Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ED-APHEIT 2020

ED-APHEIT 2020

Published by ED-APHEIT, 2020-04-06 04:37:45

Description: การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร
สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ
หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption”
ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.)

Keywords: ED-APHEIT 2020 ศึกษาศาสตร์ สสอท.

Search

Read the Text Version

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู การศึกษาครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์ เพ่ือพัฒนาความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย ด้วย กิจกรรมการเล่านิทานไม่รู้จบ รูปแบบของงานวิจัย (The One-Group Pretest-Posttest Design) ผู้ศึกษามี วธิ กี ารดาเนนิ การศกึ ษาตามข้ันตอน ดงั น้ี ตารางที่ 1 ผลการเปรยี บเทียบคะแนนความสามารถ ในการคิดสร้างสรรค์ก่อนเรียนกับหลังเรียนด้วย กิจกรรมการเลา่ นิทานไม่รู้จบ กลุ่มทดลอง คะแนนเตม็  S.D. df t 0.68 15 14.59 ก่อนการทดลอง 18 1.54 0.31 2.89 หลังการทดลอง 18 *มีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดับ .05 จากตารางท่ี 1 ผลการเปรียบเทยี บคะแนนความสามารถ ในการคิดสร้างสรรค์ก่อนเรียนกับหลังเรียน ด้วยกิจกรรมการเลา่ นทิ านไม่รูจ้ บ ดังนี้ คะแนนก่อนเรียนมีค่าเฉลย่ี เท่ากบั 1.54 สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.68 คะแนนหลัง ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.89 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.31 สรุปได้ว่าคะแนนความคิด สร้างสรรค์หลงั เรียนสูงกวา่ กอ่ นเรยี น อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั 0.05 ตารางท่ี 2 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉล่ีย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนนจากการทาแบบประเมิน ความคิดริเริม่ และความคิดละเอยี ดลออของเด็กปฐมวัย แยกเป็นรายดา้ น รายการ การทดลอง คะแนนเตม็  S.D ความคิดริเริ่ม ก่อนการทดลอง 9 0.63 หลงั การทดลอง 9 1.54 0.35 ความคดิ ละเอยี ดลออ กอ่ นการทดลอง 9 2.86 0.74 หลังการทดลอง 9 1.55 0.27 2.92 จากตารางที่ 2 พบวา่ ผลการเปรยี บเทียบค่าเฉล่ีย คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐานของคะแนนจากการทาแบบ ประเมินความคิดรเิ รมิ่ และความคดิ ละเอยี ดลออของเด็กปฐมวัยท่เี รียนหลักสูตรภาษาอังกฤษ ชน้ั อนบุ าล 3 แยกเปน็ รายด้าน ดงั นี้ ความคิดรเิ ริ่มมคี ะแนนกอ่ นการทดลอง คดิ เปน็ ค่าเฉล่ียเท่ากับ 1.54 สว่ นเบยี่ งเบน มาตรฐานเท่ากบั 0.63 ความคิดรเิ ร่มิ มคี ะแนนหลังการทดลอง คดิ เปน็ ค่าเฉลยี่ เทา่ กับ 2.86 ส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐานเท่ากบั 0.35 ความคิดละเอียดลออกอ่ นการทดลอง คดิ เป็นคา่ เฉล่ียเทา่ กับ 1.55 ส่วนเบ่ียงเบน หนา้ 542

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) มาตรฐานเท่ากบั 0.74 ความคิดละเอียดลออหลังการทดลอง คดิ เปน็ ค่าเฉลีย่ เท่ากับ 2.92 สว่ นเบย่ี งเบน มาตรฐานเท่ากบั 0.27 ตารางท่ี 3 ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผเู้ ด็กปฐมวยั ทเ่ี รียนด้วยกิจกรรมการเล่านทิ านไม่ร้จู บ ขอ้ ที่ รายการ  S.D การแปลผล มาก 1 นกั เรียนอยากฟง๎ กิจกรรมการเล่านทิ านท่เี พื่อนเล่าใหฟ้ ง๎ 2.82 0.39 หรือไม่ 2.94 0.24 มาก 2 นักเรยี นต้องการให้มีกจิ กรรมการเลา่ นิทานนอ้ี ีกหรอื ไม่ 3 นักเรียนมคี วามพอใจตอ่ การเขา้ ร่วมกจิ กรรมการเล่านทิ าน 2.76 0.44 มาก มาก หรือไม่ มาก มาก 4 นักเรียนคิดว่าเพื่อนชอบกจิ กรรมการเล่านิทานนีเ้ หมือนกัน 2.88 0.33 หรอื ไม่ 5 นกั เรยี นนาความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการเล่าท่นี ทิ านไปเล่าเพ่ิมเติมนอก 3.00 0.00 หอ้ งเรยี น 6 กจิ กรรมการเล่านิทานมีความยากง่ายหรือไม่ 2.88 0.49 7 เวลาในการทากิจกรรมมคี วามเหมาะสมกบั ผลงานหรือไม่ 2.88 0.33 มาก 8 นกั เรียนต้องการนากิจกรรมการเล่านิทานนี้ไปบอกต่อเพ่ือน 3.00 0.00 มาก นอกชั้นเรยี นหรือไม่ 9 นักเรียนต้องการที่จะเพ่ิมเติมเนื้อหาหรืออุปกรณ์ ในการเล่า 2.88 0.33 มาก นทิ านนอี้ ีกหรือไม่ 10 นักเรียนมีความพยายามที่จะทากิจกรรมการเล่านิทานน้ีให้ 2.82 0.73 มาก สาเรจ็ หรอื ไม่ ผลรวม 2.89 0.38 มาก จากตารางท่ี 3 พบว่า ผลการประเมินความพึงพอใจของเดก็ ปฐมวยั ทเี่ รยี นดว้ ยกิจกรรมการเล่านิทาน ไมร่ จู้ บ มีคะแนนความความพึงพอใจจากผู้ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเล่านิทานไม่รู้จบ จานวน 17 คน คิดเป็น ค่าเฉล่ยี เทา่ กับ 2.89 ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.38 ระดับความพงึ พอใจอย่ใู นระดับ มาก สรปุ ผลการวจิ ัย หน้า 543

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ผลการเปรยี บเทียบคะแนนความสามารถ ในการคดิ สร้างสรรค์หลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยกิจกรรม การเล่านิทานไม่รู้จบ โดยคิดเป็น คะแนนหลัง ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.89 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.31 คะแนนกอ่ นเรียนมคี า่ เฉลย่ี เทา่ กบั 1.54 สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.68 ผลการเปรียบเทียบคา่ เฉล่ยี ค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐานของคะแนนจากการทาแบบประเมินความคิดริเริ่ม และความคิดละเอียดลออของเด็กปฐมวยั แยกเป็นรายดา้ น ดังน้ี ความคิดริเริม่ มคี ะแนนกอ่ นการทดลอง คิด เป็นคา่ เฉลีย่ เท่ากับ 1.54 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.63 ความคิดรเิ ริ่มมีคะแนนหลังการทดลอง คิดเป็น คา่ เฉล่ียเท่ากับ 2.86 ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.35 ความคิดละเอียดลออก่อนการทดลอง คดิ เป็น คา่ เฉล่ียเท่ากับ 1.55 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.74 ความคิดละเอยี ดลออหลังการทดลอง คดิ เป็น คา่ เฉล่ียเท่ากับ 2.92 สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.27 สรุปไดว้ ่าคะแนนค่าเฉลย่ี ของคะแนนหลงั เรียนสูง กว่าก่อนเรยี น ท้งั 2 ด้าน ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เด็กปฐมวัยท่ีเรียนด้วยกิจกรรมการเล่านิทานไม่รู้จบ มีคะแนน ความความพึงพอใจจากผู้ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเล่านิทานไม่รู้จบ จานวน 17 คน คิดเป็นค่าเฉล่ียเท่ากับ 2.89 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.38 สรุปได้ว่ารู้เรียนมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก โดยใน รปู แบบการการตอบแบบสอบสาหรับเด็กปฐมวยั นั้น ผู้วจิ ยั จะต้องดาเนนิ การอา่ นรายการประเมินเป็นภาษาพูด แลว้ ให้เด็กปฐมวยั ทไ่ี ดร้ บั การประเมนิ ให้คะแนนตามระดบั ความพงึ พอใจ อภปิ รายผล จากการท่ีผู้ศึกษาได้มีการทดลองศึกษาผลการใช้กิจกรรมนิทานไม่รู้จบ ผลการเปรียบเทียบคะแนน ความสามารถ ในการคิดสร้างสรรคก์ ่อนเรียนกับหลังเรียนด้วยกิจกรรมการเล่านิทานไม่รู้จบ โดยแบ่งออกเป็น 2 ดา้ น ดังนี้ ด้านความคิดรเิ รม่ิ และด้านความคดิ ละเอยี ดลออของเดก็ ปฐมระดับชั้นอนุบาลภาคภาษาอังกฤษ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั รามคาแหง (ฝาุ ยประถม) จานวน 17 คน ผลการเปรียบเทียบคะแนนความสามารถ ในการคิดสร้างสรรค์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยกิจกรรม การเล่านิทานไม่รู้จบ โดยคิดเป็น คะแนนหลัง ค่าเฉล่ียเท่ากับ 2.89 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.31 คะแนนกอ่ นเรียนมีค่าเฉล่ยี เทา่ กบั 1.54 สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.68 จะเหน็ ได้วา่ การจัดกิจกรรมละคร สร้างสรรค์ผ่านการเล่านิทานไม่จบเรอื่ งเพอื่ พัฒนาความความคิดริเร่มิ และความคดิ ละเอียดลออของเด็กปฐมวัย คอื ช่วยกระตุ้นความคิด สรา้ งจินตนาการอย่างอิสระ ทาให้เด็กสร้างสรรค์ผลงานออกมาอย่างหลากหลาย ฝึก ให้เด็กได้ลงมือกระทาด้วยตนเองและฝึกการแสดงออกทางความคิด เด็ก ๆได้รู้จักเชื่อมโยงความรู้เดิม ผสมผสานกับความรู้ใหม่ เกิดเป็นความคิดสร้างสรรค์ข้ึน ซึ่งอารี พันธ์มณี (2544) ได้กล่าวว่า ความคิด จินตนาการประยุกตท์ ่สี ามารถนาไปสสู่ ่ิงประดษิ ฐ์ คิดค้นใหม่ เป็นความคดิ ท่ีหลากหลาย โดยเกิดจากความคิดที่ ผสมผสานเช่ือมโยงกับประสบการณ์ใหม่ ๆ กับประสบการณ์เดิมให้เกิดเป็นส่ิงใหม่ ซ่ึงสอดคล้องกับ Guilford (1967) ไดใ้ ห้นิยามของความคดิ สรา้ งสรรค์ไวว้ ่า ความคิดทห่ี ลากหลายทศิ ทาง หลายแง่มุม สามารถนาไปสู่การ หนา้ 544

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ประดษิ ฐ์ส่งิ ทแ่ี ปลกใหม่ จากทาการศึกษาผู้ศึกษาได้สงั เกตเหน็ ถึงพฒั นาการความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย จากการจัดกิจกรรมละครสร้างสรรค์โดยแบ่งออกเป็น 4 ด้านซึ่งสอดคล้องกับ สุวิทย์ มูลคา (2547) กล่าวว่า จากทฤษฎโี ครงสรา้ งทางสตปิ ญ๎ ญาของ Guilford ได้อธบิ ายว่าความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถทางสมอง ทคี ิดไดก้ วา้ งไกลหลายทิศทางหรือเรียกว่า ลักษณะการคิดอเนกนัยหรือการคิดแบบกระจาย ซึ่งประกอบด้วย ดงั น้ี ดา้ นความคดิ รเิ ร่ิม เด็ก ๆ มจี นิ ตนาการทแี่ ตกตา่ งไปจากเพ่ือน สามารถตอบคาถามและออกแบบชิ้นงาน ทม่ี ีความแปลกใหม่ ไมซ่ ้ากบั ใคร หรอื แตกต่างจากผ้อู ืน่ หรือมาจากความคดิ ทมี่ อี ยู่เดมิ ผสมผสานกับความรู้ใหม่ จึงทาให้เกิดเป็นของส่ิงใหม่ท่ีแปลกไป และเม่ือเด็กได้รับการกระตุ้นบ่อย สามารถนามาดัดแปลงปรับปรุงให้ เปน็ ส่ิงใหมแ่ ละมปี ระโยชน์ต่อการทากิจกรรมละครสร้างสรรค์มากยง่ิ ขึ้น ความคิดละเอียดลออ เด็กมีความกล้าที่จะลงมือทากิจกรรมด้วยตนเอง สามารถเพ่ิมเติมหรือต่อเติม เร่ืองราวในนิทานได้อย่างมีรายละเอียดและมีลาดับข้ันตอน รวมถึงรายละเอียดในการคัดสรรตั วละคร ชุด อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ในการตกแต่งฉากใหด้ มู ีความสวยงาม น่าสนใจและให้มีความสมบูรณ์มากข้ึน ลักษณะของการ จดั กิจกรรมละครสรา้ งสรรคโ์ ดยการเล่านิทานไม่จบเรือ่ ง เด็กได้เรยี นรูก้ ารทางานเปน็ กลุ่ม มปี ฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น โดยเด็กได้มีการช่วยกันคิด ช่วยกันวางแผนในการออกแบบนิทานและเลือกวัสดุอุปกรณ์ในการจัดละคร สร้างสรรค์ เดก็ ได้ร้จู ักการรอคอยและรจู้ กั การแบง่ ปน๎ เปน็ การเปิดโอกาสใหเ้ ด็กได้แสดงความคดิ เห็นกันและลง มือปฏิบัตกิ ิจกรรมรว่ มกันอยา่ งอสิ ระ เช่น ครูให้ออกแบบนทิ านตอ่ จากนทิ านทคี่ รูเล่าไม่จบ เพ่ือฝึกให้เด็กได้คิด และออกแบบเน้ือเรื่องทต่ี นเองเข้าใจ โดยมีครคู อยใหค้ าแนะนาและตั้งคาถามเพื่อกระตุ้นความคิดของเด็กให้มี แนวคิดและทศิ ทางไปแนวทางเดียวกัน ฝกึ ใหเ้ ดก็ ได้ใชป้ ระสาทสมั ผสั ทงั้ 5 อย่างสมดุล ได้ค้นหา คิดค้นสร้างสิ่ง ใหมจ่ ากอุปกรณ์ท่ีครูจัดเตรียมไว้ เพ่ือสามารถนาไปต่อยอดในนิทานที่เด็ก ๆ แต่งขึ้นเองได้อย่างสมบูรณ์มาก ยิง่ ขนึ้ ซ่งึ สอดคล้องกับทฤษฎีพัฒนาการทางด้านสติป๎ญญาของ Vygotsky (1978) ที่ว่า เด็กจะเกิดการเรียนรู้ พัฒนาสติป๎ญญาและทัศนคติข้ึนเมื่อ มีการปฏิสัมพันธ์และทางานร่วมกันกับผู้อ่ืน ๆ เช่น ผู้ใหญ่ ครู เพื่อน บคุ คลเหลา่ น้จี ะให้ข้อมูลสนับสนุนให้เดก็ เกิดการเรียนรจู้ ากการมปี ฏสิ ัมพนั ธแ์ ละการทางานร่วมกันน้ัน โดยการ เรียนรู้ของเด็กจะเกิดข้ึนใน Zone of Proximal Development หมายถึง สภาวะท่ีเด็กเผชิญกับป๎ญหาที่ท้า ทายแต่ไม่สามารถคิดแก้ป๎ญหาได้โดยลาพัง เม่ือได้รับการช่วยเหลือแนะนาจากผู้ใหญ่ หรือจากการทางาน รว่ มกันกบั เพือ่ นท่มี ีประสบการณ์หรือความรมู้ ากกว่า เดก็ จะสามารถแกป้ ๎ญหานั้นไดแ้ ละเกดิ การเรยี นรู้ข้ึน และ นอกเหนือไปจากน้ันครูต้องให้เด็กได้เรียนรู้จากการทางานกลุ่ม กระบวนต่าง ๆ ที่เกิดจากการทางาน มีการ มอบหมายงานแล้วก็ควรให้ผู้รับผิดชอบในหน้าที่ต่าง ๆ ลงมือหาคาตอบด้วยตนเองจากิจกรรมท่ีได้รับ มอบหมาย ทาให้เกิดเป็นองค์ความรู้ขึ้นมาและสามารถช่วยพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กให้เป็นไปตามพัฒนาการ เม่ือเดก็ ได้ลงมือกระทาด้วยตนเอง ส่งผลให้เป็นความรู้ที่ถาวรต่อไป สอดคล้องกับปรัชญาของ John Dewey (1969) ท่ีวา่ เด็กปฐมวัยเรียนรไู้ ดด้ ี จากการกระทา (Learning by doing) และการเรียนรไู้ ดด้ จี ากประสบการณ์ ตรง ดังนั้นจะเหน็ ไดว้ า่ การจดั กิจกรรมละครสร้างสรรคโ์ ดยการเล่านิทานไม่จบเรื่อง ทาให้เด็กอยากเรียนรู้ด้วย ตนเอง ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง เปล่ียนจากเดิมที่เรียนรู้แบบท่องจาเป็นแบบลงมือกระทา โดยเด็กได้ฝึกคิด หน้า 545

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ออกแบบ สร้างสรรคผ์ ลงานและเลือกใช้วสั ดอุ ุปกรณ์ ทาใหเ้ ดก็ ไดฝ้ ึกคดิ มคี วามสามารถท่ีหลากหลาย แตกต่าง จากคนอ่ืน มีความคิดที่แปลกใหม่ โดดเด่น และเกิดเป็นความสนุกสนานในการทากิจกรรมร่วมกัน ซ่ึง ละคร สรา้ งสรรคจ์ ะช่วยพัฒนาพฤตกิ รรมและความคิดสร้างสรรค์ ซง่ึ เปน็ การแสดงออกของเด็ก การที่ครูฝึกให้เด็กได้ แสดงออกโดยใช้ความคิด จะทาให้เด็กได้พัฒนาการด้านต่าง ๆ ท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ - จิตใจ สังคม และ สติป๎ญญา จะทาให้เดก็ ไดม้ ีโอกาสแสดงออก เกิดความเช่อื ม่นั ในตนเอง และช่วยส่งเสริมทักษะการใช้ภาษาให้ดี ขนึ้ มีการปรบั ตัวที่ดี กระตุ้นให้เกิดความคดิ จนิ ตนาการในลักษณะทสี่ รา้ งสรรค์ ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เด็กปฐมวัยท่ีเรียนด้วยกิจกรรมการเล่านิทานไม่รู้จบ มีคะแนน ความความพึงพอใจจากผู้ท่ีเรียนด้วยกิจกรรมการเล่านิทานไม่รู้จบ จานวน 17 คน คิดเป็นค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.89 สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.38 สรุปไดว้ า่ รู้เรยี นมรี ะดับความพึงพอใจอย่ใู นระดบั มาก สรุปได้ว่าใน การจดั กิจกรรมละครสรา้ งสรรค์โดยการเล่านทิ านไม่จบเร่ือง เด็กให้ความสนใจและให้ความสาคัญมากท่ีสุดคือ ชว่ งที่ได้แสดงละคร เพราะเม่ือเด็ก ๆ สามารถออกแบบเร่ืองราวต่อและแบ่งหน้าท่ีภายในกลุ่ม มีการวางแผน ซกั ซ้อมกอ่ นมีการแสดงจรงิ เมือ่ ถึงเวลาท่ที ุกคนได้ทาการแสดงละครสร้างสรรค์จริง เด็ก ๆ ทุกคนดูมีความสุข สนุกสนาน มีความมน่ั ใจในการสนทนาโตต้ อบ กลา้ แสดงออกอย่างสร้างสรรค์ ซง่ึ สังเกตได้จากการทดลองตั้งแต่ สัปดาห์แรกจนส้ินสุดการทดลอง เด็กมีพัฒนาการทางความคิดที่หลากหลาย ในผลงานท่ีเด็กเด็ก ๆ คิดและ ออกแบบ มรี ายละเอียดและความชัดเจนของเนื้อหาผ่านทางสีหน้า ทา่ ทางและคาพูดของแต่ละคนเพ่ิมขึ้นเร่ือย ๆ มีพัฒนาการที่กล้าพูด กล้าตอบ กล้าอธิบาย กล้าแสดงความคิด กล้าแสดงออก ประกอบกับเด็กรู้จักการ ทางานเป็นกลุ่ม รู้จักการวางแผนอย่างมีลาดับขั้นตอน ส่งผลให้เด็กเกิดความสนใจ สนุกสนานเพลิดเพลิน สังเกตจากรอยย้ิม ความรู้สึก ความคิดและความกระตือรือร้นในการทากิจกรรม ซ่ึงสอดคล้องกับ Torrance (1964) ได้กลา่ วไวว้ า่ ความสามารถของบคุ คลในการคดิ สรา้ งสรรค์ผลผลิต หรอื ส่งิ แปลกใหม่ที่ไม่รู้จักมาก่อน ซึ่ง สิ่งตา่ ง ๆ เหล่าน้ันรวมเอาความรู้ต่าง ๆ ท่ีได้จากประสบการณ์เดิมมาเชื่อมโยงกับประสบการณ์ใหม่ ๆ ดังนั้น การเชื่อมโยงทางความคดิ หรือผสมผสานความคิดเป็นตัวส่งเสริมให้เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์เพ่ิมมากขึ้น ซ่ึง เดก็ ท่ีไดร้ บั การจักกิจกรรมสร้างสรรค์ จะทาใหเ้ ดก็ ไดใ้ ชค้ วามคดิ อยา่ งอิสระ มีจินตนาการของตนเอง ทาให้เกิด ความคิดสร้างสรรคไ์ ด้พัฒนาสูงข้นึ บทบาทของครูผู้สอน ครูผู้สอนเป็นผู้คอยกระตุ้น และเตรียมวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการจัดกิจกรรม ละครสรา้ งสรรคใ์ ห้กับเดก็ สรา้ งบรรยากาศทเี่ ป็นมติ รและเอ้ือต่อการเรียนรู้ของเด็ก สร้างความไว้วางใจ สร้าง ปฏิสัมพันธ์ทีดีกับเด็ก ซ่ึงสอดคล้องกับแนวคิดของ William (1970) ที่กล่าวไว้ว่า การพัฒนาความคิด สร้างสรรค์ในตัวเด็ก คือ การช่วยให้เด็กได้ค้นพบกับความคิดใหม่ และสามารถพัฒนาศักยภาพนั้น ให้เจริญ เต็มท่ีตามขีดความสามารถของเด็ก ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับครูท่ีจะต้องเลือกใช้เทคนิคและวิธีการสอนท่ีกระตุ้นและ ส่งเสริมพัฒนาการด้านความคิดริเร่ิมและความคิดละเอียดลออของเด็ก และเปิดโอกาสให้เด็กได้พัฒนาและ สง่ เสรมิ ความคดิ อยา่ งเต็มศักยภาพและสมบรู ณ์มากท่ีสุด หน้า 546

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ผลการศึกษาวิจัยในคร้ังน้ีพบว่าการใช้กิจกรรมละครสร้างสรรค์เป็นการเรียนรู้อย่างหน่ึง ซึ่งบอกท้ัง ความรู้และทกั ษะ ทาให้เด็กสามารถเรียนรู้จากตัวอย่างและประสบการณ์เดิมผสมผสานกับประสบการณ์ใหม่ จนทาเกิดองค์ความรู้ใหม่ ๆ ที่ได้รับจากการทากิจกรรมในห้องเรียน โดยปกติในการร่วมกิจกรรมละคร สรา้ งสรรค์ จะพบว่ามเี ดก็ จานวนหน่งึ ทีย่ ังไมส่ ามารถปรับตวั ใหเ้ ขา้ มาร่วมทากจิ กรรมของกลมุ่ ไดด้ เี ท่าที่ควร อีก ทั้งกจิ กรรมละครสร้างสรรค์ยังเป็นเป็นการเปิดโอกาสให้กับเด็กได้ฝึกความกล้าแสดงออกอย่างสร้างสรรค์และ จินตนาการของตนเองเม่ือไดฟ้ ๎งการเล่านิทานไม่จบเรอ่ื งทาให้เดก็ ได้เกิดการเรียนรู้และคิดต่อยอดเร่ืองราวตาม จินตนาการและศักยภาพของตนเองทาให้เกิดความภาคภูมิใจเมื่อเห็นว่าการแสดงละครนั้นมีความสุข สนุกสนานและประสบผลสาเร็จตามเปูาหมายที่ครูและเด็กวางไว้และเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนากิจกรรม ละครสร้างสรรคใ์ ห้มศี กั ยภาพในลาดับต่อไป ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะเพื่อการปฏบิ ตั ิ 1. ในการจดั กิจกรรมละครสรา้ งสรรค์ วสั ดุอปุ กรณท์ ใี่ ช้ควรมีความหลากหลาย ไม่ซ้ากัน เนื่องจากเด็กให้ ความสนใจกับสงิ่ ของแปลกใหมท่ ่ีไม่ซ้ากับของเดิม 2. ครูควรให้เด็ก ๆ ชว่ ยกันนาเอาวสั ดอุ ปุ กรณ์ที่ตนเองช่ืนชอบและมีประโยชน์กับการจัดกิจกรรมมาเพ่ือ เปน็ แรงจงู ใจในการคดิ ออกแบบกจิ กรรมและเปน็ การฝกึ การมีส่วนร่วมระหวา่ งบา้ นและโรงเรยี น 3. ในการจัดกิจกรรมละครสร้างสรรค์ที่ส่งเสริมความคิดริเร่ิมและความคิดละเอียดลออของเด็กปฐมวัย ควรจัดบรรยากาศ สถานท่ีให้มีความหลากหลายมากย่ิงขึ้น เช่น สถานที่บริเวณนอกห้องเรียน เพ่ือ กระต้นุ ใหเ้ ดก็ ไดเ้ ห็นส่ิงตา่ ง ๆ รอบตวั เขา้ ใจสงิ่ แวดลอ้ มและธรรมชาติเป็นการเพิ่มสุนทรียภาพในด้าน ความคดิ ของเดก็ 4. รูปแบบการจดั กิจกรรมละครสร้างสรรค์ในแต่ละข้ันการสอน ควรให้เด็กมีส่วนร่วมในการทากิจกรรม พรอ้ มกนั ทุกคนเพ่อื เป็นการกระตุ้นความคดิ ริเริม่ และความคิดละเอยี ดลออของเด็กอย่างต่อเนอื่ ง ขอ้ เสนอแนะในการทาวจิ ัยครงั้ ตอ่ ไป 1. ควรมีการเปรียบเทียบความคิดริเริ่มและความคิดละเอียดลออจากกลุ่มท่ีได้รับการจัดกิจกรรมละคร สร้างสรรค์ผ่านการเล่านิทานไม่จบเร่ือง และกลุ่มที่ไม่ได้รับการจัดกิจกรรมละครสร้างสรรค์ผ่านการ เล่านิทานไมจ่ บเรือ่ ง 2. ควรนากิจกรรมละครสร้างสรรค์ไปส่งเสริมหรือพัฒนาความสามารถด้านอ่ืน ๆ ของเด็กปฐมวัย เช่น พัฒนาด้านทักษะการแก้ป๎ญหา พัฒนาด้านการคิดวิเคราะห์ และพัฒนาทักษะกระบวนการกลุ่มของ เดก็ ปฐมวยั หน้า 547

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 3. ควรนากิจกรรมละครสร้างสรรค์ผ่านการเล่านิทานไม่จบเรื่องจากนิทานในรูปแบบต่าง ๆ เช่น นิทาน พ้นื บ้าน นิทานทเี่ กี่ยวกับชีวิตประวันของเดก็ นิทานทเี่ กยี่ วกบั วรรณคดี เอกสารอ้างองิ กรรณกิ าร์ พงศ์เลศิ วฒุ ิ. 2547. ผลของการจัดกิจกรรมเลา่ นทิ านประกอบละครสร้างสรรค์ต่อความมีวินัย ในตนเองของเด็กปฐมวัย. ปริญญานิพนธศ์ กึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการศึกษาปฐมวยั มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. วราภรณ์ วจั นะพันธ์. 2542. การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์โดยใชน้ าฎศลิ ปแ์ ละการละคร. บณั ฑติ วิทยาลยั สถาบนั ราชภฏั ภูเกต็ . สณั หพฒั น์ อรุณธาร.ี 2542. นิทานสาหรับเด็กปฐมวยั . โครงการตาราวิชาการราชภัฎเฉลมิ พระเกยี รติ. ภเู กต็ . สวุ ทิ ย์ มูลคา. 2547. กลยุทธ์การสอนคิดสรา้ งสรรค์. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์ภาพพิมพ์ บญุ ธรรม กิจปรีดาบริสทุ ธิ.์ (2549). เทคนคิ การสรางเครื่องมือรวบรวมขอมลู สาหรบั การวิจยั .พมิ พครงั้ ท่ี 6. กรงุ เทพฯ : จามจุรีโปรดักท์. อารี พันธ์มณี. 2544. การพัฒนาความคิดสร้างสรรคส์ ูค่ วามเป็นเลศิ . กรุงเทพมหานคร: พฒั นาศกึ ษา. อรจริ า จะแรบรัมย์. 2545. ผลการสอนโดยการใช้กิจกรรมเพอื่ พฒั นาความคิดสร้างสรรคข์ องนักเรยี น ระดบั ปฐมวยั . ปรญิ ญาการศกึ ษามหาบัณฑิต สาขาจติ วทิ ยาการศกึ ษามหาวิทยาลยั มหาสารคาม. Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of Educational Research, 2, 49-60 Torrance, E. P. 1964. Guiding Creative Talent. Englewood Cliffs, New Jersey: Princetion Hall. Vygotsky, L.S. 1978. Mind in Society: The Development of Higher Psychological Processes.Cambridge, MA: Harvard University Press. Williams, E.F. 1970. Classroom Ideas for Encouraging Thinking and Feeling. New York: D.O.K. Publishing. หน้า 548

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) การบริหารจดั การศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เล็ก สงั กดั องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว Administration of the Child Development Centers under the jurisdiction of Local Government Organizations, Ta Phraya District, Sa Kaeo Province สุนนั ท์ บญุ ตรี, ดร.ภควรรณ ลนุ สาโรง คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร/์ วิทยาลยั นครราชสีมา [email protected] บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว 2) เพ่ือเปรียบเทียบการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว จาแนกตาม ตาแหนง่ และวุฒตกิ ารศึกษา กล่มุ ตวั อย่างท่ีใช้ในการศึกษาครั้งน้ี ได้แก่ ผู้บริหาร และครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วน ตาบลในอาเภอตาพระยา จงั หวดั สระแก้ว จานวน 80 คน โดยใชต้ ารางสาเรจ็ รูปของเครจซี่และมอร์แกน และใชว้ ธิ ีการสุ่มอย่างง่ายเคร่ืองมือที่ใช้ใน การศึกษาเปน็ แบบสอบถามแบบมาตราสว่ นประมาณค่า มคี า่ ความเชอ่ื มน่ั ท้งั ฉบบั เทา่ กับ 0.96 สถติ ทิ ีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ได้แก่ คา่ ความถี่ ค่า รอ้ ยละ คา่ เฉล่ยี ค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน t-test และ F-test (One-Way ANOVA) ผลการวิจยั พบว่า 1. การบริหารจดั การศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ สังกดั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว พบว่า ระดับการบริหาร จัดการตามมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านท่ีมีค่าเฉล่ียมากที่สุดคือ ด้านสง่ เสรมิ เครือขา่ ยการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั รองลงมา คือ ดา้ นอาคารสถานท่ี สิ่งแวดลอ้ มและความปลอดภัย และดา้ นการมสี ว่ นรว่ มและสนบั สนุนจากทุก ภาคสว่ น ส่วนดา้ นท่ีมีการปฏบิ ัติต่าสุด คอื ดา้ นวชิ าการกจิ กรรมตามหลักสูตร 2. ผลการเปรียบเทียบความคิดเหน็ ของบุคลากรที่มีตาแหน่งต่างกันต่อการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครอง สว่ นท้องถน่ิ อาเภอตาพระยา จังหวดั สระแกว้ พบวา่ โดยภาพรวมและรายดา้ นไมม่ คี วามแตกต่างกัน 3. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรท่ีมีวุฒิการศึกษาต่างกันต่อกา รบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กร ปกครองสว่ นท้องถิน่ อาเภอตาพระยา จังหวดั สระแกว้ โดยภาพรวมและรายดา้ นไมแ่ ตกต่างกนั คาสาคญั : การบริหารจัดการ, ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ ABSTRACT The research purposes were to 1) Study the administration of the Child Development Centers under the jurisdiction of Local Government Organizations, Ta Phraya District, Sa Kaeo Province. 2) Compare the administration of the Child Development Centers under the jurisdiction of Local Government Organizations, Ta Phraya District, Sa Kaeo Province. classified by positions and educational background. The sample was the 80 administrators and teachers of Child Development Centers, Subdistrict Administration Organizations in Phraya District, Sa Kaeo Province, determined by the Krejcie and Morgan table, selected by simple random sampling. The research instrument was the estimated rating scale questionnaire with reliability level 0.96. The data analytical statistics were the frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and F-test (One-Way ANOVA). หนา้ 549

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) The research findings were: 1. The administration of the Child Development Centers under the jurisdiction of Local Government Organizations, Ta Phraya District, Sa Kaeo Province found the administration level according to Child Development Centers standards, overview was at the high level. When each aspect consideration found the highest mean was the promoting networks of early childhood development aspect; followed by the building, environment and safety aspect, the participation and support from all sectors aspect, and the lowest performance was the academic and curriculum activities aspect. 2.The opinions comparison results of personnel with different positions to the Child Development Centers under the jurisdiction of Local Government Organizations, Ta Phraya District, Sa Kaeo Province, found overview and each aspect did not different. 3.The opinions comparison results of personnel with different educational background to the Child Development Centers under the jurisdiction of Local Government Organizations, Ta Phraya District, Sa Kaeo Province, found overview and each aspect did not different. KEYWORDS : Administration, Child Development Centers บทนา การปฏิรูปการศกึ ษาในทศวรรษที่สอง พ.ศ. 2552-2561 กาหนดกรอบแนวทางการปฏริ ปู การศึกษา มีการปฏิรูปการศึกษาและเรียนรู้ อยา่ งเปน็ ระบบ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาอยา่ งครอบคลุมในดา้ นตา่ ง ๆ คอื พฒั นาคณุ ภาพคนไทยยุคใหม่ ที่มนี ิสัยใฝุเรียนรู้ สามารถเรียนรู้ ด้วยตนเอง และแสวงหาความรอู้ ยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวิต พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ที่เป็นผู้เอ้ืออานวยให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ เป็นวิชาชีพท่ีมีคุณค่า สามารถ ดึงดูดคนเก่ง คนดี มีใจรักในวิชาชีพครูมาเป็นครู พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ เพ่ือพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาทุกระดับ/ ประเภทใหส้ ามารถเป็นแหลง่ เรยี นรูท้ ม่ี คี ุณภาพและพัฒนาแหลง่ เรยี นรอู้ น่ื ๆ สาหรับการศึกษาและเรียนรู้ท้ังในระบบโรงเรียน นอกระบบโรงเรียน และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย และพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจัดการใหม่ ที่มุ่งเน้นการกระจายอานาจสู่สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และองค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ รวมท้ังการมีสว่ นร่วมของผปู้ กครองชมุ ชน ภาคเอกชนและทกุ ภาคสว่ น มรี ะบบการบรหิ ารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล (ชูศักด์ิ ประเสริฐ, 2553 : 87) เดก็ ปฐมวัยเป็นเด็กท่ีอยู่ในช่วงวัยแห่งพลังการเจริญเติบโตงอกงามของชีวิต เป็นช่วงท่ีสาคัญที่สุดที่พัฒนาการทุกด้านท้ังทางร่างกาย สตปิ ญ๎ ญา อารมณ์ จิตใจ สังคมและบุคลิกภาพ เนอ่ื งจากเด็กในช่วงวัยนีม้ ีการเจรญิ เติบโตท่ีแตกตา่ งจากช่วงวยั อนื่ ๆ ของมนุษย์ การศึกษาปฐมวัยจึง เป็นสาระสาคัญและมคี วามหมายต่อชวี ติ เด็กอย่างย่งิ การจัดการศกึ ษาปฐมวัยจึงต้องดาเนินการให้สามารถตอบสนองธรรมชาติและความต้องการ ของเด็กในวยั น้ี (สริ มิ า ภญิ โญอนนั ตพงษ์, 2558) เด็กเป็นทรัพยากรท่ีมีค่า เป็นท่ีรักและความหวังอันสูงสุดของพ่อแม่ เป็นอนาคตของครอบครัว ชุมชน ละประเทศชาติ การทเี่ ด็กจะเจรญิ เติบโตได้อยา่ งสมบรู ณเ์ ป็นผใู้ หญท่ ่ีมคี ุณภาพและเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศน้ัน จาเป็นจะต้อง ได้รับการตอบสนองความต้องการพน้ื ฐาน เช่น อาหาร ทอี่ ยู่อาศัย การพักผอ่ น การบริการทางการแพทย์ ความรัก ความอบอุ่นจากบิดามารดา ซึ่ง ในช่วง 6 ปีแรกของเด็กเป็นวัยท่ีสาคัญที่สุดเป็นช่วงท่ีมีการพัฒนาทุกด้านอย่างรวดเร็ว เด็กจึงควรได้รับการส่งเสริมพัฒนาการท้ังทาง ร่างกาย สติป๎ญญา สังคมอารมณ์และจิตใจอย่างเต็มที่และเหมาะสม การจัดการศึกษาปฐมวัยจึงมีความสาคัญยิ่งเพราะเป็นการให้การศึกษาเบื้องต้นที่มี ความสาคัญต่อชีวิตในอนาคตของเด็ก เป็นการศึกษาก่ึงการอบรมเล้ียงดูเพื่อให้ถูกตามหลักการพัฒนาตามวัยทั่งยังช่วยปลูกฝ๎งทัศนคติ ค่านิ ยม ลักษณะนสิ ยั และวัฒนธรรมอันเป็นพ้ืนฐานท่ีจะทาใหเ้ ดก็ มชี วี ติ ท่ีสมบูรณข์ ึ้น เม่ือเด็กได้รบั การดแู ลท่ีดีไดร้ ับความรักความอบอุ่นจะทาให้เด็กเป็นคน สดช่ืนแจ่มใสมองโลกในแงด่ ี รูจ้ กั รกั คนอนื่ ดังน้นั เดก็ ปฐมวยั จงึ เป็นวัยทองของชวี ติ (มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช, 2551 : 18) การจัดการศึกษาปฐ มวัยเป็นมิติให ม่ของการพัฒนาชุมชนเพื่อส่งเสริมกา รศึกษาแ ละค วามเป็นอยู่ของชุมชนใ ห้ดีขึ้นแ ละนับวันจะมี ความสาคัญตอ่ ชุมชนมากย่งิ ข้ึน แต่เดมิ เดก็ อยู่กบั ครอบครัวที่มีผู้ใหญ่ดูแลเพราะครอบครัวไทยแต่โบราณเป็นครอบครัวแบบขยาย คือ มีปูุ ย่า ตา ยายอยู่รวมกนั แต่ป๎จจุบันสังคม ไทยกลายเป็นครอบครัวเด่ียว มีแต่พ่อ แม่ ลูก อีกท้ังแม่ยังออกไปประกอบอาชีพนอกบ้านเพ่ือเพ่ิมรายได้ให้แก่ ครอบครวั ดงั นนั้ พ่อแมจ่ ึงจาเปน็ ต้องนาลกู ไปไวต้ ามสถานรับเลย้ี งเด็ก สถานบรบิ าลทารกหรือโรงเรยี นอนุบาลเร็วขึ้น การศึกษาปฐมวัยจึงกลายเป็น ความจาเปน็ ของชีวิตมากยิง่ ขึน้ กวา่ เดมิ ในอดีต (เยาวพา เดชะคุปต์, สุทธพิ รรณ ธรี พงศ์ และพรรกั อินทามระ, 2550 : 47) ประกอบกับในสังคมไทย หน้า 550

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ยุคปจ๎ จุบันนี้บทบาทครอบครวั เปล่ยี นแปลงไปจากอดตี มากพ่อแม่ซึ่งคอยทาหน้าทใี่ นการเล้ียงดูเปล่ยี นบทบาทเป็นผใู้ ช้แรงงานในการเพิ่มรายได้เพ่ือ การยังชพี และเล้ยี งครอบครวั โดยผลกั ภาระในการดูแลเด็กไปใหอ้ งคก์ รอื่นในสังคมที่มีอยทู่ าหน้าทีใ่ นการเล้ยี งดเู ดก็ ทดแทนองค์กรเหล่านั้นอาจได้แก่ สถานรับเล้ียงเด็ก ศนู ย์เด็กเลก็ ศูนยพ์ ฒั นาการเด็ก ศนู ย์เด็กกอ่ นวยั เรียน เปน็ ต้น การพฒั นาศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เล็กใหม้ ีคณุ ภาพและมาตรฐานจะมีส่วนช่วยสนับสนุนการส่งเสริม และพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีความสมบูรณ์ พร้อมในทุกด้าน เพราะเด็กปฐมวัยเป็นช่วงสาคัญท่ีสุดของการเจริญเติบโตและพัฒนาการทุก ๆ ด้าน และในป๎จจุบันศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้เป็ น ทางเลือกหนง่ึ ที่พ่อแม่ไวว้ างใจในการแบง่ เบาภาระการอบรมเล้ยี งดูลูก และส่งเสริมพัฒนาการเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจึงมีส่วนสาคัญในการพัฒนา เดก็ เพอ่ื ใหเ้ ดก็ เติบโตเป็นทรพั ยากรบุคคลทมี่ ีคุณภาพในอนาคต (กระทรวงสาธารณสุข, 2550) สอดคล้องกับวัฒนา ปุญญฤทธ์ิ และอารมณ์สุวรรณ ปาล (2555 : 76-79) ทก่ี ลา่ วถึงการจดั การศึกษาปฐมวยั วา่ เป็นการจัดการศกึ ษาก่อนภาคบังคบั ทม่ี คี วามสาคญั อยา่ งยิ่งในอนั ท่ีจะช่วยส่งเสริมให้เด็ก ปฐมวัยได้รบั การพฒั นาไปในทศิ ทางท่ถี กู ต้องเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั วัยและพัฒนาการ ทั้งนเ้ี น่ืองจากเด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กที่มีอายุระหว่าง 0-6 ขวบนนั้ เปน็ วัยทีม่ ีการพฒั นาทุกดา้ น เจรญิ เตบิ โตในอตั ราทีส่ งู สดุ โดยเฉพาะระบบประสาท และสมอง ซ่งึ เจริญเติบโตได้ถงึ ร้อยละ 80 ของผู้ใหญ่เป็น ระยะทเี่ กิดการเรียนรู้ได้มากที่สุดในชวี ติ ศักยภาพแหง่ การเรียนรู้ และพฒั นาการด้านตา่ ง ๆ สามารถพัฒนาได้อย่างเต็มทหี่ ากได้รับการส่งเสริมอย่าง ถูกต้อง อีกท้ังเป็นที่ยอมรับทางวิชาการแล้วว่าการศึกษาระดับปฐมวัยเป็นการวางพ้ืนฐานของการพัฒนาทุกด้านของบุคคลพื้นฐานดังกล่าว ครอบคลุมการพัฒนาทางกายที่ต้องเจริญเติบโตเต็มท่ีตามวัยและมีความแข็งแรงสมบูรณ์พัฒนาการทางสติป๎ญญาที่เด็กเกิดการเรียนรู้จาก สิ่งแวดลอ้ มและประสบการณพ์ ร้อมท้ังส่งเสริมการคิดพัฒนาการทางสังคมท่ีเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและการพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อให้ ปฏิบัติตนได้อยา่ งเหมาะสมกับวัย การดาเนินงานในศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีผ่านมาพบว่าไม่มีรูปแบบ ที่เหมาะสม เนื่องจากมีป๎ญหาหลาย ประการ คือ ไมม่ ีความพร้อมท้งั ทางดา้ นบุคลากรงบประมาณ ไมเ่ พียงพอและข้อจากัดอ่นื ๆ ในด้านการบริหารจัดการด้านอาคารสถานท่ีส่งิ แวดล้อม ความปลอดภัย ด้านวิชาการและกิจกรรมตามหลักสูตร ด้านการมีส่วนร่วมและการสนับสนุนจากชุมชนไม่ได้คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการ ดาเนนิ งานศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ซ่ึงจะส่งผลให้เดก็ มรี ะดบั พัฒนาการท่ลี ่าช้ารวมถึงเชาว์ป๎ญญาท่ีมีแนวโน้มลดลงอย่าง ต่อเนือ่ งโดยเฉพาะในกลุม่ เดก็ ทอ่ี ยใู่ นชนบทจากผลสารวจการประเมนิ พฒั นาการของเด็กปฐมวัยไทยหลายคร้ังท่ีผ่านมาสรุปได้ว่าประมาณ 1 ใน5 ของเดก็ ในช่วงอายุ 3 - 5 ปแี รกจะมีระดับพัฒนาการที่ล่าช้าหรือค่อนข้างล่าช้ามีระดับสติป๎ญญาต่ากว่าเกณฑ์นอกจากนี้ยังพบว่าพัฒนาการด้าน อารมณส์ ังคมของเดก็ ไทยและความคดิ สรา้ งสรรคอ์ อ่ นซ่ึงความสามารถในดา้ นอารมณแ์ ละสงั คมนั้นจะมีผลต่อการเรียนรู้ในโรงเรียนและผลสัมฤทธิ์ ในการเรยี นและความสาเรจ็ ของชีวติ ในอนาคต (มูลนิธสิ าธารณสุขแหง่ ชาติ, 2551 : 8) การกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ในช่วงแรกของการนานโยบายไปสู่การปฏิบัตินั้นรูปแบบในการจัด การศึกษาในศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ ยงั มีป๎ญหาในการการจดั การศกึ ษาในรูปแบบต่าง ๆ เกิดความสบั สนในดา้ นนโยบาย การนานโยบายส่กู ารปฏิบัติ เช่น 1) เกดิ ปญ๎ หาในดา้ นคุณภาพและมาตรฐานของศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก 2) ครูผู้แลเด็กยังไม่เข้าใจและมีความรู้ในการพัฒนาในเร่ืองรูปแบบการบริหาร การจดั ทาหลกั สตู รสถานศึกษาเท่าท่ีควร 3) งบประมาณด้านการจัดการศึกษายังจัดสรรได้ไม่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง และ 4) การขาด แคลนครูผู้ดูแลเด็กและบุคลากรทางการศึกษาในเชิงคุณภาพ 5) การจัดการศึกษาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไม่มีการพัฒนาเพ่ือรองรับมาตรฐาน การศกึ ษาขน้ั พัฒนา 23 มาตรฐาน 93 ตัวช้วี ัด และมาตรฐานการดาเนินงานศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ พ.ศ. 2553 เพิ่มเป็น 6 มาตรฐาน 6) ขาดความร่วมมือจากผู้ที่เก่ียวข้อง 7) ขาดการประเมินมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเน่ือง 8) ขาดการนิเทศการศึกษา (บังอร เทพเทยี น และปยิ ฉัตร ตระกูลวงษ์, 2550) การบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ประสบผลสาเร็จนั้นข้ึนอยู่กับป๎จจัยหลายประการ ท้ังการ สง่ เสริมการมีส่วนร่วมของผปู้ กครอง การนาหลักการบริหารจดั การทดี่ มี าใช้ในการดาเนินการภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จากการศึกษาผลการวิจัย พบวา่ การบรหิ ารจัดการศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ ที่จะประสบผลสาเรจ็ ข้นึ อยู่กับการบริหารจัดการ และการดาเนินงานท่ีเน้นการเตรียมความพร้อมของ เด็ก ซึง่ สอดคล้องกับผลการวิจยั ของ พรมสิษฐ์ รกั ษาพราหมณ์ (2551 : 98) พบว่าผ้ปู กครอง ผนู้ าชุมชน และบุคลากรมคี วามพึงพอใจต่อการบริหาร จดั การศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ ในภาพรวมอย่ใู นระดบั มาก อาจเน่ืองมาจากองค์การบริหารส่วนตาบลผาจกุ มโี ครงสรา้ งการบริหารจัดการการศึกษาท่ีดีมี การบริหารทรี่ วดเรว็ ประชาสมั พนั ธใ์ ห้ผู้ปกครองทราบเกีย่ วกบั การบรหิ ารจดั การศนู ยใ์ ห้ผปู้ กครอง ผูน้ าชมุ ชน และบุคลากรมีความพึงพอใจต่อการ บริหารจัดการดา้ นบุคลากรสูงสดุ ณฐวฒั น์ ราวลั ย์ (2554 : 113) ได้ทาการศกึ ษาความคดิ เห็นของผูป้ กครองตอ่ การบริหารจัดการตามมาตรฐานการ ดาเนนิ งานของศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เล็ก ผ้ปู กครองได้เสนอแนะเพ่ือพัฒนาการบรหิ ารจัดการ คือ ผบู้ รหิ าร และผู้ดูแลเด็กควรได้รับการสนับสนุน ให้ได้รับ การเพ่ิมพูนความรู้ด้านการจัดการศึกษาด้านอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย ควรรักษาอุปกรณ์เครื่องเล่นที่สนับสนุนต่อการ พฒั นาการของเด็กให้อย่ใู นสภาพทดี่ แี ละปลอดภยั ควรมกี ารประชุมวางแผน เพ่ือกาหนดแนวทางการดาเนินงานการจัดการเรียนการสอนระหว่าง ผู้บริหารกบั ผ้ปู กครองอยา่ งไรกต็ ามในการบรหิ ารศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กป๎จจุบนั ยังประสพป๎ญหาหลายประการ ทัง้ ความพรอ้ มงบประมาณ ศักยภาพใน หนา้ 551

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) การบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก รวมถึงความเป็นมืออาชีพในการดาเนินงานของครูผู้ดูแลเด็ก ซ่ึง สุดารัตน์ อึ้งสกุล (2551 : 99) ได้ ทาการศึกษาสภาพและป๎ญหาการจดั การศกึ ษาปฐมวัยในศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก จังหวดั สกลนคร ซง่ึ พบวา่ ป๎ญหาการดาเนินการอยู่ในระดับปานกลาง ในทกุ ดา้ น ระดบั คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์อยูใ่ นระดบั ดี สว่ นการศึกษาของ ธันย์ธชิ า ใต้อุดม (2556 : 89) ที่ไดศ้ ึกษาปญ๎ หาการจัดการศึกษาปฐมวัย ตามมาตรฐานการดาเนินงานศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตจังหวัดพิษณุโลก พบว่า ป๎ญหาการจัดการศึกษาปฐมวัย ตามมาตรฐานการดาเนนิ งานของ ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตจังหวัดพิษณุโลกในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เม่อื พิจารณาเป็นรายดา้ น พบวา่ ด้านทม่ี ีปญ๎ หาสงู สุด มี 3 ด้าน ได้แก่ ดา้ นบคุ ลากร รองลงมา ด้านอาคาร สถานท่ีและความปลอดภัย และด้านการ บริหารจดั การศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ ตามลาดบั สว่ นด้านท่มี ปี ญ๎ หาตา่ สดุ คอื ดา้ นส่งเสริมเครือขา่ ยพฒั นาเด็กปฐมวยั จากความเป็นมาดังกล่าว ผู้วิจยั จึงสนใจท่จี ะศึกษาการบริหารจัดการศกึ ษาศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ สงั กัดองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ อาเภอ ตาพระยา จังหวัดสระแกว้ เพื่อนาไปใช้ ในการปรบั ปรุงและพัฒนาการจัดการศกึ ษาในศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็กให้มปี ระสิทธภิ าพต่อไป วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั 1. เพอื่ ศกึ ษาการบริหารจดั การศูนย์พัฒนาเดก็ เลก็ สังกดั องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ อาเภอตาพระยา จงั หวดั สระแกว้ 2. เพอ่ื เปรียบเทยี บการบริหารจัดการศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ สงั กัดองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว จาแนก ตามตาแหนง่ และวุฒกิ ารศึกษา วธิ ีดาเนนิ การวิจยั ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง 1. ประชากร ไดแ้ ก่ ผูบ้ ริหาร และครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในอาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว จานวน 100 คน 2. กลมุ่ ตวั อย่าง ได้แก่ ผูบ้ ริหาร และครศู ูนย์พัฒนาเดก็ เล็ก สังกัดองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นในอาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว จานวน 80 คน โดยใช้ตารางสาเร็จรูปของเครจซแ่ี ละมอร์แกน และใชว้ ิธกี ารสุม่ อย่างงา่ ย เครื่องมือท่ใี ช้ในการวิจยั 1.เครอื่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัยครงั้ นี้ เปน็ แบบสอบถาม แบง่ ออกเปน็ 2 ตอน รายละเอียดมีดงั นี้ ตอนท่ี 1 เป็นแบบสอบถามเกย่ี วกับข้อมลู ทั่วไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม มีลกั ษณะเปน็ แบบตรวจสอบรายการ (Check List) จานวน3 ข้อ คอื เพศ วุฒกิ ารศึกษา ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกีย่ วกับการบริหารจดั การศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ สังกดั องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน อาเภอตาพระยา จังหวัด สระแก้วมีลักษณะเปน็ แบบมาตราส่วนประมาณ ค่า 5 ระดับ (Rating Scale) ประกอบด้วย 6 ด้านดังนี้ 1) ด้านบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2) ด้านบุคลากร 3) ด้านอาคารสถานที่ ส่ิงแวดล้อมและความปลอดภัย 4) ด้านวิชาการและกิจกรรมตามหลักสูตร 5) ด้านการมีส่วนร่วมและ สนบั สนนุ จากชุมชนทกุ ภาคส่วน และ 6) ด้านสง่ เสรมิ เครอื ขา่ ยการพฒั นาเดก็ ปฐมวัย โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนดงั น้ี คะแนน ระดบั การปฏบิ ัติ 5 หมายถึง มกี ารปฏิบัตมิ ากท่ีสดุ 4 หมายถงึ มีการปฏิบตั มิ าก 3 หมายถงึ มกี ารปฏบิ ตั ิปานกลาง 2 หมายถึง มีการปฏิบตั นิ ้อย 1 หมายถงึ มีการปฏบิ ัตินอ้ ยที่สดุ การวเิ คราะหข์ ้อมลู ในการวเิ คราะห์ข้อมลู ผู้วิจยั ไดว้ ิเคราะหข์ อ้ มลู โดยใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์สาเร็จรูปโดยทาการวเิ คราะห์ขอ้ มูลตามขัน้ ตอน ดังนี้ 1. วิเคราะห์ข้อมลู ท่วั ไปของผูต้ อบแบบสอบถามเก่ียวกบั ตาแหนง่ เพศ วฒุ ิการศกึ ษาของกลุ่มตัวอย่างท่ีตอบแบบสอบถามโดยหา ความถี่ (Frequency) และร้อยละ (Percentage) หนา้ 552

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 2. วิเคราะหก์ ารบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว ทั้งโด ย ภาพรวม รายดา้ นและรายขอ้ โดยหาคา่ เฉลย่ี (X) และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) แลว้ นาไปเปรยี บเทียบกบั เกณฑ์ ดงั น้ี คา่ เฉลี่ย 4.51 - 5.00 หมายถึง มีการปฏิบัติอยใู่ นระดับมากทส่ี ดุ คา่ เฉลี่ย 3.51 - 4.50 หมายถงึ มีการปฏิบัตอิ ยู่ในระดบั มาก ค่าเฉลย่ี 2.51 - 3.50 หมายถงึ มกี ารปฏิบัตอิ ยู่ในระดบั ปานกลาง ค่าเฉลย่ี 1.51 - 2.50 หมายถงึ มกี ารปฏิบตั ิอย่ใู นระดบั น้อย ค่าเฉลยี่ 1.00 - 1.50 หมายถงึ มีการปฏบิ ตั ิอย่ใู นระดับนอ้ ยทส่ี ดุ 3. วเิ คราะหเ์ ปรียบเทียบการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เล็ก สังกดั องคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ อาเภอตาพระยา จงั หวดั สระแกว้ จาแนกตาม ตาแหนง่ เพศ โดยใชค้ ่า t-test (Independent Samples) 4. วิเคราะห์เปรียบเทียบการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน อาเภอตาพระยา จังหวัด สระแก้ว จาแนกตามวฒุ ิการศึกษา โดยใชก้ ารวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว โดยใช้ F – test (One way ANOVA) เมื่อพบว่ามีความแตกต่าง อยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิ จาทาการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคูโ่ ดยวธิ ีการของเซฟเฟุ (Scheffe) ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 1. ผลวิเคราะห์การบริหารจัดการศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ ขององค์การบริหารส่วนตาบลในอาเภอตาพระยา จังหวัดสระแกว้ โดยภาพรวม และรายด้าน ตารางที่ 1 คา่ เฉล่ยี สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานสภาพการบริหารจัดการศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ สงั กดั องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแกว้ โดยภาพรวมและรายด้าน การบริหารจัดการศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ สภาพ แปลผล อนั ดับ 1. ด้านบริหารจัดการศนู ย์พฒั นาเด็กเล็ก X S.D. ที่ 2. ด้านบุคลากร 4 3. ด้านอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย 3.75 0.74 มาก 4. ดา้ นวิชาการและกิจกรรมตามหลกั สตู ร 5. ด้านการมสี ่วนรว่ มและสนับสนุนจากชมุ ชนทุกภาคสว่ น 3.59 0.86 มาก 5 6. ดา้ นส่งเสรมิ เครือข่ายการพฒั นาเด็กปฐมวัย 3.88 0.76 มาก 2 ภาพรวม 3.58 0.86 มาก 6 3.76 0.77 มาก 3 3.92 0.78 มาก 1 3.74 0.79 มาก จากตารางท่ี 1 แสดงวา่ การบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแ ก้ว พบว่า โดยรวมอยใู่ นระดับมาก ( X = 3.74, S.D.= 0.79) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านส่งเสรมิ เครือข่ายการ พฒั นาเด็กปฐมวัย ( X = 3.92, S.D.= 0.78) รองลงมา คือ ดา้ นอาคารสถานท่ี สง่ิ แวดล้อมและความปลอดภัย ( X = 3.88, S.D.= 0.769) และ ดา้ นการมสี ว่ นรว่ มและสนบั สนุนจากทุกภาคสว่ น ( X = 3.76, S.D.= 0.77) ส่วนด้านที่มีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ และดา้ นวชิ าการกิจกรรมตาม หลักสตู ร ( X = 3.58, S.D.= 0.86) ตามลาดับ หนา้ 553

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 2. ผลการเปรียบเทียบความคิดเหน็ ของบุคลากรทม่ี ีตาแหนง่ ตา่ งกนั ตอ่ การบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเดก็ เลก็ สังกัดองคก์ รปกครองสว่ น ท้องถ่ิน อาเภอตาพระยา จงั หวดั สระแกว้ โดยภาพรวมและรายด้าน ตารางที่ 2 ผลการเปรยี บเทยี บความคดิ เห็นของบคุ ลากรทมี่ ตี าแหน่งต่างกันต่อการบรหิ ารจดั การศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ สังกัดองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว โดยภาพรวมและรายด้าน ตาแหนง่ การบริหารจดั การศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ ผ้บู รหิ าร ครู 1. ด้านบรหิ ารจัดการศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ x̅ S.D. x̅ S.D. t p-value 2. ด้านบุคลากร 3.86 0.46 3.67 0.75 1.279 0.205 3. ด้านอาคารสถานท่ี สง่ิ แวดลอ้ มและความปลอดภยั 4. ดา้ นวิชาการและกจิ กรรมตามหลกั สูตร 3.66 0.66 3.47 0.84 1.069 0.288 5. ดา้ นการมสี ว่ นรว่ มและสนับสนุนจากชมุ ชนทุกภาคส่วน 6. ดา้ นสง่ เสริมเครือขา่ ยการพัฒนาเด็กปฐมวัย 3.86 0.70 3.87 0.69 0.070 0.945 รวม 3.76 0.58 3.64 0.72 0.827 0.411 3.67 0.63 3.39 0.85 1.573 0.120 3.90 0.44 3.87 0.76 0.190 0.849 3.79 0.48 3.65 0.66 0.980 0.331 จากตารางที่ 2 แสดงวา่ การเปรียบเทียบการบริหารจัดการศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารสว่ นตาบลในอาเภอตาพระยา จังหวัด สระแก้ว จาแนกตามตาแหนง่ โดยภาพรวมและรายด้านมีการปฏิบัติไม่แตกตา่ งกัน 3. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรท่ีมีวุฒิการศึกษาต่างกันต่อการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ อาเภอตาพระยา จังหวดั สระแก้ว โดยภาพรวมและรายดา้ นไมแ่ ตกต่างกนั ตารางท่ี 3 ผลการเปรยี บเทยี บการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององคก์ ารบริหารส่วนตาบลในอาเภอตาพระยา จังหวดั สระแก้ว จาแนกตามวุฒิการศึกษา โดยภาพรวม การบรหิ ารจดั การศูนย์พัฒนาเดก็ เลก็ แหล่งความแปรปรวน SS Df MS F p-value 1. ดา้ นบรหิ ารจัดการศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ ระหวา่ งกล่มุ 3.366 2 1.683 4.557 .014 ภายในกลมุ่ 26.591 72 .369 2. ดา้ นบุคลากร รวม 29.958 74 4.280 .018 ระหวา่ งกลุ่ม 4.593 2 2.297 .590 .557 3. ด้านอาคารสถานที่ ส่ิงแวดลอ้ มและ ภายในกลุ่ม 38.638 72 .537 1.170 .316 ความปลอดภัย รวม 43.231 74 2.255 .112 4. ดา้ นวิชาการและกิจกรรมตามหลักสูตร ระหว่างกลมุ่ .569 2 .284 ภายในกลมุ่ 34.670 72 .482 5. ดา้ นการมสี ่วนร่วมและสนับสนุนจาก รวม 35.239 74 ชมุ ชน ระหวา่ งกล่มุ 1.008 2 .504 ภายในกลุม่ 31.013 72 .431 รวม 32.021 74 ระหว่างกล่มุ 2.570 2 1.285 ภายในกลมุ่ 41.039 72 .570 หน้า 554

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ทกุ ภาคส่วน รวม 43.609 74 .769 .467 6. ด้านสง่ เสรมิ เครือข่ายการพฒั นาเด็ก ระหว่างกลุ่ม .612 2 .306 2.746 .071 ปฐมวยั ภายในกลมุ่ 28.674 72 .398 รวม 29.287 74 โดยรวม ระหว่างกลมุ่ 1.795 2 .898 ภายในกลุม่ 23.536 72 .327 รวม 25.331 74 จากตารางท่ี 3 แสดงว่า การบริหารจดั การศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนตาบลในอาเภอตาพระยา จงั หวดั สระแกว้ จาแนก ตามวฒุ ิการศกึ ษา โดยภาพรวมมกี ารปฏิบตั ิไมแ่ ตกต่างกนั สรปุ ผลการวิจัย 1. การบรหิ ารจดั การศูนย์พัฒนาเดก็ เล็ก สงั กัดองคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ อาเภอตาพระยา จงั หวัดสระแก้ว พบว่า ระดับการบริหาร จัดการตามมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉล่ียมากท่ีสุดคือ ด้านสง่ เสรมิ เครือข่ายการพฒั นาเด็กปฐมวยั รองลงมา คือ ดา้ นอาคารสถานที่ ส่งิ แวดลอ้ มและความปลอดภัย และด้านการมสี ว่ นรว่ มและสนบั สนุนจากทกุ ภาคสว่ น ส่วนดา้ นที่มกี ารปฏบิ ัติต่าสุด คือ ดา้ นวชิ าการกจิ กรรมตามหลักสูตร 2. ผลการเปรียบเทยี บความคดิ เห็นของบุคลากรทม่ี ตี าแหน่งต่างกนั ตอ่ การบริหารจัดการศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ สังกัดองคก์ รปกครองส่วน ทอ้ งถ่ิน อาเภอตาพระยา จงั หวดั สระแกว้ พบว่าโดยภาพรวมและรายด้านไมม่ คี วามแตกต่างกัน 3. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรท่ีมีวุฒิการศึกษาต่างกันต่อการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน อาเภอตาพระยา จงั หวดั สระแกว้ โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกตา่ งกัน อภิปรายผล ผลการศึกษาสภาพและป๎ญหาการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน อาเภอตาพระยา จังหวัด สระแก้ว ในครง้ั นี้มปี ระเด็นที่นา่ สนใจที่จะนามาอภิปรายผล มีดังน้ี 1. สภาพการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว พบว่า โดยรวมอยใู่ นระดับมาก ทเ่ี ป็นเช่นน้ีอาจเปน็ เพราะผู้บริหาร มคี วามเข้าใจถึงความสาคัญในการดาเนินงานด้านพัฒนาศักยภาพผู้เรียน ศูนย์พัฒนา เด็กเล็กมีคณะ กรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษา ผู้นาศาสนาผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน บุคลากร ผู้ปฏิบตั งิ านดา้ นดูแลเด็กสามารถจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์และคุณลักษณะตามวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมี การจัด สภาพอาคารเรยี น สภาพแวดล้อมภายนอกให้มคี วามร่มร่ืน จดั หาอปุ กรณ์ของเล่นเหมาะสมกับวัยเอือ้ ประโยชนต์ ่อการเรยี นรู้ของเด็กนักเรียน จัดช้ัน เรียนให้เออื้ ตอ่ การจดั ประสบการณใ์ ห้กับเดก็ เชน่ มุมหนังสือ มุมเกมส์ มุมศิลปะ มุมทราย โดยผู้บริหารเปิดโอกาสให้บุคลากรและผู้ที่เก่ียวข้องมี สว่ นร่วมในการกาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ วิสัยทศั น์ และวางแผนการจดั การศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของจิรพรรณ วรกิจ (2556 : 82-83) ได้ทาการวิจยั การดาเนนิ งานศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ องค์การบริหารส่วนตาบลทรายมูล อาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น มีความมุ่งหมายของการวิจัย เพื่อศึกษาเคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต และแบบบันทึกการสนทนากลุ่ม ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ สงั เกต และบนั ทึกการสนทนากลุ่ม โดยการวเิ คราะห์สรปุ เปน็ ความเรียงผลการวจิ ัย พบว่า องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลมกี ารดาเนินงานศูนย์พัฒนาเด็ก เลก็ ด้านการบรหิ ารจัดการ โครงสรา้ งการบรหิ ารจัดการที่ชดั เจน และมีการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนเป็นค่าอาหารกลางวัน อาหารเสริม (นม) ค่าวสั ดกุ ารศึกษา ค่าพฒั นาผดู้ ูแลเด็ก ด้านบุคลากร มีการส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและเข้ารับการฝึกอบรม อย่างต่อเนือ่ ง ด้านอาคาร สถานที่ สง่ิ แวดลอ้ มและความปลอดภยั มกี ารสง่ เสรมิ ใหป้ รบั ปรุงภมู ทิ ัศน์ภายในและภายนอกอาคารเรียน และเน้นความ ปลอดภยั วชิ าการและกิจกรรมตามหลักสูตร เปดิ ให้บรกิ ารเด็กอายุ 2-5 ปี และส่งเสริมพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการที่สมวัย ด้านการมี ส่วนร่วมและ สนับสนุนจากทุกภาคส่วน มีการประชาสัมพันธ์การดาเนินงานและส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมต่างๆ และด้านส่งเสริม เครือข่าย การพฒั นาเด็กปฐมวัย มกี ารส่งเสริมใหเ้ ขา้ รว่ มเครอื ข่ายการดาเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กน่าอยู่ และส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมต่อ การ ดาเนนิ งานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอยา่ งต่อเนอ่ื ง นอกจากนี้ ยทุ ธพชิ ยั พิพัฒน์จรยิ า (2554 : 94-95) ได้ทาการวิจัยเรือ่ งการศึกษาศักยภาพการ หนา้ 555

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) จดั การศึกษาสาหรบั เด็กปฐมวัยในศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ ขององคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลในเขตอาเภอพาน จังหวดั เชยี งราย มีความมุ่งหมายของการวิจัย เพอื่ ศึกษาการศึกษาศกั ยภาพการจัดการศึกษาสาหรับ เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนตาบลในเขตอาเภอพาน จังหวัด เชียงราย เคร่อื งมือทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั ไดแ้ ก่ แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต และแบบสอบถาม สถิตทิ ีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ไดแ้ ก่ คา่ ร้อยละ คา่ เฉลย่ี ค่า ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน ผลการวจิ ัย พบวา่ ทัศนะของผปู้ ฏิบัติงานเห็นว่าศักยภาพการจัดการศึกษาสาหรับเด็กปฐมวัย โดยรวมและรายด้านอยู่ใน ระดบั มากยกเวน้ ด้านอาคารสถานที่ ปญ๎ หาอปุ สรรคการดาเนินการ อยใู่ นระดับปานกลาง ผ้ปู ฏิบัตงิ านดา้ นการศกึ ษาเหน็ ว่า ควรมีการแก้ไขปรับปรุง ในดา้ นอาคารสถานทเี่ ป็นลาดับแรก เพือ่ ใหศ้ ูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีคุณภาพและได้มาตรฐานต่อไป กนกพร กล่ินหอม (2556 : 91-92) ได้ทาการวิจัย เรอ่ื งแนวการดาเนนิ งานศูนยพ์ ฒั นา เดก็ เล็กตามมาตรฐานการดาเนนิ งานด้านวชิ าการและกิจกรรมตามหลักสูตร 10 ด้าน ขององค์กรปกครองส่วน ท้องถ่ิน ในอาเภอมหาชนะชยั จงั หวดั ยโสธร มีความมุ่งหมายของการวิจัยเพ่ือศึกษาแนวทางการดาเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตามมาตรฐานการ ดาเนนิ งานด้านวชิ าการและกจิ กรรมตามหลกั สูตร 10 ด้าน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอาเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร เครื่องมือท่ีใ ช้ใน การวจิ ยั ไดแ้ ก่ แบบสมั ภาษณ์ แบบสงั เกต และแบบบันทึกการสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ สังเกต และบันทึกการสนทนา กลุ่ม โดยการวิเคราะห์สรุปเป็นความเรียงผลการวิจัยพบว่า การกาหนดแนวการดาเนินงานด้านวิชาการและกิจกรรมตามหลักสูตรขององค์กร ปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ไดก้ าหนดไว้ 2 ระดบั จัดทาหลกั สตู รให้สอดคลอ้ งกบั หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2546 โดยสร้างประสบการณผ์ ่าน กจิ กรรมเรยี นปนเล่น 6 กิจกรรม และแนวทางการ ดาเนินงานด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ประสานความร่วมมือระหว่างชุมชน ผู้ปกครอง และครู ผ้ดู ูแลเดก็ เพือ่ สืบสานวัฒนธรรมประเพณีรว่ มกัน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจะต้องมีการพัฒนาคุณภาพงานวิชาการให้มีมาตรฐานสูงข้ึนให้เป็นท่ียอมรับ ของประชาชน ชุมชน และทอ้ งถนิ่ ผเู้ ข้ารว่ มประชุมเหน็ ดว้ ยกบั การกาหนดระดบั ของหลักสตู ร การบูรณาการจัดทาหลักสตู รให้สอดคล้องกับท้องถิ่น เนน้ เดก็ เป็นสาคญั สร้างประสบการณ์ผ่านกิจกรรมเรยี นปนเลน่ 6 หลกั เพอื่ เป็นการสง่ เสริมกระบวนการเรยี นรขู้ องเดก็ ปฐมวยั ตอ่ ไป และนงนุช สา โสม (2556 : 87-88) ได้ทาการวจิ ยั เร่อื งแนวทางการพฒั นาการดาเนนิ งานของศูนย์พฒั นาเดก็ เล็กสงั กดั องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินในเขตอาเภอเดช อดุ ม จังหวดั อุบลราชธานี มคี วามมุ่งหมายของการวิจัยเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการดาเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถิน่ ในเขตอาเภอเดชอดุ ม จังหวัดอบุ ลราชธานี เครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต และแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ใน การการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ไดแ้ ก่ คา่ รอ้ ยละ คา่ เฉลย่ี ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า สภาพการดาเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดย ภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านวิชาการและกิจกรรมตามหลักสูตร รองลงมาคือ ด้านการ บรหิ ารจดั การศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และด้านบุคลากร องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ควรมี การต้ังงบประมาณในการจดั สง่ บุคลากรผู้ปฏิบัติงานด้านดูแล เด็กปฐมวยั เขา้ รับการฝึกอบรมเปน็ ประจาทุกปี อย่างน้อยคนละ 2 ครั้งตอ่ ปี สนบั สนนุ สง่ เสรมิ ใหบ้ ุคลากรในศูนย์พัฒนาเดก็ เลก็ เข้ารบั การศึกษาต่อ ใหใ้ นสาขาวิชาการศึกษาปฐมวยั จดั ตงั้ งบประมาณในการจัดตกแตง่ และปรับปรงุ ภมู ทิ ศั น์ จดั ให้มกี ารประชุมเครือขา่ ยผู้ปกครองเพ่ือเสริมสร้างการ พฒั นาเด็กปฐมวยั ในเขตอาเภออย่างต่อเนอ่ื งเป็นรปู ธรรมและชัดเจน 2. ผลการเปรยี บเทียบความคิดเห็นของบุคลากรท่มี ตี าแหน่งตา่ งกนั ตอ่ การบริหารจดั การศนู ย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองคก์ รปกครอง ส่วนทอ้ งถ่นิ อาเภอตาพระยา จงั หวดั สระแก้ว จาแนกตามตาแหน่งพบว่าโดยภาพรวมและรายด้านไม่มีความแตกต่างกัน สอดคล้องกับบุญเรือง คง สิม (2552) ได้ศึกษาสภาพการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ของผู้ปกครองในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษาอบุ ลราชธานี เขต 5 พบว่า ขา้ ราชการครูมีความเหน็ ต่อการมสี ่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษาของผู้ปกครองในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาอุบลราชธานี เขต 5 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ซ่ึงข้าราชการครูท่ีมีตาแหน่งต่างกัน ประสบการณ์ ไมต่ ่างกนั มีความเห็นต่อการจัดการศึกษาของผปู้ กครองในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน สังกัดสานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา อุบลราชธานี เขต 5 โดยรวมและรายดา้ นไมแ่ ตกต่างกนั และสอดคล้องกบั กัลญา แก่นแก้ว. (2560). ที่ได้ศึกษาสภาพการจัดการศึกษาปฐมวัยของ ศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ สงั กัดองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ จังหวัดอุบลราชธานี. ผลการวจิ ัยพบว่า สภาพการจัดการศึกษาปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยภาพรวม พบว่า หวั หน้าศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กและครูผูด้ แู ลเด็กระดับปฐมวัย มีสภาพการจัดการอยู่ในระดับมาก ผลการเปรียบเทียบสภาพป๎ญหา การจัดการศกึ ษาปฐมวยั ของศนู ย์พัฒนาเด็กเล็ก พบวา่ จาแนกตามตาแหนง่ โดยภาพรวมไม่แตกตางกนั 3. ผลการเปรยี บเทียบความคดิ เหน็ ของบุคลากรทีม่ วี ฒุ กิ ารศึกษาต่างกนั ตอ่ การบรหิ ารจดั การศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็ก สงั กัดองคก์ ร ปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน อาเภอตาพระยา จงั หวัดสระแกว้ โดยภาพรวมและรายด้านไมแ่ ตกตา่ งกัน สอดคล้องกับกลั ญา แก่นแกว้ . (2560). ทไ่ี ด้ศึกษา สภาพการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ของศูนย์พัฒนาเดก็ เลก็ สงั กดั องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ จังหวดั อุบลราชธานี. ผลการวิจัยพบวา่ สภาพการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ของศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ โดยภาพรวม พบว่า หัวหน้าศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ และครผู ดู้ แู ลเด็กระดบั ปฐมวัย มีสภาพการจัดการอยู่ใน ระดบั มาก ผลการเปรียบเทียบสภาพปญ๎ หาการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ของศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก พบวา่ จาแนกตามระดับการศึกษา โดยภาพรวมไมแ่ ตก ตางกัน และสอดคลอ้ งกบั กลั ยาณี ผลไม้ (2556 : 57-61) ได้ศกึ ษาการจดั การศกึ ษาระดับปฐมวัยตามมาตรฐานการดาเนินงานศนู ย์พัฒนาเด็กใน อาเภอราษีไศล จังหวดั ศรสี ะเกษ ผลการศกึ ษาพบว่าการจดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวยั ตามมาตรฐานการดาเนนิ งานศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ ในอาเภอราษี หน้า 556

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ไศล จังหวดั ศรสี ะเกษ ตามทศั นะของผูป้ กครองในภาพรวมอยูใ่ นระดบั เหน็ ดว้ ยมาก ผลการทดสอบสมมตฐิ าน พบว่า ผ้ปู กครองทมี่ ี เพศ อายุ ระดบั การศกึ ษารายไดข้ องครอบครัวตอ่ เดอื น และความเกี่ยวขอ้ งกบั นักเรียนตา่ งกัน มีทศั นะตอ่ การจัดการศึกษาระดับปฐมวยั ตามมาตรฐานการดาเนิน งานศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ ในภาพรวมไมแ่ ตกตา่ งกนั ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะสาหรับการนาผลงานวจิ ยั ไปใช้ 1.1 องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน และหน่วยงานทางการศึกษา สามารถนาผลการศึกษาคร้ังน้ีไปปรับใช้ในการพัฒนาการบริหาร ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ ในสังกัด 1.2 ผลการศึกษา พบว่า ผลการศึกษา พบว่า การบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิ น อาเภอ วฒั นานคร จงั หวัดสระแก้ว ด้านสง่ เสริมเครือขา่ ยการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย มีค่าเฉลยี่ มากท่ีสดุ ผูบ้ ริหาร ครูและบคุ ลากรท่ีเก่ียวข้อง ควรดาเนินงานไป อย่างต่อเน่ือง 1.3 ผลการศึกษา พบว่า การบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน อาเภอวัฒน านคร จังหวัด สระแก้ว ดา้ นวชิ าการกิจกรรมตามหลกั สตู ร มคี า่ เฉล่ยี น้อยที่สดุ ดังนน้ั ผ้บู ริหาร ครูและบคุ ลากรทเี่ กีย่ วขอ้ งควรให้ความสาคัญและส่งเสริมสนับสนุน ให้ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ ในสงั กดั พัฒนางานวชิ าการกิจกรรมตามหลกั สตู รใหม้ ากยง่ิ ขึ้น 2. ข้อเสนอแนะสาหรับการวจิ ยั คร้ังต่อไป 2.1 ควรมกี ารศึกษาป๎จจยั ที่สง่ ผลต่อการบรหิ ารศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ สงั กัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อาเภอวฒั นานคร จงั หวัด สระแก้ว 2.2 ควรศกึ ษาวิจยั และพัฒนาการมสี ว่ นร่วมของชุมชนและการสร้างเครือข่าย เพอื่ สนับสนุนการดาเนินงานศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ เอกสารอ้างอิง ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย. ณฐวฒั น์ ราวัลย.์ (2554). ความคิดเหน็ ของผปู้ กครองตอ่ การ กนกพร กลิ่นหอม. (2556). แนวการดาเนนิ งานศูนย์พฒั นาเดก็ เล็ก ตามมาตรฐานการดาเนินงานด้านวิชาการและกจิ กรรมตาม บริหารจัดการตามมาตรฐานการดาเนินงานของศูนย์พัฒนา หลักสูตร 10 ด้าน ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ินใน เดก็ เลก็ ขององค์การปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน วดั โพธ์ศิ รี อาเภอมหาชนะชยั จงั หวดั ยโสธร.วทิ ยานิพนธค์ รศุ าสตร วิทยาลัยอาเภอคาชะอี จงั หวดั มกุ ดาหาร. ภาคนิพนธ์รัฐ มหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุบลราชธานี. ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ. ธนั ยธ์ ิชา ใตอ้ ุดม. (2556). การศึกษาปญั หาการจดั การศกึ ษา กระทรวงสาธารณสุข. (2550). นโยบายเมืองไทยแขง็ แรง. นนทบรุ :ี ปฐมวัยตามมาตรฐานการดาเนินงานศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ กระทรวงสาธารณสุข. สงั กัดองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ จังหวดั พษิ ณุโลก. วิทยานิพนธค์ รุศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยราชภฏั กัลญา แก่นแก้ว. (2560). สภาพการจดั การศึกษาปฐมวัยของศนู ย์ พิบูลสงคราม. พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น จังหวดั บังอร เทพเทยี น และปยิ ฉตั ร ตระกูลวงษ.์ (2550). การดแู ลเด็ก อุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบณั ฑิต ปฐมวยั ของประเทศไทย.วารสารสาธารณสุขและการ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อบุ ลราชธานี พัฒนา. 5(2) : 117-128, 2550. บุญเรือง คงสมิ . (2552). การศึกษาสภาพการมีสว่ นรว่ มในการจดั กัลยาณี ผลไม.้ (2556). การจัดการศึกษาระดบั ปฐมวัยตาม การศึกษาของผปู้ กครองใน สถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาขัน้ มาตรฐานการดาเนินงานศูนยพ์ ัฒนาเดก็ ในอาเภอราษไี ศล พ้นื ฐาน สังกดั สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาอบุ ลราชธานี จังหวดั ศรสี ะเกษ,” วารสารศรีวนาลัยวิจยั . 1,2 เขต 5. วิทยานพิ นธค์ รศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการ (มีนาคม 2556) : 57-61. บริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุบลราชธานี. จริ พรรณ วรกจิ , (2556). การดาเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก หนา้ 557 องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลทรายมลู อาเภอน้าพอง จังหวัด ขอนแก่น. วิทยานพิ นธ์รฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . ชูศกั ดิ์ ประเสริฐ. (2553). สาระสาคญั การปฏริ ปู การศกึ ษาใน ทศวรรษทีส่ อง (พ.ศ.2552-2561).กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) พรมสิษฐ์ รกั ษาพรามหมณ์. (2551). ความพงึ พอใจของผปู้ กครอง องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลในเขตอาเภอพาน จังหวัด ผนู้ าชมุ ชนและบคุ ลากรต่อการบรหิ ารจัดการศนู ยพ์ ฒั นา เชียงราย. วทิ ยานพิ นธ์ ศศ.ม. เชียงราย : มหาวิทยาลัย เดก็ เล็กขององคก์ ารบริหารสว่ นตาบลผาจกุ อาเภอเมอื ง ราชภฏั เชียงราย. จงั หวัดอุตรดติ ถ์. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต เยาวพา เดชะคุปต์, สุทธิ พรรณ ธีรพงศ์ และพรรกั อินทามระ. มหาวิทยาลยั ราชภัฏอตุ รดิตถ.์ (2550). เอกสารประกอบการสอนวชิ าการบรหิ ารจดั การศึกษาปฐมวยั .กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนดสุ ติ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. (2551). ประมวลสาระชุด วฒั นา ปญุ ญฤทธิ์ และอารมณ์ สุวรรณปาล. (2555). การจดั วชิ าการจัดประสบการณ์สาหรับเดก็ ปฐมวัย. พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2. สภาพแวดล้อมในสถานศกึ ษาปฐมวยั ในประมวลสาระชดุ นนทบุรี : สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ วชิ าหลกั การและแนวคดิ ทางการปฐมวัยศึกษา. นนทบรุ ี : มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช. สริ ิมา ภญิ โญอนนั ตพงษ.์ (2558). การศกึ ษาปฐมวยั (Early มูลนธิ ิสาธารณสขุ แหง่ ชาติ. (2551). รวมการต์ ูนชวี จริยธรรม. Childhood Education). กรุงเทพฯ: สาขาการสอน กรงุ เทพฯ : โครงการชวี จรยิ ธรรมกบั การวิจัย ปฐมวัยภาคหลกั สตู รและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ วิทยาศาสตร์การ แพทยส์ มยั ใหม่ มูลนธิ ิสาธารณสุขแหง่ ชาต.ิ มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒประสานมติ ร. ยุทธพิชัย พิพฒั น์ จรยิ า. (2554). การศกึ ษาศกั ยภาพการจัด การศึกษาสาหรบั เดก็ ปฐมวยั ในศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ ของ หนา้ 558

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน เร่ืองรามเกียรติ์ ตอนนารายณป์ ราบนนทก ดว้ ยกิจกรรมการเรียน แบบโครงการเปน็ ฐาน สาหรับนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปี 2 โรงเรียนสตรีสมุทรปราการ ACADEMIC ACHIEVEMENT IN SUBJECT OF ‘RAMAYANA; CHAPTER OF NARAYANA SUBDUES NONTOK’ BY A PROJECT-BASED LEARNING ACTIVITIES FOR THE 2ND YEAR SECONDARY SCHOOL STUDENTS, STREESAMUTPRAKAN SCHOOL นางสาวธนติ า หมาดนยุ้ 1 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.กันยารตั น์ ศรวี สิ ทยิ กุล 2 1 นสิ ิตปรญิ ญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและส่อื สารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ E-mail: [email protected] 2 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยศรีปทุม E-mail: [email protected] บทคัดยอ่ การวิจัยในครัง้ น้ีมจี ุดประสงค์เพื่อพฒั นากิจกรรมการเรยี นแบบโครงการเป็นฐาน เรื่องรามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ปราบนนทก เพื่อวัดผลสัมฤทธ์ิของการจัดกิจกรรมการเรียนแบบโครงการเป็นฐานเร่ืองรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนด้วยกิจกรรมการเรียน แบบโครงการเปน็ ฐาน เรอ่ื งรามเกียรต์ิ ตอนนารายณป์ ราบนนทก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสตรีสมุทรปราการ จานวน 42 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย คือแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องรามเกียรต์ิ ตอนนารายณ์ปราบนนทก ด้วยกิจกรรมการเรียนแบบโครงการเป็นฐาน แบบวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนรายวิชาภาษาไทย เรื่องรามเกียรต์ิ ตอนนารายณ์ปราบนนทก และแบบสอบถามความพึงพอใจ ของนักเรียน ผลการวิจัยพบว่า ผลการหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนแบบโครงการเป็นฐาน เร่ือง รามเกียรต์ิ ตอนนารายณป์ ราบนนทก ของนักเรียนจานวน 42 คน พบว่า หลังการเรียนและการทากิจกรรมที่ กาหนดให้ทาให้มกี ารพัฒนาความรู้ความเข้าใจสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด คิดเป็นร้อยละ 89.64 การทดสอบก่อน เรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีคะแนนเฉล่ีย เท่ากับ 13.36 คะแนน และ 17.93 คะแนน ตามลาดับ และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างคะแนนก่อนและหลังเรียน พบว่า คะแนนสอบหลังเรียนของ นักเรียน สูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ่ีระดบั .01 ผลความพงึ พอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี 2 โรงเรียนสตรีสมุทรปราการ ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่องรามเกียรติ์ หน้า 559

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ตอนนารายณ์ปราบนนทก ด้วยกิจกรรมการเรียนแบบโครงการเป็นฐาน นักเรียนมีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ใน ระดับมากทสี่ ุดมีคา่ เฉลีย่ เทา่ กับ 4.56 คาสาคญั : ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น, กิจกรรมการเรยี นแบบโครงการเป็นฐาน ABSTRACT The purposes of this research were as follows; 1) to develop ―project-based learning activities in subject of Ramayana; Chapter of Narayana Subdues Nontok‖; 2) to assess achievement in subject of ―Ramayana; Chapter of Narayana Subdues Nontok‖ using project- based learning activities; 3) to study the students satisfaction regarding the management of project-based learning activities in subject of ―Ramayana; Chapter of Narayana Subdues Nontok‖ The sample of 42 cases were drawn from the 2nd year secondary school students, Streesamutprakan School using purposive sampling method. The instruments for the study included ―Ramayana; Chapter of Narayana Subdues Nontok‖ by using project-based learning activities lesson plans, An achievement test of Thai language learning in subject of ―Ramayana; Chapter of Narayana Subdues Nontok‖ test, and a survey form for the students‖ satisfaction. The findings were as follows: the effectiveness of using project-based learning activities in subject ―Ramayana; Chapter of Narayana Subdues Nontok‖ using aproject-based learning activities for 2nd year secondary school students, Streesamutprakan School was equal to 89.64 % The student who were study by project-based learning activities had made a mean learning achievement students score of 13.36 and 17.93 and the result compare score in the learning achievement posttest was higher than pretest significantly at the .01 level different. The students‖ satisfaction who were taught ―Ramayana; Chapter of Narayana Subdues Nontok‖ using project-based learning activities had made a mean satisfaction regarding score which was the best level of 4.56. KEYWORDS: learning achievement, project-based learning หนา้ 560

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) บทนา เปูาหมายหลักของการพัฒนาการศึกษาของประเทศไทย คือ การพัฒนาผู้เรียนให้เป็น บุคคลที่มี คุณภาพ ด้วยกระบวนการเรียนรู้ เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยถ่ายทอดความรู้ การฝึกการ อบรม การสืบสานทางวฒั นธรรม การสร้างสรรค์จรรโลง ความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ ความรู้อันเกิด จากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม การเรียนรู้และป๎จจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ, 2553) การที่จะพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตาม วัตถุประสงค์ดังกล่าว ต้องอาศัยครูผู้สอนที่มีทักษะในการจัดการเรียนรู้ มีเจตคติต่อวิชาชีพครูที่ดี มีแรงจูงใจ ใฝุสัมฤทธิ์สูง โดยเฉพาะในยุคศตวรรษที่ 21 เป็นทักษะแห่งอนาคตใหม่ที่ครูควรมีทักษะและคุณลักษณะที่ รองรับเข้าถึง เพื่อสร้างนวัตกรรมบริหารจัดการชั้นเรียนแนวใหม่ ในอันที่จะพัฒนาผู้เรียนที่เยาวชนในยุคใหม่ได้ อย่าง ต่อเนื่องและยั่งยืน สอดคล้องหลักการจัดการศึกษาตาม มาตรา 22 ที่ว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการ จัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ (พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ, 2553) วิจารณ์ พานิช (2555, หน้า 11) ได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมายของการจัด การศึกษา 3 ยุค คือ ยุคเกษตรกรรม ยุคอุตสาหกรรม และยุคความรู้ มีความแตกต่างกันมากหากเราต้องการ ให้สังคมไทยดารง ศักดิ์ศรี และคนไทยสามารถอยู่ในสังคมโลกได้อย่างมีความสุข การศึกษาไทยต้องก้าวไปสู่ เปูาหมายในสู่ “ยุคความรู้” จุดท้าทายในการจัดการศึกษาควรไปในทิศนาทางของความสุขในการทางานอย่างมีเปูาหมาย เพื่อชีวิตท่ีดีลูกศิษย์ในยุคความรู้กระตุ้นให้ศิษย์เรียนรู้ตลอดชีวิต ครูจึงต้องยึดหลัก “สอนน้อย เรียนมาก” ด้วยจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้ผู้เรียน ครูต้องตอบได้ว่า ศิษย์ได้เรียนอะไร และเพื่อให้ศิษย์ได้อะไร การประสบ ผลสาเร็จได้นั้น ครูต้องทาอะไร ไม่ทาอะไร การทาหน้าที่ครูจึงไม่ผิดทางคือ ทาให้ศิษย์เรียนไม่สนุก หรือ เรียนแบบขาดทักษะสาคัญ “ทักษะเพ่ือการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21” ( 21st Century Skills) จะเกิดขึ้น ได้จาก “ครูต้องไม่สอน แต่ต้องออกแบบการเรียนรู้และอานวยความสะดวก” ในการเรียนรู้ ให้ศิษย์ได้ เรียนรู้ จากการเรียนแบบลงมือทา แล้วการเรียนรู้ก็จะเกิดจากภายในใจและสมองของตนเอง ในฐานะที่ผู้วิจัยเป็นครูสอนวิชาภาษาไทย ได้เล็งเห็นความสาคัญในการจัดการเรียนรู้ที่จะช่วย พัฒนาการศึกษาของไทยในศตวรรษใหม่นี้ ซึ่งต้องมีเปูาหมายในการปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนไปสู่ กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของทั้งครูและผู้เรียนที่มุ่งเน้น “กระบวนการเรียนรู้สาคัญกว่าความรู้” และ “กระบวนการหาคาตอบสาคัญกว่าคาตอบ” ขณะเดียวกันก็สอดคล้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จึงได้นาแนวคิดดังกล่าวมาพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา และจัดทาเป็นสาระการเรียนรู้มาตรฐานวิชาภาษาไทย แบ่งเป็น 5 สาระการเรียนรู้ คือ การอา่ น การเขยี น การฟ๎ง การดูและการพดู หลักการใช้ภาษาไทยและวรรณคดีและวรรณกรรม เพื่อให้ผู้เรียน หนา้ 561

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ได้ฝึกฝนทักษะครบทุกด้าน จนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การเรียนรู้อย่างมี ประสิทธิภาพ และนาไปใช้ในชีวิตจริงได้อย่างถูกต้อง (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551: 2) อกี ทัง้ หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ได้กล่าวถึงความสาคัญของภาษาไทย ว่า ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรม อันก่อให้เกิดความเป็น เอกภาพและ เสรมิ สรา้ งบคุ ลิกภาพของคนไทย เป็นเครือ่ งมือในการตดิ ต่อส่ือสารเพ่ือสร้างความเข้าใจ เป็นสมบัติล้าค่าควรแก่ การเรียนรู้ อนุรักษ์ และสืบสานให้คงอยู่คู่ชาติไทยตลอดไป (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551: 37) วรรณคดีถือได้ว่าเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ถ่ายทอดความรู้สึก นึกคิด รวมถึงขนบธรรมเนียม ประเพณี ของสังคมในอดีตออกมา มคี วามงามในดา้ นของภาษาทถ่ี ่ายทอดออกมาในรูปแบบของร้อยแก้ว และร้อยกรอง ดังนั้นการศึกษาวรรณคดีจึงเป็นสิ่งสาคัญต่อเยาวชนไทย ดังที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551: 2) ได้เล็งเห็นความสาคัญในวรรณคดีไทย จึงได้กาหนดให้ วรรณคดีและวรรณกรรมบรรจุอยู่ในสาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เพื่อให้ผู้เรียนมี ความเข้าใจ และแสดงความคิดเห็น วิจารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ ในชีวิตจริง ซ่ึงสอดคล้องกับ รื่นฤทัย สัจจพันธุ์ (2544) กล่าวว่า วรรณคดีสามารถเชื่อมโยงผู้อ่านจากโลก จินตนาการออกสู่โลกแห่งความเป็นจริงของชีวิตและสังคม ความแยบยลของขบวนการสร้างสรรค์วรรณคดี ขนบทาง กลศิลป์ ตลอดจนความรุ่มรวยของภาษา ล้วนแสดงพลังทางป๎ญญา และพลังอารมณ์ของผู้ สร้างสรรค์ ที่ท้าทายนักอ่านและผู้ศึกษาให้ค้นหาความหมายและตีความ เรื่องรามเกียรติ์ ตอนนายณ์ปราบนนทก เป็นวรรณคดีเร่ืองหนึ่งที่กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดให้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ได้ศึกษา แต่นักเรียนส่วนใหญ่เห็นพ้องกันว่าเป็นเรื่องที่เข้าใจยาก ด้าน ครูผู้สอนเองก็มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการบรรยาย วิธีการจัดการเรียนการสอนใหม่ๆ ทา ให้นักเรียนขาดความสนใจ จนในที่สุดทาให้นักเรียนมองว่าวิชาภาษาไทยเป็นวิชาที่น่าเบ่ือ ถึงแม้จะมีส่ือ การสอนท่ชี ว่ ยให้นกั เรยี นสนใจ แตเ่ ป็นเพยี งแค่ระยะเวลาสั้นๆ เท่านั้น ในปีการศึกษา 2557 ทีผ่านมา พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสตรีสมุทรปราการ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในเรื่องรามเกียรติ์ ตอนนายณ์ปราบนนทก ในรายวิชา ท 22101 ภาษาไทย 3 ตา่ กว่าเกณฑ์ท่ีกาหนด ทั้งนี้ส่วนหนึ่งเป็นเพราะ ตัวนักเรียนเองที่ยังขาดทักษะการคิด วิเคราะห์ และแก้ป๎ญหาอย่างเป็นระบบ ไม่มีความตั้งใจเรียนใน ชั้นเรียน ขาดความใฝุรู้ใฝุเรียน และค้นคว้าด้วยตัวเองอย่างต่อเนื่อง ผู้วิจัยจึงแสวงหารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย ทาให้ผู้เรียนสนใจและมี ส่วนร่วมในการเรียนการสอน มีความเหมาะสมกับวัย และที่สาคัญต้องคิดค้นเทคนิคการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนโดยเน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติตามกระบวนการเรียนรู้อย่างมีความสุข และเพื่อให้นักเรียน เข้าสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างสมบูรณ์ ผู้วิจัยจึงได้เลือกวิธีการการจัดกิจกรรมการเรียนแบบ โครงการเป็นฐาน เน่ืองจากการเรียนรู้ด้วยโครงการเป็นฐาน เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ รูปแบบหนึ่ง ที่เป็นการให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงในลักษณะของการศึกษา สารวจ ค้นคว้า ทดลอง หน้า 562

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ประดิษฐ์คิดค้น โดยครูเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้ให้ความรู้ (Teacher) เป็นผู้อานวยความสะดวก (Facilitator) หรือผู้ให้คาแนะนา (Guide) ทาหน้าที่ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทางานเป็นทีม กระตุ้น แนะนา และให้คาปรึกษา เพื่อให้โครงการสาเร็จลุล่วง ประโยชน์ของการเรียนรู้ด้วยโครงงาน สิ่งที่ ผู้เรียนได้รับจากการเรียนรู้ด้วย PBL จึงมิใช่ตัวความรู้ (Knowledge) หรือวิธีการหาความรู้ (Searching) แต่เป็นทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) ทักษะชีวิตและประกอบอาชีพ (Life and Career Skills) ทักษะด้านข้อมูลข่าวสาร การส่ือสารและเทคโนโลยี (Information Media and Technology Skills) การออกแบบโครงงานท่ีดีจะกระตุ้นให้เกิดการค้นคว้าอย่างกระตือรือร้น และผู้เรียนจะได้ ฝึกการใช้ทักษะการคิดเชิงวิพากษ์และแก้ป๎ญหา (Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะการ สื่อสาร (Communicating) และทักษะการสร้างความร่วมมือ (Collaboration) ประโยชน์ที่ได้สาหรับครูท่ี นอกจากจะเป็นการพัฒนาคุณภาพด้านวิชาชีพแล้ว ยังช่วยให้เกิดการทางานแบบร่วมมือกับเพื่อนครูด้วยกัน รวมทั้งโอกาสท่ีจะได้สร้างสัมพันธ์ที่ดีกับนักเรียนด้วย (กลุ่ม KM CHILD-PBL, 2555) ศภุ รตั น์ ภดู่ อก (2558) กลา่ ววา่ การจดั การเรียนรู้ด้วยโครงงานได้เขา้ มามสี ่วนสาคญั ในหอ้ งเรียนเมื่อมี งานวิจยั มาสนบั สนนุ สิง่ ทีค่ รไู ดเ้ ชอ่ื ม่ันมายาวนานกอ่ นหน้านวี้ า่ นกั เรียนจะเกิดการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้นเม่ือมีโอกาส ได้ คน้ คว้าในสง่ิ ท่ีซับซ้อน ท้าทายหรือในบางครงั้ เป็นประเดน็ ปญ๎ หายงุ่ ยากที่เกิดขึน้ ในชีวติ จรงิ ได้ จากแนวคิดดังกล่าว ผู้วิจัยจึงมีความสนใจและเห็นว่า หากนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ โครงการเป็นฐานมาใช้ในการสอนเร่ืองรามเกียรต์ิ ตอนนายณ์ปราบนนทก ในรายวิชา ท 22101 ภาษาไทย 3 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จะเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดการคิดวิเคราะห์ วางแผน ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง และเกิดการเรียนรู้ได้สูงสุด โดยมีครูเป็นผู้ชี้แนะพร้อมทั้งประเมินผล โครงการ ซ่ึงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงการเป็นฐานน้ันเป็นการเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางอย่างแท้จริง อีกท้ังยังเป็นแนวทางของครูผู้สอนในการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาความสามารถในการเรียนรู้ด้านวรรณคดี ไทยของนักเรียนต่อไป วัตถุประสงคข์ องการวิจยั 1. เพอื่ พฒั นากิจกรรมการเรียนแบบโครงการเป็นฐาน เรือ่ งรามเกียรติ์ ตอนนารายณป์ ราบนนทก สาหรับนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรยี นสตรีสมทุ รปราการ ให้มีประสทิ ธิภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2. เพ่ือเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นกอ่ น และหลงั การจดั กิจกรรมการเรียนแบบโครงการ เปน็ ฐานเรอ่ื งรามเกยี รติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก สาหรบั นักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรยี นสตรี สมทุ รปราการ หน้า 563

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 3. เพ่อื ศึกษาความพงึ พอใจของนกั เรยี นทม่ี ีต่อจัดการเรยี นดว้ ยกิจกรรมการเรยี นแบบโครงการ เปน็ ฐาน เรอ่ื งรามเกียรต์ิ ตอนนารายณ์ปราบนนทก สาหรับนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนสตร สมุทรปราการ ขอบเขตของการวิจยั 1. ประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง 1.1 ประชากร นกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรียนสตรีสมุทรปราการ ภาคเรียนท่ี 1 ประจาปี การศกึ ษา 2558 จานวน 450 คน 1.2 กลุม่ ตวั อย่าง นกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 โรงเรยี นสตรสี มุทรปราการ ภาคเรยี นที่ 1 ประจาปีการศึกษา 2558 จานวน 42 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เนือ่ งจากวา่ เปน็ หอ้ งเรียนที่คละ นักเรยี นตามความสามารถ เกง่ ปานกลาง ออ่ น ในจานวนที่เทา่ กัน 2. เนอ้ื หาทใ่ี ช้ในการวิจัย เนอื้ หาท่ีใชใ้ นการศกึ ษาครัง้ นี้ เป็นเน้อื หาวชิ า ท 22102 ภาษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียน ท่ี 1 ประจาปีการศึกษา 2558 จากหนงั สือเรียนวรรณคดวี จิ ักษ์ เรอ่ื งเรอ่ื งรามเกียรต์ิ ตอนนารายณ์ปราบนนทก ซึ่งมีเน้ือหาสอดคล้องกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 3. ระยะเวลาที่ใช้ในการศกึ ษาคน้ คว้า คอื ภาคเรยี นที่ 1 ประจาปีการศกึ ษา 2558 ใชเ้ วลาทง้ั สิ้นรวม 6 ชั่วโมง 4. ตวั แปรทศ่ี ึกษา 4.1 ตัวแปรต้น การจัดการเรียนการสอนแบบโครงการเป็นฐาน เร่ืองรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ ปราบนนทก สาหรบั นักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรยี นสตรสี มทุ รปราการ 4.2 ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธ์ิของการจัดการเรียนการสอนแบบโครงการเป็นฐาน เร่ืองรามเกียรติ์ ตอนนารายณป์ ราบนนทก สาหรบั นกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรยี นสตรสี มทุ รปราการ และความพึงพอใจ ของนักเรยี นท่ีมคี วามพงึ พอใจตอ่ จัดการเรยี นดว้ ยกจิ กรรมการเรียนแบบโครงการเป็นฐาน เรอ่ื งรามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ปราบนนทก สาหรับนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรียนสตรสี มทุ รปราการ นยิ ามคาศพั ท์ การจัดการเรียนการสอนแบบโครงการเป็นฐาน หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ เทคนิคการสอนแบบโครงการเป็นฐาน ท่ีให้นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ได้เรียนรู้และลงมือปฏิบัติจริง เร่ืองรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก ตามความสามารถ ความสนใจ โดยใช้กระบวน วิธีการ ตลอดจนคิด อยา่ งเป็นระบบ จนออกมาเป็นผลงาน หน้า 564

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถงึ คะแนนท่ีได้จากการทาแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิก์ อ่ นเรียน และหลงั เรยี น ประสทิ ธภิ าพตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80 หมายถึง ความสามารถของกิจกรรมการเรียนแบบโครงการ เป็นฐาน เร่ืองรามเกยี รติ์ ตอนนารายณป์ ราบนนทก ท่ีชว่ ยใหน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิก์ ่อนเรียน และหลังเรียนไดถ้ ึงเกณฑม์ าตรฐาน 80/80 โดยกาหนดให้ 80 ตวั แรก หมายถึง คะแนนเฉลย่ี ร้อยละ 80 ของคะแนนแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์กิ ่อนเรยี น 80 ตวั หลัง หมายถึง คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละ 80 ของคะแนนท่ีนกั เรยี นท่ีทาคะแนนแบบทดสอบ วัดผลสมั ฤทธ์หิ ลงั เรยี น ความพงึ พอใจ หมายถึง ความรู้สึกชอบ ทีม่ ีต่อการเรียนการเรยี นการสอนแบบโครงการเป็นฐาน เรื่องรามเกยี รต์ิ ตอนนารายณป์ ราบนนทก สาหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรยี นสตรีสมุทรปราการ เครอื่ งมอื ทใี่ ช้ในการวิจัย เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการวิจัยคร้งั นี้ ประกอบด้วย 1. แผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย เร่อื งรามเกยี รติ์ ตอนนารายณ์ ปราบนนทก ดว้ ยกจิ กรรมการเรียนแบบโครงการเป็นฐาน 2. แบบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นรายวชิ าภาษาไทย เร่ืองรามเกียรติ์ ตอนนารายณป์ ราบนนทก 3. แบบสอบถามความพงึ พอใจ การสร้างและหาประสิทธภิ าพของเครื่องมอื เครอื่ งมือท่ีใชใ้ นการวจิ ยั คร้ังนี้ มขี ัน้ ตอนในการสรา้ ง และหาประสิทธิภาพของเครื่องมอื ดังน้ี แผนการจดั การเรียนรกู้ ลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย เร่อื งรามเกยี รต์ิ ตอนนารายณป์ ราบนนทก ดว้ ย กจิ กรรมการเรียนแบบโครงการเปน็ ฐาน เป็นแผนการจดั กิจกรรมการเรียนร้ทู ี่ผู้วจิ ัยสรา้ งข้ึน โดยได้ดาเนนิ การตามแนวทางการจดั กิจกรรมการ เรียนรู้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ. 2551 ดังน้ี 1. ศกึ ษาหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน หลักสตู รสถานศกึ ษา โครงสรา้ งรายวชิ าหนว่ ยการ เรียนรู้ และแนวทางการจัดการเรียนรู้ ทเ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั 2. ต้งั ช่อื แผนการจัดกจิ กรรมตามเน้อื หาสาระ ในหนว่ ยการเรียนรู้ 3. กาหนดเวลาการจัดกิจกรรม 4. กาหนดจุดประสงค์การเรียนรจู้ ากมาตรฐานการเรียนรู้ และตวั ชี้วัดในหน่วยการเรยี นรู้ 5. วเิ คราะห์สาระ เนื้อหา กาหนดสาระสาคญั 6. เลอื กกจิ กรรม และเทคนคิ ท่เี หมาะสม สื่อการเรยี นรู้ หนา้ 565

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 7. กาหนดกระบวนการเรียนรู้ ตามเนอ้ื หาสาระในแผนการจดั การเรยี นรู้ ซึ่งมรี ปู แบบการการเรียน แบบโครงการเปน็ ฐาน ที่ทาใหน้ กั เรยี นได้ศึกษาตามขัน้ ตอน โดยมีข้ันตอน 6 ขน้ั ตอน คือ 7.1 กาหนดโครงการ 7.2 ต้ังวตั ถุประสงค์ และประโยชนท์ ่ีจะไดร้ บั จากโครงงาน 7.3 ออกแบบรปู แบบ / แบบท่ีจะประดิษฐ์หรอื จัดทา 7.4 กาหนดวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมอื 7.5 ดาเนินการตามแผนปฏบิ ัติการ 7.6 ทดลองใช้ / นาเสนอผลงาน 8. กาหนดแนวทางการวดั และประเมินผล ตามมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้วี ดั และรูปแบบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ โดยทาการวัดและประเมินผล ในสง่ิ ท่ีนกั เรียนได้ปฏบิ ตั ิจริง 9. ออกแบบการวดั และประเมินผล โดยยดึ หลักพนื้ ฐาน ดงั น้ี 1) วิธีการวดั ตอ้ งสอดคลอ้ งกับ จุดประสงค์การเรียนรู้ 2) การประเมนิ จะอยู่ในกระบวนการ ต้ังแตต่ ้นจนจบบทเรยี น 3) ใช้วธิ กี าร ที่หลากหลาย 4) เลอื กใชเ้ ครือ่ งมอื ทมี่ คี วามเชือ่ ม่ัน 5) แปรผลไปส่กู ารปรับปรงุ และพฒั นา 10. นาแผนการจัดเรยี นรู้ท่ีผ้วู ิจยั พัฒนาขน้ึ เสนอตอ่ อาจารย์ทปี่ รึกษา และผู้เช่ยี วชาญ 3 คน เพอ่ื ตรวจสอบหาความเทย่ี งตรงเชิงเนื้อหา ปรับปรุงแก้ไข แลว้ ให้ผู้เชี่ยวชาญประเมนิ คณุ ภาพของแผนการจดั การ เรียนรู้ 11. ปรับปรงุ แกไ้ ขแผนการจดั การเรยี นรู้ ตามคาแนะนาของอาจารย์ทีป่ รกึ ษาและผเู้ ชย่ี วชาญ เพื่อหา แนวทางดา้ นเทคนิคการสอน เวลาท่ีใช้สอน สือ่ การสอน การวดั ผลและประเมินผล 12. นาแผนการจัดการเรียนรู้ ไปใชก้ บั นักเรยี นกล่มุ ตัวอยา่ ง แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เรอื่ งรามเกียรต์ิ ตอนนารายณ์ปราบนนทก ดว้ ยกิจกรรมการเรยี น แบบโครงการเป็นฐาน แบบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นเรือ่ งรามเกยี รต์ิ ตอนนารายณป์ ราบนนทก ด้วยกจิ กรรมการ เรียนแบบโครงการเปน็ ฐาน เปน็ แบบปรนัย ชนิด 4 ตวั เลือก จานวน 20 ข้อ ที่ผวู้ ิจัยได้พัฒนาขึ้นตามขั้นตอน ดงั นี้ 1. ศึกษาเอกสารสาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวช้ีวัด และจดุ ประสงค์การเรียนรู้ในแผนการ เรียนรูเ้ รือ่ งรามเกยี รต์ิ ตอนนารายณ์ปราบนนทก ดว้ ยกจิ กรรมการเรียนแบบโครงการเป็นฐาน 2. สร้างแบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ให้ครอบคลุมเนื้อสาระเรอื่ งรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ ปราบนนทก ดว้ ยกิจกรรมการเรยี นแบบโครงการเป็นฐาน แบบปรนัยชนดิ 4 ตัวเลอื ก จานวน 40 ข้อ 3. นาแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เสนออาจารยท์ ี่ปรึกษาวิทยานพิ นธต์ รวจสอบคุณภาพเบอ้ื งต้น แล้วนาไปให้ผเู้ ชี่ยวชาญจานวน 3 คน ตรวจสอบโดยใชก้ ารวเิ คราะห์ความเทย่ี งตรง เชงิ เนือ้ หา (IOC) หน้า 566

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 4. ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของภาษา แลว้ นาแบบวดั ผลสมั ฤทธ์ิมาทดสอบ กบั นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษา ปที ี่ 2 ทไ่ี มใ่ ชก่ ลุ่มตัวอย่างกลุ่มตวั อยา่ ง 5. คัดเลอื กข้อสอบ ทม่ี ีค่าความยากงา่ ย (p) ระหว่าง 0.20 - 0.80 คา่ อานาจจาแนก (r) ต้ังแต่ 0.20 ขน้ึ ไป และหาคา่ ความเช่อื ม่นั 6. นาแบบทดสอบทม่ี ีค่าตามเกณฑท์ ่กี าหนด มาจัดทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น จานวน 20 ขอ้ นาไปทดลองใชก้ ับนกั เรยี นกลุม่ ตวั อยา่ งต่อไป แบบสอบถามความพงึ พอใจของนักเรียน 1. ผวู้ จิ ยั ศึกษางานวิจยั ของสมบัติ การจนารักพงศ์ (2549) เพอ่ื นามาใชเ้ ปน็ แนวทางในการสรา้ ง แบบสอบถาม 2. ผวู้ จิ ยั สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน เปน็ แบบวัดมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ จานวน 16 ข้อ โดยมปี ระเด็นคาถาม เกี่ยวกบั การจดั กิจกรรมการเรยี นรูร้ ายวิชาภาษาไทย เร่อื งรามเกยี รติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก ดว้ ยกิจกรรมการเรียนแบบโครงการเป็นฐาน โดยต้งั ประเดน็ ในการ ถาม 2 ด้าน คือ ด้านกระบวนการสอน และดา้ นความร/ู้ เนื้อหา โดยมีเกณฑ์การตรวจให้คะแนนและเกณฑ์การ แปลความหมาย ดังนี้ 2.1 เกณฑ์การตรวจให้คะแนนแบบสอบถาม มีดังน้ี มากที่สดุ ให้ 5 คะแนน มาก ให้ 4 คะแนน ปานกลาง ให้ 3 คะแนน นอ้ ย ให้ 2 คะแนน นอ้ ยท่ีสุด ให้ 1 คะแนน 2.2 เกณฑก์ ารแปลความหมายค่าเฉล่ียความพึงพอใจ มีดังนี้ คา่ เฉลีย่ 4.51 – 5.00 แปลความวา่ พึงพอใจมากทสี่ ุด ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 แปลความวา่ พึงพอใจมาก คา่ เฉลยี่ 2.51 – 3.50 แปลความว่า พึงพอใจปานกลาง ค่าเฉลย่ี 1.51 – 2.50 แปลความว่า พงึ พอใจน้อย คา่ เฉลี่ย 1.00 – 1.50 แปลความว่า พึงพอใจน้อยทีส่ ดุ 3. นาแบบสอบถามความพงึ พอใจของนักเรียน ไปให้อาจารย์ที่ปรึกษาวทิ ยานิพนธต์ รวจดู และให้ ข้อเสนอแนะในด้านความเหมาะสมของเนอื้ หา เกณฑก์ ารตรวจให้คะแนน ตลอดจนการใชภ้ าษาและความ ชดั เจนของภาษา แลว้ นามาปรับปรุงแกไ้ ข 4. นาแบบสอบถามความพึงพอใจของนกั เรียน ทป่ี รับปรงุ แกไ้ ขตามข้อเสนอแนะของอาจารย์ ทีป่ รึกษาให้ผเู้ ชี่ยวชาญจานวน 3 ท่าน ตรวจพจิ ารณาความตรงเชงิ เน้ือหา ตลอดจนความชัดเจนของภาษา หนา้ 567

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) โดยใชค้ ่าดชั นีความสอดคลอ้ งระหว่างข้อคาถามกับจุดประสงค์ (Index of Item Objective Congruence : IOC) เท่ากบั 1.00 ทกุ ขอ้ 5. ไดแ้ บบสอบถามความพงึ พอใจของนักเรยี น เพ่อื นาไปทดลองกับกลุม่ ตวั อยา่ ง ท่ไี ด้กาหนดไว้ต่อไป การเก็บรวบรวมข้อมูล ในการวิจัยคร้ังน้ี ผวู้ ิจยั เปน็ ผดู้ าเนนิ การทดลองโดยการใช้แผนการจัดการเรียนรูเ้ ร่ืองรามเกยี รต์ิ ตอน นารายณป์ ราบนนทก ด้วยกิจกรรมการเรยี นแบบโครงการเปน็ ฐาน จานวน 1 หนว่ ยการเรียนรู้ รวมท้ังสน้ิ 6 ชวั่ โมง กับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 โรงเรยี นสตรสี มุทรปราการ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2558 โดยดาเนนิ การตามขนั้ ตอนตอ่ ไปน้ี 1. ทดสอบกอ่ นเรียน ด้วยแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิกอ่ นเรยี น 2. ดาเนินการจดั การเรียนรูด้ ว้ ยกจิ กรรมการเรยี นแบบโครงการเป็นฐาน ตามแผนการจัดการเรยี นรู้ เร่อื งรามเกยี รติ์ ตอนนารายณป์ ราบนนทก จานวน 1 หน่วยการเรียนรู้ รวมทั้งสิ้น 6 ชวั่ โมง ดังน้ี 2.1 คาบที่ 1 ประวตั ิความเป็นมา และลกั ษณะคาประพันธ์ จานวน 1 ชว่ั โมง 2.2 คาบที่ 2 คาศัพทย์ าก และเนือ้ เรื่อง จานวน 1 ชวั่ โมง 2.3 คาบที่ 3 คุณค่า และขอ้ คิด จานวน 1 ชว่ั โมง 2.4 คาบท่ี 4 - 5 สร้างสรรค์ผลงาน จานวน 2 ช่ัวโมง 2.5 คาบท่ี 6 อภปิ รายผล จานวน 1 ช่วั โมง 3. เมื่อส้ินสดุ การเรียนกิจกรรมการเรยี นแบบโครงการเป็นฐาน ใหน้ กั เรยี นทดสอบหลังเรยี น ดว้ ย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียน และทาแบบสอบถามความพึงพอใจ 4. ตรวจแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น เรอื่ งรามเกยี รต์ิ ตอนนารายณ์ปราบนนทก ก่อนและ หลงั ใช้กิจกรรมการเรยี นแบบโครงการเปน็ ฐาน แล้วนาผลท่ีได้มาวิเคราะหท์ างสถิติ การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 1. การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโดยใช้ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังจากทจี่ ดั กิจกรรมการเรยี นร้ตู ามแผนการจัดการเรยี นรู้ 6 ช่วั โมง นาผลคะแนนท่ีไดม้ าหาค่าร้อยละ และนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้ ไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ท่ีกาหนด คือ นักเรียนจานวนไม่ต่ากว่า ร้อยละ 80 มคี ะแนนผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 ของคะแนนทง้ั หมด 2. การวัดความพึงพอใจต่อการเรียนเร่ืองรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก ด้วยกิจกรรม การเรียน แบบโครงการเป็นฐาน ของนักเรียน กลุ่มตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจที่ผู้วิจัยสร้างข้ึนจานวน 20 ขอ้ นาคะแนนท่ีไดม้ าวิเคราะห์ เพื่อหาค่าเฉลี่ย และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน หนา้ 568

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู การวจิ ัยครัง้ น้ีเปน็ การรายงานผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เร่อื งรามเกียรติ์ ตอนนารายณป์ ราบนนทก ด้วย กจิ กรรมการเรยี นแบบโครงการเป็นฐาน สาหรบั นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี 2 โรงเรียนสตรีสมทุ รปราการ ผ้วู จิ ยั ไดน้ าเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเป็น 3 ตอน ดังน้ี ตอนที่ 1 พัฒนากจิ กรรมการเรยี นแบบโครงการเป็นฐาน เรอ่ื งรามเกียรต์ิ ตอนนารายณ์ปราบนนทก สาหรับนกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรยี นสตรสี มทุ รปราการ ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลการพัฒนากิจกรรมการเรียนแบบโครงการเป็นฐาน เร่ืองรามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนสตรีสมุทรปราการ กับนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปี 2 ภาคเรียนที่ 1 ประจาปีการศึกษา 2558 จานวน 42 คน ซึ่งจัดห้องเรียนโดยคละ ความสามารถ ผลการทดลองปรากฏ ดงั ตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 แสดงผลการพัฒนากิจกรรมการเรยี นแบบโครงการเป็นฐาน เร่อื งรามเกยี รต์ิ ตอนนารายณ์ ปราบนนทก สาหรับนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรยี นสตรสี มทุ รปราการ จานวนนกั เรียน คะแนนที่ได้ (n) คะแนน คะแนนเต็ม รวม คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ (x) ก่อนเรียน 42 20 561 13.36 66.79 หลงั เรียน 42 20 753 17.93 89.64 จากตารางที่ 1 ผลการหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนแบบโครงการเป็นฐาน เรื่องรามเกียรต์ิ ตอนนารายณป์ ราบนนทก ของนักเรียนจานวน 42 คน พบว่า หลังการเรียน และการทา กิจกรรมทก่ี าหนด ทาใหม้ ีการพฒั นาความรคู้ วามเข้าใจสูงกวา่ เกณทก่ี าหนด คดิ เป็นรอ้ ยละ 89.64 ตอนที่ 2 เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิ์ก่อนเรยี นและหลังเรียนของนักเรยี นในการจดั กิจกรรมการเรียนรกู้ ลุม่ สาระ การเรยี นร้ภู าษาไทย เรื่องรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก ดว้ ยกจิ กรรมการเรยี นแบบโครงการ เป็นฐาน ผ้วู ิจยั ได้ดาเนนิ การทดลองโดยเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธก์ิ อ่ นเรียน และหลงั เรยี นของนกั เรียนในการจดั กิจกรรมการเรียนรกู้ ลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย เรอื่ งรามเกียรต์ิ ตอนนารายณ์ปราบนนทก ด้วยกจิ กรรมการ เรยี นแบบโครงการเปน็ ฐาน ปรากฏผล ดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติทดสอบที และระดับนัยสาคัญทางสถิติของ การทดสอบเปรียบเทียบเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนในการจัด หน้า 569

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) กิจกรรมการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เร่ืองรามเกียรต์ิ ตอนนารายณ์ปราบนนทก ด้วย กิจกรรมการเรยี นแบบโครงการเปน็ ฐาน การทดสอบ N ̅ S.D. ̅ S.D.D t Sig.(1-tailed) แบบทดสอบก่อนเรียน 42 13.36 1.32 4.57 1.56 18.94** 0.0000 แบบทดสอบหลังเรียน 42 17.93 0.89 ** มนี ยั สาคัญทางสถิติที่ .01 จากตารางที่ 2 พบวา่ การทดสอบกอ่ นเรยี น และหลงั เรยี นของนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 มีคะแนน เฉล่ีย เทา่ กบั 13.36 คะแนน และ 17.93 คะแนน ตามลาดบั และเมอื่ เปรยี บเทียบระหว่างคะแนนก่อนและหลัง เรยี น พบวา่ คะแนนสอบหลังเรียนของนกั เรียน สูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถิติที่ระดบั .01 ตอนที่ 3 ความพึงพอใจของนักเรียนในการเรียนดว้ ยกิจกรรมการเรยี นแบบโครงการเปน็ ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เรื่องรามเกยี รติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก ผู้วจิ ัยไดด้ าเนนิ การวัดความพึงพอใจของนกั เรยี นในการเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนแบบโครงการเป็น ฐาน กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เรอ่ื งรามเกยี รติ์ ตอนนารายณป์ ราบนนทก ปรากฏผลดงั ตารางท่ี 3 ตารางที่ 3 แสดงผลการวัดความพงึ พอใจของนกั เรยี นในการเรยี นด้วยกิจกรรมการเรยี นแบบโครงการ เปน็ ฐาน กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เรือ่ งรามเกียรต์ิ ตอนนารายณป์ ราบนนทก รายการประเมนิ x S.D. แปลผล ด้านกระบวนการสอน 1. การจัดลาดับขัน้ ตอนการสอน 4.55 0.50 มากทีส่ ุด 2. การชแี้ จงจดุ ประสงค์กอ่ นการเรยี น 4.55 0.50 มากท่ีสุด 3. การนาเข้าสบู่ ทเรยี น 4.52 0.51 มากทส่ี ุด 4. การให้คาปรึกษาหรอื คาแนะนาของครูผู้สอนในการทากิจกรรม 4.64 0.48 มากทีส่ ดุ 5. การสรุปความรใู้ นแต่ละครั้งของการเรียน 4.64 0.48 มากที่สุด 6. การสรุปความร้ใู นแต่ละครงั้ ของการเรยี น 4.60 0.50 มากที่สดุ 7. ความสอดคลอ้ งของกจิ กรรมกบั วตั ถุประสงค์ 4.33 0.69 มาก 8. กระบวนการทางานแบบกล่มุ 4.45 0.59 มาก 9. การประเมนิ ผลชน้ิ งานโดยครผู ้สู อน 4.48 0.55 มาก 10. การประเมนิ ผลชิ้นงานโดยผู้เรยี น 4.55 0.50 มากท่สี ดุ 11. การเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนซักถาม และแสดงความคิดเห็น 4.52 0.51 มากที่สดุ 12. การให้ผ้เู รียนมีส่วนร่วมกาหนดหวั เรื่องการหาแหล่งข้อมูล 4.52 0.51 มากที่สุด การพฒั นาชน้ิ งาน และการประเมินผลการเรยี นการสอนทใ่ี ห้ ผู้เรยี นลงมือปฏบิ ัตจิ ริง หนา้ 570

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ภาพดา้ นกระบวนการสอน 4.59 0.11 มากท่สี ุด ด้านความรู้/ เนื้อหา 13. แหล่งขอ้ มลู / แหลง่ ความรู้ท่ีผู้สอนจัดเตรยี มให้ 4.48 0.51 มาก 14. การนาความรไู้ ปใชจ้ ริงในขณะเรียน 4.64 0.48 มากท่สี ดุ 15. ความต่อเน่อื งของเนื้อหาในการเรียนการสอน 4.48 0.51 มาก 16. ความชดั เจนของเนอ้ื หาประโยชนข์ องเน้ือหา 4.52 0.51 มากท่ีสุด 4.54 0.28 มากที่สดุ ภาพรวมด้านความรู้/ เนือ้ หา 4.56 0.16 มากทส่ี ดุ ภาพรวมทงั้ หมด จากตารางที่ 3 พบวา่ ผลความพึงพอใจของนกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปี 2 โรงเรยี นสตรสี มุทรปราการ ที่มี ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เร่ืองรามเกียรต์ิ ตอนนารายณ์ปราบนนทก ด้วย กจิ กรรมการเรยี นแบบโครงการเป็นฐาน นกั เรียนมีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุดมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.56 เม่ือพิจารณาเปน็ รายดา้ นมีรายละเอียดดังนี้ ด้านกระบวนการสอน มีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.59 เม่ือ พิจารณาเปน็ รายข้อพบวา่ ขอ้ 4. การใหค้ าปรกึ ษาหรือคาแนะนาของครูผู้สอนในการทากิจกรรมนักเรียน และ ข้อ 5. การสรปุ ความรู้ในแต่ละคร้ังของการเรียน มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากับ 4.64 มีความพึงพอใจในระดับมาก ท่ีสุด รองลงมาคือ ข้อ 6. การสรุปความรู้ในแต่ละครั้งของการเรียน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.60 มีความพึงพอใจใน ระดับมากท่ีสุด ข้อ 1. การจัดลาดับขั้นตอนการสอน ข้อ 2. การช้ีแจงจุดประสงค์ก่อนการเรียน และข้อ 10. การประเมินผลชิ้นงานโดยผูเ้ รียน มคี ่าเฉลย่ี เทา่ กบั 4.55 มีความพงึ พอใจในระดับมากที่สุด ข้อ 3. การนาเข้าสู่ บทเรียน ข้อ 11. การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถาม และแสดงความคิดเห็น และข้อ 12. การให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม กาหนดหัวเร่ืองการหาแหล่งข้อมูล การพัฒนาช้ินงาน และการประเมินผลการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนลงมือ ปฏบิ ัตจิ รงิ มคี า่ เฉลีย่ เทา่ กบั 4.52 มีระดบั ความพึงพอใจมากทีส่ ุด ขอ้ 9. การประเมินผลชิ้นงานโดยครูผู้สอน มี ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.48 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ข้อ 8. กระบวนการทางานแบบกลุ่ม มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.45 มีความพงึ พอใจอย่ใู นระดับมาก และข้อ 7 ความสอดคลอ้ งของกจิ กรรมกบั วตั ถุประสงค์ มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.33 มีความพึงพอใจอยใู่ นระดับมาก ตามลาดับ ด้านความรู้/ เน้ือหา มีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.54 เมื่อ พิจารณาเป็นรายข้อพบว่าข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือข้อ 14. การนาความรู้ไปใช้จริงในขณะเรียน มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.64 มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด รองลงมาคือข้อ 16 ความชัดเจนของเนื้อหา ประโยชน์ของ เน้ือหา มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.52 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด ข้อ 13 แหล่งข้อมูล/ แหล่งความรู้ท่ีผู้สอน จัดเตรยี มให้ และขอ้ 15. ความชดั เจนของเน้อื หาประโยชนข์ องเนอื้ หา มีคา่ เฉล่ียเทา่ กับ 4.52 มีความพึงพอใจอยู่ ในระดับมาก ตามลาดับ หน้า 571

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) สรปุ ผลการวิจยั 1. พัฒนากจิ กรรมการเรียนแบบโครงการเปน็ ฐาน เรือ่ งรามเกียรติ์ ตอนนารายณป์ ราบนนทก สาหรับ นกั เรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรยี นสตรสี มุทรปราการ หลงั เรยี นมีการพัฒนาสูงกวา่ เกณฑ์ทีก่ าหนด 2. ผลสัมฤทธ์ิหลังเรียนของนักเรียนในการจดั กิจกรรมการเรียนรกู้ ลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง รามเกยี รต์ิ ตอนนารายณ์ปราบนนทก ด้วยกิจกรรมการเรียนแบบโครงการเปน็ ฐาน สงู กวา่ กอ่ นเรียน อย่างมี นัยสาคญั ทางสถิติที่ระดบั .01 3. ความพึงพอใจของนกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปี 2 โรงเรียนสตรสี มุทรปราการ ทม่ี ตี อ่ การจดั กิจกรรม การเรียนรกู้ ลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เร่ืองรามเกียรติ์ ตอนนารายณป์ ราบนนทก ด้วยกจิ กรรมการเรียน แบบโครงการเปน็ ฐาน นักเรยี นมีความพงึ พอใจอยูใ่ นระดบั มากทสี่ ุด อภิปรายผล ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลการพัฒนากิจกรรมการเรียนแบบโครงการเป็นฐาน เรื่องรามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ปราบนนทก สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสตรีสมุทรปราการ กับนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปี 2 ภาคเรียนท่ี 1 ประจาปีการศึกษา 2558 จานวน 42 คน ซ่ึงจัดห้องเรียนโดยคละ ความสามารถ พบวา่ หลงั การเรยี น และการทากิจกรรมท่ีกาหนด ทาให้มีการพัฒนาความรู้ความเข้าใจสูงกว่า เกณท่ีกาหนด คดิ เป็นรอ้ ยละ 89.64 ผู้วิจยั ไดด้ าเนินการทดลองโดยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน และหลังเรียนของนักเรียนในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่องรามเกียรต์ิ ตอนนารายณ์ปราบนนทก ด้วยกิจกรรมการ เรียนแบบโครงการเป็นฐาน ปรากฏผลการทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนของนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 มี คะแนนเฉล่ยี เทา่ กบั 13.36 คะแนน และ 17.93 คะแนน ตามลาดบั และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างคะแนนก่อน และหลังเรียน พบว่า คะแนนสอบหลงั เรยี นของนักเรียน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติทร่ี ะดบั .01 ผู้วจิ ยั ไดด้ าเนนิ การวดั ความพึงพอใจของนกั เรยี นในการเรยี นด้วยกิจกรรมการเรียนแบบโครงการเป็น ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย เรอ่ื งรามเกียรติ์ ตอนนารายณป์ ราบนนทก ปรากฏผลพบวา่ นกั เรียนมคี วาม พงึ พอใจในภาพรวมอยูใ่ นระดบั มากที่สดุ มคี ่าเฉลยี่ เทา่ กับ 4.56 จากผลการวิจยั พบว่าสอดคลอ้ งกับผลงานวิจัยของดวงพร อ่ิมแสงจันทร์ (2554) ได้ศึกษาการพัฒนา ผลการเรยี นรู้ เรอ่ื งหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศและความสามารถใน การแก้ป๎ญหาตามข้ันตอนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 พบว่า 1) ผลการ เรียนรู้ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 2) พฤติกรรมความสามารถในการแก้ป๎ญหาตามขนั้ ตอนการจดั การเรียนรู้แบบโครงงานของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 5 โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง 3) ความสามารถในการทาโครงงานของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5โดย ภาพรวมอยู่ในระดับสูง 4) ความคดิ เห็นของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน หน้า 572

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) โดยภาพรวมอยู่ในระดบั เหน็ ดว้ ยมากท่ีสุด ทั้งน้ีเพราะการจัดการเรียนรู้โดยการทาโครงการ เป็นกระบวนการ เรียนรู้ทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ มกี ิจกรรมที่เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รียนได้ศกึ ษาค้นคว้า และลงมือปฏิบัติด้วยตนเองตาม ความสามารถ ความถนัด และความสนใจโดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการอ่ืนใดไปใช้ ในการศกึ ษาหาคาตอบในเรอ่ื งนน้ั ๆ โดยมคี รูผูส้ อนคอยกระตนุ้ แนะนา และใหค้ าปรกึ ษาแก่ผู้เรียนอย่างใกล้ชิด นอกจากนน้ั เป็นการแสวงหาความรู้กระบวนการคิด และทักษะในการแก้ป๎ญหาไว้ในรูปแบบการเรียนรู้ ซ่ึงใน การสอนคร้ังนีเ้ ปน็ การสอนแบบร่วมกันคิด เช่ือมโยงหลกั การพฒั นาการคิดของบลูม (Bloom) ท้ัง 6 ข้ัน กล่าวคือ ความรู้ความจา (Knowledge) ความเข้าใจ (Comprehension) การนาไปใช้ (Application) การวิเคราะห์ (Analysis) การสังเคราะห์ (Synthesis) การประเมินค่า (Evaluation) ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวิจยั ไปใช้ จากการวจิ ัยเร่อื ง ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองรามเกียรต์ิ ตอนนารายณ์ปราบนนทก ด้วยกิจกรรมการ เรียนแบบโครงการเปน็ ฐาน สาหรบั นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปี 2 โรงเรียนสตรีสมุทรปราการ ซึ่งทาให้ค้นพบว่า การจดั การเรียนการสอนโดยใช้กจิ กรรมการเรียนแบบโครงการเปน็ ฐานสามารถนามาใช้ไดใ้ นทกุ วชิ า ไม่ใช่เพียง แคใ่ นวชิ าวทิ ยาศาสตร์ หรอื คณิตศาสตร์เทา่ น้ัน โดยเฉพาะในวิชาทางภาษา ซึ่งในทางทฤษฎีกิจกรรมการเรียน แบบโครงการเป็นฐานเหมาะสาหรับวิชาวทิ ยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ แต่เมื่อนามาทดลองจะเห็นได้ว่า ในทาง ปฏิบตั สิ ามารถนารปู แบบกิจกรรมการเรียนแบบโครงการเป็นฐานมาใชไ้ ดใ้ นทกุ สาขาวิชา ทาให้นักเรียนได้สร้าง องค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง โดยถ่ายทอดความรู้นนั้ ออกมาทางการสรา้ งสรรคช์ ิ้นงาน ขอ้ เสนอแนะในการวิจัยครงั้ ต่อไป ในการทาวจิ ัยครง้ั ต่อไป ในการจดั การเรยี นการสอนในรูปแบบกิจกรรมการเรยี นแบบโครงการเป็นฐาน นักเรียนสามารถสร้างสรรคช์ ิ้นงานเพ่อื ถา่ ยทอดองคค์ วามรทู้ ไ่ี ด้รบั ในรูปแบบต่าง ๆ ไม่จาเป็นต้องเป็นช้ินงานท่ี ผู้วิจัยได้วิจัยออกมาแล้วเท่าน้ัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบริบท และเนื้อหาวิชาด้วย อีกท้ังครูผู้สอนสามารถให้ผู้เรียน ถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ได้ออกมาในแนวการอภิปราย หรือการเสวนา หรือเพื่อให้เข้ากับยุคป๎จจุบันท่ีสังคมให้ ความสนใจในเรือ่ งเทคโนโลยี ครผู ูส้ อนก็สามารถให้นักเรียนนาเสนอความรู้ท่ีได้ผ่านทางส่ืออินเทอร์เน็ต ไม่ว่า จะเปน็ Youtube , Facebook หรือสื่อออนไลน์อนื่ ๆ เพ่อื ใหบ้ ุคคลทั่วไปเข้าถึงองค์ความรเู้ หลา่ นั้นไดเ้ ช่นกัน เอกสารอา้ งองิ กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. 2544. หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2544. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพค์ รุ สุ ภาลาดพรา้ ว. _______. 2551. วรรณคดวี จิ ักษ์. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพช์ ุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. หน้า 573

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) กระทรวงศึกษาธิการ. 2551. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์คุรสุ ภาลาดพร้าว. _______. พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์ องคก์ ารรบั ส่งสนิ ค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.). กลุม่ KM CHILD-PBL. 2555. 6 ข้นั ตอน การจดั การเรยี นร้แู บบ Project-based Learning ให้ประสบ ความสาเรจ็ (online). http://www.vcharkarn.com/vcafe/202304, 1 สิงหาคม 2558. กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา. 2536. บทบาทของกรมวชิ าการกบั การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. ดวงพร อม่ิ แสงจนั ทร์. 2554. การพฒั นาผลการเรียนรู้และความสามารถในการแกป้ ญั หาทาง เศรษฐกิจตามแนวทางปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงสาหรบั นกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ท่ี จัดการเรียนรโู้ ดยใชโ้ ครงงาน. วทิ ยานพิ นธศ์ ึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการสอนสังคมศึกษา, มหาวิทยาลัยศิลปากร. ทิศนา แขมมณี. 2551. ศาสตร์การสอน: องค์ความรูเ้ พอ่ื จดั กระบวนการเรยี นร้ทู มี่ ปี ระสิทธิภาพ. พิมพ์ ครัง้ ท่ี 6. กรงุ เทพมหานคร: สานักพมิ พ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . บุญชม ศรสี ะอาด. 2543. การวิจยั เบือ้ งต้น. กรุงเทพมหานคร: สวุ ีริยาสาสน์ . บญุ ญลกั ษณ์ พมิ พา. 2531. การสร้างบทเรยี นโมดูลวชิ าภาษาไทยเรอื่ ง กาพยย์ านี 11 สาหรบั นักเรียน ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5. วทิ ยานิพนธ์ศิลปะศาสตร์มหาบณั ฑิต สาขาการศึกษาและ การสอน, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์ พรทพิ ย์ คงนาวัง. 2546. ผลการเรยี นรูใ้ นกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศกึ ษา ของนกั เรียนช้ัน ประถมศึกษาปที ี่ 1 โดยใช้รูปแบบการสอนแบบโครงงาน. วทิ ยานพิ นธ์ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการศึกษาและการสอน, มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมมาธริ าช. 2525. เอกสารการสอนชดุ วชิ า วิทยาการสอน เล่มที่ 2 หน่วยท่ี 8 – 15. นนทบรุ :ี มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมธริ าช. มทั นา ป้๎นม่วง. 2536. องคป์ ระกอบท่ีส่งผลตอ่ ประสิทธิภาพการสอนของครูประถมศึกษาสังกัดสานักงาน การประถมศึกษาจงั หวดั พษิ ณุโลก. วิทยานพิ นธ์ปริญญาการศกึ ษามหาบัณฑิตสาขาการวดั ผล การศึกษา, บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยนเรศวร. รชั นี วงศ์วลิ าศ. 2552. ผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการกลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทยเรอ่ื ง กาพยพ์ ระไชยสรุ ิยา ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1. วทิ ยานพิ นธ์การศกึ ษามหาบณั ฑิต, สาขาการศึกษาและ การสอน, มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. ร่นื ฤทยั สัจจพนั ธ.ุ์ 2544. วรรณคดศี กึ ษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ธารป๎ญญา. หน้า 574

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) รุ่งรพี สัจจภาร. 2549. การพฒั นาแผนการเรยี นรูแ้ บบโครงงาน กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และ เทคโนโลยี เร่ือง การขยายพชื ในทอ้ งถิน่ ไม่อาศยั เพศชั้น มธั ยมศึกษาปีท่ี 4. การศกึ ษาคน้ ควา้ อิสระการศึกษามหาบณั ฑิต สาขาการศกึ ษาและการสอน, มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. ลว้ น สายยศ และองั คณา สายยศ. 2543. เทคนคิ การวดั ผลการเรยี นรู้. กรงุ เทพมหานคร: สุวีรยิ าสาสน์ . วจิ ารณ์ พานิช. 2555. วถิ กี ารเรียนรู้เพ่ือศิษยใ์ นศตวรรษที่21. กรุงเทพมหานคร: มลูนธิ สิ ดศรี-สฤษดิ์วงศ.์ ศุภรัตน์ ภดู่ อก. 2555. การเรยี นรู้โดยใช้โครงงานเปน็ ฐาน (Project-based Learning : PBL) (online). http://suparat1983.blogspot.com/2015/03/project-based-learning-pbl.html, 23 สิงหาคม 2558. สมบตั ิ กาญจนารกั พงษ์. 2548. เคล็ดลับ: วิธีคดิ และวิธีสร้างนวตั กรรมสาหรับครูมอื อาชีพ. กรงุ เทพมหานคร: ธารอกั ษร. สทิ ธพิ ล อาจอนิ ทร์ และธีรชัย เนตรถนมิ ศักด์.ิ 2554. “การจัดการเรยี นรู้โดยใช้โครงกรเปน็ ฐานในรายวิชา การ พัฒนาหลกั สตู ร สาหรบั นกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี หลักสูตร 5 ป.ี ” วารสารวจิ ัย มหาวิทยาลยั ขอนแก่น. 10 (1): 1 – 16. สุชาติ วงคส์ ุวรรณ. 2542. การเรียนรสู้ าหรบั ศตวรรษที่ 21: การเรยี นรทู้ ี่ผ้เู รยี นเปน็ ผสู้ รา้ งความรู้ดว้ ย ตนเอง. กรงุ เทพมหานคร: กรมวชิ าการ. อาภรณ์ ใจเที่ยง. 2540. หลกั การสอน. พิมพค์ รง้ั ท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร: โอ.เอส.พรนิ้ ตง้ิ เฮาส.์ หน้า 575


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook