Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ED-APHEIT 2020

ED-APHEIT 2020

Published by ED-APHEIT, 2020-04-06 04:37:45

Description: การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร
สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ
หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption”
ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.)

Keywords: ED-APHEIT 2020 ศึกษาศาสตร์ สสอท.

Search

Read the Text Version

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 4. ปรับปรุงแก้ไขแบบสอบถามตามท่ีผู้ทรงคุณวุฒิเสนอแนะโดยผ่านความเห็นชอบจาก ประธานและ กรรมการท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์อีกครั้งหนึ่ง หลังจากนั้นนาไปทดลองใช้ (Try-out) กับ ครูผู้สอน สังกัดสานักงานเขต พ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 24 ทไี่ ม่ใช่กลุ่มตัวอย่างจริง จานวน 30 คน และนาแบบสอบถามมาวิเคราะห์หาค่า อานาจจาแนกเป็นรายข้อ โดยใช้ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ ของเพียร์สัน ( Pearson‖s Product Moment Correlation Coefficient) ระหวา่ งคะแนนรายขอ้ กับคะแนนรวม 5. นาแบบสอบถามทหี่ าคา่ อานาจจาแนกแล้วมาวิเคราะหห์ าความเช่ือมั่นของแบบสอบถาม ท้ังฉบับ โดยการ หาค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟา (α - Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach. 1990 : 202 - 204) แบบสอบถามที่ผ่าน การตรวจสอบความเช่ือม่ันแล้วนาไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างท่ีกาหนด เพ่ือนาผลมาวิเคราะห์ตามวัตถุประสงค์และ สมมุตฐิ านการวิจัยต่อไป การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยไดก้ าหนดวธิ กี ารเก็บรวบรวมขอ้ มลู จากกลมุ่ ตวั อย่าง โดยมีขั้นตอนดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ผวู้ จิ ัยขอหนังสือจากคณะศกึ ษาศาสตรแ์ ละศลิ ปศาสตร์ วิทยาลยั นครราชสีมาถึงผู้อานวยการสถานศึกษา สังกัด สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 27 เพ่ือขอความร่วมมือในการเก็บข้อมูลทาวิจัย 2. ผวู้ ิจัยนาแบบสอบถามพร้อมสาเนาหนังสือขอความร่วมมอื ในการทาวจิ ยั สง่ ไปยัง ผู้บริหารสถานศึกษาเพ่ือ ขอความรว่ มมอื ในการตอบแบบสอบถามจากครผู สู้ อน 3. กาหนดวนั ในการเก็บรวบรวมแบบสอบถาม และผู้วจิ ยั ดาเนนิ การเก็บรวบรวมแบบสอบถาม สถติ ทิ ีใ่ ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู ผูศ้ กึ ษาใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 1. ตรวจสอบความสมบรู ณข์ องแบบสอบถามแต่ละฉบบั 2. วิเคราะห์ขอ้ มลู เกี่ยวกบั สถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม ได้แก่ วฒุ ิการศึกษา ตาแหน่ง และขนาดของ สถานศกึ ษา โดยการหาค่าความถ่ี ร้อยละ และนาเสนอเป็นตารางประกอบ ความเรยี ง 3. วเิ คราะหข์ อ้ มูลเกีย่ วกับการบริหารสถานศกึ ษาตามหลกั ธรรมาภบิ าลของผบู้ ริหาร สถานศกึ ษาสงั กดั สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 27 โดยการหา คา่ เฉล่ยี และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน แล้วนาคา่ เฉล่ียไปเปรียบเทียบกบั เกณฑใ์ นการแปลความหมาย เป็นช่วงคะแนน ดงั น้ี (ธานินทร์ ศิลป์จาร.ุ 2550 : 77) 4.51 – 5.00 หมายถึง การปฏบิ ตั ิงานโดยใช้หลกั ธรรมาภิบาลอยใู่ นระดบั มากท่สี ุด 3.51 – 4.50 หมายถงึ การปฏบิ ัติงานโดยใชห้ ลักธรรมาภิบาลอยู่ในระดับมาก 2.51 – 3.50 หมายถงึ การปฏิบัติงานโดยใช้หลักธรรมาภิบาลอยใู่ นระดับปานกลาง 1.51 – 2.50 หมายถงึ การปฏิบตั ิงานโดยใช้หลกั ธรรมาภิบาลอยู่ในระดับนอ้ ย 1.00 – 1.50 หมายถึง การปฏิบตั ิงานโดยใช้หลักธรรมาภบิ าลอยใู่ นระดับนอ้ ยที่สุด หน้า 442

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 4. วิเคราะห์เปรียบเทียบการบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัด สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 27 จาแนกตาม วุฒกิ ารศึกษา ตาแหน่งและขนาดของสถานศึกษา โดย การ ทดสอบคา่ ทีของกลุ่มตวั อยา่ งทีเ่ ป็นอสิ ระจากกัน (t-test for Independent Samples) 5. วิเคราะห์เปรียบเทียบการบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัด สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต27 ตามวฒุ ิการศึกษา ตาแหน่งและขนาดของสถานศึกษาโดยวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว (One - way ANOVA) เม่ือพบความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ผู้วิจัยจะดาเนินการ ตรวจสอบความแตกต่างเปน็ รายคู่ โดยใชว้ ธิ ีของเชฟเฟุ (Scheffe's Method) สถิตทิ ่ใี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู 1. สถิตพิ น้ื ฐานไดแ้ ก่ ค่ารอ้ ยละ คา่ เฉลีย่ ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 2. สถิติท่ีใช้ในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือได้แก่ หาค่า ความเที่ยงตรง (Validity) ค่าสัมประสิทธ์ิ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson‖s Product Moment Correlation Coefficient) ค่าความเช่ือมั่นของ แบบสอบถามโดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (α- Coefficient) ตาม วิธีการของครอนบาค (Cronbach) (สมบัติ ท้าย เรือคา. 2555 :98) 3. สถติ ทิ ีใ่ ชใ้ นการทดสอบสมมตุ ิฐาน ได้แก่ การทดสอบค่าที(t-test for Independent Samples) การทดสอบคา่ เอฟ (F-test) สรุปผลการวิจยั จากผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล เร่ือง การบริหารสถานศึกษาตามหลกั ธรรมาภบิ าลของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา สังกัด สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 27พบว่า ข้อมูลทั่วไปของครูผู้สอน พบว่า วุฒิการศึกษาของครูผู้สอน ระดับปริญญาตรี จานวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 19.40 ระดับสูงกว่าปริญญาตรี จานวน 275 คน คิดเป็นร้อยละ 80.60 ตาแหน่งครูผู้สอน ตาแหน่งครูผู้ช่วย 10 คน คิดเป็นร้อยละ 2.90 ตาแหน่งครู 30 คน คิดเป็นร้อยละ 8.80 ตาแหน่งครชู านาญการ 117 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 34.30 ตาแหน่งครูชานาญการพิเศษ 181 คน คิดเป็นร้อยละ 53.10 ตาแหนง่ ครูเชย่ี วชาญ 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.90 ขนาดสถานศึกษา ครูผู้สอนสังกัดสถานศึกษาขนาดเล็ก 90 คน คิด เป็นร้อยละ 26.40 ครูผู้สอนสังกัดสถานศึกษาขนาดกลาง 62 คน คิดเป็นร้อยละ 18.20 ครูผู้สอนสังกัดสถานศึกษา ขนาดใหญ่ 89 คน คิดเปน็ ร้อยละ 26.10 ครผู ูส้ อนสังกัดสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ 100 คน คิดเป็นร้อยละ 29.30 ผลการวิจัยพอสรุปไดด้ ังน้ี 1. การบริหารตามหลกั ธรรมาภิบาลของผบู้ ริหาร ตามทศั นะของครผู สู้ อนสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มธั ยมศึกษา เขต 27 ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มีการบริหารตามหลักธรรมาภิ บาลมากที่สุด คือ ด้านหลักนิติธรรมรองลงมา คือด้านหลักความคุ้มค่า หลักความรับผิดชอบตรวจสอบ หลักความ โปร่งใสหลกั คณุ ธรรม และ ดา้ นหลักการมีสว่ นร่วม น้อยทีส่ ุดเมือ่ พจิ ารณาเป็นรายข้อ พบว่า 1.1 ด้านหลกั นิตธิ รรมในภาพรวม อยูใ่ นระดับมาก เมื่อพจิ ารณารายดา้ นพบวา่ การบรหิ ารโดยใช้หลักนิติ ธรรมในการบริหารสูงสุด 3 ลาดับแรกคือ 1. ผู้บริหารสถานศึกษากาหนดข้อบังคับ ท่ีเป็นธรรม และยอมรับในการ หน้า 443

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ปฏิบัติงานร่วมกนั ของบคุ ลากรในสถานศกึ ษา 7. ผู้บรหิ ารสถานศึกษาประพฤติปฏิบัติ ในการขอเลื่อนวิทยฐานะตาม เกณฑ์ทกี่ าหนด 2.ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาได้แบ่งหน้าทค่ี วาม รับผิดชอบตามสายปฏบิ ตั งิ านอย่างชัดเจน รองลงมาคือ 4. ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาเน้นความเสมอภาคในการบริหารงาน 5.ผู้บริหารสถานศึกษากาหนดข้อบังคับ ที่เป็นธรรม และ ยอมรับในการปฏิบัติงานร่วมกันของบุคลากรในสถานศึกษา 6. ผู้บริหารสถานศึกษาสร้างบรรยากาศความ เป็น ประชาธิปไตยให้เกิดข้ึนในสถานศึกษา 3. ผู้บริหารสถานศึกษาร่วมกับครูผู้สอนและ บุคลากรทางการศึกษาปรับ ระเบยี บ ขอ้ บังคับของสถานศึกษาให้ทนั สมัย 1.2 ด้านหลักคณุ ธรรม ในภาพรวม อยใู่ นระดบั มาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า การบริหารโดยใช้หลัก นิตธิ รรมในการบรหิ ารสูงสุด 3 ลาดับแรกคอื 12.ผบู้ ริหารสถานศึกษา เป็นผมู้ คี วามเมตตากรุณา เอ้ือเฟือ้ เผอ่ื แผ่8 . ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาประพฤตปิ ฏบิ ัตติ นอยู่ บนพนื้ ฐานของคุณธรรมและจริยธรรม 10. ผู้บริหารสถานศึกษานิเทศการ เรียนการสอน อย่างเป็นกัลยาณมิตร รองลงมาคือ 9.ผู้บริหารสถานศึกษามีความขยัน สานึกในหน้าที่ของตนเอง มี ระเบยี บวินัย และเคารพในสทิ ธิของคนอืน่ 11. ผู้บริหารสถานศึกษาบริหารเวลาในการ ทางานตามความสาคัญอย่างมี คณุ ภาพ 14. ผบู้ ริหารสถานศกึ ษายึดมัน่ ในความถกู ต้องทางานดว้ ยความซอื่ ตรง ซอื่ สตั ย์ สุจรติ และจรงิ ใจ 1 3 . ผบู้ ริหารสถานศึกษามีขันติ อดทน อดกลั้น และมีวุฒิภาวะทางอารมณ์ 1.3 ด้านหลักความโปร่งใสในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณารายด้านพบว่า การบริหารโดยใช้ หลกั นติ ธิ รรมในการบริหารสูงสุด 3 ลาดับแรกคอื 20. ผู้บรหิ ารสถานศึกษาจัดทารายงานผลการปฏิบัติงาน ประจาปี ของสถานศึกษาเพื่อเผยแพร่สู่สาธารณชน17. ผู้บริหารสถานศึกษาเปิดโอกาสให้สามารถตรวจสอบ รายงานทาง การเงินและงบการเงินในแต่ละปีอย่างชัดเจน18. ผู้บริหารสถานศึกษาเปิดโอกาสให้มีการแสดงความ คิดเห็ นในการ ประชุม รองลงมาคอื 19.ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาแจ้งข้อมลู ขา่ วสารของสถานศึกษา ท่เี ปน็ ประโยชน์ให้ผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้อง รบั ทราบ15. ผ้บู รหิ ารสถานศึกษามกี ารประกาศใหผ้ ้มู ีส่วนเก่ียวขอ้ ง รบั ทราบแผนงาน โครงการ กฎระเบียบ ข้อบังคับ ของ สถานศกึ ษา .ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษากากับดูแลงบประมาณพฒั นา ผูเ้ รียน เรยี นฟรี 15 ปแี ละการคดั เลือกกรรมการ ภาคี 4 ฝุายด้วยความโปรง่ ใสสามารถตรวจสอบได้ 1.4 ดา้ นหลกั การมสี ่วนร่วมในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า การบริหารโดยใช้ หลกั นิติธรรมในการบรหิ ารสงู สดุ 3 ลาดบั แรกคอื 23. ผู้บริหารสถานศกึ ษาให้บุคลากรในสถานศึกษาได้มี โอกาสร่วม ปฏิบัติกิจกรรมอย่างทั่วถึง 24. ผู้บริหารสถานศึกษาเปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามามี ส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรม โครงการต่างๆของ สถานศึกษา 25. ผู้บริหารสถานศึกษาสนับสนุนให้ผู้ปกครองมีส่วน ร่วมในการจัดกิจกรรมต่างๆ ของสถานศึกษา รองลงมาคือ 22.ผู้บริหารสถานศึกษา เปิดโอกาสให้บุคลากรมี ส่วนร่วมในการกาหนดนโยบายการ ดาเนินงานของ สถานศึกษา 21. ผู้บริหารสถานศึกษาส่งเสริมให้บุคลากรและชุมชน ร่วมในการเข้ามามีส่วนกาหนด วิสัยทัศน์ พนั ธกิจ และ เปาู หมายของสถานศกึ ษา 1.5 ด้านความรับผิดชอบ ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณารายด้านพบว่า การบริหารโดยใช้ หลกั นติ ธิ รรมในการบริหารสูงสุด 3 ลาดับแรกคือ 28. ผู้บริหารสถานศึกษามีการปรับปรุงพัฒนางาน อย่างต่อเนื่อง 29. ผู้บริหารสถานศกึ ษาจัดใหม้ กี ารแก้ไขปรับปรงุ ข้อบกพรอ่ ง ตามรายงานผลการการปฏิบัติงานอย่าง สม่าเสมอและ มีประสิทธิภาพ 26. ผู้บริหารสถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุนให้ครูจัด กิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ หลักสูตร ของสถานศึกษารองลงมาคือ 30. ผู้บริหารสถานศึกษามีความมุ่งมั่นตั้งใจในการ ปฏิบัติงานอย่างเต็ม หนา้ 444

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ความสามารถ 27. ผู้บริหารสถานศึกษากาหนดให้มีแผนการจัดการความ เส่ียงที่จะเกิดข้ึนจากการบริหารงาน 31. ผบู้ ริหารสถานศึกษาประพฤตปิ ฏิบตั ิตนเปน็ แบบอยา่ งที่ดตี อ่ ผูใ้ ต้บังคบั บัญชา 1.6 ด้านความคมุ้ คา่ ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมอื่ พิจารณารายด้านพบว่า การบริหารโดยใช้หลักนิติ ธรรมในการบริหารสูงสุด 3 ลาดับแรกคือ 34. ผู้บริหารสถานศึกษาส่งเสริมให้ครูผู้สอนใช้ทรัพยากร ท้องถิ่นในการ จัดทาสื่อการเรียนการสอนอย่างมี ประสิทธิภาพ 36. ผู้บริหารสถานศึกษาอุทิศเวลาเพ่ืองานราชการ32. ผู้บริหาร สถานศึกษาจัดหาครูผู้สอนที่มีคุณวุฒิ ตรงตามสาขาวิชาท่ีเปิดสอน รองลงมาคือ 33. ผู้บริหารสถานศึกษาใช้ งบประมาณอย่างคมุ้ ค่า และเกิดประโยชน์สูงสุด 35. ผู้บริหารสถานศึกษากาหนดแนวปฏิบัติในการบริหาร พัสดุและ ครภุ ัณฑ์อย่างชัดเจน 2. เปรียบเทียบระดับการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของ ครผู สู้ อน สงั กดั สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 27 จาแนกตาม วุฒิการศึกษา โดยใช้การวิเคราะห์สถิติ t-test ตาแหนง่ และขนาดโรงเรียนใชก้ ารวิเคราะห์ โดยสถิติ F-test (One - way ANOVA)พบวา่ 2.1 การบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 จาแนกตามวฒุ ิการศึกษา โดยภาพรวม ไม่แตกต่างกัน และรายด้านแตกต่างกันในด้าน หลักนิตธิ รรม ด้านหลักการมสี ว่ นรวม และดา้ นหลักความค้มุ ค่า นอกน้ันไมแ่ ตกต่างกัน 2.2 การบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 27 จาแนกตามตาแหนง่ ผู้สอน โดยภาพรวม ไมแ่ ตกต่างกนั และรายดา้ นแตกต่างกันในด้าน ความโปร่งใสและดา้ นความคุม้ คา่ 2.3 การบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 จาแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยภาพรวมแตกต่างกัน และรายด้านแตกต่างกันใน ดา้ นคุณธรรม ดา้ นความโปร่งใสและดา้ นความคมุ้ คา่ อภปิ รายผล การศึกษาครั้งนี้ทาให้ทราบถึงการบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 27 มีประเดน็ ทคี่ วรนามาอภปิ รายผลดังน้ี 1. การบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต 27 โดยรวมอย่ใู นระดบั มากเมอื่ พิจารณาเปน็ รายด้านพบวา่ การบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิ บาลของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาอยู่ในระดบั มาก เน่ืองจากมีการบริหารงานท่ีเปน็ รปู แบบชดั เจน 2. ผลการเปรียบเทยี บการบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภบิ าลของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา สังกัดสานกั งาน เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 27 จาแนกตามวุฒิการศึกษา โดยรวมไม่แตกต่างกันเนื่องจากบริบทของโรงเรียน ในสังกดั สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 27 มคี วามคลา้ ยคลึงกัน จึงส่งผลให้ความคดิ เห็นต่อการบริหาร สถานศกึ ษาของผู้ท่มี ีวฒุ กิ ารศกึ ษาต่างกนั ไม่ต่างกนั 3. ผลการเปรยี บเทยี บการบรหิ ารสถานศกึ ษาตามหลักธรรมาภิบาลของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา สังกดั สานักงาน เขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 จาแนกตามตาแหน่งของครูผู้สอน โดยรวมไม่แตกต่างกัน เนื่องจากการ หน้า 445

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) บริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลของผูบรหิ ารสถานศึกษามคี วามเสมอภาคในการจัดการปริหารต่อทุกตาแหน่ง หน้าท่ี 4. ผลการเปรียบเทยี บการบรหิ ารสถานศกึ ษาตามหลักธรรมาภบิ าลของผู้บริหารสถานศกึ ษา สงั กดั สานักงาน เขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 จาแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยรวมแตกต่างกัน เน่ืองจากในการ บริหารงานของโรงเรยี นท่ีมขี นาดต่างกนั จะมีความแตกตา่ งกนั ในหลายดา้ น โดยเฉพาะดา้ นการบริหารบคุ ลากร ข้อเสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะนาเพ่ือการปฏบิ ตั ิ 1. ด้านหลักนิติธรรม ผู้บริหารควรมีการยกย่อง ชมเชยครูและนักเรียนท่ีปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบของ โรงเรียนซ่ึงอาจจะมีการมอบรางวลั หรือเล่อื นตาแหนง่ หน้าท่กี ารงาน 2. ด้านหลักคณุ ธรรม ผู้บรหิ ารควรมีการปฏิบัติต่อทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน ไม่มีความลาเอียงหรือเลือกท่ีรัก มักที่ชังในการปฏบิ ัตหิ น้าทต่ี อ่ ครหู รือนักเรียน และควรปฏิบัติงานโดยยึดหลักความถูกต้องเป็นกลาง เป็นที่ปรึกษาท่ีดี ให้กบั บุคลากรทกุ คนในโรงเรียน 3. หลกั ความโปร่งใส ผู้บริหารควรมีการวางแผนการบริหารงานที่เปิดเผย มีการกระจายอานาจ และการ มอบหมายหน้าที่ใหค้ รไู ด้ปฏิบตั ดิ ้วยความรอบคอบ และมีการตรวจสอบการบริหารงานการเงินด้วยความโปร่งใสและ ตรงไปตรงมา 4. หลักการมีส่วนร่วม ผู้บริหารควรให้มีการเปิดโอกาสให้ชุมชน ผู้ปกครองเครือข่าย หรือผู้มีภูมิป๎ญญา ท้องถน่ิ ได้เข้ามาใหค้ วามรู้แก่นักเรียนและจัดกิจกรรมในโรงเรียนให้มากข้ึน เพื่อให้การพัฒนาโรงเรียนเป็นแบบการมี ส่วนร่วมอย่างแท้จรงิ 5. หลกั ความรับผิดชอบ ผู้บริหารควรให้ความไว้วางใจในการปฏิบัติหน้าท่ีของครูท่ีได้รับมอบหมายงานใน ด้านต่างๆ ผู้บริหารทาหน้าท่ีเพียงให้คาปรึกษา คาแนะนา หรือความช่วยเหลือในกรณีท่ีครูต้องการและควรนา โครงการต่างๆไปปฏิบัติ รวมทั้งมีการติดตาม สรุปประเมินผลบุคลากรให้ชัดเจน เพื่อจะได้ทาให้ครูเกิดความรู้สึก ภาคภูมิใจในการปฏบิ ัตงิ านของตนเอง และนาขอ้ มูลทไี่ ด้ไปปรบั ปรุงและพฒั นาตนในครง้ั ต่อไปใหด้ ีย่งิ ข้ึน 6. หลักความคุ้มค่า ผู้บริหารควรมีการจัดประชุมวางแผนการจัดทางบประมาณรายปีให้เหมาะสมและนา งบประมาณนัน้ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์คุ้มคา่ แกโ่ รงเรียน และบริหารจดั การสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้เกิดประโยชนส์ งู สดุ ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครัง้ ต่อไป 1. ควรศกึ ษาจากกลุ่มประชากร หรือกลุ่มตัวอย่างในสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 เพ่ือ ศึกษาขอ้ มูลวา่ มีการใชห้ ลักธรรมาภิบาลมคี วามเหมือน หรอื ความแตกตา่ งจากการวิจัยครัง้ นี้ 2. ควรศึกษาป๎จจัยทีส่ ่งผลกระทบต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร เพื่อใช้เป็นแนวทาง ในการพฒั นาประสิทธภิ าพของผู้บริหารโรงเรียน 3. ควรศึกษาความมีประสทิ ธภิ าพของการใช้รูปแบบการบรหิ ารงานตามหลักธรรมาภิบาลกบั สถานศกึ ษา หน้า 446

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) รายการอา้ งอิง กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2553). การบรหิ ารสถานศกึ ษาท่ี สมบตั ิ ท้ายเรอื คา. (2555). ระเบียบวธิ ีวิจยั สาหรับ เปน็ นติ บิ คุ คล : กระทรวงศกึ ษาธิการ. กรงุ เทพฯ : มนษุ ยศาสตรแ์ ละ รสพ. 2553 : 24 – 25. สงั คมศาสตร.์ มหาสารคาม : โรงพมิ พ์ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2546). พระราชบญั ญตั ิ มหาวทิ ยาลัย มหาสารคาม. การศกึ ษาแห่งชาติ พทุ ธศกั ราช 2542 แก้ไข สานักคณะกรรมการการะพฒั นาระบบราชการไทย. เพมิ่ เตมิ (ฉบับท่ี 2) พทุ ธศกั ราช 2545. กรงุ เทพฯ : (2552).คู่มือการ จดั ระดับการกากบั ดูแลองคก์ าร ครุ ุสภา ภาครัฐตามหลักธรรมาภิ บาลของการบรหิ ารกจิ การ จารุวรรณ สุรินทร์. (2552). การใช้หลักธรรมาภิบาล บา้ นเมอื งท-ี ดี (Good Governance Rating). ของผบู้ รหิ าร สถานศกึ ษา กลมุ่ เครือข่ายวงั สาม กรงุ เทพฯ : พรีเมยี ร์โปร. หมอ 1 สานกั งานเขต พ้ืนที่การศกึ ษาอดุ รธานี เขต สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน. (2553: ก). 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษา ศาสตรมหาบณฑั ิต แนวทางการกระจายอานาจการบรหิ ารและ การจดั การ สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลยั นอร์ท ศกึ ษาให้เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาและสถานศกึ ษาตาม กรงุ เทพ. กฎกระทรวง กาหนด หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการ ธานินทร์ศิลปจ์ ารุ. (2550). การวจิ ัยและวิเคราะห์ขอ้ มูล กระจายอานาจการบรหิ าร และการจดั การศึกษา พ.ศ. ทางสถิตดิ ว้ ย SPSS. กรงุ เทพฯ: วีอนิ เตอรพ์ ร้นิ ทร์. 2550. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่ง ธรี ะ รญุ เจริญ.(2548 ). สู่ความเป็นผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ประเทศไทย. มอื อาชีพ. กรงุ เทพฯ : ข้าวฟาุ ง. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติสานัก นัยหมะ สามะ. (2554). Good Governance กบั การ นายกรฐั มนตร.ี (2546). แผนการศกึ ษาแหง่ ชาตพิ .ศ. บริหารใน โรงเรียนการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน.ใน 2545-2559. กรุงเทพฯ : บริษทั พริกหวานกราฟฟิก วารสารวิชาการ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร. จากดั . บญุ ชมุ ศรีสะอาด. (2545). การวจิ ัยเบอ้ื งตน้ ฉบับ Cronbach, L. B. (1990). Essentials of ปรบั ปรุงใหม.่ psychological testing. NY: Harper & Row. (ฉบบั พิมพค์ ร้งั ที่ 9) กรงุ เทพฯ : สวุ รี ยิ าสาสน. Krejcie,R.V.; & Morgan,D.W. (1970). Deterging สมนกึ ภทั ทิยธนี. (2551). การวดั ผลการศกึ ษา.พิมพ Sampling Size for Research Activities. ครง้ั ท่ี 9. กาฬสินธ์ุ : ประสานการพิมพ.์ Education Psychological Measurement.(30). หน้า 447

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) การบรหิ ารโรงเรยี นเอกชนเพอ่ื ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม ในยคุ ประเทศไทย 4.0 The private school management to social responsibility in The Thailand 4.0 นายสรายทุ ธ ชา่ งงาม นกั ศึกษาหลกั สตู รศกึ ษาศาสตรดษุ ฎีบัณฑติ สาขาการจดั การการศึกษา วิทยาลยั ครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ E-mail [email protected] บทคัดยอ่ การศกึ ษาครงั้ นม้ี วี ัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพป๎จจุบัน ป๎ญหา และแนวทางการบริหารโรงเรียนเอกชนเพื่อ ความรับผิดชอบต่อสังคม ในยุคประเทศไทย 4.0 กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาคือ โรงเรียนสังกัดสานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ท่ีอยู่ในภูมิภาคต่าง ๆของประเทศจานวน 6 โรงเรียน ดังน้ี ภาคเหนือ โรงเรียนเชียงคาคริสเตยี น จงั หวดั พะเยา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โรงเรียนศรีเทพบาล จังหวัดชัยภูมิ ภาคกลาง โรงเรยี นศรรี ตั นว์ ทิ ยา จงั หวัดสุพรรณบุรี ภาคตะวันตก โรงเรียนปริยัติรังสรรค์ จังหวัดเพชรบุรี ภาคใต้ โรงเรียน สง่ เสริมศาสนาวิทยามูลนธิ ิ จงั หวัดสงขลา และกรุงเทพมหานคร โรงเรียนรงุ่ อรุณ เครื่องมือท่ีใชใ้ นการศึกษา ได้แก่ เอกสารทางวิชาการ วารสารทางวิชาการ แบบสัมภาษณ์ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ดว้ ยวิธีการวเิ คราะหเ์ น้ือหา ขั้นตอน การศึกษาเปน็ การศึกษาเชงิ คุณภาพ ด้วยการศึกษาเอกสารทางวิชาการ วารสารทางวิชาการ และการสัมภาษณ์ ผู้ใหข้ อ้ มูลไดแ้ ก่ ผอู้ านวยการโรงเรียน ครูผูร้ ับผดิ ชอบเกย่ี วกับความรบั ผิดชอบต่อสงั คม และกรรมการสถานศึกษา จานวนโรงเรียนละ 3 คน รวม 18 คน การหาคณุ ภาพของเคร่อื งมอื โดยการหาค่าความเช่ือมั่นเชิงเนื้อหาของแบบ สมั ภาษณท์ งั้ ฉบับโดยผู้เช่ยี วชาญ (IOC) จานวน 5 ท่าน ผลการศึกษาพบว่า สภาพป๎จจุบัน ป๎ญหา และแนวทาง การบริหารโรงเรยี นเอกชนเพื่อความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมในยคุ ประเทศไทย 4.0 โรงเรยี นจัดหลกั สตู รสอดคล้องกับ บรบิ ทของโรงเรยี น มกี ารเรียนรโู้ ดยเนน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคัญ สว่ นใหญ่มกี ารเอ้ือพัสดุ ทรัพยากร อาคารสถานท่ี และ บุคลากร เพ่ือสังคม มีความสัมพันธ์อันดีกับชุมชน โรงเรียนมีการช่วยเหลือสังคมอยู่เสมอตามโอกาสท้ังด้านทุน ทรัพยแ์ ละทนุ มนุษย์ ทั้งการแก้ป๎ญหาสังคม การร่วมกิจกรรมสาธารณะ การสร้างจิตอาสา แต่ยังไม่มีตาแหน่งที่ รับผดิ ชอบงานท่เี ก่ยี วความรับผดิ ชอบต่อสงั คมโดยตรง มีเพียงครปู ระจาโครงการที่รับผิดชอบงานให้ปฏิบัติหน้าที่ เทา่ นั้น คาสาคญั :ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม , โรงเรยี นเอกชน ,ประเทศไทย 4.0 หน้า 448

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ABSTRACT The objectives of this research were 1) to study the status, problems and guidelines for private schools administration for corporate social responsibility in The Thailand 4.0 follows: The north region is Chiang Kham Christian School in Phayao province. The northeastern part is Srithepabal School in Chaiyaphum province. The central region is Sriratwittaya School in Suphanburi province, The western region is Pariyat Rangsan School in Phetchaburi province, The sounthern region is Songserm Sasana Vittaya School in Songkhla province and Roong Aroon School in Bangkok.The instruments used in the study include academic papers, academic journals and depth interview paper. The data were analysed using content analysis.The study was qualitativeresearch with the technical documents Academic journals and interviews with informants, including the school director , teachers responsible for Corporate Social Responsibility and education committee school number 3 people, including 18 people.The quality of the content for the confidence of an entire questionnaire from 5 experts (IOC).The results of the study is current conditions, problems, and guidelines for the administration of private schools for social responsibility in Thailand 4.0, the school were organized the curriculum in accordance with the school context. Learning ecosystem was created by focusing on the learners. Most of them provide supplies, resources, buildings, and a social staff who has a good relation with the community.The school has always provided social assistance based on opportunities, both finances and human capital for solving social problems, public participation, and volunteering. However, there was no a teacher or a staff who is assigned directly for a social responsibility duty. Only a project teacher was responsible for a particular event at the time. KEYWORDS:Corporate Social Responsibility , Private School , Thailand 4.0 บทนา การจดั การศึกษา เป็นการเตรียมความพรอ้ มให้เดก็ และเยาวชนทเ่ี ป็นทรัพยากรมนุษย์ของประเทศเป็นบุคคล ทมี่ คี ุณภาพทั้งในป๎จจุบันและในอนาคต จึงเป็นหน้าท่ีของโรงเรียนไม่ว่าจะเป็นโรงเรียนรัฐบาลหรือโรงเรียนเอกชนท่ี ต้องเขา้ มาดาเนินการพัฒนาการจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ กระทรวงศึกษาธิการในฐานะหน่วยงานหลักในการจัด การศึกษาสาหรับเยาวชนทุกระดับ ได้นาแนวความคิดด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) เขา้ มาสู่สถานศกึ ษาตงั้ แตร่ ะดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ซ่ึงพบว่ามีสถานศึกษาระดับดังกล่าวอยู่ ในทุกชุมชนทั่วประเทศไทย ทัง้ ภาครฐั และเอกชน โดยกาหนดการดาเนินการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2 ซึ่ง เป็นโครงการท่ีมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาคุณธรรมและสร้างจิตสานึกความเป็นไทยอย่างย่ังยืน (ศุภรัตน์ รัตนมุขย์, 2554, น. 1) ให้กับเยาวชนโดยขับเคล่ือนนโยบายนี้ลงไปปฏิบัติในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน หนา้ 449

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) เพอ่ื วางรากฐานของสังคมไทย โดยการบ่มเพาะเดก็ และเยาวชนไทย ให้เป็นประชากรที่มีคุณภาพและเป็นกาลังสาคัญ ในการพฒั นาประเทศในอนาคต การจดั การศกึ ษา ของสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate social responsibility: CSR) เป็นเรือ่ งใหมท่ ่ผี บู้ รหิ ารสถานศึกษาจะตอ้ งศึกษาใหม้ ีความร้คู วามเข้าใจในหลักการและ วธิ ีการดาเนนิ งาน เพอ่ื ไปใช้ขับเคลอ่ื นในสถานศึกษา โดยสรา้ งความตระหนักและให้ความสาคัญในการจัดกิจกรรมเชิง บรู ณาการควบคู่กับการจัดการศึกษาตามหลักสูตร โดยนากิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมไปปรับใช้ในการบริหาร เพ่ือชว่ ยสร้างสรรคว์ ัฒนธรรมใหม่ในสถานศึกษา ให้มีคุณภาพและมาตรฐานท่ียั่งยืน การนาแนวคิดความรับผิดชอบ ตอ่ สงั คม ซึง่ ว่าดว้ ยการทอี่ งค์กรแสดงความรบั ผดิ ชอบต่อผลกระทบจากการดาเนินการ ขององค์กร ต่อผู้มีส่วนได้ส่วน เสียท้ังภายใน และภายนอกองค์กร ส่ิงแวดล้อม และสังคม ชุมชนท่ีอยู่รอบด้าน มาผสานกับการบริหารจัดการ สถานศึกษาในป๎จจุบัน ซ่ึงจะเป็นการสร้างความสาเร็จในด้านการปลูกฝ๎งคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบ ให้กับเยาวชน ซ่งึ เปน็ กลไกหลักของสังคม เพื่อตอบสนองและช่วยเหลือให้วิถีความเป็นอยู่ของชุมชนมีความสุข จาก การบริหารสถานศึกษา โดยคานึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมน้ันกระแสความคิดเหล่านี้เกิดข้ึนจากป๎ญหา สภาพแวดล้อมตา่ งๆเริ่มเข้ามากระทบกับความคิดและความรู้สึกของคนเกิดขึ้นเรื่อย ๆ จนกลายเป็นกระแสหลักของ สงั คม ทาให้ความรบั ผิดชอบตอ่ สังคมขององคก์ รธรุ กจิ กลายเปน็ แนวทางการบริหารจดั การท่ีสาคัญขององค์กรธุรกิจใน ป๎จจุบนั และอนาคตเพราะหากธรุ กจิ ถกู ปฏิเสธจากชุมชนองค์กรน้นั จะอยู่ไม่ไดด้ ังน้ันอาจกล่าวได้ว่าความรับผิดชอบต่อ สังคมขององค์กรธรุ กิจด้านต่างๆเป็นผลประโยชน์สูงสุดร่วมกันระหว่างชุมชนกับองค์กรน้ัน ๆ (อนันตชัย ยูรประถม, 2554) การบริหารจัดการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐานให้เยาวชนอายุระหว่าง6ปีถึง18 ปีซ่ึงเป็นบุคคลท่ีอยู่ในช่วงหัวเล้ียว หัวต่อให้เป็นผู้มีความรับผิดชอบต่อสังคมได้น้ัน ผู้บริหารสถานศึกษาจาเป็นท่ีจะต้องรู้ เข้าใจและสามารถบูรณาการ ทฤษฏีหลักการทางการบริหารและระบบสนับสนุนการเรียนรูปอ่ืนๆ มาใช้ขับเคลื่อนการบริหารจัดการสถานศึกษา เพ่ือให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมเสียก่อนดังที่องค์กร ในประเทศสหรัฐอเมริกาได้กล่าวไว้ว่า การพัฒนาผู้บริหาร สถานศึกษาใหส้ ามารถบริหารสถานศึกษาอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคมนั้นก็เพ่ือให้นักเรียนได้มีโอกาสเรียนรู้และ สร้างศักยภาพไปสู่ความฝ๎นของตนเองภายในส่ิงแวดล้อมท่ีเอื้ออานวยต่อการเรียนรู้( Educator for social Responsibility (ESR),1982,อ้างในศุภรตั น์ รตั นมุขย.์ 2554. น.120) เพราะฉะนัน้ เมอื่ โรงเรยี นเป็นองค์กรท่ีการบริหาร จัดการเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมก็ย่อมส่งผลต่อผู้เรียนให้เป็นผู้มีความรับผิดชอบทางสังคม และการ บริหารงานในโรงเรยี นอยา่ งสรา้ งสรรคน์ ักเรยี นไดร้ ับการศึกษาอย่างท่ัวถึง และมีคุณภาพและ ยังไดรับการพัฒนาด้าน คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม เป็นคนดี คนเก่ง อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขตรงตามความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กลุ่มรองอันไดแ้ ก่ ชมุ ชน ผ้ปู กครอง คณะกรรมการ สถานศกึ ษา เจ้าหน้าทีจ่ ากภาครัฐและสื่อมวลชน (จณิน เอ่ียม สะอาด, 2550 , น. 10-13) แต่ในทางปฏิบัติโรงเรียนต่าง ๆ ทุกระดับ โดยเฉพาะการศึกษาขั้นพ้ืนฐานไม่ได้ให้ความสาคัญกับความ รับผิดชอบต่อสังคมมากนัก กล่าวคือ โรงเรียนมุ่งเน้นการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (และที่ปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ของกระทรวงศึกษาธิการให้ในมาตรฐานและตัวชี้วัด ของ8กลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้นักเรียนเป็นคนดี คนเก่งและคนที่มีความสุขในการ หน้า450

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ดารงชวี ติ ประจาวนั โดยทก่ี จิ กรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมเสรมิ หลกั สตู รจัดขน้ึ ภายในสถานศึกษาเป็นส่วนใหญ่ สว่ นการจดั กจิ กรรมภายนอกโรงเรยี นเพื่อความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมมจี านวนจากัดอนั สืบเนือ่ งมาจากขดี จากัดเร่ืองเวลา เรียนตามหลักสูตรดังกล่าวท่ีนักเรียนต้องเรียนให้ครบเวลาในแต่ละช่วงชั้นตามท่ีหลักสูตรกาหนด มิฉะน้ันจะไม่จบ หลกั สูตร อีกท้ังในการออกไปจัดกิจกรรมนอกโรงเรียนเสย่ี งต่ออันตรายจากอบุ ัตเิ หตแุ ละอบุ ตั ภิ ัยทไ่ี ม่คาดคิดเพราะครูมี จานวนจากัด นักเรียนแตล่ ะหอ้ งมีจานวนมาก โรงเรียนจึงไม่คอ่ ยได้นานักเรียนไปทากิจกกรมร่วมกับชุมชน ที่ทาส่วน ใหญเ่ นน้ เรอื่ งการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมทางศาสนาและวันสาคัญของชาติ เช่น แห่เทียนพรรษา เป็นต้น อย่างไรก็ตามแม้ว่า หลักสูตรป๎จจุบันกาหนดให้นักเรียนทุกคนต้องทากิจกรรมสาธารณะประโยชน์หรือจิตอาสา มีจานวนช่ัวโมงกาหนด แน่นอนในแต่ละช่วงชัน้ แต่ในทางปฏบิ ัตินักเรียนยังไมไ่ ด้แสดงศักยภาพของตนเองอย่างแท้จริงต่อความรับผิดชอบต่อ สังคม จงึ เปน็ หนา้ ทข่ี องโรงเรยี นทจ่ี ะตอ้ งเรง่ ดาเนนิ การให้เป็นรูปธรรม เห็นผลและนักเรียนปฏิบัติได้จนเป็นนิสัย เป็น พลเมืองดีของชาติต่อไปในอนาคต มีจิตสาธารณะและรับผิดชอบต่อสังคมอย่างสร้างสรรค์ตามศักยภาพของแต่ละ บคุ คล ผศู้ ึกษาในฐานะเป็นผู้บริหารสถานศึกษาซ่ึงปฏิบัติงานเกี่ยวข้องโดยตรงเก่ียวกับการบริหารจัดการโรงเรียน เอกชน จึงมีความสนใจที่จะบูรณาการความรับผิดชอบต่อสังคมมาใช้ในโรงเรียนเอกชนว่าควรแนวทางการบริหาร โรงเรยี นเอกชนเพือ่ ความรับผิดชอบในสงั คม ในยุคประเทศไทย 4.0 อย่างไร ซ่ึงองค์ความรู้ท่ีได้จากการศึกษาครั้งน้ี ผู้ ศึกษาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเยาวชนส่วนใหญ่ของประเทศได้มีโอกาสรับการพัฒนาศักยภาพของตนเองเป็นมนุษย์ที่ สมบูรณ์ทั้งร่างกายจิตใจ สติป๎ญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุขเป็นกาสาคัญของประเทศ เป็นบุคคลที่มีคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของ สังคมในโลกยุคใหมใ่ นป๎จจุบนั และในอนาคตอยา่ งยัง่ ยนื วิธีดาเนินการศึกษา การศกึ ษาคร้ังนเ้ี ป็นการศึกษาเชงิ คุณภาพโดยมีวัตถุประสงค์การศึกษาเพ่ือศึกษาสภาพป๎จจุบัน ป๎ญหา และ แนวทางการบริหารโรงเรียนเอกชนเพอ่ื ความรับผดิ ชอบตอ่ สังคมในยุคประเทศไทย 4.0 เครอื่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการศกึ ษา คือ แบบสังเคราะห์เอกสาร ฐานข้อมูลจากทุกแหล่งที่เกี่ยวกับการบริหารโรงเรียนเอกชน เพ่ือความรับผิดชอบต่อสังคม และแบบสัมภาษณ์แบบเจาะลึกผู้บริหาร ครู และกรรมการสถานศึกษาของโรงเรียน เอกชน เพอื่ ความรับผดิ ชอบต่อสังคม ทผี่ ้ศู กึ ษาสร้างขน้ึ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ประกอบดว้ ย 1. การสังเคราะห์เอกสาร ฐานข้อมูลจากทุกแหล่งท่ีเก่ียวกับการบริหารโรงเรียนเอกชนเพ่ือความ รับผิดชอบต่อสังคม 2. การสัมภาษณ์ผู้บริหาร ครู และกรรมการสถานศึกษาของโรงเรียนเอกชน เพื่อความรับผิดชอบต่อ สังคม การวเิ คราะห์ข้อมูลและสถิตทิ ี่ใชใ้ นการศึกษา ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู ในการศึกษาครัง้ นี้ คอื การวเิ คราะห์ข้อมูลท่ีได้จาก การสังเคราะห์เอกสาร และ การสมั ภาษณ์ผูบ้ รหิ าร ครู และกรรมการสถานศึกษาของโรงเรียนเอกชน ผู้ศึกษาใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) หนา้ 451

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล สภาพปจ๎ จุบัน ปญ๎ หา และแนวทางการบรหิ ารโรงเรียนเอกชนเพ่อื ความรบั ผิดชอบต่อสังคมในยุคประเทศไทย 4.0 พบว่าการบรหิ ารโรงเรียนเอกชน มีขอบขา่ ยงานอยู่ 4 งานสาคญั ได้แก่ 1. งานวิชาการ ประกอบไปด้วย 1) การจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาเพ่ือความรับผิดชอบต่อสังคม หลาย โรงเรียนใช้หลักสูตรแกนกลางของกระทรวงศึกษาธกิ ารเปน็ หลัก แต่อาจจะมีการเพ่ิมเติมตามลักษณะ เปูาหมาย ของ โรงเรียน และบริบทของสังคมรอบโรงเรียน เช่น โรงเรียนเชียงคาคริสเตียน การสอนตามแนวคิดมอนเตสซอรี่บน พื้นฐานพระคัมภีร์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โรงเรียนศรีเทพบาล ใช้หลักสูตร ปฐมวยั พทุ ธศักราช 2546 หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 โรงเรียนส่งเสริมศาสนาวิทยา มูลนิธิ สอนบูรณาการหน้าที่พลเมือง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นสอนวิชาศาสนาอิสลามควบคู่วิชาสามัญหลักสูตร แกนกลางของสถาบนั ศึกษาปอเนาะ พทุ ธศักราช 2561คอื การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test - O-NET) โรงเรยี นรงุ่ อรุณมีแนวคิดการศึกษาวิถีพุทธซง่ึ มวี ัตถุประสงค์ไม่แสวงหากาไร โรงเรียนรุ่งอรุณได้ทาการวิเคราะห์และประมวลผลการศึกษาและทดลองปฏิบัติรายวิชาในทุกระดับชั้น และสรุปเป็น หลักสูตรรายวิชา ได้แก่ วิชาภูมิป๎ญญาภาษาไทย วิชามนุษย์และสังคมศึกษา วิชาวิทยาศาสตร์ (ธรรมชาติศึกษาและ ประยุกต์วิทยา) วิชาคณิตศาสตร์ วิชาภาษาอังกฤษ วิชาศิลปะและหัตถศิลป์ วิชาดนตรีไทยนาฏศิลป์ วิชาดนตรีสากล 9 วิชาพลศึกษา วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งทั้งหมดน้ีได้จัดทาคาอธิบายรายวิชาเพ่ือบ่งบอกแนวคิดหลัก ขอบเขต และองค์รวมของเน้ือหาจุดประสงค์การบรรลุผลการเรียนรู้ของเนื้อหาตามระดับชั้นนั้นๆ โดยละเอียด เ พื่อให้เป็น แนวทางด้านเนื้อหาสาระ และเปูาหมายเชิงคุณภาพของผู้เรียนตามลาดับแต่ละชั้น 2)การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้เพื่อ ความรบั ผิดชอบต่อสงั คมซ่ึงกิจกรรมหรือวิชาท่ีเก่ียวข้องต่อความรับผิดชอบต่อสังคมผสานกับการเรียนในโรงเรียน เช่น โรงเรยี นเชียงคาคริสเตียน การสอนศีลธรรมตามอัตลกั ษณ์ของมูลนธิ พิ ระเยซู 12 ประการ ประกอบไปดว้ ย การมี บคุ ลิกภาพเชอื่ มโยงกลมกลืนกับตนเอง การรักเพื่อนบ้าน การรักคนอื่น และการรักส่ิงที่พระเจ้าทรงสร้าง โรงเรียนจัด กิจกรรมด้วยความรักและความเอาใจใส่ต่อผู้เรียน โรงเรียนมีโครงการธนาคารความดีโดยนักเรียนทา ความดีแล้วจะ ได้รับรางวัล โรงเรียนศรีเทพบาล กิจกรรมที่รับผิดชอบต่อสังคม ได้แก่ กิจกรรมลูกเสือเนตรนารี กิจกรรมบาเพ็ญ ประโยชน์ เช่น การรณรงค์ปลูกต้นไม้ กิจกรรมทาความสะอาด กิจกรรมแยกขยะ และโรงเรียนรุ่งอรุณกาหนดและ เลอื กเนื้อหาทีต่ อบโจทย์ความเปน็ มนุษย์ เราคิดถึงคนก่อนวิชา คิดว่าคนต้องเข้าใจอะไร มีทักษะอะไร ต้องมีความคิด จิตใจแบบไหน ถึงจะเติบโตเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์”มีการจัดการเรียนการสอนผ่านรูปแบบต่างๆ เช่น โรงเรียนวิถีพุทธ การลงมอื ปฏบิ ตั ิ ถอดบทเรียน สะท้อนบทเรียน ท่ีก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ ยกตัวอยา่ ง ป๎ญหาท่ที นั สมัยกับความเป็นไปของ โลกอย่างยั่งยืนActive Learning การเรียนรู้โดยใช้ป๎ญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning: PBL) การเรียนรู้ โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project–based Learning) นักเรียนจะได้เผชิญป๎ญหาท่ีเกิดข้ึนจริง โดยเรียนรู้ผ่านการ แก้ป๎ญหาหรือโจทย์ท่ีครูนาเสนอ เช่น การสารวจคุณภาพน้าของแม่น้าเจ้าพระยา ก็มีการลงพ้ืนที่ นั่งเรือสารวจ สภาพแวดล้อม เพ่ือคิดและอภิปรายในช้ันเรียน 3) การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้เพื่อความรับผิดชอบต่อสังคม พบว่า โรงเรยี นเชียงคาครสิ เตยี นชมุ ชนของโรงเรียนเป็นพ้ืนที่เกษตร ประกอบไปด้วยนาข้าว บ่อปลา และแปลงผักให้เด็กได้ ฝึกอาชีพ ห้องสมุดบ้านสบแวนมีหนังสือและอินเตอร์เน็ตคริสตจักรชัยบริบูรณ์ เป็นศูนย์รวมการทาพิธีทางศาสนา สนามเด็กเล่นให้ชุมชนได้ออกกาลังกาย และโรงเรียนรุ่งอรุณทุกพื้นที่ของโรงเรียนสมารถรองรับการจัดกิจกรรมเพ่ือ หน้า452

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) สังคมไดห้ ลากหลาย เชน่ หอ้ งประชมุ เพ่ือการเสวนาของผู้ปกครอง ลานของโรงเรียนในการป่๎นจักรยานแรลล่ี ตลาดใน โรงเรยี นทจี่ าหนา่ ยผักจากชุมชนเกษตรกรรมรอบรว้ั โรงเรยี น โรงแยกขยะเพ่ือให้เหลือขยะทิ้งให้กรุงเทพมหานครน้อย ท่สี ุด 2. งานงบประมาณ ซึง่ มี 1) การจัดงบประมาณเพอื่ ความรับผิดชอบต่อสังคมพบว่า โรงเรียนส่วนใหญ่ไม่มี การจดั งบประมาณเพือ่ ความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คมโดยเฉพาะแต่จะเป็นการจัดแบบเฉพาะกรณีไป เช่น โรงเรียนศรีเทพ บาล ไม่มีการจัดงบประมาณล่วงหน้าโดยเฉพาะ แต่เป็นการใช้งบประมาณในช่วยเหลือชุมชนตามโอกาสต่างๆ เช่น การช่วยเหลืองานศพ การบริจาคน้าท่วม การทาถุงยังชีพโดยนักเรียน ทุนเรียนดีแต่ยากจน โรงเรียนศรีรัตน์วิทยา ได้รับงบประมาณจากเงินอุดหนุนเรียนฟรี 15 ปี และเงินค่าธรรมเนียมอื่นในการจัดกิจกรรม โดยถัวจ่ายทุกรายการ สามารถใชร้ ่วมกบั กจิ กรรมอ่ืนๆได้ และโรงเรียนปริยัติรังสรรค์ ไม่มีการจัดงบประมาณล่วงหน้าโดยเฉพาะ แต่เป็นการ ใชง้ บประมาณในการบารุงรักษาทรัพยากรของโรงเรียน เช่น รถโรงเรียนเพื่อบริการสังคม ทุนการศึกษา การจัดงาน กิจกรรมสัมพันธก์ บั ผู้ปกครอง อีกทงั้ ยงั เปน็ โรงเรียนท่ีไม่เก็บค่าใช้จ่ายจากการเรียน 2) การจัดการพัสดุหรือสินทรัพย์ เพื่อความรับผิดชอบต่อสังคม พบว่า โรงเรียนสามารถเอ้อื เฟ้ือทรัพยากรทม่ี เี พื่อประโยชน์โดยรวมของสังคมได้เป็นครั้ง คราว เช่น โรงเรียนปรยิ ตั ริ งั สรรค์บริการสถานทใ่ี ห้เป็นสถานทส่ี อบของ กศน. การจัดประชุมของหน่วยงานต่างๆ การ บรกิ ารรถบัสของโรงเรยี นกบั หนว่ ยงานภายนอกและโรงเรียนส่งเสริมศาสนาวิทยามูลนิธิ มีการหยิบยืมสิ่งของระหว่าง โรงเรียนกบั มัสยดิ ใกล้เคยี ง 3.งานบุคลากร ซึง่ มี 1) การจดั โครงสร้างองคก์ รเพื่อความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม พบวา่ หลายโรงเรียนไม่มีฝุาย ทร่ี บั ผดิ ชอบโดยเฉพาะ แตม่ อบหมายความรบั ผิดชอบในรปู แบบโครงการซึ่งมีคณะกรรมการโครงการเป็นผู้รับผิดชอบ แทนเช่น โรงเรียนเชยี งคาครสิ เตียน โรงเรียนส่งเสริมศาสนาวทิ ยามูลนิธิโรงเรียนรุ่งอรุณ และโรงเรียนศรีรัตน์วิทยา 2) การพัฒนาบุคลากรเพื่อความรับผิดชอบต่อสังคม ส่วนใหญ่จะเกิดจากการประชุมถึงความสาคัญของป๎ญหาแล้วหา ข้อสรปุ ด้วยกนั การเรียนรจู้ งึ เกิดจากการประชุม เชน่ โรงเรียนเชียงคาคริสเตียน ทุกเช้าจะมีการทาสามัคคีธรรม และ จะมีการสง่ บุคลากรเข้าค่ายคริสเตียนเพ่ือนาแนวคาสอนของพระเจ้ามาใช้ และโรงเรียนศรีรัตน์วิทยา จะสื่อสารกัน ทางกล่มุ ไลน์และท่ีประชุมครู 4. งานบริหารงานทั่วไป ซึ่งประกอบด้วย 1) การมีส่วนร่วมของเครือข่ายความรับผิดชอบต่อสังคม ซ่ึง ส่วนมากเกิดจากบทบาทหนา้ ที่ขององค์กรเครือข่ายน้นั ๆอยู่แล้ว อาทิ หน่วยงานราชการ ห้างร้านเอกชน สถานศึกษา ทุกระดับ ศาสนสถาน เป็นตน้ ยกตวั อย่างเชน่ โรงเรียนเชียงคาครสิ เตียน อยู่ภายใต้การดูแลของมูลนิธิพันธกิจสัมพันธ์ เมตตา ซงึ่ มโี รงเรียนในเครอื มหี น่วยแพทย์และพยาบาลเคล่ือน เอ็นจีโอ และจิตอาสาชาวคริสเตียน โรงเรียนศรีเทพ บาล มีเครอื ขา่ ย ได้แก่ เทศบาล อสม. หรือบริษัทต่างๆท่ีเข้ามาจัดกิจกรรมในโรงเรียน และโรงเรียนส่งเสริมศาสนา วิทยามูลนิธิ องค์การบริหารส่วนตาบลเกาะหมี เทศบาลควนลัง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาลัยสารพัดช่าง ตารวจตระเวนชายแดน ในบางกรณีก็เกิดเครือข่ายเฉพาะกิจขึ้นมา เช่น โรงเรียนรุ่งอรุณ มี เครือข่ายอากาศสะอาด โครงการ#โรงเรียนเดียวกัน ไปด้วยกัน Shuttle Bus, Carpool, Walk Together #Go together by RA GREEN 2)การกากับ ติดตาม และประเมินผลเพื่อความรับผิดชอบต่อสังคม พบว่า เป็นไปตามการ ดาเนนิ งานปกติของโรงเรยี น พจิ ารณาจากความสาเร็จของโครงการท่ไี ดป้ ฏบิ ตั ิไป หนา้ 453

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) เมื่อวิเคราะห์องค์ประกอบของความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งมี 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การรับรู้ประเด็น ทางสังคม 2) การให้บรกิ ารตอ่ สังคมของโรงเรยี น 3) การมีสว่ นรว่ มแก้ไขป๎ญหาในสังคม 4) การมีส่วนร่วมในกิจกรรม สาธารณะของชุมชน 5) การสรา้ งจติ อาสาต่อสงั คม และ 6) การจัดการศกึ ษาใหม้ ีคณุ ภาพต่อสังคม ได้ผลดังนี้ 1.ด้านการรับรู้ประเด็นทางสงั คม พบว่า โรงเรียนทุกโรงเรียนเกดิ ความตระหนักรู้ และการแสดงความเป็น หว่ งเป็นใยตอ่ สังคม ตัวอย่างเชน่ โรงเรยี นเชียงคาคริสเตียน มีความเป็นห่วงทั้งทางสังคมใกล้ เช่น ภายในหมู่บ้านสบ แวน หรือสังคมไกล เช่น เด็กด้อยโอกาสทางสังคม เด็กกาพร้า หรือถูกทอดทิ้งตามที่ต่างๆของประเทศ เช่น ชาวเขา หรือในชมุ ชนแออัดในกรุงเทพมหานคร การเข้าสู่สังคมสูงอายุของประเทศไทยที่ต้องมีการพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้งด้าน สุขภาพและจิตใจโดยมีโครงการจัดตั้งศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ การที่พ่อแม่ของเด็กต้องไปหางานทาต่างถ่ิน ท้ังต่างจังหวัด และตา่ งประเทศ ทาใหเ้ ด็กถูกทิ้งกับปุูย่าตายาย เกิดความหว้าเหว่ การห่างกันระหว่างวัย เด็กเริ่มติดโทรศัพท์มือ ถือ เล่นเกม และติดส่ือสังคมออนไลน์ ซึ่งอาจจะนาไปสู่ป๎ญหาสังคมได้ หากใช้อย่างไม่เหมาะสม ขณะที่โรงเรียนปริยัติ รงั สรรค์ ตระหนกั ถงึ ป๎ญหาการจราจรหนา้ โรงเรียนซง่ึ เปน็ ถนนตัวเมอื งเพชรบรุ ี มสี ภาพจราจรติดขัดหลังเวลาเลิกงาน ของคนในพ้นื ที่ ทางโรงเรียนจงึ มีมาตรการขยบั เวลาเลิกเรียนให้เร็วขน้ึ และแมจ้ ะมีรถบัสถึง 34 คัน แต่ผู้อานวยการก็ ลงไปส่ังการปล่อยรถบสั ดว้ ยตนเองเพอื่ ไม่ให้เกิดป๎ญหาต่อสังคม และโรงเรียนรุ่งอรุณ ตระหนักและห่วงใยในทุกเรื่อง เพราะเปน็ บทบาทของโรงเรียนมจี งึ กลา่ วไดว้ า่ โรงเรียนจะตระหนักถึงสภาพสังคมในทุกมิติ เช่น สภาพครอบครัวของ เด็ก ป๎ญหาสาธารณสุข ป๎ญหายาเสพตดิ สภาพการจดั การโรงเรยี นทัง้ ในและนอกโรงเรียนเพ่อื ตอบสนองความต้องการ ของสังคม 2.ด้านการใหบ้ รกิ ารตอ่ สงั คมของโรงเรียน หมายถึง การท่ีโรงเรียนให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลแก่สังคม โดย การจดั การศึกษา การให้บรหิ ารและสนับสนุน สง่ เสรมิ การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามความต้องการของชุมชนและสังคม ตัวอย่างเช่น โรงเรียนเชียงคาคริสเตียน ผู้บริหารท้ังผู้จัดการและผู้อานวยการจะไปสอนศาสนาพระคัมภีร์ในวัน อาทิตย์ท่ีคริสตจักร การจัดห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ทางการเกษตร การจัดบริการสาธารณสุขโรงเรียนศรีเทพบาล เน่ืองจากโรงเรียนมีสระว่ายน้าขนาดมาตรฐานจึงได้รับการจัดโครงการว่ายน้าเพื่อชีวิต และให้เป็นสนามสอบของ การศึกษานอกโรงเรียน โรงเรียนศรีรัตน์วิทยา การจัดครูช่วยงานค่ายภาษาอังกฤษ การส่งบุคลากรทีมวิชาการ ภาษาต่างประเทศไปใหค้ วามรู้เป็นกรรมการการแข่งขันวิชาการระดับกลุ่มโรงเรียนและระดับจังหวัด การทาบุญออก โรงทาน โรงเรียนปริยตั ิรังสรรค์ จัดบริการอาคารสถานท่ีเพื่อการสอบและประชุมต่างๆ รถบัสของโรงเรียนที่ไปรับส่ง นกั เรยี นถงึ พื้นทีห่ า่ งไกลต่างอาเภอ และโรงเรยี นรงุ่ อรุณรบั ผิดชอบโครงการวิจัยเชิงปฏบิ ัติการเพอื่ พฒั นาต้นแบบพ้ืนที่ นวัตกรรมการศึกษาระดับจังหวัด ภายใต้ความร่วมมือระหว่างสถาบันอาศรมศิลป์และมูลนิธิสยามกัมมาจล โดย สนับสนุนเปน็ พ้ืนที่การเรียนรู้ในจังหวัดระยองและจังหวัดศรีสะเกษ ในแง่มุมนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของรุ่งอรุณ เช่น หลักสูตรบูรณาการสู่คุณค่า กระบวนการเรียนรู้แบบ Open Approach ในวิชาคณิตศาสตร์ และในแง่มุม กระบวนการพัฒนาครูไปบนการทางานด้วยนวัตกรรมของโรงเรียนรุ่งอรุณ เช่น ชุมชนผู้เช่ียวชาญการเรียนรู้ (Professional Learning Center-PLC) การจัดการความรู้ (Knowledge Management-KM) และการสะท้อนผล หลังการสอน (After Action Review-AAR) กล่าวได้ว่า บุคลากรของโรงเรียนมีส่วนเกี่ยวข้องกับงานศาสนา การใช้ อาคารสถานท่ี การจัดแหลง่ เรียนรู้ การระดมความร่วมมือจากสว่ นต่างๆ การเปน็ วทิ ยากรบริการใหค้ วามรู้แก่สังคม 3.ดา้ นการมสี ว่ นรว่ มแกป้ ญั หาสังคม หมายถึง ยกบทบาทการให้ความรว่ มมือ ระหวา่ งโรงเรียนกับชุมชนใน การแก้ปญ๎ หาทีเ่ กดิ ขนึ้ ในชมุ ชนท่ีส่งผลกระทบตอ่ ชุมชน ตวั อยา่ ง โรงเรียนเชียงคาคริสเตียน การมอบความรัก การทา หน้า454

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) หนา้ ท่เี ป็นที่ปรกึ ษา การนาข้อดีของเด็กมาประกาศใหส้ งั คมได้รูแ้ ละเห็นคุณค่าของเด็ก การหางานให้เด็กทา เช่น การ ทาเบเกอร่ี โดยไดร้ บั ความเอื้อเฟื้อเครอ่ื งอบขนมป๎งจากมลู นธิ ิ การปลูกผกั ปลอดสารพิษ การทาน้าเสาวรส ปลาหยอง ส่งไปจาหน่ายที่กรุงเทพ บ่างครั้งเมื่อแรงงานเด็กไม่เพียงพอต่อการผลิต ก็จะมีการจ้างงานของคนในชุมชนให้เกิด รายได้เสริมจากงานประจาของตน โรงเรียนส่งเสริมศาสนาวิทยามูลนิธิมีบทบาทเร่ืองการลดถุงพลาสติก ลดขยะ จัดการขยะมีการลดการสร้างขยะพลาสติก เช่น การใช้ถุงผ้า การใช้ถุงและขวดพลาสติกซ้า การจากัดการใช้ ถุงพลาสติก เพราะว่าสงขลาเป็นจังหวัดท่ีมีขยะสูงสุดในประเทศไทยต้ังแต่ปี พ.ศ. 2554 เม่ือเด็กนักเรียนป ฏิบัติท่ี โรงเรียนแล้วจึงขยายผลไปสู่บ้านและชุมชน จึงสามารถแก้ไขป๎ญหาขยะได้ และโรงเรียนรุ่งอรุณมาตรการหยุด โรงเรียนในช่วงท่ีมีฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5 เกินค่ามาตรฐาน เป็นโรงเรียนแรก เป็นจุดขับเคลื่อนให้สังคมเห็น ความสาคัญกับเร่อื งนอ้ี ยา่ งจรงิ จังมกี ารจัดทา“สมุดปกขาวอากาศสะอาด”(Clean Air White Paper)โดยเริ่มจากการ ทาความเข้าใจอย่างถ่องแท้ใน “9 ประเด็นพ้ืนฐานเพ่ือเข้าใจและแก้ไขป๎ญหาฝุนพิษพีเอ็ม2.5 ในประเทศไทย” และ หลงั จากน้ี ทางเครือข่ายอากาศสะอาด จะมีกระบวนการในการจัดทา“สมุดปกฟูาอากาศสะอาด” (Clean Air Blue Paper) และ “สมดุ ปกเขียวอากาศสะอาด” (Clean Air Green Paper) ทจ่ี ะมขี อ้ มูลองค์ความรู้สมบูรณ์ขึ้นตามลาดับ เสนอต่อรัฐบาลในการแกป้ ๎ญหาเรอ่ื งฝุนละอองขนาดเลก็ PM2.5 กล่าวได้ว่า โรงเรียนหลายแห่งเมื่อพบปญ๎ หาสังคมนั้น ก็ไม่นิง่ ดูดาย ได้จัดทาโครงการแก้ป๎ญหา โดยความร่วมมือกันระหว่างโรงเรียน เครือข่ายสังคม บ้าน และตัวนักเรียน เอง 4.ด้านการมีส่วนร่วมในกิจกรรมสาธารณะของชุมชน หมายถึง การจัดกิจกรรมของโรงเรียนที่ให้ความ ช่วยเหลือโดยตรงไปยังกุศลหรือป๎ญหาสังคมน้ัน ๆ ตัวอย่าง โรงเรียนศรีเทพบาล เช่น การแสดงฟูอนรา กิจกรรม ตอ่ ตา้ นยาเสพตดิ ประเพณแี ห่เทยี นพรรษา การชว่ ยงานของวดั โรงเรยี นศรรี ตั นว์ ิทยา การทาบุญเข้าพรรษา ทอดกฐิน และโรงเรยี นปรยิ ัติรังสรรค์ เปน็ โรงเรยี นการกุศลของวัดขนาดใหญ่ ซ่ึงนักเรียนบางส่วนมฐี านะยากจน โรงเรียนจึงจัด เรยี นให้ฟรไี ม่มคี า่ ใชจ้ ่าย และให้ความรัก เอาใจใส่ แกน่ กั เรยี นอยา่ งท่วั ถงึ ทกุ ปีจะมีงานเชื่อมสัมพนั ธ์ ผู้ปกครองและ โรงเรียน เป็นงานย่ิงใหญ่ ท่ีแสดงถึงความสัมพันธ์ท่ีดี และความไว้วางใจท่ีผู้ปกครองให้แก่โรงเรียน กล่าวได้ว่า โรงเรียนหลายแห่งมีส่วนร่วมในกิจกรรมสาธารณะของชุมชนผ่านการแสดงตามประเพณีท้องถ่ินและเทศกาลแต่ ละ เทศกาล การเดินรณรงค์ การทาบญุ ชว่ ยงานศาสนสถาน 5.ด้านการสรา้ งจิตอาสาต่อสังคม หมายถึง การสนับสนุนหรือจูงใจให้บุคลากรและนักเรียนของโรงเรียน ร่วมสละเวลาและแรงงานตระหนกั รู้และคานึงถึงการมสี ่วนร่วมร่วมกัน การทาสิ่งหน่ึงที่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนร่วม คา นึกถึงผู้อื่นท่ีมีความสัมพันธ์ในสังคมเดียวกัน เป็นการแสดงออกเพ่ือส่วนรวม ตัวอย่าง โรงเรียนเชียงคาคริสเตียน จดั ทาหนว่ ยแพทยเ์ คลอื่ นท่ี โดยความร่วมมอื ของสมาชกิ คริสจักรมูลนิธิพันธกิจสัมพันธ์เมตตา ออกตรวจและให้การ รักษาแกค่ นในชมุ ชนทไี่ ม่มโี อกาสเขา้ ถึงบรกิ ารสาธารณสุขของรฐั โรงเรียนศรีรตั นว์ ทิ ยา ไดจ้ ัดกิจกรรมร่วมกับโครงการ ก้าวคนละกา้ ว การช่วยเหลอื นา้ ท่วมกับคุณบิณฑ์ บรรลือฤทธ์ิ โรงเรียนส่งเสริมศาสนาวิทยามูลนิธิ มีการออกไปทา ความสะอาดมัสยิดการจัดตั้งเป็นศูนย์ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากอุทกภัย เนื่องจากพ้ืนท่ีของโรงเรี ยนอยู่ใน ระดบั ที่สงู กวา่ ท่ีอื่น อกี ทงั้ ยังมีครู ผปู้ กครองที่เป็นกาลงั ในการทางานดว้ ย และโรงเรียนรุ่งอรุณ จัดกิจกรรมระดมทุน บรจิ าคเพ่ือชว่ ยเหลือกจิ กรรมต่าง ๆ ท่เี กดิ ในสงั คม ผ่านนทิ รรศการงานวิชาการ การแสดงความสามารถการออกร้าน จาหนา่ ยสนิ คา้ เปน็ ต้น กล่าวไดว้ ่า โรงเรียนหลายแห่งมกี ารจัดกิจกรรมเพื่อส่งิ แวดลอ้ ม เชน่ การประหยัดพลังงาน การ หนา้ 455

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) จดั การขยะ การรกั ษาความสะอาด เป็นต้น และกิจกรรมเพอื่ สาธารณกุศล เช่น การบริจาคทรัพย์หรือสิ่งของผ่านการ แสดงความสามารถของนกั เรยี น เป็นตน้ 6.ดา้ นการจดั การศึกษาให้มีคุณภาพต่อสังคม หมายถึง ความรับผิดชอบการจัดการศึกษาของโรงเรียนท่ี ส่งผลต่อคุณภาพของนักเรียน ยกตัวอย่างเช่น โรงเรียนเชียงคาคริสเตียนโรงเรียนได้รับความไว้วางใจจากสังคมและ ชุมชน โดยเด่นทางด้านความรัก ความเอาใจใส่ และความโดเด่นด้านภาษาอังกฤษ คัมภีร์ซ่ึงมีมิสชันนารีสอนศาสนา ประจาการอยู่วาระละ 2 ปี ได้ทาการสอนภาษาอังกฤษแก่นักเรียนทาให้โรงเรียนมีช่ือเสียงได้รับการยอมรับด้าน ภาษาองั กฤษอีกท้งั ในการประกวดงานศิลปะหตั กรรมนักเรียน นักเรยี นสามารถแข่งขันได้รับรางวัลมากมายจากหลาย วิชา นอกจากทางดา้ นวชิ าการแล้วน้นั ทางด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรมก็ดาเนินรอยตามพระคัมภีร์ โรงเรียนศรีเทพบาล มี การเรียนวิทยาการคานวณ ว่ายน้า สะเต็มศึกษา โครงงานวิทยาศาสตร์ นักเรียนช้ัน ป.6 สามารถสอบเข้าโรงเรียน มัธยมท่ีมีชื่อเสียง แม้จะอยู่ในอาเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ ซ่ึงมีประชากรวัยเรียนน้อย แต่ก็ยังได้รับความนิยมจาก ผู้ปกครองทีอ่ ยู่ต่างอาเภอหรือจังหวัดใกล้เคียง เช่น จังหวัดนครราชสีมา ส่งบุตรหลานมาเรียน เน่ืองจากเชื่อม่ันใน คุณภาพงานวชิ าการของโรงเรยี นที่ทาให้นกั เรียนทจี่ บชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 สามารถสอบเข้าโรงเรียนของรัฐบาลท่ีมี ช่ือเสียงได้มาเป็นระยะเวลายาวนาน โรงเรียนปริยัติรังสรรค์ มีการเรียนรู้แบบโครงงาน บูรณการต่อยอดสู่งาน ศิลปหัตถกรรมนักเรยี น โดยโรงเรียนสามารถเป็นตวั แทนจงั หวดั เพชรบรุ ีไปแข่งขนั ระดับประเทศ และโรงเรียนส่งเสริม ศาสนาวิทยามูลนิธิ เป็นการเรียนวิชาการควบคู่กับศาสนา จึงมีความรู้และสามารถนาหลักศาสนาไปใช้ใน ชวี ิตประจาวันได้ จึงกล่าวได้วา่ โรงเรียนจะสอนตามหลักสตู รแกนกลางของกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีระดับโอเน็ท ท่ีสูง ผ่านการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญหลายเทคนิควิธี และยังจะมีหลักสูตรท้องถ่ินท่ีเหมาะสมกับบริบทของ โรงเรยี นดว้ ย การศึกษา 4.0มีลักษณะท่ีมุ่งพัฒนา ผู้เรียนให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สร้างนวัตกรรมใหม่ และเป็น ผู้ผลติ มากกวา่ เป็นผู้บรโิ ภคซึง่ ประกอบด้วย การคิดคน้ สิง่ ใหม่(Invention) การสร้างนวัตกรรม(Innovation) การสร้าง นิสัยเปน็ ผูผ้ ลิต (Production) และความคดิ สรา้ งสรรค์และจนิ ตนาการ (Imagination) การคิดค้นสง่ิ ใหม่ (Invention)พบวา่ โรงเรยี นเชียงคาคริสเตียนและโรงเรียนปริยัติรังสรรค์มีการสอนสะ เต็มศกึ ษา ฝึกใหน้ ักเรียนคน้ คว้าหาความรูจ้ ากอนิ ตอรเ์ น็ต แตย่ งั ไมพ่ บการคิดค้นสิ่งใหม่ มีเพียงการเรียนรู้เพิ่มเติมจาก สาระการเรียนรู้วิทยาการคานวณ ผ่านการเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพื่อสร้างความคิดพื้นฐานของนักเรียนให้เป็น ระบบ และเป็นพนื้ ฐานในการเรยี นรใู้ นช้ันทสี่ งู ขึน้ การสร้างนวัตกรรม(Innovation) เปน็ การต่อยอดจากการคิดคน้ สิง่ ใหม่จงึ ยังไม่พบนวัตกรรมจากการลง พืน้ ท่ี การสร้างนิสัยเป็นผู้ผลิต(Production) พบว่า โรงเรียนเชียงคาคริสเตียน ส่วนใหญ่จะเป็นการเรียนรู้ เกีย่ วกบั ผลิตภัณฑพ์ ้นื บา้ น เช่น เครือ่ งจกั สาน อาหาร หรือขนม ซ่ึงมีช่ือเสียง คือ ขนมตะโก้โรงเรียนศรีเทพบาล การ ทาสบู่ น้ายาล้างจาน ไข่เค็ม โรงเรียนส่งเสริมศาสนาวิทยามูลนิธิ การทาไบโอดีเซล วิชาการงาน ฝึกวิชาพยาบาล โรงเรียนรุ่งอรณุ ใหน้ ักเรยี นประกอบอาหารกลางวันทานเองเป็นวิถีชีวิต พบว่า หลายโรงเรียนสามารถผลิตสินค้าที่ต่อ ยอดมาจากหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เช่น สินค้าจากพืช การเกษตร อาหาร สินค้าในครัวเรือน รวมถึงการ หน้า456

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) บรกิ ารทเี่ ปน็ ภูมปิ ญ๎ ญาของทอ้ งถน่ิ ดว้ ย แต่ในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอาจจะไม่พร้อมในการประดิษฐ์ผลงานที่เป็น เทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ(Imagination) พบว่าโรงเรียนเชียงคาคริสเตียน นักเรียนแสดงออก ด้านความคดิ สรา้ งสรรค์ผ่านการเรยี นรแู้ บบโครงงาน หรือกิจกรรมในวันสาคัญต่างๆ เช่น การประดิษฐ์ส่ิงของจากวัสดุ เหลือใช้ หลายโรงเรียนได้เปิดโอกาสให้เด็กได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ ผ่านการทากิจกรรม การทา โครงงาน รวมถึงในวชิ าศิลปะ ข้ันตอนการดาเนินงาน 1. คณะกรรมการบริหารโรงเรยี นแต่งต้ัง คณะกรรมการเพอ่ื ความรับผิดชอบต่อสังคม มีหน้าที่ขับเคล่ือนความ รับผิดชอบต่อสังคมของโรงเรียนเอกชน ท้ัง 6 ด้าน คือ 1) การรับรู้ประเด็นทางสังคม 2) การให้บริการต่อสังคมของ โรงเรยี น 3) การมีสว่ นร่วมแกไ้ ขป๎ญหาในสงั คม 4) การมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมสาธารณะของชมุ ชน 5) การสร้างจิตอาสา ต่อสงั คม และ 6) การจดั การศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพต่อสังคม รวมถึง การประสานการจดั ทาโครงการ การวิเคราะห์/อนุมัติ โครงการ การดาเนินโครงการเพอื่ ความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม และการตดิ ตามประเมินผลโครงการ 2. การประสานการจัดทาโครงการ การวิเคราะห์/อนุมัติโครงการ 1) การประสานการจัดทาโครงการ จัดทา รายละเอียดเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคมของโรงเรียนเอกชน พร้อมทั้งกาหนดวงเงินงบประมาณรายจ่ายเสนอ คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น 2) การวเิ คราะห์โครงการ โดยพจิ ารณาตามหลักเกณฑ์ ดังนี้ ความสอดคล้องกับป๎ญหา และความตอ้ งการ ความพร้อมของโรงเรยี น มแี ผนการดาเนินงานที่ชัดเจน การมีส่วนร่วมของชุมชน ความซ้าซ้อนของ แผนงาน/โครงการ และประโยชนท์ ี่ไดร้ ับ 3) การอนมุ ตั โิ ครงการ 3. การดาเนนิ โครงการเพื่อความรับผิดชอบตอ่ สงั คม 4. การติดตามประเมินผลโครงการ แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ก่อนการดาเนินโครงการ ระหว่างดาเนินโครงการ และหลงั การดาเนนิ โครงการ สรปุ ผลศึกษา สภาพปจ๎ จุบัน ป๎ญหา และแนวทางการบริหารโรงเรียนเอกชนเพ่อื ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม ในยุค ประเทศไทย 4.0 โรงเรียนจัดหลักสูตรสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน มีการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ส่วน ใหญ่มีการเอ้ือพัสดุ ทรัพยากร อาคารสถานท่ี และบุคลากร เพ่ือสังคม มีความสัมพันธ์อันดีกับชุมชน โรงเรียนมีการ ชว่ ยเหลอื สงั คมอย่เู สมอตามโอกาสท้ังด้านทนุ ทรพั ย์และทุนมนุษย์ ทั้งการแก้ป๎ญหาสังคม การร่วมกิจกรรมสาธารณะ การสร้างจิตอาสา แต่ยังไม่มีตาแหน่งท่ีรับผิดชอบงานท่ีเกี่ยวความรับผิดชอบต่อสังคมโดยตรง มีเพียงครูประจา โครงการท่รี ับผดิ ชอบงานใหป้ ฏบิ ัตหิ นา้ ท่เี ทา่ นน้ั อภิปรายผล สภาพปจ๎ จุบัน ปญ๎ หา และแนวทางการบรหิ ารโรงเรียนเอกชนเพื่อความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม ในยุค ประเทศไทย 4.0 ทโี่ รงเรยี นเอกชนทุกแห่งจัดได้สอดคล้องกับหลักสูตรป๎จจุบันและบริบทของโรงเรียนเอกชนเพราะ โรงเรยี นมีกรอบในการบรหิ ารโรงเรียนท่ีใช้โรงเรียนเปน็ ฐานโดยแบ่งภาระงานออกเป็น 4 งานใหญ่ คอื หน้า457

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) งานวิชาการ งานงบประมาณ งานบุคลากรและงานบริหารงานทั่วไป ทั้งนี้งานแต่ละงานมีบทบาทหน้าท่ีของตน โดยเฉพาะเพ่อื ส่งเสริมใหเ้ กิดการพฒั นาผเู้ รียนให้มคี ณุ ภาพตามเปาู หลักสตู รดังกลา่ ว คอื เปน็ คนดี เป็นคนเก่งและเป็น คนท่ีมคี วามสุขในการดารงชีวิตในสังคมป๎จจุบันและอนาคตอย่างสร้างสรรค์ อย่างไรก็ตามบทบาทในการแสดงความ รับผิดชอบต่อสังคมโดยตรงไม่ได้ปรากฏไว้ในภาระงานของงานท้ัง 4 งานดังกล่าวโดยเฉพาะเพียงแต่ระบุว่า กลุ่ม บริหารงานวิชาการมีหน้าที่ในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้แก่ผู้เรียนอย่างมีคุณภาพ กลุ่มบริหารงบประมาณ มี หนา้ ท่จี ัดสรรงบประมาณและควบคมุ บริหารการใชจ้ า่ ยเงนิ และสนิ ทรพั ย์ กลมุ่ งาน บุคลากร มีหนา้ ท่ี สง่ เสริมสนบั สนนุ บคุ ลากรในโรงเรียนใหป้ ฏิบตั งิ านอยา่ งมีคุณภาพตามกฎหมายและกลุ่มบริหารงาน ทั่วไป มีหน้าท่ีอานวยความสะดวกและดูแลความปลอดภัยและสวัสดิภาพของอาคารสถานท่ีและบุคลากรและ สถานศกึ ษา ดังนั้นจงึ สมควรอย่างยิ่งท่โี รงเรยี นตอ้ งมีการกาหนดภาระงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมให้ชัดเจนและ กาหนดกลุ่มงานรับผิดชอบด้วย ข้อเสนอแนะ ผลทีไ่ ด้จากการศึกษาและค้นพบในครงั้ นี้ ผู้ศกึ ษามขี ้อเสนอแนะ ดังน้ี 1. ข้อเสนอแนะระดับนโยบาย 1.หน่วยงานระดบั กระทรวงควรพิจารณาบูรณาการศักยภาพของท้องถ่ิน ทั้งด้านการผลิตสินค้า บริการ หรอื การท่องเท่ยี ว เพอ่ื นามาร่างหลักสตู รสถานศึกษา การสนับสนุนอาชพี ของคนในชุมชน 2. มีการเพ่ิมตวั ชว้ี ัดเพอื่ ประเมนิ คณุ ภาพโรงเรยี นผา่ นการเรียนร้เู พอื่ ความรับผดิ ชอบต่อสังคม 3. มงี บประมาณอุดหนุนโรงเรียนเอกชนในการแก้ป๎ญหาสังคม การพัฒนาบุคลากร การจัดแหล่งเรียนรู้ และพฒั นาสถานทที่ ีจ่ ัดกจิ กรรมเพอื่ สงั คม 4. ยกย่องเชิดชูโรงเรียนเอกชนท่ีดาเนินการเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อสร้างแรงจูงใจให้มี ส่วนรว่ มของสงั คมมากย่ิงข้นึ 5. จัดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) การจัดการความรู้ เพ่ือสร้างองคค์ วามรู้ และนวตั กรรมเก่ยี วกบั ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมใหม้ ีความเข้มแข็งมากย่งิ ขึ้น 6. มีมาตรการดา้ นภาษใี ห้หนว่ ยงานที่สนับสนนุ กิจกรรมความรับผดิ ชอบต่อสังคมของโรงเรยี นเอกชน 2. ข้อเสนอแนะระดบั โรงเรียน 1. โรงเรียนควรจัดการศึกษาให้มีคุณภาพต่อสังคม มีหลักสูตรสถานศึกษาที่ยึดโยงหลักสูตรแกนกลาง และนโยบายภาครัฐให้สอดคล้องกับบริบทของสังคมและท้องถิ่น เน้นการสร้างผลผลิตจากการเรียนรู้ และส่งเสริม ความคิดสรา้ งสรรค์ 2. โรงเรียนควรควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพือ่ ความรบั ผิดชอบต่อสังคม ซึ่งกิจกรรมหรือวิชาที่เก่ียวข้อง ต่อความรับผิดชอบต่อสังคมผสานกับการเรยี นในโรงเรียน เชน่ หน้า458

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) การเรียนรู้โดยใช้ป๎ญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning: PBL)การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project– based Learning) นักเรียนจะได้เผชญิ ป๎ญหาท่ีเกิดขนึ้ จรงิ โดยเรียนร้ผู ่านการแก้ป๎ญหาหรอื โจทย์ท่คี รูนาเสนอ 3. โรงเรียนทุกโรงเรียนควรมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมสาธารณะของชมุ ชน กิจกรรมเพือ่ ส่ิงแวดล้อม งานการ กศุ ล 4. โรงเรยี นพฒั นาแหลง่ การเรียนรเู้ พือ่ ความรบั ผิดชอบต่อสังคม ควรจัดพ้ืนท่ีให้เด็กได้ฝึกอาชีพ และมุม หนังสอื หอ้ งสมุดเพ่อื ใหช้ ุมชนไดเ้ รียนรตู้ ลอดชีวิต เป็นทแี่ ลกเปล่ยี นเรยี นร้ขู องสงั คม และพน้ื ทอ่ี อกกาลังกายประโยชน์ อน่ื ของสงั คม 5. โรงเรียนควรควรจัดระบบงบประมาณเพ่ือความรับผิดชอบต่อสังคมโดยเฉพาะ เน่ืองจากสามารถ ดาเนนิ โครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน 6. โรงเรียนควรจัดทาบัญชีพัสดุหรือสินทรัพย์เพ่ือความรับผิดชอบต่อสังคมเพ่ือท่ีโรงเรียนจะสามารถ เอื้อเฟ้อื ทรพั ยากรท่ีมีเพือ่ ประโยชน์โดยรวมของสังคมได้ 7. โรงเรยี นควรมี “คณะกรรมการเพือ่ ความรับผิดชอบตอ่ สังคม” โดยเฉพาะเพอ่ื ทาหน้าทด่ี งั น้ี 7.1 พจิ ารณา ป๎ญหาสงั คมในทกุ มิติ 7.2 การใหบ้ ริการต่อสังคม 7.3 กากับ ตดิ ตาม และประเมินผลโครงการทเ่ี ก่ียวกับความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม 8. โรงเรียนมีการพัฒนาบุคลากรเพ่ือความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) การจดั การความรู้ ทัง้ การประชุมหรือออนไลน์ 9. โรงเรยี นควรสร้างความสมั พนั ธ์ท่ดี ีกบั เครือข่ายความรับผิดชอบตอ่ สังคม เอกสารอา้ งอิง จณิน เอย่ี มสะอาด.(2550). รูปแบบและการสอ่ื สารการดาเนินธรุ กจิ อย่างรับผิดชอบต่อสงั คมของ องคก์ รธุรกิจไทย. วิทยานิพนธว์ ารสารศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการสือ่ สารภาครัฐและ เอกชนคณะวารสารศาสตรแ์ ละสือ่ สารมวลชน มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.์ ศุภรัตน์ รัตนมุขย์.(2554). การบริหารสถานศึกษาอยา่ งมคี วามรับผดิ ชอบตอ่ สังคม Managing CSR School.กรุงเทพฯ : สานักบัณฑติ อาสาสมคั ร มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. อนนั ตชยั ยูรประถม. (2550). “เปดิ ตานานCSR พสิ จู นค์ ณุ ค่าจากภายใน” Productivity World. 12,71 (พฤศจกิ ายน – ธนั วาคม) 25-30. หน้า459

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) สมรรถนะครูดา้ นการจดั ประสบการณท์ ี่มผี ลตอ่ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ สาหรบั เด็กปฐมวัย:กรณีศกึ ษาโรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ Teacher Competency in Experiences Affecting Science Process Skills for Early Childhood : A Case Study of Kindergarten of Thammasat University. ธนั ยากรชว่ ยทกุ ข์เพือ่ น, วาสนา วิสฤตาภา, พงษ์ภญิ โญ แม้นโกศล อาจารย์ประจาหลกั สูตรประกาศนียบัตรบณั ฑิตวิชาชพี ครู วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรุ กจิ บัณฑิตย์ E-mail:, [email protected], [email protected] , [email protected] ผศ.ดร.,ดร., ดร. Thunyakorn Chuaytukpuan, Wasana Wisaruetapa, Pongpinyo Mankosol Instructor in Graduate Diploma Program in Teaching Profession at College of Education Sciences, Dhurakij Pundit University Asst.Prof.Dr., Dr., Dr. บทคัดยอ่ การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสมรรถนะครูด้านการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัย 2) ศึกษาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรส์ าหรบั เด็กปฐมวัยและ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะ ครูด้านการจัดประสบการณ์กับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัยศึกษา ดาเนินการวิจัย โดยใช้วธิ ีวจิ ัยเชงิ สารวจ กลุ่มตวั อย่างคือ ครูโรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2562 จานวน 39 คน โดยวิธีการสมุ่ ตัวอย่างแบบง่าย เครอ่ื งมือทีใ่ ชใ้ นงานวจิ ยั คือ แบบสอบถาม สถิติท่ีใช้ในการวิจัย ไดแ้ ก่ ค่ารอ้ ยละ ค่าเฉลยี่ ค่าส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานและค่าสมั ประสทิ ธส์ิ หสมั พนั ธ์ของเพยี รส์ นั ผลการวจิ ยั พบว่า 1) สมรรถนะครดู ้านการจัดประสบการณส์ าหรบั เด็กปฐมวัยโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านคุณลักษณะส่วนตัวของครูปฐมวัย อยู่ในอันดับแรกรองลงมา คือด้านความรู้ และด้านทักษะ 2) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัยโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยทักษะการสังเกตอยู่ใน อันดับแรก รองลงมาคือ ทักษะการวัด ทักษะการจาแนกประเภท ทักษะการพยากรณ์หรือการคาดคะเน คาตอบ ทักษะการลงความเห็นข้อมูล และด้านทักษะการจัดกระทาและสื่อความหมายข้อมูล และ 3) สมรรถนะครูด้านการจัดประสบการณ์กับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัยโดยรวม มีความสมั พนั ธก์ ันในระดบั ปานกลางอยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถติ ิที่ระดับ .05 โดยด้านที่มีความสัมพันธ์เป็นอันดับ แรก ได้แก่ ด้านความรู้ (r= .563) รองลงมาคือ ด้านคุณลักษณะส่วนตัวของครูปฐมวัย (r= .518) และด้าน ทกั ษะ (r= .486) คาสาคญั :สมรรถนะครดู า้ นการจดั ประสบการณ,์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร,์ เด็กปฐมวยั หนา้ 460

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ABSTRACT This research aims to : 1) study the teacher competency in experiences for early childhood 2) study science process skills for early childhood and 3) examine the relationship between the teacher competency in experiences and science process skills for early childhood. Research conducted using survey research.The sample were 39 teachers of kindergarten of Thammasat University, selected by simple random sampling in the academic year of 2019.The tool for collecting data was a questionnaire.The data was analyzed by using percentage, mean, standard deviation, and Pearson‖s correlation coefficient analysis. The research results were: 1) the teacher competency in experience for early childhood was overall at a high level. The first of teacher characteristics of early childhood ranked first, followed by knowledge and skills 2) science process skills for early childhood overall is at a high level. The observation skills ranked first, followed by measurement skills, classification skills. Forecasting or predictive skills Information skills and skills in organizing and communicating information and 3) There was relationship at a moderate level with statistical significance at .05 level between teacher competency in experience and scientific process skills for early childhood. Overall, there is a moderate level of relationship with statistical significance at the .05 level, with the first correlation being knowledge (r = .563), followed by personal characteristics of early childhood teachers (r = .518) and skills (r = .486) KEYWORDS: Teacher Competency in Experiences , Science Process Skills , Early Childhood บทนา นโยบายประเทศไทย 4.0 มีเปาู หมายการขบั เคล่อื นและยกระดบั ประเทศไทยไปส่ปู ระเทศที่มีรายได้สูง ด้วยการพัฒนานวัตกรรมที่มีการนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และความคิดสร้างสรรค์มาประยุกต์ใช้ โดยมงุ่ หวงั ให้เศรษฐกจิ ไทยหลดุ พน้ กับดักประเทศท่มี ีรายไดป้ านกลาง และลดการพึ่งพาต่างประเทศ เพ่ือสร้าง ความสมดุลทางเศรษฐกิจและสังคมให้เกิดความมั่นคง มั่งค่ัง และย่ังยืน การขับเคล่ือนนโยบายดังกล่าวให้ ประสบความสาเรจ็ อยา่ งรวดเร็วนน้ั จาเป็นต้องอาศยั องคป์ ระกอบหลายด้าน องคป์ ระกอบสาคัญคือการปฏิรูป การศึกษาให้เป็นการศึกษา 4.0 กล่าวคือ กระทรวงศึกษาธิการต้องมีแนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพ่ือรองรับ การเป็นประเทศไทย 4.0 ท่ีชัดเจน โดยเร่ิมจากการศึกษาขั้นพื้นฐานต้องสร้างโรงเรียน 4.0 (พลเอกดาว์พงษ์ รัตนสวุ รรณ, 2559, ออนไลน)์ ทั้งน้ีเพอื่ ใช้การศึกษาเป็นเคร่อื งมือในการพัฒนาประชากร ซึ่งเป็นองค์ประกอบ สาคญั อกี ประการท่ีจะช่วยพฒั นาใหเ้ ป็นประเทศไทย 4.0 ได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้นประชากรในวัยเรียนทุกคนจึง หนา้ 461

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ควรได้รับการพฒั นาอยา่ งเต็มตามศกั ยภาพ เพราะการศึกษาเป็นกระบวนการท่ีช่วยให้คนได้พัฒนาในด้านต่าง ๆ ตลอดชวี ิต การพัฒนาจึงตอ้ งพัฒนาต้งั แตร่ ะดบั ปฐมวยั เพราะในช่วงน้ีเด็ก ๆ จะสามารถเรียนรู้ได้ดีและเป็น การวางรากฐานในการศึกษาในระดับต่อๆ ไปของชีวิต การพัฒนาประชากรให้มีคุณภาพน้ัน เป็นผลจากการ สง่ เสริมพัฒนาการตั้งแต่ปฐมวัย ซ่ึงถือว่าเป็นช่วงที่สาคัญ เนื่องจากเด็กช่วงปฐมวัย 0-6 ปี มีการพัฒนาสูงสุด เพราะเป็นวัยท่มี ีพัฒนาการทุกด้าน ท้ังทางร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติป๎ญญา เจริญเติบโตในอัตรา สงู สดุ โดยเฉพาะในด้านระบบประสาทและสมอง โดยเซลล์สมองในช่วงนี้จะแตกเพ่ิมเส้นใยในสมองเชื่อมโยง ระหว่างเซลล์สมองด้วยกันอย่างมากมายรวดเร็ว และจะมีความสามารถ ในการเรียนรู้ดีกว่าในวัยอ่ืนๆ (Illig. 1998 : 35-36, Aubrey. 2000 : 24, เทพกัญญา พรหมขตั ิแก้ว. 2554, เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ .2551 อ้าง ถึงใน เกษศริ ินทร์ ศรีสมั ฤทธ์ิ.2556) นอกจากนี้ การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ก็เป็นองค์ประกอบสาคัญในการ ขบั เคล่อื นประเทศไปสู่ประเทศไทย 4.0 (จิตรลดา พิศาลสุพงศ์ และสุพัตรา ศรีภูมิเพชร, 2560,น.50) เพราะ วิทยาศาสตร์ทาให้คนพัฒนาวิธีคิด ทั้งที่เป็นความคิดเหตุผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มี ความสามารถแก้ป๎ญหาอย่างเป็นระบบ วิทยาศาสตร์นับเป็นวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ การศึกษาของไทย เก่ียวกับการเรียนวิทยาศาสตร์และพัฒนาการทางด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ท้ังระดับมัธยม ประถมศึกษา และระดบั ปฐมวยั นักเรียนมีคุณภาพด้านนี้อยู่ในเกณฑ์ท่ีต้องเร่งดาเนินการพัฒนาอย่างเร่งด่วน ซ่งึ สาเหตุดว้ ยป๎จจยั หลายๆ ด้าน โดยเฉพาะในระดับปฐมวยั ซงึ่ ถอื ว่าเป็นช่วงเวลา ทส่ี าคัญท่สี ุดท่ีจะวางรากฐาน ให้กบั เดก็ (อรุ าณีย์ นรดี. 2561,เกษศริ ินทร์ ศรีสมั ฤทธิ์.2556) โดยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ที่เหมาะสมกับเดก็ ปฐมวยั ไดแ้ ก่ การสงั เกต การจาแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมข้อมูล และการสรุปผล (จตุ พิ ร ทองคาช.ู 2557) เพ่ือนาไปใช้เป็นพื้นฐานในการพัฒนากระบวนการคิดในขั้นสูงต่อไป ในการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ครูเป็นบุคคลท่ีมีความสาคัญเป็นอย่างมาก เพราะเปน็ ผทู้ ีใ่ กล้ชดิ และมบี ทบาทในการจดั การเรียนรสู้ าหรบั พัฒนาเด็ก หากครูมีคุณภาพจะส่งผลให้คุณภาพ การเรยี นรูข้ องเดก็ ดตี ามไปดว้ ย ดังนน้ั สมรรถนะของครูจึงเป็นสิ่งสาคัญอย่างย่ิงต่อการปฏิบัติงานในวิชาชีพครูให้ บรรลุผลอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและสง่ ผลตอ่ การขับเคล่ือนคณุ ภาพของครู สมรรถนะครูเปน็ หัวใจสาคัญในการประกอบอาชีพครู โดยพิจารณาจากพฤติกรรมของครูที่แสดงออก ถึงความสามารถ ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่มีต่อการพัฒนาคุณภาพของเด็ก ทั้งทางด้านร่างกาย สติป๎ญญา อารมณแ์ ละสังคม เปน็ ความสามารถในการปฏิบตั งิ านของครทู ่ีต้องอาศัยทักษะความรู้ในการจัดการ เรียนรู้ สมรรถนะของครูท่ีจาเป็นจะประกอบด้วย 1) เชี่ยวชาญในวิชาท่ีสอน 2) มีความเช่ียวชาญในเทคนิคที่ สอน 3) เปน็ แหล่งความรูแ้ ละความคิดสร้างสรรค์ 4) มีความรู้และมีความประสงค์ที่จะประเมินการสอน 5) มี ความใคร่สอน และ 6) มีความสามารถในการสร้างมนุษยสัมพันธ์กับบุคคลอ่ืน (Bothams. 2002,Medley. 1982) สาหรับเดก็ ปฐมวยั สมรรถนะครูดา้ นการจัดประสบการณ์ในการเรียนรู้ ถือว่าเป็นส่ิงท่ีสาคัญมาก เพราะ ถ้าครูขาดความรู้ความเข้าใจและขาดประสบการณ์ ไม่ให้ความสาคัญและไม่เข้าใจในธรรมชาติของเด็ก ขาด ความกระตือรือรน้ ในการปรับปรุงตนเอง และไม่ได้รับการอบรมให้มีความรู้ความเข้าใจในวิทยาการใหม่ ขาด หนา้ 462

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ความตั้งใจในการทางาน กจ็ ะไม่สามารถพฒั นาเดก็ ใหม้ ที ักษะในศตวรรษที่ 21 ได้ (สานกั งานเลขาธกิ ารคุรุสภา, 2554) โรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟูา กัลยาณวิ ัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ดาเนินกิจการทางการศึกษาปฐมวัย ตั้งแต่ พ.ศ. 2529 มี อดุ มการณ์ท่สี าคัญคือการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาให้เป็นทย่ี อมรับของชุมชน โดยมุ่งเนน้ ใหน้ กั เรียนเป็นผู้ที่ใฝุรู้ มีความพร้อมทเ่ี หมาะสมกับวยั และเป่ยี มไปด้วยคณุ ธรรม สามารถใชช้ วี ิตร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข อีกทั้ง เปน็ สมาชกิ ท่ดี ีของสงั คม โรงเรยี นเนน้ ใหผ้ ้เู รยี นเป็นศนู ยก์ ลางในการเรียนรู้ และจัดประสบการณ์เตรียมความ พรอ้ มโดยคานงึ ถึงศกั ยภาพของนักเรียนเป็นรายบุคคล ส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นมีสว่ นรว่ มในการจัดการเรียนรู้และลง มือปฏิบัติจริง ตามสภาพแวดล้อมและบรรยากาศท่ีเหมาะสม นักเรียนจะได้เรียนรู้ผ่านการเล่นอย่างมี เปาู หมาย ได้เคลอ่ื นไหว สารวจ สังเกต สืบค้น ทดลอง และเรียนรู้ร่วมกันกับกลุ่ม จัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ (โรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2562) จะเห็นได้ว่าโรงเรียนมีความพร้อมในการ จดั การเรยี นรู้ ดังน้ันสมรรถนะครูด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของโรงเรียนแห่งน้ีน่าจะเป็นแนวทางใน ศกึ ษาให้กับโรงเรียนระดับปฐมวยั อื่น ๆ ได้เป็นอย่างดี จากเหตุผลท่ีกล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาสมรรถนะครูด้านการจัดประสบการณ์ที่มีผลต่อ ทัก ษ ะ ก ร ะ บว น ก า ร ทา ง วิ ท ยา ศาส ตร์ ส าหรั บเด็ ก ปฐ มวั ย ก ร ณีศึ ก ษา โ ร ง เรี ย น อ นุ บาล แห่ ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อนามาเป็นข้อมูลเบ้ืองต้นในการพิจารณาสมรรถนะของครูด้านการจัด ประสบการณ์ ที่ทาให้เกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ท่ีดีสาหรับเด็กปฐมวัย อีกทั้งยังเป็นแนวทางใน การพัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดประสบการณ์ของเด็กปฐมวัยให้สอดคล้องกับสภาพบริบทตาม ความ ต้องการจาเป็นอยา่ งแท้จริง วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั 1. เพอื่ ศึกษาสมรรถนะครดู า้ นการจดั ประสบการณส์ าหรับเด็กปฐมวยั 2. เพื่อศกึ ษาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรบั เด็กปฐมวยั 3. เพ่ือศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะครูด้านการจัดประสบการณ์กับทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตรส์ าหรับเด็กปฐมวยั ขอบเขตของการวิจยั การวิจัยคร้ังนี้เป็นศึกษาสมรรถนะครูด้านการจัดประสบการณ์ที่มีผลต่อทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวยั กรณศี ึกษาโรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยมีขอบเขตของ การวิจัยดังนี้ หน้า463

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 1.ประชากร ประชากรทใี่ ช้ในการศกึ ษาวจิ ัยในคร้ังน้ี ได้แก่ ครูในโรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี การศกึ ษา 2562 จานวน 42 คน 2. กลุ่มตัวอยา่ ง กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยในคร้ังนี้ได้แก่ได้แก่ ครูโรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2562 จานวน 39 คน ได้มาโดยการสุ่มตวั อย่างแบบงา่ ย (Simple random sampling) 3. ตัวแปรทใี่ ชใ้ นการวิจยั ตวั แปรตน้ ไดแ้ ก่ สมรรถนะครดู า้ นการจดั ประสบการณ์ พจิ ารณา 3 ด้าน คือ 1) ความร/ู้ ความสามารถในการออกแบบแผนการจดั ประสบการณ์ 2) ทกั ษะ/ความสามารถในการจดั ประสบการณข์ องครู 3) คณุ ลกั ษณะสว่ นตัวของครปู ฐมวัย ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์สาหรบั เด็กปฐมวยั พิจารณา 6 ดา้ นคือ 1) ทกั ษะการสังเกต 2) ทกั ษะการวัด 3) ทักษะการจาแนกประเภท 4) ทักษะการจัดกระทาและสอ่ื ความหมายขอ้ มูล 5) ทกั ษะการลงความเห็นข้อมลู 6) ทกั ษะการพยากรณ์หรือการคาดคะเนคาตอบ ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รบั 1. เพ่ือทราบสมรรถนะครูด้านการจัดประสบการณ์ท่ีมีผลต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สาหรับเด็กปฐมวยั โรงเรียนอนบุ าลแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ 2. เป็นแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงสมรรถนะครูด้านการจัดประสบการณ์ที่มีผลต่อทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเดก็ ปฐมวยั ในโรงเรียนระดับปฐมวยั ทีอ่ ื่นๆ เคร่ืองมือและวธิ ีดาเนนิ การวจิ ัย เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัยในคร้ังนี้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ทผ่ี ูว้ ิจยั สร้างข้ึนเป็นแบบสอบถามความคดิ เห็นของครเู กยี่ วกบั สมรรถนะครูด้านการจัดประสบการณ์ที่ มผี ลตอ่ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ บบสอบถามแบง่ เปน็ 3 ตอน ดังตอ่ ไปน้ี ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า5 ระดับ (Rating Scale) สอบถามความ คดิ เห็นของ ผู้บรหิ ารและครู เกีย่ วกับสมรรถนะครูดา้ นการจัดประสบการณ์ แบง่ เปน็ 3 ดา้ น คอื หนา้ 464

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 1. ความรู้/ความสามารถในการออกแบบแผนการจัดประสบการณ์ 2. ทักษะ/ความสามารถในการจดั ประสบการณ์ของครู 3. คณุ ลกั ษณะส่วนตัวของครูปฐมวยั ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า5 ระดับ (Rating Scale) สอบถามความ คิดเห็นของ ผ้บู รหิ ารและครู เกี่ยวกับทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ แบ่งเป็น 6 ด้าน คือ 1. ทกั ษะการสังเกต 2. ทักษะการวัด 3. ทกั ษะการจาแนกประเภท 4. ทักษะการจดั กระทาและสื่อความหมายข้อมลู 5. ทกั ษะการลงความเหน็ ข้อมูล 6. ทักษะการพยากรณห์ รอื การคาดคะเนคาตอบ ตอนท่ี 3 เป็นแบบสอบถามปลายเปิดเกี่ยวกับสมรรถนะครูด้านการจัดประสบการณ์ที่มีผลต่อทักษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ วิธีดาเนินการวิจยั กลุ่มตวั อย่างที่ใชใ้ นการวิจัยในคร้ังน้คี ือครู โรงเรียนอนบุ าลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2562 จานวน39 คน ไดม้ าโดยการสมุ่ ตัวอยา่ งแบบงา่ ย ผู้วจิ ัยดาเนนิ การสรา้ งเครื่องมอื และเก็บรวบรวมขอ้ มลู โดยมีข้ันตอนดงั นี้ ข้ันท่ี 1 การสรา้ งแบบสอบถาม 1.ศึกษาทฤษฎี หลักการ และแนวคิดจากตารา เอกสารงานวิจัยที่เก่ียวข้องท่ีมีลักษณะ ใกล้เคียงกันเพ่ือนาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆมาใช้วิเคราะห์สมรถนะด้านการจัดประสบการณ์ และทักษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์เพ่อื นามากาหนดเปน็ กรอบและขอบเขตของเนื้อหาในการสร้างแบบสอบถาม 2.ศึกษาค้นคว้าแนวทางในการสร้างแบบสอบถาม จากตาราและเอกสารงานวิจัยต่างๆที่ เกีย่ วข้องกับการวจิ ยั แลว้ นามาปรับปรงุ ใหส้ อดคลอ้ งกบั นยิ ามตัวแปรของงานวจิ ยั 3.รวบรวมข้อมูลจากการศกึ ษาตามขอ้ 1 และ 2 และนาขอ้ มลู ที่ไดม้ าประมวลเป็นหลักในการ สร้างขอ้ คาถามในแบบสอบถามของแต่ละตอน 4.สร้างแบบสอบถาม เกี่ยวกับสมรรถนะครูด้านการจัดประสบการณ์ท่ีมีผลต่อทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยแบบสอบถามท่ีสรา้ งขึ้นจะประกอบไปดว้ ย 3 ตอน คือ ตอนท่ี 1 เปน็ แบบสอบถามเก่ียวกบั สมรรถนะครูด้านการจดั ประสบการณ์สาหรบั เดก็ ปฐมวยั ตอนท่ี 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์สาหรบั เด็กปฐมวยั ตอนท่ี 3 เปน็ แบบสอบถามปลายเปิดเกย่ี วกับสมรรถนะครูดา้ นการจัดประสบการณ์ท่ีมีผลต่อ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 465

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 5. นาข้อคาถามในแบบสอบถามที่สร้างเสร็จ เสนอผู้เชี่ยวชาญในการพิจารณาข้อคาถามใน แบบสอบถามวา่ มีความตรงตามเนอื้ หาเพยี งใดเป็นรายข้อ ตลอดจนพิจารณาสานวนภาษาทใ่ี ช้ 6. นาแบบสอบถามทไี่ ด้แก้ไขปรบั ปรงุ และผา่ นการพจิ ารณามาตรวจสอบความถกู ตอ้ งอีกครัง้ ขั้นท่ี 2 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู นาแบบสอบถามท่ไี ดจ้ ากขัน้ ท่ี 1 ไปสอบถามยังกลุม่ เปาู หมาย การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ผ้วู ิจยั นาแบบสอบถาม มาวเิ คราะหด์ ้วยโปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ าเร็จรูป โดยการพจิ ารณาดงั นี้ 1. วิเคราะห์สมรรถนะครูดา้ นการจดั ประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัย โดยใช้การหาค่าเฉลี่ย ( x ) และ คา่ ความเบ่ียงเบนมาตรฐาน(S.D) ซงึ่ ใชเ้ กณฑ์ในการพจิ ารณาของเบสท์ (Best ,1989 : 196) ดงั นี้ ค่าเฉล่ยี ระหวา่ ง 4.50 – 5.00 หมายถึง อยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลย่ี ระหวา่ ง 3.50 – 4.49 หมายถึง อยูใ่ นระดับมาก คา่ เฉล่ียระหว่าง 2.50 – 3.49 หมายถงึ อยใู่ นระดับปานกลาง คา่ เฉลี่ยระหว่าง 1.50 – 2.49 หมายถงึ อยู่ในระดับนอ้ ย คา่ เฉล่ียระหวา่ ง 1.00 – 1.49 หมายถงึ อยใู่ นระดับนอ้ ยที่สดุ 2. วเิ คราะห์ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้การหาค่าเฉล่ีย ( x ) และค่า ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D) ซ่ึงใช้เกณฑใ์ นการพิจารณาของเบสท์ (Best ,1989 : 196) ดังนี้ ค่าเฉลย่ี ระหว่าง 4.50 – 5.00 หมายถึง อย่ใู นระดบั มากทีส่ ุด คา่ เฉลยี่ ระหวา่ ง 3.50 – 4.49 หมายถึง อย่ใู นระดบั มาก ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.50 – 3.49 หมายถึง อยใู่ นระดับปานกลาง คา่ เฉลี่ยระหวา่ ง 1.50 – 2.49 หมายถงึ อยู่ในระดบั น้อย ค่าเฉลย่ี ระหวา่ ง 1.00 – 1.49 หมายถึง อยใู่ นระดับนอ้ ยที่สุด 3. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะครูด้านการจัดประสบการณ์กับทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้ค่าสหสัมพันธ์ (Correlation) ของเพียร์สัน (Pearson) กาหนดนัยสาคัญ ทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .05ซ่งึ ค่าสหสัมพันธ์ (r) มีค่าต้ังแต่ -1 ถึง 1 ค่าลบแสดงความสัมพันธ์ทางลบหรือตรงกันข้าม ค่าบวกแสดงความสัมพันธท์ างบวกหรอื ทศิ ทางเดยี วกัน ในงานวิจัยนี้ใช้เกณฑ์ในการพิจารณาความสัมพันธ์ ค่า สมั ประสิทธ์สิ หสัมพนั ธ์ (r) (Hinkle D. E., 1998,p.118)ดงั น้ี 0.90 – 1.00 มีความสมั พนั ธก์ นั ในระดบั สูงมาก 0.70 – 0.89 มคี วามสมั พันธก์ ันในระดับสงู 0.50 – 0.69 มคี วามสัมพนั ธก์ ันในระดับปานกลาง 0.30 – 0.49 มคี วามสัมพันธก์ นั ในระดับต่า 0.00 – 0.29 มคี วามสัมพนั ธ์กันในระดับต่ามาก หนา้ 466

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 4. การวิเคราะห์เชิงเนอ้ื หาสาหรับคาถามปลายเปิดเกี่ยวกับสมรรถนะครูด้านการจัดประสบการณ์ท่ีมี ผลตอ่ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรส์ าหรับเด็กปฐมวยั ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู 1. ผลการวเิ คราะห์ข้อสมรรถนะครูด้านการจัดประสบการณ์สาหรบั เดก็ ปฐมวยั แสดงดงั ตารางที่ 1 ตารางที่ 1 แสดงสมรรถนะครดู า้ นการจดั ประสบการณส์ าหรับเด็กปฐมวยั สมรรถนะครู n = 39 ระดบั ความคดิ เหน็ x S.D 1. ความรู้/ความสามารถในการออกแบบแผนการจัด 4.14 0.57 มาก ประสบการณ์ 2. ทักษะ/ความสามารถในการจดั ประสบการณ์ของครู 4.12 0.68 มาก 3. คุณลักษณะส่วนตัวของครูปฐมวยั 4.20 0.57 มาก 4.15 0.61 มาก รวม จากตางท่ี 1 สมรรถนะครูด้านการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัยโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( x =4.15,S.D = 0.61) เมือ่ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่าสมรรถนะของครูอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลาดับ ค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อยได้ดังน้ี ด้านคุณลักษณะส่วนตัวของครูปฐมวัยx( =4.15,S.D = 0.61) รองลงมาคือ ดา้ นความรู้/ความสามารถในการออกแบบแผนการจัดประสบการณ์ x( =4.14,S.D = 0.57) และด้านทักษะ/ ความสามารถในการจดั ประสบการณข์ องครู ( x =4.12,S.D = 0.68) 2. ผลการวเิ คราะห์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวยั แสดงดังตารางที่ 2 ตารางท่ี 2 แสดงทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรส์ าหรับเดก็ ปฐมวยั ทักษะ n = 39 ระดับความคิดเหน็ x S.D 1. ทักษะการสงั เกต 4.41 0.44 มาก 2. ทักษะการวัด 4.23 0.46 มาก 3. ทกั ษะการจาแนกประเภท 4.22 0.58 มาก 4. ทกั ษะการจัดกระทาและสื่อความหมายขอ้ มูล 4.13 0.55 มาก 5. ทกั ษะการลงความเห็นขอ้ มูล 4.16 0.54 มาก 6. ทกั ษะการพยากรณห์ รอื การคาดคะเนคาตอบ 4.18 0.58 มาก 4.22 0.52 มาก รวม หนา้ 467

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) จากตางท่ี 2 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัยโดยรวมอยู่ในระดั บมาก ( x =4.22,S.D = 0.52) เมื่อพิจารณาเปน็ รายดา้ นพบว่าทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัยอยู่ ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ทักษะการสังเกตx( =4.41,S.D = 0.44) ทักษะการวัด (x =4.23,S.D = 0.46) ทักษะการจาแนกประเภท (x =4.22,S.D = 0.58)ทักษะการพยากรณ์ หรือการคาดคะเนคาตอบ (x =4.18,S.D = 0.58)ทักษะการลงความเห็นข้อมูล(x =4.16,S.D = 0.54)และ ทักษะการจัดกระทาและสื่อความหมายขอ้ มูล ( x =4.13,S.D = 0.55) 3. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะครูด้านการจัดประสบการณ์กับทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเดก็ ปฐมวยั แสดงดังตารางที่ 3 ตารางท่ี 3 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะครูด้านการจัดประสบการณ์กับทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรส์ าหรบั เดก็ ปฐมวัย ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรส์ าหรบั เดก็ ปฐมวยั การจัด การ สมรรถนะครดู า้ นการ การ การวดั การ กระทาและ การลง พยากรณ์ รวม จดั ประสบการณ์ สังเกต จาแนก ส่อื ความเห็น หรอื การ ประเภท ขอ้ มลู คาดคะเน ความหมาย ขอ้ มูล คาตอบ 1. ด้านความรู้/ ความสามารถในการ .557* .529* .607* .426* .397* .528* .563* ออกแบบแผนการจัด ประสบการณ์ 2. ทักษะ/ ความสามารถในการ .404* .475* .543* .436* .330* .431* .486* จัดประสบการณ์ของ ครู 3. คุณลักษณะ .800* .497* .409* .440* .338* .391* .518* สว่ นตวั ของครูปฐมวัย รวม .692* .600* .626* .522* .425* .539* .621* *p < .05 จากตารางที่ 3 พบว่า สมรรถนะครูด้านการจัดประสบการณ์กับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สาหรบั เดก็ ปฐมวัยโดยรวมมคี วามสมั พนั ธ์กันอยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .05 อยู่ในระดับปานกลาง โดยมี หน้า468

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ค่าสมั ประสทิ ธิสหสัมพันธ์ (r) (r= .621) เมือ่ พิจารณาแตล่ ะดา้ นพบว่า ด้านท่ีมีความสัมพันธ์ทางบวกในทิศทาง เดียวกันในระดับปานกลางอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 เป็นอันดับแรก ได้แก่ ด้านความรู้/ ความสามารถในการออกแบบแผนการจัดประสบการณ์ (r= .563) รองลงมาคอื ด้านคุณลักษณะส่วนตัวของครู ปฐมวัย (r= .518) และดา้ นทักษะ/ความสามารถในการจัดประสบการณข์ องครู (r= .486) เป็นลาดบั สุดท้าย สรปุ ผลการวิจยั 1. สมรรถนะครูด้านการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัยโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้าน คณุ ลกั ษณะส่วนตัวของครูปฐมวัย อยู่ในอนั ดับแรกรองลงมา คือดา้ นความรู้ และด้านทักษะ 2.ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์สาหรบั เดก็ ปฐมวยั โดยรวมอยูใ่ นระดบั มาก โดยทกั ษะการสังเกต อยใู่ นอันดับแรก รองลงมาคือ ทกั ษะการวัด ทักษะการจาแนกประเภท ทักษะการพยากรณ์หรือการคาดคะเน คาตอบ ทักษะการลงความเหน็ ขอ้ มลู และดา้ นทกั ษะการจัดกระทาและสอื่ ความหมายข้อมลู 3. สมรรถนะครูด้านการจัดประสบการณ์กับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย โดยรวมมีความสัมพันธ์กันในระดับปานกลางอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยด้านท่ีมีความสัมพันธ์ เป็นอันดับแรก ได้แก่ ด้านความรู้ (r= .563) รองลงมาคือ ด้านคุณลักษณะส่วนตัวของครูปฐมวัย (r= .518) และด้านทักษะ (r= .486) 4. ความคิดเห็นของครู เก่ียวกับสมรรถนะครูด้านการจัดประสบการณ์ท่ีมีผลต่อทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัยน้ัน พบว่า การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในระดับปฐมวัย ครูต้องจัด ประสบการณใ์ ห้เด็กเรยี นรู้จากสงิ่ แวดล้อมรอบตวั ผ่านกจิ กรรมการเล่น การสารวจ การทดลอง เพ่ือให้เด็กเกิด การเรียนรู้ด้วยตนเอง รู้จักการคิดแก้ป๎ญหา ได้ตามสถานการณ์การใช้คาถามกระตุ้นให้เด็กเกิดความสงสัย อยากรอู้ ยากเห็น เพือ่ คน้ หาคาตอบในเรือ่ งน้ี การจัดกระบวนการกลุม่ ให้เด็กได้แลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกับเพ่ือน การวางแผนการจัดประสบการณ์ มีความสามรถในการใช้คาถามกระตุ้นความสนใจของเด็ก เปิดโอกาสให้ สนทนา ตอบคาถาม แสดงความคดิ เหน็ และลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ใช้แหล่งเรียนรู้ใกล้ตัว ธรรมชาติแวดล้อม ตัวเด็ก ใหเ้ ด็กไดส้ มั ผสั จากส่ือของจรงิ ทาให้เด็กเรียนไดด้ ีย่ิงข้นึ นอกจากนน้ั การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ดี จะส่งเสริมใด้เด็กสนใจอยากเรียนรู้ ซ่ึงหากจะให้ครูสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพแล ะเกิด ประสิทธิผลในการจัดการเรียนการสอน ครูควรศึกษาหาความรู้เพ่ิมอยู่ตลอดเวลา เพ่ือนาความรูท่ีได้มาจัด กิจกรรมสง่ เสริมทกั ษะทางวิทยาศาสตรใ์ ห้กบั เดก็ ควรมกี ารอบรมครูด้านวิทยาศาสตร์อย่างต่อเนื่อง อภิปรายผล 1. ผลการวิจยั พบว่า สมรรถนะครูดา้ นการจัดประสบการณส์ าหรบั เด็กปฐมวัยโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านคณุ ลกั ษณะสว่ นตัวของครปู ฐมวยั อยู่ในอนั ดับแรกเนอ่ื งจากคณุ ลักษณะส่วนตัว เป็นคุณลักษณะท่ีเป็น ลักษณะเฉพาะของบุคคลท่ีมีผลต่อการจัดประสบการณ์ให้บรรลุผลสาเร็จ เป็นตัวกากับพฤติกรรมในการ ดาเนินการตา่ งๆ ถา้ ครูมีความมุ่งมน่ั ตง้ั ใจ และใส่ใจในวิชาชีพ ก็จะส่งผลให้การจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะ หนา้ 469

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ในด้านต่างๆของเด็กเป็นไปได้อย่างเต็มศักยภาพ สอดคล้องกับ เกษศิรินทร์ ศรีสัมฤทธิ์ (2556) ท่ีกล่าวว่า คุณลักษณะหมายถึงคุณลักษณะที่อยู่ในตัวบุคคลซึ่งจะเป็นตัวกาหนดพฤติกรรมของบุคคลโดยบุคคลน้ันจะ แสดงออกถงึ การเหน็ คณุ ค่า เห็นประโยชน์สนใจ ใส่ใจ มุ่งมั่นที่จะสร้างสรรค์และปฏิบัติงานให้ดีที่สุด อีกทั้งยัง สอดคล้องกับงานวิจัยของ พรทิพย์ เอี่ยมประเสริฐ (2558) ท่ีศึกษาป๎จจัยที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ของครูปฐมวัยสังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเ สริมการศึกษาเอกชน กรงุ เทพมหานครครูพบว่าการพัฒนาครูปฐมวัยน้ัน กระบวนการเก่ียวกับการส่งเสริมให้ครูมีความมุ่งหวัง หรือ ความประสงค์ที่จะพัฒนาตนให้มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการปฏิบัติงานให้ดีข้ึน และมีประสบการณ์ ทางการสอนระดับการศึกษาปฐมวัยตลอดจนทัศนคติต่อการทางานเพ่ือนาความรู้ไปพัฒนาเด็กให้เกิดการ เรยี นรเู้ ตม็ ศักยภาพอันจะเป็นผลให้การทางานของครูมปี ระสิทธิภาพมากข้ึนซ่ึงเป็นคุณลักษณะเฉพาะท่ีมีอยู่ใน ตวั บุคคล ซ่งึ สอดคล้องกบผลการวิจัยของHargreaves (1992) ท่ีได้ศึกษาเก่ียวกบความเข้าใจในการพัฒนาครู ซึ่งต้องสัมพันธ์กับความต้องการพัฒนาด้วยตนเอง การตอบสนองของตัวครูวัฒนธรรมการสอน ความเป็น ลกั ษณะเฉพาะบุคคล ซ่งึ จะสง่ ผลต่อการเปลย่ี นแปลงของครู 2)ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรส์ าหรับเดก็ ปฐมวัยโดยรวมอยใู่ นระดบั มาก โดยทักษะการสังเกต อยู่ในอันดับแรก เนื่องจากในการจัดการเรียนรู้ในระดับปฐมวัย การเรียนรู้ของเด็กต้องเกิดจากการเห็นอย่าง เปน็ รปู ธรรม การสัมผัส การได้หยบิ จบั และทดลองด้วยตนเองตามรูปแบบอยา่ งมีข้ันตอนและเปูาหมาย เด็กจะ เรยี นรู้อยา่ งเขา้ ใจจากการ หยบิ จับ สัมผัส ซึ่งจากประสบการณ์ท่ีเด็กได้รับน้ีจะทาให้เด็กพัฒนาตนเองได้ตาม วยั และเกิดการเรยี นรจู้ ากการสังเกต สอดคล้องกับ Brunton และ Thornton (2010 อ้างถึงใน จุติพร ทองคา ช.ู 2557) ท่ีกลา่ วว่าทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง กลุ่มของทักษะด้านสติป๎ญญาท่ีเป็นหนทาง ในการสืบค้นของมนษุ ยเ์ พือ่ ใหไ้ ดข้ ้อมูลเกี่ยวกับโลกรอบตวั ซง่ึ การสารวจน้ันจะเกี่ยวข้องกับทักษะกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์ดา้ นการสงั เกต และสอดคลอ้ งกบั พิมพนั ธ์ เดชะคุปต์ (2545) ที่กล่าวว่า ทักษะการสังเกตเป็น การใช้สัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่ง หรืออย่างอย่างรวมกัน ได้แก่ หู ตา จมูก ลิ้น และการสัมผัส เข้าไปสัมผัส โดยตรงกบั วัตถุ หรือปรากฏการณ์ต่างๆ โดยมีจดุ ประสงค์ที่จะหาขอ้ มลู ซึ่งเปน็ รายละเอียดของส่ิงน้ัน ทั้งนี้ไม่ใช้ ประสบการณ์เดิมและความคิดเห็นของผู้สังเกตในการเสนอข้อมูล อีกทั้งยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ จุติพร ทองคาชู (2557) ที่ศึกษาผลของการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์โดยใช้ศิลปะแบบบูรณาการที่มีต่อทักษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ของเด็กอนบุ าล พบว่า ทกั ษะการสังเกตมีคา่ เฉลี่ยนของคะแนนสงู ท่ีสุด 3) สมรรถนะครูด้านการจัดประสบการณ์กับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย โดยรวมมีความสัมพันธ์กันในระดับปานกลางอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยด้านที่มีความสัมพันธ์ เป็นอันดับแรก ได้แก่ ด้านความรู้ เน่ืองจากในการพัฒนาทักษะต่างๆของเด็กปฐมวัยให้มีประสิทธิภาพ ครู ปฐมวัยตอ้ งมคี วามรเู้ กีย่ วกบั หลกั สูตร เนอ้ื หา และกระบวนการออกแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อใช้ในการพัฒนา ผเู้ รียนให้เกดิ ทกั ษะตา่ งๆอย่างแท้จรงิ สอดคลอ้ งกับสานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา (2550) ที่กล่าวว่า หาก ครขู าดความรู้ ความเขา้ ใจในเร่ืองจติ วิทยาและการเรยี นรขู้ องเด็กปฐมวยั จะส่งผลให้มีป๎ญหาเกี่ยวกับสมรรถนะ หน้า470

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ดา้ นการจัดการเรียนรู้ ครูจะจัดประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยวิธีการท่องจา ไม่ส่งเสริมให้เด็กได้ใช้ความคิด อีก ท้ังยังสอดคล้องกับ สานักงานเลขาธิการคุรุสภา(2554) ที่กล่าวว่า ครูปฐมวัยมีป๎ญหามาตรฐานวิชาชีพครู ปฐมวัยอย่ใู นระดับมาก เน่ืองจากครขู าดความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์ ไม่ให้ความสาคัญและไม่เข้าใจใน ธรรมชาติของเด็ก และสอดคล้องกับงานวิจัยของ นันทนิตย์ อริยสัจ (2555) ) ที่พบว่า ครูขาดความรู้ความ เข้าใจเกยี่ วกบั เก่ียวหลักสูตร สอนไม่ตรงหลกั สูตร สง่ ผลให้ผูเ้ รียนไม่ได้รับการพัฒนาเท่าท่ีควร 4) จากผลความคดิ เห็นของครูทีก่ ล่าวว่า ครูตอ้ งพฒั นาหาความรู้เพิ่มท้ังด้วยตนเองและการเข้ารับการ อบรมน้ัน สอดคล้องกับ แนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ของครูปฐมวัยในศตวรรษท่ี 21 ของ กันตวรรณ มสี มสาร (2560) ทีไ่ ดก้ ลา่ วไว้ว่า หนว่ ยงานต้นสงั กัด ควรส่งเสริมการให้โอกาสอย่างเสมอภาค ในการพัฒนาครู จัดอบรม สนับสนุน การพัฒนาระบบสารสนเทศและสร้างคลังข้อมูล ส่งเสริมให้มีการถอด บทเรียนครูที่ประสบความสาเร็จ และประสานความร่วมมือจากทุกภาคส่วนและผู้บริหารสถานศึกษาควร กระตุน้ และสง่ เสรมิ ใหค้ รูได้พฒั นาตนเองอย่างตอ่ เน่ือง จัดระบบครูพ่เี ล้ยี ง จัดระบบการฝึกอบรมพัฒนาในงาน จัดระบบนิเทศในรูปแบบต่างๆ ทั้งจัดคลินิกครูและจัดระบบเพ่ือนช่วยเพื่อน จัดตั้งชุมชนแห่งการเรียนรู้ จดั ระบบการกากับติดตาม และประสานความรว่ มมอื ข้อเสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวิจยั ไปใช้ 1. ผู้บริหารควรกระตุ้นและส่งเสริมให้ครูปฐมวัยเกิดความต้องการท่ีจะพัฒนาสมรรถนะด้วยตนเอง อยา่ งต่อเน่อื งเพ่ือการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน 2. ควรพฒั นาสมรรถนะครูดา้ นการจัดประสบการณ์ ในด้านความรู้ เพ่ือนามาใช้ในกระบวนการจัดการ เรียนร้ตู อ่ ไป ข้อเสนอแนะในการวจิ ยั คร้ังตอ่ ไป 1. ควรศกึ ษาป๎จจยั ทม่ี ีอิทธิพลในการพฒั นาสมรรถนะครดู ้านการจัดประสบการณ์ 2. ควรศกึ ษาแนวทางการพฒั นาสมรรถนะครูดา้ นการจัดประสบการณ์ในสถานศึกษาอน่ื ๆ เอกสารอา้ งอิง กนั ตวรรณ มีสมสาร. (2560). แนวทางการพฒั นาสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ของครูปฐมวัยในศตวรรษที่ 21. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทศั น์ (มนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร)์ . ปีท7่ี ฉบับที่2 พฤษภาคม- สิงหาคม 2560. เกษศิรินทร์ ศรีสัมฤทธ์ิ. (2556). รูปแบบการพัฒนาวิชาชีพเพ่ือเสริมสร้างสมรรถภาพครูด้านการจัด ประสบการณ์ท่ีส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ของเด็ก หน้า471

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ปฐมวัย.วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน ภาควชิา หลกั สตู รและวิธีสอน.บณั ฑติ วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร. เกรียงศักด์ิ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2551). พัฒนาเด็กปฐมวัย ต้องใช้ความร่วมมือ.สยามรัฐรายวัน ,13 (กุมภาพันธ์ 2551) : 12. โรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.(2562). คู่มือนักเรียน ผู้ปกครอง โรงเรียนอนุบาลแห่ง มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์.กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ จิตรลดา พิศาลสุพงศ์ และสุพัตรา ศรภี ูมิเพชร.2560. การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม. วารสารเศรษฐกจิ และสงั คม.ปีท5่ี 4 ฉบับท่1ี (มกราคม-มนี าคม2560). หนา้ 50-54. จุตพิ ร ทองคาชู. (2557). ผลของการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์โดยใช้ศิลปะแบบบูรณาการที่มีต่อทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กอนุบาล. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ภาควิชาหลักสูตรและการสอน. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย. ดาว์พงษ์ รัตนสวุ รรณ. 2559. ประเทศไทยกบั การก้าวไกลทางการศกึ ษา. บรรยายพเิ ศษในการประชมุ วชิ าการ เครือขา่ ยสถาบันอดุ มศึกษาเขตภาคกลาง เพ่ือการพัฒนาบณั ฑติ อดุ มศึกษา ประจาปี 2559 วันศุกร์ ท่ี 19 สิงหาคม 2559 ณ หอ้ งประชมุ มงกฎุ เวช วทิ ยาลยั แพทยศาสตร์พระมงกฎุ เกลา้ . สืบค้นจาก https://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=46156&Key=news_act. นนั ทนิตย์ อริยสัจ. (2555). การศึกษาสภาพและปญั หาการบริหารหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวัยของโรงเรียน เอกชนในจงั หวัดจันทบุร.ี วทิ ยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย ราชภฎั ราไพพรรณี. พรทพิ ย์ เอีย่ มประเสริฐ .(2558). การศึกษาปจั จัยท่สี ง่ ผลต่อสมรรถนะในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของ ครู ปฐมวัยสังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กรุงเทพมหานคร . วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ. พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2545). พฤติกรรมการสอนวิทยาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว). เทพกัญญา พรหมขัติแก้ว. (2554). “ธรรมชาติการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยกับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโล” นิตยสาร สสวท. ปที ่ี 40 ฉบับที่ 174 พฤศจกิ ายน-ธนั วาคม. สานักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2554). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่อง มาตรฐานวิชาชีพครูการศึกษา ปฐมวัย. กรุงเทพฯ: สานกั งานเลขาธิการครุ ุสภา. หน้า472

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) สานักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2554). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่อง มาตรฐานวิชาชีพครูการศึกษา ปฐมวัย. กรงุ เทพฯ: ส านักงานเลขาธกิ ารคุรุสภา. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา .(2550). นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาเด็กปฐมวัย (0-5ปี) ระยะ ยาว พ.ศ. 2550-2559.กรงุ เทพมหานคร: หา้ งหนุ้ ส่วนจากัด วี.ท.ี ซ.ี คอมมวิ นเิ คชน่ั . อรุ าณยี ์ นรด.ี (2561). การพฒั นาทักษะพ้ืนฐานทางวิทยาศาสตร์ของเดก็ ปฐมวยั โดยการจัดประสบการณ์ตามแนวการ สอนแบบมอนเตสซอร่ี. การประชุมวชิ าการและนาเสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6. หนา้ 592-602. Aubrey,C. and others. (2000). Early Childhood Educational Research. London : Routledge Falmer Press. Best,JohnbW. (1989). Research in Education. Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice – Hall Inc. Bothams, J. F. (2002, March). What really matters in operations management learning and teaching. Proceeding of the Third International Conference of Network Learning. Sheffield University. pp. 320-328. Brunton, P.& Thornton, L. (2010). Science in the early years : building firm foundations from birth to five. Los Angeles : Sage. Hinkle, D. E.,William,W. and Stephen G.J. (1998). Applied Statistics for the Behavior Sciences. 4thed.New York: Houghton Mifflin. Hargreaves, Andy. (1992). A Critical Perspective on Teacher Participation in UrbanSchools: A Critique: Interdisciplinary Urban Education Program Department of Educational Leadership and Policy Studies College of Education Temple University. New York: The Free Press. Illig,D.C.(1998). Birth to Kindergarten : the Importance of the Early Years. California Research Bureau: California State Library. Medley,D.M.(1982).Teacher Effectiveness. Encyclopedia of Educational Research. 5th Ed. New York: The Free Press. หนา้ 473

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) คณุ ธรรมจริยธรรมค่านิยมและลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องนกั เรยี นระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพปที ่ี 1-3 วิทยาลัย เทคโนโลยยี โสธรอนิ เตอรเ์ นชน่ั แนล Morality, Ethics and desirable characteristics of students vocational certificate in 1st,2nd,3rd of Technology Yasothon international college ศักดิ์ดา วงษ์โสภา1อาจารย์ดร.ภควรรณ ลุนสาโรง2, รองศาสตราจารย์ (พเิ ศษ) ดร.กฤษฎา วฒั นศักด์ิ3 1 นกั ศึกษาหลกั สูตรศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตรแ์ ละศิลปศาสตร์ วทิ ยาลยั นครราชสีมา 2,3 อาจารย์ประจาหลกั สูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์และศลิ ปศาสตร์ วทิ ยาลัยนครราชสมี า บทคดั ยอ่ การศึกษาครัง้ นี้มีวัตถุประสงค์เพือ่ ศกึ ษาและเปรยี บเทียบคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมและลักษณะอนั พึง ประสงค์ของนกั เรยี นระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ปที ี่ 1-3 วิทยาลัยเทคโนโลยยี โสธรอนิ เตอร์เนช่ันแนลจาแนกตามเพศ และระดบั ช้ัน กลุ่มตวั อย่างไดแ้ ก่นักเรียนระดับประกาศนยี บตั รวิชาชพี ปที ่ี 1-3 วิทยาลยั เทคโนโลยยี โสธรอินเตอรเ์ นชั่น แนลจานวน 175 คนเคร่ืองมอื ทใี่ ช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณคา่ 5 ระดบั มีคา่ ความเช่ือม่ันทงั้ ฉบบั 0.98 สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ได้แก่คา่ เฉล่ยี ( X ) ความเบีย่ งเบนมาตรฐาน (SD) สถติ ิทีใ่ ช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือ สถติ ทิ ี (t-test) และการวเิ คราะหค์ วามแปรปรวนแบบทางเดียว (One-way ANOVA) ผลการศกึ ษา 1. คณุ ธรรมจริยธรรมค่านยิ มและลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของนักเรียนระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีท่ี 1-3 วิทยาลยั เทคโนโลยยี โสธรอนิ เตอรเ์ นชัน่ แนลโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดบั มาก 2. เปรยี บเทียบคณุ ธรรมจริยธรรมค่านิยมและลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของนักเรียนระดบั ประกาศนยี บัตร วิชาชีพปีท่ี 1-3 วิทยาลยั เทคโนโลยียโสธรอินเตอร์เนช่นั แนล จาแนกตามเพศโดยรวมไม่แตกต่างกันอย่างและระดับช้นั โดยรวมแตกต่างกัน และรายด้าน ไดแ้ ก่ ดา้ นความรับผิดชอบ ด้านความซ่ือสัตยส์ จุ รติ ด้านการประหยดั และดา้ นจติ สาธารณะ แตกตา่ งกนั อย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ่รี ะดับ .05 คาสาคัญ : คุณธรรมจริยธรรม, ค่านยิ ม, ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ หนา้ 474

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ABSTRACT This research aimed to study,and compare morality, Ethics and desirable characteristics of students vocational certificate in 1st,2nd,3rd of Technology Yasothon international college. and as classified by gender and study level. The sampling were 175 of students vocational certificate in 1st,2nd,3rd of Technology Yasothon international college. The research instrument used in this study was questionnaire with rating scales, the content validity of the questionnaire was evaluated by 5 experts, and had high internal reliability, with Cronbach's alpha as 0.98The descriptive statistics were percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, and One-Way Analysis of Variance. .The results finding follows: 1. Morality, Ethics and desirable characteristics of students vocational certificate in 1st,2nd,3rd of Technology Yasothon international college, as a whole and as an individual, were found at a high level. 2. The result of comparison Morality, Ethics and desirable characteristics of students vocational certificate in 1st,2nd,3rd of Technology Yasothon international college, classified by agenda overall were not significantly different (p<.05) , and position was found to be overall and in each aspect different at a statistically significant level of .05, Considered in each aspect, there were four aspects: responsibility, honesty, Economics, Public Mindwere significantly different (p<.05). KEYWORDS: Morality, Ethics , Desirable Characteristics บทนา ประเทศไทยเปน็ ประเทศท่ีกาลังพฒั นาซึ่งการพฒั นาประเทศจะเป็นไปอย่างมีคุณภาพเพียงใดน้ันขึ้นอยู่กับ คุณภาพของประชาชนดังพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราชรัชกาลใน ปจ๎ จบุ นั ความวา่ “ประเทศชาตจิ ะเจริญหรอื เส่อื มลงน้ันขึ้นอยู่กับการศึกษาของประชาชนแต่ละคนเป็นสาคัญ” ดังนั้น การใช้การศึกษาแก่เยาวชนจึงเป็นส่ิงสาคัญเพราะเยาวชนจะเป็นกาลังสาคัญของประเทศเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ซ่ึง กระทรวงศึกษาธิการ (2542 :5) กาหนดการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ทั้ง ร่างกายจิตใจป๎ดป๎ญญาความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดารงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้ หน้า475

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) อย่างมีความสขุ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติฉบับท่ี 10 ได้อัญเชิญแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระ ราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาเป็นปรัชญานาทางถึวแนวทางการดารงชีวิตอยู่และปฏิบัติตนของ ประชาชนในทุกระดบั ตงั้ แตร่ ะดับครอบครัว ถงึ ระดับรฐั ให้มกี ารเสริมสรา้ งช้นั ฐานจิตใจของคนในชาติทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรมความซ่ือสัตย์สุจริตเเละให้มี ความรอบรู้อย่างเหมาะสมดาเนินชีวิตด้วยความอดทนความเพียรมีสติป๎ญญาและความรอบคอบ เพ่ือให้สมดุลและ พรอ้ มต่อการรองรบั การเปลีย่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ เยาวชนถ้าหากได้รับการอบรมบ่มนิสัยปลูกฝ๎งให้มีคุณธรรมจริยธรรมและมีจิตสานึกท่ีดีงามและอยู่ใน ส่ิงแวดล้อมท่ีดีงามก็เป็นมงคลอันประเสริฐอุดมอย่างดีที่สุดดังน้ันส่ิงแวดล้อมจึงเป็นสิ่งสาคัญสามารถเปลี่ยนนิสัย พฤตกิ รรมของคนไดผ้ ้ทู ่มี จี ิตสานึกทด่ี งี ามดารงรักษาระดับความมีเชาวน์ป๎ญญาทางจริยธรรมของตนเองไว้สูงส่งเสมอ ย่อมจะประสบความสาเรจ็ ในชวี ติ เป็นอย่างสูง มีความสุขกายสบายจิตได้รับการยกย่องว่าเป็นพลเมืองดีของประเทศ เม่อื เรียนระดบั สูงขึ้นไป ก็เป็นบคุ คลที่มี“ความรคู้ ุณธรรม” เเละกลายเป็นกาลังสาคญั ของประเทศต่อไป จริยธรรมเปน็ เร่ืองสาคญั ยงิ่ ในยคุ ปจ๎ จบุ ัน โดยเฉพาะในสังคมที่มีระบบการแข่งขันกันสูง เยาวชนของชาติ เคยชนิ กับระบบการแขง่ ขนั กนั ตงั้ แต่ระบบอนบุ าลถึงระดับมหาวิทยาลัยการเห็นเเก่ตัวเกิดขึ้นได้อย่างกว้างขวางการที่ จะพัฒนาคนในภาวะเศรษฐกิจตกต่า กิจตกต่าจึงเป็นการยากที่จะให้ทุกคนมองเห็นจริยธรรมเพราะต้อง หาทางให ตนเองอย่รู อด และอยู่ในสังคมได้อย่างมีหน้ามีตาการที่จะแก้ไขป๎ญหาเหล่าน้ีได้จึงจาเป็นต้องเน้นให้มีคนมีจริยธรรม ควบคกู่ นั ไปกบั การศึกษาในส่วนอ่นื ๆ ด้วยเพราะจรยิ ธรรมเป็นส่ิงสาคัญที่จะนามาซึ่งความเจริญก้าวหน้าในสังคมและ ของประเทศชาติไพฑรู ย์ สนิ ลารตั น์ (2549 : 1) การพัฒนาจริยธรรมหรือการปลูกฝ๎งคุณธรรมจริยธรรมเป็นกระบวนการทางการศึ กษาสร้างข้ึนครอบครัว สถานศึกษาสถาบันการศาสนาและส่อื มวลชนต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ สถาบันการศกึ ษา เพราะจริยธรรมมิไดเ้ กิดข้ึนใน ตวั บคุ คลโดยธรรมชาติแต่เกดิ จากการอบรมส่งั สอนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 หมวดที่ 4 มาตรการที่ 23 ตอนหนึ่งมีความว่า การจัดการศึกษาท้ังการศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบการศึกษาตาม อัธยาศัยต้องเน้นความสาคัญท้ังความรู้คุณธรรมและในมาตรา 24 เร่ืองการจัดการเรียนการสอนให้ปลูกฝ๎งคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชาดังนั้นสถานศึกษาจึงเป็นสถานท่ีจะต้องปลูกฝ๎งให้เ ด็กมี จริยธรรมเพราะล้าประชาชนของประกาศใดส่วนใหญ่มีวินัยประเทศน้ันก็มักจะมีความสงบการท่ีจะสร้างคนไทยให้มี วนิ ยั ทีจ่ ะให้ผลสัมฤทธใ์ิ นระยะยาวและทาได้ง่ายน่าจะเร่มิ สรา้ งทเ่ี ยาวชน ในการจัดการศึกษาระดับอาชีวศึกษามีเปูาหมายเพื่อผลิตนักเรียนเข้าสู่ตลาดแรงงานและสอดคล้ องกับ นโยบายของรัฐบาลทีต่ ้องการส่งเสรมิ ให้นกั เรียนทส่ี าเรจ็ การศึกษาจากระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐานในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน้ เรยี นตอ่ ในสายอาชีพให้มากขึ้นสถานศกึ ษาจงึ จาเปน็ ต้องพัฒนานักเรียนให้มีคุณสมบัติเหมาะสมตรงตามความ ต้องการของสถานประกอบการจากข้อมูลท่ีได้รับมาจากแบบสารวจความต้องการของสถานประกอบการท่ีเข้าร่วม โครงการทวภิ าคกี ับวิทยาลยั เทคโนโลยยี โสธรอินเตอร์เนชั่นแนล พบว่าสถานประกอบการต้องการบุคคลท่ีมีคุณธรรม และมีความรับผิดชอบ หนา้ 476

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ป๎ญหาที่ได้พบทางด้านคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพวิทยาลัยเทคโนโลยี ยโสธรอินเตอร์เนชั่นแนล คือนักเรียนพูดจาไม่ไพเราะทะเลาะวิวาทแต่งกายไม่เรียบร้อยไม่มีสัมมาคารวะไม่รู้จัก กาลเทศะไม่นาขยะไปท้ิงลงถังขยะมาสายไม่ส่งงานตามท่ีครูผู้สอนกาหนดผู้วิจัยในฐานะเป็นครูผู้สอนและได้รับ มอบหมายใหท้ าหนา้ ที่หัวหน้าฝุายวิชาการ ซง่ึ มีหนา้ ทห่ี ลกั ในการดูแลเร่ืองการเรียนของนักเรียนและจากผลการเรียน ของนักเรียนพบวา่ ผลการเรียนและพฤติกรรมของนักเรียนมีความสอดคล้องกันคือนักเรียนทีมีพฤติกรรมดีมารยาทดี มีความรับผิดชอบจะมีผลการเรยี นอยู่ในระดบั ดีถึงดมี ากแต่นักเรยี นทมี่ ีพฤติกรรมไม่เหมาะสม กิรยิ าไม่เรียบร้อยมักจะ มีผลการเรียนอยู่ในระดับแย่ถึงพอใช้ ผู้ศึกษา จึงได้สนใจศึกษาเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและลักษณะอันพึง ประสงค์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีท่ี1-3 วิทยาลัยเทคโนโลยียโสธรอินเตอร์เนชั่นแนล เพ่ือเป็น แนวทางในการพฒั นาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมให้ผเู้ รยี นเป็นคนทมี่ ีคุณภาพในสงั คมตอ่ ไป วตั ถุประสงค์ของการศกึ ษา 1. เพ่อื ศึกษาระดบั คุณธรรมจริยธรรมค่านยิ มและลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องนักเรยี นระดับ ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพปที ี่ 1-3 วทิ ยาลัยเทคโนโลยยี โสธรอนิ เตอรเ์ นช่นั แนล 2. เพื่อเปรยี บเทยี บระดับคุณธรรมจริยธรรมคา่ นิยมและลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องนักเรยี น ระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชีพปีท่ี 1-3 วิทยาลยั เทคโนโลยียโสธรอนิ เตอร์เนชน่ั แนล จาแนกตามเพศเเละระดับชั้น กรอบแนวคดิ ในการววิ ิจัย การศกึ ษาคร้ังนี้เป็นการศึกษาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มและลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ของนกั เรยี นระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพปีท่ี 1-3 วิทยาลัยเทคโนโลยียโสธรอินเตอร์เนชั่นแนลในองค์ประกอบ 6 ด้านโดยผู้ ศกึ ษากาหนดเพศและระดับช้ันนักเรียนเป็นตวั แปรอสิ ระ ดงั มกี รอบแนวคิดในการศึกษาดังภาพที่ 1 ตวั แปรอสิ ระ ตวั แปรตาม 1. เพศ คุณธรรมจรยิ ธรรมค่านิยมเเละ 1.1 ชาย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.2 หญงิ 1. ความมวี นิ ัย 2. ความรบั ผิดชอบ 2. ระดับช้ัน 3. ความซ่อื สตั ย์สจุ ริต 2.1 ระดับชน้ั ประกาศนียบตั รวิชาชีพปีที่ 1 4. การประหยดั 2.2 ระดบั ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีท่ี 2 5. มารยาทไทย 2.3 ระดบั ชั้นประกาศนยี บตั รวชิ าชีพปที ี่ 3 6. จิตสาธารณะ ภาพประกอบ1 กรอบแนวคิดในการวิจยั หน้า477

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) วธิ ีดาเนนิ การวจิ ยั การศึกษาเร่อื งคุณธรรมจริยธรรมค่านยิ มและลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 วทิ ยาลัยเทคโนโลยยี โสธรอนิ เตอรเ์ นช่นั แนล ซึง่ ผูศ้ กึ ษาไดด้ าเนนิ การไปตามลาดบั ขั้นตอนดงั ตอ่ ไปนี้ ขอบเขตของการวิจัย ประชากร ประชากรทใี่ ชใ้ นการศึกษาคร้ังนี้ได้แก่ นักเรียนประกาศนยี บตั รวิชาชพี ปที ี่ 1-3 วทิ ยาลยั เทคโนโลยยี โสธร อนิ เตอรเ์ นชั่นแนล จานวน 306 คน กลุ่มตวั อยา่ ง กลุ่มตัวอย่างทใี่ ช้ในการศึกษาคร้ังน้ีได้แก่นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพปีท่ี 1 วิทยาลัยเทคโนโลยียโสธร อนิ เตอรเ์ นชันแนล จานวน 175 คนโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) จาแนกตามจะดับชั้น และจากน้นั ดาเนนิ การสมุ่ อย่างงา่ ย เพ่ือให้ได้กล่มุ ตัวอย่างตามตารางกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างเครจซ่ี และมอร์ แกน (Krejcie & Morgan, 1970 p. 608) เครื่องมอื ท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เคร่ืองมือทีใ่ ช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เปน็ แบบสอบถามท่ผี ูศ้ ึกษาสร้างขน้ึ แบง่ ออกเป็น 2 ตอน ดังน้ี ตอนท่ี 1 แบบสอบถามเกย่ี วกบั สถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถามมลี กั ษณะเปน็ สารวจ รายการ (Check-List) เพื่อทราบถึงตวั แปรต้นเก่ยี วกับเพศและระดบั ช้ัน ตอนท่ี 2 แบบสอบถามเกี่ยวกบั คุณธรรมจรยิ ธรรมค่านยิ มและลกั ษณะอันพึงประสงค์ ของนกั เรียนระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ปีที่ 1-3 วทิ ยาลัยเทคโนโลยียโสธรอนิ เตอรเ์ นช่นั แนล ในองค์ประกอบ 6ด้าน ได้แก่ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์สุจริต การประหยัดมรรยาทไทย และจิตสาธาร ณะ ลักษณะ แบบสอบถามเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (Bbating Scale) แบ่งเป็น 5 ระดับ โดยเรียงจากระดับมาก ที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุดตรวจให้คะแนนเป็นรายข้อตามที่กาหนด โดยมีหลักเกณฑ์ในการให้ระดับ คะแนน การหาคุณภาพของเครอ่ื งมอื การหาคณุ ภาพของแบบสอบถามในการศึกษาแยกออกเปน็ การหาความเทย่ี งตรง(Validity) การทดสอบค่า อานาจจาแนก (Discrimination) และคา่ ความเช่อื มัน่ (Reliability)ตามลาดบั ขัน้ ตอนดงั ตอ่ ไปนี้ 1. การหาความเทีย่ งตรงของเเบบสอบถามผูว้ ิจยั ไดน้ าแบบสอบถามที่สรา้ งข้นึ ไปดาเนินการดังนี้ 1.1 เสนอแบบสอบถามท่สี ร้างขน้ึ ต่อประธานคณะกรรมการและกรรมการควบคุมงานนิพนธ์ตรวจแก้ไป เพือ่ ความถูกต้องสมบูรณ์ของแบบสอบถาม หน้า478

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 1.2 นาแบบสอบถามท่ีผ่านการแก้ไขและปรับปรุงแล้วนาเสนอผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 3 ท่าน เพื่อ พิจารณาตรวจความถูกต้องและครอบคลุมของเนื้อหาตลอดจนความชัดเจนและความเหมาะสมในการใช้ภาษา นา แบบสอบถามมาปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิและนาเสนอต่อประธานและกรรมการควบคุมงาน สารนิพนธเ์ พื่อพจิ ารณาปรบั ปรุงเป็นขน้ั ตอนสุดท้าย 2. การหาค่าอานาจจาแนก (Discriminaiton) และค่าความเชื่อมั่น (Reliability) การหาค่าอานาจจาแนก แลเความเชื่อมัน่ ผศู้ กึ ษาคาเนนิ การดงั ต่อไปนี้ 2.1 นาแบบสอบถามที่ปรับปรุงแล้วไปทดลองใช้ (Try Out) กับนักเรียนระดับช้ันประกาศนียบัตร วิชาชีพปีที่ 1-3 ในวิทยาลัยเทคนิคยโสธร จานวน 30 คนแล้วนามาหาค่าอานาจจาแนกรายข้อ (Discrimination) ระหว่างคะแนนรายข้อ กับคะแนนรวม (Item-Total Correlation) โดยใช้วิธีหาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ ของเพียร์สัน (นริ ุตตด์ าร,ี 2552 : 44) 2.2 นาแบบสอบถามจากข้อ 2.1 ที่หาค่าอานาจจาแนกได้แล้วมาหาค่าความเชื่อม่ันของแบบสอบถาม (Reliability) โดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ตามวิธีของครอนบาค (Cronbach, 1990 : 202- 204) ผลการหาคา่ ความเช่อื มั่นของแบบสอบถาม 3. นน้ั แบบสอบถามท่ีผา่ นการทดสอบความเชื่อมน่ั แล้วไปเกบ็ ขอ้ มูลกบั กลุ่มตัวอยา่ งต่อไป สถิติท่ีใช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล ในการศกึ ษาครัง้ นไี้ ด้ดาเนนิ การวิเคราะห์ข้อมลู ด้วยโปรแกรมสาเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์โดยเลือกเฉพาะวิธี วเิ คราะหข์ ้อมลู ทีส่ อดคลอ้ งกับจุดมุ่งหมายในการศึกษาค้นคว้าและการทดสอบสมมตฐิ านดงั นี้ 1. ศึกษาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมค่านิยมและลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปี ที่ 1-3 วิทยาลัยเทคโนโลยียโสธรอินเตอร์เนช่ันแนลโดยใช้สถิติพ้ืนฐานได้แก่ค่าเฉล่ีย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation) 2. การเปรยี บเทยี บคณุ ธรรมจริยธรรมค่านยิ มและลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วชิ าชพี ปีท่ี 1-3 วิทยาลัยเทคโนโลยยี โสธรอินเตอร์เนช่ันแนลจาแนกตามเพศโดยใชก้ ารทดสอบคา่ ที (t-test) 3. การเปรยี บเทยี บคณุ ธรรมจรยิ ธรรมค่านิยมและลกั ษณะอันพึงประสงค์ของนกั เรยี นระดับประกาศนียบัตร วชิ าชีพปีท่ี 1-3 วทิ ยาลยั เทคโนโลยียโสธรอนิ เตอร์เนชน่ั แนลจาแนกตามระดับชั้นโดยการวเิ คราะห์ความแปรปรวนทาง เดยี ว (One-Way ANOVA) และหากพบความแตกตา่ งผูศ้ ึกษาจะดาเนินการทดสอบรายคู่โดยใชว้ ธิ ีของ LSD หนา้ 479

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) สรปุ ผลการวิจยั ผลการวิเคราะห์ข้อมูลในการศกึ ษาค้นควา้ ครั้งนผ้ี ้วู ิจัยสรุปไดด้ งั ตอ่ ไปน้ี 1. คณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และลักษณะอนั พึงประสงค์ของนกั เรียนระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพปีที่ 1- 3 วิทยาลัยเทคโนโลยียโสธรอินเตอร์เนชั่นแนลโดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมากเม่ือพิจารณาแต่ละด้าน สรุปผลได้ ดังนี้ 1.1 ด้านความมีวินัยพบว่าคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมและลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนระดับ ประกาศนยี บตั รวิชาชีพปที ี่ 1-3 วิทยาลยั เทคโนโลยยี โสธรอนิ เตอรเ์ นช่ันแนลโดยรวมอยู่ในระดับมากเม่ือพิจารณาราย ข้อแล้วเรียงอันดับจากมากไปน้อย 3 อันดับแรกได้แก่นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆของสถานศึกษานักเรียนมาถึง สถานศึกษากอ่ นเข้าเเถวและนักเรียนรกั ษาและไมท่ าลายสาธารณสมบตั ขิ องสถานศกึ ษาตลอดจนสิ่งแวดลอ้ ม 1.2 ดา้ นความรับผิดชอบพบวา่ คุณธรรมจรยิ ธรรมคา่ นิยมและลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนระดับ ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ปที ี่ 1-3 วทิ ยาลยั เทคโนโลยยี โสธรอนิ เตอรเ์ นชน่ั แนล โดยรวมอยูใ่ นระดับมากเมื่อพิจารณาราย ขอ้ เเล้วเรียงอันดับจากมากไปนอ้ ย 3 อนั ดบั แรกไดแ้ กน่ ักเรยี นรบั รแู้ ละรบั ผดิ ชอบในการกระทาของตนด้วยความเต็มใจ พรอ้ มที่จะปรบั ปรุงเพอ่ื ใหด้ ขี ึน้ นกั เรียนปฏบิ ัตงิ านตามหน้าทขี่ องตนเองและนักเรียนปฏบิ ัตงิ านดว้ ยความตัง้ ใจ 1.3 ด้านความซื่อสัตย์สุจริตพบว่าคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมและลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีท่ี 1-3 วิทยาลัยเทคโนโลยียโสธรอินเตอร์เนชั่นแนลโดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อ พจิ ารณารายข้อแลว้ เรยี งอันดบั จากมากไปน้อย 3 อนั ดับแรกได้เเก่นักเรียนไม่เคยนาผลงานของเพื่อนมาแอบอ้างเป็น ของตนเองเม่ือนกั เรยี นกระทาผดิ นกั เรียนมคี วามละอายและเกรงกลัวต่อการกระทานั้นและนกั เรยี นเก็บของได้จะนาส่ง ครูเพอ่ื ประกาศหาเจ้าของทุกครง้ั 1.4 ด้านการประหยัดพบว่าคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมและลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีท่ี 1-3 วิทยาลัยเทคโนโลยียโสธรอินเตอร์เนชั่นแนล โดยรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณา รายข้อแล้วเรียงอันดับจากมากไปน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ นักเรียนมีความพึงพอใจในฐานะท่ีเป็นอยู่ของผู้ปกครอง นักเรียนปดิ นา้ ปิดไฟฟูา ทกุ ครงั้ หลังเลกิ ใช้ และนกั เรียนชว่ ยผ้ปู กครองโดยการใช้จ่ายอยา่ งประหยัด 1.5 ด้านมารยาทไทยพบว่าคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมและลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 วิทยาลัยเทคโนโลยียโสธรอินเตอร์เนช่ันแนล โดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณา รายข้อแล้วเรียงอันดับจากมากไปน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่นักเรียนไหว้และสวัสดีคุณครูอยู่เสมอนักเรียนมีความ เกรงอกเกรงใจผู้อืน่ เคารพในสิทธขิ องผู้อนื่ และนกั เรียนก้มตวั ลงเมือ่ เดินผา่ นผู้ใหญ่ 1.6 ด้านจิตสาธารณะพบว่าคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมและลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ปที ่ี 1-3 วทิ ยาลัยเทคโนโลยียโสธรอินเตอร์เนชั่นแนลโดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาราย ข้อแล้วเรียงอันดับจากมากไปน้อย 3 อันดับแรกได้แก่นักเรียนพยายามประพฤติและทาในส่ิงที่นาช่ือเสียงมาสู่ ครอบครวั และสถานศึกษานกั เรยี นจะปดิ ไฟฟาู พดั ลมหรือกอ๊ กนา้ ทนั ทเี มื่อเหน็ ว่าไม่มีคนใช้ในขณะนั้นและเมื่อทราบว่า ทรัพย์สมบัติของสถานศกึ ษาเสยี หายนกั เรยี นจะแจ้งให้ครทู ราบทุกครง้ั หนา้ 480

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 2. ผลการเปรียบเทียบคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมและลักษณะอันพึงปร ะสงค์ของนักเรียนระดับ ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ปที ่ี 1-3 วทิ ยาลัยเทคโนโลยียโสธรอนิ เตอรเ์ นชัน่ แนล จาแนกตามเพศโดยรวมแตกต่างกันอบ่วง ไม่มีนยั สาคญั ทางสถติ ิ 3. ผลการเปรียบเทียบคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมและลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนระดับ ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพปที ่ี 1-3 วิทยาลัยเทคโนโลยยี โสธรอนิ เตอรเ์ นชั่นแนล จาแนกตามระดับชั้นโดยรวมแตกต่างกัน อยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 เมอ่ื พจิ ารณารายดา้ นพบวา่ ดา้ นความรบั ผิดชอบด้านความซ่อื สัตยส์ ุจรติ ด้านการ ประหยัดและด้านจิตสาธารณะแตกต่างกนั อย่างมนี ัยสาคัญทางสถติ ิทร่ี ะดับ .05 ส่วนด้านความมีวินัยและด้านมารยาท ไทยแตกต่างกันอยา่ งไมม่ นี ยั สาคญั ทางสถติ ิ อภิปรายผลการวจิ ยั การรกั ษาคณุ ธรรมจริยธรรมค่านิยมและลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของนกั เรียนระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ปี ที่ 1-3 วิทยาลัยเทคโนโลยยี โสธรอินเตอรเ์ นชัน่ แนล ผวู้ ิจยั มีประเดน็ ที่จะนามาอภิปรายดังนี้ 1. คณุ ธรรมจริยธรรมคา่ นิยมและลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 วิทยาลัยเทคโนโลยียโสธรอินเตอร์เนชั่นแนล โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมากทั้งนี้เนื่องจากการจัด การศกึ ษาระดบั อาชวี ศกึ ษา ตามหลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพพทุ ธศักราช 2545 (ปรับปรุงพ.ศ. 2546) (กรมสามัญ ศึกษา, 2346) ของวทิ ยาลยั เทคโนโลยยี โสธรอินเตอรเ์ นชั่นแนลได้มีการจัดหลักสูตรการเรียนการสอนพระราชบัญญัติ การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ได้กาหนดให้การศึกษาเป็นกระบวนการเรียนรู้เพ่ือความเจริญงอกงามของบุคคลและ สังคมโดยการถ่ายทอดความรู้การฝึกการอบรมการสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์ความก้าวหน้าทางวิชาการ การสรา้ งองคค์ วามรู้อนั เกิดจากการจัดสภาพแวดล้อมสังคมแห่งการเรยี นรู้ และป๎จจยั เกอ้ื หนุนให้บคุ คลเกิดการเรียนรู้ อย่า งต่อเน่ืองตลอดชีวิตกา รจัดการศึกษา ต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยใ ห้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกา ยจิตใจ สตปิ ๎ญญาความรู้และคณุ ธรรมมจี รยิ ธรรมและวฒั นธรรมในการดารงชวี ิตพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไป อย่างตอ่ เนือ่ งจึงกาหนดจดุ มุ่งหมายซึ่งถือเปน็ มาตรฐานการเรยี นรใู้ หผ้ ู้เรียนเกดิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงกม์ ีปรัชญาของ วิทยาลัยคือคุณธรรมนาความรู้จึงส่งผลให้ผลิตนักเรียนที่มีคุณธรรมคุณภาพได้มาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการ ของสถานประกอบการและคุณธรรม สอดคล้องกับงานวิจัยของภัทราพรรุจิราบัตร (2551) ได้ศึกษาจริยธรรมของ นกั เรยี นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรยี นบา้ นบึง “อตุ สาหกรรมนเุ คราะห์” สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 สงั กัดสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาชลบุรเี ขต 1 พบว่าโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากและสอดคล้องกับงานวิจัย ของนริ ุตต์ดารี (2552) ไดศ้ กึ ษาคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 -ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านวังน้าเย็น อาเภอวังน้าเย็น สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาสระแก้วเขต 1 โดยพบว่าคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 - ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนบ้านวังบูรพาอาเภอวังน้าเย็น สังกัดสานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาสระแกว้ เขต 1 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากเม่ือพิจารณา แต่ละด้าน ผู้วิจัย มีประเด็นท่ีจะนามาอภิปราย หน้า481

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 1.1 ดา้ นความมีวินัย พบว่า คุณธรรมจริยธรรมค่านิยมและลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนระดับ ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ปที ่ี 1-3 วทิ ยาลัยเทคโนโลยียโสธรอินเตอร์เนช่ันแนล โดยรวมอยู่ในระดับมากเนื่องวิทยาลัยมี พนั ธกจิ (Mission) ผลติ นักเรียนท่ีมีคุณธรรมคุณภาพได้มาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ และชุมชนสง่ ผลใหน้ กั เรียนเขา้ ร่วมกิจกรรมต่างๆของสถานศึกษานักเรียนมาถึงสถานศึกษาก่อนเข้าแถวและนักเรียน ศึกษาและไม่ทาลายสาธารณสมบัติของสถานศึกษา ตลอดจนส่ิงแวดล้อมสอดคล้องกับงานวิจัยของสุมาลี สุดจินดา (2549, หน้า 35) ไดศ้ กึ ษาจริยธรรมนักเรยี นระดบั ชนั้ นธั ยมศึกษาโรงเรียนสังกัดคณะรักกางเขนแห่งจันทบุรีตามความ คิดเหน็ ของครผู ้สู อนและผู้ปกครองนักเรียนผลการวิจยั พบว่าจริยธรรมท้ัง 7 ด้านคือความมีระเบียบวินัยความมีเมตตา กรุณาความซ่อื สัตยค์ วามสามัคคีความอดทนความประหยัดและความเสยี สละโดยรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากและ สอดคล้องกบั งานวจิ ัยของยพุ นิ ปุาตาล (2553)ได้ศึกษาการปฏิบตั ติ ามบทบาทของครูในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม นักเรียนโรงเรียนในกลุ่มตาบลท่ากระดาน อาเภอสนามชัยเขตสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาฉะเชิงเทราเขต 2 กลุ่ม ตัวอย่าง 142 คน พบวา่ การปฏบิ ตั ิตามบทบาทของครใู นการสง่ เสริมคุณธรรมจรยิ ธรรมนักเรียนโรงเรียนในกลุ่มตาบล ท่ากระดานอาเภอสนามชัยเขตสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาฉะเชิงเทราเขต 2 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมอื่ พจิ ารณารายดา้ นพบว่าอยู่ในระดบั มากทกุ ด้านโดยเรยี งลาดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านความประหยัดความ ซ่ือสัตย์สุจริตวินยั และความรับผิดชอบ 1.2 ด้านความรับผิดชอบพบวา่ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมคา่ นิยมและลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีท่ี 1-3 วิทยาลัยเทคโนโลยียโสธรอินเตอร์เนช่ันแนล โดยรวมอยู่ในระดับมากทั้งน้ีเน่ืองจาก วิทยาลัยมกี ารจดั การศึกษาระดับอาชีวศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546) (กรมสามัญศกึ ษา, 2546) ไดก้ าหนดจดุ ม่งุ หมายซึ่งถือเป็นมาตรฐานการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอันพึง ประสงคใ์ หเ้ ปน็ ผู้มพี ฤตกิ รรมทางสงั คมท่ีดีงามทง้ั ในการทางานการอยรู ่วมกนั มคี วามรับผิดชอบต่อครอบครัวหน่วยงาน ท้องถิ่นและประเทศชาติอุทิศตนเพ่ือสังคมเข้าใจและเห็นคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมภูมิป๎ญญาท้องถ่ินรู้จักใช้และ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสร้างส่ิงแวดล้อมที่ดี ส่งผลให้นักเรียนรับรู้และรับผิดชอบในการกระทาของตนด้วย ความเต็มใจพรอ้ มท่จี ะปรบั ปรงุ เพือ่ ใหด้ ีขึ้นนักเรียนปฎิบัติงานตามหน้าที่ของตนเองและนักเรียนปฏิบัติงานด้วยความ ตั้งใจ สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ัยของ นิรุตต์ดารี (2552) ได้ศึกษาคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียน ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 4-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านวังบรู พาอาเภอวงั น้าเย็น สังกดั สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาสระแก้วเขต 1 โดยพบว่าคุณธรรมจริยธรรม ของนักเรียน ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4-ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรยี นบา้ นวังบรู พาอาเภอวังน้าเย็น สังกัดสานักงาน เขตพน้ื ท่กี ารศึกษาสระเเก้วเขต 1 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลาดับจากค่าเฉล่ียมากไปหาน้อย 3 อันดบั แรกไดแ้ กด่ า้ นความกตัญํูด้านความขยันหมัน่ เพยี รด้านความรับผิดชอบและสอดคล้องกับงานวิจัยของยุพินปุา ตาล (2553) ไดศ้ ึกษาการปฏิบตั ติ ามบทบาทของครใู นการสงู่ เสรมิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมนักเรียนโรงเรียนในกลุ่มตาบลท่า กระดาน อาเภอสนามชัยเขตสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาฉะเชิงเทราเขต 2 กลุ่มตัวอย่าง 142 คนพบว่า การปฏิบัติ ตามบทบาทของครูในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนในกลุ่บตาบลท่ากระดานอาเภอสนามชัยเขต สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาฉะเชงิ เทราเขต 2 โดยรวมและรายด้าน อยใู่ นระดับมาก เมอื่ พิจารณารายดา้ นพบว่าอยู่ใน หน้า482

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ระดับมากทุกด้านโดยเรียงลาดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านความประหยัดความซ่ือสัตย์สุจริตวินัยและความ รบั ผดิ ชอบ 1.3 ด้านความซ่ือสัตย์สุจริตพบว่าคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมและลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 วิทยาลัยเทคโนโลยียโสธรอินเตอร์เนชั่นแนลโดยรวมอยู่ในระดับมากท้ังน้ี เนอื่ งจากวิทยาลยั ได้กาหนดให้สถานศึกษาและผู้ท่ีเกี่ยวข้อง มีแนวปฏิบติในการจัดหลักสูตรสถานศึกษาจึงได้กาหนด จุดประสงคข์ องหลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ในขอ้ ที่ 9 ได้กาหนดจุดประสงคข์ องหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ กลา่ วว่าคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีดีตอ่ งานเเละเห็นแนวทางในการประกอบอาชพี สจุ รติ สง่ ผลให้นักเรียนไม่เคย นาผลงานของเพื่อนมาแอบอ้างเป็นของตนเองเมื่อนักเรียนกระทาผิดนัก เรียนมีความละอายและเกรงกลัวต่อการ กระทาน้ันและนกั เรียนเก็บของไดจ้ ะนาส่งครูเพ่ือประกาศหาเจ้าของทุกครั้ง สอดคล้องกับงานวิจัยของราตรีนามวงศ์ (2549) ได้ศึกษาจริยธรรมของนักเรียนระดับช่วงช้ันท่ี 3 โรงเรียนวัดบางสมัครอาเภอบางปะกงสังกัดสานักงานเขต พนื้ ทก่ี ารศึกษาฉะเชิงเทราเขต 1 กลมุ่ ตัวอย่าง 128 คนพบว่าอยนู่ ระดับมากทุกด้านโดยเรียงลาดับคะแนนเฉลี่ย จาก มากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านความเสียสละ ด้านความเมตตากรุณาด้านความมีระเบียบวินัยด้านความรับผิดชอบ ด้าน ความประหยัดและด้านความซือ่ สตั ยแ์ ละสอดคล้องกับงานวิจัยของภัทราพรรุจิราบัตร (2551) ได้ศึกษาจริยธรรมของ นักเรียนมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบา้ นบงึ “อุตสาหกรรมนุเคราะห์” สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรีเขต 1 สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาชลบรุ เี ขต 1 พบว่าโดยรวมและรายดา้ นอยู่ในระดับมากโดยเรียงลาดับคะแนนเฉล่ีย จากมากไปหาน้อยคือ ด้านความเสียสละด้านความซ่ือสัตย์ด้านความมีระเบียบวินัยด้านความระเบียบวินัยและด้าน ความอดทน 1.4 ด้านการประหยัดพบว่าคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมและลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีท่ี 1-3 วิทยาลัยเทคโนโลยียโสธรอินเตอร์เนช่ันแนลโดยรวมอยู่ในระดับมากท้ังนี้เนื่องจาก วิทยาลัยได้กาหนดให้สถานศึกษาและผู้ท่ีเกี่ยวข้องมีแนวปฏิบัติในการจัดหาหลักสูตรสถานศึกษาจึงได้กาหนด จุดประสงคข์ องหลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชพี ในขอ้ ท่ี 8 ได้กาหนดจุดประสงค์ของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ กลา่ ววา่ อนุรักษท์ รพั ยากรและส่งิ แวดล้อมใช้พลงั งานอย่างคุ้มค่าและถูกวิธีส่งผลให้นักเรียนมีความพึงพอใจในฐานะที่ เป็นอยู่ของผู้ปกครองนักเรียนปิดน้า ปิดไฟฟูาทุกครั้งหลังเลิกใช้และนักเรียนช่วยผู้ปกครองโดยการใช้จ่ายอย่าง ประหยดั สอดคลอ้ งกับงานวิจัยของราตรีนามวงศ์ (2549) ไดศ้ ึกษาจริยธรรมของนักเรียนระดับช่วงชั้นท่ี 3 โรงเรียนวัด บางสมคั รอาเภอบางปะกงสังกดั สานกั งานเขตพนื้ ที่ การศกึ ษาฉะเชิงเทราเขต 1 กลมุ่ ตวั อย่าง 128 คนพบว่าอยใู่ นระดับมากทกุ ดา้ นโดยเรียงลาดับคะแนนเฉล่ียจากมากไป หาน้อยได้แก่ ด้านควานเสียสละด้านความเมตตากรุณาด้านความมีระเบียบวินัยด้านความรับผิดชอบด้านความ ประหยัดและดา้ นความซือ่ สตั ยแ์ ละสอดคลอ้ งกบั งานวิจยั ของยพุ นิ ปาุ ตาล (2553) ไดศ้ ึกษาการปฏิบัติตามบทบาทของ ครใู นการส่งเสริมคณุ ธรรมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนในกลุ่มตาบลท่ากระดานอาเภอสนามชัยเขตสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาฉะเชิงเทราเขต 2 กลุ่มตัวอย่าง 142 คนพบว่าการปฏิบัติตามบทบาทของครูในการส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมนกั เรียนโรงเรียนในกลุ่มตาบลท่ากระดานอาเภอสนามชยั เขตสานกั ด้านเขตพื้นท่ีการศึกษาฉะเชิงเทราเขต 2 หน้า483

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดบั มากเม่ือพิจารณารายด้าน พบว่าอย่ใู นระดับมากทุกด้านโดยเรียงลาดับจากมากไปหา น้อยได้แก่ดา้ นความประหยัด ความซือ่ สตั ย์ สุจรติ วนิ ยั และความรบั ผดิ ชอบ 1.5 ด้านมารยาทไทยพบว่าคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมและลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีท่ี 1-3 วิทยาลัยเทคโนโลยียโสธรอินเตอร์เนชั่นแนลโดยรวมอยู่ในระดับมากทั้งน้ีเนื่องจาก วทิ ยาลยั ไดก้ าหนดจุดมุง่ หมายซง่ึ ถือเปน็ มาตรฐานการเรยี นให้ผเู้ รยี นเกิดคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์วิทยาลัยได้กาหนด จดุ มุ่งหมายซึง่ ถือเปน็ มาตรฐานการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในข้อที่ 4 ให้เป็นผู้มีพฤติกรรมทาง สงั คมทดี่ งี ามท้ังในการทางานการอยู่รวมกันมีความรับผิดชอบต่อครอบครัวหน่วยงนท้องถิ่นและประเทศชาติอุทิศตน เพอ่ื สงั คมเข้าใจและเห็นคุณคา่ ของศิลปวัฒนธรรมภูมิป๎ญญาท้องถ่ินรู้จักใช้และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสร้าง สิ่งแวดล้อมที่ดี และในข้อท่ี 6 ให้ผู้เรียนตระหนักและมีส่วนร่วมในการแก้ไขป๎ญหาเศรษฐกิจสังคม การเมืองของ ประเทศและโลกป๎จจุบันมีความรักชาติสานึกในความเป็นไทยเสียสละเพ่ือส่วนรวม ดารงรักษาไว้ซึ่งความมั่นคงของ ชาตศิ าสนาพระมหากษัตรยิ แ์ ละการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขส่งผลให้นักเรียน ไหวแ้ ละสวัสดีคุณครอู ยู่เสมอนกั เรยี นมีความเกรงอกเกรงใจผู้อื่นเคารพในสิทธิของผู้อื่นและนักเรียนก้มหัวลงเม่ือเดิน ผา่ นผใู้ หญส่ อดคลอ้ งกับประภาศรีสหี อาไพ (2550, หนา้ 24) ให้ความหมายไวว้ า่ คุณธรรมหมายถึงสภาพคุณงามความ ดีภายในบคุ คลทาใหเ้ กดิ ความช่ืนชมยนิ ดีมีจติ ใจท่เี ต็มเปย่ี มไปด้วยความสขุ ข้นั สมบรู ณ์ คือความสุขใจผลิตผลของความ ดเี ป็นธรรมะท่ีกลา่ วไดว้ า่ ทาดีได้ ใจทเี่ ป็นสุขคือ ใจของคนดี คาว่าใจดี คือใจท่ีมีแต่จะให้ให้ความรักความเมตตาความ ปรารถนาดตี อ่ ผอู้ ื่นความเข้าใจในความดีเป็นกฎเกณฑ์สากลท่ีเป็นที่ยอมรับตรงกันของทุกชาติความดีจึงเป็นความไม่ เบียดเบียนทาร้ายทาลายกันไม่ข่มเหงรังแกกันไม่ก่อสงครามวิวาทบาดหมางกันคุณธรรมท่ีปลูกฝ๎งไว้ในจิตสานึกเป็น สัญชาตญาณทสี่ ร้างพฤติกรรมให้สามารถแก้ไขเหตุการณเ์ ฉพาะหนา้ ตัดสินใจท่ีจะเลือกพฤติกรรมปฏิบัติเป็นมาตรฐานความประพฤติท่ีงดงามสร้างคุณภาพและคุณลักษณะทางจิตใจให้ บุคคลกระทาความดี ละเว้นความช่วยสร้างสภาพแวดล้อมท่สี งบและมหี ลักในการดารงชีวติ อนั ประเสริฐ 1.6 ด้านจิตสาธารณะพบว่าคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมและลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีท่ี 1-3 วิทยาลัยเทคโนโลยียโสธรอินเตอร์เนช่ันแนลโดยรวมอยู่ในระดับมากทั้งนี้เน่ืองจาก วิทยาลัยได้กาหนดจุดมุ่งหมายซึ่งถือเป็นมาตรฐานกรเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในในข้อท่ี 6 ให้ ผู้เรียนตระหนักและมสี ว่ นรว่ มในการแก้ไขป๎ญหาเศรษฐกิจสังคมการเมืองของประเทศและโลกป๎จจุบันมีความรักชาติ สานักในความเป็นไทยเสียสละเพื่อส่วนรวมดารงรักษาไว้ซ่ึงความมั่นคงของชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์และการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขส่งผลให้นักเรียนพยายามประพฤติและทาในส่ิงที่นา ชอื่ เสียงมาสู่ครอบครวั และสถานศึกษานกั เรียนจะปดิ ไฟฟูาพัดลมหรือกอ๊ กนา้ ทันทีเม่ือเหน็ วา่ ไม่มคี นใช้ใน ขณะน้ันและ เมอ่ื ทราบว่าทรัพย์สมบัติของสถานศึกษาเสียหายนักเรียนจะแจ้งให้ครูทราบทุกครั้งสอดคล้องกับแรนดอลล์ และบุซ เลอร์ (Randall & Buchler, 1942 อ้างถงึ ในสาเริงเฉลมิ เผ่า, 2552, หนา้ 4) ทั้งคกู่ ล่าวว่าจริยธรรมหมายถึงการศึกษา หลักศลี ธรรมการประพฤติทางศลี ธรรม (การประชุมท่ีมีความหมายต่อการประเมินหรือตัดสินในทางศีลธรรม) คือการ ประพฤตทิ ีอ่ าสาสมัครและมีผลตอ่ ทศิ ทางพ้ืนฐานของชีวติ ความเป็นอยขู่ องเรา หนา้ 484

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 2. ผลการเปรียบเทียบคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมและลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนระดับ ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ปที ่ี 1-3 วิทยาลยั เทคโนโลยียโสธรอนิ เตอร์เนชั่นแนล จาแนกตามเพศโดยรวมแตกต่างกันอย่าง ไม่มีนัยสาคัญทางสถิติท้ังนี้เน่ืองจากสภาพสังคมในป๎จจุบันให้สิทธิเพศชายเพศหญิงเท่าเทียมกันการได้รับสิทธิ ประโยชนต์ า่ งๆเหมือนกนั ถงึ แมเ้ พศหญิงจะเปน็ เพศทอ่ี ่อนแอแตเ่ พศหญิงก็สามารถทางานได้ทุกอย่างเหมือนท่ีเพศชาย ทาได้ส่งผลให้ผลการเปรียบเทียบคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมและลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชพี ปีที่ 1-3 วทิ ยาลยั เทคโนโลยียโสธรอินเตอรเ์ นชั่นแนลจาแนกตามเพศโดยรวมแตกต่างกันอย่าง ไม่มีนัยสาคัญทางสถิติไม่สอดคล้องกับสมมติฐานท่ีต้ังไว้ สอดคล้องกับงานวิจัยของไทยภูษาโวรรณพันธ์ (2550) ได้ ทาการศึกษาคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนระดับช่วงช้ันท่ี 2 โรงเรียนอนุบาลวัดโคกท่าเจริญ สังกัดสานักงานเขต พ้นื ที่การศกึ ษาชลบุรี เขต 2 ผลการเปรียบเทียบคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนระดับช่วงช้ันท่ี 2 โรงเรียนอนุบาลวัด โคกทา่ เจรญิ สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาชลบุรีเขต 2 จาแนกตามเพศโดยรวมแตกต่างกัน อย่างไม่มีนัยสาคัญ ทางสถติ ิและสอดคลอ้ งกบั งานวจิ ัยของไรท์ (Wright, 1971, pp. 57-145 อ้างถึงในดวงเดือนพันธุมนาวินและเพ็ญแข ประจนป๎จจนึก, 2520, หน้า 17) ได้มีการวิจัยเปรียบเทียบจริยธรรมด้านต่างๆ ของชายและหญิงผลการวิจัยไม่ว่าจะ เป็นการศึกษาพฤตกิ รรมโดยการทดลองหรือพฤติกรรมเอื้อเฟ้ือก็ตามส่วนมากแล้วจะไม่พบความแตกต่างกันระหว่าง ชายกับหญิง 3. ผลการเปรียบเทียบคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมและลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนระดับ ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ปีท่ี 1-3 วิทยาลยั เทคโนโลยยี โสธรอินเตอรเ์ นชัน่ แนล จาแนกตามระดับชั้นโดยรวมแตกต่างกัน อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิติที่ระดับ .05 สอดคลอ้ งกบั สมมติฐานทตี่ งั้ ไวโ้ ดยที่นักเรียนระดบั ชัน้ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 3 มีคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมและลักษณะอันพึงประสงค์สูงกว่านักเรียนระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 และ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 ตามลาดับท้ังน้ีเน่ืองจากพัฒนาการทางสติป๎ญญาและอารมณ์เป็น รากฐานของการพัฒนาทางจริยธรรมั จริยธรรมของนักเรียนจะเจริญข้ึนตามความโทางการรับรู้สติป๎ญญาและอารมณ์ ของนักเรยี นจากประสบการณ์ที่ไดร้ ับส่งผลใหก้ ารเปรียบเทียบคุณธรรม จริยธรรมค่านิยมและลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านความรบั ผิดชอบด้านความซ่ือสัตย์สุจริตด้านการประหยัดและด้านจิตสาธารณะแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติท่ีระดับ .05 สอดคล้องกับงานวิจัยของลาเนียร์ (Lanier, 1993) ได้ทาการวิจัยเรื่องการกระตุ้นในเรื่องจริยธรรม และการพฒั นาความคดิ รวบยอดในเด็กสาวชาวชนบท (การพฒั นาจริยธรรมของนักเรยี นในชนบท) จุดประสงค์ของการ วิจัยเพ่อื ศึกษาผลของการศกึ ษาเพือ่ พัฒนาจรยิ ธรรมของนักเรียนระดับช้ันที่ 11 และ 12 ในโรงเรยี นชนบทเด็กนักเรียน ในชนบทไดร้ ับการอบรมให้คิดและปฏิบัติตามต่อๆกันมาซึ่งอาจเป็นอุปสรพต่อการพัฒนาสังคมในยุคใหม่การทดลอง แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มควบคุมให้ได้รับการฝึกการให้คาแนะนาเเละการจัดประสบการณ์และอีกกลุ่มหน่ึงเป็น นักเรียนท่ีประกอบด้วยนักเรียนต้ังแต่โรงเรียนระดับกลางจนถึงระดับสูงสุดผลการวิจัยพบว่าการพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรมนกั เรียนทงั้ 2 กล่มุ มคี วามแตกตา่ งกันอย่างมนี ัยสาคัญ ส่วนด้านความมีวินัย และด้านมารยาทไทยแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติท้ังน้ีเน่ืองจากนักเรียน ระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ปีที่ 1-3 วิทยาลัยเทคโนโลยียโสธรอนิ เตอรเ์ นชัน่ แนลชว่ งวัยนเี้ รยี กว่าวัยรุ่นมีความอยากรู้ อยากลองพฤติกรรมตา่ งๆ ท่แี สดงออกทงั้ ทางด้านรา่ งกายและจิตใจจะมีลักษณะที่คล้ายกันความอดทนอดกลั้นมีน้อย หนา้ 485

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) นึกถงึ เพอ่ื นเป็นใหญ่ไม่ใส่ใจครอบครัวพฤติกรรมของนักเรียนในช่วงนี้จะคล้ายกันสอดคล้องกับงานวิจัยของไทยภูษา สวุ รรณพันธ์ (2550) ไดท้ าการศึกษาคณุ ธรรมจริยธรรมของนักเรียนระดับช่วงช้ันท่ี 2 โรงเรียนอนุบาลวัดโคกท่าเจริญ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรีเขต 2 ผลการเปรียบเทียบคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนระดับช่วงช้ันท่ี 2 โรงเรยี นอนบุ าลวัดโคกท่าเจริญ สงั กัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาชลบุรีเขต 2 จาแนกตามระดับชั้นด้านความอดทน แตกตา่ งกนั อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิท่รี ะดับ .05 ข้อเสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวจิ ยั ไปใช้ จ า ก ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า วิ จั ย คุ ณ ธ ร ร ม จ ริ ย ธ ร ร ม ค่ า นิ ย ม แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ ง ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง นั ก เ รี ย น ร ะ ดั บ ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพปที ี่ 1-3 วิทยาลยั เทคโนโลยยี โสธรอินเตอร์เนชัน่ แนล ควรมีการส่งเสรมิ ในด้านต่างๆดงั ต่อไปนี้ 1. ดา้ นความมีวินัย ผบู้ รหิ ารวิทยาลัยควรร่วนกับคณะครูในการจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนปฏิบัติ ตามระเบียบข้อบงั คับของสถานศกึ ษาอย่างเครง่ ครดั และนกั เรียนเข้าแถวซ้ือขนมอาหารเครื่องดื่มตามลาดับก่อน-หลัง เสมอ 2. ด้านความรับผิดชอบผู้บริหารวิทยาลัยควรร่วมกับคณะครูในการจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมให้นักเรียน ปฏบิ ัตงิ านที่ได้รบั มอบหมายเสร็จตามเวลาทกี่ าหนดและนกั เรยี นปฏิบัตงิ านด้วยความละเอยี ดรอบคอบ 3. ดา้ นความซื่อสตั ย์สจุ ริตผู้บรหิ ารวิทยาลยั ควรรว่ มกับคณะครใู นการจดั กจิ กรรมเพอ่ื ส่งเสริมให้นักเรียนพูด กบั ผอู้ ่ืนด้วยความจริงใจไม่พูดปดและไม่พูดจาเหลวไหลอยู่เสมอและนักเรียนเป็นคนที่ยึดม่ันต่อความซ่ือสัตย์ท้ังทาง กายวาจา และใจตลอดเวลา 4. ด้านการประหยดั ผบู้ ริหารวทิ ยาลัยควรรว่ มกบั คณะครูในการจัดกิจกรรมเพื่อ ส่งเสริมให้นักเรียนนาเศษ วสั ดสุ ิ่งของเหลอื ใช้มาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์และนักเรยี นวางแผนลว่ งหน้าว่าจะใชจ้ ่ายเงิน 5. ด้านมารยาทไทยผู้บริหารวิทยาลัยควรร่วมกับคณะครูในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนไม่พูด เสยี งดงั เกนิ ไปหรือตะโกนโหวกเหวกและเมื่ออยู่ต่อหน้าผู้ใหญ่นักเรียนไม่นั่งไขว่ห้าง ไม่น่ังกระดิกเท้าไม่นั่งเหยียดเท้า ถ่างขา 6. ด้านจิตสาธารณะผู้บริหารวิทยาลัยควรร่วมกับคณะครูในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนลบ กระดานใหค้ รเู สมอแมไ้ ม่ใช่หน้าทแ่ี ละนกั เรยี นอาสาทางานทงั้ ท่ีไมใ่ ช่งานทไ่ี ด้รับมอบหมาย ข้อเสนอแนะในการทาวจิ ัยคร้งั ตอ่ ไป 1. ควรศกึ ษาแนวทางการพัฒนานักเรียนระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ปีท่ี 1-3 โดยเฉพาะดา้ นจติ สาธารณะ 2. ควรศึกษาปจ๎ จัยท่สี ง่ ผลต่อการพัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมของนกั เรยี นระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพปีที่ 1- 3 วิทยาลัยเทคโนโลยยี โสธรอินเตอรเ์ นชั่นแนล หนา้ 486

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) รายการอ้างองิ กรมสามญั ศกึ ษา. (2546). แนวทางการประกนั คณุ ภาพ ยุพนิ ปาุ ตาล. (2553). การปฏบิ ัตติ ามบทบาทของครูใน การศึกษาของ สถานศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : คุรุสภา การส่งเสรมิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมของนักเรียนโรงเรียน ลาดพร้าว. ในกลมุ่ ตาบลทา่ กระดานอาเภอสนามชัยเขต กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). การจดั การเรียนการสอน สานกั งานเขตพน้ื ท่ี การศกึ ษาฉะเชงิ เทรา เขต 2.งาน ทเ่ี นน้ ผู้เรียน เปน็ ศนู ยก์ ลาง.เอกสารชดุ แนวทาง นิพนธก์ ารศกึ ษา มหาบัณฑิตสาขาวิชาการบรหิ าร ปฏิรูปการศกึ ษาใน โรงเรยี นสงั กัดกรมสามัญ การศึกษา ศณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา. ศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: การศาสนา ราตรีนามวงศ์. (2549). ศึกษาจริยธรรมของนกั เรยี น ดวงเดือน พันธุมนาวินและเพญ็ แขประจนป๎จจนึก. ระดบั ช่วงชัน้ ที่ 3 โรงเรียนวดั บางสมคั รอาเภอบาง (2520).จรยิ ธรรม ของเยาวชนไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ ปะกงสงั กัดสานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาฉะเชิงเทรา กรมการศาสนา. เขต 1.งานนิพนธ์ การศกึ ษามหาบณั ฑิตสาขาวชิ าการ นริ ุตต์ ดาร.ี (2552).ศึกษาคณุ ธรรมจริยธรรมของ บรหิ ารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตรม์ หาวิทยาลัยบรู พา . นกั เรยี นระดบั ช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 4-ระดบั ชน้ั สาเรงิ เฉลิมเผ่า. (2552). การจัดการเรียนการสอนแบบ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรยี นบา้ นวงั บรู พาอาเภอวังนา้ บรู ณาการ: การจัดการเรียนร้ตู ามความเปน็ จรงิ ของ เย็นสังกดั สานกั งานเขตพนื้ ที่ การศึกษาสระแกว้ ชวี ติ . วารสารวชิ าการ, 52, 27-30. เขต 1. งานนพิ นธ์การศกึ ษามหาบัณฑติ สาขาวชิ า สุมาลสี ดุ จินดา. (2549). จรยิ ธรรมนักเรียนระดบั การบริหารการศกึ ษาคณะศึกษาศาสตร์ มัธยมศึกษาโรงเรยี น สังกดั คณะรกั กางเขนแหง่ จนั ทบุรี. มหาวิทยาลยั บูรพา. งานนิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิตสาขาวชิ าการบรหิ าร ประภาศรสี ีหอาไพ. (2550). วัฒนธรรมทางภาษา (พมิ พ์ การศึกษา. คณะศึกษาศาสตร,์ มหาวิทยาลยั บูรพา. คร้งั ท่ี 3). กรุงเทพฯ : สานกั พิมพ์แห่ง Cronbach, L. J. (1990). Essentials of จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . psychological testing. (5th ed.). New York: ไพฑูรย์สินลารัตน์. (2549). ความรคู้ คู่ ณุ ธรรมรวบรวม Harper & Row. บทความ เก่ียวกบั คณุ ธรรมอรยิ ธรรมและการศกึ ษา. Krejcie, R.V., & Morgan, D. W. (1970). Determining กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. sample sice for research activities. ภทั ราพรรุจิราบตั ร. (2551). ศกึ ษาจรยิ ธรรมของนักเรยี น Educational and Psychological มธั ยมศึกษา ปที ่ี 2 โรงเรยี นบ้านบงึ “อตุ สาหกรรมนุ Measurement, 30(3), 607-610. เคราะห์อาเภอ บางปะกงสงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ท่ี Lanier, S. P. (1993). Promoting moral conceptual การศกึ ษาชลบุรี เขต 1. งานนพิ นธ์การศึกษา development in rural adolescents มหาบณั ฑิตสาขาวิชาการ บริหารการศกึ ษา คณะ (mroal ศึกษาศาสตรม์ หาวิทยาลัยบรู พา. development, rural student, peer หน้า487

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ไทยภูษาสวุ รรณพันธ์. (2550). ศกึ ษาคณุ ธรรมจริยธรรม facilitators). Dissertation Abstracts ของนกั เรียน ระดบั ช่วงชั้นท่ี 2 โรงเรียนอนุบาลวดั International, 54(5), 1681-A. โคกท่าเจรญิ สงั กัด สานกั งานเขตพนื้ ท่ี การศึกษาชลบุรเี ชต 2. งานนิพนธ์ การศกึ ษา มหาบณั ฑิตสาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา คณะ ศกึ ษาศาสตร์, มหาวทิ ยาลัย บรู พา. หนา้ 488

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) การพฒั นาเดก็ ปฐมวัยด้วยสะเตม็ ศึกษา The Development of Early Childhood with STEM education ธันยากร ชว่ ยทุกขเ์ พื่อน อาจารยป์ ระจาหลักสูตรประกาศนยี บตั รบัณฑิตวชิ าชพี ครู วิทยาลยั ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกจิ บัณฑิตย์ E-mail: [email protected] ผศ.ดร. Thunyakorn Chuaytukpuan Instructor in Graduate Diploma Program in Teaching Profession at College of Education Sciences, Dhurakij Pundit University Asst.Prof.Dr. บทคดั ยอ่ การพัฒนาเด็กปฐมวัยด้วยสะเตม็ ศกึ ษา เป็นการจัดสภาพการณ์ให้เด็กปฐมวัยเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง โดย การสร้างประสบการณ์ผ่านการเล่นและการปฏิบัติให้เห็นจริงควบคู่กับการพัฒนาทักษะการคิด การต้ังคาถาม การ สืบค้น การรวบข้อมูลและวิเคราะห์ข้อค้นพบใหม่ๆ โดยไม่เน้นการท่องจาทฤษฎีหรือกฎทางวิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ จะเนน้ ให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะการคิดสรา้ งสรรค์ การแก้ป๎ญหาและการทางานร่วมกันซึ่งสะเต็มศึกษาเป็น รูปแบบการจัดการศกึ ษาที่บรู ณาการสาระวชิ าวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณติ ศาสตร์เข้าด้วยกันมี ลกั ษณะการจดั การเรียนรู้ 5 ประการไดแ้ ก่ 1) เน้นการบูรณาการ 2) เชื่อมโยงเน้ือหากับชีวิตประจาวันและอาชีพ 3) พัฒนาทักษะในศตวรรษท่ี 21 4) จัดกิจกรรมให้ท้าทายความคิด และ 5) เปิดโอกาสให้เด็กได้ค้นคว้า นาเสนองาน และแสดงความคิดเหน็ โดยแนวทางการพัฒนาเดก็ ปฐมวัยด้วยสะเต็มศึกษา สามารถทาได้ 3 รูปแบบ ดังนี้ 1) การบูร ณาการเนือ้ หาและทักษะในด้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เข้าด้วยกัน โดยสามารถ แยกสาระการเรยี นรูอ้ อกจากกัน หรือบูรณาการต้ังแต่ 2 สาระการเรียนรู้ข้ึนไป 2) การบูรณาการกระบวนการเรียนรู้ ของครูเป็นหลกั และ3) การบูรณาการเปาู หมายของการเรียนรู้เป็นหลักในการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ ใช้ การประเมินจากสภาพจริง และการประเมนิ ผลดา้ นความสามารถ คาสาคัญ:สะเต็มศึกษา, ปฐมวัย ABSTRACT The development of early childhood with STEM education. It is a setting for the early childhood to learn by active learning. By creating experiences through play and real practice, along with the development of thinking skills, questioning, searching, data collection and analysis of new findings. Does not focusing on memorizing theories or scientific rules and math, focus on the หนา้ 489

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) students to develop creative thinking, problem-solving, and collaboration skills. STEM Education is an integrating science, technology, engineering, and mathematics approach. There are 5 learning management styles which are 1) focusing on integration 2) connecting content to daily life and career 3) developing skills in the 21st century 4) organize activities to challenge the ideas 5) children the opportunity to search, present and opinions. There are 3 ways to develop early childhood with STEM Education as follows ; 1) Integrating content and skills in science, technology, engineering And mathematics together, which can separate learning from each other or integrated from 2 content areas onwards 2) integrating teacher learning processes as a foundation and 3) Integrating learning goals into the mainstream. The measure and evaluate learning management, use authentic assessment and performance assessment. KEYWORDS:STEM Education, Early Childhood บทนา การจัดการศึกษาระดับปฐมวัยมีความสาคัญและมีความจาเป็นอย่างย่ิง เน่ืองจากเป็นการจัดการศึกษา เบ้ืองต้นทจ่ี ะส่งผลต่อชวี ิตในอนาคตของเดก็ เพราะการพฒั นาทกุ ๆ ด้านของบุคคลล้วนมีรากฐานมาจากการพัฒนาใน วัยเด็กอนั เป็นช่วงแรกของชีวิต นับตง้ั แตแ่ รกเกิดจนกระท่ังอายุประมาณ 6 ปี จะมีการพัฒนาการอย่างรวดเร็ว ท้ังใน ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติป๎ญญาและบุคลิกภาพ โดยเฉพาะอย่างย่ิงความ เจริญเติบโตของสมอง ดังนั้น ประสบการณท์ ่ีเดก็ ไดร้ บั ในวยั นจ้ี ะเปน็ พน้ื ฐานของการพัฒนาในวยั ตอ่ ไป ป๎จจุบันมีการเจริญเติบโตในด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ และสังคม ส่งผลต่อการดาเนินชีวิตและการ เตรียมการพัฒนาบุคลากรของมนุษย์ให้มีศักยภาพสอดคล้องกับสิ่งท่ีเปลี่ยนแปลงไปโดย เฉพาะอย่างยิ่งการจัดการ เรียนรู้ควรเป็นการพัฒนาทักษะผู้เรียนให้มีความพร้อมในศตวรรษที่ 21 ซึ่งการเรียนรู้ผ่านสะเต็มศึกษา (STEM Education) เป็นวิธีที่เหมาะสม โดยสะเต็มศึกษาเป็นแนวคิดท่ีถูกพัฒนาขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อใช้เป็น แนวทางในการสง่ เสรมิ ทกั ษะที่จาเป็นสาหรบั เดก็ โดยมจี ดุ เนน้ ในลักษณะของการบูรณาการความรู้ ทักษะ และเจตคติ ในลกั ษณะขา้ มสาระวชิ าทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เพือ่ เตรยี มความพร้อมให้ เด็กมีความรู้พ้ืนฐาน มีความสามารถในการสื่อสาร มีทักษะที่จาเป็นในการดารงชีวิต และอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้ อยา่ งราบร่ืน ผา่ นการเรียนรู้ท่ีเปิดโอกาสให้เด็กได้ลงมือทา ปฏิบัติจริง ทดลอง สืบค้น และใช้วัสดุอุปกรณ์ ทาให้เด็ก อยากเรียนรู้ด้วยตนเอง และทาให้เด็กได้ใช้ความสามารถของตนเองอย่างเต็มท่ี (วศิณีส์ อิศรเสนา ณ อยุธยา,2559; คณะกรรมาธิการการสื่อสารมวลชน การวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสารสนเทศ, 2558) เดก็ จะเรียนรูไ้ ด้ดีเม่ือเด็กไดร้ บั ประสบการณ์ตรง ได้ฝกึ การคิด แสดงออกอย่างอิสระและสามารถนาความรู้ท่ี ไดร้ บั จากประสบการณน์ ้ัน ๆ มาใช้ในการแก้ป๎ญหาของตนและส่วนรวม เนื่องจากเด็กปฐมวยั มพี ฒั นาการอย่างรวดเร็ว ทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติป๎ญญา ดังนั้นการพัฒนาเด็กปฐมวัยด้วยสะเต็มศึกษา จะเป็นการจัด หน้า490

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ประสบการณท์ สี่ ่งเสรมิ พัฒนาการและการเรยี นรู้ในชว่ งวยั ทจี่ ะมงุ่ เนน้ การตอบสนองธรรมชาติและความต้องการตาม วยั ของเดก็ อย่างสมดลุ อกี ทัง้ ยังกระตุน้ ใหเ้ ดก็ พัฒนาความสามารถของตนเองอยา่ งเต็มศกั ยภาพ ความหมายของแนวคดิ สะเต็มศกึ ษาสาหรับเดก็ ปฐมวัย แนวคิดสะเตม็ ศึกษาสาหรบั เดก็ ปฐมวยั มนี ักวิชาการใหค้ วามหมายไวห้ ลายท่าน ดงั น้ี Breiner, Harkness, Johnson and Koehler (2012. อ้างถึงใน กัญจนา ศิลปะกิจยาน. 2560) กล่าวว่า แนวคิดสะเต็มศึกษาคือการจัดการศึกษาท่ีมีการบูรณาการข้ามสาระวิชาท้ังทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์เข้าด้วยกัน เพื่อนามาใช้ในการแก้ป๎ญหาในชีวิตประจาวัน สอดคล้องกับ Stewart,Deborah J.(2012) กล่าวว่า สะเต็มช่วยพัฒนาเด็กปฐมวัยในเกี่ยวกับการสารวจ การสังเกต การต้ังคาถาม และการพยากรณ์ ซึง่ เปน็ การบูรณาการ โดยปกติครูปฐมวัยจะดาเนินการอยู่แล้วในการจัดการเรียนรู้ และสอดคล้อง กบั Moomaw, Sally (2015) ใหค้ วามเห็นว่า แนวคิดของหลักสูตรบูรณาการ ครูปฐมวัยจะมีความคุ้นเคยอยู่แล้ว ซึ่ง มีการจดั การเรยี นรโู้ ดยบรู ณาการเก่ยี วขอ้ งรายวชิ า วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์ ในแต่ ละกจิ กรรม ในบางกจิ กรรมสามารถบรู ณาการสาขาวิชาท้ัง 4 ได้ครบถ้วน แต่บางกิจกรรมสามารถบูรณาการได้เพียง 2-3 สาขาวชิ า อกี ทั้งยังสอดคล้องกบั วศิณีส์ อศิ รเสนา ณ อยธุ ยา (2559) ท่ีให้ความหมายว่าแนวคิดสะเต็มศึกษาเป็น การจดั การเรียนรู้ท่ีเช่ือมโยงความรู้ และบูรณาการความรู้จากศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เพ่ือพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีทักษะในศตวรรษท่ี 21 และสามารถนาทักษะความรู้ท่ีได้ไปใช้ใน ชีวติ ประจาวนั เพอื่ พัฒนาตนเอง สรุปได้ว่า แนวคิดสะเตม็ ศกึ ษาสาหรับเดก็ ปฐมวยั หมายถงึ การจัดการศึกษาให้เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้จากการ ปฏิบัติจริง โดยการบูรณาการสาขาวิชา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์ในกระบวนการ จัดการเรียนรู้ไม่เน้นการท่องจาทฤษฎีหรือกฏทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ แต่เป็นการสร้างประสบการณ์ผ่าน การเล่นและการปฏิบัตใิ ห้เหน็ จรงิ ควบคู่กบั การพัฒนาทักษะในดา้ นต่างๆ ทเ่ี หมาะสมกบั การพฒั นาการของเดก็ ปฐมวัย ลักษณะการจดั การเรียนรู้ตามแนวคดิ สะเต็มศกึ ษา ลกั ษณะสาคัญของการจดั การเรยี นรู้ตามแนวคดิ สะเต็มศึกษาประกอบด้วย 5 ประการ (ศูนย์สะเต็มแห่งชาติ ,2558) ไดแ้ ก่ 1. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้บูรณาการความรู้และทักษะของวิชาท่ีเกี่ยวข้องในสะเต็มศึกษาในระหว่างการ เรียนรู้ 2. มกี ารทา้ ทายนักเรียนใหไ้ ดแ้ กป้ ๎ญหาหรอื สถานการณ์ทผี่ ู้สอนกาหนด 3. มีกจิ กรรมกระตนุ้ การเรียนร้แู บบลงมอื ปฏบิ ตั ิ (Active learning) ของนกั เรยี น 4. ช่วยใหน้ กั เรยี นไดพ้ ฒั นาทักษะในศตวรรษที่ 21 ผา่ นการทากิจกรรมหรอื สถานการณท์ ี่ผูส้ อนกาหนดให้ 5. สถานการณ์หรือป๎ญหาท่ีใช้ในกิจกรรมมีความเช่ือมโยงกับชีวิตประจาวันของนักเรียนหรือการประกอบ อาชพี ในอนาคต หน้า491


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook