 0.80 และมีค่าความ เช่ือม่ันท้งั ฉบับเท่ากับ 0.82 1.2.2 แบบวัดคณุ ลักษณะใฝุรู้ใฝเุ รียน แบบวัดคุณลักษณะใฝุรู้ใฝุเรียนท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้นจานวน 75 ข้อ แบบวัดมีลักษณะเป็น สถานการณ์ 3 ตวั เลอื ก ซงึ่ ครอบคลุมองค์ประกอบอของคณุ ลักษณะใฝุรใู้ ฝุเรยี น 6 ด้าน ดงั นี้ 1. ความอยากรอู้ ยากเห็น 13 ขอ้ 2. ความตง้ั ใจอย่างมีสติ 12 ขอ้ 3. กล้าคิดรเิ ร่ิม 12 ข้อ 4. ความเพยี รพยายาม 13 ขอ้ 5. การศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง 12 ข้อ 6. ความมีเหตผุ ล 13 ข้อ ตรวจสอบคุณภาพคุณภาพของแบบวัดโดยการหาค่าความเที่ยงเชิงพินิจ โดยผู้เชี่ยวชาญ จานวน 3 ทา่ น ไดค้ ่าดชั นคี วามสอดคล้องอยู่ระหวา่ ง 0.67 – 1.00 และหาความเชื่อมน่ั ของแบบวัดทั้งฉบับโดยใช้สูตร สัมประสิทธิแ์ อลฟา (Alpha Coefficient) มีคา่ 0.84 สาหรับเกณฑ์การใหค้ ะแนนตามความเข้มข้นของขอ้ ความแต่ละคณุ ลักษณะ ดังน้ี ให้ 3 คะแนน เมื่อเลอื กตอบในตวั เลือกทแ่ี สดงถงึ การมคี ณุ ลกั ษณะใฝุรใู้ ฝเุ รียนอยู่ในระดับสูง ให้ 2 คะแนน เมื่อเลอื กตอบในตัวเลือกทแี่ สดงถึงการมีคุณลักษณะใฝุรู้ใฝุเรียนอยู่ในระดับปาน กลาง หนา้ 139

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ให้ 1 คะแนน เมอ่ื เลอื กตอบในตวั เลอื กท่ีแสดงถึงการมีคณุ ลักษณะใฝรุ ู้ใฝเุ รยี นอยู่ในระดบั ตา่ เกณฑ์การแปลผลรวมคะแนนแบบวัดคุณลักษณะใฝุรู้ใฝุเรียน จานวน 75 ข้อ มีคะแนนเต็ม 225 คะแนน มีเกณฑก์ ารแปลผลคะแนนโดยรวม ดังนี้ คะแนนเฉลย่ี ตั้งแต่ 181 – 225 คะแนน แสดงวา่ มคี ณุ ลกั ษณะใฝรุ ้ใู ฝเุ รยี นอยใู่ นระดับสงู คะแนนเฉล่ียตงั้ แต่ 113 – 180 คะแนน แสดงวา่ มีคณุ ลกั ษณะใฝรุ ูใ้ ฝเุ รยี นอยู่ในระดบั ปานกลาง คะแนนเฉลี่ยต้ังแต่ 75 – 112 คะแนน แสดงวา่ มีคุณลกั ษณะใฝรุ ู้ใฝเุ รียนอยใู่ นระดับต่า 2. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาการเรียนรู้โดยผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนออนไลน์แบบ google classroom ท่ีมตี ่อผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ และคณุ ลกั ษณะใฝุรใู้ ฝเุ รียน สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ปทุมวัน ไดด้ าเนินการตามรายละเอยี ด ดังน้ี 2.1 ดาเนนิ การสอนตามแผนการจัดการเรยี นรูผ้ า่ นกเู กิลคลาสรมู 2.2 เมื่อสอนครบทุกแผนการจัดการเรียนรู้แล้ว ให้นักเรียนทาแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแบบวัด คุณลกั ษณะใฝรุ ูใ้ ฝเุ รียนของนกั เรียน 2.3 นาผลทไ่ี ด้ไปวเิ คราะห์ข้อมลู 3. การวิเคราะห์ขอ้ มูล การวเิ คราะห์สถติ ิบรรยาย ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 32.14 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4.21 อยใู่ นระดบั ดีมาก 2. คณุ ลกั ษณะใฝรุ ู้เรยี นของนักเรียน ตารางที่ 1 ค่าเฉล่ยี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนคณุ ลกั ษณะใฝุรู้ใฝุเรียนจาแนกเป็นรายดา้ น ดา้ น คา่ เฉล่ยี สว่ นเบ่ยี งเบน มาตรฐาน 1. ความอยากรอู้ ยากเห็น 36.17 4.10 2. ความตง้ั ใจแบบมีสติ 32.43 4.52 3. กลา้ คดิ ริเริม่ 31.33 3.69 4. ความเพยี รพยายาม 36.17 4.38 5. การศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง 34.17 3.04 6. ความมเี หตุผล 34.80 3.90 รวม 205.07 21.76 หน้า140

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) จากตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนคุณลักษณะใฝุรู้ใฝุเรียนโดยรวมมีค่าเฉล่ีย 205.07 อยู่ในระดับสูง และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 21.76 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงจากมากไปน้อย พบว่า ความอยากรูอ้ ยากเห็นมีค่าเฉลีย่ 36.17 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4.10 เท่ากับความเพียรพยายามมี ค่าเฉล่ยี 36.17 และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานเท่ากบั 4.38ความมีเหตุผล มีค่าเฉล่ีย 34.80 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 3.90 การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง มีค่าเฉล่ีย 34.17 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.04 ความต้ังใจ อย่างมีสติมีค่าเฉลี่ย 32.43 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4.52 และกล้าคิดริเริ่ม มีค่าเฉล่ีย 31.33 และส่วน เบ่ียงเบนมาตรฐานเทา่ กับ 3.69 ตามลาดับ สรุปผลการวจิ ยั 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวทิ ยาศาสตรข์ องนกั เรียนมีค่าเฉล่ียเทา่ กับ 32.14 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เทา่ กบั 4.21 อยใู่ นระดบั ดมี าก 2. คุณลักษณะใฝุรู้ฝใฝุเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 205.07 ค่าเบ่ียงเบน ม า ต ร ฐ า น เ ท่ า กั บ 21. 76 อยใู่ นระดับดี เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงจากมากไปน้อยคือ ความอยากรู้อยากเห็นและความเพียรพยายาม ความมีเหตผุ ล การศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง ความต้ังใจอย่างมสี ติ และกล้าคิดรเิ รม่ิ ตามลาดบั อภปิ รายผล 1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 32.14 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4.21อยใู่ นระดบั ดีมากท่เี ปน็ เช่นน้ีเน่ืองจากกูเกิ้ลคลาสรูมช่วยจัดระเบียบผู้เรียนสามารถดูงานท้ังหมดของตนเองได้ใน หนา้ งาน และเนื้อหาสาหรับช้นั เรียนท้งั หมดจะถูกจัดเกบ็ ในโฟลเดอร์ภายใน Google ไดรฟ์โดยอัตโนมัติ ทาให้สื่อสาร กันได้ดียิ่งขึ้น Classroom ทาให้ผู้สอนสามารถส่งประกาศและเร่ิมการพูดคุยในช้ันเรียนได้ทันที ผู้เรียนสามารถแชร์ แหล่งข้อมูลกันหรือตอบคาถามในสตรีมได้ประหยัดและปลอดภัย เช่นเดียวกับบริการอื่นๆ ของ Google Apps for Education คือ Classroom จะไม่แสดงโฆษณาไม่ใช้เนื้อหาหรือข้อมูลของผู้เรียนในการโฆษณา และให้บริการฟรี สาหรับมหาวทิ ยาลยั (Google Inc, ออนไลน์) ขอ้ ค้นพบดังกลา่ วสอดคลอ้ งกับซตี ีอัยเซาะห์ ปูเตะ ซไู ฮซนั มาฮะ ซอ แลฮะ แดเบาะ ลุตฟี หะยีมะสาและ อัสมานี ดาเซะบิง และมัฮดี แวดราแม (2561 : 421 - 430) ศึกษาการใช้ google classroom ในการพฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนและพฤติกรรมความรับผิดชอบของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา ปีท่ี 1 ห้อง 10 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ป๎ตตานี ผลการวิจัยพบว่า (1) ค่าเฉลี่ยคะแนนทดสอบก่อนและหลังการ จัดการเรียนรู้โดยใช้ google classroom คะแนนสอบก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 8.00 คะแนน และส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐานเท่ากบั 3.12 คะแนนทดสอบหลังเรยี นการจัดการเรยี นรู้โดยใช้ google classroom มีคา่ เฉล่ียเท่ากับ 10.72 และ ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน เทา่ กับ 2.83 โดยคา่ เฉลยี่ คะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติท่ีระดับ .05 (2) ผลการบันทึกพฤติกรรมความรับผิดชอบของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ห้อง 10 โรงเรียน เบญจมราชูทิศ ป๎ตตานีหลังการใช้ google classroom ผ่านการประเมินร้อยละ 96.88 คือมี คะแนนรวม 4 - 6 คะแนน จากงานท่มี อบหมายทงั้ หมด 3 ครงั้ และงานวจิ ยั ของสรุ างค์ วีรประเสรฐิ สขุ และคณะ (2561) ศกึ ษาผลการ หน้า141


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook