Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ED-APHEIT 2020

ED-APHEIT 2020

Published by ED-APHEIT, 2020-04-06 04:37:45

Description: การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร
สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ
หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption”
ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.)

Keywords: ED-APHEIT 2020 ศึกษาศาสตร์ สสอท.

Search

Read the Text Version

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 4. D-Directing หมายถึง การการควบคมุ บงั คบั บญั ชา ควบคุมการปฏิบัติงาน และการ ประเมินผล ผูใ้ ต้บังคบั บญั ชาอย่างเหมาะสม ซงึ่ เป็นภาระกิจที่ต้องทาอย่างต่อเน่ือง เป็นภารกิจใน การใช้ศิลปะในการบริหารงาน เช่น ภาวะผู้นา (Leadership) มนุษยสัมพันธ์ (Human Relations) การจูงใจ (Motivation) และ หมายถึง การ อานวยการ นับตั้งแต่การตัดสินใจ การวินิจฉัย ส่ัง และการตัดสินใจ (Decision Making) เป็นต้น เพื่อให้การ ดาเนินงานขององคก์ รบรรลุวตั ถุประสงค์ เปาู หมาย หรือแผนท่ีวางไว้ 5. Co-Coordinating หมายถึง การประสานงาน ประสานกิจการด้านต่างๆของหน่วยงาน ให้เกิด ความ รว่ มมอื เพอ่ื ดาเนินไปสเู่ ปาู หมายเดียวกนั และรายละเอียดของงานจนสามารถปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ในลักษณะงานท่ีได้รับ มอบหมาย งานมกี ารรวบรดั ตอ่ เน่ืองกันจนเสร็จสิ้น 6. R-Reporting หมายถึง การรายงานผลการ ปฏิบัติงานของบคุ ลากรระดับต่างๆในหน่วยงาน เพอ่ื ให้ผบู้ ริหารและสมาชกิ หนว่ ยงานได้รับทราบความเคลื่อนไหวของ การดาเนนิ งานวา่ ก้าวหนา้ ไปเพยี งใด มีความคืบหน้าของกิจการอย่าสม่าเสมอ การรายงานผลการปฏิบัติงานเร่ืองน้ีก็ เป็นองค์ประกอบท่ีสาคัญมาก ซ่ึงป๎จจุบันนิยมใช้ระบบสารสนเทศ (Management Information System) ในการ ประมวลผลของรายงาน รายงานทด่ี ีนั้นตอ้ งใหข้ ้อมูลทพี่ อดกี บั งานที่จะใช้ ไมม่ าก หรอื ไม่นอ้ ยจนเกินไป 7. B-Budgeting หมายถึง การจัดทางบประมาณ การจัดทาบัญชีการใช้จ่ายเงิน และ การควบคุม ตรวจสอบทางด้านการเงิน การคลังและทรัพย์สิน แบ่งลักษณะงบประมาณได้ 2 ภาค คือ งบประมาณภาคราชการ จัดสรร (Bureaucratic Budgeting) จัดทาโดย กระทรวง ทบวง กรมต่างๆไปตามความจาเป็น โดยจัดสรรตาม แผนงานโครงการที่เสนอมา และ งบประมาณของภาคเอกชน (Private Budgeting) เป็นทุนท่ีบริษัท ห้างร้านได้มา จากการระดมทุน เชน่ หุน้ เงนิ กจู้ ากแหล่งธุรกจิ จัดสรรมาจากคณะกรรมการตามแผนงานที่คณะกรรมการได้กาหนด นโยบายหรือกลยทุ ธไ์ ว้ ภาพประกอบท่ี 1 หลกั การบริหารจดั การแบบ POSDCoRB ท่ีมา:http://52540391korbkann.blogspot.com/2013/11/posdcorb-lyndall-urwick-staffing.html หน้า42

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 3. ศนู ยก์ ารเรยี นร้ชู ุมชน ความหมายของศนู ยก์ ารเรยี นรู้ชมุ ชน คาวา่ “ศนู ย์การเรียนร”ู้ มนี กั วิชาการ โดยเฉพาะดา้ นการศกึ ษาจานวนหน่ึงเรียกด้วยช่ือที่แตกต่างกันออกไป เช่น ศูนย์การเรียนรู้ ศูนย์การเรียนการสอน ศูนย์ทรัพยากรการเรียน ศูนย์การเรียนชุมชน แต่มีนัยยะไปในทิศทาง เดียวกนั กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น (2538) ได้กล่าวถงึ ศูนยก์ ารเรียนรู้เป็นศูนย์กลางการจัดการศึกษาเพ่ือการเรียนรู้ ตลอดชีวิตสาหรับประชาชนในชมุ ชน และเป็นสถานที่สร้างโอกาสในการเรียนรถู้ า่ ยทอด และแลกเปล่ียนประสบการณ์ วิทยาการ ตลอดจนภูมิป๎ญญาของชุมชน รวมท้งั ยงั เปน็ แหล่งบริการชมุ ชนในการจดั กิจกรรมต่างๆที่สอดคล้องกับความ ต้องการของประชาชน โดยเน้นการเรียนรบู้ นวถิ ชี ีวิตกบั การเปลย่ี นแปลงในยคุ โลกาภวิ ตั น์ และกอ่ ให้เกิดสังคมแห่งการ เรยี นร้มู ่งุ พง่ึ พาตนเอง สุวุฒิ วรวิทย์พินิต และคณะ (2560) กล่าวว่า ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน เป็นศูนย์กลางความรู้ของชุมชนที่จะ นาไปสู่การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้สาหรับประชาชนในชุมชน เป็นแหล่งเสริมสร้างโอกาสในการเรียนรู้ การ ถ่ายทอด การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การสืบทอดภูมิป๎ญญา วัฒนธรรม ค่านิยม และเอกลักษณ์ของชุมชน อีกทั้ ง เปน็ แหลง่ บรกิ ารชุมชนในด้านต่างๆ เชน่ การจดั กจิ กรรมทสี่ อดคล้องกับความต้องการเรียนรู้ของคนในชุมชน โดยเน้น กระบวนการเรียนรู้เพ่ือวิถีชีวิตของคนในชุมชน เพื่อให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของสังคม ก่อให้เกิดชุมชนแห่งการ เรยี นรขู้ องประชาชน ดาเนนิ การโดยประชาชน และเพือ่ ประชาชน ซ่งึ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ความเขม้ แขง็ ของชุมชนอยา่ งยั่งยืน บษุ ราภรณ์ พวงปญ๎ ญา (2560) ศนู ยก์ ารเรียนรู้ คอื ศูนย์กลางการพน้ื ทส่ี ารธารณะในการจัดกิจกรรมเพ่ือเกิด การ เรียนรู้ เป็นพ้ืนท่ีสาหรับทุกคนในชุมชน เป็นสถานท่ีเสริมสร้างโอกาสในการเรียนรู้ ถ่ายทอด และเป็นเว ที แลกเปล่ียนประสบการณ์ท่ีสอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของสังคม และก่อให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ และมุ่ง พฒั นาแบบพ่งึ พาตนเอง ซง่ึ เป็นรากฐานสาคญั ของการพัฒนาท่ยี ่ังยนื สุกฤตา จันทรวมิ ล (2545 อ้างถึงใน สุพรรณี ไชยอาพร และคมพล สุวรรณกูฏ, 2550) ได้ระบุว่า ศูนย์การ เรยี นรชู้ ุมชน หมายถึง แหล่งการจัดกจิ กรรมทีก่ อ่ ใหเ้ กดิ การเรียนรูอ้ ย่างตอ่ เน่ือง ประชาชนสามารถใช้บริการค้นคว้าหา ความรู้ และยังเป็นสถานที่ทป่ี ระชาชนได้มีโอกาสจัดกจิ กรรมตา่ งๆของชุมชนตามความตอ้ งการ UNESCO (2535 อ้างถึงใน กรมการศึกษานอกโรงเรียน, 2538) กล่าวว่า ศูนย์การเรียนคือสถานที่ใดๆท่ีจัด อย่างง่ายๆ เพื่อให้ประชาชนได้มีโอกาสเข้าไปศึกษาหาความรู้ด้วยตัวเอง ฉะน้ัน โรงเรียน วิทยาลัย ห้องสมุด สถาน ประกอบการ ศนู ยว์ ัฒนธรรม ทอ่ี า่ นหนงั สือ สโมสร ฯลฯ ตา่ งใช้เป็นศูนยก์ ารเรียนได้ หลกั การ บทบาทและลกั ษณะของศนู ยก์ ารเรยี นรู้ชมุ ชน ในสว่ นของหลกั การ บทบาท และลกั ษณะของศนู ย์การเรียนรู้ต้นแบบท่ีนามาศึกษา คือ กระบวนการทางาน ของกรมการศกึ ษานอกโรงเรียน เพ่ือจะได้ทาการประยุกตใ์ ช้กบั องคก์ รชมุ ชนท่มี ลี ักษณะการดาเนินงานท่ีคล้ายคลึงกัน กลา่ วคือ มงุ่ เนน้ การสร้างความเข้มแขง็ ใหก้ ับองคก์ รชุมชนสามารถพิจารณาการผลการดาเนนิ งานท่ผี า่ นมาได้ ดงั นี้ หลักการของศูนย์การเรยี นร้ชู ุมชน จากการทบทวนเอกสารของกรมการศึกษานอกโรงเรียน (2538 อา้ งถงึ ใน สุกฤตา จันทรวิมล, 2545) พบว่า มีการกาหนดหลักการของศูนย์การเรยี นร้ชู ุมชนไว้ ดงั น้ี หนา้ 43

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 1) การบรกิ ารกจิ กรรมการศกึ ษานอกโรงเรียน (กศน.) จัดอยา่ งเป็นระบบอยู่ในชุมชน โดยการจัดให้ มีศูนย์การเรียนรู้ชุมชน เพ่ือให้บริการการศึกษาทุกรูปแบบแก่ประชาชนในชุมชน โดยการกากับดูแลขององค์การ บรหิ ารส่วนตาบล (อบต.) 2) การจัดให้มีส่ือการเรียนรู้ในศูนย์การเรียนชุมชน เช่น เอกสาร หนังสือ ตารา แบบเรียนต่างๆ สอื่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เช่นวิทยุ โทรทศั น์ วดี ที ัศน์ 3) การจดั ใหม้ ีครูประจาศูนย์การเรียนรู้ชุมชนเป็นผู้ปฏิบัติงาน โดยปฏิบัติ งานเต็มเวลา และได้รับ คา่ ตอบแทนไมเ่ กนิ วุฒิ (ไมต่ ่ากวา่ อนปุ ริญญาและไม่สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี) 4) ศูนย์การเรียนชุมชนเป็นของประชาชน ระบบการดาเนินงานควบคุม ดูแลโดยองค์การบริหาร ส่วนตาบล กรมการศกึ ษานอกโรงเรียน โดยหน่วยงานระดับภาค จังหวัด และอาเภอ เป็นองค์การให้การสนับสนุนการ จดั กิจกรรมของศูนย์การเรียนชมุ ชน บทบาทของศนู ย์การเรยี นรชู้ มุ ชน บทบาทหน้าท่ี และกระบวนการบริหารจัดการ จัดแบ่งตามความเหมาะสมได้ 3 ด้าน กล่าวคือ บทบาทใน การทางานร่วมกับชมุ ชน บทบาทบรหิ ารศนู ยเ์ รยี นรู้ และบทบาทพฒั นาหลกั สูตร มีสาระสาคัญดังภาพประกอบที่ 2 การทางานร่วมกบั ชุมชน บทบาท ศนู ย์การเรียนรู้ บริหารศูนยก์ ารเรียนรู้ พฒั นาหลักสูตรชุมชน ภาพประกอบที่ 2แผนภมู ิแสดงบทบาทของศูนยก์ ารเรียนรชู้ มุ ชน 1) บทบาททางานร่วมกับชุมชน ถือเป็นหัวใจของการทางานศูนย์การเรียนรู้ เป็นกระบวนการ รว่ มกนั จัดกิจกรรมในชุมชน โดยร่วมกนั วางแผนการดาเนนิ กจิ กรรมการจดั การศกึ ษาในชมุ ชน และร่วมกันวางแผนการ ดาเนนิ กจิ กรรมการจดั การศึกษาในชุมชนตามความต้องการของชมุ ชน 2) บทบาทบริหารศนู ย์การเรียนรู้ โดยเฉพาะการทาหน้าท่ี สร้างส่อื หรอื ข้อมูลของชุมชน ตลอดจน เผยแพร่ข่าวสารของชุมชน ซ่ึงรวมถึงการสารวจความต้องการของชุมชน วิเคราะห์และจัดทาข้อมูลพ้ืนฐานเพื่อจัด กิจกรรมให้กับชุมชน การจัดทาแผนการดาเนินงานศูนย์การเรียนชุมชน การปฏิบัติตามแผน การนิเทศติดตามผล ตลอดจนการสรุปรายงานผลการดาเนินงาน 3) บทบาทพฒั นาหลักสูตรชมุ ชน เป็นกระบวนการบรหิ ารจัดการเน้ือหาของศูนย์การเรียนรู้ ซึ่งอาจ เริ่มจากการค้นหาผู้รู้ในชุมชน ปราชญ์ท้องถิ่น ผู้นาการเปลี่ยนแปลง เพ่ือสร้างเป็นวิทยาการชุมชน ในการถ่ายทอด หนา้ 44

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ความรู้ และรวมถงึ การคน้ หาผู้มคี วามรู้จากภายนอก ทง้ั ทางด้านการพัฒนาอาชีพ การศึกษาตามอธั ยาศยั กิจกรรมการ สง่ เสรมิ การศกึ ษา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณขี องท้องถน่ิ ตลอดจนดาเนนิ การบรู ณาการหลกั สตู รของท้องถ่ินเข้าด้วยกัน เพ่อื ก่อให้เกดิ การเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนื่อง สมดลุ และนาไปสู่เปูาหมายท่ีชมุ ชนตอ้ งการ รปู แบบการจัดการศูนย์การเรียนรู้ชมุ ชนในต่างประเทศ สุกฤตา จันทรวิมล (2545) ได้ทาการจาแนกประเภทตามสถานท่ีตั้งเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1) ศูนย์การ เรียนท่ีประกาศจัดตั้งในสถานศึกษา (Institution Base) ได้แก่ ศูนย์การเรียนที่จัดตั้งขึ้นในโรงเรียนสังกัด กระทรวงศกึ ษาธิการ และสังกัดองคก์ ารบรหิ ารสว่ นท้องถน่ิ เชน่ โรงเรียนประถมศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษา โรงเรียน เทศบาล เป็นต้น 2) ศนู ย์การเรียนที่ประกาศจดั ตงั้ ขึ้นในหนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน (Integrated Based) ได้แก่ ศูนย์ การเรียนที่จัดตั้งขึ้นในค่ายทหาร เรือนจา สถานีอนามัย บริษัทขนส่งจากัด โรงงาน สถานประกอบการ เป็นต้น 3) ศูนยก์ ารเรียนทปี่ ระกาศจดั ตัง้ ในชมุ ชน (Community Based) ไดแ้ ก่ ศนู ย์การเรียนท่ีจัดตั้งข้ึนในชุมชนแออัด วัด สภา ตาบล มัสยิด โบสถ์ ท่อี ่านหนังสอื ประจาหมูบ่ า้ น สถาบนั ครอบครัว เป็นต้น และยังได้ทาการทบทวนเอกสารศูนย์การ เรยี นที่ประกาศจดั ตง้ั ในต่างประเทศ ทจี่ ดั ต้ังขึ้นในประเทศตา่ งๆ ซึ่งมีรปู แบบ และกระบวนการทางานทีน่ า่ สนใจ ไดแ้ ก่ 1) ศนู ยก์ ารศึกษาชุมชนของสหรฐั อเมรกิ า ศนู ยก์ ารศึกษาชมุ ชนแห่งชาติสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมืองฟลินท มลรัฐมิชิแกน ซ่ึงเป็นท่ีตั้งของ บริษทั เจเนล่อน มอเตอร์ (General Motors) และการจดั การศกึ ษาชมุ ชนสมยั ใหม่ ศนู ย์แห่งน้ีตั้งเม่ือปี ค.ศ. 1935 ซึ่ง แรกเร่ิมเน้นการจดั โปรแกรมการศกึ ษาด้านพลานามัย การพักผอ่ นหย่อนใจ การศึกษาผู้ใหญ่ เพ่ืออบรมครูในโรงเรียน จนในท่ีสุดโรงเรียนโครงการปรับสภาพมาเป็นโรงเรียนชุมชน ซ่ึงจัดกิจกรรมเพื่อสนองความต้องการของชุมชน ขณะเดียวกันก็สร้างผู้นาชุมชน โดยร่วมดาเนินการกับมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นมิชิแกน จัดฝึกอบรม และเผยแพร่งาน การศกึ ษาชุมชน โดยถือวา่ ทกุ คนในชุมชนมีส่วนร่วมสาคัญในการผลักดันงานของชุมชน ผู้นาชุมชนต้องดาเนินงานใน หลายรูปแบบ ศนู ยม์ บี ทบาทในการเปลีย่ นแปลงความคิด และพฤติกรรมของประชาชนในชุมชน ผู้ท่ีเข้ารับการอบรม ต้องผ่านการประเมิน คือ ประเมินตนเองด้านความรู้ ความเข้าใจงานการศึกษาชุมชน รู้แหล่งความรู้หมู่บ้าน ความสัมพนั ธ์ถึงหนว่ ยงานอื่นๆ และเครือขา่ ยการศึกษาชุมชน หลังการอบรมผ้เู ข้ารบั การอบรมจะกลับไปปฏิบัติงานใน ชุมชนของตนเอง และจะมีการประเมินการดาเนินงานของบุคคลน้ันหลังจาก 6 เดือน เพ่ือดูว่าสามารถนาไปใช้กับ สภาพชุมชนของตนหรือไม่ 2) ศูนย์การศึกษาชุมชนของสหราชอาณาจักรอังกฤษ ศูนย์การศึกษาเพ่ือพัฒนาชุมชน(Community Education Development) ของอังกฤษได้ กอ่ ต้งั ข้ึนเม่อื ค.ศ. 1977 เพอื่ ดาเนนิ งานพัฒนาชมุ ชน จัดฝกึ อบรม วจิ ยั และเผยแพร่งานการศึกษานอกโรงเรียน โดย ดาเนินงานในลักษณะโครงการจัดประชุมสัมมนา เพื่อช่วยเหลือผู้ดาเนินงานด้านพัฒนาชุมชน จัดความรู้ด้านการ พัฒนาชุมชนแก่เจ้าหน้าที่ท้องถ่ิน ทางานประสานกับองค์การภาครัฐ เอกชน มหาวิทยาลัย มูลนิธิต่างๆ เพ่ือหาแนว ทางการพัฒนางานพัฒนาชุมชนของประเทศ และต่างประเทศ ในป๎จจุบันศูนย์เน้นการประชุมและสัมมนา อภิปราย เกี่ยวกับงานชุมชน ศึกษาเพื่อเผยแพร่งานวิจัยสัมมนางานการศึกษาชุมชน ขยายเครือข่าย จัดอบรมเพ่ือพัฒนา บคุ ลากรให้กบั โรงเรียน หน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้องเปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนของตนเองโดยการจัด การศกึ ษา และกิจกรรมเพือ่ พฒั นาชมุ ชน หนา้ 45

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 3) ศนู ย์การศึกษาชมุ ชนของออสเตรเลีย ศูนยก์ ารเรียนของประเทศออสเตรเลีย เกดิ ข้นึ จากการท่ีโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาในออสเตรเลียมีส่ิง อานวยความสะดวกไมเ่ พียงพอต่อการจัดกิจกรรมการศึกษา ทาให้ต้องดึงความร่วมมือจากชุมชนมามีส่วนร่วมพัฒนา จึงเกิดโครงการการศึกษาพัฒนาชุมชน โดยสารวจความต้องการของชุมชน องค์การท้องถิ่น อาทิ โรงเรียน วัด หอ้ งสมดุ เพ่ือหาจุดรวมในการให้บริการชุมชนในแต่ละชุมชน ในแต่ละชุมชนจะมีศูนย์ดาเนินการกิจกรรมตามความ สนใจของชาวบา้ น ผ้ปู ระสานงานแต่ละศนู ยจ์ ะทาหนา้ ท่ปี ระชาสัมพันธ์ รับลงทะเบยี น ค่าเรียน ค่าสอน และอ่ืนๆ โดย มีศูนย์การเรียนชุมชน (Community Centre or Neighborhood Centre) เป็นตัวแทนเช่ือมโยงระหว่างการพัฒนา กับการศึกษาและตัวแทนสถาบันต่างๆ ศูนย์เหล่าน้ีอาจต้ังอยู่ที่ชานเมืองในโรงเรียนท่ีไม่ใช้แล้ว (Disused School) หรือปรับสถานที่ในร้าน หรือท่ีว่างในหน่วยงานของรัฐ อาคารว่างในชุมชน หรือที่ซึ่งบริษัทเอกชนจัดสาหรับบริการ กจิ กรรมการศกึ ษา เพ่อื สนองความต้องการของกลมุ่ เปูาหมายอย่างแท้จริง ในศนู ยบ์ างแห่งจัดสอบวิชาสายสามัญ โดย ให้ประกาศนียบตั รดว้ ย 4) ศนู ยก์ ารศกึ ษาชมุ ชนของญี่ปุน ประเทศญ่ีปุนใช้ศาลาประชาคม (Citizen‖s Public Hall) เป็นศูนย์ชุมชน ทาหน้าที่ส่งเสริม กิจกรรมทางการศึกษาและวัฒนธรรมในชุมชน โดยมีห้องสมุด ห้องเล่นกีฬา ห้องเรียน ฯลฯ เป็นสิ่งอานวยความ สะดวกในการจัดกิจกรรมต่างๆ อาทิ ปาฐกถา อภิปราย บรรยาย สาธิตนิทรรศการ ภาพยนตร์ กีฬา เป็นต้น ดาเนินงานโดยคณะกรรมการการศึกษาท้องถ่ิน จัดทาธนาคารข้อมูลภูมิป๎ญญาท้องถ่ิน ทาทะเบียนกลุ่มอาสาสมัคร จัดทาระบบเครือข่ายห้องสมุด (Libraby Information Network System) จัดศูนย์บริการที่ปรึกษาการเรียนรู้ (Consultation Service) และอานวยความสะดวกในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูข้ องคนในชมุ ชน โดยจดั ในลักษณะของ การให้สมั ภาษณ์โทรศัพท์ ซง่ึ จะใหข้ ้อมลู ดา้ นต่างๆ อาทิ แหลง่ ภูมปิ ๎ญญาชาวบา้ น กจิ กรรมกลุ่ม โปรแกรมการเรียนทั้ง ในระบบโรงเรยี น การสอบเทียบ 5) ศนู ยก์ ารศึกษาชุมชนของมาเลเซีย กรมการศกึ ษาผู้ใหญแ่ ละพฒั นาชมุ ชน กระทรวงเกษตรแหง่ มาเลเซียประสานงานกับหน่วยงาน ท่ีเก่ียวข้องจัดตั้งศูนยบ์ ริการชุมชน โดยจัดตั้งให้ทุกศูนย์จัดหาอุปกรณ์โปรแกรมการสอนสาหรับเยาวชนและผู้ใหญ่ใน ชุมชน เพอื่ ประสานงานและใช้ทรัพยากร แหลง่ ภูมิป๎ญญาชาวบ้านเพ่ือสรา้ งศูนย์การศึกษาในชุมชน โดยดาเนนิ และนเิ ทศกจิ กรรมนั้นๆอย่างตอ่ เน่ือง 6) ศนู ยก์ ารศกึ ษาชุมชนของอิสราเอล ในเขตชุมชนใหญ่ของอิสราเอล มีศูนย์ชุมชน (Community Centre) ให้ประชาชนทุกเพศ ทุก วัย มาแลกเปล่ียนความคิดร่วมกับผู้นาท้องถิ่น คณะกรรมการท้องถิ่นกับผู้เช่ียวชาญเฉพาะด้านจัดกิจกรรมต่างๆ แตกต่างกันตามวัย และเพศ เพื่อสนองความต้องการของผู้มาใช้บริการภายในศูนย์ และมีห้องจัดกิจกรรมกีฬา วาด ภาพ ประดิษฐ์เศษวัสดุ และของเล่น กลุ่มหนุ่มสาวจะมีกิจกรรมสนทนากัน บางศูนย์จะจัดห้องสมุดเคลื่อนที่ออกไป บรกิ ารประชาชนในภาคฤดูร้อน ศูนย์ชุมชนร่วมกับศูนย์เยาวชน จัดกิจกรรมพักแรมตามหมู่บ้าน หรือชนบทห่างไกล เพือ่ ฝกึ เยาวชนให้มคี วามรับผดิ ชอบ ความอดทน และรู้จักใช้เวลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ จากการศกึ ษาการจัดศนู ยก์ ลางเรยี นในต่างประเทศ รวมท้งั ศนู ย์การเรยี นชุมชนของไทย สรุปได้ว่า การจัดตั้ง ศนู ย์การเรียน เกดิ จากแนวคิดที่จะให้ชมุ ชนเข้ามามสี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษา ให้ทุกคนในชุมชนมีส่วนสาคัญในการ หนา้ 46

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) พัฒนาชุมชนของตน โดยองค์กรท้องถ่ินจะเป็นผู้เข้ามาดาเนินการ และมีอาสาสมัครหรือผู้นาชุมชนเข้ามาช่ว ยเหลือ กจิ กรรม ศนู ย์การเรียนจึงเป็นสถานท่ีท่ีเปิดโอกาสให้บุคคลทุกเพศ ทุกวัย เข้าศึกษาหาความรู้ได้ ผู้เรียนจะเรียนจาก โปรแกรมการสอนซ่ึงจัดไว้ในรูปแบบของชุดการสอนรายบุคคล ตามหมวดหมู่ของเน้ือหา และประสบการณ์ต่างๆท่ี ศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนจัดข้ึน โดยครูจะทาหน้าที่เป็นผ้ปู ระสานงาน ทป่ี รกึ ษา และควบคมุ โปรแกรมของผู้เรียน ซึ่งจะมีสื่อ ประกอบที่สอดคลอ้ งกับเนอื้ หา เช่น สไลด์ เทป แผ่นคาบรรยาย วัสดุ อปุ กรณ์ ตา่ งๆ เพอื่ ชว่ ยใหผ้ เู้ รียนเรียนได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพโดยสามารถเรียนเม่อื ไหร่ก็ได้ การจัดศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนดงั กลา่ ว เพื่อให้ประชาชนเกดิ การเรียนรู้ พัฒนา เพ่อื ให้สามารถพง่ึ ตนเองได้ โดยไดร้ บั การสนบั สนุนชว่ ยเหลือ ทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ และหน่วยงานอ่ืนๆท่ีเก่ียวข้อง ในภาพรวมน้ันเม่ือชุมชนเกิดการพัฒนาแล้วก็จะนาไปสู่สังคมท่ีพัฒนาข้ึน โดยต้องคานึงถึงการจัดการเพ่ือให้เกิดการ พฒั นาสังคมควบคูไ่ ปกับการพฒั นาชมุ ชนด้วย แนวทางและขน้ั ตอนการดาเนนิ งานศูนยก์ ารเรยี นรู้ชุมชน เพื่อเปน็ แนวทางปฏบิ ัติให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ในการดาเนิน งานศูนย์การเรียนรู้ชุมชนโดยท่ัวไป และศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ซึ่งเป็นภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอน คือ ที่อ่านหนังสือประจาหมู่บ้าน/ชุมชน และห้องสมุด ประชาชน จงึ ไดก้ าหนดแนวทางและข้นั ตอนการดาเนินงาน ดังภาพประกอบที่ 3 ภาพประกอบที่ 3 แผนผัง แนวทางและขั้นตอนการดาเนินงานพฒั นาศนู ยก์ ารเรียนรู้ชุมชน หนา้ 47

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 4. ตารางสังเคราะห์งานวิจัยท่ีเก่ยี วข้อง จากงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับสังคมผู้สูงอายุและศูนย์การเรียนรู้ชุมชนท้ังของในประเทศและต่างประเทศ สามารถสงั เคราะหเ์ ปน็ องคป์ ระกอบย่อยได้ 28 อตงาคราป์ งสรังะเคกรอาะบหอ์ดงงัคต์ปราะรกอาบง ชอื่ ผูว้ ิจยั และปที ว่ี จิ ยั ปัญญา ัจนทโคต (2558) องค์ประกอบ Juma Abdu Wamaungo (2010) สมบูรณ์ ิศริสรรหิรัญ (2559) 1) การบริหารจัดการ ดวงพร สุภาพร (2561) 2) ดา้ นบุคลากร ชัชวาล ชุมรักษา (2560) 3) ดา้ นโครงการและกจิ กรรม สุวุ ิฒ วรวิทย์ ิพ ินต (2560) 4) ดา้ นผู้นาชุมชน หรือผู้นาท้องถิ่น ปรีชา ปัญญานฤพล (2558) 5) ดา้ นคนในชมุ ชน วิเชียร โยมา (2553) 6) หน่วยงานที่เกีย่ วข้อง ชยุต ิอนทร์พรหม (2562) 7) ดา้ นวฒั นธรรม อดิเรก แ ้กวสุมาลี (2560) 8) ดา้ นสังคม ัพชรา สังข์ศรี (2556) 9) ดา้ นจิตวทิ ยา/ดา้ นจิตใจ ศ ิศวิมล สุขศรีงาม (2560) 10) ดา้ นเศรษฐกจิ นเรนทร์ แ ้กวใหญ่ (2559) 11) ดา้ นการเมอื ง ยุรธร จีนา (2561) 12) ดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม/ทรัพยากรธรรมชาติ รุจยา รอดเข็ม (2562) 13) สงั คมสงู วยั ุจฑารัต ์น แสงทอง (2560) 14) การรบั ความรู้ และขอ้ มลู ข่าวสาร/ มณ ิฑรา ิกตติวราภรณ์ (2554) ผลรวมความ ี่ถ ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น    14 15) การเรยี นรู้ตลอดชวี ติ 14 16) เทคโนโลยี    16 17) ระบบการศกึ ษา 12 18) แหล่งการเรยี นรู้ และเครือข่าย   14 16 การเรยี นรู้    10 14 19) งบประมาณ     5 20) วสั ดุ อปุ กรณ์ และอาคารสถานที่ 13 21) การมสี ่วนรว่ ม   2 22) กฎกระทรวง / กฎหมายท่ีเก่ียวขอ้ ง 11 23) ดา้ นวชิ าการ / หลกั สตู ร      5 24) บรหิ ารทั่วไป 25) หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง    26) การพฒั นาที่ย่ังยืน 27) ดา้ นศาสนา / ความเชื่อ    28) กสิกรรม 29) ประมง     30) ปศสุ ตั วข์ นาดเล็ก 31) เกษตรทฤษฎีใหม่  32) ความร้ดู า้ นการดแู ลสขุ ภาพ/ร่างกาย 33) อบรมวชิ าชีพ    34) ทฤษฎีในการรว่ มกจิ กรรม 35) การเห็นคณุ คา่ ในตวั เอง           13    13 10    11                    14      8 10      13 6  12 9    5 9   5 3     2 2     1 4     5 2    2            ตารางท่ี 2 ตารางสงั เคราะห์งานวิจัย หน้า48

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ตารางสังเคราะหท์ จ่ี ดั หมวดหมู่ขององค์ประกอบโดยประยกุ ต์ทฤษฎี POSDCoRB ของ Luther H Gulick  ช่ือผู้วจิ ัยและปที ี่วิจยั ผลรวมความ ี่ถท่ียกมา องคป์ ระกอบ Maria Brown (2019) Shepla Aikman (2019) ตดั ท่ี 20% (ตา่ กวา่ 7 ตดั ออก) Community Education (E. decker) Principle&Theory of Adult Education Trends in Adult Education (2014) Gyril Poster (2003) Marilee Coles-Ritchie (2019) การ ัจดต้ังรร. ู้ผสูงอายุ (สสส.) บุษราภรณ์ พวงปัญญา (2560) สิริวัลลิ์ พฤกษา ุอดมชัย (2560) Lisa Catherine Ehrich (2004) Jennifer Dewinter (2014) Community Based Management (Book) Maxell C C. Musingafi (2014) (SGP) Action Plan+Successful Ageing (2016) Ya - Hui Lee (2015) ผลรวมความ ี่ถ PLANNING (การวางแผน) 118 1) หลักสตู ร/กจิ กรรม/การประเมนิ 28                 44 2) ผู้ที่มสี ว่ นเก่ยี วข้อง 16                31 3) วสั ดุ อปุ กรณ์ และอาคารสถานท่ี 10                25 4) การรับร้ขู ้อมลู ขา่ วสาร/ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน 13       25 5) การเรยี นรู้ตลอดชวี ติ 13             25 6) ระบบการศกึ ษา 11                26 7) กฎกระทรวง/กฎหมายที่เกี่ยวขอ้ ง 6       18 8) อบรมวชิ าชีพ 5        14 9) การเห็นคณุ คา่ ในตวั เอง 2      15 10) การพฒั นาท่ียั่งยืน 9     24 11) หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 5  8 ORGANIZING (โครงสรา้ ง) 19 1) คนในชมุ ชน/สงั คมสงู วยั 19                34 2) ที่ปรึกษา/ครูใหญ/่ กรรมการ/จิตอาสา    8 STAFFING (อตั รากาลงั ) 26 1) ผู้นาชุมชน/ผู้นาท้องถ่ิน 12                27 2) ดา้ นบุคลากร 14                 30 DIRECTING (อานวยการ) 14 1) การบรหิ ารจัดการ 14               28 COORDINATING (ประสานงาน) 56 1) การมสี ่วนร่วม 13                 29 2) บริหารท่ัวไป 9              22 3) เทคโนโลยี 10       18 4) แหล่งการเรียนร้แู ละเครอื ขา่ ยการเรียนรู้ 14                 30 5) กสิกรรม/ประมง/ปศสุ ตั ว์ 7  9 6) เกษตรทฤษฎีใหม่ 1  2 7) ทฤษฎีในการร่วมกจิ กรรม 2   6 8) ศลิ ปะรว่ มสมยั  1 9) Theory of value  2 10) Theory of Knowledge  1 11) Theory of transmission  2 REPตOัดRทT่ี 2IN0%G (รตาา่ ยกงวา่าน/7ปรตะดั เมอินอก)) 64 1) ดา้ นสขุ ภาพร่างกาย 4     13 2) ดา้ นจิตใจ 5      17 3) เศรษฐกจิ 13                28 4) ดา้ นสงั คม 14                 30 5) ดา้ นวฒั นธรรม 10            21 6) ดา้ นการเมอื ง 2     9 7) ดา้ นสิ่งแวดล้อม/ทรพั ยากรธรรมชาติ 11       19 8) ดา้ นศาสนา/ความเช่ือ 5    13 BUDGETING (งบประมาณ) 8 1) งบประมาณท่ีเก่ยี วขอ้ ง 8              21 ตารางที่ 3 ตารางสังเคราะหท์ ี่จัดหมวดหมู่ขององคป์ ระกอบโดยประยุกตท์ ฤษฎี POSDCoRB ของ Luther H Gulick หนา้ 49

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) สรปุ จากการที่ผู้วิจัยสังเคราะห์งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องทั้งหมด 34 งานวิจัยทั้งในประเทศและต่างประเทศ สามารถ สงั เคราะหอ์ งค์ประกอบยอ่ ยได้ทง้ั หมด 28 องค์ประกอบ ซ่ึงท้ัง 28 องค์ประกอบน้ีทางผู้วิจัยเองได้นาเสนอผ่านการประยุกต์ ทฤษฎีบริหารจัดการของ POSDCoRB ซง่ึ บทความวิชาการนี้เป็นส่วนเริ่มต้นในงานวิจัยของผู้เขียนที่จะสร้างและพัฒนาศูนย์ การเรยี นร้ผู ้สู ูงอายุจงึ ขอแสดงเปน็ แผนผังองคป์ ระกอบทมี่ รี ากฐานจากทฤษฎี ก่อนที่จะพัฒนาเป็นกรอบแนวคิดของงานวิจัย ฉบบั เต็มตอ่ ไป ดังนี้ หนา้ 50

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ข้อเสนอแนะ งานวิจัยนี้สามารถนาไปสร้างเป็นแนวทางในการกาหนดแผนการสร้างและพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ผสู้ ูงอายใุ ห้เปน็ องค์กรท่พี ร้อมต่อการขับเคลอ่ื นโครงสรา้ งประชากรผ้สู ูงวยั ในประเทศไทยได้ เอกสารอา้ งอิง กรมการศึกษานอกโรงเรียน. (2538). มาตรฐานศูนย์ บุษราภรณ์ พวงป๎ญญา และภักดี โพธ์ิสิงห์. (2560). ก าร เรี ยน รู้ชุ มช น: มิ ติใ ห ม่ ศูน ย์ก าร เรี ยน . ศู น ย์ ก า ร เ รี ย น รู้ เ พ่ื อ ก า ร พั ฒ น า ชุ ม ช น ท้ อ ง ถิ่ น . กรุงเทพมหานคร: กองสง่ เสริมปฏบิ ตั ิการ. วารสารวิชาการธรรมทัศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง จุฑารัตน์ แสงทอง. (2560). สังคมผู้สูงอายุ (อย่าง กรณราชวิทยาลัย, 17(1), 193-202. สมบูรณ์) : ภาวะสูงวัยอย่างมีคุณภาพ.วารสารรูสมิ ปรีชา ป๎ญญานฤพล, ไมตรี จันทราและสุรพงศ์ เอื้อ แล, 38(1), 1-8. ศิริพรฤทธ์ิ. (2558). การพัฒนารูปแบบศูนย์การ ชยุต อินทร์พรหม. (2562). เศรษฐกิจพอเพียงกับ เรียนรู้ในสถานศึกษาเพ่ือการศึกษาตลอดชีวิต . เกษตรทฤษฎีใหม่ประยุกต์ ทานา 1 ไร่ ได้ 1 แสน. วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต มหาวิทยาลัยราช วารสารพัฒนาสังคม, 20(2), 6-27. ภัฏอบุ ลราชธานี, 15, 181-188. ชัชวาล ชุมรักษา และคุณอานันท์ นิรมล. (2560). ป๎ญญา จันทโคต. (2558). ศูนย์เรียนรู้ชุมชน : แหล่ง การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ชุมชน “คน น้า ป่า เขา เรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน. ปู่”เพ่ือเสรมิ สร้างจติ สานึกรักษ์น้า. วารสารครุพิบูล, วารสารรงั สติ สารสนเทศ, 21(2), 122-134. 4(2), 124-130. พัชรา สังข์ศรี. (2556). แนวทางส่งเสริมการเรียนรู้ ดวงพร สุภาพร, ขวัญหญิง ศรีประเสริฐภาพ และ ตลอดชีวิตสาหรับผู้สูงอายุในภาคกลาง.วารสาร กัมปนาท บริบูรณ์. (2561). วิถีการเรียนรู้กับการ สโุ ขทัยธรรมาธริ าช, 26(2), 48-59. บรหิ ารศูนยก์ ารเรียนชุมชนธรรมชาติบ้านห้วยพ่าน. มณฑริ า กติ ติวราภรณ.์ (2554). การศึกษาสภาพการ Veridian e-journal มหาวิทยาลัยศิลปากร, 11(3), ดาเนนิ งานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนบ้านโคก 1526-1541. กระท้อนอ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี. วิทยานิพนธ์ ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2561). สังคมสูงวัยกับ ปริญญามหาบณั ฑติ มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ. ความท้าทายของตลาดแรงงานไทย. [Online], ยุรธร จีนา. (2561). โรงเรียนเป่ียมสุข: รูปแบบการ สืบค้นเม่ือ 9 ม.ค. 2563. Available from จัดการองค์กรชุมชนเพ่ือรองรับสังคมผู้สูงวัยใน https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/E ศตวรรษท่ี 21 จงั หวัดเชียงใหม่.วารสารสถาบันวิจัย cono และพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 5(1), micConditions/AAA/AgePeriodCohort.pdf 171-182. นเรนทร์ แก้วใหญ่. (2559). ศูนย์การเรียนรู้ของ รุจา รอดเข็ม. (2562). สังคมสูงวัย: กิจกรรมทาง ชุมชน : การพัฒนาที่ย่ังยืนของสถาบันอุดมศึกษา. สงั คมของผูส้ ูงอาย.ุ วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีส วารสารวชิ าการเซาธอ์ ีสทบ์ างกอก, 2(2), 108-122. เทริ ์นเอเชีย, 9(2), 1-7. หน้า51

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) วิเชียร โยมา. (2553). รูปแบบศูนย์การเรียนชุมชน สวุ ฒุ ิ วรวทิ ยพ์ ินติ , วรรณวีย์ บุญคุ้ม และนรินทร์ สังข์ เ พ่ื อ ก า ร เ รี ย น รู้ ต ล อ ด ชี วิ ต ใ น เ ข ต ล า ด ก ร ะ บั ง รักษา. (2560). การพัฒนารูปแบบการจัดการศูนย์ กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์ การเรียนรู้ วิถีเมืองเพชรตามแนวทางปรัชญาของ มหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช. เศ ร ษฐ กิ จ พ อ เ พี ยง . Veridian E-Journal ศศิวิมล สุขศรีงาม. (2560). การบริหารจัดการศูนย์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร, 10(2), 1659. การเรยี นรู้ ห้องเรียนธรรมชาติ เกษตรอินทรีย์ สวน อดิเรก แก้วสุมาลี. (2560). ปัจจัยท่ีมีผลต่อการทา เกษตรดาดฟ้า สานักงานเขตหลักส่ี: กรณีศึกษา เ ก ษ ต ร ท ฤ ษ ฎี ใ ห ม่ ข อ ง เ ก ษ ต ร ก ร ใ น พ้ื น ที่ ภ า ค เครอื ข่ายศูนย์การเรียนรู้ห้องเรียนธรรมชาติเกษตร ตะวนั ออก. [Online], สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2562. อินทรีย์ สวนเกษตรดาดฟ้า สานักงานเขตหลักส่ี Avaliable from http://www.awc.ac.th/ กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตร awcdata/research/119.pdf. มหาบัณฑิต มหาวิทยาลยั ธุรกิจบัณฑิต. อนุรัตน์ อนันทนาธร และปาริฉัตร ปูองโล่ห์. (2558). สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญ. (2559). แนวทางการจัดต้ัง ความรูเ้ บื้องต้นเกี่ยวกบั การบรหิ ารในโลกยุคโลกาภิ ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต วัตน์. [Online], สืบค้นเม่ือ 8 มกราคม 2563. สาหรับผู้สงู อาย.ุ การบรหิ ารปกครอง, 5(2), 60-72. Avaliable from http://www.bbu.ac.th/polsci- สมพงษ์ เกษมสนิ . (2523). การบรหิ าร.(7). กรุงเทพฯ: law/news/detail.php?/. ไทยวัฒนาพานชิ . Aikman, S & Robinson-Pant, A. (2019). สาธิต ทิพย์มณี และนัยนา เกิดวิชัย. ( 2562). Indigenous women and adult learning: POSCoRB และ Good Governance สาหรับ Towards a paradigm change?. Studies in the ธุรกิจเกิดใหม่ในยุคไทยแลนด์ 4.0.วารสาร มจร Education of Adults, 51(2), 151-159. มนุษยศาสตร์ปรทิ รรศน์, 5(1), 77-85. Ariyasajjakom, D. & S. Manprasert. (2014). สิริวัลลิ์ พฤกษาอุดมชัย. (2560). ปัจจัยความสาเร็จ Macroecono mic Impacts of the Aging ในการดาเนนิ งานของชมรมผสู้ ูงอายุตาบลดอนแฝก Economy in Thailand. Journal of จังหวัดนครปฐม.Veridian E-Journal มหาวิทยาลัย Demography, 40(2), 67-92. ศิลปากร, 10(1), 1439-1451. Blundell, R., Bozio, A., & Laroque, G. (2011). สุกฤตา จนั ทรวมิ ล. (2545). แนวทางการจัดศูนย์การ Labor supply and the extensive margin. เรียนชุมชนหลังปี พ.ศ. 2545 ตามพระราชบัญญัติ The American Economic Review, 101(3), 482- การศึก ษาแห่งชาติ พ .ศ . 2542. นครปฐม: 486. มหาวิทยาลัยมหดิ ล. Coles-Ritchie, Marilee, Eggington, Kalani & สุพรรณี ไชยอาพร และคมพล สุวรรณกูฏ. (2550). Valdez, Trina M.. (2019). Enhancing Teacher การศึกษาศูนย์การเรียนรู้ด้านการพัฒนาสังคมและ Education and Community Learning สวัสดิการระดับชุมชนกรณีศึกษาชุมชนแม่ระกา Center Programs through Critical ตาบลแม่ระกา อาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก. Participatory Action Research. i.e.: inquiry in กรุงเทพมหานคร: กระทรวงการพัฒนาสังคมและ education, 11(1), 3-21. ความมน่ั คงของมนุษย์. หนา้ 52

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) Dewinter, J., (2014). Community Functions at Mapakomhere Day Secondary Management. Community Literacy Journal, School in Masvingo. European Journal of 8(2), 110-115. Business and Management, 6(39), 99-103. Ehrich, Lisa C. & Cranston, Neil. (2004). Poster, Cyril & Kruge, Angelika. (1990). Developing Senior Management Teams in Community Education and the Western Schools: Can Micro politics help?. World. New York: Routledge. International Studies in Educational University of South Africa. Principles and Administration, 32(1), 21-31. theories of adult education.สืบค้นเม่ือ 5 ม.ค. Lee, Ya-hui. (2015). Older Adult Education: 2563. Available from New Public Pedagogy in 21st Century https://unesdoc.unesco.org/ Taiwan. Australian Journal of Adult Learning, ark:/48223/pf0000245104. 55(3), 460-476. Wamaungo, Juma A., Sutaryat Trisnamansyah, Musingafi, Maxwell C.C., Zebron, Shupikai & & Kamil, H. Mustofa. (2010). Community Kaseke, Kwaedza E. (2014). Applying Participation in The Development of Management Theory into Practice at Nonformal Education Programmes in Secondary School in Zimbabwe: Teachers Community Learning Centres. International Impressions of Classical Management Journal of Education, 33(3), 46-54. หนา้ 53

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) การพัฒนาหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ E – Book เรือ่ ง การจัดการศกึ ษาพเิ ศษสาหรับครู The Development of Electronic Book (E-Book) about the Special Education for Teachers นา้ เพชร เทศะบารงุ ภาควชิ าพื้นฐานการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั รามคาแหง E-mail [email protected] บทคดั ยอ่ การวิจยั น้ี มวี ัตถปุ ระสงค์เพื่อ 1) เพือ่ พฒั นาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เร่ืองการจัดการศึกษาพิเศษ สาหรับครู ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพ่ือเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ E – Book เรื่องการจัดการศึกษาพิเศษสาหรับครู 3) เพ่ือประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ E – Book เร่ืองการจัดการศึกษาพิเศษสาหรับครู กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง ปีการศึกษา 2562 จานวน 247 คน คานวณหาขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ ตารางของเครซี่และมอร์แกน ได้มาด้วยวิธีสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัย ได้แก่ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book แบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book สาหรับผู้เช่ียวชาญ แบบประเมนิ ผลก่อนเรียน หลงั เรยี น และแบบประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เรื่อง การจัดการศึกษาพิเศษสาหรับครูสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน การหาค่า ความเชื่อมั่น ค่าความยากง่าย คา่ อานาจจาแนก การเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ิ t-test แบบ Dependent Samples ผลการวจิ ยั พบว่า หนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์ E – Book เร่ืองการจดั การศกึ ษาพเิ ศษสาหรบั ครู มี ประสิทธภิ าพ ตามเกณฑ์ E1/E2 เท่ากบั 81.38/ 82.50 นักศึกษาระดบั ปรญิ ญาบัณฑติ มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง การใช้หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ E – Book เรอื่ งการจัดการศกึ ษาพิเศษสาหรบั ครู สงู กวา่ ก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิตทิ ีร่ ะดบั 0.05 และผลการประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ชห้ นังสอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ E – Book เร่อื ง การจัดศกึ ษา พเิ ศษสาหรบั ครู อยใู่ นระดบั ดี คา่ คะแนนเฉลย่ี 4.29 และมีค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.72 โดยผเู้ รียนมคี วามเห็น ว่าหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ E – Book เรื่อง การจดั ศึกษาพิเศษสาหรับครู ทาให้ผ้เู รยี นเกิดการเรยี นรู้ดว้ ยตนเองสามารถ ทบทวนความรู้ความเขา้ ใจได้ และเนอื้ หาในหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เปน็ ประโยชนแ์ ละนาไปประยุกตใ์ ช้ได้จรงิ ในชีวิตได้ เม่ือนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาบณั ฑติ ตอ้ งฝึกประสบการณว์ ิชาชีพครูในโอกาสต่อไป คาสาคญั :หนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์,การจัดศึกษาพเิ ศษ,การสอน,คนพิการ,วชิ าชพี ครู . หนา้ 54

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ABSTRACT The objectives of this research are: 1) to effectively develop the electronic book (E-Book) about the special education for teachers according to the 80/80 criteria, 2) to compare pre-test with post-test scores of the learners using electronic book (E-Book) about special education for teachers, and 3) to estimate the satisfaction of users who use electronic book (E-Book), the special education for teachers. The sample groups of the research are 247 undergraduate students who are studying in the academic year of 2019 from Faculty of Education, Ramkhamhaeng university. The simple random sampling of Krejcie & Morgan formula is used in this research to determine the sample size. Furthermore, the research tools are electronic book (E-Book), the quality evaluation form for experts, pre-test and post-test form, and the assessment form for satisfaction of the persons who use the electronic book (E-Book) about special education for teachers. The statistics was used in the research are mean, standard deviation, content reliability, difficulty, discrimination, and t-test comparison using dependent samples. It is found that the electronic book (E-Book) about the special education for teachers meets the criteria E1/E2, or the effective score is 85.33/86.50. The learning achievement score of the students after using the electronic book (E-Book) about special education for teachers is higher than before using it. The statistic score is .05. The mean of satisfaction of the students using the electronic book (E-Book) about the special education for teachers is 2.85 or in the good level. The standard deviation is 0.38. The students think that the electronic book (E-Book) about the special education for teachers can help them learn by themselves. Moreover, they are able to apply the contents in the electronic book in real life especially in professional field experience in teaching in the future. KEYWORDS: Electronic Book, Special Education, teach, Disabled, Teacher profession หนา้ 55

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) บทนา ในการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพทุกสถาบันอุดมศึกษาจะต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝุายท่ีต้องผลักดัน ส่งเสริมให้บุคลากรในสถาบันตระหนักในคุณค่าของคุณภาพของงานท่ีส่งผลต่อการพัฒนาตนเองและพัฒนาองค์กร เพือ่ สรา้ งความม่นั ใจใหก้ บั สงั คมในการผลิตบณั ฑิตท่มี ีคุณภาพ มศี ักยภาพตรงตามความต้องการของสังคม มีความคิด สร้างสรรค์ มีทักษะทางการส่ือสารและการทางานร่วมกับผู้อ่ืน จากสภาพการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย รามคาแหงที่เป็นหน่ึงในสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาท่ีมีลักษณะการจัดการเรียนการสอนแบบตลาดวิชา มี ห้องเรียนให้นักศึกษามานั่งเรียนแบบมหาวิทยาลัยปิด และเปิดโอกาสให้ผู้ท่ีมีภารกิจในการประกอบอาชีพ ท่ีไม่ สามารถเข้าห้องเรียนได้ โดยนักศึกษาต้องศึกษาด้วยตนเอง การสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต การศึกษาจากระบบ ออนไลน์การศึกษาจากการบนั ทึกเทปการสอน ซ่งึ มหาวิทยาลยั ไดใ้ หบ้ รกิ ารทางการศกึ ษาแกน่ กั ศึกษาและบุคคลท่ัวไป ดังนัน้ การจัดการเรยี นการสอนจึงจาเปน็ ตอ้ งพัฒนาและปรับปรุงให้สอดคล้องกับบริบทของลักษณะการจัดการศึกษา ควรเปน็ การเรยี นการสอนทบ่ี ูรณาการการเรียนการสอนให้มีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนในการเข้าถึง เน้อื หาการเรียนรู้ ถึงแม้ว่าในอดีตมีการนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษามาประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนแต่ส่ือการ เรยี นร้ตู า่ ง ๆ ยังไมค่ อ่ ยทนั สมยั มากนกั สื่อสง่ิ พิมพใ์ นอดีตยังขาดสีสัน รูปภาพและขาดเนื้อหาที่น่าสนใจ ทาให้ผู้เรียน ขาดส่งิ เร่งเร้าความ สนใจ (Gain Attention) ตอ่ การเรยี นรู้ ขาดการศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติมด้วยตนเอง สิ่งเร่งเร้าความ สนใจนบั เป็นองค์ประกอบ สาคัญท่ีก่อให้เกิดการเรียนรู้ต่าง ๆ ซ่ึงสอดคล้องกับทฤษฎีการเรียนรู้ของโรเบิร์ต กาเย่ ที่ กลา่ วถึงสิ่งเร่งเร้าความสนใจว่าผู้สอน ควรมีการจูงใจและกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน โดยสามารถใช้ภาพกราฟิก แสง สีหรือเสียงประกอบการสอน โดยส่ือท่ีสร้าง นั้นต้องเกี่ยวข้องกับเนื้อหาและมีความน่าสนใจ( Gagne; Briggs; Wagar,1974: 99-119) กอปรกับวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 คือมุ่งเน้นให้มีการนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีมาประยกุ ตใ์ ช้กบั การเรยี นการสอน ดงั นน้ั การเรียนร้ใู น ศตวรรษท่ี 21 จึงเปลยี่ นรูปแบบการเรียนรู้จาก อาจารย์ผูส้ อนเป็นแบบผเู้ รียนสามารถเรยี นรู้ด้วยตัวเองและอาจารย์ผู้สอนเป็น ผู้ท่ีทาหน้าท่ีออกแบบการเรียนรู้และ จัดกระบวนการเรียนรูใ้ ห้กับผูเ้ รียน เนน้ การเป็นโค้ชหรือผู้อานวยความสะดวกในการ เรียนรู้ (Learning Facilitator) เพ่ือให้ผ้เู รียนไดเ้ รยี นรู้ เข้าใจเน้ือหาบทเรียนได้อย่างรวดเร็ว มีความเข้าใจบทเรียนเป็นรูปธรรม และ กระตุ้นความ สนใจต่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งป๎จจุบันได้มีการนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มาใช้เป็นสื่อเสริมการเรียนรู้ เน่ืองจาก หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ E-book รูปแบบใหม่ สามารถแทรกรูปภาพ เสยี ง ภาพเคลอื่ นไหว แบบทดสอบ เช่ือมโยงไปยัง สว่ นต่าง ๆ ของบทเรยี นในหนงั สือและ เว็บไซต์ ตลอดจนมีปฏิสัมพันธ์และสามารถโต้ตอบกับผู้เรียนได้ ซึ่งสอดคล้อง กับงานวิจัยของธนาพร ป๎ญญาอมรัตน์ และอนุช สุทธิธนกูล (2557: 34-43) ท่ีได้กล่าวถึงการใช้สื่อมัลติมีเดีย ประกอบการสอนสามารถทาให้ผเู้ รยี นเขา้ ใจเนื้อหาไดร้ วดเร็วและ แม่นยามากขึ้น และงานวิจัยของไกรพ เจริญโสภา (2554: 1-71) ท่ีกลา่ วว่า ผูเ้ รยี นทเี่ รยี นจากหนังสืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ มีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ดังนั้นการนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มาเป็นสื่อเสริมการเรียนรู้ท่ีมีผลต่อการ พัฒนาความรู้ของผู้เรียน ทาให้ผ้เู รียนมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นดขี นึ้ จากข้อมลู ข้างตน้ ผู้วจิ ยั จงึ มคี วามสนใจที่จะศึกษาและพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เร่ืองการจัด การศึกษาพิเศษสาหรับครู เป็นส่ือเสริมการเรียนรู้และนามาใช้แก้ป๎ญหาการเรียนการสอนเร่ืองการศึกษาพิเศษ หน้า56

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) สาหรบั นกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาบัณฑิตซง่ึ จะตอ้ งมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั การจดั การศึกษาพิเศษ เพราะในป๎จจุบัน น้ีได้มีการจัดการศึกษาพิเศษทั้งในรูปแบบโรงเรียนเฉพาะทาง และโรงเรียนเรียนร่วมโดยในการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพนักศึกษาจะต้องได้ออกฝึกปฏิบัติจริงและอาจมีบทบาทหน้าท่ีเป็นจัดการการเรียนรู้แก่เด็กท่ีมีความต้องการ พเิ ศษในสถานศึกษา ตามระเบียบคณะกรรมการสงเสริมการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ วาดวยการจัดการศึกษา ขัน้ พน้ื ฐานสาหรบั คนพกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๒ ขอ ๖ ได้กล่าวว่าเพ่ือประโยชนในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานสาหรับคน พิการ ใหสถานศึกษา ซ่ึงไดรับคนพิการเขาศึกษา มีการดาเนินการในเร่ืองดัง ตอไปน้ี (๑) จัดระบบหรือรูปแบบท่ี สนบั สนุนการเรียนการสอนโดยคานงึ ถึงความสามารถ ความสนใจ ความถนัด และความจาเปนพิเศษตามประเภท ของคนพิการทางการศึกษา(๒) จัดสภาพแวดลอม ระบบสนบั สนุนการเรียนการสอน ตลอดจนบริการสง่ิ อานวยความ สะดวก เทคโนโลยสี ่ิงอานวยความสะดวก สือ่ บริการและความชวยเหลืออ่นื ใดทางการศึกษาที่คนพิการ สามารถเข าถงึ และใชประโยชนได ขอ ๗ ในการจัดทาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู การทดสอบทางการศึกษา การวัดและ ประเมินผลการศึกษา ใหสถานศกึ ษาและสวนราชการที่รับผิดชอบดาเนินการใหสอดคลองกับสภาพ ความตองการ จาเปนพิเศษของคนพิการแตละประเภท ตามรปู แบบ หลักเกณฑ และวิธีการท่ีเลขาธิการ คณะกรรมการการศึกษา ขน้ั พื้นฐานกาหนด หรอื ตามทส่ี ถานศกึ ษาเห็นสมควร ท้ังน้ีนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตจึงมีความจาเป็นท่ีจะต้อง เรียนรู้ความรู้ในการจัดการศึกษาพิเศษ ผู้วิจัยจึงได้วางแผนและออกแบบรูปแบบการจัดการเรียนการสอนให้มี ประสทิ ธิภาพย่ิงขนึ้ อันจะนามาซึง่ คุณภาพของการจดั การศกึ ษาในอนาคต วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั 1. เพ่อื พฒั นาหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ E – Book เรอ่ื งการจดั การศึกษาพเิ ศษสาหรับครู ใหม้ ปี ระสิทธิภาพตาม เกณฑ์ 80/80 2. เพ่ือเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เรื่องการจัด การศึกษาพเิ ศษสาหรบั ครู 3. เพ่ือประเมินความพงึ พอใจของผใู้ ช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เรื่องการจัดการศึกษาพิเศษสาหรับ ครู วธิ ดี าเนินการวิจยั การวิจัยเร่ือง การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เร่ือง การจัดศึกษาพิเศษสาหรับครูผู้วิจัยได้ ดาเนินการวิจัยในการทดลองครงั้ นี้เปน็ การวจิ ัยกึ่งทดลอง (quasi experimental design) รูปแบบของงานวิจัย (The One-Group Pretest-Posttest Design) ผู้วิจัยได้ทาการวิจัยโดยดาเนินการตามข้ันตอน คือ ประชากรและกลุ่ม ตัวอยา่ ง เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการวจิ ัย การเกบ็ รวบรวมข้อมลู และการวิเคราะห์ขอ้ มูล ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร นักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยรามคาแหงปีการศึกษา 2562จานวน950คน กลุ่มตัวอยา่ ง นกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาบณั ฑติ คณะศกึ ษาศาสตรม์ หาวิทยาลัยรามคาแหง ปกี ารศึกษา 2562 จานวน 247 คน คานวณหาขนาดกลุ่มตัวอยา่ งโดยใช้ ตารางของเครซี่และมอร์แกน ได้มาดว้ ยวธิ สี ุม่ อยา่ งง่าย (Simple Random Sampling) หน้า57

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ตวั แปรท่ศี กึ ษา ตัวแปรต้น 1. หนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์ E – Book เรือ่ ง การจัดศึกษาพเิ ศษสาหรบั ครู ตัวแปรตาม 1. ประสิทธิภาพของหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ E – Book เร่อื ง การจัดศกึ ษาพเิ ศษสาหรบั ครู 2. คะแนนจากการทดสอบก่อนเรยี น หลังเรียน 3. ระดบั ความพงึ พอใจของผูใ้ ชห้ นงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ E – Book เรอ่ื ง การจดั ศึกษาพิเศษสาหรับ ครู เคร่อื งมือทใี่ ชใ้ นการวิจยั 1. หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ E – Book 2. แบบประเมินคุณภาพหนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส์ E – Book เร่ือง การจัดศกึ ษาพเิ ศษสาหรับครู โดยผเู้ ช่ยี วชาญ 3. แบบประเมินผลกอ่ นเรยี น หลังเรียน 4. แบบประเมินความพึงพอใจของผใู้ ชห้ นังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ E – Book เรื่อง การจัดศึกษาพเิ ศษ สาหรับครู 1. หนังสืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ E – Book 1.1 ศึกษาเอกสารและทฤษฏีและวเิ คราะห์รปู แบบการพัฒนาส่ือ โดยผวู้ ิจัยมคี วามสนใจใน รูปแบบวิธีการสรา้ งสือ่ ดว้ ยบทเรียนอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ซ่ึงได้ศึกษาเอกสารและทฤษฏดี งั น้ี 1.1.1 ศกึ ษาข้อมูลเกีย่ วกบั การศกึ ษาพิเศษ 1.1.2 ศกึ ษาข้อมูลเกีย่ วกับการสร้างส่อื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 1.1.3 ศกึ ษาข้อมลู เกี่ยวกบั การเทคนิคการสอนในระดบั อุดมศกึ ษา 1.1.4 ศกึ ษาข้อมูลเกีย่ วกบั การวชิ าชพี ครู 1.1.5 ศกึ ษาขอ้ มลู เก่ียวกับการทฤษฏกี ารเรยี นรู้ 1.2 ขั้นตอนการออกแบบส่ือหนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ E-book ผวู้ จิ ัยใช้โปรแกรม Flip PDF Professional ใน การผลติ หนงั สอื อิเล็กทรอนิกสแ์ ละใชโ้ ปรแกรม Adobe Illustrator ในการออกแบบภาพกราฟิก ตามแนวคิดคิดทฤษฎีการ เรียนรู้กลุ่มผสมผสานของโรเบิรต์ กาเย่ (Robert Gagne) เพอื่ ใชเ้ ป็นแนวทางออกแบบ เคร่ืองมอื ช่วยสอนและปรบั ปรงุ หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ใหม้ ีประสิทธิภาพยิง่ ข้ึน (Gagne; Briggs; Wagar, 1974: 99- 119) โดยสรุปดังนี้ หน้า58

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ตารางท่ี 1 การออกแบบหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ E – Book เร่ืองการจดั การศึกษาพเิ ศษสาหรับครู ส่วนที่ 1 1. หนา้ ปก ส่วนท่ี 2 2. คานา 3. คาชีแ้ จงในการใช้งาน E – Book ส่วนที่ 3 4.สารบญั เนื้อหา 1.ความรูท้ วั่ ไปเกย่ี วกบั การศึกษาพิเศษ 2. ความหมายของความพกิ าร 9 ประเภท ตามที่ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารกาหนด 3. รปู แบบการจัดการศึกษาพิเศษ 4. การจดั แผนการศกึ ษาเฉพาะบุคคล ปมุ่ ปฏบิ ตั กิ าร เมนแู สดงเนอ้ื หา เอกสารอ้าง ผู้วิจยั นาหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ E – Book เร่อื งการจัดการศกึ ษาพิเศษสาหรับครู ท่ไี ดส้ ร้างขนึ้ นาไปทดสอบหาประสทิ ธิภาพ ซ่งึ มวี ธิ กี าร 3 ขน้ั ตอน ดงั น้ี ขนั้ ตอนทดลอง ครงั้ ท่ี 1 แบบหนงึ่ ต่อหนง่ึ (one-by-one testing) ผ้วู จิ ยั ทาการทดลองกบั นกั ศกึ ษา ระดับปรญิ ญาบัณฑิต ทีไ่ ม่ใช่กลุม่ ตัวอย่าง จานวน 9 คน เรยี นจบให้ทาแบบประเมนิ ระหว่างเรยี นแล้ววิเคราะห์หาค่า ประสทิ ธิภาพ ขนั้ ตอนทดลอง คร้ังที่ 2 เปน็ การทดลองแบบกลมุ่ ยอ่ ย (small group testing) ผู้วิจัยทาการทดลองกับ นกั ศึกษาระดบั ปริญญาบัณฑติ ทไี่ ม่ใชก่ ลุ่มตัวอย่าง จานวน 10 คน เรยี นจบใหท้ าแบบประเมินระหว่างเรียนแล้ว วิเคราะหห์ าคา่ ประสิทธภิ าพ ขน้ั ตอนทดลอง ครั้งท่ี 3 เปน็ การทดลองแบบภาคสนาม (field testing) ผู้วิจัยทาการทดลองกบั นกั ศกึ ษา ระดบั ปริญญาบณั ฑติ ทไี่ มใ่ ชก่ ลุ่มตวั อย่าง จานวน 15 คน เรยี นจบให้ทาแบบประเมนิ ระหวา่ งเรียนแลว้ วิเคราะห์หาค่า ประสิทธภิ าพ ผวู้ ิจัยนาผลการทดลองมาปรับปรุงแก้ไขก่อนนาไปใช้กบั กลุ่มตวั อย่างต่อไป 2. แบบประเมินคุณภาพหนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์ E – Book เรอ่ื งการจดั ศกึ ษาพิเศษสาหรบั ครู โดย ผเู้ ช่ยี วชาญ แบบประเมินคณุ ภาพหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ E – Book เรอื่ ง การจัดศึกษาพิเศษสาหรบั ครู การ สรา้ งและการหาประสทิ ธภิ าพของส่ือทีใ่ ชใ้ นการทดลอง มีขัน้ ตอนดังนี้ หนา้ 59

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ผวู้ จิ ัยไดส้ ร้างแบบความสามารถคุณภาพการพัฒนาหนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ E – Book เรอ่ื ง การจดั ศึกษาพิเศษสาหรับครู เปน็ แบบประเมนิ ท่ผี ูว้ ิจยั สรา้ งข้ึนเพอื่ ตรวจสอบความถกู ต้องของเน้อื หา เทคนิคการนาเสนอ การใชภ้ าษา หนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ E – Book เรื่อง การจดั ศึกษาพเิ ศษสาหรับครูจากผู้เชยี่ วชาญ 5 ทา่ น โดย กาหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ดังน้ี 5 คะแนน หมายถงึ มคี ณุ ภาพดมี าก 4 คะแนน หมายถงึ มคี ณุ ภาพดี 3 คะแนน หมายถึง มคี ุณภาพพอใช้ 2 คะแนน หมายถึง มคี ุณภาพตอ้ งปรบั ปรุง 1 คะแนน หมายถงึ มคี ณุ ภาพใชไ้ มไ่ ด้ เกณฑ์ในการแปลความหมายคะแนน มีดงั น้ี ค่าเฉล่ีย 4.51 - 5.00 หมายถึง มีคณุ ภาพดมี าก ค่าเฉลย่ี 3.51 - 4.50 หมายถึง มีคุณภาพดี คา่ เฉล่ีย 2.51 - 3.50 หมายถึง มีคุณภาพพอใช้ ค่าเฉล่ยี 1.51 - 2.50 หมายถึง มีคุณภาพตอ้ งปรบั ปรงุ (บุญชม ศรสี ะอาด,2553. หนา้ 82) ค่าเฉลี่ย 1.00 - 1.50 หมายถงึ มีคณุ ภาพใช้ไมไ่ ด้ เกณฑ์ในการยอมรบั ว่าหนงั สอื นิทานอกั ษรเบรลล์ สาหรับนักเรยี นทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการเห็นผู้วจิ ัยได้ กาหนดใหม้ ีค่าเฉลี่ยต้ังแต่ 3.51 ขึ้นไป จงึ จะยอมรับว่ามีคณุ ภาพดีและสามารถใช้ในการทดลองได้ 3. แบบประเมินผลกอ่ นเรยี น หลงั เรียน 3 . 1 ผู้ วิ จั ย ส ร้ า ง แ บ บ ป ร ะ เ มิ น วั ด ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น ข อ ง ก ลุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง จานวน 40 ข้อ โดยแบง่ ขอบเขต เน้อื หาออกเปน็ 3 ตอน ตอนที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ จานวน 10 ขอ้ ตอนที่ 2 ความรู้ทว่ั ไปเกีย่ วกบั ความพกิ าร 9 ประเภท จานวน 30 ข้อ และตอนที่ 3 รูปแบบการจัดการศึกษาเศษ จานวน 20 ข้อ โดยใช้ข้อคาถามแบบปลายปิด (Close – ended) จากนั้นนาไปให้ ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 ท่าน พิจารณาหาคา่ ดชั นคี วามสอดคล้อง IOC (Item Objective Congruence index(บุญชม ศรีสะอาด,2553.หน้า 82) ซึ่งผู้เชี่ยวชาญบางท่านได้ให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเน้นข้อสอบเพ่ือการวิเคราะห์ลักษณะความพิการ ซ่ึง ผู้วิจัยได้ปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องตามข้อแนะนา ผลการหาค่า IOC จากผู้เช่ียวชาญ มีค่าเท่ากับ 0.99 แสดงว่า แบบทดสอบสามารถนาไปใช้ประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ 3.2 ผู้วิจัยนาแบบประเมินไปทดสอบกับนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง ปกี ารศึกษา 2562 จานวน 30 คน เพ่ือหาค่าความยากง่าย (p) (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2553) โดยใช้เกณฑ์การคัดเลือกข้อแบบทดสอบท่ีมีค่าเฉลี่ยระหว่าง 0.20 - 0.80 ซึ่ง แบบทดสอบท่ีได้มีค่า ความยากงา่ ย (p) ตงั้ แต่ 0.40 ขึน้ ไป ถอื ว่าใช้ได้ 3.3 ผู้วิจัยหาค่าอานาจจาแนก (r) (พิชิต ฤทธิจรูญ, 2549: 250) และหาค่าความเชื่อมั่นจาก สตู รการหาค่า สัมประสิทธ์ิแอลฟุาตามทฤษฎีของครอนบาค (Cronbach LJ, 1970: 161) จากกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ หน้า60

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) เกณฑ์การวิเคราะห์ ข้อสอบแบบอิงกลุ่ม ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า แบบทดสอบมีค่าอานาจจาแนกท้ังฉบับอยู่ท่ี 0.55 ซง่ึ แปลความหมายได้ว่า แบบทดสอบมคี ่าอานาจจาแนกอยูใ่ นระดับ ปานกลางและมคี ่าความเชอ่ื มน่ั อยู่ท่ี 0.89 4. แบบประเมินความพงึ พอใจของผ้ใู ชห้ นงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ E – Book เรอื่ ง การจัดศกึ ษาพเิ ศษ สาหรบั ครู 4.1 ศกึ ษาเอกสารและงานวิจัยท่เี กย่ี วข้อง 4.2 นาผลการศกึ ษาทไ่ี ดม้ าสรา้ งเครื่องมือใหค้ รอบคลุมเนือ้ หาและจดุ ม่งุ หมาย 4.3 เครื่องมือทใ่ี ชใ้ นการรวบรวมขอ้ มูล เป็นแบบสอบถามจานวน 10 ขอ้ เพอื่ ใช้ประเมินว่าผ้ใู ชม้ ี ความพึงพอใจต่อหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เรอ่ื งการจดั ศกึ ษาพิเศษสาหรบั ครู โดยเปน็ คาถามเก่ียวกบั ความ คิดเห็นในด้านรูปแบบการนาเสนอ การส่อื ความหมาย ด้านความนา่ สนใจ การนาไปใช้ และรูปแบบวิธีการเรียน ทัง้ น้ี คาถามที่ใช้ตอ้ งสื่อความหมายตามรายการประเมนิ แบบประเมินความพงึ พอใจกาหนดไว้ ซึง่ กาหนดเกณฑ์เปน็ 3 ระดับ ดงั นี้ ระดบั ความพงึ พอใจ มาก ใหค้ ะแนน 3 ปานกลาง ใหค้ ะแนน 2 นอ้ ย ให้คะแนน 1 วิเคราะห์โดยการจัดกลมุ่ ระดบั ความพึงพอใจ ออกเป็น 3 ระดบั ตามคะแนนเฉลี่ยซงึ่ มเี กณฑ์ในการ จดั กล่มุ ดังน้ี 2.50-3.00 หมายถงึ มาก 1.50-2.49 หมายถงึ ปานกลาง 1.00-1.49 หมายถงึ นอ้ ย (Rating Scale) ของลเิ คอรท์ (Likert Scale) โดยมีคะแนน 3 ระดบั ยดึ ตามเนอื้ หาของข้อความ เป็นหลัก (บุญธรรม กิจปรีดาบรสิ ทุ ธ์ิ , 2549 : 42) 4.4 จัดขอ้ มลู ในรปู แบบของตารางสรุปและรายงานผล การดาเนนิ การทดลองและการเก็บรวบรวมขอมูล ในการวจิ ยั ครง้ั น้ี เปนการวจิ ยั เชงิ ทดลอง (Experiment Research) ซึ่งผวู จิ ัยไดดาเนินการ ทดลองโดยใช ตารางท่ี 5 ตารางท่ี 2 แผนการทดลองแบบ One Group Pretest-Posttest Design (ภัทรา นคิ มานนท กล่มุ ตัวอย่าง Pretest Teatmant Posttest E T1 X T2 ตารางที่ 2 แบบแผนการทดลอง กลุม Pretest Treatment Posttest E T1 X T2 ความหมายของ สัญลักษณ E หมายถึง กลุมตวั อยางในการทดลอง T1 หมายถงึ การทดสอบกอนการทดลองหรือทดสอบกอนเรยี น (Pretest) X หมายถงึ การปฏิบตั กิ ารเรียนรดู้ ้วยหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (e-Book) เรอื่ งการจดั ศึกษาพเิ ศษ หน้า61

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) สาหรับครู T2 หมายถึง การทดสอบหลังการทดลองหรอื ทดสอบหลังเรยี น (Posttest) สถติ ทิ ใี่ ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ได้แก่ ค่าเฉลี่ย สว่ นเบ่ียงเบน มาตรฐาน การหาค่าความเช่ือม่ัน ค่าความยาก ง่าย ค่าอานาจจาแนก การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ t-test แบบ Dependent Samples การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ดาเนนิ การทดลองกบั กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยดาเนินการทดลองโดยช้ีแจงวัตถุประสงค์ใน การวิจัยให้ กลมุ่ ตวั อยา่ งทราบ และวธิ ีการศึกษาดว้ ยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) เรื่องการจัดศึกษาพิเศษสาหรับ ครู กลุ่มตัวอย่างทาแบบประเมินก่อนเรียน (Pre-test) จานวน 40 ข้อ ใช้เวลา 60 นาที หลังจากเรียนเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ ให้กลุ่มตัวอยา่ งนาหนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Book) เรอื่ งการจดั ศึกษาพิเศษ สาหรับครู ไปศกึ ษาดว้ ยตนเอง โดยให้เวลาศกึ ษา จานวน 2 สปั ดาห์ กลุ่มตัวอย่างทาแบบประเมินหลังเรียน (Pro - test) และนาข้อมูลท่ีได้จากการทดลองมา วเิ คราะห์ดว้ ยวิธที างสถติ ิและแปลผลเพ่อื สรุปผลการวิจัย ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ผู้วิจัยได้พัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เรื่องการจัดการศึกษาพิเศษสาหรับครู ตามแนวคิด และ ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มผสมผสานของโรเบิร์ต กาเย่ (Gagne; Briggs; Wagar, 1974: 99-119) เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถ เลือก บทเรียนตามความสนใจและตามความยากง่ายของเนื้อหา มีการเช่ือมโยงองค์ความรู้เดิมไปสู่องค์ความรู้ใหม่ สามารถเลอื กฟ๎ง เสียงบรรยายเนื้อหา รวมถึงมปี ุมควบคุมท่ที าให้ผ้เู รียนสามารถควบคมุ การเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ดังนี้ ส่วนหน้าจอหลกั หน้าจอหลักประกอบด้วย คานา คาชี้แจงการใช้และสารบัญ ซึ่งผู้เรียนสามารถเข้าสู่บทเรียนผ่าน ล้งิ ค์เวบ็ ไซดท์ ีก่ าหนด ตารางที่ 3 ผลการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เร่ืองการจัดการศึกษาพิเศษสาหรับครู ให้มี ประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 การหาประสทิ ธิภาพ จานวน ระหวา่ งกระบวนการ E1 หลังกระบวนการ E2 นกั ศกึ ษา คะแนน(10) รอ้ ยละ คะแนน(40) รอ้ ยละ รายบุคคล 9 73 81.11 301 83.61 กลมุ่ ย่อย 10 83 83.00 330 82.50 ภาคสนาม 15 128 85.33 519 86.50 จากตารางที่ 3 พบว่า การหาประสิทธิภาพผลการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เรื่องการจัด การศกึ ษาพเิ ศษสาหรับครู ให้มีประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 กับนักศึกษาจานวน 9 คน ได้ค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 81.11/83.61 กับนักศกึ ษาจานวน10 คน ไดค้ ่าประสทิ ธิภาพเทา่ กับ 83.00/82.50 และนักศึกษาจานวน 15 คน ได้ ค่าประสทิ ธภิ าพเทา่ กบั 85.33/86.50 หนา้ 62

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ประเมินคณุ ภาพหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ E – Bookเรอื่ งการจดั ศึกษาพิเศษสาหรับครู โดยผู้เชี่ยวชาญ ตารางท่ี 4 ผลการประเมินคุณภาพหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ E – Book เรอื่ งการจัดศึกษาพเิ ศษสาหรับครู โดยผเู้ ช่ียวชาญ ขอ้ ท่ี ขอ้ ความ ระดบั คุณภาพ ดา้ นความถูกตอ้ งของเน้ือหา  SD แปลผล 1. ความสอดคล้องกับวัตถปุ ระสงคใ์ นการเรยี น 4.60 0.55 ดมี าก 2. ความเหมาะสมในการลาดบั เน้ือหาตามข้นั ตอน 4.60 0.55 ดมี าก 3. ความเหมาะสมกบั วัยของผู้เรียน 5.00 0.00 ดีมาก 4. ความถกู ต้องและความยากงา่ ยของเนื้อหา 5.00 0.00 ดีมาก 5. ความถูกต้องของภาษา 5.00 0.00 ดมี าก 6. ความสอดคลอ้ งระหว่างรูปภาพ 4.80 0.45 ดีมาก 7. รปู แบบหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกสม์ กี ารใช้ภาพกราฟกิ เทคนคิ 4.60 0.55 ดมี าก ในการนาเสนอที่ น่าสนใจ 8. เนอ้ื หากระชบั เหมาะสมกับระยะเวลาเรียน 4.80 0.45 ดมี าก รวม 4.80 0.41 ดีมาก ดา้ นคณุ ภาพเทคนคิ การนาเสนอ 1. ความน่าสนใจของเทคนิคการนาเสนอ 4.60 0.55 ดีมาก 2. ความเหมาะสมกบั ผเู้ รียนต่อเทคนิคการเรยี นรู้ 4.80 0.45 ดมี าก 3. ความเสถียรภาพในการเชอ่ื มโยงเทคนิคการต่างๆ 4.60 0.89 ดีมาก 4. ความเหมาะสมเก่ียวกับรปู ในการสร้างและรปู แบบของสื่อ 4.80 0.45 ดีมาก 5. การเข้าศกึ ษาเน้อื หาในบทเรียนมีความสะดวก รวดเร็ว 4.80 0.45 ดมี าก 6. ปุมแสดงรายการต่าง ๆ สื่อความหมายได้ชัดเจน 4.60 0.55 ดมี าก รวม 4.50 0.97 ดมี าก ด้านการใช้ภาษา 1. ภาษาท่ใี ชใ้ นส่ือการเรยี นร้มู ีความถกู ตอ้ ง เหมาะสม 4.80 0.45 ดมี าก 2. ส่อื หนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส์มีวจั นะภาษาทาใหผ้ ใู้ ช้เกิดการเรยี นรดู้ ว้ ย 4.80 0.45 ดมี าก ตนเอง 3. ส่ือหนงั สอื อิเล็กทรอนกิ สม์ ีภาษาชว่ ยให้ผู้เรียนสามารถทบทวน 5.00 0.00 ดมี าก บทเรียนไดต้ ลอดเวลา 4. สื่อหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ทาใหผ้ ู้เรยี นมคี วามสนุกสนานกบั การ 4.80 0.45 ดีมาก หนา้ 63

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ขอ้ ที่ ขอ้ ความ ระดับคุณภาพ  SD แปลผล เรียนรู้ 5. สื่อหนังสืออิเลก็ ทรอนกิ สม์ ภี าษาทท่ี าสัน้ ชดั เจนต่อการส่อื 4.80 0.45 ดมี าก ความหมาย 4.80 0.45 ดีมาก 6. ส่อื หนงั สืออิเล็กทรอนิกสม์ ีภาษาทีท่ าความเขา้ ใจงา่ ย 4.61 0.93 ดมี าก 4.78 0.44 ดีมาก รวม รวมทง้ั 3 ด้าน จากตารางที่ 4 ผลการประเมินส่อื โดยผู้เชียวชาญทงั้ 5 ท่าน ได้ประเมินคณุ ภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Bookเรอ่ื งการจดั ศึกษาพเิ ศษสาหรับครู โดยผู้เช่ียวชาญ ทั้ง 3 ด้านอยู่ในเกณฑ์ดีมาก มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.78 สว่ นเบีย่ งเบนมาตฐาน 0.44 และคดิ เป็นค่าเฉล่ยี รายดา้ นคอื ด้านความถกู ต้องของเน้ือหา มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.80 สว่ นเบีย่ งเบนมาตฐาน 0.41 อยูใ่ นระดบั ดีมาก ดา้ นเทคนคิ การนาเสนอ มีคา่ เฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.50 ส่วนเบี่ยงเบน มาตฐาน 0.97 อยใู่ นระดบั ดมี าก ดา้ นการใช้ภาษา มคี ่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.61 ส่วนเบ่ียงเบนมาตฐาน 0.93 อยู่ ในระดับ ดีมาก ตารางท่ี 5 ผลการเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เร่ืองการจัด การศึกษาพิเศษสาหรับครู การประเมินผล จานวนนักศึกษา คะแนน เต็ม  S.D. df t ก่อนเรยี น 247 40 21.33 4.78 246 39.83 หลงั เรียน 247 40 34.72 4.05 *มนี ัยสาคญั ทางสถิติทร่ี ะดับ .05 จากตารางท่ี 5 พบว่า ผลการเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียน ของกลุ่มควบคุม มีค่าคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 21.33มีค่า S.D. เทา่ กับ 4.78 และผลการเปรียบเทียบคะแนนหลังเรียนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เร่ือง การจดั การศกึ ษาพเิ ศษสาหรับครู มีคา่ คะแนนเฉล่ียเทา่ กับ 34.72 มคี า่ S.D. เทา่ กบั 4.05 เมือ่ นาผลการเปรียบเทียบ คะแนนก่อนเรยี นและหลังเรียนโดยใชห้ นงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส์ E – Book เรอ่ื งการจัดการศกึ ษาพิเศษสาหรับครู มีค่า t คือ 39.83, df = 246 ท่ไี ด้จากการคานวณ ซ่ึงผลท่ีได้เป็นการยอมรับสมมติฐาน แสดงว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เรอ่ื งการจัดการศกึ ษาพเิ ศษสาหรับครู มีส่วนชว่ ยใหผ้ เู้ รียนมีความกา้ วหน้าทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่าง มนี ัยสาคัญทางสถติ ทิ ่รี ะดบั 0.05 หนา้ 64

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ตารางท่ี 6 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เรื่องการจัดการศึกษา พิเศษสาหรบั ครู ขอ้ ความ ระดบั ความพงึ พอใจ  SD แปลผล 1. นกั ศึกษาพอใจในรูปภาพและขอ้ ความ 2.74 0.44 มาก 2. นกั ศึกษาพอใจในสตี วั อกั ษรชัดเจน ง่ายต่อการอา่ น/การมอง 2.64 0.48 มาก 3. นกั ศึกษาพอใจในภาพและเสียงประกอบเมอ่ื ใช้ E-Book 2.83 0.47 มาก 4. นกั ศกึ ษาพอใจในรปู ภาพสว่ นของภาพทป่ี รากฏบน จอ 2.91 0.28 มาก 5. นกั ศกึ ษามคี วามเขา้ ใจในเน้อื หาการเรยี น ทาให้ได้คะแนนเพ่มิ 2.83 0.47 มาก 6. นักศึกษาคิดว่าหนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกส์ E – Book ใช้กบั บทเรยี นไดด้ ี 2.91 0.28 มาก ขน้ึ 2.90 0.30 มาก 7. นกั ศึกษาคิดว่าส่ือหนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ E – Book สามารถเรยี นดว้ ย 2.83 0.38 มาก ตนเองได้ 2.96 0.20 มาก 8. นกั ศกึ ษาพอใจท่จี ะเรยี นซ้า ๆ ได้ 2.94 0.26 มาก 9. นักศึกษาตอ้ งการเรียนด้วยบทเรียนในลักษณะนก้ี บั เน้ือหาอ่ืน ๆ 2.85 0.38 มาก 10. นกั ศึกษาพอใจในการนาเสนอทม่ี คี วามนา่ สนใจ รวม จากตารางที่ 6 ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผู้ใชห้ นงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ E – Book เรือ่ งการจดั การศกึ ษาพเิ ศษสาหรบั ครู จานวน 247 คน พบวา่ มีค่าเฉล่ียรวมของความพึงพอใจเท่ากับ 2.85 ซงึ่ อยใู่ นระดบั มาก สรุปผลการวจิ ยั จาการผ้วู จิ ัยเรื่อง การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เรื่องการจัดศึกษาพิเศษสาหรับครู สามารถ สรุปผลการวิจัยได้ ดงั น้ี งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เรื่องการจัด การศึกษาพเิ ศษสาหรับครู ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพ่ือเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ E – Book เรอื่ งการจัดการศึกษาพิเศษสาหรับครู 3) เพือ่ ประเมนิ ความพึงพอใจของผู้ใช้ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เรื่องการจัดการศึกษาพิเศษสาหรับครู เปนการวิจัยเชิงทดลอง (Experiment Research) แผนการทดลองแบบ One Group Pretest-Posttest Design กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับ ปรญิ ญาบณั ฑิต คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง ปีการศึกษา 2562 จานวน 247 คน จากการวจิ ยั พบว่า ผลการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เร่ืองการจัดการศึกษาพิเศษสาหรับครู มีค่าประสิทธิภาพ เทา่ กับ85.33/86.50 ซึง่ เปน็ ไปตามเกณฑ์ทีก่ าหนดไว้ 80/80 หน้า65

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ประเมินคุณภาพหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ E – Bookเรอื่ งการจัดศึกษาพิเศษสาหรบั ครู โดยผู้เชีย่ วชาญ โดนมีผลการประเมิน ท้ัง 3 ด้าน คือ ด้านความถูกต้องของเน้ือหา ด้านเทคนิคการนาเสนอ ด้านการใช้ภาษาอยู่ใน เกณฑ์ดมี าก มคี า่ เฉล่ียรวมเทา่ กบั 4.78 ส่วนเบี่ยงเบนมาตฐาน 0.44 ผลการเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เรื่องการจัด การศกึ ษาพเิ ศษสาหรบั ครู เมือ่ นาผลการเปรยี บเทยี บคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เร่ืองการจดั การศึกษาพเิ ศษสาหรับครู มีคา่ t คอื 39.83, df = 246 ทไ่ี ด้จากการคานวณ ซง่ึ ผลที่ได้เป็นการ ยอมรับสมมติฐาน แสดงว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เร่ืองการจัดการศึกษาพิเศษสาหรับครู มีส่วนช่วยให้ ผู้เรียนมีความกา้ วหนา้ ทางการเรยี นสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมนี ยั สาคัญทางสถิติท่ีระดบั .05 ผลการประเมินความพึงพอใจของผใู้ ชห้ นังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เร่ืองการจัดการศึกษาพิเศษสาหรับ ครู พบวา่ มคี ่าเฉล่ียรวมของความพงึ พอใจเท่ากบั 2.85 ซึ่งอยใู่ นระดับ มาก ซึ่งเป็นไปตามสมมตฐิ านทไ่ี ดก้ าหนดไว้ อภปิ รายผล จากผลการวิจัย พบว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นส่ือการเรียนรู้ท่ีมีส่วนช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม วัตถปุ ระสงคอ์ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์เทา่ กบั 85.33/86.50 โดยผู้วิจยั ไดท้ าการออกแบบ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เรอื่ งการจัดการศึกษาพิเศษสาหรับครูช่วย โดยได้ออกแบบด้วยหลักของ ADDIE Model มีการออกแบบ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียนเป็นสาคัญ กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใน เน้ือหามากท่สี ดุ และมีความสอดคลอ้ งความรู้เกี่ยวกับวชิ าชีพครูท่ีผู้เรียนจะต้องทาความเข้าใจความแตกต่างระหว่าง บุคคลนน้ั รวมไปถึงผู้ทม่ี คี วามพิการไปด้วย ท้ังน้ีผลการประเมินสื่อโดยผู้เชียวชาญท้ัง 5 ท่าน ได้ประเมินคุณภาพ หนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ E – Bookเรื่องการจดั ศึกษาพิเศษสาหรับครู โดยผเู้ ชย่ี วชาญ ทั้ง 3 ด้านคือ ด้านความถูกต้อง ของเนอ้ื หา ด้านเทคนิคการนาเสนอ ดา้ นการใชภ้ าษา อยใู่ นเกณฑด์ มี าก มีคา่ เฉลย่ี รวมเทา่ กับ 4.78 ส่วนเบี่ยงเบนมา ตฐาน 0.44 อีกทั้งในการเรียนด้วยให้ผู้เรียนสะดวกต่อการทบทวนความรู้ด้วยตนเองในระยะเวลาท่ีจากัดและยัง สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการพัฒนาการเรียนการสอนในรายวิชาต่าง ๆ ได้ การวิจัยในคร้ังนี้ส่งผลให้หนังสือ อิเลก็ ทรอนกิ ส์เป็นสื่อการเรยี นรูท้ ี่มีส่วนช่วยให้ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ เท่ากับ80/80 สอดคล้องกับผลการวิจัยของ วารุณี คงวิมล (2559) ที่ได้ทาการวิจัยเร่ือง การพัฒนาหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) เร่ือง การใช้โปรแกรม Photoshop เพ่ือผลิตส่ือการสอน สาหรับครูระดับประถมศึกษา และมีผลการวิจยั ท่แี สดงใหเ้ หน็ ว่า ผลิตสื่อการสอนสาหรับครู ระดับประถมศึกษา ที่ผู้วิจัยได้ทาการออกแบบและพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ตาม หลักการออกแบบและพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์อย่างเป็นระบบ โดยผู้วิจัยใช้ข้อความ ภาพ เสียง คลิปวิดีโอ ตัวอย่างมาเป็นส่ือในการนาเสนอเน้ือหา ทาให้ได้บทเรียนท่ีมีความน่าสนใจ มีการจัดลาดับขั้นตอนเน้ือหาอย่าง ถูกต้อง มีการแสดงผลการทาคะแนนก่อนและหลังเรียน เพ่ือเปรียบเทียบระดับความรู้ ความสามารถของตนเอง มี แบบฝึกหดั ทดสอบความรู้ สามารถเลือก เรียนซ้าในเนื้อหาท่ีผู้เรียนยังไม่เข้าใจก่ีครั้งก็ได้จนเกิดความเข้าใจเน้ือหาใน บทเรยี น สอดคล้องกับ กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) ของธอร์นไดค์ (Thorndike) คือ การกระทาซ้า ๆ จะ กอ่ ให้เกดิ ความชานาญ การฝึกปฏบิ ตั ิซา้ ๆ จะทาให้เกิดการเรยี นรู้ ส่งผลใหค้ รเู รียนรู้ พฒั นาตนเองอีกด้วย การพัฒนา หนา้ 66

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Photoshop เพื่อผลิตส่ือการสอนสาหรับ ครู ระดับประถมศึกษา ในคร้ังนี้ มีจุดแข็ง คือ ครูสามารถใช้งานได้ที่ทุกที่โดยไม่ต้องเช่ือมต่อ อินเทอร์เน็ต ผู้เรียน สามารถศึกษาได้ดว้ ยตนเองอย่างละเอียด ให้หยุดการอธิบายช่ัวคราวโดยใช้ปุม ปิดเสียง และปุมเปิดเสียงเพื่อศึกษา เน้ือหาต่อ สามารถกดปุม Pause ในคลิปวิดีโอตัวอย่างเพ่ือฝึก การปฏิบัติไปด้วยพร้อม ๆ กับคลิปวิดีโอ ในการทา แบบทดสอบและแบบฝึกหดั ผวู้ จิ ยั ไดอ้ อกแบบ ใหต้ ัวบทเรยี นมกี ารโต้ตอบกบั ผู้เรียน ผลการเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เรื่องการจัด การศกึ ษาพเิ ศษสาหรับครู หลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เน่ืองมาจากผู้เรียนได้ใช้ หนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ สเ์ ปน็ ส่อื การเรียนรู้ท่ีผู้เรียนในรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบตลาดวิชาสามารถเรียนรู้ทา ความเขา้ ใจและทบทวนเนื้อหาไดต้ ลอดเวลา ซง่ึ ในเนอ้ื หาผู้เรียนได้ออกแบบโดยเน้นข้อมูลเชิงภาพเพื่องานต่อการทา ความเข้าใจและประมวลผลเป็นความคิดรวบยอดเพ่ือให้ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเองและเมื่ อนาผล การเปรียบเทียบคะแนนกอ่ นเรียนและหลังเรียนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เร่ืองการจัดการศึกษาพิเศษ สาหรับครู มีค่า t คือ 39.83, df = 246 ทไี่ ด้จากการคานวณ ซ่ึงผลที่ได้เป็นการยอมรับสมมติฐาน แสดงว่าหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ E – Book เรือ่ งการจดั การศกึ ษาพเิ ศษสาหรบั ครู มีส่วนช่วยใหผ้ ู้เรยี นมีความก้าวหน้าทางการเรียนสูง กวา่ ก่อนเรียนแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนส่วนใหญ่มีความก้าวหน้าทางผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนอยู่ในระดับดี มีผลคะแนน หลังการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติคือ .05 เน่ืองจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E-book เป็นสื่อ ประสมท่ีสามารถสอดแทรกรปู ภาพกราฟิกที่น่าสนใจ สามารถใช้เสียง ข้อความ ตัวอักษรที่ทาให้อ่านง่ายสบายตา มี เสียงบรรยายข้อมูลที่ชัดเจน มีการใช้ปุมนาทางเพื่อให้มีการเชื่อมโยงองค์ความรู้เดิมสู่องค์ความรู้ใหม่ หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ E-book จึงมีส่วนช่วยให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจต่อการเรียนรู้ ทาให้มีผลคะแนนทางการเรียนดีขึ้น ซึ่ง สอดคล้องกับงานวิจัยของ จนั ทนา บรรจงดษิ ฐ์ (2557: 65-73) ศกึ ษาวิจัยเร่ือง การพฒั นาความสามารถภาษาจีน เพ่ือ การสือ่ สารโดยใชห้ นงั สืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ภาษาจีนและเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิหลังการเรียนของ นักเรยี นมัธยมศกึ ษาช้ันปที ่ี 1 ผลการวจิ ัยพบว่านักเรียนมีคะแนนเฉล่ียจากการทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิหลังเรียนสูงกว่า กอ่ นเรียนอยา่ งเปน็ นัยสาคญั ทท่ี างสถติ ิระดบั 0.05 ผลการประเมินความพึงพอใจของผ้ใู ช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E – Book เร่ืองการจัดการศึกษาพิเศษสาหรับ ครู พบวา่ มีคา่ เฉลยี่ รวมของความพงึ พอใจเท่ากบั 2.85 ซง่ึ อยู่ในระดับ มาก ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ได้กาหนดไว้ โดยมีความเห็นว่าส่ือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีส่วนช่วยให้ผู้ใช้มีความรู้เกี่ยวกับการศึกษาพิเศษมากขึ้น หนังสือ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ช่วยใหผ้ ใู้ ช้เกดิ การเรียนร้ดู ว้ ยตนเองและเน้อื หาในหนังสอื อิเล็กทรอนกิ ส์เป็นประโยชน์ ซ่ึงสอดคล้องกับ ธนาพร ป๎ญญาอมรัตน์ และอนุช สุทธิธนกูล (2557: 34-43) ท่ีทาการวิจัยเร่ืองการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียสาหรับการ เรียนการสอนภาษาจีนพ้นื ฐาน พบวา่ ผู้เรยี นเหน็ ว่าสอื่ น้ันมสี ่วนช่วยผเู้ รียนในการเรยี นรู้ด้านต่าง ๆ เป็นอย่างมาก การ ใชส้ ่อื มัลตมิ เี ดียประกอบการสอนสามารถทาใหผ้ ูเ้ รยี นเขา้ ใจได้รวดเร็วและแม่นยามากข้ึน และสอดคล้องกับ กนกพร ศรญี าณลักษณ์ (2557: 1-13) ทไี่ ดท้ าการวิจัยเร่ือง การใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ด้วยตนเองของนิสิต คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ผลการวิจัยพบว่า นิสิตมีทัศนคติและพฤติกรรมการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนร้ภู าษาจีนด้วยตนเองอยใู่ นระดบั มาก จากผลการวิจัย พบว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อการเรียนรู้ที่มีส่วนช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม วัตถปุ ระสงค์อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ชว่ ยให้ผู้เรียนสะดวกต่อการทบทวนความรู้ด้วยตนเองในระยะเวลาท่ีจากัดและยัง หนา้ 67

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) สามารถนาไปประยกุ ต์ใช้กับการพัฒนาการเรยี นการสอนในรายวิชาต่าง ๆ ได้ เหมาะสมการจัดการรู้ท่ีเน้นผู้ที่จะต้อง ทาการศกึ ษาหาความรดู้ ้วยตนเองแบบไม่จากัดเวลาและสถานท่ี ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การปฏบิ ตั ิ 1. ควรมีคาแนะนาเกี่ยวกับวิธีการเข้าใช้สื่อการเรียนรู้แก่ผู้เรียนอย่างละเอียด เมื่อรู้เรียนเลือกใช้กับ เครื่องมอื หรือ soft ware ในการศกึ ษา เช่น คอมพิวเตอร์ในระบบปฏบิ ตั ิ Windows,IOS หรือ Smart phone 2. ควรมีการกากับติดตามผลการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของผู้เรียนอย่างสม่าเสมอ เพื่อเป็นการ ปรับปรุงแก้ได้อยา่ งเหมาะสม 3. ควรใช้รูปภาพ สี ตัวอักษร ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียนในระดับอดุมศึกษา หรือ รูปแบบการนาเสนอส่ือ อนิ โฟกราฟิก ขอ้ เสนอแนะในการทาวจิ ยั คร้ังตอ่ ไป 1. ควรพฒั นาสอื่ หนังสืออเิ ล็กทรอนกิ ส์เป็นส่ือเสรมิ ประกอบการเรียนในรายวชิ าต่าง ๆ ซึ่งสื่อการเรียนรู้น้ีจะ ชว่ ยใหผ้ ทู้ ีส่ นใจ มคี วามรู้ความเข้าใจในเน้ือหา บทเรียนมากขึ้น อีกท้ังยังสะดวกต่อการพกพาและสะดวกต่อการการ ทบทวนเนอ้ื หาบทเรยี นดว้ ยตนเองอีกด้วย 2. ควรใชโ้ ปรแกรมท่ีถกู ตอ้ งตามลิขสทิ ธิ์ เพ่อื ปูองกนั การเกดิ ปญ๎ หาขัดข้องระหว่างการใช้งาน 3. ปรบั ปรงุ ใหส้ ามารถมปี ฏิสมั พันธก์ ับผู้สอน หรือผเู้ รียนกับผูเ้ รยี นได้ เอกสารอ้างอิง กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย การสื่อสารโดยใช้หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์” ใน การ 2552. คูมือการออกแบบสภาพแวดลอม สาหรับคน ประชมุ วิชาการและนาเสนอผลงานวจิ ัยระดับชาตแิ ละ พิการ และคนทกุ วยั . กรงุ เทพ: พิมพครงั้ ที่ 3 นานาชาติ ครง้ั ท่ี 6. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสนุ นั ทา. 65-73. กนกพร ศรญี าณลกั ษณ.์ (2551). รปู แบบการเรียน ภาษาจีนของนสิ ติ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2553). เทคนิค มหาวิทยาลยั บูรพา.วารสารศกึ ษาศาสตร์, 19(3), 15- การวจิ ัยทางการศึกษา.พิมพค์ รัง้ ที่ 11. 26. กรงุ เทพฯ: สวุ ีรยิ าสาสน์ . ไกรพ เจรญิ โสภา. 2554. หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E- Book) วิชา การพิมพ์ดจิ ทิ ลั สาหรับนักศึกษาปริญญา พิชิต ฤทธ์จิ รญู . (2549). ระเบยี บวิธกี ารวิจัยทาง ตรี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสุนัทา.มหาวิทยาลัยราช สงั คมศาสตร.์ พิมพ์ครั้งที่ 3. กรงุ เทพฯ : เฮา้ ส์ ภัฏสวนสุนนั ทา. ออฟเคอรม์ ีสท์. จนั ทนา บรรจงดิษฐ์, สมาน เอกพมิ พ์ และพทุ ธารตั น์ วารุณี คงวิมล (2559) การพฒั นาหนังสอื ทะสา. (2558). “การพฒั นาความสามารถภาษาจีน อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Book) เรอื่ ง การใช้โปรแกรม เพอื่ Photoshop เพื่อ หนา้ 68

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ผลติ สอื่ การสอน สาหรบั ครูระดับ บุญธรรม กจิ ปรีดาบรสิ ทุ ธิ์. (2549). เทคนิคการสราง ประถมศึกษา.วทิ ยานพิ นธ์น้ีเป็นสว่ นหนงึ่ เครื่องมือรวบรวมขอมูลสาหรับการวจิ ยั .พิมพครั้งท่ี 6. ของการศกึ ษาตามหลกั สูตรการศกึ ษา กรุงเทพฯ : จามจรุ ีโปรดกั ท์. มหาบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา Cronbach, L. j. (1970). Essentials of ธนาพร ป๎ญญาอมรวัฒน์ และอนชุ สุทธธิ นกลู . Psychological Testing. New York: Harper & (2557). “การพัฒนาส่ือมัลติมีเดียสาหรบั การเรียน Row. 161. การสอน ภาษาจีนพื้นฐาน” ใน การประชุมวิชาการ Gagne, Briggs and Wagar. (1974). The ปญ๎ ญาภวิ ฒั น์ ครั้งท่ี 4. วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. principles of instructional design (4th ed.). 2557. New York: Holt. 99-119. กรุงเทพฯ: สถาบันการจดั การป๎ญญาภวิ ัฒน์, 34-43. บญุ ชม ศรสี ะอาด.(2553).การวจิ ัยเบีอ้ งต้น(พมิ พค์ รัง้ ท่ี 8) กรุงเทพ: สุวรี ยิ าสานน์ . หน้า69

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ สาหรบั ผสู้ งู วยั LIFELONG LEARNING FOR THE ELDERLY สริ ินธร สนิ จินดาวงศ์ และ ผุสดี กลน่ิ เกษร มหาวทิ ยาลัยศรปี ทุม E-mail: [email protected], [email protected] บทคดั ยอ่ การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning)เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งหมดของแต่ละบุคคลตั้งแต่แรกเกิด จนถึงตายท่ีเกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมี รูปแบบหลากหลายและมีความต่อเน่ืองในชีวิต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากลุ่มบุคคลผู้สูงวัยให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะชีวติ ในการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ อย่างย่ังยืน พร้อมท่จี ะดารงชวี ติ ประกอบอาชีพและปรับตัวให้เข้า กับสภาพแวดล้อมที่เปล่ียนแปลงไปท้ังทางด้านเศรษฐกิจสังคม เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสมและมี ประสทิ ธิภาพ การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ สาหรบั ผูส้ ูงวยั จึงเปน็ การเรียนรทู้ ่มี ุ่งเนน้ ใหผ้ ้สู ูงอายุมีชีวิตอย่างมีคุณค่า มีศักด์ิศรี มี คุณภาพชีวติ ทีด่ ี สามารถพึ่งตนเองได้นานทีส่ ดุ และสามารถมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม โดยมีการนาหลักการเรียนรู้ สาหรบั วยั ผู้ใหญ่ (Adult learning) มาเป็นศาสตร์และศิลป์ในการช่วยให้ผู้สูงวัยได้เรียนรู้ โดยผู้ใหญ่จะมีการเรียนรู้ที่ ต่างจากเด็ก 4 ประการ ได้แก่ 1) ความเข้าใจต่อตนเอง (Self-concept) 2) ประสบการณ์(Experience) 3) ความ พรอ้ มทีจ่ ะเรยี นรู้ (Readiness to Learn)และ 4) เปูาหมายในการเรียนร(ู้ Goal to Learning) เพือ่ ส่งเสริมให้ผู้สูงวัยมี การเรยี นรู้ตลอดชวี ิตและพัฒนาไปสูก่ ารเป็นสงั คมแหง่ การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ อย่างยั่งยนื คาสาคญั : การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต ผสู้ ูงวัย การศกึ ษา ABSTRACT Lifelong learning is an individual learning activity for each person from their birth to death, with a combination of formal, non-formal, and informal education that has various forms and is continuing in life. The objective is to develop a group of elderly people to have knowledge, ability and life skills for sustainable lifelong learning, ready to live, attainment of career, and adjust to the changing economy, society, technology and environment that can be appropriate and efficient. Lifelong learning for the elderly is focused on providing the elderly with a valuable life, dignity, and good quality of life that can be self-reliant as long as possible and able to participate in social development by applying learning principles for elderly into science and arts to help them learn in which, they learn different from children in 4 aspects as: 1) Self-concept, 2) Experience,3) Readiness หน้า70

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) to Learn, and 4) Goal to Learning, to encourage the elderly to have lifelong learning and support sustainable society of lifelong learning. KEYWORDS:LIFELONG LEARNING,ELDERLY, EDUCATION บทนา ในยุคป๎จจุบันที่โลกกาลังเผชิญกับสภาพความเปลี่ยนแปลงในทุก ๆ ด้านทั้งเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ตลอดจนเทคโนโลยที ่ีมีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วซ่ึงล้วนส่งผลถึงวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของทุกคนในสังคม ดังน้ัน การพัฒนาคนให้มีศกั ยภาพและรู้เท่าทันกระแสการเปล่ียนแปลงเพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกนั ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุขจึง เป็นส่ิงสาคัญและมีความจาเป็นอย่างย่ิงในการท่ีจะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพราะหากสังคมหรือองค์กรใดมีคนที่มี ศักยภาพสูงย่อมได้เปรียบกว่าในการที่จะช่วยกันขับเคลื่อนสังคมหรือองค์กรไปสู่ความสาเร็จตามเปูาหมาย ดังนั้น มนษุ ยเ์ ราจงึ ตอ้ งแสวงหาความรูใ้ หมๆ่ เพอื่ ท่จี ะไดก้ ้าวทันโลกท่ีเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การเรียนรู้ของมนุษย์เราจึง ไมห่ ยุดเพียงท่ีโรงเรียนหรอื มหาวทิ ยาลัย แต่สามารถเรียนร้นู อกห้องเรียนได้ตลอดเวลา มนุษย์จึงมกี ารเรียนรู้ต้ังแต่แรก เกดิ จนถึงช่วงสุดท้ายของชวี ิตนน่ั คอื การรวมเอาการศึกษาในระบบโรงเรียน (Formal Education) นอกระบบโรงเรียน (Non-formal Education) และการศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education) เข้าด้วยกันและการเรียนรู้เกิดขึ้นได้ ทุกแห่งไม่ว่าจะในครอบครัว วัด โรงเรียน ชุมชน สถาบันการศึกษา สถานประกอบการ และแหล่งวิชาความรู้ต่างๆ ดังนนั้ การเรียนรู้ตลอดชีวิตจึงกลายเป็นความจาเป็นของมนษุ ยใ์ นยุคปจ๎ จุบนั นี้ จากสถานการณ์สังคมไทยในยุคป๎จจุบันมีที่อัตราการเพ่ิมข้ึนของประชากรไทยกาลังเข้าใกล้อัตราเพิ่มที่เป็น ศูนยเ์ ปน็ ผลสืบเนอ่ื งมาจากการพฒั นาเศรษฐกิจ สังคม ตลอดจนความสาเร็จของโครงการการวางแผนครอบครัวทาให้ สามารถควบคมุ ภาวะเจริญพันธ์ุให้ลดลงสู่ระดับต่าได้อย่างรวดเร็วความก้าวหน้าทางวิทยาการทางการแพทย์ช่วยให้ อตั ราการตายของคนลดลงสง่ ผลให้ประชากรผู้สูงอายุเพ่ิมขึ้นเร่ือยๆ และคาดว่าสัดส่วนประชากรอายุ 65 ปีข้ึนไปจะ สูงขน้ึ ถงึ รอ้ ยละ 20 ในอกี ไม่ถึง 30 ปขี ้างหน้า จากผลการคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2553–2583 พบว่าสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพ่ิมสูงขึ้นประมาณร้อยละ 12.7 ของประชากรผู้สูงอายุทั้งหมด การ เพิ่มข้ึนของประชากรผู้สงู อายุจะสะท้อนถึงการเพิ่มขึ้นของประชากรที่อยู่ในวัยพ่ึงพิง ซึ่งจะส่งผลต่อเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของผสู้ ูงอายุ(สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2560) ซ่ึงป๎จจุบันประเทศไทยมี แผนผู้สงู อายแุ ห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-2564) เป็นแผนระยะยาวที่มีนโยบายให้ความสาคัญต่อคุณภาพชีวิตและ ความสาคัญของคนในสังคมทมี่ ีความเกีย่ วพนั กบั ผ้สู ูงอายไุ ม่ทางใดก็ทางหน่งึ และตอ้ งเตรียมตวั เข้าสู่ระยะวยั สูงอายุตาม วงจรชวี ติ ทไ่ี มอ่ าจหลกี เล่ยี งได้ โดยมีการกาหนดยุทธศาสตร์ 5 ด้าน ได้แก่ 1) ยุทธศาสตร์ด้านการเตรียมความพร้อม ของประชากรเพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ 2)ยุทธศาสตร์ด้านการส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงวัย 3)ยุทธศาสตร์ด้านระบบ คมุ้ ครองทางสงั คมสาหรบั ผ้สู ูงวัย 4)ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการเพื่อการพัฒนางานด้านผู้สูงวัยอย่างบูรณาการ หน้า71

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ระดบั ชาติและการพัฒนาบคุ ลากรด้านผูส้ งู วัย 5) ยทุ ธศาสตร์ด้านการประมวลพัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านผู้สูง วัยและการติดตามประเมินผลการดาเนินการตามแผนผู้สูงวัยแห่งชาติ (คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ กระทรวง พฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์, 2552) ตลอดจนพระราชบัญญัติผู้สูงอายุยังได้ระบุไว้ว่าผู้สูงอายุมีสิทธิได้รับ การคุ้มครอง การส่งเสริมและการสนับสนุนในด้านต่างๆ เพื่อช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตและเตรียมความพร้อมของ ผู้สงู อายุไทยใหเ้ ปน็ ผู้สงู อายทุ ี่มคี ณุ ภาพ (พระราชบัญญัตผิ ู้สูงอายุ, 2546) อย่างไรก็ตามเมื่อเข้าสู่ผู้สูงอายุหรือผู้สูงวัยจะต้องมีการเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ท้ังทางด้าน ร่างกายความเสื่อมถอยของร่างกาย ป๎ญหาสุขภาพ ทางด้านสังคมการต้องเกษียณอายุการทางานเกิดการว่าง การ พบปะสงั คมลดนอ้ ยลงเกิดความเหงา ทางด้านเศรษฐกจิ จากท่เี คยมรี ายไดเ้ มื่อต้องหยดุ งานทาให้รายได้ลดน้อยลง จาก สภาพสังคมสิง่ แวดลอ้ มทเ่ี ปลยี่ นแปลงไปทาใหผ้ ู้สูงวัยตอ้ งมีการปรบั ตัวกับความเปลย่ี นแปลงต่างๆ เพื่อต้องดาเนินชีวิต อย่ใู นสังคมได้อย่างมีคุณภาพและมคี วามสุข ดังนั้นผู้สูงวัยจึงมีความจาเป็นต้องเรียนรู้อยู่เสมอและอย่างต่อเนื่อง การ เรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning) จึงเป็นอีกแนวทางหนึ่งในการส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาให้ผู้สูงวัยมี คณุ ภาพชีวติ ท่ีดใี นสังคมได้ เนือ้ หาสาระ ตามท่ีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560–2564 (สานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาต,ิ 2560) ได้มีการกาหนดให้การเรยี นร้ตู ลอดชีวิตเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ของการ พัฒนาประเทศ ซึ่งมีเน้ือหาสาระภายใต้ “การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์” โดยการพัฒนาที่ให้ ความสาคญั กับการวางรากฐานการพฒั นาคนให้มคี วามสมบูรณ์ เพ่ือให้คนไทยมีทัศนคติและพฤตกิ รรมตามบรรทัดฐาน ท่ดี ขี องสงั คม ได้รบั การศกึ ษาที่มคี ุณภาพสูงตามมาตรฐานสากลและสามารถเรยี นรู้ดว้ ยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต บุคคลทกุ ช่วงวัยมที กั ษะการใชช้ วี ติ มีความรู้ ความสามารถเพ่ิมขึ้นซึ่งมีแนวทางการพัฒนาท่ีสาคัญ ประกอบด้วย (1) ปรบั เปลยี่ นคา่ นยิ มคนไทยใหม้ ีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม มีวินัย จิตสาธารณะและพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ อาทิ ส่งเสริมให้มี กิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียนท่ีสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ความมีระเบียบวินัย และจิต สาธารณะ (2) พฒั นาศกั ยภาพคนให้มที ักษะ ความรแู้ ละความสามารถในการดารงชวี ติ อย่างมคี ุณคา่ อาทิ ส่งเสริมให้มี การพัฒนาทักษะทางสมองและทางการใช้ชีวิตในสังคมท่ีเหมาะสม (3) ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ ตลอดชีวิต อาทิ ปรับระบบบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กให้มีการจัดทรัพยากรร่วมกันให้มีขนาดและจานวนท่ี เหมาะสม ปรบั ปรุงแหลง่ เรยี นร้ใู นชมุ ชนให้เป็นแหล่งเรยี นรู้เชิงสร้างสรรคแ์ ละมีชวี ิต ซ่ึงได้มีนักวิชาการให้ความหมายของการเรียนรู้ตลอดชีวิตไว้ดังน้ี Mackenzie, Eraut, and Jones (1970) ได้ใหค้ วามหมายของการเรยี นรู้ตลอดชีวติ (Lifelong Learning) ว่าเป็นการเรยี นรูใ้ นภาพรวมท่ีสนองต่อความต้องการ ทางการเรยี นรู้ของแต่ละบคุ คลหรอื ของแต่ละกลุม่ อยา่ งเป็นกระบวนการทต่ี อ่ เน่ืองตลอดชีวิต สอดคลอ้ งกับความหมาย ของ Peterson (1979) ทีก่ ลา่ วว่าการเรียนรตู้ ลอดชีวติ (Lifelong Learning) คอื การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในตัวบุคคล ตลอดช่วงชีวิตของผ้นู ัน้ อันเปน็ ผลมาจากกระบวนการพัฒนาทางสติป๎ญญา สังคมของบุคคล การเรียนรู้ตลอดชีวิตจึง หนา้ 72

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ไม่ได้ครอบคลุมเฉพาะการศึกษาของผู้ใหญ่ แต่เป็นการศึกษาสาหรับทุก ๆ ช่วงชีวิตตั้งแต่แรกเกิด การศึ กษา ระดับประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา อุดมศกึ ษาไปจนถงึ ผ้สู ูงอายุ โดยจะเกิดข้ึนตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย และยังสอดคล้อง กบั Kamble and Sidhaye (2010) ทไ่ี ดอ้ ธบิ ายความหมายของการเรียนรู้ตลอดชีวิตว่าเป็นการเรียนรู้ที่ไม่ได้อยู่ในวัย เด็กหรือในช้ันเรียนเท่านั้น แต่เป็นส่ิงท่ีเกิดขึ้นตลอดชีวิตและในช่วงสถานการณ์ต่างๆซ่ึงไม่มีข้อจากัดในเรื่องของ สถานท่ี เวลา ท่ีได้รบั ความร้แู ละการนาไปประยุกตใ์ ช้ได้ อกี ทัง้ ยงั สอดคลอ้ งกบั สนุ ทร สุนันท์ชยั (2549) ท่กี ล่าวว่าการ เรียนรู้ตลอดชีวิตเป็นการรับความรู้ ทักษะ และเจตคติต้ังแต่แรกเกิดจนถึงตาย ท้ังที่ได้รับจากโรงเรียนและนอก โรงเรยี น โดยต้ังใจและไมไ่ ดต้ ้ังใจมีการจดั และไม่จัดตงั้ อกี ทั้งมีการวางแผนและไมม่ กี ารวางแผนอกี ด้วย จากนิยามความหมายของการเรียนรู้ตลอดชีวิตข้างต้นสามารถสรุปได้ว่า “การเรียนรู้ตลอดชีวิต(Lifelong Learning)” หมายถึงกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งหมดของแต่ละบุคคลต้ังแต่แรกเกิดจนถึงตายที่เกิดจากการผสมผสาน ระหวา่ งการศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยที่มีรปู แบบหลากหลายและมคี วามต่อเน่ือง ในชีวิต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคคลให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างย่ังยืน พร้อมทีจ่ ะดารงชวี ติ ประกอบอาชีพและปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมท่ีเปลี่ยนแปลงไปทั้งทางด้านเศรษฐกิจสังคม เทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดล้อมได้อยา่ งเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ (2546) ได้กลา่ ววา่ การเรียนรู้ตลอดชีวิตเป็นการเรียน จากวถิ ชี วี ิตแหลง่ เรียนร้เู หตุการณแ์ ละสถานการณม์ ีความหลากหลายทัง้ ในด้านป๎จจัยของการเรียนรู้และวิธีการเรียนรู้ สนองความต้องการและความสนใจของแต่ละบุคคลมุ่งให้บุคคลสามารถปรับตัวและแก้ไขป๎ญหาชีวิตได้ ซึ่งการเรียนรู้ ตลอดชีวิตจะตอ้ งได้รบั การคา้ จนุ จากเสาหลัก 4 เสาหลักท่เี ปน็ รากฐานของการศึกษา ไดแ้ ก่ 1. การเรยี นเพอ่ื รู้ (Learning to know) หมายถึง การเรยี นรู้ท่มี ุง่ พฒั นากระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ การแสวงหาความรู้และวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียนเพื่อให้สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ตลอดชีวิต กระบวนการ เรยี นรูเ้ น้นการฝึกสติ สมาธิ ความจา ความคดิ ผสมผสานกับสภาพจริงและประสบการณ์ในการปฏบิ ัติ 2. การเรียนรู้เพื่อปฏิบัติได้จริง (Learning to do) หมายถึง การเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาความสามารถและความ ชานาญรวมทงั้ สมรรถนะทางด้านวิชาชีพสามารถปฏิบัติงานเป็นหมู่คณะปรับประยุกต์องค์ความรู้ไปสู่การปฏิบัติงาน และอาชพี ได้อยา่ งเหมาะสม กระบวนการเรียนการสอนบูรณาการระหว่างความรู้ภาคทฤษฎีและการฝึกปฏิบัติงานที่ เนน้ ประสบการณ์ต่างๆ ทางสงั คม 3. การเรียนรเู้ พอ่ื ที่จะอย่รู ว่ มกันและการเรยี นรู้ทีจ่ ะอยู่ร่วมกับผู้อื่น (Learning to Live Together) หมายถึง การเรียนรู้ทมี่ ่งุ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถดารงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมพหุวัฒนธรรมได้อย่างมีความสุขมีความตระหนักใน การพ่ึงพาอาศัยซึ่งกันและกัน การแก้ป๎ญหาการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีมีความเคารพสิทธิและศักด์ิศรีความ เปน็ มนุษย์และเขา้ ใจความหลากหลายทางดา้ นวฒั นธรรมประเพณคี วามเชอ่ื ของแต่ละบุคคลในสังคม 4. การเรียนรเู้ พอื่ ชวี ิต (Learning to Be) หมายถึงการเรียนรู้ท่ีมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกด้านท้ังจิตใจและร่างกาย สติป๎ญญาให้ความสาคัญกับจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาความเป็นมนุษย์ที่ สมบูรณ์มคี วามรับผิดชอบต่อสังคมสิ่งแวดล้อมศีลธรรมสามารถปรับตัวและปรับปรุงบุคลิกภาพของตนมีความเข้าใจ ตนเองและผ้อู ่นื หลักการเรียนรู้ตล อดชีวิตได้ให ความสาคัญกับผู เรียนโดยการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอ ดชีวิตให้ได้ผลต้อ ง ส่งเสริมผูเ้ รยี นใหเ้ ป็นผู้มีลักษณะเป็นผู้เรยี นตลอดชวี ิตด้วยการสร้างแรงจูงใจในการท่ีจะเรียนรูโดยการให้ความรูความ หน้า73

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) เขา้ ใจเหตุผลและความจาเป็นในการเรียนรู้ตลอดชวี ิตและมคี วามต้ังใจท่จี ะเรยี นรูอย่างต่อเนื่อง ผู้เรียนจึงจาป็นต้องได รบั การพฒั นาทักษะ ความรูความสามารถในการเรยี นรูหรอื การแสวงหาความรูหรือวธิ กี ารเรยี นรูและสามารถเรียนรูได อยางมปี ระสทิ ธิภาพ ดงั นน้ั ผูเรียนรตู ลอดชีวติ ควรจะเปนผูทีม่ ลี ักษณะสาคญั 5 ประการ ดังน้ี 1. เปน็ ผู้ที่เข้าใจและตระหนักในความสมั พันธ์ระหวา่ งการเรียนรอู้ ย่างตอ่ เน่อื งตลอดชีวติ และการดาเนินชวี ิต 2.เป็นผู้ทเี่ หน็ ความสาคญั ของการการเรียนร้อู ย่างตอ่ เน่ืองตลอดชีวิต 3.เป็นผู้ท่มี ีความตง้ั ใจและมแี รงจูงใจทีจ่ ะเรียนรู้อยา่ งตอ่ เนอ่ื งตลอดชวี ิต 4.เปน็ ผู้ทีม่ ีเจตคตทิ ี่ดตี ่อการเรยี นรแู้ ละเอื้อตอ่ การเรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชวี ิต 5.เป็นผู้ทีม่ ที ักษะที่จาเปน็ สาหรบั การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต อาทิความสามารถในการกาหนดวัตถุประสงค์ท่ีปฏิบัติ ได้จรงิ ความพรอมทจ่ี ะเรียนรู้และการประยกุ ตใ์ ช้ความรไู้ ดอย่างมปี ระสิทธภิ าพ การเข้าถึงแหล่งเรียนรเู้ ปน็ ต้น ซ่ึงการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ สามารถชว่ ยให้บคุ คลหรือผดู้ อ้ ยโอกาสได้รับการศกึ ษาในรูปแบบทีเ่ หมาะสมกับสภาพ การดาเนนิ ชวี ติ และการงานอาชีพพรอ้ มทจี่ ะปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั สงั คมเศรษฐกิจและสง่ิ แวดล้อมทีก่ าลังจะเปลี่ยนแปลงไป ในอนาคต รวมท้งั ยังเปน็ การเพม่ิ โอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้อย่างเสมอภาคและ เท่าเทียมกันในทุกช่วงของ ชีวิตตั้งแตแ่ รกเกดิ จนตาย เน่ืองจากการเรียนรู้ตลอดชีวิตเป็นการบูรณาการการเรียนรู้กับชีวิตซึ่งบุคคลมีอิสระในการ เรยี นรู้การพัฒนาตนเองให้เป็นผู้มีความรแู้ ละทกั ษะชีวติ ในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องโดยสามารถ พึ่งตนเองและนาตนเองได้ในการเรียนรู้และสามารถนามาประยุกต์ใช้กับชีวิตจริงจนทาให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งของตนเองบุคคลและสงั คมท่จี ะเปน็ ส่วนหน่ึงของการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตได้อย่างอย่างย่ังยืน อีกท้ัง การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตยังชว่ ยใหบ้ คุ คลมีการพัฒนาทกั ษะชวี ิตเพือ่ สง่ เสริมความเป็นอยแู่ ละพัฒนาคุณภาพชีวติ ใหด้ ขี ้ึนได้ จากขา้ งตน้ การเรียนร้ตู ลอดชวี ติ เปน็ การเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาใหก้ บั บคุ คลทุกช่วงวัยต้ังแต่แรกเกิดจนตาย ทั้งวัยเด็ก วันรุ่น และผู้สูงอายุหรือผู้สูงวัย ซึ่งจะมีลักษณะและวิธีการในการเรียนรู้ตลอดชีวิตท่ีมีความแตกต่างกัน ออกไปตามช่วงอายแุ ละประสบการณ์ของแต่ละบุคคลในการเรียนรู้ อย่างไรก็ตามผู้สูงวัยเป็นวัยผู้ใหญ่ที่มีการเรียนรู้ที่ แตกต่างจากวยั รุ่นและวัยเด็ก ดงั นน้ั การเรยี นรู้สาหรบั วยั ผใู้ หญ่ (Adult learning) จึงถอื ว่าเปน็ ส่วนหนึง่ ของการเรียนรู้ ตลอดชวี ติ โดยหลักการเรยี นร้สู าหรบั วัยผู้ใหญ่ หรอื Andragogy นน้ั มีการศกึ ษาค้นคว้ากันมานานตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 20 โดยมงี านวิจยั ท้ังในด้านวทิ ยาศาสตร์และด้านศิลปศาสตรท์ ี่ออกมาสนับสนุนแนวคิดที่ว่าวัยผู้ใหญ่สามารถเรียนรู้ได้ ในรูปแบบท่ีต่างจากเด็กโดย Malcolm Knowles นักวิชาการด้านการศึกษาผู้ใหญ่เป็นผู้ใช้คาว่า Andragogy ใน ความหมายของศาสตร์ด้านการศึกษาผู้ใหญ่ท่ีแตกต่างจากเด็ก ซ่ึงต่อมาก็เป็นที่นิยมและใช้กันทั่วไป Andragogy นั้น เป็นแนวคิดหรือความเช่ือเบ้ืองต้นสาหรับการจัดการเรียนรู้ให้กับวัยผู้ใหญ่ ซึ่ง Knowles (1978: 18) ได้กล่าวถึง ศาสตร์และศิลปใ์ นการช่วยให้ผู้ใหญ่ได้เรียนรู้ โดยมีความเชื่อเบื้องต้นที่เก่ียวกับการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ท่ีต่างจากเด็ก 4 ประการ ดงั นี้ 1. ความเขา้ ใจต่อตนเอง (Self-concept)เมื่อบุคคลเจริญเติบโตและมีวุฒิภาวะมากขึ้นความรู้สึกรับผิดชอบ ตอ่ ตนเองก็มมี ากข้นึ ตามลาดับและถา้ หากบคุ คลรสู้ ึกว่าตนเองเจริญวัยและมีวุฒิภาวะถึงข้ันท่ีจะควบคุมและนาตนเอง ได้บุคคลก็จะเกิดความต้องการทางจิตใจโดยเปล่ียนจากผู้ที่มีบุคลิกภาพท่ีพึ่งพาผู้อื่น ไปเป็นพึ่งพาตนเองมากข้ึน เพ่อื ทจ่ี ะได้ควบคมุ และชี้นาตนเองได้ (Self-directing) 2. ประสบการณ์(Experience) บุคคลเม่อื มีอายุมากขึ้นก็ยิ่งมีประสบการณ์เพิ่มมากข้ึนประสบการณ์ต่างๆท่ี แตล่ ะคนไดร้ ับจะเสมอื นแหล่งทรัพยากรมหาศาลของการเรยี นรูแ้ ละจะสามารถรองรับการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆเพ่ิมขึ้นอย่าง หน้า74

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) กว้างขวางการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมจึงควรเป็นการเรียนรู้ท่ีใช้ประโยชน์จากประสบการณ์เดิม ซ่ึงผู้ใหญ่สามารถนา ประสบการณ์ของตนมาเป็นแหลง่ ความรู้แลกเปลี่ยนกับผู้อื่นได้ และจะเกิดกระบวนการการเรียนรู้ร่วมกันจากการใช้ ประสบการณ์ 3. ความพร้อมที่จะเรียนรู้ (Readiness to Learn)ผู้ใหญ่พร้อมท่ีจะเรียนรู้ เมื่อเห็นว่าสิ่งท่ีเรียนไปน้ันมี ความหมายและมคี วามจาเปน็ ต่อบทบาทและสถานภาพทางสังคมของผูใ้ หญเ่ น่อื งจากว่าผู้ใหญ่เป็นผู้ท่ีมีหน้าที่การงาน มบี ทบาทในสงั คมและพร้อมที่จะเรียนรเู้ สมอถ้าหากสิง่ น้ันมีประโยชนต์ อ่ ตนเอง 4. เปูาหมายในการเรียนรู(้ Orientation to Learning) เปูาหมายในการเรียนรู้ของผู้ใหญ่มีความแตกต่างจาก ของเดก็ เน่อื งจากผู้ใหญ่เปน็ ผูท้ ี่มีหน้าที่บทบาทสถานภาพทางสังคมการเรียนรู้ของผู้ใหญ่จึงเป็นการเรียนรู้ที่สามารถ นาไปใช้ประโยชน์ได้ทันที จึงเป็นการเรียนรู้เพื่อนาไปแก้ป๎ญหาในชีวิตประจาวันได้ดังนั้นเปูาหมายในการเรียนรู้ของ ผใู้ หญท่ จ่ี ะเกดิ ผลทันที (Immediacy)คือเปน็ การเรียนรู้ในลกั ษณะของเนื้อหาที่ยึดป๎ญหาเป็นศูนย์กลาง หรือป๎ญหาใน ชวี ิตประจาวันเป็นสาคัญ (Problem-centered) ดังนั้นจากแนวคิดและความเช่ือเบ้ืองต้นในการจัดการเรียนรู้สาหรับวัยผู้ใหญ่ สามารถนามาเป็นแนวทาง ปฎบิ ัติและประยกุ ตใ์ ชใ้ นการสอนให้ผใู้ หญ่เกดิ การเรยี นร้ไู ด้ดงั น้ี 1. การประยุกต์ใช้ในมิติของความเข้าใจต่อตนเอง (Self-concept) มีแนวทางปฏิบัติในการสอนผู้ใหญ่ท่ี เกี่ยวกับความเข้าใจต่อตนเอง ดงั ต่อไปน้ี 1.1 การสร้างบรรยากาศของการเรียน (Learning Climate) ในช้ันเรียนและสภาพแวดล้อมควรมีความ เหมาะสมและอานวยความสะดวกใหแ้ กผ่ ใู้ หญ่ ควรจัดให้เหมาะกบั วยั ของผู้ใหญ่ เช่น โต๊ะน่ัง เฟอร์นิเจอร์ ท้ังน้ีการจัด ท่ีน่ังให้ผู้ใหญ่นั่งควรจัดให้นั่งเป็นวงกลมให้ความรู้สึกที่เท่าเทียมกัน ซ่ึงพร้อมที่จะรับฟ๎งและเปิดโอกาสให้ผู้ใหญ่ได้ สือ่ สารแสดงออกได้อยา่ งร้สู กึ เป็นกันเอง ไวว้ างใจซ่ึงกนั และกนั นอกจากน้แี ล้วบรรยากาศทางด้านจิตวิทยา ก็ส่งผลต่อ การเรียนรู้ของผู้ใหญ่ด้วยเช่นกัน ผู้สอนต้องสร้างความรู้สึกให้กับผู้ใหญ่ได้รู้ว่าตนได้รับการยอมรับและนับถือและ สนับสนุนใหม้ อี ิสระในการแสดงความคดิ เห็น โดยที่ไม่ต้องกลัวการถูกลงโทษ ผู้ใหญ่จะรู้สึกชอบบรรยากาศของความ เปน็ มติ รและแบบเปน็ กนั เองมากกวา่ แบบเปน็ ทางการ 1.2 การวเิ คราะหค์ วามตอ้ งการ (Diagnosis of Needs)เน่ืองจากผู้ใหญ่มีความเป็นตัวของตัวเองและไม่ชอบ ถกู บอกใหท้ าอะไรอย่างเดก็ ๆ ดังน้นั จงึ ควรเสนอแนวทางการสอนของผู้ใหญ่ โดยเน้นท่ีกระบวนการคิดวิเคราะห์ความ ต้องการของตนเองที่อยากจะเรียนรู้ (Self-diagnosis of Needs)โดยการยึดหลักความคิดท่ีว่าความต้องการท่ีจะ เรียนรู้ คอื ชอ่ งหา่ งระหว่างคุณลกั ษณะหรือพฤตกิ รรมหรอื ความสามารถที่พึงปรารถนากับคุณลักษณะหรือพฤติกรรม หรือความสามารถที่มีอยู่ในป๎จจุบัน โดยให้ตระหนักถึงความสามารถของตนเองด้วยเพื่อให้ผู้เรียนผู้ใหญ่ได้ทราบถึง ชอ่ งว่างระหวา่ งความตอ้ งการและความสามารถของตนเอง ซ่ึงจะทาให้ผู้เรียนจะเกิดแรงจูงใจให้เรียนรู้ (Motivation to Learn) และแรงกระตุ้นทีจ่ ะปรับปรงุ ตนเอง (Self-improvement) 1.3 กระบวนการวางแผน (Planning process)ผู้สอนต้องให้ผู้เรียนมีส่วนเก่ียวข้องในการวางแผนการ เรียนของตนเอง เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนรสู้ ึกวา่ เปน็ พันธะกิจทม่ี สี ่วนร่วมในการวางแผนและตัดสินใจดาเนนิ การเรียนรู้ โดยผู้สอน เป็นผู้ให้คาแนะนาด้านกระบวนการวางแผนและคอยเป็นท่ีปรึกษาทางด้านเนื้อหาของสิ่งที่ผู้เรียนต้องการเรียนรู้ ผเู้ รียนทจี่ ะมีส่วนร่วมทม่ี ีประสทิ ธภิ าพควรเป็นผู้เรยี นจานวนไม่มากนักท่เี ป็นกลุ่มเล็กทผี่ ู้เรียนทุกคนสามารถมีส่วนร่วม ได้โดยตรงทกุ คน ซง่ึ มผี ลดใี นการตอบสนองและกระตุ้นการเรยี นรูข้ องผ้เู รยี นผ้ใู หญ่ หนา้ 75

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 1.4 การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ (Conducting Learning Experience)เพ่ือให้สอดคล้องกับแนวคิดที่ว่า ผใู้ หญม่ ีความสามารถควบคุมและนาตนเองได้ (Self-directing)ดังน้ันประสบการณ์การเรียนรู้จึงควรเป็นไปในรูปของ ความรบั ผดิ ชอบร่วมกนั ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ควรมีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ร่วมกัน และแลกเปล่ียนความ คิดเห็นรว่ มกนั โดยผสู้ อนมีบทบาทเป็นผู้ให้คาแนะนาและช่วยเหลือในกระบวนการเรียนรู้ (Procedural Guide)เป็น แหล่งความรู้ (Resource Person)เป็นผู้ร่วมเรียนรู้ (Coinquirer)เป็นตัวกระตุ้น (Catalyst)และช่วยให้ผู้ใหญ่เรียนรู้ ตามคุณลกั ษณะการชีน้ าตอนเองของผใู้ หญ่ทม่ี วี ฒุ ภิ าวะ 1.5 การประเมินผลการเรียนรู้ (Evaluation of Learning) ตามหลักของการเรียนรู้สาหรับผู้ใหญ่ (Andragogy)ทมี่ งุ่ เนน้ ให้ผู้ใหญ่มีคุณลักษณะในการชี้นาตนเองได้เป็นผู้วัดและประเมินความก้าวหน้าของตนเอง โดย ความรว่ มมือและคาแนะนาของผสู้ อนที่เสนอแนะเครอ่ื งมอื ท่จี ะใชว้ ัดและประเมิน ดังน้ันเม่ือเสร็จส้ินกระบวนการการ ประเมินผลการเรียนรู้ ก็จะกลายเป็นการวิเคราะห์ความต้องการการเรียนรู้คร้ังท่ีสอง ซึ่งเป็นจุดท่ีสาคัญมากในการ ย้อนกลับเม่ือผู้เรียนประเมินตนเองและรับรู้ว่าตนเองยังคงมีความต้องการที่จะเรียนรู้อีก จนกลายเป็นวงจรของการ เรยี นร้อู ย่างตอ่ เนอ่ื ง โดยเป็นความต้องการทม่ี าจากผู้เรียนเองทเี่ กดิ จากแรงจูงใจภายใน อันเป็นการจูงใจในการเรียนรู้ อย่างแรงกลา้ และมัน่ คงในการเรยี นรสู้ าหรบั ผูใ้ หญ่ 2. การประยุกต์ใช้ในมิติของประสบการณ์(Experience) มีแนวทางปฏิบัติในการสอนผู้ใหญ่ท่ีเกี่ยวกับ ประสบการณด์ ังต่อไปนี้ 2.1 การเน้นที่เทคนิคการสอนเชิงประสบการณ์ เน่ืองจากว่าแนวคิดในการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ได้เน้นให้ ผู้ใหญ่มีการเรียนรู้จากประสบการณ์ (Experiential Learning) ซ่ึงผู้ใหญ่เป็นผู้ที่มีประสบการณ์ชีวิตมามาก ดังนั้น ผู้สอนควรนาประสบการณ์เดิมของผู้เรียนมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซ่ึงเป็นแหล่งความรู้ท่ีมีคุณค่าสาหรับวัยผู้ใหญ่ ตวั อยา่ งเทคนคิ การเรียนรู้ท่ีเอื้อต่อการใช้ประโยชน์จากประสบการณ์ของผู้ใหญ่ อาจจัดให้อยู่ในรูปของการอภิปราย กลุ่มยอ่ ย การให้แสดงบทบาทสมมติ กรณศี กึ ษาสถานการณจ์ าลอง การฝกึ ทักษะ เป็นตน้ 2.2 การเน้นท่ีสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้จริงผู้สอนควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยให้ผู้ใหญ่ได้มีโอกาสใช้ ประสบการณ์ของตนเองมากที่สดุ ดงั นัน้ การเรียนรูจ้ ึงควรเนน้ ทกี่ ารปฏิบัตแิ ละสง่ิ ทไ่ี ด้ลงมือปฏิบัติน้ัน จะต้องสามารถ นาไปใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ ริงดว้ ย วธิ ีการนีจ้ ะชว่ ยใหเ้ กิดการเรยี นร้ไู ด้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2.3 การเตรียมความพร้อมและการเรียนรู้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์จากเดิมผู้เรียนที่เป็นผู้ใหญ่จะ คุ้นเคยกับการเรียนการสอนแบบดัง้ เดิมท่ีผ้สู อนควบคมุ การตดั สนิ ใจ ท้งั ในกระบวนการเรียน การสอน ผู้เรียนเป็นเพียง ผู้รับทาให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมน้อย ดังน้ัน เม่ือพบกับสภาพกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ชี้นาตนเอง ผู้เรียนผู้ใหญ่จะเร่ิมต้น อะไรไม่ถูก ผู้สอนจึงต้องจัดช่วงที่เตรียมความพร้อมให้กับผู้ใหญ่ได้เรียนรู้ตนเองอย่างตรงไปตรงมา สามารถยอมรับ ความเป็นจริงได้ ส่ิงที่สาคัญต้องทาให้ผู้ใหญ่มีความคิดเป็นอิสระก่อนไม่ยึดกับการเรียนรู้แบบดั้งเดิม จากนั้นผู้ใหญ่ก็ เรียนรู้ท่ีจะรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเองได้อย่างสอดคล้องกับคุณลักษณะของการชี้นาตนเองในการเรียนรู้ ทั้งน้ี ผใู้ หญ่ก็พรอ้ มที่จะรว่ มมอื กบั ผอู้ น่ื ทจี่ ะเรยี นร้จู ากประสบการณ์ท้ังประสบการณ์ของตนเองและประสบการณ์ของผู้อ่ืน ด้วย วิธีการเรียนรู้เช่นน้ีจะช่วยให้ผู้เรียนที่เป็นผู้ใหญ่เข้าใจตอนเองมากขึ้น เ พราะเป็นการเรียนรู้ท่ีวิเคราะห์ ประสบการณ์ของผู้อืน่ เชน่ กนั 3. การประยุกต์ใช้ในมิติของความพร้อมที่จะเรียนรู้ (Readiness to Learn)มีแนวทางปฏิบัติในการสอน ผใู้ หญท่ เ่ี กย่ี วกบั ความพร้อมท่จี ะเรียนรู้ ดงั ต่อไปนี้ หน้า76

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 3.1 ช่วงเวลาของการเรียนรู้ คือเน้ือหาการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ควรสอดคล้องกับภารกิจหน้าที่บทบาททาง สังคมของแต่ละบุคคล ดังน้ัน เนื้อหาที่เรียนรู้ควรเป็นเนื้อหาท่ีเหมาะกับเหตุการณ์สอดคล้องกับภารกิจหน้าท่ีและ ประสบการณ์ของผูเ้ รยี นในช่วงเวลานั้น ๆ 3.2 การจดั กลมุ่ ของผเู้ รยี น ในการรวมกลุม่ ของผเู้ รยี นทม่ี ีความพรอ้ มท่จี ะเรียนรคู้ วรพจิ ารณาความสนใจและ ประสบการณ์ของผู้เรียนในเรอื่ งทีค่ ล้ายๆ กันหรือเรอื่ งเดยี วกนั เพอ่ื ใหเ้ กดิ การเรียนรทู้ ีม่ ปี ระสิทธิภาพต่อผเู้ รยี น 4. การประยกุ ต์ใช้ในมติ ขิ องเปาู หมายในการเรยี นรู้(Orientation to Learning) มีแนวทางปฏิบัติในการสอน ผู้ใหญ่ทีเ่ กย่ี วกบั เปาู หมายในการเรียนรู้ดงั ต่อไปนี้ 4.1 ผู้สอนควรจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ให้ผู้เรียนทเ่ี ป็นผู้ใหญ่ ได้เน้นกิจกรรมการสอนแบบบุคคลเป็นหลัก มใิ ช่ยังคงม่งุ เน้นท่ีเนื้อหาตามแบบการเรยี นการสอนดัง้ เดมิ เพอ่ื ชว่ ยใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ การเรยี นร้ใู นแต่ละบุคคลเท่าๆ กนั 4.2 การจัดเนื้อหาควรเน้นท่ีการใช้ป๎ญหาในชีวิตประจาวันเป็นหลักในการเรียนรู้ (Problem-based Learning) เน่ืองจากผู้ใหญ่มีความคาดหวังต่อการเรียนรู้ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ทันที ดังนั้นควรจัดเน้ือหาให้ สอดคล้องกับชนิดและขอบเขตของป๎ญหาของผู้เรียนผู้ใหญ่เป็นหลัก เพ่ือให้ผู้ใหญ่ได้ใช้ประสบการณ์ท่ีมีอยู่ใน กระบวนการแก้ไขป๎ญหานน้ั 4.3 การวางแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ มีจุดเริ่มต้นของการวางแผนในการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้ ท่ีควรเร่ิมต้นด้วยการวิเคราะห์ในความสนใจของผู้เรียนผู้ใหญ่และเป็นป๎ญหาในชีวิตประจาวันก่อน แล้วจึ ง วิเคราะห์สาเหตขุ องการเกดิ ป๎ญหาน้นั เพ่อื ใหผ้ ใู้ หญไ่ ดเ้ รียนรู้ในส่งิ ท่ผี ู้ใหญ่ตอ้ งการอยากเรียนรู้ ภาพประกอบ แนวทางปฏิบัตแิ ละการประยุกต์ใช้การเรียนรู้ตลอดชีวติ สาหรับผู้สงู วัย จากข้างต้นจะเห็นได้ว่าศาสตร์และศิลป์ท่ีช่วยให้ผู้ใหญ่เกิดเรียนรู้นั้นสามารถนามา ประยุกต์ใช้กับผู้สูงวัยได้ โดยผู้สงู วยั หรอื บางคนเรียกว่าผู้สูงอายุเป็นคาท่ีบ่งบอกถึงตัวเลขของอายุว่ามีอายุมากโดยนิยมนับตามอายุตั้งแต่แรก เกิด (Chronological age) หรอื ท่ัวไปเรียกว่าคนแกห่ รอื คนชราโดยพจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ ความหมายของคาว่า คนแก่ คือ มีอายุมากหรืออยู่ในวัยชรา และให้ความหมายของคาว่า ชรา คือ แก่ด้วยอายุชารุด ทรุดโทรม นอกจากน้ันยังมีการเรียกผู้สูงวัยว่า ราษฎรอาวุโส (Senior citizen) ส่วนองค์การอนามัยโลก (World Health Organization, WHO) และองคก์ ารสหประชาชาติ (United Nations, UN) ได้ใช้คาในภาษาอังกฤษของผู้สูง หนา้ 77

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) วยั วา่ Older person or elderly person ซงึ่ ไดใ้ หน้ ิยามว่า \"ผสู้ งู วยั \" คือ ประชากรท้ังเพศชายและเพศหญิงซ่ึงมีอายุ มากกว่า 60 ปีข้ึนไป โดยเป็นการนิยามนับต้ังแต่อายุเกิด สาหรับประเทศไทย “ผู้สูงวัย” หรือ “ผู้สูงอายุ” ตาม พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 มาตรา 3 หมายความว่าบุคคลซง่ึ มอี ายุเกินกว่าหกสิบปีบริบรู ณข์ ้ึนไปและมีสัญชาติ ไทย (กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย,์ 2547) ป๎จจุบนั ประเทศไทยมแี ผนผูส้ ูงอายุแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2545-2564) ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2552 แผนผู้สูงอายแุ หง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2545–2564) เป็นแผนระยะยาวทีต่ ่อเนือ่ งมาจากแผนแรก แต่มีการปรับเปล่ียน แนวคิดจากการมองงานผู้สูงวัยแยกในแต่ละด้านมาเป็นองค์รวมกล่าวคือพิจารณาว่างานทุกด้านท่ีกาหนดไว้ในแผน ฉบับแรกมผี ลตอ่ คณุ ภาพชวี ติ ของผ้สู ูงอายุและมผี ลต่อยทุ ธศาสตร์แต่ละยทุ ธศาสตร์ ไม่อาจแยกสว่ นจากกนั ได้วิสัยทัศน์ ของแผนผู้สงู อายุแห่งชาติ ฉบับท่ี 2 คอื “ผูส้ ูงวัยเป็นหลักชัยของสงั คม”โดยเน้นให้ผู้สงู วัยมชี วี ติ อยา่ งมีคุณค่า มีศักด์ิศรี มีคุณภาพชีวิตท่ีดสี ามารถพึ่งตนเองไดน้ านทสี่ ุดและสามารถมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมแผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 2 ให้ความสาคัญกับผู้สูงวัยและการเตรียมตัวของผู้ท่ีจะเป็นผู้สงูอายุในอนาคตด้วยยุทธศาสตร์ของแผนผู้สูงอายุ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2545-2564) ฉบบั ปรบั ปรุง คร้ังที่ 1 พ.ศ. 2552 จดั แบง่ เป็น 5 ยุทธศาสตร์ ดงั น้ี 1. ยทุ ธศาสตร์ด้านการเตรยี มความพรอ้ มของประชากรเพอ่ื วัยสงู อายุท่มี ีคุณภาพประกอบด้วย 1.1 มาตรการหลกั ประกนั รายได้เพ่อื ผ้สู ูงวัย 1.2 มาตรการการใหก้ ารศกึ ษาและเรยี นร้ตู ลอดชวี ติ 1.3 มาตรการการปลูกจติ สานกึ ให้คนในสงั คมตระหนักถงึ คณุ ค่าและศกั ด์ิศรขี องผสู้ งู วยั 2.ยุทธศาสตรด์ ้านการส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงวัยประกอบด้วย 2.1 มาตรการส่งเสรมิ สุขภาพปอู งกันการเจ็บปุวยและการดแู ลตนเองเบอ้ื งตน้ 2.2 มาตรการสง่ เสริมการรวมกลุ่มและสรา้ งความเข้มแขง็ ของผู้สูงวยั 2.3 มาตรการสง่ เสริมด้านการทางานและการหารายไดข้ องผู้สูงวยั 2.4 มาตรการสนบั สนนุ ผู้สงู วยั ทีม่ ศี ักยภาพ 2.5 มาตรการส่งเสริมและสนับสนนุ สือ่ ทกุ ประเภทให้มรี ายการเพอื่ ผู้สูงวัยและสนับสนุนให้ผู้สงู อายุ ได้รับความรู้และสามารถเข้าถึงขา่ วสารและสอื่ 2.6 มาตรการสง่ เสรมิ และสนับสนนุ ให้ผู้ผู้สูงวัยมที ี่อยูอ่ าศัยและสภาพแวดล้อมท่เี หมาะสม 3.ยุทธศาสตรด์ ้านระบบคุม้ ครองทางสงั คมสาหรับผูส้ ูงวัยประกอบด้วย 3.1 มาตรการคุ้มครองรายได้ 3.2 มาตรการหลักประกนั สขุ ภาพ 3.3 มาตรการด้านครอบครวั ผู้ดูแลและการคุ้มครอง 3.4 มาตรการระบบบรกิ ารและเครอื ขา่ ยเก้อื หนุน 4.ยุทธศาสตร์ดา้ นการบรหิ ารจัดการเพอ่ื การพัฒนางานดา้ นผู้สงู วยั อย่างบรู ณาการระดับชาตแิ ละการพัฒนา บคุ ลากรด้านผสู้ ูงวัยประกอบด้วย 4.1 มาตรการการบริหารจัดการเพื่อการพัฒนางานด้านผสู้ ูงวัยอย่างบูรณาการระดับชาติ 4.2 มาตรการส่งเสริมและสนบั สนุนการพัฒนาบุคลากรด้านผ้สู งู วยั หน้า78

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 5.ยุทธศาสตร์ด้านการประมวลพัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านผู้สูงวัยและการติดตามประเมินผลการ ดาเนนิ การตามแผนผสู้ งู วยั แห่งชาติประกอบดว้ ย 5.1 มาตรการสนับสนุนส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ด้านผู้สูงวัยสาหรับการกาหนด นโยบายและการพฒั นาการบริการหรือการดาเนนิ การท่ีเป็นประโยชนแ์ กผ่ ูส้ ูงวยั 5.2 มาตรการดาเนินการใหม้ ีการตดิ ตามประเมนิ ผลการดาเนินงานตามแผนผู้สูงวยั แหง่ ชาติทม่ี ี มาตรฐานอยา่ งต่อเนอ่ื ง 5.3 มาตรการระบบข้อมูลทางด้านผู้สงู วยั ใหถ้ ูกต้องและทันสมัยโดยมรี ะบบฐานข้อมูลทสี่ าคัญดา้ นผู้ สงู วยั ทงี่ า่ ยตอ่ การเขา้ ถึงและสืบค้น จากยุทธศาสตร์ของแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2545-2564) ฉบับปรับปรุง คร้ังท่ี 1 พ.ศ. 2552 จะเห็นได้วา่ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ด้านการเตรียมความพร้อมของประชากรเพ่ือวัยสูงอายุท่ีมีคุณภาพเกี่ยวข้อง โดยตรงกบั มาตรการการให้การศกึ ษาและเรียนรู้ตลอดชวี ิตกบั ผสู้ งู วยั นอกจากน้ี มีงานวจิ ัยทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั การจดั โรงเรยี นผู้สูงวยั ดังงานวิจยั ของ สันตชิ นข์ สุคนธท์ องเจริญ วีรฉัตร์ สุปญ๎ โญ และอาชัญญา รัตนอุบล (2561) เรือ่ ง แนวทางส่งเสรมิ การมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียน ของผู้สูงวัย มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาป๎ญหาและความต้องการในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการศึกษานอกระบบ โรงเรียนผู้สูงวัย 2) เสนอแนวทางการส่งเสริมการมีส่วนร่วมกิจกรรมในการศึกษานอกระบบโรงเรียนผู้สูงวัย กลุ่ม ตัวอยา่ งเปน็ ผู้สงู วยั และครอบครัวกลุ่มละ จานวน 410 คน พื้นท่ีตัวอย่างสาหรับเวทีสาธารณะ 4 แห่ง ได้แก่ จังหวัด ระยอง สงขลา ตาก และอุบลราชธานี การวิเคราะห์ข้อมลู ดว้ ยสถติ ิบรรยายและการวเิ คราะหเ์ น้ือหา ผลการวิจัยพบว่า ป๎ญหาการมสี ่วนรว่ มในกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี นของผสู้ งู วัย คอื การไม่มกี ารรายงานขอ้ มลู เช่น ค่าใช้จ่าย ในการจัด แจง้ ผลของการจดั กจิ กรรมให้รู้ ร้อยละ 44.1 ด้านความต้องการของผู้สูงวัยส่วนใหญ่ ต้องการมีส่วนร่วมใน กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน เรอ่ื ง การร่วมกจิ กรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนที่ทาให้มีทักษะในการมีส่วน ร่วมในสังคม เช่น กิจกรรมเก่ียวกับการเสริมสร้างคุณค่าในชีวิต งานอดิเรกต่างๆ ทักษะเทคนิคการถ่ายทอดความรู้ ต่างๆ ต่อผู้อ่ืน และต้องการให้มีการร่วมพูดคุยเก่ียวกับผลและป๎ญหาท่ีเกิดขึ้นหลังเสร็จส้ินการจัดกิจกรรมการศึกษา นอกระบบโรงเรียน ร้อยละ 79.5 และมีแนวทางการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียน สาหรับผูส้ ูงวยั โดยม่งุ กลุม่ ผู้สงู วัย ครอบครวั ผสู้ ูงวยั และองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ จานวน 32 ขอ้ และงานวิจัยของ ยุรธร จนี า (2561) เร่ือง โรงเรียนเป่ียมสุข: รูปแบบการจัดการองค์กรชุมชนเพ่ือรองรับสังคมผู้สูงวัยในศตวรรษที่ 21 จังหวัดเชยี งใหม่ เป็นการวิจัยเชิงปฏบิ ัตกิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม กลมุ่ ตัวอยา่ ง ได้แก่ ผบู้ รหิ าร เจา้ หนา้ ทีเ่ ทศบาล ผู้นาชุมชน เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล คณะกรรมการโรงเรียนเปี่ยมสุข และตัวแทนผู้สูงวัยตาบลสันโปุง วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการจัดกิจกรรมของโรงเรียนเป่ียมสุขเกิดจากแนวคิดในการ เตรียมความพรอ้ มรองรับสังคมผ้สู ูงวยั ใหค้ วามสาคัญของผู้สูงวัย โดยมีเปูาหมายเพื่อให้ผู้สูงวัยดารงชีวิตอย่างมีคุณค่า เป็นครภู ูมิป๎ญญาของชุมชน โดยมีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงวัย 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านเศรษฐกิจ และด้านสังคมภายใต้แนวคิด “ร่วมคิด ทาร่วมทา ร่วมใจ เพื่อผู้สูงวัยเป่ียมสุข” 2) รูปแบบการจัดการ โรงเรียนเปี่ยมสุขเพื่อเปน็ องค์กรชมุ ชนรองรับสงั คมผู้สูงวยั ในศตวรรษท่ี 21 มีแนวทางในการพัฒนา ได้แก่ ก) การส่วน ร่วมของภาคประชาสงั คม ข) โครงสรา้ งการบริหารจดั การโรงเรียน ค) รูปแบบการจัดกจิ กรรมหรือหลักสูตรเพ่ือผู้สูงวัย หนา้ 79

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ง) การรวมกลุ่มของผู้สูงวัยในตาบล จ) การจัดหางบประมาณดาเนินการ และ ฉ) ความเหมาะสมของสถานที่และ สิง่ แวดล้อมสาหรบั ผู้สงู วยั หลักการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตสาหรับผู้สูงวัยน้ันต้องเน้นหลักการดาเนินงานการเรียนรู้เพ่ือการพัฒนา คณุ ภาพชวี ติ ของผู้สูงวัย โดยเน้ือหาสาระการเรียนรู้ของผู้สูงวัยควรตอบสนองความต้องการของผู้สูงวัย โดยคานึงถึง ความสามารถในการเรียนรู้ของผู้สงู วัยและสามารถนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ได้ในสถานการณ์จริง ได้แก่ ด้านสุขภาพ อนามัย ด้านการปรับตัวทางสังคมจิตใจ ด้านเศรษฐกิจ ด้านการออม ด้านการเรียนรู้ และด้านสิทธิของผู้สูงอายุตาม กฎหมาย ซึ่งลักษณะการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงวัยอาจจัดในรูปแบบบูรณาการอย่างหลากหลายที่เน้นการ แลกเปลีย่ นเรยี นร้ดู ้วยกนั อย่างไม่เป็นทางการมีการอบรมให้ความรู้เก่ียวกับการดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจ การให้ คาปรกึ ษาดา้ นสุขภาพและการปฏิบัติตวั เม่อื สูงอายุ โดยมรี ปู แบบใหผ้ ูส้ งู วยั ได้ทากิจกรรมรว่ มกันกับเพื่อนในวัยเดียวกัน เพ่ือเป็นการสร้างคุณค่าให้กับตนเองของผู้สูงวัย ซึ่งจากการศึกษาเพ่ือถอดบทเรียนการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตใน ประเทศท่ีพัฒนาแล้ว เช่นประเทศเกาหลี ญ่ีปุน สหรัฐอเมริกา เยอรมัน อังกฤษ เป็นต้น ได้มีรูปแบบท่ีหลากหลายท่ี ประเทศไทยสามารถนามาใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตเชิงรุกสาหรับสังคมไทยท่ีเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย โดยมรี ูปแบบที่น่าสนใจพอสรุปไดด้ ังนี้ (สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั , 2556) 1. รูปแบบศูนย์การเรียนชุมชน (Community Learning Center) โดยทาหน้าที่จัดโปรแกรมกิจกรรมการ เรยี นรู้ตลอดชวี ิตแก่คนในชมุ ชนตามพืน้ ทต่ี ่าง ๆ เชน่ - โปรแกรมกิจกรรมดา้ นศิลปะ วัฒนธรรม กฬี าและนันทนาการ - โปรแกรมสง่ เสริมการศึกษาเพือ่ สงั คมจดั ในพพิ ิธภณั ฑ์ ศูนย์การเรยี นรู้ แหลง่ เรยี นรู้ตา่ ง ๆ ใน ลักษณะของการส่งเสริมการศึกษาตามอธั ยาศยั 2. การฝกึ อบรมผู้ใหญ่ โดยอาจจดั เป็นหลกั สูตรการศึกษาผใู้ หญ่ เพือ่ ให้ผู้ใหญ่เรียนเพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน การเขียน คอมพวิ เตอร์ และการฝึกทกั ษะวชิ าชีพเพอ่ื การจ้างงาน 3. ระบบธนาคารหน่วยกิตการศึกษา (Academic Credit Bank System) โดยยอมรับประสบการณ์การ เรยี นรขู้ องบคุ คลในโรงเรยี นและนอกโรงเรียนท่มี พี นื้ ฐานความรทู้ ีแ่ ตกต่างเขา้ รบั การศกึ ษาในระดับท่สี งู กว่าจนถึงระดับ ปริญญาตรี 4. เมอื งแห่งการเรยี นรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning City) เปน็ โครงการระดับภูมิภาคท่ีมุ่งประกันสิทธิของ ประชาชนในการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต เพือ่ สามารถบรู ณาการดา้ นสงั คมและการพฒั นาเศรษฐกิจ ดังน้ันการเรียนรู้ตลอดชีวิตสาหรับผู้สูงวัยนั้นควรยึดหลักการความหลากหลายของรูปแบบในการจัด การศึกษาทงั้ ในระบบ นอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัยเพ่ือให้ผู้สูงวัยเหล่าน้ันได้มีโอกาสเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่าง ท่วั ถึงมีโอกาสเท่าเทียมกนั ท่ีสามารถตอบสนองความต้องการของผูส้ งู วัยในการพัฒนาทักษะเพื่อการดารงชีวิตประกอบ อาชีพและปรบั ตัวให้ทันยุคสมัยท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วเพื่อสนับสนุนให้สังคมไทยเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ตลอดชีวติ สรปุ ในการเสรมิ สรา้ งและพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ควรให้ความสาคัญกับการวางรากฐานในการพัฒนาคนให้มี ความสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม โดยการส่งเสริมให้บุคคลได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตาม หนา้ 80

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) มาตรฐานสากลและสามารถเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองอยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชวี ิตให้บุคคลทุกช่วงวัยมีทักษะการใช้ชีวิต มีความรู้ ความสามารถในการพง่ึ พาตนเองโดยเฉพาะกลุ่มบุคคลผู้สูงวัยควรมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ตลอด ชีวิตแบบการบูรณาการการเรยี นรูก้ ับชีวติ โดยยึดหลักการทวี่ ่าบคุ คลมีอสิ ระในการเรยี นรู้ ในการพัฒนาตนเองให้เป็นผู้ มีความรู้ความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง สามารถพึ่งตนเองและนาตนเองได้ในการ เรยี นรู้และสามารถนามาประยุกต์ใช้กับชีวิตจรงิ จนทาให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้งของตนเอง บุคคล และสังคมที่ จะเปน็ ส่วนหน่ึงของการสร้างสังคมแห่งการเรยี นรู้ตลอดชีวติ ได้อย่างอย่างยัง่ ยนื โดยการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงวัย ควรยึดหลัก 4 ประการ ได้แก่ 1) ความเข้าใจต่อตนเอง (Self- concept)โดยเปลี่ยนจากผูท้ ีม่ ีบุคลิกภาพทพี่ งึ่ พาผู้อื่น ไปเป็นพ่ึงพาตนเองมากขึ้นเพ่ือที่จะได้ควบคุมและนาตนเองได้ (Self-directing) 2) ประสบการณ์(Experience) การเรียนรู้ที่เหมาะสมจึงควรเป็นการเรียนรู้ที่ใช้ประโยชน์จาก ประสบการณ์เดิม ซึ่งผู้ใหญ่สามารถนาประสบการณ์ของตนมาเป็นแหล่งความรู้แลกเปลี่ยนกับผู้อ่ืนได้ และจะเกิด กระบวนการการเรยี นรรู้ ่วมกนั จากการใชป้ ระสบการณ์3) ความพร้อมที่จะเรียนรู้ (Readiness to Learn)ผู้สงู วัยพร้อม ท่จี ะเรยี นรู้ เมอ่ื เห็นวา่ สงิ่ ท่ีเรียนไปน้นั มีความหมายและมคี วามจาเปน็ ตอ่ บทบาทและสถานภาพทางสงั คมของผู้ใหญ่ 4) เปูาหมายในการเรียนรู้(Orientation to Learning) เปูาหมายในการเรียนรู้ของผู้ใหญ่มีความแตกต่างจากของเด็ก เปาู หมายในการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ท่ีจะเกิดผลทันที (Immediacy)คือเป็นการเรียนรู้ในลักษณะของเน้ือหาที่ยึดป๎ญหา เป็นศูนย์กลาง หรือป๎ญหาในชีวิตประจาวันเป็นสาคัญ (Problem-centered)การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตเชิงรุก สาหรับสังคมไทยท่ีเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย ประกอบด้วย 4 รูปแบบ ได้แก่1) รูปแบบศูนย์การเรียนชุมชน (Community Learning Center) โดยทาหน้าท่ีจัดโปรแกรมกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่คนในชุมชนตามพ้ืนท่ีต่าง ๆ เช่น โปรแกรมกิจกรรมด้านศิลปะ วัฒนธรรม กีฬาและนันทนาการโปรแกรมส่งเสริมการศึกษาเพ่ือสังคม จัดในพิพิธภัณฑ์ ศูนยก์ ารเรยี นรู้ แหล่งเรยี นรู้ต่าง ๆ ในลกั ษณะของการสง่ เสริมการศกึ ษาตามอัธยาศัย 2) การฝึกอบรมผู้ใหญ่ โดยอาจ จัดเป็นหลักสูตรการศึกษาผู้ใหญ่ เพื่อให้ผู้ใหญ่เรียนเพ่ือพัฒนาทักษะการอ่าน การเขียน คอมพิวเตอร์ และการฝึก ทักษะวิชาชพี เพือ่ การจ้างงาน 3) ระบบธนาคารหน่วยกิตการศึกษา (Academic Credit Bank System) โดยยอมรับ ประสบการณก์ ารเรียนรขู้ องบคุ คลในโรงเรยี นและนอกโรงเรียนทีม่ ีพืน้ ฐานความรทู้ ีแ่ ตกต่างเข้ารับการศึกษาในระดับที่ สูงกวา่ จนถึงระดบั ปรญิ ญาตรี 4) เมอื งแห่งการเรยี นรูต้ ลอดชีวติ (Lifelong Learning City) เปน็ โครงการระดับภูมิภาค ทม่ี ุ่งประกันสทิ ธิของประชาชนในการเรียนรตู้ ลอดชีวิต เพือ่ สามารถบรู ณาการด้านสังคมและการพัฒนาเศรษฐกจิ ดงั นน้ั การเรยี นรู้ตลอดชวี ิตสาหรับผู้สูงวัยจึงเป็นส่ิงจาเป็นท่ีควรส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงวัยมีการเรียนรู้ อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวติ โดยการนาหลกั แนวคดิ หรือความเชอ่ื เบือ้ งตน้ ของAndragogy ที่เป็นศาสตร์และศิลป์ที่ช่วยให้ ผใู้ หญเ่ กิดการเรยี นรทู้ ่ีแตกต่างจากเด็กมาพัฒนากลุ่มบุคคลผสู้ งู วัยใหม้ คี วามรู้ ความสามารถ และมีทักษะในการเรียนรู้ อยา่ งต่อเนอ่ื ง มงุ่ เนน้ ใหผ้ ้สู ูงวัยมชี วี ติ ทมี่ ีคณุ คา่ มีศกั ดิ์ศรี มคี ุณภาพชีวิตท่ีดี สามารถพ่ึงพาตนเองได้ยาวนานท่ีสุด และ มีส่วนรว่ มในการพัฒนาสงั คมเพื่อใหผ้ สู้ ูงวยั ได้ตระหนักในการเห็นคุณคา่ ของตนเองเกิดความภาคภูมิใจในการเข้าสู่ผู้สูง วัยเพอื่ สง่ เสรมิ คณุ ภาพชวี ิตทดี่ ี อกี ทง้ั ยังพัฒนาไปสูก่ ารเรยี นรู้อย่างตอ่ เนอื่ งตลอดชวี ิตและการเปน็ สังคมแห่งการเรียนรู้ อย่างยง่ั ยนื หน้า81

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ขอ้ เสนอแนะ 1. ควรนาแนวคดิ การจดั เรียนรตู้ ลอดชีวิตเชิงรุก สาหรับสังคมผู้สูงวัย ในแต่ละรูปแบบไปประยุกต์ใช้ และมี การศึกษาถึงผลของการจัดการเรียนรู้ในแต่ละแบบ เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพ สอดคล้องกับความต้องการและ คณุ ลกั ษณะของผสู้ งู วยั ในแตล่ ะกลุ่ม 2. ควรนาหลกั การเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงวัย ไปประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมการเรียนรู้สาหรับผู้สูงวัย ตาม บรบิ ท และคุณลักษณะของชมุ ชนในแต่ละกลุ่ม ได้แก่ โปรแกรมกิจกรรมด้านศิลปะ วัฒนธรรม กีฬาและนันทนาการ โปรแกรมสง่ เสริมการศกึ ษาเพอื่ สงั คม จดั ในพพิ ิธภณั ฑ์ ศูนย์การเรยี นรู้ แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ในลักษณะของการส่งเสริม การศึกษาตามอธั ยาศยั เพอ่ื ให้เกิดการเรียนรู้อย่างยั่งยนื 3. ควรจัดทาเครือข่ายในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ของผู้สูงวัย และการนาองค์ความรู้จากผู้สูงวัยไปถ่ายทอด ใหก้ บั บุคคลทว่ั ไป เกย่ี วกบั วิธคี ิดและการปฏบิ ัติตน รวมถึงการปรบั ตวั ให้เข้ากับสังคม และเป็นบุคคลท่ีมีคุณภาพ และ สรา้ งประโยชน์ให้กับสังคมต่อไป เอกสารอ้างอิง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์. (2547). พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546.พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : เทพเพ็ญวานสิ ย์. คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ กระทรวงพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์. (2552). แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ.2545-2564) ฉบับปรับปรงุ ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2552. กรุงเทพฯ: เทพเพ็ญวานิสย์. มลู นธิ ิสถาบนั วิจยั และพัฒนาผู้สงู อายุและสถาบันวิจยั ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. (2560). สถานการณ์ ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2559. นครปฐม. บริษทั พร้ินเทอร่ี ยุรธร จีนา (2561) เร่ือง โรงเรียนเป่ียมสุข: รูปแบบการจัดการองค์กรชุมชนเพ่ือรองรับสังคมผู้สูงวัยในศตวรรษที่ 21 จงั หวดั เชยี งใหม่. วารสารสถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฎั มหาสารคาม. 5(1) มกราคม-มิถุนายน: 171-184 สุนทร สุนันท์ชัย. (2549). หน่วยท่ี 1 การศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษานอกระบบ. ในเอกสารการสอนชุดวิชา การศึกษาตลอดชวี ติ และการศกึ ษานอกระบบ (หน้า 1-14).นนทบุร:ี มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2546). รายงานวิจัยปฏิบัติการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพอ์ งคก์ ารรบั สง่ สินคา้ และพสั ดภุ ัณฑ์ (ร.ส.พ.). สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. (2556). การส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต: 8 กรณีศกึ ษาในต่างประเทศ. กรุงเทพมหานคร : น้าทองการพมิ พ.์ สนั ตชิ นข์ สุคนธ์ทองเจรญิ วีรฉัตร์ สุป๎ญโญ และอาชัญญา รตั นอุบล (2561) แนวทางสง่ เสรมิ การมสี ่วนร่วมในกจิ กรรม การศกึ ษานอกระบบโรงเรยี นของผสู้ ูงวยั . วารสารศกึ ษาศาสตร์ มมร. คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย มหามกฏุ ราชวิทยาลัย.6(2): 151-163. Kamble, G., and Sidhaye, N. (2010). Lifelong Learning. Retrieved July 20, 2013, from http://www.articlesbase.com/education-articles/ life-long-learning-2904759.html หนา้ 82

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) Knowles, M. S. (1978). The Adult Learning: A Neglected Species.(2 nd edition) Houston: Gulf Publishing. Mackenzie, N. I., Eraut, M., and Jones, H. C. (1970). Teaching and Learning: An Introduction to New Methods and Resources in Higher Education. Paris: Unesco; International Association of Universities. Peterson, R. E. (1979). Lifelong Learning in America. San Francisco: Jossey-Bass. หนา้ 83

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) กลยุทธก์ ารบรหิ ารโรงเรยี นเอกชนนอกระบบ ในยคุ Disruption กรณศี กึ ษา : โรงเรียนกวดวิชา ชญตว์ Management Strategies of Non-formal Private School in Disruption Era Case Study : Chayata Tutorial School ผศ. ดร. วราภรณ์ ไทยมา คณบดี คณะศลิ ปะศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีปทมุ อาจารยป์ ระจาหลกั สูตร ปรชั ญาดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา วทิ ยาลยั บัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทมุ E-mail [email protected] ดร. พรพล พอนอ่วม หลกั สูตรปรัชญาดุษฎบี ัณฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทุม E-mail [email protected] ดร. สุพรรณี สมานญาติ อาจารย์ประจาหลกั สูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลยั บณั ฑติ ศกึ ษาดา้ นการจดั การ มหาวิทยาลัยศรีปทมุ E-mail [email protected] ดร. เรืองอุไร เศษสูงเนนิ หลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลัยศรีปทมุ e-mail [email protected] บทคัดยอ่ ใ นโ ล ก ยุ คป๎ จ จุ บั น ที่ เ ร า อ า จ จ ะ เ รี ย ก ว่ า เ ป็ น โ ล ก ยุ คข อ ง ก า ร เ ป ล่ี ย นแป ล ง แ บ บ จ า ก ห น้ า มื อ เ ป็ นห ลั ง มื อ (Disruption) ทาให้องค์กรหรือธุรกิจต่างๆ รวมไปถึงสถาบันการศึกษาที่ไม่ได้ตระหนักถึงการเปล่ียนแปลงน้ีเข้าสู่ สภาวะถดถอยและหายสาบสูญกลนื ไปกลบั อดีตได้ในไมช่ ้า โรงเรยี นเอกชนนอกระบบถือว่าเป็นแหล่งเรียนรู้ แหล่ง รวมทักษะทนี่ า่ สนใจนอกหอ้ งเรยี น แต่เน่อื งจากปจ๎ จบุ นั ผู้เรยี นน้นั สามารถหาความรู้รวมไปถึงทักษะท่ีพวกเขาสนใจได้ แค่เพียงปลายนวิ้ บทความนน้ี าเสนอแนวคิดเกยี่ วกบั การสรา้ งกลยทุ ธ์ของโรงเรยี นเอกชนนอกระบบ กรณีศึกษา : โรงเรยี นกวดวชิ าชญตว์ โดยการบูรณาการหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ทักษะการเรยี นรู้ของผู้เรียนแห่ง หนา้ 84

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) อนาคต รวมไปถึงบทบาทท่ีสาคัญของครู ผู้สอนในยุค Disruptive Innovation เข้าด้วยกัน โดยอภิปรายผ่าน หลกั การบริหารสถานศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานทงั้ 4 ดา้ น คือ ดา้ นวชิ าการ ดา้ นการเงนิ ด้านบคุ คล และดา้ นท่ัวไป คาสาคัญ: กลยทุ ธ์การบริหาร, โรงเรียนกวดวิชา, ยคุ Disruption ABSTRACT In today's world that we may call it a world of disruption, the organization or business include educational institutions that are unaware of this change, are in a state of recession and soon disappear. Non-formal Private schools are considered learning resources. Source of interesting skills outside the classroom but since now, students are able to find knowledge and skills that they are interested in at their fingertips. This article presents ideas about creating strategies for Non- formal Private schools. Case study: Chayata Tutorial School by integrating the basic education curriculum learning skills of learners of the future include the important role of teachers during the disruptive innovation era together by discussing through basic school management principles in 4 components are academic, financial, personal and general. KEYWORDS: Management Strategy, Tutorial School, Disruption Era. บทนา ในโลกยคุ ทีม่ ีการเปลย่ี นแปลงมาแล้วทัง้ หมด 4 ครงั้ ใหญๆ่ เป็นผลมาจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมทั้งสิ้น ทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างต่างๆทางสังคมอาทิเช่น การเปลี่ยนแปลงของประชากร การขยายตัวของสังคมเมือง การเปลี่ยนแปลงในส่วนของความสัมพันธ์ การเกิดขึ้นของสถาบันต่างๆทางสังคม และการเปลี่ยนแปลงใน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม (ธีรศกั ดิ์ สุขสันติกมล, 2559) จากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลให้วงการศึกษา ได้เกิดการเปล่ียนแปลง โดยเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (The Partnership for 21st century skills, 2009)ได้นาเสนอกรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ขึ้น เพ่ือรองรับการเปล่ียนแปลงของ โลกท่ีเกดิ อยูต่ ลอดเวลา ซ่งึ เปรียบเสมือนการสร้างกรอบแนวทางให้ผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องด้านการศึกษานั้นมีแนวทางใน การประยุกต์ใช้และสามารถนาไปปฏิบัตไิ ดอ้ ย่างเหมาะสมกบั บริบทของตนเอง ในอดีตโรงเรียนนอกระบบในประเทศไทยมีการจัดต้ังขึ้นเพ่ือให้ผู้เรียนท้ังในระบบและนอกระบบ ได้มีการ เรยี นเสริมในสว่ นของเนื้อหาท่ียังไม่เข้าใจ หรือผู้เรียนสามารถเลือกเรียนในส่วนท่ีมีความสนใจอื่นๆนอกเหนือจากใน โรงเรียน เป็นต้นอีกท้ังยังเป็นหน่วยงานทางการศึกษาท่ีสามารถจัดการเรียนการสอนให้ได้ตามบริบท ของพ้ืนที่และ วฒั นธรรม โดยท่ีสานกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน (2558) แบง่ ประเภทของโรงเรยี นเอกชนนอกระบบ ออกเปน็ 7 ประเภท คอื 1) ประเภทสอนศาสนา 2) ประเภทศลิ ปะและกีฬา 3)ประเภทวิชาชีพ 4) ประเภทกวดวิชา 5) หน้า85

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ประเภทสร้างเสรมิ ทักษะชวี ติ 6) ประเภทศูนยก์ ารศึกษาอิสลามประจามัสยิด(ตาดีกา) และ 7) ประเภทสถาบันศึกษา ปอเนาะ ในยุคที่มีการเปล่ียนแปลงแบบหน้ามือเป็นหลังมือ (Disruption)ทุกหน่วยงานทางการศึกษาจะต้องมีการ ปรับตวั ให้ทนั ตอ่ โลกท่มี กี ารเปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา ซ่งึ โรงเรียนกวดวิชาถือเป็นโรงเรียนเอกชนนอกระบบประเภท หนึ่ง ทไี่ ดร้ บั การยกเว้นใหไ้ มต่ ้องสร้างหลกั สตู รสถานศึกษาตัง้ แต่ก่อนจดทะเบยี นจัดต้ังกับกระทรวงศึกษาธิการเหมือน โรงเรียนเอกชนนอกระบบประเภทอนื่ จงึ ทาใหโ้ รงเรียนขาดเข็มทิศท่ดี ใี นการต่อสู้กับยุคสมัยท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่าง รวดเรว็ ดงั จะเห็นได้จากการทยอยการปิดตัวลงไปของโรงเรียนกวดวิชาต่างๆ ไม่ว่าจะในกรุงเทพและต่างจังหวัด ถ้า ผ้บู รหิ ารโรงเรยี นหรอื ผูท้ ม่ี ีสว่ นเก่ยี วข้องไมป่ รับตัวใหส้ อดคล้องกบั ยุคท่เี ปลย่ี นไปอย่างรวดเร็ว และไม่พัฒนานวัตกรรม ที่เกีย่ วกบั การเรยี นการสอน ทา้ ยสดุ ก็จะถูก Disrupt จนกลายเปน็ อดตี ในทส่ี ดุ เน้อื หาสาระ ความหมายของยคุ Disruption กอ่ นท่จี ะพดู ถึงความหมายของคาว่า Disruption น้ัน เราต้องเข้าใจในเรื่องของการเปล่ียนแปลงในแต่ละยุค ก่อน โดยผู้เขียนขอเขียนอภิปรายในเชิงของการปฏิวัติอุตสาหกรรม เน่ืองจากความแตกต่างของระหว่างยุคน้ัน เกิด จากป๎จจัยที่แตกต่างของการปฏิวัติอุตสาหกรรมและส่งผลกับแต่ละยุคเป็นอย่างมาก จากหนังสือ The Fourth Industrial Revolution(Tilly Wood, 2019) ได้เขียนไว้ว่า การปฏิวัติอุตสาหกรรม คือ การเปลี่ยนแปลงท่ีส่งผล กระทบในทุกแงม่ มุ ของชีวิตประจาวนั ไมท่ างใดก็ทางหนึ่ง โดยโลกของเราน้ีผ่านการเปลี่ยนแปลงคร้ังใหญ่มาแล้วถึง 4 ครง้ั ดว้ ยกนั การปฏิวตั อิ ุตสาหกรรมครง้ั ท่ี 1 การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมคร้ังแรกเกิดข้ึนในประเทศอังกฤษช่วงปี ค.ศ. 1760 หรือ 258 ปีก่อน เป็นการปฏิวัติ จากแรงงานคนและสัตว์มาเป็น “เครื่องจักรไอน้า” ทาให้งานที่ต้องใช้แรงงานซ้า ๆ ถูกทดแทนด้วยเครื่องจักรไอน้า และใช้ถ่านหนิ เปน็ พลังงานทางการ การปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรมคร้ังที่ 2 การปฏิวัติอตุ สาหกรรมครัง้ ถดั มาเกิดขนึ้ ในประเทศสหรฐั อเมริกา ชว่ งปี ค.ศ. 1870 เป็นการเปลี่ยนแปลงจาก พลังงานถ่านหินมาสกู่ ารใช้พลงั งานไฟฟาู กา๊ ซและนา้ มนั ดว้ ยระบบไฟฟาู และการใช้สายพานในขบวนการผลิต ส่งผล ใหเ้ กดิ การผลิตจานวนมหาศาลอย่างท่ีไม่เคยเกิดข้ึนมาก่อน ทาให้ประสิทธิภาพในการผลิตเพ่ิมสูงข้ึนและต้นทุนการ ผลิตลดลง จึงเกิดเป็นยุคท่ีมีสินค้าเหมือนๆกันจานวนมาก (Mass Production) ทาให้โรงงานที่มีขนาดใหญ่ก็จะย่ิง ได้เปรียบในการประหยดั ต่อขนาด (Economy of Scale) หน้า86

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมครง้ั ท่ี 3 การปฏวิ ตั ิอตุ สาหกรรมคร้ังน้ีได้พัฒนาจากครั้งที่ 2 การเกิดข้ึนของไฟฟูานามาสู่การพัฒนาระบบไฟฟูาและ อุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์สิง่ สาคญั ทเ่ี กิดข้ึนในยคุ นี้คอื “คอมพวิ เตอร”์ คอมพวิ เตอร์เครอ่ื งแรกเกิดข้ึนในปี ค.ศ.1946 และ นาเข้ามาใช้ในอุตสาหกรรมเมื่อปี ค.ศ. 1970 ทาให้เกิดการผลิตแบบอัตโนมัติขึ้น ส่งผลให้ขบวนการผลิตมี ประสิทธภิ าพดยี ง่ิ ขึน้ กว่าเดิม ในป๎จจบุ นั นี้แทบทกุ โรงงานต่างมีระบบการผลิตแบบอัตโนมัติเข้าไปเป็นส่วนช่วยในการ ผลติ ทาใหต้ ้นทุนในการผลติ ถูกลง สินค้ามีราคาท่ีถูกยง่ิ กว่าเดมิ ส่งผลดีต่อผ้บู ริโภค การปฏวิ ตั ิอุตสาหกรรมครงั้ ท่ี 4 การปฏิวัติอตุ สาหกรรมทกี่ าลังจะเกิดขน้ึ นจี้ ะเปน็ การเปลย่ี นแปลงโลกคร้ังใหญ่อย่างที่กล่าวได้ว่าโลกจะพลิก จากหลงั มอื ไปหน้ามอื ทงั้ ในแง่ของขนาด ความเรว็ และขอบเขต การปฏิวตั คิ ร้งั นีโ้ ลกจะก้าวเรว็ ขึ้นแบบทวีคูณ หากเรา ยอ้ นดูในอดีตการปฏิวัติที่ผ่านมา การปฏิวัติครั้งแรกห่างจากโลกท่ีเราอยู่ในป๎จจุบัน 250 ปี การปฏิวัติครั้งท่ีสองห่าง จากปจ๎ จบุ ัน 150 ปี การปฏวิ ัตคิ รั้งลา่ สุดห่างจากจุดท่ีเราอยู่ ณ ตรงน้ี 50 ปี หากนบั ระยะเวลาของแต่ละช่วงแล้ว โลก กาลังหมุนเร็วข้ึนแบบทวีคูณ ไม่ใช่เป็นการเดินแบบเส้นตรงอย่างที่ผ่านมา อีกทั้งการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 2 ที่ เกดิ ขึน้ ส่งผลต่อประชากรโลกเพยี ง 17% เทา่ น้ัน เนื่องจากประชากรส่วนใหญ่ยังไม่มีไฟฟูาใช้ การปฏิวัติอุตสาหกรรม ครั้งที่ 3 ก็เช่นกัน ประชากร 4,000 ล้านคนยังเข้าไม่ถึงอินเตอร์เน็ต แต่ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาระบบอินเตอร์เน็ตได้ แทรกซมึ ไปอยา่ งรวดเร็วทว่ั โลก รายงานล่าสุดในปี 2017 ที่ผ่านมาพบว่าผู้คนเข้าถึงอินเทอร์เน็ตแล้วกว่า 3,700 ล้าน คน คิดเปน็ 50% ของประชากรทั้งโลก สงิ่ นท้ี าให้โลกเช่ือมถึงกันได้มากขึ้น ดังนั้นสิ่งสาคัญในการแข่งขันทางธุรกิจจะ ไมใ่ ช่การลดตน้ ทุนอกี ตอ่ ไป แตค่ อื นวัตกรรม และความคิดสรา้ งสรรค์ ดั่งเชน่ “อเู บอร์” บรษิ ัทแทก็ ซี่ทใ่ี หญ่ทสี่ ุดในโลก แตไ่ มม่ รี ถในครอบครอง “เฟซบุ๊ก” บริษทั สื่อท่มี ีมลู คา่ มากกวา่ GDP ประเทศไทย แต่ไมไ่ ดม้ เี นอื้ หาของตวั เองเลย “Airbnb” บรษิ ทั จดั หาทพ่ี กั ทใี่ หญ่ทสี่ ุดในโลก แต่ไมม่ ีห้องพักของตนเองสกั ห้องเดยี ว ภาพท่ี 1 การปฏวิ ัติอตุ สาหกรรมทัง้ 4 ครง้ั (Wood, 2019) หนา้ 87

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) “Disruption” “Innovation” และ “Transformation” เป็นคา 3 คาท่ีมีความใกล้เคียงกัน Disruption หมายถึงการเปลี่ยนแปลงรปู แบบเดิมไปโดยสนิ้ เชงิ (การเปลยี่ น Platform) Innovation หมายถงึ การปรับให้ดีกว่าเดิม (สะดวกข้ึน) ส่วน Transformation หมายถึงการปฏิรูป การเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์ เปลี่ยนแปลงวิธีคิดต้ังแต่ต้นน้าถึง ปลายนา้ ซง่ึ สาหรบั ยคุ ป๎จจุบัน การปฏิรูปนน้ั คงหนีไม่พน้ ดา้ น Digital เนอื่ งจากอินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทกับมนุษย์ อยา่ งหลากหลาย (คนึงนิจ อนุโรจน์, 2562) ผเู้ ขยี นขอสรุปใหเ้ ป็นแผนภาพใหเ้ ขา้ ใจโดยงา่ ยดังนี้ Innovation Disruption Transformation โดยท่ีคาว่า Innovation เป็นภาพใหญ่ นวัตกรรมสามารถเกิดข้ึนระว่างการเปล่ียนแปลงของ Disruption หรือ Transformation ก็ได้ ซึ่งจะใช้ภาษาอังกฤษคาว่า Disruptive Innovation โดยผลลัพธ์ที่ผู้ใช้(User)รับรู้นั้น อาจจะคล้ายๆเดิมแต่เปล่ียนตรงแพลตฟอร์มท่ีใช้สาหรับการนาไปสู่ผลลัพธ์ เช่น การล้มหายตายจากไปของ หนงั สอื พิมพ์ ที่ถูก Digital Media เข้ามาแทนเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว ส่วน Transformation นั้นคือการเปลี่ยนแปลงให้ ดีกว่าเดิม สะดวกข้ึนกว่าเดิม เช่น สมัยก่อนทุกคนต้องมี Black Berry (BB) กันทุกคน แต่สมัยน้ีถูก Transform เป็น WE Chat หรอื Line เปน็ ตน้ ผลของการเปล่ียนแปลงที่กล่าวมาแล้วข้างต้นทาให้ บริษัทที่ปรึกษาทางธุรกิจอย่าง Mckinsey ได้นาเสนอ แนวคดิ และทิศทางของเทคโนโลยีที่จะมีผลกระทบกับยุค Disruption ไว้ 12 เทคโนโลยีคืออินเทอร์เน็ตแบบมือถือไร้ สาย (MobileInternet) ซอร์ฟแวร์อัจฉริยะ (Automation of Knowledge)อุปกรณ์ต่างๆถูกเช่ือมโยงผ่าน อินเทอร์เน็ต (Internet of Thing)เทคโนโลยีหุ่นยนต์ข้ันสูง (Advanced Robotics)เทคโนโลยีคลาวด์ (Cloud Technology)เทคโนโลยียานพาหนะไร้คนขับ (Autonomous Vehicles)เทคโนโลยีพันธุกรรม (Next-Generation Genomics)ระบบฐานข้อมูล (Next-Generation Storage)การพิมพ์ 3 มิติ (3D Printing) วัสดุชั้นสูง(Advanced Material) เทคโนโลยีข้ันสูงในการขุดเจาะน้ามันและแก๊ส (Advanced oil and gas exploration and recovery) พลังงานหมนุ เวียน Renewable Electricity ทักษะทผี่ ู้เรยี นพึงมีในยคุ Disruption ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 เครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพ่ือทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 (The partnership for 21st century skills, 2009 อ้างถึงใน พงศธร มหาวิจิตร, 2562 )ได้เสนอแนะกรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ว่าควรมุ่ง เสรมิ สร้างทกั ษะสาคญั 3 ประการแก่ผูเ้ รียน คอื ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) หนา้ 88

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ทักษะชีวติ และการประกอบอาชพี (Life and Career Skills)และทักษะดา้ นข้อมูลข่าวสาร การสื่อสารและเทคโนโลยี (Information, Media and Technology Skills)โดยให้ความสาคัญกับการเรียนการสอนประเด็นในเรื่องท่ีมีลักษณะ เป็นพหุวิทยาการ (21st Century Interdisciplinary Themes) 5 ประเด็น ได้แก่ 1) ความตระหนักเกี่ยวกับโลก (Global Awareness) 2) การเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจและความเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economic, Business and Entrepreneurial Literacy) 3) ความเข้าใจเกี่ยวกับฐานะพลโลก (Civic Literacy) 4) ความเข้าใจ เกีย่ วกบั สุขภาพ (Health Literacy)และ 5) ความเข้าใจดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม (Environment Literacy) ภาพท่ี 3 กรอบความคดิ เพือ่ การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 (The partnership for 21st century skill, 2009) อกี ทั้งยังมีทักษะแห่งอนาคตที่เป็นทักษะของคนรุ่นใหม่ที่อยากประสบความสาเร็จ (Skills Set)ประกอบไป ด้วย ทักษะเชิงความรู้และความสามารถ (Hard Skill)ทักษะด้านสังคม (Soft Skill)และทักษะที่เกิดข้ึนมาใหม่พร้อม การเปลยี่ นแปลง (Meta Skill)มีรายละเอยี ดดังนี้ (กนกวรรณ การะเกต,ุ 2562) 1. ทักษะเชิงความรู้และความสามารถ (Hard Skill) หมายถึง ทักษะเชิงเทคนิคความรู้ ทักษะ ความสามารถดา้ นอาชพี หรือความชานาญ ในการทางานด้านน้ัน 2. ทกั ษะดา้ นสงั คม (Soft Skill) หมายถงึ ทกั ษะด้านสังคม เป็นทักษะในการอยู่ร่วมกับคนอ่ืนๆ ไม่ วา่ จะเป็นการตดิ ต่อ ส่อื สาร การทางานเป็นทีม การโนม้ น้าวใจ ซง่ึ เป็นทกั ษะทที่ าให้มนุษยต์ า่ งจาก AI 3. ทกั ษะท่เี กิดขึ้นมาใหมต่ ลอดเวลาพรอ้ มการเปลย่ี นแปลง (Meta Skill)หมายถึง การสร้างทัศนคติ (Mind Set) ทด่ี ีพรอ้ มที่จะพัฒนา เรยี นรู้ แกป้ ญ๎ หาสิ่งใหม่ๆ ที่ท้าทาย ซึ่งบคุ คลทีม่ ที ักษะหรือทัศนคติแบบนี้มักจะรู้จัก ตวั เอง (Self Awareness)เป็นอยา่ งดจี งึ มคี วามพรอ้ มท่ีจะพัฒนา มคี วามคิดสร้างสรรค์ (Creativity)ในการทาส่ิงใหม่ๆ รวมไปถึงการมแี นวทางการแก้ปญ๎ หาอย่างชาญฉลาด และท้ายสดุ คอื มคี วามยืดหยุ่นทางความคิด (Resilience)คือการ มที ัศนคตทิ ดี่ แี ละเป็นบวก ไมว่ ่าจะเจอปญ๎ หาอะไรก็จะไม่จมปลัก แต่จะพยายามหาทางออกจนได้ จากทักษะของผู้เรียนที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น จึงส่งผลให้เกิดการศึกษาที่ควรเป็นในยุค Disruption โดยมี สาระสาคญั 8 ประเด็นดังตอ่ ไปนี้ 1. เปลยี่ นโรงเรียน เป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ : จะตอ้ งมีลักษณะสาคัญ 5 ประการคือ มีการแก้ป๎ญหาอย่าง เป็นระบบ (Systematic problem Solving)มีการทดลองปฏิบตั ิ (Experimental)ในสิ่งใหม่ๆ ท่ีมีประโยชน์ต่อองค์กร หนา้ 89

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) เสมอ มีการเรียนรู้จากบทเรียนในอดีต (Learning from their own experience)มีการเรียนรู้จากผู้อื่น (Learning from the Others)และมีการถ่ายทอดความรู้ (Transfer Knowledge) อยา่ งเปน็ ระบบและแบบแผน 2. เปล่ยี นครูเป็นโค้ช : การเรยี นรู้ท่ีมีความหมายนั้น ผ้เู รยี นจะตอ้ งเป็นคนเลือกและกาหนดเอง ครูจะเป็นแค่ ผู้อานวยความสะดวกในการเรยี นเท่านนั้ 3. ปรับกระบวนการเรียนการสอนให้สามารถนาไปใช้ได้จริงในชีวิตประจาวันและอาชีพที่ผู้เรียนสนใจใน อนาคต : เพอื่ ทีผ่ ู้เรียนสามารถนาไปประยุกต์และเห็นความสาคัญของการเรียน ว่าเรียนแล้วสามารถนาไปทาอะไรได้ บ้าง 4. ใช้ภาษาให้มากกว่า 1 : ในป๎จจุบันนอกจากภาษาท่ี 3 แล้วนั้นที่มีความสาคัญในการพัฒนาผู้เรียน เน่ืองจากความรู้หรือวิทยาการใหม่ๆ นั้นล้วนมาจากต่างประเทศ แต่เราก็ไม่ควรมองข้ามภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding)อกี ด้วย 5. มีมาตรฐานทจี่ ับต้องได้ : เปรียบเหมอื นกรอบสมรรถนะของผู้เรียนวา่ เรียนแล้วสามารถทาอะไรได้บ้าง ถ้า ในศพั ทว์ ิชาการของนักวิจยั จะเรยี กว่า นิยามเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร 6. MOU กับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องทั้งระดับในประเทศและต่างประเทศ : ป๎จจุบันการเรียนรู้เป็นการเรียนท่ี พง่ึ พาอาศยั กนั ระหวา่ งหน่วยงานตา่ งๆท่ีเก่ียวข้อง 7. สามารถเทยี บโอนได้ผ่าน Credit Bank: เนือ่ งจากในอนาคตความสาคัญของใบปริญญาบัตรจะเสื่อมค่าลง เปน็ เพราะความตอ้ งการท่ีจะอยากเรยี นรู้ในศาสตรต์ ่างๆท่ีแปลกๆใหม่ๆมีมากขึ้น ดังน้ันการมีระบบ Credit Bank น้ัน จะสามารถเป็นระเบียนความรู้ของผู้เรียนได้ในระดับหน่ึง อีกทั้งเมื่อระบบ Credit Bank ได้มีการพัฒนาให้ครบทุก องค์ประกอบแลว้ สามารถท่ีจะเทียบโอนขา้ มศาสตรห์ รอื แขนงอืน่ ๆ ของแตล่ ะสาขาวิชาได้ ซง่ึ สดุ ท้ายปลายทางอาจจะ อยู่ในรปู ของใบปริญญาบัตรเหมอื นกนั แตส่ ่งิ ทตี่ า่ งกันคือความร้ทู ีผ่ เู้ รยี นได้นนั้ จะมีคณุ ค่าและมีความหมาย 8. มีการพัฒนาครูอย่างต่อเนื่อง : ถึงยุคสมัยเปล่ียนแปลงไปมาเท่าใด ครูผู้สอนนั้นก็ยังเป็นส่วนท่ีสาคัญ จาเป็นต่อระบบการศกึ ษาอยู่วนั ยังคา่ AI ไม่สามารถแทนมนุษย์ไดใ้ นเรอ่ื งของจิตวิญญาณ ความรักความเอาใจใส่ รวม ไปถึงการอบรมส่ังสอนลูกศิษย์ ดังน้ันแม่พิมพ์ของชาติก็ยังเป็นแม่พิมพ์ของชาติอยู่วันยังค่า แต่อาจจะต้องมีการ ปรบั เปลีย่ นในเหมาะสมและพัฒนาตัวเองอยา่ งสมา่ เสมอตลอดชีวิต หลกั การบริหารสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน หลักการจากพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2)พ.ศ. 2545 และฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2553 ในมาตราที่ 39 ซงึ่ ระบวุ า่ ใหก้ ระจายอานาจการบรหิ ารและการจัดการศึกษา 4 ด้าน คือ ด้านบริหารงาน วิชาการ ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารงานท่ัวไป ซึ่งแต่ละด้านมี ความสาคญั ดังตอ่ ไปนี้ 1. ด้านบริหารงานวิชาการ หน้า90

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) หวั ใจสาคัญของการบริหารสถานศึกษาและเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารสถานศึกษาไม่ว่าสถานศึกษาจะ เป็นประเภทใด มาตรฐานการบริหารคุณภาพของการบริหารสถานศึกษาจะพิจารณาได้จากผลงานด้านการบริหาร วชิ าการ (สานักงานคณะกรรมการวจิ ยั ข้ันพ้นื ฐาน, 2547 และ จนั ทรานี สงวนนาม, 2545) จากการวิจัยของสมิธและ คนอื่นๆ (Edward W. Smith and others อ้างถึงใน ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์, 2544 และ ชุมศักดิ์ อินทร์รักษ์, 2546) ไดจ้ ดั ลาดบั ความสาคญั ของงานวชิ าการไว้เป็นอันดับแรกจากงานอื่นๆของผู้บริหารสถานศึกษาโดยให้น้าหนัก ถงึ รอ้ ยละ 40 2. ด้านการบริหารงบประมาณ จากสาระบัญญัติในหมวด 8 ของพระราชบัญญัติการวิจัยแห่งชาติ พ. ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ. ศ. 2545 มาตรา 60 และ 61 ทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงในระบบการบริหารจัดการงบประมาณของประเทศไทยเป็นอย่างมาก กล่าวคือ การ จดั สรรงบประมาณทางการวิจยั แตเ่ ดิมจนถงึ ป๎จจบุ นั น้ี เป็นการจัดสรรให้กับหน่วยงานท่ีจัดการวิจัยตามแผนโครงการ และหมวดเงิน ซ่ึงพระราชบัญญัติการวิจัยแห่งชาติ พ. ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ. ศ. 2545 กาหนดให้ จัดสรรแก่ผู้เรียนเป็นรายบุคคลอย่างเหมาะสมและเท่าเทียมกัน โดยจัดสรรเป็นเงินอุดหนุนทั่วไปมิใช่รายหมวด เหมือนเดมิ และยงั กาหนดไว้ดว้ ยว่าใหส้ ตั วเ์ งนิ สมทบแก่ผู้เรียนท่ีมีความจาเป็นพิเศษ ตลอดจนจัดสรรเงินอุดหนุนการ วิจัยที่จัดโดยบุคคล ครอบครัว ชุมชน และองค์กรต่างๆในสังคมอีกด้วย ซ่ึงแต่เดิมไม่เคยจัดสรรให้ (สานักงาน คณะกรรมการการวิจยั แหง่ ชาติ, 2543) จะเหน็ วา่ ระบบบรหิ ารจัดการงบประมาณทส่ี อดรับกับพระราชบญั ญัติการวิจัยแห่งชาติ พ. ศ. 2542 (ฉบับ ท่ี 2) พ.ศ. 2545 เปน็ เร่อื งที่มีความสาคัญ และเป็นส่วนหน่ึงของนโยบายการปฏิรูปการวิจัยตามพระราชบัญญัติการ วจิ ยั แห่งชาติ ทใี่ ห้มกี ารกระจายอานาจการวิจัยไปยังเขตพื้นทก่ี ารวจิ ัย โดยการกระจายอานาจดังกลา่ วต้องรวมทั้งเร่ือง การบริหารจัดการทรพั ยากรและงบประมาณการเงนิ เพราะมเิ ชน่ นนั้ การกระจายอานาจจะไมม่ ีประโยชน์ การกระจาย อานาจการบริหารงบประมาณให้มีการจัดสรรค่าใช้จ่ายรายหัวตรงไปยังสถานศึกษา จะเป็นการกระจายอานาจให้ สถานศกึ ษามีอิสระในการตดั สินใจเรือ่ งการบริหารงบประมาณ โดยรัฐจัดสรรเงินอุดหนุน (Subsidy) ให้เป็นค่าใช้จ่าย รายบุคคลตามจานวนนักเรียน สถานศึกษาจะมีอานาจและอิสระในการใช้เงินมาก และถ้ามีเงินเหลือสถานศึกษาก็ สามารถเก็บงบประมาณและทรัพยากรมาใช้ต่อไปได้ (รุง่ แกว้ แดง, 2546) 3. ด้านการบรหิ ารงานบุคคล สานักงานคณะกรรมการการวิจัยข้ันพื้นฐาน (2547) กล่าวถึงความสาคัญของการบริหารงานบุคคลไว้ว่า การบริหารงานบุคคลคือ ป๎จจัยสาคญั ท่ีสง่ ผลกระทบต่อประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลของงานโดยตรง ผู้บริหารท่ีดี คือ ผู้ท่ีใชค้ วามรคู้ วามสามารถในการบริหารงานบุคคล ให้ทุกคนร่วมมือการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล สงู สุด สอดคล้องกับกระทรวงศึกษาธกิ าร (2546) ที่กล่าวว่า การบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา เป็นภารกิจสาคัญที่ มุ่งส่งเสริมให้สถานศึกษาสามารถปฏิบัติงานเพ่ือตอบสนองภารกิจของสถานศึกษา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยที่ เปูาหมายสูงสุดของการมีความรับผิดชอบในการบริหารงานบุคคลนี้ก็เพ่ือสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนสาหรับ หน้า91


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook