Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ED-APHEIT 2020

ED-APHEIT 2020

Published by ED-APHEIT, 2020-04-06 04:37:45

Description: การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร
สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ
หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption”
ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.)

Keywords: ED-APHEIT 2020 ศึกษาศาสตร์ สสอท.

Search

Read the Text Version

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) จดั การเรยี นร้ผู า่ นกเู กลิ้ คลาสรูมในรายวชิ าวิทยาศาสตรส์ าระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพที่มีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และความรับผิดชอบของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนอักษรศาสตร์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ของรฐั พบว่าผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพของนักเรยี นหลงั ได้รับการจดั การเรียนรู้ผ่านกูเกิ้ลคลาส รูมของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 65 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระ ดับ .05 และความ รับผิดชอบของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ผ่านกูเกิลคลาสรูมในรายวิชาวิทยาศาสตร์สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์ กายภาพ พบวา่ ความรับผิดชอบของนักเรียนอยใู่ นเกณฑ์มาก 2. คณุ ลักษณะใฝุรู้ใฝุเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ค่าเฉล่ียเท่ากับ 205.07 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทา่ กับ 21.76 อยใู่ นระดบั ดี เมอื่ พิจารณาเปน็ รายด้านเรยี งจากมากไปน้อยคือ ความอยากรู้อยากเห็นและความเพียร พ ย า ย า ม ค ว า ม มี เ ห ตุ ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า ด้ ว ย ต น เ อ ง ความตัง้ ใจอย่างมีสติ และกล้าคิดริเร่ิม ตามลาดับ อาจเป็นเพราะการใช้งานในระบบ googleclassroom สามารถ พัฒนาทักษะการส่ือสารและการทางานร่วมกันโดยสามารถเข้าถึงได้ทุกท่ีทุกเวลา ความคิดเห็นแบบเรียลไทม์ สร้าง การอภปิ รายในชั้นเรียน จัดการการอภปิ รายของชน้ั เรยี น แชร์เนอ้ื หา พุชเนื้อหาข้ึนหน้าจอของนักเรียน และสามารถ ใช้ G Suite for Education สังเกตได้จากความสนใจกระตือรือร้นของนักเรียนในการร่วมกิจกรรมที่อยู่ในระบบ google classroom การเตรียมตัวค้นคว้าล่วงหน้าก่อนจากเน้ือหาหรือสาระความรู้ที่ผู้สอนกาหนดให้ได้อ่านและ ศึกษามาลว่ งหน้าซึ่งนักเรยี นสามารถแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนความรู้ในกระทู้ของรายวิชาซ่ึงอาจารย์ผู้สอน สามารถเข้ามาตอบคาถามหรอื ขอ้ สงสยั ได้ ขอ้ เสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะทว่ั ไป ผูส้ อนตอ้ งมคี วามรแู้ ละมีทกั ษะในการใชง้ านในระบบ google classroom 2. ขอ้ เสนอแนะในการดาเนนิ การวิจยั ในครง้ั ตอ่ ไป 2.1 พัฒนาบทเรยี นออนไลน์ในเนอ้ื หาบทเรียนวทิ ยาศาสตร์อนื่ ๆ 2.2 ศกึ ษาคุณลักษณะใฝรุ ใู้ ฝุเรยี นของนักเรยี นเป็นระยะหรอื ใชก้ ารวดั คุณลกั ษณะใฝุรู้ใฝเุ รยี นในลักษณะอ่นื เอกสารอ้างอิง [Online].สื บ ค้ น เ มื่ อ 6 ธั น ว า ค ม 2561, กระทรวงศึกษาธิการ. (2542).พระราชบัญญัติ Avaliable from : การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545.กรงุ เทพฯ : http://www.moe.go.th/ โรงพิมพค์ ุรสุ ภาลาดพร้าว. ซีตอี ัยเซาะห์ปูเตะซูไฮซนั มาฮะซอแลฮะ แดเบาะลตุ ฟี หะยีมะสาและ อสั มานี ดาเซะบิงและมฮั ดี แวดราแม. ข่าวสานักงานรัฐมนตรี 275/2556. (2556). รมว.ศธ. (2561).การใช้ Google Classroom ในการ เปิดการเสวนา ICT เพ่ือปฏิรูปการเรียนการสอน. หนา้ 142

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) พฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนและพฤติกรรมความ มหาวิทยาลัยของรัฐ. รายงานการประชุมวิชาการ รับผดิ ชอบของนกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ห้ อ ง (PROCEEDINGS) การประชุมวิชาการและนาเสนอ 10 โรงเรียนเบญจมราชูทิศปัตตานี. การประชุม ผลงานวจิ ัยระดับชาติ ครัง้ ท่ี 14 “ วิ ถี วิชาการระดบั ชาติ การเรยี นรู้เชิงรุก คร้ังที่ 6 “Active นวัตกรรมเพ่ือการพัฒนางานวิจัยสู่เศรษฐกิจไทยให้ Learning ตอบโจทย์ ย่ังยืน” วันเสาร์ท่ี 27 และวันอาทิตย์ที่ 28 เมษายน 2562 ณ อาคารคณะ Thailand 4.0 อย่างไร” มหาวิทยาลัยวลัย ลกั ษณ.์ ทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น. โรงพิมพห์ ้างห้นุ ส่วนจากดั มีน เซอรว์ ิส ซพั พลาย. สุรางค์ วีรประเสริฐสุข และคณะ (2562). ผลการ จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ผ่ า น กู เ ก้ิ ล ค ล า ส รู ม ใ น ร า ย วิ ช า อารี พันธ์มณี.(2540). ความคิดสร้างสรรค์กับการ วิทยาศาสตร์สาระท่ี 2 วิทยาศาสตร์กายภาพที่มี เรยี นร.ู้ กรุงเทพฯ : ตน้ ออ้ แกรมม่.ี ต่ อ ผ ล สั ม ฤ ท ธ์ิ ท า ง ก า ร เ รี ย น แ ล ะ ค ว า ม Google (2558). Classroom. [Online]. Avaiable รับผิดชอบของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย : http://support.google.com/edu/classroom แผนการเรียนอกั ษรศาสตร์ โรงเรียนสาธติ สั ง กั ด หนา้ 143

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) การศึกษาภาวะผนู้ าทางวิชาการของผบู้ ริหารสถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ในอาเภอโป่งน้ารอ้ น สงั กดั สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาจนั ทบรุ ี เขต 2 A Study Leadership of Instructional Leadership of School Administrators of Pongnamron District under Office of Chanthaburi Primary Educational Service Area 2 ทิพย์นภา นิเวศกลู , ดร.วริ ลั พชั ร วงศว์ ฒั นเ์ กษม คณะศึกษาศาสตร์และศลิ ปศาสตร/์ วทิ ยาลยั นครราชสีมา [email protected] บทคัดยอ่ การวจิ ยั ครั้งนี้มวี ตั ถุประสงคเ์ พอื่ ศึกษาและเปรียบเทยี บภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้น พน้ื ฐาน ในอาเภอโปุงน้ารอ้ น สังกัดสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 จาแนกตามสถานภาพ เพศ อายุ ประสบการณใ์ นการทางานและขนาดสถานศกึ ษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ ครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษา จานวน 201 คน เคร่ืองมือที่ใช้เป็น แบบสอบถาม ชนิดมาตราสว่ นประมาณค่า 5 ระดับ คา่ ความตรงเชงิ เนื้อหาระหวา่ งเทา่ กบั 0.67-1.00 ระดับค่าความ เชื่อมน่ั เท่ากับ 0.98 สถติ ทิ ี่ใช้ไดแ้ ก่ ค่าความถ่ี คา่ ร้อยละ คา่ เฉลย่ี ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการ ทดสอบค่าเอฟ ผลการวจิ ัยพบวา่ 1. ความคิดเห็นของครผู ูส้ อนและผบู้ ริหารสถานศกึ ษาทม่ี ีตอ่ ภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมอยใู่ นอันดบั มาก 2. ครผู ้สู อนและผบู้ รหิ ารสถานศึกษาท่มี สี ถานภาพ อายุ ประสบการณ์ทางานและขนาดสถานศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นตอ่ ภาวะผูน้ าทางวชิ าการแตกตา่ งกันอย่างมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั .05 3. ครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษาท่ีมีเพศต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นาทางวิชาการ โดยรวม แตกต่างกนั อยา่ งไม่มนี ัยสาคัญทางสถิติ เม่อื พจิ ารณารายดา้ น พบว่า ดา้ นการประเมินผลการสอนของครูและด้านการ วางแผนเพื่อพัฒนาความกา้ วหนา้ ในวชิ าชีพครู แตกตา่ งกันอยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดับ.05 คาสาคัญ :ภาวะผ้นู าทางวชิ าการของผู้บริหาร, สถานศึกษาข้ันพื้นฐานอาเภอโปุงน้าร้อน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษาประถมศึกษาจนั ทบรุ ี เขต 2 ABSTRACT หนา้ 144

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) The purposes of this study were to study and the instructional leadership of the school administrators of Pongnamron District under the Office of Chanthaburi Primary Educational Service Area 2 that were classified by status, gender, age, work experience and school size. The sample groups of the study were 201 teachers and school administrators. The instrument used in this research was a 5 rating scale questionnaire that had a discrimination index of between 0.67-1.00 and a reliability index of 0.98. The data were statistically analyzed by: percentage, mean, standard diviation, t-test, One-way Analysis of variance and Scheffe‖s method. The results were as follow: 1. The finding of the instructional leadership of the school administrators classified by the school administrators and teachers‖ opinions were overall at the high level. 2. The finding of the instructional leadership of the school administrators and teachers‖ opinions classified by status, age, work experience and school size were significantly difference at .05 level. 3. The finding of the instructional leadership of the school administrators of the school administrators and teachers‖ opinions classified by gender were at the high level for overall and each aspect. The comparison was insignificantly difference.When considered each aspect, it found that Assessing Teaching Performance and Planning for Teachers่ Professional was significantly difference at .05 level. KEYWORDS : Leadership of Instructional Leadership of School Administrators of Pongnamron Districtunder Office of Chanthaburi Primary Educational Service Area 2 บทนา ป๎จจุบนั การเปลยี่ นแปลงของโลกก้าวผ่านจากศตวรรษท่ี 20 เข้าสู่ศตวรรษที่ 21 กระแสการเปลี่ยนแปลง ของโลกได้ส่งผลกระทบทางสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการเมืองของทุกประเทศ โดยเฉพาะความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและการส่ือสารที่ทาให้โลกทั้งโลกเชื่อมโยงและสื่อสารถึงกันได้อย่างรวด เร็ว เป็นโลกไร้พรมแดน การศึกษาเปน็ เสาหลกั ของการพฒั นาที่ยัง่ ยืน สังคมในวันพรุ่งน้ีถูกกาหนดโดยทักษะและความรู้ที่ ตอ้ งการในปจ๎ จบุ นั ดงั น้นั การศึกษาจงึ มบี ทบาทสาคญั ในการสรา้ งและเตรยี มเยาวชนของชาติเพื่อเข้าสู่โลกยุคศตวรรษ ที่ 21 ซ่ึงการจัดการศึกษาสาหรับศตวรรษที่ 21 ต้องเป็นการเปลี่ยนแปลงทัศนะจากกระบวนทัศน์แบบด้ังเดิมไปสู่ กระบวนทัศน์ใหม่ มีความยืดหยุ่น สร้างสรรค์ท้าทายและซับซ้อนเป็นการศึกษาท่ีจะทาให้โลกเกิดการเปลี่ยนแปลง อยา่ งรวดเรว็ เพื่อนาไปสู่การพัฒนาทรัพยากรมนุษยท์ ่มี คี วามรคู้ วามสามารถ มีทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 เช่น การคิดวิเคราะห์ ความคิดสร้างสรรค์และสร้างนวัตกรรม การสื่อสารและการทางานร่วมกับผู้อื่น การศึกษามี หน้า145

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ มีบทบาทโดยตรงต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพเหมาะสมและมี คุณสมบตั ิสอดคล้องกับความต้องการในการใช้กาลังคนของประเทศ การศึกษาจึงเป็นป๎จจัยหลักท่ีสาคัญต่อการเพ่ิม ศกั ยภาพในการแข่งขันของประเทศ(สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2557 : 1) การศกึ ษาเปน็ กระบวนการที่ม่งุ พฒั นาคนให้มคี ุณภาพ มคี วามสามารถเต็มศักยภาพมีการพัฒนาทีส่ มดลุ เพื่อ เสริมสร้างการพัฒนาของประเทศ การศึกษาเป็นกระบวนการเรียนรู้ท่ีจะสร้างสรรค์และพัฒนาคนทั้งในแง่ความรู้ ความคิด ตลอดจนคุณธรรมและจริยธรรม เพ่ือให้สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ประเทศไทยเป็น ประเทศท่ีกาลงั พฒั นาและมปี ๎ญหาเก่ียวกบั กาลงั คนทจี่ ะตอบสนองนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมคอ่ นขา้ งมาก อันสืบเนื่องมาจากระบบและวิธีการจัดการศึกษาที่ไม่สามารถสร้างและกระจายโอกาสรวมท้ังคุณภาพการศึกษาได้ อย่างเท่าเทียมกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งทิศทางการเปลย่ี นแปลงไปสูย่ คุ อุตสาหกรรมทผ่ี ่านมา ดังน้ันระบบการศึกษาของ ประเทศไทยจึงถูกท้าทายจากแรงผลักดันการเปล่ียนแปลงทางสังคมค่อนข้างมาก ป๎ญหาของการจัดการศึกษาของ ประเทศไทยต้องปรบั และตอ้ งพฒั นาในอกี หลายดา้ น เม่อื วเิ คราะห์ถึงศกั ยภาพของเด็กไทยและคุณภาพการศึกษาของ ประเทศไทยป๎ญหาที่ยังต้องให้ความสาคัญต่อการปรับปรุงเพื่อพัฒนา เช่น ด้านคุณภาพผู้เรียนที่ยังไม่มีศักยภาพ เข้มแข็งพอหรือมาตรฐานท่ียังไม่อยู่ในระดับทัดเทียมกับนานาประเทศ ป๎จจุบันสังคมเร่ิมหันมามองว่าผลท่ีทาให้ เยาวชนมีคณุ ลกั ษณะเชงิ ดอ้ ยคุณภาพดงั กล่าวนี้ เป็นเพราะป๎ญหาดา้ นคุณภาพการจัดการศึกษาของประเทศไทยยังไป ไมถ่ ึงมาตรฐานท่ีควรจะเป็น มมุ มองของคนในสังคมท่ีมองในมิติดังกล่าวจึงเป็นเร่ืองสาคัญท่ีนักการศึกษา นักวิชาการ นกั บริหารการศกึ ษาทกุ ระดบั ทุกภาคสว่ นต้องตระหนักและตอ้ งหาวิธีแก้ปญ๎ หาเพ่ือตอบโจทยใ์ ห้สงั คมหายข้องใจ และ ใหค้ วามไวว้ างใจตอ่ ไปทงั้ ในป๎จจบุ นั และอนาคต จึงทาให้กระทรวงศึกษาธิการโดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้นั พ้นื ฐาน (สพฐ.) ไดม้ ีการขบั เคล่ือนในเชงิ รุก เพื่อแก้ป๎ญหาดังกล่าวอย่างเต็มท่ี โดยมีนโยบายให้สานักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษาและสถานศึกษาที่อยใู่ นโครงการพฒั นาดา้ นต่าง ๆ เพ่อื ผเู้ รียนเกิดความรู้ได้จริง สถานศึกษาจึงมีความสาคัญ ตอ่ การพัฒนาคุณภาพของคน ตามพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 จงึ กาหนดภารกิจของสถานศึกษาให้ มขี อบข่ายมากข้ึน โดยกาหนดไว้ใน หมวดที่ 4 มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่ เก่ยี วข้องดาเนินการ ดงั ตอ่ ไปนี้ คือ จดั เน้อื หาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการ ประยุกต์ความรคู้ วามเขา้ ใจมาใชเ้ พื่อปูองกนั และแกไ้ ขป๎ญหา จดั กจิ กรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึก การปฏิบัติให้ทาได้ คดิ เป็น และทาเป็น รักการอ่าน และเกดิ การใฝุรอู้ ย่างต่อเนอื่ ง จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสาน ความรู้ ด้านต่าง ๆ อย่างไดส้ ดั สว่ นสมดุลกัน รวมท้ังปลูกฝ๎งคุณธรรมค่านิยมท่ีดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ ในทกุ วิชา ส่งเสริมสนบั สนนุ ให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ และสภาพแวดลอ้ ม สื่อการเรียน และอานวยความสะดวก เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรู้รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ ท้ังน้ี ผู้สอนและผเู้ รยี นอาจเรียนรพู้ รอ้ มกนั จากส่ือการเรียนการสอนและแหลง่ วทิ ยาการประเภทตา่ ง ๆ และจัดการเรียนรู้ให้ เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ [สกศ.], 2542 : 9-17) โดยมีผู้บริหาร สถานศึกษาเป็นบุคลากรสาคัญต่อการบริหารและการจัดการศึกษา ผลงานของสถานศึกษาจะเป็นอย่างไรขึ้นอยู่กับ ผู้บริหารเป็นส่วนใหญ่ สถานศึกษาท่ีนักเรียนมีคุณภาพดีมักจะเป็นสถานศึกษาท่ีผู้บริหารใส่ใจงานด้านวิชาการมาก การบริหารสถานศึกษาเป็นแนวทางหนึ่งท่ีจะช่วยให้การปฏิบัติงานของผู้บริหารบรรลุผลตามเปูาหมายหรือ วัตถปุ ระสงคท์ ก่ี าหนด คือ การพฒั นาผ้บู รหิ ารโรงเรยี น ทั้งนเ้ี นื่องจากผู้บริหารโรงเรียนมีฐานะเป็นนักบริหาร มีหน้าที่ หน้า146

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ทาให้บรรลุวัตถุประสงค์ เป็นผู้มีหน้าที่จะต้องส่งเสริมให้เกิดระบบความร่วมมือในการปฏิบัติงาน (พิมพรรณ สุริโย, 2552 : 27) ภาวะผนู้ าของผูบ้ ริหารเป็นส่ิงสาคัญท่ีสุดในการบริหารงานให้ประสบผลสาเร็จ ทาให้งานมีคุณภาพ ซึ่งใน ป๎จจุบันการพัฒนาคุณภาพของผู้บริหารในยุคปฏิรูปการศึกษาต้องมีคุณลักษณะและพฤติกรรมของผู้บริหารที่ให้ ความสาคญั ในด้านภาวะผนู้ าทางวชิ าการ คือ ความสามารถในการปฏิบัติงานของผู้บริหารเพราะผู้บริหารสถานศึกษา คนเดียว ไม่สามารถดาเนินการทุกอย่างให้สาเร็จได้จะต้องอาศัยผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝุาย การที่ผู้บริหารจะได้รับความ ร่วมมือด้วยดีนนั้ จะตอ้ งดาเนินบทบาทและพฤติกรรม ท่ีเหมาะสมในการรวมพลังครู ทาให้กิจกรรมด้านการเรียนการ สอนเกิดประสทิ ธิภาพ ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาท่ีมปี ระสิทธิภาพบริหารงานวชิ าการของสถานศกึ ษาประสบผลสาเร็จเป็นที่ พงึ พอใจน้ันจะมคี ณุ ลกั ษณะโดดเดน่ เฉพาะอยู่หลายประการ (พมิ ลพรรณ เพชรสมบัติ, 2560 : 28) โดยผู้บริหารต้อง ทางานร่วมกบั ครู กระตุ้นครู ให้คาแนะนาครู และประสานงานใหค้ รทู ุกคนทางานร่วมมือกันด้วยเทคนิควิธีที่มีคุณภาพ ซึ่งจะสง่ ผลให้การบริหารงานวชิ าการของสถานศึกษาเกิดประสิทธิผลสงู สดุ การบริหารงานวิชาการเป็นงานสาคัญของ สถานศกึ ษาเน่ืองจากงานวิชาการจะเก่ียวข้องกับการปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายหลักของ สถานศึกษาและเป็นเครื่องชีค้ วามสาเร็จของผู้บริหาร หากผู้บริหารสถานศึกษามีความสามารถในการบริหารวิชาการ และเปน็ ผูน้ าทางการเรียนการสอน เพื่อกระตุ้นให้ครูพัฒนาตนเองในการปรับเปล่ียนวิธีการจัดการเรียนรู้ และกลวิธี การสอนทหี่ ลากหลาย ซ่ึงในสงั กดั สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาจันทบุรีเขต 2 มีโรงเรียนหลายขนาด จึง ทาใหม้ ีการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย ทาให้มีผลต่อคุณภาพสถานศึกษาในด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ ผเู้ รยี น จากทก่ี ล่าวมาข้างตน้ จะเหน็ ไดว้ า่ ภาวะผูน้ าทางวชิ าการของผู้บริหารสถานศึกษา น่าจะเป็นป๎จจัยหน่ึงท่ีทา ให้การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีคุณลักษณะตามจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาของสถานศึกษาทาให้การบริหาร และจัดการศกึ ษาของสถานศึกษาบรรลุความสาเร็จ ผู้วิจัยจึงมีความสนใจ ท่ีจะศึกษาเกี่ยวกับภาวะผู้นาทางวิชาการ ของผ้บู รหิ ารสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐานในอาเภอโปุงน้ารอ้ น สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 เพือ่ เป็นแนวทางในการพัฒนาตนเองสาหรบั ผู้บรหิ ารสถานศึกษา และเป็นข้อมูลสาหรับผู้บริหารสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษานาไปใชใ้ นการวางแผนพฒั นาผ้บู ริหารสถานศึกษาในสังกดั สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาจันทบุรี เขต 2 ในการยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาของชาติต่อไป วธิ ีดาเนนิ การวจิ ัย ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง 1. ประชากร ประชากรท่ีใช้ในการวจิ ยั คร้งั นี้ประกอบด้วย ครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานในอาเภอโปุงน้า รอ้ น สังกัดสานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาจันทบรุ ี เขต 2 ปกี ารศึกษา 2561 จานวน 414 คน 2. กลุม่ ตวั อย่าง กล่มุ ตวั อย่างที่ใช้ในการวิจัยคร้งั นป้ี ระกอบด้วยครูผสู้ อน บุคลากรทางการศึกษาและผ้บู ริหารสถานศึกษาข้ัน นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาจันทบุรีเขตพืน้ ฐานในอาเภอ โปุงนา้ รอ้ น สงั กดั สานกั งานเขตพ้ื2 กาหนดขนาด หน้า147

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) กลุ่มตวั อย่าง โดยใช้ตารางเทียบกลุ่มตัวอยา่ งของเครจซ่ีและมอรแ์ กน )Krejcie and Morgan) และการสุม่ แบบแบ่งช้ัน )Stratified random sampling) ตามสัดส่วนโดยใช้ ขนาดของศกึ ษาเป็นช้นั ในการแบ่ง เคร่ืองมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ในการวิจยั ครง้ั น้ีเป็นแบบสอบถามมีจานวน ตอน 2 ฉบับแบ่งเป็น 1 คอื เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพ เพศ อายุ ประสบการณ์ในการทางานและขนาดของ 1 ตอนท่ี สถานศึกษา นศึกษาข้ันพื้นฐานในอาเภอเป็นแบบสอบถามการศึกษาภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถา 2 ตอนท่ี โปุงน้าร้อน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต ตามแนวคิดของเซย์ฟาร์ธ ซ่ึงกาหนด 2 ระดบั ตามแบบของ 5 คะแนนแบง่ เปน็ Best and Kahn (ธานนิ ทร์ ศลิ ปจ์ ารุ, (55 :2555ดงั น้ี ดหมายถงึ มภี าวะผู้นาทางวิชาการระดบั มากทีส่ ุ 5 หมายถึง มีภาวะผูน้ าทางวิชาก 4ารระดับมาก หมายถงึ มภี าวะผนู้ าทางวชิ าการระดับปานกลาง 3 หมายถงึ มภี าวะผนู้ าทางวิชาการระดบั นอ้ ย 2 หมายถงึ มีภาวะผูน้ า ทางวชิ าการระดบั นอ้ ยทสี่ ุด 1 การวิเคราะห์ขอ้ มูล ผวู้ จิ ยั ได้ดาเนนิ การวิเคราะหข์ ้อมลู ในการคานวณหาค่าทางสถิติโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป ดงั นี้ 1. ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม ตอนท่ี 1 สอบถามเกี่วกับสถานภาพ เพศ อายุ ประสบการณ์ในการ ทางานและขนาดของสถานศึกษา ของผตู้ อบแบบสอบถาม ใช้วธิ ีการแจกแจงความถ่ี และหาคา่ รอ้ ยละ 2. ขอ้ มูลทไี่ ดจ้ ากแบบสอบถาม ตอนที่ 2 สอบถามเก่ียวกบั การศกึ ษาภาวะผู้นาทางวชิ าการของผบู้ ริหาร สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในอาเภอโปงุ น้าร้อน สังกดั สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาจนั ทบรุ ี เขต 2 ใน 5 ด้าน นามาหาค่าเฉลี่ย (  ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ท้ังรายข้อและรายด้านและมีเกณฑ์การแปรผลการวิเคราะ ข้อมูลเก่ียวกับการศึกษาภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในอาเภอโปุงน้าร้อน สังกัด สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาจันทบุรีเขต 2 โดยพิจารณาจากเกณฑ์ระดับคะแนนเฉลี่ยของช่วงระดับ คะแนน 5 ระดับ ดงั ตอ่ ไปนี้ (ธานินทร์ ศิลป์จารุ, 2555 : 55) คา่ เฉล่ีย 4.51-5.00 หมายถงึ ผู้บรหิ ารมีภาวะผู้นาทางวิชาการระดับมากทส่ี ุด ค่าเฉลีย่ 3.51-4.50 หมายถึง ผูบ้ ริหารมภี าวะผู้นาทางวิชาการระดับมาก ค่าเฉลี่ย 2.51-3.50 หมายถึง ผบู้ รหิ ารมีภาวะผู้นาทางวชิ าการระดบั ปานกลาง ค่าเฉลีย่ 1.51-2.50 หมายถึง ผู้บริหารมภี าวะผนู้ าทางวชิ าการระดับนอ้ ย คา่ เฉลี่ย 1.00-1.50 หมายถงึ ผ้บู ริหารมภี าวะผ้นู าทางวิชาการระดบั น้อยท่สี ุด 3. วิเคราะห์ขอ้ มูลภาวะผ้นู าทางวิชาการของผู้บริหารสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานในอาเภอโปุงน้าร้อน สังกัด สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 เปรียบเทียบตามสถานภาพและประสบการณ์ในการทางาน โดยการทดสอบคา่ ที (t-test) หนา้ 148

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 4. วเิ คราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบความแตกต่างระดับภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาข้ัน พนื้ ฐาน ในอาเภอโปุงน้ารอ้ น สังกัดสานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาจันทบรุ ี เขต 2 จาแนกตามตัวแปร อายุ และขนาดของสถานศึกษา โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) เม่ือพบความแตกต่าง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติจะตรวจสอบความแตกต่างเป็นรายคู่โดยใช้วิธีการตรวจสอบความแตกต่างของเชฟเฟุ (Scheffe‖) 5. นาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ทาในรูปตารางประกอบบรรยาย ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู 1. ผลการวเิ คราะห์คดิ เหน็ ของครผู ูส้ อนและผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาทมี่ ตี อ่ ภาวะผู้นา ทางวิชาการของผู้บริหาร สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในอาเภอโปุงน้าร้อน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 ดัง รายละเอียดในตารางที่ 1 ตารางท่ี 1 แสดงค่าเฉลี่ย (  ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ระดับความคิดเห็นของครูผู้สอนและผู้บริหาร สถานศึกษาที่มีต่อภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานในอาเภอโปุงน้าร้อน สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาจันทบุรี เขต 2 คิดเห็นของครผู สู้ อนและผ้บู ริหารสถานศกึ ษาท่ีมีตอ่ ภาวะผู้นาทางวชิ าการ ระดับปฏิบัติ S.D. ระดับ อนั ดบั ท่ี  1. ดา้ นมุมมองและแนวโนม้ การเปล่ียนแปลงด้านหลกั สูตร 4.20 .58 มาก 3 2. ด้านการประเมินผลนกั เรียน 4.26 .53 มาก 2 3. ดา้ นการจดั โครงการสาหรบั เด็กท่ีมีความตอ้ งการพิเศษ 4.14 .60 มาก 4 4. ด้านการประเมินผลการสอนของครู 3.64 .49 มาก 5 5. ด้านการวางแผนเพ่ือพฒั นาความกา้ วหนา้ ในวิชาชีพครู 4.32 .55 มาก 1 เฉลย่ี รวม 4.11 .55 มาก จากตารางท่ี 1พบว่า ความคิดเห็นของครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษาที่มีต่อภาวะผู้นาทางวิชาการของ ผู้บริหารสถานศึกษา ข้ันพื้นฐานในอาเภอโปุงน้าร้อน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2โดยรวม อยู่ในอันดับมาก (  = 4.11) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเป็น ด้านที่อยู่ในระดับมากทุกด้านโดยด้านที่มีค่าเฉล่ียสูงสุดอันดับแรก คือด้านการวางแผนเพื่อพัฒนาความก้าวหน้า ในวิชาชีพครู(  = 4.32) รองลงมา คือ ด้านการประเมินผลนักเรียน (  = 4.26) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุดคือ ด้าน การประเมินผลการสอนของครู (  = 3.64) หนา้ 149

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 2. ความคิดเห็นของครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษาของสถานศึกษาข้ันพื้นฐานในอาเภอโปุงน้าร้อน สังกัดสานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาจันทบรุ ี เขต 2 ท่ีมีสถานภาพต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นาทาง วิชาการ โดยรวมและรายด้านแตกตา่ งกันอยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติทร่ี ะดับ .05 3. ความคิดเห็นของครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในอาเภอโ ปุงน้าร้อน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาจันทบรุ ี เขต 2 ท่มี เี พศต่างกนั มคี วามคิดเหน็ ตอ่ ภาวะผนู้ าทางวิชาการ โดยรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ เม่ือพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านการประเมินผลการ สอนของครแู ละดา้ นการวางแผนเพ่ือพัฒนาความก้าวหน้าในวิชาชีพครู แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 4. ความคิดเห็นของครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษาของสถานศึกษาข้ันพื้นฐานในอาเภอโปุงน้าร้อน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2ท่ีมีอายุแตกต่างกัน มีความคิดเห็ นต่อภาวะผู้นาทาง วิชาการ จาแนกตามอายุ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษาท่ีมีอายุน้อยกว่า 25 ปี มีความ คิดเห็นต่อภาวะผู้นาทางวิชาการ มากกว่า ครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษาที่มีอายุ 46 ปี ข้ึนไป รองลงมาคือ ครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษาที่มีอายุ 36-45 ปี และครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษาที่มีอายุ 25–35 ปี เมื่อ พิจารณาเป็นรายดา้ น พบวา่ ดา้ นมมุ มองและแนวโนม้ การเปล่ียนแปลงด้านหลกั สูตรครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษา ท่ีมีอายุ 46 ปีข้ึนไป มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นาทางวิชาการมากกว่ากลุ่มอ่ืน ด้านการประเ มินผล การเรียนรู้ของ ผเู้ รียน ครผู ู้สอนและผู้บริหารสถานศกึ ษาที่มอี ายุนอ้ ยกว่า 25 ปี มคี วามคิดเห็นต่อภาวะผู้นาทางวิชาการมากกว่ากลุ่ม อื่น ดา้ นการจดั โครงการสาหรับเดก็ ที่มคี วามต้องการพเิ ศษ ครผู ้สู อนและผู้บริหารสถานศึกษาที่มีอายุน้อยกว่า 25 ปีมี ความคิดเห็นต่อภาวะผู้นาทางวิชาการมากกว่ากลุ่มอื่นด้านการประเมินผลการสอนของครูครูผู้สอนและผู้บริหาร สถานศึกษาทมี่ ีอายุ 46 ปี ข้ึนไปมีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นาทางวิชาการมากกว่ากลุ่มอื่นด้านการวางแผนเพื่อพัฒนา ความก้าวหน้าในวิชาชีพครูครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษาที่มีอายุน้อยกว่า 25 ปีมีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นาทาง วิชาการมากกว่ากลุ่มอื่น 5. ความคิดเห็นของครผู ูส้ อนและผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาของสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานในอาเภอโปุงน้าร้อน สังกัด สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาจนั ทบรุ ี เขต 2 ท่ีมปี ระสบการณ์ทางานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นา ทางวชิ าการ โดยรวมและรายดา้ นทุกดา้ นแตกตา่ งกนั อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิท่ีระดบั .05 6. ความคิดเห็นของครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในอาเภอโปุงน้าร้อน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 ที่อยู่ในสถานศึกษาที่มีขนาดแตกต่างกัน มีความ คิดเห็นต่อภาวะผู้นาทางวิชาการ จาแนกตามขนาดสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก ครูผู้สอนและผู้บริหาร สถานศึกษาท่ีอยู่ในสถานศึกษาขนาดใหญ่ มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นาทางวิชาการ มากกว่าครูผู้สอนและผู้บริหาร สถานศกึ ษาที่อยู่ในสถานศึกษาขนาดกลางและผ้บู ริหารสถานศึกษาท่ีอยใู่ นสถานศกึ ษาขนาดเล็ก เมื่อพิจารณาเป็นราย ด้าน พบว่าด้านการวางแผนเพ่ือพัฒนาความก้าวหน้าในวิชาชีพครูครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษาท่ีอยู่ใน สถานศึกษาขนาดใหญ่มคี วามคดิ เหน็ ต่อภาวะผู้นาทางวิชาการมากกว่ากลุ่มอื่น ด้านการประเมินผลนักเรียนครูผู้สอน หนา้ 150

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) และผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาท่ีอยู่ในสถานศึกษาขนาดใหญ่ มีความคิดเหน็ ตอ่ ภาวะผู้นาทางวิชาการมากกว่ากลุ่มอื่น ด้าน มมุ มองและแนวโนม้ การเปลย่ี นแปลงดา้ นหลกั สตู ร ครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษาที่อยู่ในสถานศึกษาขนาดใหญ่มี ความคดิ เห็นตอ่ ภาวะผู้นาทางวชิ าการมากกวา่ กล่มุ อืน่ ด้านการจดั โครงการสาหรบั เดก็ ที่มีความต้องการพิเศษครูผู้สอน และผู้บริหารสถานศึกษาที่อยู่ในสถานศึกษาขนาดใหญ่มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นาทางวิชาการมากกว่ากลุ่มอ่ืนและ ด้านการประเมนิ ผลการสอนของครคู รผู ้สู อนและผู้บริหารสถานศึกษาที่อยู่ในสถานศึกษาขนาดใหญ่มีความคิดเห็นต่อ ภาวะผู้นาทางวิชาการมากกว่ากลุ่มอ่นื สรุปผลการวจิ ยั ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ครูและผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพื้นฐานในอาเภอโปุงน้าร้อน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษาจันทบุรี เขต 2 ท่เี ปน็ กลุ่มตวั อย่าง จานวน 201 คน สว่ นใหญ่มีสถานภาพ เป็นครู ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คร่งึ หน่ึงมอี ายุ 25 – 35 ปี ส่วนใหญม่ ีประสบการณ์ทางานน้อยกว่า 10 ปี และส่วนใหญ่เป็นสถานศึกษาขนาดกลาง ตอนที่ 2 ความคดิ เห็นของครูผสู้ อนและผ้บู ริหารสถานศกึ ษาที่มตี ่อภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้น พืน้ ฐานในอาเภอโปุงนา้ รอ้ น สงั กัดสานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาจนั ทบรุ ี เขต 2 ความคดิ เห็นของครผู สู้ อนและผู้บรหิ ารสถานศึกษาท่ีมตี อ่ ภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้น พืน้ ฐานในอาเภอโปุงนา้ รอ้ น สังกดั สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 โดยรวม อยู่ในอันดับมาก เม่อื พิจารณาเป็นรายดา้ นเป็นด้านท่อี ยใู่ นระดบั มากทุกด้าน โดยดา้ นทีม่ ีคา่ เฉลี่ยสูงสุดอันดับแรก คือ ด้านการวางแผน เพือ่ พฒั นาความก้าวหน้าในวชิ าชีพครู รองลงมา คอื ด้านการประเมินผลนักเรียน และด้านท่ีมีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ ด้าน การประเมินผลการสอนของครู ความคิดเห็นของครูผสู้ อนและผู้บริหารสถานศึกษาท่ีมีต่อภาวะผู้นาทางวิชาการ ของผู้บริหารสถานศึกษา ข้ันพื้นฐานในอาเภอโปุงน้าร้อน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 ด้านมุมมองและ แนวโน้มการเปล่ียนแปลงดา้ นหลกั สูตรโดยรวมอยใู่ นระดบั มาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ อยู่ในระดับมากทุกข้อ โดยมี ข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุดอันดับแรก คือ ผู้บริหารสนับสนุนให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับหลักสูตร สถานศึกษา โดยคานึงถึงธรรมชาติของนักเรียน รองลงมา คือ ผู้บริหารสนับสนุนให้ชุมชน มีส่วนร่วมในการสร้าง หลกั สูตรทอ้ งถิน่ ตามขอ้ มลู สภาพจริงและความต้องการของชุมชนและข้อท่ีมีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ ผู้นากาหนดหลักสูตร ภายใต้กรอบแนวคิดของกฎหมายและนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ความคดิ เหน็ ของครูผ้สู อนและผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาทีม่ ีต่อภาวะผู้นาทางวิชาการ ของผู้บริหารสถานศึกษา ข้ันพื้นฐานในอาเภอโปุงน้าร้อน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 ด้านการประเมินผล การเรยี นรู้ของผ้เู รียน โดยรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ อยู่ในระดับมากทุกข้อ โดยมีข้อท่ีมีค่าเฉลี่ย สูงสดุ อนั ดับแรก คือ ผู้บรหิ ารสง่ เสรมิ ใหค้ รูสรุปผลการประเมินความก้าวหน้าของนักเรียนเป็นระยะและให้นาผลการ ประเมนิ ไปปรบั ปรุงการเรียน รองลงมา คือ ผบู้ ริหารจัดใหค้ รูรายงานผลความก้าวหน้าของนักเรียนให้ผู้ปกครองทราบ หนา้ 151

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ทุกภาคเรียน และขอ้ ทม่ี คี า่ เฉล่ยี ตา่ สดุ คือ ผู้บริหารดูแลควบคุมกากบั นเิ ทศให้ครปู ฏบิ ตั ติ ามระเบียบว่าด้วยการวัดและ ประเมินผลการเรยี นรู้ ความคิดเห็นของครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษาท่ีมีต่อภาวะผู้นาทางวิชาการ ของผู้บริหารสถานศึกษา ขน้ั พ้นื ฐานในอาเภอโปงุ น้ารอ้ น สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 ด้านการจัดโครงการ สาหรบั เดก็ ท่ีมคี วามตอ้ งการพเิ ศษ โดยรวมอยใู่ นระดบั มาก เมื่อพจิ ารณาเป็นรายข้อ อยู่ในระดับมากทุกข้อ โดยมีข้อที่ มคี ่าเฉลีย่ สูงสดุ อันดบั แรก คือ ผบู้ รหิ ารสนบั สนนุ ใหม้ ีการจัดใชง้ บประมาณส่ิงอานวยความสะดวกส่ือและบริการความ ช่วยเหลือ กับเดก็ ทีม่ คี วามตอ้ งการพเิ ศษ รองลงมา คอื ผู้บรหิ ารแตง่ ตัง้ คณะกรรมการเพ่อื การจัดการศึกษาสาหรับเด็ก ท่ีมีความบกพร่องที่มีความต้องการพิเศษเรียนร่วมในสถานศึกษาและข้อที่มีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ ผู้บริหารดาเนินการ เผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธก์ ารจัดการศึกษาแบบเรยี นรวมท้ังในและนอกหน่วยงาน ความคิดเห็นของครผู สู้ อนและผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาท่มี ีตอ่ ภาวะผนู้ าทางวชิ าการของผบู้ รหิ ารสถานศึกษาข้ัน พ้นื ฐานในอาเภอโปุงน้าร้อน สงั กดั สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 ด้านการประเมินผลการ สอนของครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ อยู่ในระดับมากทุกข้อ โดยมีข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด อันดับแรก คือ ผบู้ ริหารดาเนนิ การให้ครูนาผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนการสอน รองลงมา คือ ผบู้ ริหารสร้างความเข้าใจร่วมกันกบั ครถู ึงจดุ หมายในการประเมินผลและการสอนของครอู ย่างเหมาะสม ตอนที่ 3 เปรยี บเทยี บระดับความคดิ เหน็ ของครูผสู้ อนและผบู้ ริหารสถานศกึ ษาทมี่ ีตอ่ ภาวะผนู้ าทางวชิ าการ ของผู้บริหารสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐานในอาเภอโปุงนา้ รอ้ น สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 จาแนกตามสถานภาพ เพศ อายุ ประสบการณท์ างานและขนาดสถานศกึ ษา ครูผ้สู อนและผู้บริหารสถานศึกษาของสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานในอาเภอโปุงน้าร้อน สังกัดสานักงานเขต พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 ท่ีมีสถานภาพต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นาทางวิชาการ โดยรวม และรายดา้ นแตกตา่ งกนั อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถติ ิที่ระดับ .05 ครผู ูส้ อนและผบู้ ริหารสถานศกึ ษาของสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานในอาเภอโปุงน้าร้อน สังกัดสานักงานเขต พื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 ทม่ี ีเพศต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นาทางวิชาการ โดยรวมแตกต่าง กันอย่างไมม่ นี ยั สาคัญทางสถิติ เมอ่ื พจิ ารณา รายด้าน พบว่า ด้านการประเมนิ ผลการสอนของครแู ละด้านการวางแผน เพอื่ พัฒนาความกา้ วหน้าในวิชาชพี ครู แตกตา่ งกันอยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถติ ทิ ี่ระดับ .05 ครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษาที่มีต่อภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานใน อาเภอโปุงน้าร้อน สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 ท่ีมีอายุต่างกัน มีความคิดเห็นต่อ ภาวะผู้นาทางวชิ าการ โดยรวมและรายด้านทุกด้านแตกตา่ งกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถติ ิ .05 หนา้ 152

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ครผู ู้สอนและผ้บู ริหารสถานศกึ ษาของสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานในอาเภอโปุงน้าร้อน สังกัดสานักงานเขต พื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาจันทบุรี เขต 2 ที่มีประสบการณ์ทางานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นาทางวิชาการ โดยรวมและรายด้านทุกด้านแตกตา่ งกันอยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05 ครูผ้สู อนและผบู้ ริหารสถานศึกษาในอาเภอโปุงนา้ รอ้ น สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา จันทบุรี เขต 2 อย่ใู นสถานศกึ ษาทมี่ ีขนาดต่างกนั มีความคิดเหน็ ต่อภาวะผูน้ าทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้น พน้ื ฐาน โดยรวมและรายด้านทุกดา้ นแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถติ ิทร่ี ะดับ .05 อภิปรายผล การศึกษาภาวะผูน้ าทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานในอาเภอโปุงน้าร้อน สังกัดสานักงาน เขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาจนั ทบรุ ี เขต 2 อภปิ รายผลได้ดงั น้ี 1. ความคิดเห็นของครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษาที่มีต่อภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหาร สถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐานในอาเภอโปุงน้าร้อน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 โดยรวม อยู่ในอันดับมาก ท้ังน้ีอาจเป็นเพราะครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษา มีการวางแผนเพื่อพัฒนาความก้าวหน้าใน วชิ าชีพ ปรับปรงุ เปลี่ยนแปลงหลกั สตู ร ใหส้ อดคล้องกบั นโยบาย ประเมินผลการสอนของครู จัดโครงการสาหรับเด็กที่ มีความต้องการพิเศษขับเคลื่อนงานหรือกิจกรรมต่าง ๆ ในสถานศึกษาตลอดจนกิจกรรมการเรียนการสอนภายใน สถานศึกษาใหม้ ีประสิทธิภาพและประสทิ ธิผล สอดคล้องกับผลการวิจยั ของเกตสุ ดุ า ก้ิงการจร (2560 : 83) ได้ศึกษา ภาวะผ้นู าทางวชิ าการของผบู้ ริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 สระบุรี พบว่า ภาวะผูน้ าทางวชิ าการของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา สงั กดั สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 4 สระบุรี โดยรวม และรายดา้ นอย่ใู นระดบั มาก ซ่ึงสอดคลอ้ งกับงานวจิ ยั ของสุขฤทัย จันทรท์ รงกรด (2558: 80) ได้ศึกษาภาวะผู้นาทาง วิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในจังหวัดจันทบุรี สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 พบว่า ภาวะผ้นู าทางวชิ าการของผู้บริหารสถานศกึ ษาในจังหวัดจันทบุรี สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 โดยรวมอยู่ในระดับมาก และสอดคล้องกับงานวิจัยของกิตติวรรณ แสนโท (2556: 56) ได้ศึกษาภาวะผู้นาทาง วิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูโรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครระยอง จังหวัดระยอง พบว่า ภาวะผู้นาทางวชิ าการของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครระยอง ตามความคิดเห็นของครูผู้สอน โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดบั มาก 2. ครูผสู้ อนและผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาของสถานศึกษาข้ันพื้นฐานในอาเภอโปุงน้าร้อน สังกัดสานักงานเขต พ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 ที่มีสถานภาพต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นาทางวิชาการ โดยรวม และรายด้านแตกต่างกนั อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ท้ังนี้อาจเป็นเพราะ ผู้บริหารสถานศึกษามีวิสัยทัศน์ใน การบริหาร มีภาวะในการเป็นผู้นาทางวิชาการต่างจากครูผู้สอน จึงทาให้ครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษา มีความ คิดเห็นต่อภาวะผู้นาทางวิชาการแตกต่างกัน สอดคล้องกับผลการวิจัยของกระพัน ศรีงาน และคณะ ( 2557 : บทคดั ย่อ) ไดศ้ ึกษาและเปรียบเทียบภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 32 จาแนกตามสถานภาพ พบว่า โดยรวมแตกต่างกันอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถติ ทิ ่ี .01 และสอดคล้อง หนา้ 153

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) กับงานวิจยั ของสิรกิ ร พลายงาม (2557: บทคัดย่อ) ไดศ้ ึกษาภาวะผู้นาทางวิชาการโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 32 จาแนกตามสถานภาพตาแหน่ง พบว่า โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี .01 3. ครผู สู้ อนและผบู้ ริหารสถานศึกษาของสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานในอาเภอโปุงน้าร้อน สังกัดสานักงานเขต พน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาจนั ทบรุ ี เขต 2 ทีม่ ีเพศต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นาทางวิชาการ โดยรวมแตกต่าง กนั อย่างไม่มีนยั สาคญั ทางสถติ ิ ซง่ึ ไม่สอดคล้องกับสมมติฐานท่ีตั้งไว้ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ เพศชายและเพศหญิงมีสิทธิ เสรีภาพในการทางาน มีภาวะความเป็นผู้นามคี วามรคู้ วามสามารถที่เท่าเทียมกัน จึงส่งผลให้ความคิดเห็นของครูและ ผบู้ รหิ ารเพศชายและเพศหญิงไมแ่ ตกตา่ งกัน สอดคลอ้ งกับผลการวจิ ัยของทศั นา วรรณประภา (2560: บทคัดย่อ) ได้ ศึกษาภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในอาเภอสอยดาว สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาจนั ทบุรี เขต 2 จาแนกตามเพศโดยรวมและรายด้าน แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ สอดคล้อง กบั ผลการวิจยั ของดจุ ฤทยั โพยนอก (2559: บทคดั ยอ่ ) ไดก้ ารศึกษาภาวะผู้นาทางวชิ าการของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ตามความเห็น ของครูกลุ่มโรงเรียนบ่อทอง 3 สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2 จาแนก ตามเพศ พบว่า โดยรวมและรายด้าน แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ ซ่ึงสอดคล้องกับผลการวิจัยของขวัญ จิตต์ เนียมเกตุ และสุทธิ์วรรณ ตันติรจนาวงศ์ (2554: บทคัดย่อ) ได้ศึกษาภาวะผู้นาทางวิชาการของสถานศึกษา ขนาดเลก็ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3 จาแนกตามเพศ พบว่า ผู้บริหารมีภาวะผู้นา ทางวิชาการไม่แตกต่างกัน และสอดคล้องกับผลการวิจัยของอมร บุญโญปกรณ์ (2553: บทคัดย่อ) ได้ศึกษา พฤติกรรมภาวะผนู้ าวชิ าการของโรงเรยี นระดับประถมศกึ ษา สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 จาแนกตามเพศ พบว่า ครูและผู้บริหารที่มีเพศต่างกัน มีความคิดเห็นต่อพฤติกรรมภาวะผู้นาวิชาการไม่แตกต่างกัน อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถติ ิ 4. ครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษาที่มีต่อภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานใน อาเภอโปุงน้าร้อน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 ท่ีมีอายุต่างกัน มีความคิดเห็นต่อ ภาวะผู้นาทางวิชาการ โดยรวมและรายด้านทุกด้านแตกต่างกันอย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติ .05 ทั้งน้ีอาจเป็นเพราะ ครูผูส้ อนและผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาในป๎จจบุ นั นี้ มีความรูค้ วามสามารถบริหาร มีภาวะความเป็นผู้นา มีแนวคิดใหม่ๆ ที่ หลากหลาย มีจุดมุ่งหมายในการทางานด้านวิชาการให้ดี จึงทาให้เกิดแนวคิดที่หลากหลาย ส่งผลให้ครูครูผู้สอนและ ผู้บริหารสถานศึกษาท่ีมีอายุต่างกัน มีความคิดเห็นแตกต่างกัน สอดคล้องกับผลการวิจัยของเศรษฐการ ไชยดา (2557: บทคัดย่อ) ได้ศึกษาภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด เม่ือจาแนก ตามอายุ พบวา่ แตกตา่ งกันอย่าง มนี ยั สาคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดบั .01 และสอดคล้องกบั ผลการวจิ ยั ของกนกพรรณ ยังบุญ สขุ (2558: บทคัดย่อ) ได้ศึกษาภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา อาเภอเคียนซา สังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎรธ์ านี เขต 3 จาแนกตามอายุ พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 5. ครผู ู้สอนและผ้บู ริหารสถานศกึ ษาของสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานในอาเภอโปุงน้าร้อน สังกัดสานักงานเขต พ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาจันทบุรี เขต 2 ที่มีประสบการณ์ทางานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นาทางวิชาการ โดยรวมและรายด้านทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ท้ังน้ีอาจเป็นเพราะครูผู้สอนและ ผู้บริหารสถานศึกษาผ่านการอบรมตามโครงการที่จัดข้ึนเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ในด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ หน้า154

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) วิชาชีพ ทาให้ครูผูส้ อนและผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาไดร้ ับประสบการณค์ วามร้ใู หมๆ่ ท่ีหลากหลาย เพือ่ นามาพฒั นาและทา ให้มีภาวะความเป็นผู้นาทางวิชาการ จึงส่งผลให้ครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษาที่มีประสบการณ์ทางานต่างกันมี ความคิดเหน็ แตกตา่ งกนั สอดคล้องกับผลการวิจัยของนัยนา เตียงงา (2556: บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเปรียบเทียบความ คิดเห็นของครูต่อภาวะผู้นาทางวิชาการของ ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา บุรีรัมย์ จาแนกตามประสบการณ์ทางาน พบว่า โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ซึ่ง สอดคล้องกับผลการวิจัยของวันเพ็ญ รัตนอนันต์ (2555: บทคัดย่อ) ได้ศึกษาภาวะความเป็นผู้นาของผู้บริหาร สถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2 จาแนกตามประสบการณ์ดารง ตาแหนง่ ผ้บู รหิ าร โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมนี ัยสาคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .05 และสอดคล้องกับผลการวิจัย ของสุพชาต ชุ่มช่ืน (2554: บทคัดย่อ) ได้ศึกษาความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับภาวะความเป็นผู้นาของผู้บริหาร สถานศึกษาโรงเรียนนวมนิ ทราชนิ ูทิศสวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั ปทมุ ธานี จาแนกตามครูที่มีประสบการณ์สอนในโรงเรียนมี ความคดิ เห็นของครเู กยี่ วกับภาวะความเป็นผู้นาของผู้บรหิ าร ในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 6. ครูผสู้ อนและผู้บริหารสถานศึกษาในอาเภอโปงุ นา้ รอ้ น สังกดั สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษา จนั ทบุรี เขต 2 อยู่ในสถานศึกษาทม่ี ีขนาดต่างกัน มคี วามคิดเห็นต่อภาวะผูน้ าทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน โดยรวมและรายด้านทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ท้ังนี้อาจเป็นเพราะครูผู้สอน และผ้บู ริหารสถานศกึ ษา มีภาระหนา้ ท่ี บริบทของงานไม่เหมือนกัน ซ่ึงขึ้นอยู่กับขนาดและปริมาณของงานตามขนาด ของสถานศึกษา จึงส่งผลให้ครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษามีขนาดสถานศึกษาต่างกัน ความคิดเห็นแตกต่างกัน สอดคล้องกับผลการวิจัยของกมลทิพย์ บุญโพธิ์ (2561: บทคัดย่อ) ได้ศึกษาภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหาร สถานศึกษาในสังกัดองค์การบริหารส่วนจงั หวัดชัยภมู ิ ตามความคดิ เหน็ ของครผู สู้ อนจาแนกตามขนาดของสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายดา้ นแตกตา่ งกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถติ ิทร่ี ะดับ .05 ซง่ึ สอดคล้องกบั ผลการวิจัยของไพฑูรย์ บุญ ป๎น (2559: บทคัดย่อ) ได้ศึกษาภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษาสระแกว้ เขต 2 จาแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และสอดคลอ้ งกับผลการวิจยั ของจักกฤษ วงษ์ชาลี (2551: บทคัดย่อ) ได้ศึกษาภาวะผู้นาทางการศึกษาของผู้บริหาร สถานศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาอุดรธานี ตามความคิดเห็นของครู จาแนกตามขนาด สถานศกึ ษา พบวา่ โดยภาพรวมและรายดา้ นแตกต่างกันอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิติท่ี ระดบั .01 ขอ้ เสนอแนะ 1. ขอ้ เสนอแนะสาหรับการนาผลงานวิจยั ไปใช้ 1.1 ผลการวิจัย พบว่า ภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านการประเมินผลการสอน ของครู มีค่าเฉลี่ยอันดับสุดท้าย ดังน้ันผู้บริหารควรวางแผนการประเมินผลการเรียนการสอนของครูอย่างเหมาะสม เสนอแนะให้มีการจัดทาข้อมูลและเอกสารเก่ียวข้องกับการประเมินอย่างเป็นระบบ ตลอดจนกาหนดรูปแบบวิธีการ และเวลาในการประเมินผลการสอนของครูอยา่ งเหมาะสมและต่อเน่ือง 1.2 ผลการวจิ ยั พบวา่ ภาวะผู้นาทางวชิ าการของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ดา้ นการจัดโครงการสาหรับเด็ก ทมี่ คี วามตอ้ งการพิเศษมคี า่ เฉลี่ยอนั ดบั สุดทา้ ย ดังนั้นผูบ้ รหิ ารควรดาเนินการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การจัดการศึกษา หน้า155

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) แบบเรียนรวมท้งั ในและนอกหนว่ ยงาน วางแผนและสนับสนุนใหม้ กี ารจัดการศึกษาสาหรับเด็กท่ีมีความต้องการพิเศษ เข้าเรยี นทุกคน โดยสง่ ครูเขา้ อบรมให้มีความรู้ด้านการจดั การเรียนการสอนสาหรบั เดก็ ทีม่ คี วามตอ้ งการพิเศษ 1.3 ผลการวิจัย พบว่า ภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านมุมมองและแนวโน้มการ เปลี่ยนแปลงด้านหลักสูตร มีค่าเฉลี่ยอันดับสุดท้าย ดังนั้นผู้บริหารควรกาหนดหลักสูตรภายใต้กรอบแนวคิดของ กฎหมายและนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร แสดงให้เห็นบทบาทหน้าที่ในการเป็นผู้นาริเริ่มสร้างสรรค์ในการสร้าง หลักสูตรสถานศึกษา ประชุมชี้แจงให้ความรู้เก่ียวกับการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษากับคณะครูและนิเทศติดตาม ประเมินผลการใช้หลกั สูตรสถานศึกษาอย่างตอ่ เนื่อง 2. ขอ้ เสนอแนะเพื่อการวจิ ยั ครงั้ ต่อไป 2.1 ควรมีการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับป๎จจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นาทางวิชาการท่ีมีประสิทธิภาพของ ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา 2.2 ควรมีการศึกษาค้นคว้าภาวะผนู้ าทางวชิ าการของผู้บรหิ ารมืออาชพี 2.3 ควรมีการศึกษาเร่ืองความคิดเห็นของผู้ปกครองที่มีต่อภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหาร สถานศกึ ษา 2.4 ควรมีการศกึ ษาเร่อื งภาวะผนู้ าทางวิชาการของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ในสถานศึกษาระดบั อน่ื 2.5 ควรมีการศกึ ษาเร่ืองภาวะผนู้ าทางวิชาการของผ้บู ริหารสถานศกึ ษาในเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาอืน่ ๆ เอกสารอ้างอิง การบรหิ ารการศึกษา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลยั ราชภัฏบุรรี ัมย์. กนกพรรณ ยังบญุ สุข. (2558). ภาวะผ้นู าทาง วิชาการของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา อาเภอเคยี นซา กติ ตวิ รรณ แสนโท. (2556). การศกึ ษาภาวะผนู้ า สงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา ทางวชิ าการของผบู้ ริหารสถานศกึ ษาตามความ คดิ เหน็ ของครโู รงเรยี นในสงั กดั เทศบาลนคร ประถมศกึ ษาสุราษฎรธ์ านี เขต 3. วิทยานิพนธ.์ ครศุ าสตรมหาบณั ฑิต. สาขาวชิ าการ ระยอง จงั หวดั ระยอง. วิทยานพิ นธ์. ศึกษา บรหิ ารการศึกษา ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา. มหาวิทยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี เกตุสดุ า กิ้งการจร. (2560). ภาวะผ้นู าทางวิชาการ กระพนั ศรีงาน และคณะ. (2557). การพฒั นา สงั กดั สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต รูปแบบการบริหารงานวชิ าการทีม่ ปี ระสิทธิภาพ 4. วทิ ยานพิ นธ.์ ศกึ ษาศาสตร โดยยดึ ภาวะผนู้ าและการทางานเป็นทีมใน มหาบณั ฑิต สาขาบริหารการศึกษา คณะครุ สถานศกึ ษา สังกดั สานกั งานเขตพนื้ ท่ี การศึกษามัธยมศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื . หนา้ 156 วทิ ยานพิ นธ.์ ครุศาสตรมหาบณั ฑิต. สาขาวชิ า

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ศาสตร์ อุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าช ข้อมลู ทางสถิตดิ ้วย SPSS.พมิ พ์ครงั้ ที่ 7 11. มงคลธญั บรุ .ี กรงุ เทพมหาคร : บสิ ซิเนสอารแ์ อนด์ด.ี ขวญั จติ ต์ เนยี มเกตุ และสทุ ธว์ิ รรณ ตันติรจนาวงศ.์ (2554). ภาวะผนู้ าทางวิชาการของผบู้ รหิ าร นัยนา เตียงงา. (2556). การเปรยี บเทยี บความ โรงเรยี นขนาดเลก็ สงั กัดสานักงานเขตพ้นื ท่ี คิดเหน็ ของครตู ่อภาวะผนู้ าทางวิชาการของ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาสงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ที่ การศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 3.การค้นคว้า อสิ ระ. ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาบรหิ าร การศกึ ษาประถมศึกษา บรุ รี มั ย์เขต 3. สาร การศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ นพิ นธ์ ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช 2554. จักรกฤษ วงษช์ าลี. (2551). การศึกษาภาวะผนู้ า มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. ทางวชิ าการของผ้บู ริหารสถานศึกษาของโรงเรยี น ในสงั กดั สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา พมิ พรรณ สุริโย. (2552). ปจั จยดา้ นผบู้ ริหาร สถานศกึ ษาที่สง่ ผลตอ่ ประสิทธผิ ลโรงเรยี นเทศบาล อุดรธาน.ี วทิ ยานพิ นธ.์ ปริญญาครุศาสตร กลุ่มการศกึ ษาทองถิน่ ท่ี 9 กรมสงเสริมการ มหาบณั ฑิต สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา คณะครุ ศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุดรธาน.ี ปกครองทองถน่ิ . วิทยานพิ นธ.์ ครุศาสตร ดุจฤทัย โพยนอก. (2559). การศกึ ษาภาวะผนู าทาง มหาบัณฑติ สาขาการบริหารการศกึ ษา คณะครุ วชิ าการของผบู รหิ ารสถานศกึ ษาตามความเหน็ ของ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเลย. ครกู ลมุ่ โรงเรียนบอทอง 3 สงั กดั พมิ ลพรรณ เพชรสมบตั .ิ (2560). “ภาวะผู้นากับการ สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา พัฒนาทรพั ยากรมนุษย์”. วารสารมหาวิทยาลัยมหา ชลบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ ศึกษาศาสตร จฬุ าลงกรณร์ าชวิทยาลัยการพฒั นา มหาบณั ฑติ สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา สงั คม.2 : 18. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา. ไพฑรู ย์ บญุ ปน๎ . (2559).ภาวะผ้นู าทางวชิ าการของ ทศั นา วรรณประภา. (2560). ภาวะผู้นาทาง ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา สงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ท่ี วิชาการของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาในอาเภอสอยดาว การศึกษาประถมศกึ ษาสระแกว้ เขต 2. สังกดั สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา วิทยานิพนธ์. ครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชา ประถมศกึ ษาจนั ทบรุ ี เขต 2. สารนพิ นธ์. การบริหารการศึกษา คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั สาขาวชิ า การบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ราชภัฏบรุ รี ัมย.์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา. ธานินทร์ ศลิ ป์ จารุ. (2555). การวิจัยและวิเคราะห์ หน้า157

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ภาวนี ธารงเลิศฤทธิ์. (2553). “การบริหารจัดการ สิรกิ ร พลายงาม. (2557). ภาวะผนู้ าทางวิชาการ หลกั สตู รในโรงเรยี น : บริหารใหเ้ ป็นจดั การให้ดี”. ของผบู้ รหิ ารโรงเรียน สงั กดั สานกั งานพื้นที่ วารสารวชิ าการ.53-54. การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 2. วันเพญ็ รตั นอนันต์. (2555). การศึกษาภาวะผนู้ า วทิ ยานิพนธ์. ครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชา การเปล่ียนแปลงของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาสงั กดั การบริหารการศึกษา คระครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราช สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา ภฏั บรุ รี ัมย์. ฉะเชิงเทรา เขต 2. วทิ ยานพิ นธ.์ ศึกษา สขุ ฤทัย จนั ทร์ทรงกรด. (2558). ภาวะผนู้ าทาง ศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วชิ าการของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาในจังหวัดจนั ทบรุ ี คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา. สงั กดั สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา เศรษฐการ ไชยดา. (2557). ภาวะผู้นาทางวิชาการ มธั ยมศกึ ษา เขต 17. วทิ ยานพิ นธ.์ ปริญญา ของผบู้ รหิ ารโรงเรยี นประถมศกึ ษาในจังหวดั การศึกษามหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา ร้อยเอ็ด. วทิ ยานพิ นธ์. ครุศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยบรู พา. สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษาคระครศุ าสตร์ สพุ ชาต ชุ่มชื่น. (2554). ความคดิ เหน็ ของครู มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏร้อยเอ็ด. เก่ยี วกบั ภาวะผนู้ าทางวิชาการของผู้บรหิ าร สถานศกึ ษาโรงเรียนนวมินทราชนิ ปู ทศิ สวนกุหลาบ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ, (2542). สานักงานการประกนั คณุ ภาพสถานศกึ ษา. วทิ ยาลยั ปทมุ ธานี. วทิ ยานิพนธ์. ศึกษา กรุงเทพมหานคร : กรมวิชาการ ศาสตร มหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บัณฑติ . กระทรวงศึกษาธิการ. อมร บญุ โญปกรณ์. (2553). พฤตกิ รรมภาวะผนู้ า ทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนระดบั สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา, (2557). คา ประถมศึกษาสงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา แถลงนโยบายของคณะรฐั มนตรี. คนเมอ่ื 20 สิงหาคม 2561, ไดจ้ าก ประถมศกึ ษา สมทุ รปราการ เขต 1. http://www.onec.go.th/onec_web/main วทิ ยานพิ นธ์. ปรญิ ญาครุศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการ บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี หนา้ 158

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) การศึกษาเปรยี บเทียบการศกึ ษาระหวา่ งประเทศไทยและประเทศญปี่ นุ่ A COMPARATIVE STUDY OF EDUCATION BETWEEN THAILAND AND JAPAN ณฐั ชยั ศรเี อี่ยม1,จักรพันธ์ จตพุ รพันธ2์ ,สปุ รยี า สังขท์ อง3,ดวงดาว อาจ สมบุญ4 และเรอื งอุไร เศษสูงเนิน5 สาขาวิชาภาษาญีป่ ุนเพ่ือการส่อื สารธรุ กจิ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีปทุม1-4 วิทยาลัยบัณฑติ ศึกษาดา้ นการจัดการ5 [email protected],[email protected] [email protected],[email protected] บทคดั ยอ่ การศึกษาในคร้งั นี้มีจุดประสงคเ์ พอ่ื ศึกษาเปรียบเทียบการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานระหว่างประเทศไทยและประเทศ ญ่ีปุน ด้วยการวิเคราะห์เนื้อหาจากเอกสาร บทความวิชาการเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาของท้ังสองประเทศใน ประเด็น 4 ด้าน คอื 1) จดุ มุ่งหมายและหลกั การการจัดการศกึ ษา 2) การบริหารจดั การระบบการศึกษา 3) โครงสร้าง หลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน และ 4) ครูผู้สอน ผลการศึกษาพบว่า 1) ประเทศไทยและประเทศญ่ีปุนมีจุดมุ่งหมาย การจัดการศึกษาท่ีเหมือนกัน คือ การสร้างความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีหลักการในการสร้างความร่วมมือระหว่าง สงั คมและการส่งเสรมิ การศกึ ษาตลอดชวี ิต ประเด็นข้อแตกตา่ งคอื ประเทศญีป่ ุนมีนโยบายส่งเสริมสังคมนานาชาติเพื่อ สร้างความเสมอภาค 2) ระบบการบริหารจัดการศึกษาของทั้งสองประเทศเป็นระบบราชการโดยมี กระทรวงศึกษาธิการเป็นส่วนกลางทาการกระจายอานาจสู่ส่วนท้องถิ่น ประเด็นแตกต่างคือ ประเทศไทยกระจาย อานาจลักษณะเขตพ้ืนที่การศึกษาในขณะท่ีประเทศญี่ปุนทาการแยกส่วนตามจังหวัดและเขตอาเภอโดยมี คณะกรรมการการศึกษาประจาการแตล่ ะส่วน 3) การจัดโครงสร้างระดับการศึกษาของทั้งสองประเทศเหมือนกัน มี การจดั กิจกรรมแนะแนวและกิจกรรมนักเรียนเพื่อสร้างความมีส่วนร่วมกับชุมชนเหมือนกัน ประเด็นข้อแตกต่าง คือ การจัดระยะเวลาการศึกษาของประเทศไทยมีจานวนมากกว่าประเทศญี่ปุน และหลักสูตรของประเทศญ่ีปุนทาการ แยกกลุ่มสาระตามระดับการศึกษาทแี่ ตกตา่ งกนั รวมถึงการเน้นกิจกรรมพฒั นานกั เรียนโดยผู้เรียนเปน็ หลัก 4) ท้ังสอง ประเทศมีระบบใบอนุญาตประกอบอาชีพครูเหมือนกัน โดยประเทศไทยใช้ระบบการจัดการแข่งขันบรรจุครูในขณะที่ ประเทศญ่ีปุนใช้การพิจารณาจากวุฒิการศึกษาและหลักสูตรท่ีจบ และใบอนุญาตอาชีพครูของประเทศญี่ปุนมีข้อ กากบั อานาจในการสอนตามระดบั การศกึ ษาและหลักสูตรทที่ าการขอใบอนญุ าต คาสาคญั : การเปรียบเทียบระบบการศึกษา, ประเทศไทย, ประเทศญ่ปี ุน ABSTRACT หน้า159

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) The purpose of this study was to compare the basic education system between Thailand and Japan by analyzing the content of the document, academic articles related to educational management of both countries in 4 areas: 1) the objectives and principles of educational management, 2) the administration of the education system, 3) the basic educational curriculum structure, and 4) the teacher of the educational results. The result found that, 1) Thailand and Japan have the same educational objectives, which is to create a perfect humanity. There are principles of creating cooperation between societies and promoting lifelong education. The difference is that Japan has a policy to promote an international society to create equality, 2) the educational management system of both countries is a bureaucratic system, with the Ministry of Education being the central authority to decentralize to the local area. The difference is Thailand decentralizes the educational district characteristics while Japan is divided by provinces and districts, with each education board stationed, 3) the educational structure of both countries are similar. Guidance and activities are organized to create participation with the community as well. The different point is that the study duration of Thailand is greater than Japan. In addition, courses in Japan are divided into groups according to different educational levels that include focus on student development activities mainly organized by students. 4) Both countries have the same teaching license system in which Thailand uses a competition management system containing teachers, while Japan is based on consideration of qualifications and courses completed. Thereby, the Japanese teaching license has the power to teach according to the level of education and the course applying for a license. KEYWORDS: comparative study of education system, Thailand, Japan หนา้ 160

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) บทนา ป๎จจุบัน ประเทศไทยมีการจัดการศึกษาโดยยึดหลักการของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 โดยจดั ให้การศกึ ษาเป็น กระบวนการเรยี นรู้เพ่อื ความเจรญิ งอกงามของบุคคลและสังคมโดยการถ่ายทอด ความรู้ การฝกึ การอบรม การสืบสานทางวฒั นธรรม การสรา้ งสรรคจ์ รรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ ความร้อู ันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม การเรยี นรแู้ ละป๎จจัยเกอื้ หนุนใหบ้ ุคคลเรยี นรอู้ ย่างตอ่ เนอื่ งตลอดชวี ติ เพ่ือให้การศึกษาบรรลุผลตามเปูาหมายของประเทศ ประเทศไทยได้ทาการปฏิรูปการศึกษาอย่างต่อเน่ือง โดยพ.ศ.2561 กระทรวงศึกษาธิการได้เสนอแนวทางการปฏิรูปการศึกษา 6 ด้าน คือ ด้านการปฏิรูปครู การเพ่ิม กระจายโอกาส และพัฒนาคุณภาพการศึกษา การปฏิรูปการบริหารจัดการ การผลิตและพัฒนากาลังคน เพ่ือเพ่ิม ศกั ยภาพการแขง่ ขัน การปฏิรูปการเรียนรู้ และการปฏิรูป ICT ซ่ึงเน้ือหาแนวทางการปฏิรูปการศึกษามีความคลอบ คลุมและเหมาะสมกับสภาพสังคมไทยในป๎จจุบัน แต่อย่างไรก็ตามประเทศไทยยังมีป๎ญหาเรื่องการจัดการศึกษาอยู่ เชน่ กัน จากแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2560-2579 ระบุวา่ การศกึ ษาไทยยังมีปญ๎ หา 6 ประการ คือ 1) คุณภาพของ คนไทยทกุ กลุ่มวัยยงั มีป๎ญหา 2) การจัดการศึกษายังขาดคุณภาพและมาตรฐานในทุกระดับ 3) ระบบการศึกษาและ การพัฒนาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียังมีจุดอ่อน 4) การบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษายังไม่ เหมาะสมและขาดความคล่องตัว 5) โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาท่ียังมีความเหล่ือมล้า และ6) คนไทย ส่วนใหญย่ ังมีป๎ญหาด้านคุณธรรม จริยธรรม และไม่ตระหนักถึงความสาคัญของการมีวินัย ความซื่อสัตย์สุจริต และ การมจี ติ สาธารณะ ในกลมุ่ ประเทศตา่ งๆทีม่ ีการพัฒนาระดับสงู ประเทศญปี่ นุ เป็นประเทศแถวหน้าในด้านโทคโนโลยี เศรษฐกิจ รวมถึงการศึกษา ซึ่งรัฐธรรมนูญประเทศญี่ปุน (日本国憲法) ได้ระบุให้หน้าท่ีของประชาชนมี 3 ข้อ คือ การ ทางาน จา่ ยภาษี และรับการศึกษา ซง่ึ กล่าวได้วา่ การศึกษาเปน็ หนา้ ทีท่ ่บี คุ คลให้ความสาคญั ระดบั ต้นๆเพ่ือสร้างคนให้ ชีวิตในสงั คมและพัฒนาประเทศ ซึง่ เห็นผลลพั ธ์ของการจัดการศึกษาได้จากรายงานการจัดอันดับขององค์ต่างๆอย่าง ชัดเจน เชน่ ผลการประเมิน PISA ปี 2015 ของประเทศญี่ปุนพบว่า วิทยาศาสตรอ์ ยูใ่ นอันดับท่ี 2 การอ่านอยู่อันดับ ที่ 8 และคณิตศาสตร์อยู่ในอันดับที่ 5 เห็นได้ว่าคุณภาคของผู้เรียนอยู่ในระดับสูง นอกจากน้ีจากผลการรายงานจัด ระดับระบบการศึกษาท่ีดีท่ีสุดในโลก (The World Top 20 Education Poll) ปี ค.ศ. 2019 รอบท่ีหน่ึงค้นคว้าโดย หน่วยงานพัฒนาการศึกษานิวเจอร์ซี (New Jersey Minority Educational Development) ซ่ึงเป็นการสารวจ ระบบการศึกษาจากทัว่ โลกกวา่ 200 ประเทศ พบวา่ ประเทศญีป่ นุ ติดอันดบั ระบบการศึกษาที่ดสี ุดในอันดับที่ 4 และมี ระบบการจดั การศกึ ษาระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลายทีด่ ีท่สี ุดเปน็ อันดบั ท่ี 2 จากผลรายงานการจดั ระดับระบบการศกึ ษาข้างต้นจะเห็นได้ว่าการศึกษาของประเทศญ่ีปุนมีคุณภาพสูงซ่ึง เป็นผลมาจากการจัดระบบการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ โดยมีกระทรวงศึกษาธิการเป็นแกนนาในการออกนโยบาย การศึกษาของประเทศ และมีการจัดหลักสูตรท่ีมีความหลากหลายและมีคุณภาพ ดังนั้น ผู้ศึกษาจึงมีความสนใจใน การศึกษาเปรยี บเทียบการศึกษาของประเทศไทยและประเทศญ่ีปุนเพ่ือค้นหาประเด็นความแตกต่างทางด้านการจัด การศกึ ษาเพื่อนาไปเป็นแนวทางในการพฒั นาการศึกษาของประเทศไทยได้ต่อไป วตั ถปุ ระสงคก์ ารศึกษา หนา้ 161

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) เพอ่ื ศกึ ษาเปรียบเทยี บการศึกษาขน้ั พื้นฐานระหว่างประเทศไทยและประเทศญป่ี ุน ขอบเขตการศึกษา การศึกษาเปรียบเทียบการศึกษาระหว่างประเทศไทยและประเทศญ่ีปุน ดาเนินการศึกษาด้วยวิธีการ วิเคราะหเ์ นือ้ หา (content analysis) จากเอกสาร บทความวิชาการท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาของประเทศไทย และประเทศญ่ีปุน โดยทาการเปรียบเทียบในประเด็น 4 ด้าน คือ 1) จุดมุ่งหมายและหลักการการจัดการศึกษา 2) การบริหารจัดการระบบการศึกษา 3) โครงสร้างหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน และ 4) ครผู สู้ อน ผลการศกึ ษา 1 จดุ มงุ่ หมายและหลักการการจัดการศกึ ษา การจดั การศกึ ษาของประเทศไทยยดึ หลกั การตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 หมวดที่ 1 บททว่ั ไป ความม่งุ หมายและหลกั การ มาตรา 6 ได้ระบวุ า่ การจัดการศึกษาต้องเปน็ ไปเพ่อื พฒั นาคนไทยให้ เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ สติป๎ญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข และมาตรา 7 ระบุให้กระบวนการเรียนรู้มุ่งปลูกฝ๎งจิตสานึกที่ถูกต้อง เก่ียวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษาและส่งเสริม สทิ ธิ หนา้ ที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีความภาคภูมิใจในความ เป็นไทย รจู้ กั รกั ษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้งส่งเสริมศาสนา ศิลปะวัฒนธรรมของชาติ การ กฬี า ภูมปิ ๎ญญาท้องถนิ่ ภมู ปิ ๎ญญาไทย และความรอู้ ันเปน็ สากล ตลอดจนอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มคี วามสามารถในการประกอบอาชพี รู้จักพ่ึงตนเอง มีความริเร่ิมสร้างสรรค์ ใฝุรู้และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง และมาตรา 8 กล่าวถึง การจดั การศึกษาตอ้ งยึดหลกั 3 ประการ คือ 1) เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชน 2) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศกึ ษา และ3) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ในการจัดการศึกษาของประเทศญ่ีปุนจะมีกฏหมายท่ีเก่ียวข้องกับจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาคือ พระราชบัญญัติพ้ืนฐานการศึกษาปี ค.ศ.1947 ฉบับที่ 25 (教育基本法 : 昭和二十二年法律第 二十五号) ซ่งึ บังคับใชใ้ นปีค.ศ.1947 และปรับปรุงแก้ไขในปีค.ศ.2006 กฏหมายฉบับนี้ได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมาย การจดั การศกึ ษาในหมวดท่ี 1 จุดมุ่งหมายและปรัชญาการศึกษา (教育の目的及び理念) โดยมาตรา 1 ได้ระบุ การจัดการศึกษา มีจุดมุ่งหมายในการสร้างบุคลิกลักษณะความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ (人格の完成) และทาการฝึกฝนอบรมให้เป็นประชากรท่ีมีคุณภาพและสมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจอย่างเหมาะสมในฐานะ ผ้สู ร้างประเทศและสังคมอยา่ งสงบสขุ และเปน็ ประชาธิปไตย (平和で民主的な国家及び社会の 形成者として必要な資質を備えた心身ともに健康な国民の育成) และ มาตรา 2 ระบเุ ปาู หมายของการจัดการศึกษามี 5 ขอ้ ดงั น้ี หน้า162

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 1) เปน็ ผูไ้ ด้รบั การศกึ ษาให้มีความรู้กว้างไกล ปลูกฝง๎ จิตสานึกให้มีความเป็นผแู้ สวงหาความรูอ้ ย่างแทจ้ รงิ มี จิตใจที่ดีงาม มีศิลธรรม และมีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ (幅広い知識と教養を身に付け、真 理を求める態度を養い、豊かな情操と道徳心を培うとともに、健や かな身体を養うこと) 2) มคี วามเคารพต่อคุณค่าความสามารถของแต่ละบุคคล มั่นพัฒนาความสามารถ ความคิดสร้างสรรค์ มี จิตสานกึ ความเป็นเอกภาพของแต่ละบุคคล และใหค้ วามสาคัญตอ่ การใช้ชวี ติ และการประกอบอาชีพ (個人の価 値を尊重して、その能力を伸ばし、創造性を培い、自主及び自律の 精神を養うとともに、職業及び生活との関連を重視し、勤労を重ん ずる態度を養うこと) 3) มีความยทุ ตธิ รรมและความรับผิดชอบ มีความเคารพซ่ึงกันและกัน ความเท่าเทียมกันระหว่างชายและ หญิง และมีจติ ต่อสาธารณะและการสว่ นร่วมในสังคม (正義と責任、男女の平等、自他の敬 愛と協力を重んずるとともに、公共の精神に基づき、主体的に社会 の形成に参画し、その発展に寄与する態度を養うこと) 4) ให้ความเคารพและความสาคัญต่อส่ิงมีชีวิต ธรรมชาติ และการรักษาส่ิงแวดล้อม (生命を尊び 、自然を大切にし、環境の保全に寄与する態度を養うこと) 5) ให้ความเคารพต่อวัฒนธรรมประเพณี มีความรักชาติ และให้ความเคารพต่อประเทศอ่ืนๆ เพื่อพัฒ นา สงั คมนานาชาตอิ ย่างสงบสุข (伝統と文化を尊重し、それらをはぐくんできた我 が国と郷土を愛するとともに、他国を尊重し、国際社会の平和と発 展に寄与する態度を養うこと) นอกจากมาตรา 1 และมาตรา 2 ท่ีระบุจุดมุ่งหมายและเปูาหมายของการศึกษา มาตรา 3 ได้กล่าวถึง ปรัชญาการจัดการศึกษาตลอดชีวิตให้ประชาชนได้มีโอกาสในการรับการศึกษาตลอดชีวิต และมาตรา 4 ได้ระบุให้ ภาครัฐและองค์กรท้องถิ่นให้การร่วมมือและสนับสนุนการศึกษาต่อบุคคลทุกประเภทเพื่อไม่ให้เกิดความเหลื่อมล้า ทางการศึกษา 2 การบรหิ ารจดั การระบบการศกึ ษา UNESCO (2008) กล่าวถึง รฐั บาลไทยมีความพยายามในการปฏิรูปการกระจายอานาจการบริหารและเพิ่ม คุณภาพการศกึ ษาเพอ่ื ใหบ้ รรลุเปาู หมายการพัฒนาการศกึ ษาอย่างกวา้ งขวา้ ง โดยมกี ระทรวงคือกระทรวงศึกษาธิการ เป็นผู้นาในการกากับดูแลการศึกษาทกุ ระดับและทุกประเภท ทาการการกาหนดนโยบายแผนและมาตรฐานการศึกษา และทาการกระจายอานายการบรหิ ารส่หู น่วยงานและเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาของรัฐ นอกน้ียังมีหน่วยงานอ่ืนๆที่เก่ียวข้อง กับการสรบั สนนุ ศึกษา เชน่ กระทรวงมหาดไทยซง่ึ สนับสนุนสถานศกึ ษาท่ขี ้นึ กับองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน ดังภาพที่ 1 หนา้ 163

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ภาพท่ี 1 ระบบการจัดการศึกษาของประเทศไทยในโครงสรา้ งการกากับของรฐั แหลง่ ทม่ี า : UNESCO. (2008) Secondary education regional information base: country profile – Thailand. Bangkok: UNESCO Bangkok. นอกจากน้ี วิจิตร ศรีสอ้าน (2550) กล่าวว่า ประเทศไทยมีการบริหารจัดการระบบการศึกษาในลักษณะ ระบบราชการ โดยการจัดการศึกษาเปน็ หน้าท่ีของรฐั มีกระทรวงศกึ ษาธิการเปน็ ส่วนกลางและทาการกระจายอานาจ สู่ส่วนท้องถ่ิน การบริหารและการจัดการศึกษาไปยังเขตพื้นที่และสถานศึกษาโดยตรง เป็นการบริหารฐานโรงเรียน (School Based Management) ยึดสถานศกึ ษาเปน็ สาคญั โดยบทบาทของเขตพ้ืนที่การศึกษาเป็นหน่วยรองรับการ กระจายอานาจ การบริหารและจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานในระดับท้องถิ่น เชื่อมโยงระหว่างสานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานในส่วนกลางและสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐานในชุมชน ประเทศญี่ปุนมีกระทรวงที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาคือ กระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม การกีฬา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (文部科学省: The Ministry of Education, Culture, Sports, Science and Technology : MEXT) ทาหนา้ ท่ีออกนโยบายและกฏหมายทางการศึกษาระดบั ประเทศ รวมถึงการตรวจสอบ ช้ีแนะ และให้การสนบั สนุนทนุ ตา่ งๆทางการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการประเทศญ่ีปุนมีการจัดระบบกระจายอานาจการจัดการศึกษาซึ่งสรุปในลักษณะ แผนภาพที่ 2 หน้า164

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ภาพท่ี 2 แผนภูมิโครงสรา้ งการจดั การระบบการศกึ ษาประเทศญ่ีปุน แหลง่ ทม่ี า : กระทรวงศึกษาธิการประเทศญี่ปนุ ระบบคณะกรรมการการศกึ ษา เดือนกมุ ภาพนั ธ์ ค.ศ.2013 (教育 委員会制度について平成25年2月) จากภาพท่ี 2 แสดงให้เหน็ ถึงโครงสร้างการจดั การระบบการศึกษาประเทศญปี่ นุ โดยกระทรวงศึกษาธิการจะ เปน็ ส่วนกลางในการบริหาร และส่งมอบอานาจใหส้ ว่ นจงั หวดั และเขต/อาเภอทาการบรหิ ารจัดการศกึ ษา และมีการใช้ ระบบคณะกรรมการการศกึ ษา (教育委員会制度) ซึ่งเป็นหน่วยงานทเ่ี ปน็ กลางตอ่ อานาจทางการเมืองและ นติ ิชน จัดต้ังสานักงานซงึ่ อยปู่ ระจาทกุ จังหวัดและเขต/อาเภอ มีหน้าท่ีกากับดูแลรับผิดชอบการจัดการศึกษาในพ่ืนที่ รวมถึงการสรา้ งรว่ มมอื กับชุมชนผูอ้ ยู่อาศยั ในจงั หวดั และเขต/อาเภอที่กาหนด 3 โครงสร้างหลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน จากการเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงระบุการจัดหลักสูตร การศกึ ษาของประเทศไทย และพระราชบญั ญตั ิการจดั การศึกษาในสถานศึกษา (学校教育法) และคมู่ ือการจดั หลักสูตร ฉบับปรับปรุงค.ศ.2017-2018 (平成29.30年改訂学習指導要領) ซึ่งบัญญัติการจัดการ สถานศกึ ษาของประเทศญีป่ นุ โดยสรปุ ประเด็นการจดั หลกั สตู ร ดังตารางท่ี 1 ดงั นี้ หน้า165

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ประเทศไทย ประเทศญป่ี นุ่ ระดบั ประถมศกึ ษา 1-6 (ภาคบังคับ) ประถมศกึ ษา 1-6 (ภาคบงั คบั ) การศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนต้น 1-3 (ภาคบงั คับ) มัธยมศกึ ษาตอนต้น 1-3 (ภาคบังคบั ) มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 4-6 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 1-3 เวลาเรยี น ประถมศึกษา : 1,000 ช่วั โมง/ปี ประถมศกึ ษา : 850-1,015 ชว่ั โมง/ปี มัธยมศกึ ษาตอนต้น : 1,200 ช่ัวโมง/ปี มธั ยมศกึ ษาตอนต้น : 1,015 ชัว่ โมง/ปี มธั ยมศึกษาตอนปลาย : 40คาบ=1 มัธยมศึกษาตอนปลาย : 1คาบ=50นาที 35 หน่วยกจิ รวม 3 ปี ไม่น้อยกว่า 3,600 คาบ=1 หน่วยกจิ รวม 3 ปี ไมน่ อ้ ยกวา่ 74 ช่ัวโมง หน่วยกจิ =2,158 ช่ัวโมง หลกั สตู รทวั่ ไป หลักสูตรแกนกลาง 8 กลุม่ สาระการ ประถมศึกษา : 9 หลกั สูตร เรียนรู้ มัธยมศึกษาตอนต้น : 9 หลักสตู ร มธั ยมศึกษาตอนปลาย : 10 หลกั สตู ร+วิชา เฉพาะสายอาชพี ตามโรงเรียนจดั ※วชิ าจรยิ ธรรม จดั เป็นวิชาพเิ ศษแยกออก จากหลกั สตู รหลัก เรยี นเฉพาะระดบั ประถมศึกษาและมธั ยมตอนต้น กจิ กรรมพฒั นา 1. กิจกรรมแนะแนว 1. กจิ กรรมภาษาต่างประเทศ (เฉพาะ ผู้เรยี น (ให้คาปรกึ ษาดา้ นชีวิต การศึกษาต่อ ประถมศกึ ษา) และการพัฒนาตนเองสโู่ ลกอาชีพและ 2. กจิ กรรมพเิ ศษ การมงี านทา) 2.1 สมาคมนกั ศึกษา 2. กจิ กรรมนักเรยี น 2.2 ชมรม (โครงงาน กจิ กรรมชุมนุม กจิ กรรมรกั 2.3 กจิ กรรมโรงเรียน (โฮมรูม, พธิ เี ปดิ -ปิด การอ่าน ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้ การศึกษา, วนั กฬี า, วนั วัฒนธรรม ฯลฯ) บาเพญ็ ประโยชน์ ฯลฯ) 2.4 กจิ กรรมนอกสถานที่ (ทัศนศึกษา ภายในและตา่ งประเทศ) 3. กิจกรรมบรู ณการ (Active learning) ตารางที่ 1 การเปรียบเทยี บโครงสรา้ งหลกั สตู รการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานไทย-ญ่ีปนุ จากตารางท่ี 1 พบวา่ การจดั ระดบั การศกึ ษาของท้งั สองประเทศมีลกั ษณะเหมือนกนั คือ ระดบั การศึกษามี 3 ระดับคือ ระดับประถมศึกษา 6 ปี ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี โดย การศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษาและระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ เปน็ การศกึ ษาภาคบังคับ หน้า166

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ดา้ นเวลาในการศกึ ษาพบว่า ในระดบั ประถมศึกษา ประเทศไทยจัดเวลาการศกึ ษาปีละ 1,000ช่ัวโมงเท่าๆกัน ตลอดปีการศกึ ษาแต่ประเทศญ่ีปนุ จะค่อยๆเพิมชัว่ โมงเรยี นจากชั้นปที ่ี 1 คือ 850 ชวั่ โมง/ปี จนถึงชั้นปีที่ 6 คือ 1,015 ช่ัวโมง/ปี ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นประเทศไทยจัดเวลาการศึกษามากว่าประเทศญ่ีปุน 200 ช่ัวโมง/ปี ในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายของประเทศไทยมีข้อกาหนดเวลาการศึกษารวม 3 ปี ไม่น้อยกว่า 3,600 ชั่วโมง ในขณะที่ ประเทศญ่ปี ุนมขี ้อกกากับรวม 3 ปี ไม่นอ้ ยกวา่ 74 หนว่ ยกิจหรือ 2,158 ชั่วโมง ดา้ นหลกั สูตรทั่วไปพบวา่ ประเทศไทยมกี ารกาหนดหลักสูตรแกนกลาง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้เหมือนกันทุก ระดับ ในขณะทปี่ ระเทศญีป่ ุนมกี ารกาหนดกลุม่ ของหลักสูตรท่ีแตกต่างกนั ตามระดบั การศึกษา โดยภาพร่วมมีลักษณะ เน้ือหาในการแบ่งกลมุ่ หลักสตู รคลา้ ยคลงึ กบั ประเทศไทยแต่ทาการแยกวิชาดนตรีออกเป็นหน่ึงหลักสูตรหลัก และใน ระดบั ประถมศกึ ษาตดั วชิ าภาษาต่างประเทศให้เป็นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแทน ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมีการ จดั หลักสูตรหลักบวกวชิ าเฉพาะสายอาชพี ใหเ้ ปน็ วิชาเลือกตามการจดั การของแตล่ ะสถานศึกษา นอกจากน้ีในส่วนที่มี ความแตกตา่ งกันคือประเทศญีป่ นุ มกี ารจัดวิชาจรยิ ธรรมใหเ้ ปน็ วชิ าพิเศษแยกออกจากหลักสูตรหลกั ซึ่งจดั เฉพาะระดับ ประถมศึกษาและมธั ยมตอนตน้ เท่านนั้ และอนญุ าตให้สอนเนอ้ื หาเก่ยี วกบั ศาสนาไดเ้ ฉพาะสถานศึกษาเอกชนเท่าน้ัน ด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนพบว่าท้ังสองประเทศมีแนวทางการจัดให้ผู้เรียนได้พัฒนาศักยภาพนอกเ น้ือหา หลักสูตรท่ัวไป มีครูผู้สอนเป็นผู้ช้ีนาให้การปรึกษา และมีการจัดกิจกรรมร่วมกับภาคชุมชนเหมือนกัน ประเด็น น่าสนใจส่วนหนึ่งคือ ประเทศญ่ีปุนมีการจัดกิจกรรมบูรณการ (総合的な学習の時間) ทุกระดับ การศึกษา ซงึ่ มเี ปาู หมายใหผ้ ู้เรยี นไดค้ ิดเรียนรู้ด้วยตวั เองในสิ่งทผี่ ้เู รียนสนใจโดยมคี รูผู้สอนเป็นผู้ช้ีนา ซึง่ เนื้อกิจกรรมมี ความเป็นอิสระโดยเก่ียวข้องกับการใช้ชีวิตประจาวันธรรมชาติ ชุมชน นานาชาติ รวมถึงการพัฒนาความสามารถ พเิ ศษเฉพาะตัว มกี ารปฏบิ ตั ิในลักษณะการคน้ คว้า วิจัย จดั โครงการ กจิ กรรมอาสา หรอื การแสดงผลงาน เป็นต้น 4 ครผู ูส้ อน ประเทศไทยมกี ารกาหนดให้ในพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ มาตรา 53 ระบใุ หค้ รู ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น ท้ังของรัฐและเอกชนต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพตามท่ี กฎหมายกาหนด โดยมีองค์กรวิชาชีพครูเป็นหน่วยงานดูแดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบ อาชพี ครู และมีพระราชบัญญตั ิระเบยี บขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เป็นกฎหมายหลักในการกากับการ บรรจุและแต่งตั้งครู โดยมาตรา 45 ระบุว่า การบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษา เพ่ือแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งใด ให้บรรจุและแต่งตั้งจากผู้สอบแข่งขันได้สาหรับตาแหน่งน้ัน ซ่ึงหมายถึงผู้ขอ ใบอนุญาตประกอบอาชีพครูต้องผ่านการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุครู และพิจารณาตามคุณสมบัติทั่วไปตามมาตรา 30 และคณุ สมบัติเฉพาะสาหรบั ตาแหนง่ ตามมาตรฐานตาแหนง่ น้ันตามมาตรา 42 โดยคานึงถึงมาตรฐานวิชาชีพ คุณวุฒิ การศึกษา ประสบการณ์ คณุ ภาพการปฏบิ ตั ิงาน หรอื ผลงานทีเ่ กิดข้นึ จากการปฏบิ ตั หิ น้าท่ี เปน็ ต้น หน้า167

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ในประเทศญปี่ ุน ตามกฎหมายพระราชบญั ญตั กิ ารจดั การศึกษาในสถานศึกษาระบใุ ห้ครูผ้สู อนในสถานศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาลถึงระดับมัธยมปลาย และสถานศึกษาสาหรับเด็กด้อยโอกาสและพิการ จะต้องมีใบอนุญาต ประกอบอาชีพครูซึ่งออกโดยการพิจารณาจากคณะกรรมการการศึกษาประจาจังหวัดและมีการบัญญัติร่างกฏหมาย เกย่ี วกับการขอใบอนุญาตอาชพี ครู คอื พระราชบัญญัติการอนุญาตประกอบอาชีพครู วันท่ี 31 พฤษาคม ค.ศ.1949 ฉบับที่ 147 (教育職員免許法:昭和二十四年五月三十一日法律第百四十七 号) ซึง่ เปดิ โอกาสใหบ้ ุคคลทีม่ ีความสามารถในการประกอบอาชีพครู โดยแบง่ ใบอนญุ าตออกเปน็ 3 ประเภท ดงั นี้ 1) ใบอนุญาตประเภทท่ัวไป (普通免許状) เป็นใบอนุญาตสาหรับผู้เรียบจบหลักสูตรด้าน ศึกษาศาสตร์และครุศาสตร์โดยตรง มีอายุการใช้งาน 10 ปี ใบอนุญาตประเภทท่ัวไปสามารถแบ่งย่อ ยตามระดับ การศกึ ษาท่ีจบ โดยแบง่ ออกเป็น 3 ประเภทย่อย ดงั นี้ 1.1) ใบอนุญาตสายอาชีพเฉพาะ (専修免許状) เป็นใบอนุญาตสาหรับผู้จบปริญญาโทขึ้นไปและ จบหลักสตู รตามข้อบงั คับในการขอใบอนญุ าตอาชพี ครู 1.2) ใบอนญุ าตประเภทหนง่ึ (一種免許状) เป็นใบอนญุ าตสาหรบั ผู้จบปริญญาตรแี ละจบหลักสูตร ตามข้อบังคับในการขอใบอนญุ าตอาชีพครู 1.3) ใบอนุญาตประเภทสอง (二種免許状) เป็นใบอนุญาตสาหรับผู้จบการศึกษาในวิทยาลัย อาชีวศกึ ษาหรือวิทยาลัยระยะสน้ั (Junior college) และจบหลกั สตู รตามขอ้ บังคบั ในการขอใบอนุญาตอาชพี ครู 2) ใบอนุญาตประเภทพิเศษ (特別免許状) เป็นใบอนุญาตสาหรับบุคคลทั่วไปที่มีความรู้เฉพาะด้าน และมีความต้องการในการสอนในสถานศึกษา โดยต้องผ่านการพิจารณาและทดสอบวิชาชีพครู มีผลบังคับเฉพาะ จังหวัดท่ีขอใบอนุญาต มอี ายุการใชง้ าน 10 ปี 3) ใบอนุญาตประเภทชั่วคราว (臨時免許状) เป็นใบอนุญาตสาหรับผู้ไม่ผ่านการขอใบอนุญาต ประเภททวั่ ไปแต่ไดร้ บั การพิจารณาใหเ้ ปน็ ครผู ู้ฝกึ สอน มผี ลบงั คับเฉพาะจงั หวดั ทข่ี อใบอนญุ าต มีอายกุ ารใช้งาน 3 ปี ในการพจิ ารณาขอใบอนญุ าตอาชพี ครมู ขี ้อบังคับซึง่ เป็นรายระเอียดย่อยคือ ครูผู้ต้องการสอนในโรงเรียน มัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายจาเป็นต้องจบหลักสูตรตรงกับวิชาที่ต้องการสอน เช่น ต้องการสอนวิชา ภาษาอังกฤษในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในการขอใบอนุญาตอาชีพครูจะพิจารณาจากการเรียนจบ หลักสูตรวิชาหลักและวิชาที่เกี่ยวข้องกับวิชาภาษาอังกฤษตามข้อกากับกฏหมาย ดังนั้นการเลือกเรียนหลักสูตรใน สถาบนั อุดมศึกษาจึงเป็นสิ่งสาคัญและมีผลตอ่ การขอใบอนุญาตอาชีพครูโดยตรง นอกจากนี้ ขอบเขตในการสอนของ ครูมีข้อจากัดเฉพาะระดับการศึกษาที่ขอใบอนุญาตเท่าน้ัน เช่น ครูผู้สอนในโรงเรียนระดับประถมศึกษาสามารถ จัดการเรียนการสอนได้เฉพาะในระดับประถมศึกษาเท่าน้ัน ยกเว้นบางกรณีตามข้อกาหนดของกฏหมาย เช่น หนา้ 168

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ครูผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ซ่ึงมีใบอนุญาตสอนในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายสามารถสอนวิชาคณิตศาสตร์ใน โรงเรยี นระดับประถมศึกษาได้ เป็นตน้ สรปุ การเปรยี บเทยี บการจดั การศกึ ษา 1) การศกึ ษาของท้งั สองประเทศมจี ดุ มุ่งหมายการจัดการศกึ ษาท่เี หมอื นกนั คือ การสรา้ งความเป็นมนุษย์ที่ สมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ มีความรู้ความสามารถในการใช้ชีวิตและพัฒนาสังคมตามบทบาทของประเทศ รวมถึงการให้ความสาคญั ต่อการจดั การศกึ ษาตลอดชีวิต และการมสี ่วนร่วมในการจัดการศึกษา ในด้านความแตกต่าง พบว่า เปูาหมายการจัดการศึกษาประเทศญป่ี ุนมีการระบุถึงความเคารพต่อประเทศอื่นๆ เพ่ือพัฒนาสังคมนานาชาติ ซ่งึ ประเทศไทยไม่ระบถุ งึ ระดับสงั คมนานาชาติ โดยรัฐบาลประเทศญ่ปี นุ มีแนวโน้นเก่ียวกับการพัฒนาสังคมนานาชาติ (国際化 : Internationalization) โดยจัดนโยบายสร้างจิตสานึกสังคมนานาชาติในหลายรูปแบบ เช่น การ ปรบั ปรุงหลักสูตรภาษาต่างประเทศในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปลูกฝ๎งความเป็นสังคมนานาชาติในวิชาหลักและ วิชาศิลธรรม เพ่ิมระบบการสร้างความรว่ มมอื ระหว่างต่างประเทศในสถานศึกษา และการช่วยและและสนับสนุนการ จัดการศึกษาให้นักเรยี นชาวต่างชาตทิ พ่ี านักในประเทศญี่ปุน เป็นตน้ 2) การบรหิ ารจดั การระบบการศึกษาท้ังสองประเทศมีลักษณะเป็นระบบราชการโดยมีกระทรวงศึกษาธิการ เปน็ ส่วนกลางในการกาหนดกฏหมายนโยบายทางการศกึ ษาทง้ั ประเทศ และทาการกระจายอานาจการศึกษาสู่ท้องถ่ิน ประเทศไทยแบ่งการกระจายอานาจในลักษณะเขตพ้ืนที่การศึกษาและให้โรงเรียนฐานหลักในการจัดการบริหาร การศึกษา ประเทศญ่ีปุนมีกระทรวงศึกษาธิการท่ีมีอานาจคลอบคุมถึงเรื่องวัฒนธรรม การกีฬา วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ทาการกระจายอานาจโดยแบง่ ตามจังหวดั และเขตอาเภอโดยแตล่ ะส่วนจะมคี ณะกรรมการการศกึ ษาทคี่ อย กากบั และประสานงานการบรหิ ารจดั การศึกษา 3) โครงสรา้ งหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานของทง้ั สองประเทศมีคล้ายคลึงกันในด้านการจัดระดับการศึกษา และการจัดกจิ กรรมพฒั นานักศึกษาซงึ่ มีการแนะแนวและการจัดกรรมนักเรียนท่ีมีส่วนร่วมกับชุมชน ประเทศไทยจัด เวลาการศึกษาท่ีมากกว่าประเทศญ่ีปุนโดยเฉพาะมัธยมศึกษาตอนต้น ในด้านหลักสูตรประเทศไทยยึดหลักสูตร แกนกลาง 8 กลุม่ สาระการเรียนรเู้ หมอื นกนั ทุกระดับ ในขณะท่ปี ระเทศญป่ี นุ มกี ารกาหนดกลุ่มของหลักสตู รท่ีแตกต่าง กันตามระดับการศึกษาและแบ่งกลุ่มหลักสูตรมากกว่าประเทศไทย ด้านกิจกรรมพัฒนานักเรียน ประเทศญ่ีปุนมี แนวโนม้ ในการจดั กิจกรรมอสิ ระโดยผู้เรียนเป็นหลกั 4) ท้ังสองประเทศมีกฏหมายบงั คบั ให้ครมู ีใบอนุญาตประกอบอาชีพครูเหมือนกัน แต่มีข้ันตอนการพิจารณา ขอใบอนุญาตทแ่ี ตกต่างกนั ประเทศไทยมีการจดั การสอบแข่งขันบรรจุครู ในขณะที่ประเทศญ่ีปุนใช้การพิจารณาจาก วุฒิการศึกษาและหลักสูตรท่ีจบโดยคณะกรรมการการศึกษาระดับจังหวัดเป็นผู้พิจารณา ดั งน้ันนักศึกษาใน ระดับอุดมศึกษาญ่ีปุนจึงให้ความสาคัญในการเลือกลงวิชาหลักสูตรในสถาบันเนื่องจากมีผลต่อการพิจารณาขอ ใบอนุญาตอาชีพครูโดยตรง และใบอนุญาตอาชพี ครูมีหลายประเภทและเปดิ โอกาสใหบ้ ุคคลทวั่ ไปทีม่ คี วามสามารถรับ พิจารณาขอใบอนุญาตอาชีพครูได้อย่างอิสระ ใบอนุญาตประกอบอาชีพครูของประเทศไทยไม่มีการจากัดขอบเขต อานาจในการจดั การสอน ในขณะท่ปี ระเทศญีป่ ุนมีขอ้ จากดั ในเรอ่ื งระดบั การศกึ ษาและหลกั สูตรทที่ าการสอน หน้า169

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) เอกสารอ้างองิ ภาษาไทย กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2553). พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาตพิ .ศ.2542 ทแ่ี กไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบบั ท่ี2)พ.ศ.2545 และที่แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พอ์ งค์การรบั สง่ สินคา้ และพัสดภุ ัณฑ์ (ร.ส.พ.). กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2551). หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษรแหง่ ประเทศไทย จากัด. กระทรวงศึกษาธกิ าร . (2561). การปฏิรปู และการพฒั นาการศึกษาตามนโยบายรฐั บาล และขอ้ สง่ั การของ นายกรฐั มนตรี ตาม Roadmap การศกึ ษา 6 ด้าน. [Online], สบื คน้ เมอ่ื 9 เมษายน 2562. Available fromhttp://www.moe.go.th/moe/th/news /detail.php?NewsID=51474&Key=infographics พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2547. (23 ธันวาคม 2547). ราชกิจจา นเุ บกษา. เลม่ 121 ตอนพเิ ศษ 79 ก. หนา้ 22-74. สานกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. (2560). แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 - 2579. กรงุ เทพฯ : สานักงาน เลขาธิการสภาการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ. วิจติ ร ศรสี อา้ น. (2550). การบรหิ ารฐานโรงเรยี น [School Based Management]: มติ ใิ หม่ของการบริหารโดย ใช้สถานศกึ ษาเปน็ ฐาน. [สไลดพ์ าวเวอร์พอยต]์ . บรรยายในการประชุมสัมมนาการรบั นักเรยี น ปีการศึกษา 2550, กรงุ เทพฯ. [Online], สบื คน้ เม่อื 9 เมษายน 2562. Available fromhttps://library.stou.ac.th/odi/wichit/work-3-1.html (9 เมษายน 2562) ภาษาญ่ีปนุ่ กระทรวงศกึ ษาธิการประเทศญป่ี ุน. พระราชบญั ญตั พิ ืน้ ฐานการศกึ ษาปี ค.ศ.1947 ฉบบั ที่ 25 (教育基本法 : 昭和二十二年法律第二十五号) . [Online], สบื คน้ เม่อื 9 เมษายน 2562. Available fromhttp://www.mext.go.jp/b_menu/houan/an/06042712/003.htm กระทรวงศกึ ษาธกิ ารประเทศญปี่ ุน. ระบบคณะกรรมการการศกึ ษาเดอื นกุมภาพนั ธ์ ค.ศ.2013 (教育委員会 制度について平成25年2月) . [Online], สืบคน้ เม่ือ 9 เมษายน 2562. Available fromhttps://www.kantei.go.jp/jp/singi/kyouikusaisei/dai3/ siryou2.pdf กระทรวงศึกษาธิการประเทศญปี่ ุน. พระราชบญั ญตั กิ ารจัดการศกึ ษาในสถานศกึ ษาวนั ที่ 19 มีนาคม ค.ศ.1947 ฉบับที่ 26 (学校教育法 : 昭和二十二年三月二十九日法律第二十六号). [Online], สืบคน้ เมื่อ 9 เมษายน 2562. Available from หนา้ 170

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) http://www.mext.go.jp/b_menu/hakusho/html/others/detail/1317990.htm กระทรวงศึกษาธกิ ารประเทศญี่ปุน. คู่มอื การจัดหลกั สูตร ฉบบั ปรบั ปรงุ ค.ศ.2017-2018 (平成29.30年改訂 学習指導要領) . [Online], สืบคน้ เม่ือ 9 เมษายน 2562. Available fromhttp://www.mext.go.jp/a_menu/shotou/new-cs/1384661.htm กระทรวงศึกษาธกิ ารประเทศญป่ี ุน. พระราชบญั ญตั กิ ารอนุญาตประกอบอาชพี ครู วันท่ี 31 พฤษาคม ค.ศ.1949 ฉบับท่ี 147 (教育職員免許法:昭和二十四年五月三十一日法律第百四 十七号). [Online], สืบค้นเมอื่ 9 เมษายน 2562. Available fromhttp://www.mext.go.jp/component/a_menu/education/micro_detail/__icsFiles/afieldfile/ 2017/07/26/1388544_9_1.pdf กระทรวงศึกษาธกิ ารประเทศญ่ีปุน. การจดั การศึกษาในศตวรรษท่ี 21 - บทที่ 2 ความเปน็ นานาชาตกิ บั การศกึ ษา (21世紀を展望した我が国の教育の在り方について:第2章 国際 化と教育). [Online], สบื ค้นเม่อื 9 เมษายน 2562. Available fromhttp://www.mext.go.jp/b_menu/shingi/old_chukyo/old_chukyo_index/toushin/attach/13 09613.htm สภาผูแ้ ทนราษฎร. (1946). รฐั ธรรมนูญประเทศญปี่ นุ่ (日本国憲法). [Online], สืบค้นเมือ่ 9 เมษายน 2562. Available fromhttp://www.shugiin.go.jp/internet/itdb_annai.nsf/html/statics/shiryo/dl- constitution.htm (9 เมษายน 2562) ภาษาอังกฤษ New Jersey Minority Educational Development. 2019 World Best Education Systems – 1st Quarter Rankings. [Online], 9 April 2019. Available fromhttps://worldtop20.org/worldbesteducationsystem UNESCO. (2008) Secondary education regional information base: country profile –Thailand. [Online], 9 April 2019. Available from http://uis.unesco.org/sites/default/files/documents/secondary-education-regional- information-base-country-profile-for-thailand-en.pdf OECD. PISA 2015 Results in Focus. [Online], 9 April 2019. Available from https://www.oecd.org/pisa/pisa-2015-results-in- focus.pdf หน้า171

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) A STUDY OF STUDENTS’ ACHIEVEMENT IN GROUP ACTIVITIES IN TEACHING CHINESE VOCABULARY Zhang Guigui 1and Waraporn Thaima2 1M.Ed. School of Interdisciplinary Technology and Innovations 2Dean, School of Liberal Arts Sripatum University E-mail [email protected] ,[email protected] ABSTRACT This objectives of this research were to: 1) study the group activities in teaching Chinese vocabulary, and 2) compare students' achievement in group activities before and after teaching Chinese vocabulary. A study of group activities in teaching Chinese vocabulary was conductedat Wat Sing school, Thailand with 42 Chinese students selected from the total population of 347.In this study, students learned Chinese vocabulary through group activities, and conducted Pre- tests and Post-test to determine the effectiveness of group activities. Content Validity by experts using IOC is more than 0.5.Data Analysis showed frequency, percentage, mean, standard deviation, and pair t-test. The results of this study found that: 1) the use of group activities is conducive to improving students' achievement in group activities before and after teaching Chinese vocabulary, and 2) comparison of students' achievement in group activities before and after teaching Chinese vocabulary, revealed the students' overall scores after teaching were higher than before they were taught Chinese vocabulary. KEYWORDS:Group Activities, Chinese Vocabulary, Students‖ Achievement หน้า172

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) INTRODUCTION With the acceleration of economic globalization and the deepening of communication between countries. Language is playing an increasingly important rolebetween people. So in addition to learning the mother tongue, more and more people are learning a second language. However second language learning is different from native language learning. It requires learners to apply what they have learned in practice, and teachers pay more attention to students' communicative competence and strain capacity. Due to historical factors and special geographical location, Thailand has a large number of Chinese. With the construction of \"One Belt And One Road\", the economic and cultural exchanges between China and Thailand become more and more frequent, and the number of Chinese learners increases gradually. As early as 1999, the Thai government promulgated the national education act, which officially incorporated Chinese into Thailand's education program. With the support of the government, Thai schools have incorporated Chinese into their curriculum. At the same time, China strongly supports Chinese language education. In 2003, Hanban sent the first batch of Chinese volunteers to Thailand as a pilot teaching program. Since 2003, Hanban has sent more than 15,000 Chinese volunteers to Thailand. In addition to Hanban volunteers, China and the Thai government have established 14 Confucius institutes and classrooms. At present, in Thailand, in addition to the volunteers sent by China, there are a large number of non-governmental language institutions and language schools offering Chinese courses. Chinese teaching has gradually formed an independent and mature Chinese teaching system in Thailand. In 2017,Guo Chenmeng (2017) suggested the group activities focus on students and try to set a relatively real language environment for students in classroom activities. After years of promotion, the number of people learning Chinese in Thailand has increased. which is teacher- centered is not suitable for teaching Chinese as a foreign language in Thailand. So in the class design the activity is suitable.The activity can help student a relatively environment. In the studey of Wang Mengmei (2018) said the activity teaching is a student-centered activity form that activates textbook content in communicative situations to promote learning, breaking through the traditional mode of knowledge-centered and teacher-centered teaching. Now in Thailand the students like to participate in activities. In the process of activities, Thai students give full play to their advantages and apply knowledge to classroom activities. At the same time, as Chinese is not the mother tongue, Thai students' Chinese proficiency is not consistent. หนา้ 173

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) Group activities in class can help students with low Chinese proficiency integrate into the study as soon as possible. In the process of learning Chinese, some students are shy or afraid of making mistakes and refuse to speak. Classroom group activities can help these students reduce anxiety and relieve tension. Therefore, classroom group activities have certain advantages in the process of teaching Chinese as a foreign language. RESEARCH OBJECTIVES 1. To study the group activities in teaching Chinese vocabulary. 2. To compare the students' achievement before and after teaching Chinese vocabulary. RESEARCH METHODOLOGY Population and Sample A study of group activities in teaching Chinese vocabulary in Mathayom 1. Wat Sing school, Thailand selected by 42 Chinese students from 347 Chinese students in Wat Sing school, and all of them have basic Chinese proficiency. Research Process As the study was experimental in nature. Therefor, “Pre -test and Post- test Equivalent Groups Design” was used. The activities were designed. Students learn the words of 14 body parts through pictures. After the 25 minutes of teaching, students learned 14 words through individual learning about 20 minutes. There were 10 questions in total. After the first pre-test, students were divided into groups of 4-5. Groups had group competitions. Before the activity, students had 20 minutes of group study time. After 20 minutes, every 2 teams would compete in groups. After finishing the group competition, the post-test was used to test students. In this study, students learned Chinese vocabulary through group activities, and the Pre- test and Post-test were conducted to determine the effectiveness of group activities. หนา้ 174

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) Through two tests, it was found that group activities could improve students' individual academic performance. At the same time, the results of the two tests were compared with the mean value and S.D. (Standard Deviation). Data Analysis Statistic used were frequency, percentage, mean, standard deviation, and pair t-test RESULTS 1: To study before and after teaching Chinese vocabulary In this group activity,the researcher designed the group activity according to the characteristics of students. Group activities should not only ensure students' academic performance, but also increase the fun of the classroom. This group activity was analyzed for the student achievement influence.In this teaching activity, students learn new words through pictures. In group activities, students practiced by discussing and asking each other questions. Finally, they checked students' mastery of new words through group competition. Compared with the traditional teaching methods, the use of classroom activities greatly improved the enthusiasm of students, while the classroom atmosphere was active and students' participation improved. From the students' grades, we can clearly find that the students' excellence rate has significantly improved. This helps students improve their scores. From the point of view of students' grades, group activities are a great help to students' grades. Students can communicate with each other in group activities. When confronted with problems, students could answer each other or consult their teachers. In the whole process of the activity, students' enthusiasm increased. The good learning atmosphere drove the whole teaching activity. During the activity, students not only mastered new words, but also increased their interest in learning. Part 2: To compare the students' achievement in group activities before and after teaching Chinese vocabulary. หนา้ 175

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) Table 1: The statistics of students' scores Scores 10 9 8 7 6 5 4 3 21 Pre-test 958 9424- 1- Post-test 8 16 7 7 1 2 - 1 -- Table 1 indicates students‖ achievement scores for Pre-test and Post- test. 41 students increased Pre-test scores from 2 to 10 scores, and the highest is 10 and 7. 42 students received Post-test scores from 3 to 10 scores, and the highest is 8 and 9. Table 2: Mean and standard deviation of scores Post-test Mean N Std. Deviation Std. Error Mean Pre-test 8.2857 42 1.55054 .23925 7.4762 42 2.05103 .31648 Table 2 shows mean and standard deviation of Pre-test scores before (Mean= 8.2857, SD = 1.55054) and Post-test scores after (Mean= 7.4762, SD = 2.05193) teaching Chinese vocabulary. Table 3: The comparison of pre-test and Posttest Paired Differences t df Sig. Mean Std. Deviation Std. Error Mean (2-tailed) Posttest - Pretest .80952 .77264 .11922 6.790 41 .000 Significant at a level of .01 Table 3 indicates that the comparison of students‖ achievement before and after teaching Chinese vocabulary by post-test is higher than pre-test with statistic significant at a level of .01, and t =6.790. หนา้ 176

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) CONCLUSIONS Group activity is a small group activity and group learning is inclusive. Students in small groups of learningwere willing to accept of peer opinion, views, and knowledge understanding. Chinese is a second language. In the process of learning at the beginning,some students could not properly received, understood and digested knowledge, that these problems could be well solved by group explanation and sharing. Since the preparation activity was a group competition, and the activity was competitive, students would actively ask the teacher when they encountered problems in the preparation process. Students were motivated when they competed in two teams. 42 students in studied Chinese vocabulary through the activities, students' overall performance improved, and the gap between students scores narrowed, indicating a positive role of group activities. It helps students to learn from each other; the good ones help the poor ones. Students can make progress together. In this experiment, through pre-test and post-test, the whole process of the activity, the students had a better understanding and memory of new words because of the use of pictures. In the whole activity, students discuss with each other and ask questions during the about 20-minute self-study in the group. The atmosphere of the whole class is more active and students are more interested in learning. In the process of the competition, because the activity is competitive, students in the process of the competition high learning enthusiasm. Students who do not usually open their mouths will also open their mouths to speak Chinese and participate in activities. In the whole process of group activities, students performed well as a whole, and the classroom atmosphere, learning interest and academic performance were improved. DISCUSSIONS Group activity is a small group activity. As proposed in the Devon‖s study (2004) learning is inclusive. Students studying in small groups are more likely to receive different opinions, opinions and understandings from their peers. Chinese is the learning of a second language. In the process of learning, some students cannot receive, understand and digest knowledge correctly. The group can solve this problem well by explaining and sharing with each other. The previous research of Shi Dandan (2011) found that the group activities can improve students' opening rate and reduce students' anxiety. Thus, in this study, the preparation activity is a group competition, and the activity is competitive, students will communicate with teachers when they encounter problems in the preparation process. หน้า177

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) In addition, Sunrui‖s (2007) believed that the process of teaching is to resolve this contradiction by mobilizing everything. Due to Chinese learning includes pinyin, new words, sentence patterns, grammar learning. New words are difficult to understand. Through this activity, it was found that group activities were suitable to be carried out in class. Group activities were conducive to the overall progress of students and narrow the gap in their academic performance. Group activities were conducive to the cultivation of students' group solidarity, but also cultivate students' sense of competition. In the teaching process, the appropriate group activities and teaching content combination. Choosing appropriate group activities not only increases students' interest in learning, but also increases their confidence in learning Chinese. As an effective teaching method, group activity can not only be used in new words teaching, but also in other aspects of Chinese. RECOMMENDATIONS Group activity helps students to develop themself in learning. Further research, the researcher would like to redesign the group activities. First of all, the researcher will control a reasonable number of students. If the number is too large, it will be difficult for the teacher to control the process of the activity, which will take a long time. Secondly, in the design of the activities, different types of group activities are designed to obtain more data through different types of group activities so as to conduct more detailed analysis. Finally, if we further study the group activities in the teaching of Chinese new words, we hope to gradually improve the collection and analysis of data based on the results of other teachers' activities. REFERENCES Grimm,D.(2004).Individual learning versus group learning in a suburban second-grade classroom. Master of Arts Thesis.Graduate School.Rowan University Pass, Andrew. (2006).Individual Work vs Group Work in the Classroom. Guo, Chenmeng. (2017).小组活动在保加利亚索菲亚孔子学院课堂教学中的应 用研究. (Study on the application of Group activities in teaching of the Confucius in Sofa,Bulgaria)Beijing Foreign Language University. หนา้ 178

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) Zheng, Haoyuan. (2016). 汉语课堂活动的有效性及影响因素 (Effectiveness and Influencing factors of Chinese classroom activities)Beijing Foreign Language University. Shi, Dandan. (2011).对外汉语课堂小组活动研究.(Study on group activities in Chinese as a foreign language class) East China Normal University. Michaelsen, Larry K.. (2017).Designing Effective Group Activities: Lessons for Classroom Teaching and Faculty Development. First published: 10 October 2017 https://doi.org/10.1002/j.2334-4822.1997.tb00335. Rao, Zhenhui. (2002).Chinese students‖ perceptions of Communicative and non-communicative activities in EFL classroom. System 30 (2002) 85–105.University of South Australia. Yang, Rui. (2018).对外汉语会话课教学活动研究-以韩国高中会话课为例(A study on the teaching activities of Chinese as a foreign language (TCFL) conversation course -Korean high school conversation class. Heilongjiang University. Wang, Jing. (2018).试论游戏教学法在泰国中小学汉语课堂中的运用-以泰国 Aunban Phuket School为例 (Game Teaching method in Chinese class in Thai –in Aunban Phuket School. Xi‖an Foreign Language University. Wang, Di. (2018). 游戏教学法与对外汉语教学-以“你比我猜、找朋友”为例 (Game teaching method and Chinese as foreign language - “You do and i guess and Find Your friend” as example. Lectures ( Teachers ) at Shanghai. Wang, Mengmei.(2018)基于活动教学法的泰国初级汉语综合课《明天天 气怎么样》教学设计(Activity teaching method in primary Chinese synthesis in Thailand -<How is the weather tomorrow>Lectures (Teachers ) at Anyang. หนา้ 179

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) THE EFFECTS OF GAME TEACHING TO ENHANCE ENGLISH SPEAKING SKILLS OF STUDENTS AT AN INNER MONGOLIA PRIMARY SCHOOL IN CHINA Peng Chen& Supinda Lertlit Suryadhep Teachers College, Rangsit University E-mail [email protected] ABSTRACT The purposes of the research were: 1) to study the effects of game teaching in enhancing English speaking skills at an Inner Mongolia primary school; and 2) to find out the satisfaction of primary students in enhancing English speaking skills after usinggame teaching. The research design was a quantitative research with an experiment. The population of this study comprised of 80 students from 2 classes of primary grade 3, each of 40 students who all had same level in English speaking skills. Two classes had been divided into an experimental group and a control group. The experimental group was treated with game teaching while the control group was treated with traditional teaching method. The study was carried out for four weeks. A pre- & post-test were used before and after an experiment to find the learning outcomes of the students. Questionnaire was given to the students in the experimental group after the experiment to find out their satisfaction with game teaching in learning English speaking skills. The findings revealed that the game teaching was more effective than the traditional method in enhancing English speaking skills to grade 3 students in Inner Mongolia of China. The post-test mean score of the experimental group was 88.68 and the control group was 84.18. The finding of this research showed that experimental group outperformed the control group and game teaching strategy was more effective in enhancing primary students‖ English speaking skills. The students‖ satisfaction on game teaching was at a very satisfied level (4.67 /5.00). KEYWORDS: Game Teaching, English Speaking Skills, Inner Mongolia Primary School Introduction English became the language that connected the whole world, it is not only the mother tongue of many developed countries, but also the official language of many commonwealth countries, and is หน้า180

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) one of the languages that must be chosen in any international exchange (Zhang, 2016). Therefore, English was made a compulsory course in many countries' primary school, so was China. The primary schools' oral English teaching was influenced by the traditional teaching mode, and the primary school students had a serious purposiveness in learning English. For primary school students in China, English is not the mother tongue, and in the process of expression, they areusually ashamed to speak. Most of the primary school students learn English for the purpose of coping with the entrance examination (Xia, 2017), some students had difficult to speak English and do not know how to communicate with English. The purpose of learning any new language was to communicate with the others. Game teaching as a teaching method had provided an interesting and practical way for primary school students to speak English and enhance their English speaking skills. English learning was actually a complex process of English knowledge accumulation, skill training and ability development, mainly through conscious learning. The attention of primary school students were not easy to be concentrated for a long time, so we should create the conditions for learning and fully mobilize students to carry out unconscious learning so as to reduce their learning burden. Game teaching could put more complicated teaching content in relaxed play, so that the primary school students can unknowingly active study. Research Methodology This research used a quantitative method with an experiment. The instruments used to collect data in this study were English speaking pre- & post-test and student questionnaire. The population of the research was the grade 3 students in a public primary school located in Inner Mongolia of China. The population consisted of 240 students which were divided into 6 classes. The 80 sample students were purposive selected from 2 classes which had similar ability, and each class had 40 students. In those two classes, one performed as an experimental group, and another one was a control group. Before carrying out the study, the researcher obtained permission and approval from the school director of primary school in Inner Mongolia of China for data collection at school. The researcher ensured all students were to be and remain anonymity and confidentiality in this study. All students were fully informed regarding the details of this study, the performance of students were kept confidential. The researcher used the following procedures to analyze the data collected for this study. a. English speaking pre- & post- test หน้า181

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) For both pretest and post-test, the mean, the mean difference, the standard deviation and the significance were used to compare the achievement differences between 2 groups. b. Questionnaire For satisfaction questionnaire, five-point Likert scale had been used to measure the level of satisfaction with game teaching as shown in the table below. Level of Satisfaction Scale Range of Scores Very satisfied 5 4.21 - 5.00 Satisfied 4 3.41 - 4.20 Neutral 3 2.61 - 3.40 Unsatisfied 2 1.81 - 2.60 Very unsatisfied 1 1.00 - 1.80 Source: Rueangpraphan (1998) Data Analysis The first analysis was the test scores analysis of Pretest and Posttest of the grade 3 students in the experimental and control groups in an Inner Mongolia primary school in English speaking skills enhancement. The mean scores (X), standard deviation (SD), Mean difference (MD), t- value, p-value of pretest and posttest were computed with both experimental and control groups. The pretest showed that the pretest scores of experimental and control groups were 0.00. It can be concluded that the primary school students in both the experimental and control groups had the same English speaking skills level at the beginning stages of this study. The Posttest showed that the mean posttest scores of experimental group were 88.675 and control group were 84.175. Table 1. Mean Scores (X), Standard Deviation (SD), Mean Difference (MD), t-value and p-value of Posttest Scores of the Experimental and Control Groups Groups X SD MD t-value p-value Experimental Group 88.68 10.100 4.500 6.047 0.000* 84.18 14.326 Control Group *significant p < 0.05 หน้า182

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) The table 1 showed that the pretest mean scores of the experimental group before the treatment was 0.00 with the standard deviation of 0.00, and the mean scores after the treatment was 88.68 with the standard deviation of 10.100. The difference of the mean scores of the pretest and the posttest of the experimental group was analyzed through the paired t-test. The analysis showed that the participants in the experimental group scored higher in the posttest to compare to the pretest scores. The t-value was -55.525 with the p-value was 0.000 (p<0.05) which means the difference between the averages is extremely significant. The second analysis was done from the questionnaire of the experimental group for the students‖ satisfaction. Mean Scores of Satisfaction of each Item in the Experimental Group 5 4.93 4.85 4.8 4.8 4.6 4.58 4.53 4.48 4.63 4.65 4.63 4.6 4.4 4.2 I-1 I-2 I-3 I-4 I-5 I-6 I-7 I-8 I-9 I-10 Figure 1. The Satisfaction of the Total Scores of each Item in Experimental Group The Figure 1 illustrated the satisfaction of mean scores of each item of experimental group. The mean satisfaction scores of item 1 to item 10 were 4.93, 4.6, 4.58, 4.53, 4.48, 4.85, 4.63, 4.65, 4.63 and 4.8, at the average of 4.67. It showed that the mean score of each item is in the range of 4.01-5.00 which indicated that the students were very satisfied with the game teaching. Results As Table 1 showed that the mean scores of posttest in experimental group was 88.68 with the standard deviation of 10.100 (X= 88.68, SD=10.100); whereas the mean scores of posttest in control group was 84.18 with the standard deviation of 14.326 (X= 84.18, SD=14.326). The mean difference of the two groups was 4.500 (MD=4.500). The t-value was 6.047 with the p-value was 0.00 (p<0.05). หน้า183

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) Moreover, the pretest mean scores of the experimental group before the treatment was 0.00 with the standard deviation of 0.00, and the mean scores after the treatment was 88.68 with the standard deviation of 10.100. The difference of the mean scores of the pretest and the posttest of the experimental group was analyzed through the paired t-test. The analysis showed that the participants in the experimental group scored higher in the posttest to compare to the pretest scores. The t-value was -55.525 with the p-value was 0.000 (p<0.05). In summary, through game teaching, the enhancement of English speaking skills in experimental group was higher than the control group and it showed that game teaching was effective in enhancing primary school students' English speaking skills. Discussion Language is important carrier of culture. According to Hiemstra (2007), the structure of the learning environment, based on constructivism, is to promote opportunities that enhance and support the building of understanding. By using games to activate the teaching process, students could learn happily and communicate actively in a relaxed and free language environment, thus contributing to the improvement of comprehensive language skills as claimed by Bacon & Lertlit (2016), Gong & Lertlit (2018), Na (2013), and Wang, L. (2014). Under the guidance of constructivism theory, game teaching was student-centered and activity-based, engaged students actively in the learning process. Created virtual scene for students in game teaching, students learned knowledge on the basis of their original knowledge and experience, improved students' English speaking skills subconsciously. Additionally, game teaching made the input corpus interesting and relevant in content, this attracted students to continue learning, easy acquisition of language unconsciously (Krashen, 1985). Not only the game teaching made English teaching no longer confined to some intelligent way of teaching, it also created a threat-free teaching environment to encourage learners to use it for self-expression as well. Recommendations For the schools, game teaching can stimulate primary school students' interest and autonomy in English speaking; game teaching can motivate students to enhance their English speaking skills better. At the same time, this study proves that game teaching is effective in enhancing primary school students' English speaking skills. For the students, game teaching makes students no longer stick to the traditional classroom form, they are more willing to open their mouths and they are not afraid to speak หน้า184

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) English on their own initiative, and more actively participate in classroom activities with peers than before. For the teachers, the positive reaction of students can bring teachers a sense of fulfillment in teaching, close the distance between teachers and students, and make teachers truly accomplish student-centered teaching. For the future researchers, the researcher recommends for a future study to have more samples from Chinese learners, not only primary students of educational area, but also other different levels of Chinese learners' areas. In addition, English speaking skills includes various aspects; researchers can study the improvement of other skills such as pronunciation and vocabulary, in game teaching more options. Besides, in the future research, the researchers can study on students‖ gender in order to differentiate the effects of the English speaking skills between boys and girls. References Hiemstra, R. (2007). Writing objectives, Bacon, E. D. & Lertlit, S. (2016). A Study executive summaries, criterion referenced testing, goals for the first Utlizing an Online Application to team meeting, and stages of team Improve Student Reading growth. Retrieved from Comprehension of Undergraduate http://home.twcny.rr.com/hiemstra/ Students in a Private International miscellaneous.html. University. Rangsit Journal of Arts and Sciences, Krashen, S.D. (1985). The Input Hypothesis: ISSN2229-063X. January-June 2017. Issues and Implications, New York: 7(1): 23-32. Longman Long, Michael (1996). “The Gong, X. & Lertlit, S. (2018). The Observation role of the linguistic environment in second language acquisition”. In of Thai Students’ Behaviors in Ritchie, William; Chinese Language Class: Grade 7 at a Public School in Nonthaburi. Bhatia, Tej. Handbook of second Journal of Rangsit University: language acquisition. San Diego: Teaching & Learning. January – June Academic Press. 2018. 12(1): 119-134. หนา้ 185

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) Na, N. (2013). A Study of Applying classroom teaching in primary Classroom Games Improve schools. English on Campus2014 (4): Pupils’Spoken English (Master 15. Degree). Liaoning Normal University, Xia, Q. (2017). Problems and Solutions in Liaoning, China, 2016. English Teaching in Primary Schools. Charming China2017. (3): 228. Rueangpraphan, C. (1998). Basic Statistics. Zhang, D. L. (2016). The development and Phimluck Khon Kaen: Khon Kaen future of English education in China. Study University, 1998. 3rd ed. on Contemporary Foreign Language. 2016(1). Wang, L. (2014). Difficulties and Countermeasures in oral English หน้า186

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) THE EFFECTS OF TEACHING VOWEL PHONOGRAMS TO IMPROVE ORAL READING SKILLS OF FOURTH-YEAR STUDENTS AT A PRIVATE UNIVERSITY Catherine De Guzman-Laddawan & Supinda Lertlit Suryadhep Teachers College, Rangsit University E-mail: [email protected] ABSTRACT The purposes of the study were: 1)to investigate the effects of teaching vowel phonograms, and 2) to find out whether the vowel phonogram awareness has helped improve the oral reading skills of the fourth-year students in a private university in Pathum Thani, Thailand. The research was carried out using a qualitative observation methodology. There were 41 English major students divided into two groups that were selected using random sampling. One (experimental) group of 20 students was taught 20-minute vowel phonograms for five weeks including class lecture, while one (control) group of 21 students undergone the usual class lecture. Five students from the experimental group were also selected to answer the interview questions. The study instruments were teacher‖s observation journal and a 15-item semi-structured open-ended interview questions. The researcher also conducted spelling and dictation quizzes for both groups using teaching tools; lesson plan, vocabulary list, and vowel phonogram chart. The data were collected in line with de Groot‖s five-stage empirical evidence model. The data analyses were used basic and descriptive analyses. The findings of the study showed significant effects of teaching vowel phonograms on students‖ oral reading skills, an increase level of vowel phonogram awareness among students‖ pronunciation were also noticed, and invaluable effects on spelling and motivation in reading were also confirmed in the study. Furthermore, to make students be fond of reading and be interested in learning the English language with ease, educators must constantly look for innovative ways that will not just assess students‖ progress, but be able to detect untimely regression. KEYWORDS: Teaching Vowel Phonograms, Vowel Phonograms, Oral Reading Skills, Private University. หนา้ 187

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) Introduction Research is continually being conducted in-line with the educational trends of the 21st century, leaving us more questions on how learners should cope to various hi-tech information and sometimes unpredictable situations. In this computer era, the generation of people is connected by just a click away. Still a vast majority of people lacks literacy, or falls behind the benchmark of education, due to many different reasons. Reading is determined by experts to be the best predictor for academic success (Ritchie & Bates, 2013), but still a lot of people are struggling with it. Most of the students in an EFL environment are becoming frustrated and have come to conclusions that the English language is difficult and boring. As a teacher, and what most teachers aimed to do in class is to be able to impart lifelong learning. This can only be achieved when both students and teachers have a clear understanding of how important knowledge is, as well as finding ways of improving oneself. How can educators make students be fond of reading and be interested in learning the English language with ease? Scientific research findings on reading proficiency among Thai university EFL learners are still in its low position, ranking 64th over 88 countries, and 16th place in Asia with an English Proficiency Index (EPI) score of 48.54 (EF, 2018). Not to mention other disciplines that students barely excel. We may question the teaching of the English language in Thailand, as well as the different pedagogical approaches used by educators in the field. The Thai Ministry of Education policy proposed projects of alleviating education for early childhood development as well as creating implementation framework for early years of education, has encouraged the researcher to find ways to look through the problem and come up with an understanding on how educators can be of help in plotting the future learning of the next generation. The researcher‖s experience as an educator triggers to direct this study in understanding the problem and in finding solutions to cultivate English as a Foreign Language (EFL) learner‖s thought processes even at the ―not-so‖ early stage of instruction. The study focuses in presenting theories behind teaching basic reading skills to EFL learners down to its lowest level to determine ways of alleviating what needs restructuring when it comes to their oral reading. A more detailed study on the impacts of teaching vowel phonogram awareness and its spelling rules in the classroom, in nurturing second language acquisition were given more importance in order to determine its efficiency through an observation survey. 1.1 Statement of the Problem หน้า188

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) Technology has invaded the generation with promises, but illiteracy is succeeding swiftly in the global education arena. Low reading proficiency of Thai students has climbed up the charts of different international surveys (OECD, 2019). The Thai Ministry of Education is also doing its best to find the best solution to wane away illiteracy rate among Thai future leaders. The problem is looking for a solution that will bridge the gap on young adult EFL learners‖ oral reading skills by means of cultivating the foundational understanding of learners that will bring encouragement to pursue future knowledge independently. The researcher believed that teaching basic reading skills such as identifying vowel phonograms will open doors on how letters and sounds relate with each other. As some students who do not have the basic phonological awareness, it is a probable reason why most of them are having a difficulty in deciphering and decoding words as much as reading it correctly (Moats, 1998). Moreover, some EFL students are still not able to grasp the sounds and are writing “karaoke translation” in Thai on how to pronounce the words orally. This is the reason why the researcher advocates the teaching of phonological skills—particularly vowel phonograms—as a tool in filling the gaps, as it is considered to be the best predictor of later reading success. The question of time should be highly considered especially for struggling EFL learners, as some may have missed the opportunity to study the foundational skills needed in studying the English language in their early education. As long as the basic problems in reading are not addressed, unsuccessful readers are inevitable. Various studies have shown that it is more efficient and beneficial if phonological awareness teaching started during the early years of education. For this reason, the researcher is in a mission to find solutions on how to alleviate historical instruction patterns and utilize new approach on teaching basic reading skills in education for young adult EFL learners, particularly examining the efficiency of teaching vowel phonogram approach in helping students read. The research objectives wereto investigate the effects of teaching vowel phonograms to improve the oral reading skills of fourth year EFL learners in a private university and to find out whether learners‖ vowel phonograms awareness helped improve oral reading skills of fourth year EFL learners in a private university. 1.2 Significance of the study The immediate intervention among Thai university students‖ oral reading skills are badly needed to address. The study is looking for the opportunity to understand the educational หน้า189

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) problems that is arising in the 21st century learning. The use of technology in learning is considered a tool in the 21st century classrooms according to Thieman (2008), but the building blocks of learning begins in its foundational level of acknowledging the need for basic principles in learning to accommodate higher level of knowledge and the use of advance technology in education. This study attempts to understand the following: 1) The problems of young EFL learners‖ oral reading skills. 2) The basic foundational skills for reading. 3) The teaching approaches in helping young adult EFL learners. 4) The importance of teaching foundational vowel phonograms and its rules to improve their oral reading skills. 5) The explicit teaching and understanding of phonemic blending, segmentation, isolation, and identity— using vowel phonograms—are causal in helping EFL learners understand the logic of its sound which is made up of individual phoneme. The objectives of the study were: 1) to investigate the effects of teaching vowel phonograms, and 2) to find out whether the vowel phonogram awareness has helped improve the oral reading skills. Research Methodology This research was conducted using a qualitative research and experimental research method. Research Population: The student population in this study comprised of 100 fourth-year English major university students aged 20-23; consisted of 4 groups of (20-25) students currently studying Business Reading, in the first semester of the Academic Year 2019. Research Sample: The researcher had two groups of Business Reading course in the first semester of the academic year 2019. Using a random sampling method, participants of 20 students composed of 3 male and 17 females were chosen for the experimental group; while the control group of 21, attended the regular lecture class time of 3 hours a week for 6 weeks and a purposive selection of 5 students from the experimental group was also arranged for the interview sessions. หนา้ 190

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) The research instruments used for data collection in this study were shown on the following list. 1) The pretest results were from the midterm vocabulary and spelling dictation quizzes; as well as the oral reading pretest of the vocabulary list. In the experimental class, students were taught Vowel Phonograms before the beginning of the lessons for 20 minutes during class periods. As for the control group, the students participated in the usual class instructions. After undergoing an intensive explicit teaching of vowel phonogram for the experimental class, both control and experimental were given written and oral posttest on the vocabulary lists for data analysis. Finally, utilizing the pre- and post-tests (as well as the teacher observational journal and a student focus group), a checklist of the students‖ awareness level, as well as the 15 semi-structured and open-ended interview questions were used to help the researcher to measure the students‖ oral reading improvements in efforts to answer the research questions. 2) The vocabulary list of 75 out of 150 vocabulary words was chosen for the daily dictation/spelling assessment. This form of assessment was given by the instructor/researcher at the very beginning of the semester as a practice, and to make sure that the students will do an advance reading on the chapter to be covered in the lecture. These vocabulary words were prepared by the Business Reading course coordinator. 3) The vowel phonogram list used in this study came from the book by Eide (2012) “Uncovering the Logic of English—A Common-Sense Approach to Reading, Spelling, and Literacy.” The phonogram list can be found on Chapter 6: Foundational Vowel Rules. Single vowel and multi-letter vowel tables were adapted in determining the phonogram, the sound, and the example words. Using the Logic of English approach list of vowel phonograms in this study helped the researcher to have concrete illustration/samples that has been proven and published. 4) The teacher‖s observation journal used as an instrument in this study can be considered to be chronicles of personal texts about the instructor/researcher‖s daily in- class activities. This allows the researcher to look back on the events that happened during a class lecture and enable to reflect on the things or situations needed to retain or change. A reflective teacher‖s journal is a powerful tool that can help describe หนา้ 191


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook