Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ED-APHEIT 2020

ED-APHEIT 2020

Published by ED-APHEIT, 2020-04-06 04:37:45

Description: การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร
สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ
หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption”
ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.)

Keywords: ED-APHEIT 2020 ศึกษาศาสตร์ สสอท.

Search

Read the Text Version

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) กลุม่ ท่ี 2 นักศกึ ษาทกี่ าลงั ศึกษาอยู่ ปจ๎ จยั ด้านหลักสตู รทส่ี ่งผลให้เลือกเขา้ ศกึ ษาต่อ เรียงลาดับ ดังนี้ 1. “หลกั สตู รสตั วศาสตร์ตรงตามความตอ้ งการของตลาดแรงงาน” 2. “หลกั สูตรสตั วศาสตร์มีระบบรบั นกั เรียนแบบโควตา หรือรับตรง” 3. “หลักสตู รสตั วศาสตรม์ คี ่าใช้จ่ายอืน่ ๆ ที่นอกเหนอื จากค่าเทอมไมส่ งู เมือ่ เทยี บกับหลกั สตู รอ่ืน” กลุ่มที่ 3 ศิษย์เก่าท่ีจบการศึกษาไปแล้ว ป๎จจัยด้านหลกั สตู รทีส่ ่งผลใหเ้ ลือกเข้าศึกษาต่อ เรียงลาดบั ดงั นี้ 1. “หลกั สูตรสัตวศาสตร์มี 2 เทอมต่อปีการศึกษาซงึ่ เหมาะสม” 2. “หลกั สตู รสตั วศาสตรม์ ีระบบรบั นกั เรียนแบบโควตา หรอื รับตรง” 3. “หลักสตู รสัตวศาสตรม์ คี ่าใชจ้ า่ ยอนื่ ๆ ท่ีนอกเหนอื จากค่าเทอมไมส่ ูง เม่อื เทียบกบั หลักสตู รอ่ืน” ตารางท่ี 6 แสดงป๎จจัยด้านหลักสูตรทส่ี ่งผลตอ่ การตดั สนิ ใจเลอื กเข้าศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาสตั วศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร แยกเปน็ กลุม่ ปจ๎ จัยท่ีส่งผลตอ่ การตัดสินใจ นกั ศกึ ษาใหม่ กาลงั ศึกษา ศิษย์เก่า mean SD ระดับ เลอื ก 2.57 1.35 ปานกลาง 2.73 1.59 ปานกลาง หลกั สตู ร mean SD ระดับ mean SD ระดบั 1.68 1.08 นอ้ ย 2.83 1.54 ปานกลาง 11 หลกั สตู รสตั วศาสตรม์ ีทนุ 3.90 0.80 มาก ที่สดุ สนบั สนนุ การศกึ ษา 1.73 1.22 น้อย 2.33 1.23 น้อย ทส่ี ุด 2.73 1.25 ปานกลาง 12 หลกั สูตรสัตวศาสตร์มีค่า 3.71 0.84 มาก เทอมราคาเหมาะสม ไม่แพง 2.63 1.41 ปานกลาง 2.62 1.26 ปานกลาง 13 หลักสูตรสัตวศาสตรม์ ี หน้า242 คา่ ใชจ้ า่ ยอ่นื ๆ ท่ีนอกเหนือจาก 3.47 0.78 มาก 1.76 1.12 นอ้ ย ค่าเทอมไม่สูง เมอื่ เทยี บกบั ที่สุด หลกั สูตรอื่น 14 หลักสตู รสตั วศาสตรม์ ี 3.71 0.76 มาก 1.51 0.93 น้อย ชอ่ื เสียง ท่สี ดุ 15 หลักสตู รสัตวศาสตร์ตรง ตามความตอ้ งการของ 3.79 0.89 มาก 1.92 1.21 นอ้ ย ตลาดแรงงาน 16 หลกั สตู รสตั วศาสตรม์ ี น้อย ทสี่ ุด คณุ ภาพและมจี านวนหนว่ ยกิต 3.82 0.80 มาก 1.68 1.11 1.70 1.20 น้อย ที่เหมาะสม 17 หลกั สตู รสตั วศาสตรเ์ ป็น 4.10 0.74 มาก

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ปจ๎ จยั ทสี่ ่งผลต่อการตดั สินใจ นักศกึ ษาใหม่ กาลังศกึ ษา ศษิ ย์เกา่ mean SD ระดับ เลือก 2.97 1.52 ปานกลาง หลักสตู ร mean SD ระดับ mean SD ระดับ 2.84 1.57 ปานกลาง สาขาวิชาชพี ท่สี ุด 2.48 1.19 ปานกลาง 2.67 1.39 ปานกลาง 18 หลกั สตู รสัตวศาสตรม์ ี 2 3.87 0.84 มาก 1.70 1.10 นอ้ ย เทอมตอ่ ปกี ารศกึ ษาซ่ึง ทีส่ ุด เหมาะสม 19 หลกั สูตรสตั วศาสตร์มรี ะบบ รับนกั เรียนแบบโควตาหรอื รับ 4.05 0.93 มาก 1.84 1.34 น้อย ตรง 20 หลกั สตู รสตั วศาสตร์มรี ะดับ 3.39 0.84 ปานกลาง 1.57 0.90 น้อย คะแนนในการรับนกั เรยี นสงู ทส่ี ุด รวม 3.78 0.82 มาก 1.71 0.12 น้อย ที่สดุ ในดา้ นเหตุผลส่วนตวั เมอ่ื เรยี งลาดบั คะแนนเฉล่ยี สูงสดุ 3 ลาดับแรก ดงั แสดงในตารางที่ 7 พบดังน้ี กลมุ่ ท่ี 1 นกั ศกึ ษาใหม่ มปี ๎จจัยด้านเหตผุ ลส่วนตวั ที่ส่งผลใหเ้ ลือกเข้าศึกษาต่อ เรียงลาดับ ดังนี้ 1. “หลกั สูตรสัตวศาสตร์ตรงตามความตอ้ งการของนักเรียน” 2. “ผู้ปกครองของนักเรียนแนะนาให้เลอื กเรียนมหาวิทยาลัยศิลปากร” 3. “เพื่อนสว่ นใหญม่ คี วามนยิ มในมหาวิทยาลัยศิลปากร” กลุ่มที่ 2 นักศึกษาทก่ี าลงั ศึกษาอยู่ ปจ๎ จยั ด้านเหตผุ ลส่วนตวั ที่ส่งผลให้เลือกเขา้ ศกึ ษาตอ่ เรียงลาดบั ดงั น้ี 1. “หลกั สูตรสตั วศาสตรต์ รงตามความตอ้ งการของนกั เรียน” 2. “บคุ คลที่นกั เรียนประทบั ใจ (Idol) เป็นศษิ ยเ์ ก่าของมหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร” 3. “เพอื่ นสว่ นใหญม่ ีความนยิ มในมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร” กลุม่ ท่ี 3 ศษิ ยเ์ กา่ ที่จบการศกึ ษาไปแล้ว ปจ๎ จัยด้านเหตุผลส่วนตัว ทีส่ ง่ ผลให้เลอื กเข้าศึกษาต่อ เรียงลาดับ ดงั นี้ 1. “หลกั สตู รสัตวศาสตร์ตรงตามความต้องการของนักเรียน” 2. “ผปู้ กครองของนกั เรียนแนะนาใหเ้ ลอื กเรียนมหาวิทยาลยั ศิลปากร” 3. “ครแู นะแนวเป็นผูแ้ นะนาใหเ้ ลือกเรยี นในมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร” หนา้ 243

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ตารางที่ 7แสดงป๎จจยั ดา้ นเหตผุ ลสว่ นตวั ทสี่ ่งผลตอ่ การตัดสนิ ใจเลือกเข้าศกึ ษาระดับปริญญาตรี สาขาสตั วศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร แยกเป็นกลุ่ม ป๎จจัยทส่ี ่งผลต่อการตัดสนิ ใจ นกั ศกึ ษาใหม่ กาลังศึกษา ศษิ ย์เกา่ mean SD ระดบั เลอื ก 2.73 1.46 ปานกลาง 1.52 0.78 น้อยท่ีสุด เหตผุ ลส่วนตัว mean SD ระดบั mean SD ระดบั 1.51 0.82 นอ้ ยที่สดุ 1.73 1.15 น้อย 1.73 0.94 นอ้ ยทส่ี ุด 21 หลักสูตรสตั วศาสตร์ตรง 4.08 0.93 มาก 1.43 0.60 ทีส่ ุด 1.27 0.63 น้อยทส่ี ดุ ตามความต้องการของนกั เรียน น้อย 1.43 0.60 ที่สุด 1.97 1.22 นอ้ ย 22 เพ่อื นสนิทเลอื กเข้าเรยี นต่อ 1.98 1.36 น้อย ในหลกั สตู รสัตวศาสตร์ 1.54 0.87 น้อย 1.71 0.94 นอ้ ยท่สี ุด ที่สุด 23 เพื่อนเลือกเขา้ เรียนตอ่ ใน 1.27 0.56 1.78 1.11 น้อยทีส่ ดุ น้อย 1.44 0.74 น้อยที่สุด หลกั สูตรสัตวศาสตรเ์ ป็นจานวน 1.97 1.17 นอ้ ย ทส่ี ุด 1.71 1.02 น้อยท่ีสดุ 1.74 0.97 น้อยที่สุด มาก นอ้ ย ที่สดุ 24 เพอ่ื นสว่ นใหญ่มีความนยิ ม 2.37 1.32 น้อย ในมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 25 ผปู้ กครองของนักเรยี น สาเรจ็ การศึกษาจาก 1.39 1.00 นอ้ ยท่สี ุด มหาวทิ ยาลัยศิลปากร 26 ผู้ปกครองของนกั เรยี น นอ้ ย ทส่ี ุด แนะนาให้เลือกเรยี น 2.53 1.43 นอ้ ย 1.49 0.84 มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร 27 ครูทีป่ รกึ ษาเป็นผู้แนะนาให้ น้อย ทส่ี ุด เลอื กเรยี นในมหาวิทยาลัย 2.08 1.30 นอ้ ย 1.38 0.59 ศลิ ปากร 28 ครูแนะแนวเป็นผ้แู นะนาให้ นอ้ ย ทส่ี ุด เลอื กเรียนในมหาวิทยาลัย 2.10 1.29 น้อย 1.35 0.59 1.43 0.77 น้อย ศิลปากร 1.57 0.73 ที่สุด 1.46 0.13 29 รนุ่ พีเ่ ปน็ ผแู้ นะนาให้เลอื ก 2.23 1.44 น้อย นอ้ ย เรียนในหลกั สูตรสตั วศาสตร์ ทส่ี ุด 30 บคุ คลที่นกั เรยี นประทับใจ น้อย ที่สดุ (Idol) เปน็ ศิษยเ์ กา่ ของ 2.11 1.42 นอ้ ย มหาวิทยาลยั ศิลปากร รวม 2.28 1.27 นอ้ ย หนา้ 244

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) สรุปผลการวจิ ัย 1. นกั ศกึ ษาทเ่ี ขา้ มาเรียนสาขาสตั วศาสตรเ์ ป็นเพศหญิงมากขน้ึ 2. นักศกึ ษาอาศัยอยใู่ นภาคตะวันตกมากทีส่ ดุ ร้อยละ 39.26 รองลงมาคือ ภาคกลาง และกรุงเทพมหานคร มีนักศึกษาอาศยั อยเู่ ทา่ ๆ กัน คดิ เปน็ ร้อยละ 23.31 3. ป๎จจัยด้านภาพลักษณ์ ด้านหลักสูตร และด้านเหตุผลส่วนตัว มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาระดับ ปรญิ ญาตรี สาขาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร มีคา่ เฉลีย่ อยใู่ นระดบั ปานกลาง ปานกลาง และนอ้ ยตามลาดบั 4. สภาพแวดล้อมของมหาวิทยาลยั มีผลสาคัญตอ่ ภาพลกั ษณข์ องมหาวิทยาลยั ของท้ัง 3 กลุ่มตวั อย่าง 5. หลักสูตรสัตวศาสตร์มีระบบรับนักเรียนแบบโควตา หรือรับตรง เป็นป๎จจัยที่สาคัญท่ีทาให้นักศึกษา ตดั สินใจเขา้ ศึกษาคณะสตั วศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร ทง้ั 3 กลุม่ ตัวอย่าง 6. ป๎จจัยด้านเหตุผลส่วนตัวที่ส่งผลให้เลือกเข้าศึกษาต่อสูงท่ีสุด คือ “หลักสูตรสัตวศาสตร์ตรงตามความ ต้องการของนักเรยี น” เหมอื นกนั ทงั้ 3 กลุ่มตัวอย่าง อภปิ รายผล จากการศกึ ษาป๎จจัยท่ีส่งผลการตัดสนิ ใจเลอื กเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สาขาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศลิ ปากรพบว่า ในด้านภาพลักษณ์ของมหาวทิ ยาลยั เม่อื เรยี งลาดบั คะแนนเฉลย่ี สงู สุด 3 ลาดบั แรก กลุ่มท่ี 1 นกั ศกึ ษาใหม่ มี ป๎จจัยด้านภาพลกั ษณท์ ส่ี ่งผลใหเ้ ลอื กเขา้ ศกึ ษาต่อสูงทส่ี ุดในลาดับแรกเทา่ กนั 2 ภาพลักษณ์คือ “ศิลปากรมีคณาจารย์ เก่งและมคี วามรเู้ ชีย่ วชาญ” และ “ศิลปากรมสี ภาพแวดล้อมสวยงามและร่มร่ืน” รองลงมาลาดับท่ี 2 คือ “ศิลปากรมี อุปกรณ์การเรียนการสอนท่ีมีความพร้อม” และ ลาดับที่ 3 คือ “ศิลปากรมีความโดดเด่นด้านการเรียนการสอน” สาหรบั กลุ่มท่ี 2 นักศึกษาทก่ี าลังศึกษาอยู่ และกลุ่มท่ี 3 ศิษย์เก่าท่ีจบการศึกษาไปแล้ว เมื่อเรียงลาดับคะแนนเฉลี่ย สูงสดุ 3 ลาดับแรก มีปจ๎ จัยดา้ นภาพลักษณท์ สี่ ่งผลให้เลือกเข้าศึกษาต่อท่ีมีระดับคะแนนเฉลี่ยสูงท่ีสุดเหมือนกันทั้ง 2 กลุ่ม คือ “ศิลปากรเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐท่ีมีชื่อเสียง” และมีป๎จจัยด้านภาพลักษณ์ที่มีคะแนนเฉลี่ยในลาดับท่ี 2 เหมอื นกันทั้ง 2 กลมุ่ คอื “ศิลปากรมสี ภาพแวดล้อมสวยงามและร่มร่นื ” สว่ นลาดับที่ 3 ของกลมุ่ ที่ 2 นักศึกษาที่กาลัง ศึกษาอยู่คือ “ศิลปากรมีคณาจารย์เก่งและมีความรู้เช่ียวชาญ” ส่วนกลุ่มที่ 3 ศิษย์เก่าให้คะแนนภาพลักษณ์ “จบ การศึกษาจากศิลปากรแลว้ ได้รบั การยอมรับจากตลาดแรงงาน” เปน็ ลาดับท่ี 3 ซ่งึ แสดงให้เห็นว่า กลุ่มนักศึกษาใหม่ให้ความสาคัญกับคณาจารย์ท่ีเก่งและมีความเชี่ยวชาญ และการเรียน การสอนที่โดดเดน่ นกั ศกึ ษาท่กี าลังศึกษาเองกใ็ ห้ความสาคัญกับคณาจารย์ และความเป็นมหาวิทยาลัยรัฐที่มีชื่อเสียง ในขณะท่ศี ษิ ย์เกา่ ซง่ึ ออกไปสกู่ ารทางานแลว้ เห็นความสาคัญของความเป็นมหาวิทยาลัยรัฐท่ีมีชื่อเสียง และการเป็นท่ี ต้องการของตลาดแรงงาน ซ่ึงสอดคล้องกับผลการศึกษาของ รัชตนันท์ หม่ันมานะและรุจาภา แพ่งเกษร (2557) ท่ี พบวา่ การทีไ่ ด้เปน็ บัณฑติ ของสถาบันที่ ได้รับการยกย่องและยอมรับจากสังคม มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจเลือก ศึกษาต่ออย่ใู นระดับมากทสี่ ดุ หนา้ 245

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) อย่างไรก็ตามสภาพแวดล้อมของมหาวิทยาลัยมีผลสาคัญต่อภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ของท้ัง 3 กลุ่ม ตวั อย่าง สภาพแวดลอ้ มทรี่ ่มรนื่ และสวยงามเป็นสงิ่ ดงึ ดดู ใจของนักศึกษา ในด้านหลกั สตู ร เมือ่ เรียงลาดับคะแนนเฉล่ียสงู สดุ 3 ลาดับแรก กลมุ่ ท่ี 1 นักศึกษาใหม่ มีป๎จจัยด้านหลักสูตร ที่ส่งผลใหเ้ ลอื กเขา้ ศกึ ษาตอ่ สงู ทส่ี ุดในลาดับแรก คือ “หลกั สูตรสตั วศาสตร์เป็นสาขาวิชาชีพ” รองลงมาลาดับท่ี 2 คือ “หลักสูตรสัตวศาสตร์มีระบบรับนักเรียนแบบโควตา หรือรับตรง” และ ลาดับที่ 3 คือ “หลักสูตรสัตวศาสตร์มีทุน สนบั สนนุ การศึกษา” สาหรับกลมุ่ ที่ 2 นักศึกษาที่กาลงั ศกึ ษาอยู่ ปจ๎ จยั ดา้ นหลักสูตรที่ส่งผลให้เลอื กเข้าศกึ ษาต่อ สูงที่สุดในลาดับแรก คือ “หลักสูตรสัตวศาสตร์ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน” รองลงมาลาดับที่ 2 คือ “หลักสูตรสัตวศาสตร์มีระบบรับนักเรียนแบบโควตา หรือรับตรง” และ ลาดับที่ 3 คือ “หลักสูตรสัตวศาสตร์มี ค่าใช้จา่ ยอน่ื ๆ ทน่ี อกเหนอื จากคา่ เทอมไม่สูง เมอ่ื เทียบกบั หลกั สูตรอื่น” และกลุ่มที่ 3 ศิษย์เก่าท่ีจบการศึกษาไปแล้ว เม่ือเรยี งลาดับคะแนนเฉล่ียสูงสุด 3 ลาดับแรก ป๎จจัยด้านหลักสูตรที่ส่งผลให้เลือกเข้าศึกษาต่อสูงที่สุดในลาดับแรก คือ “หลักสูตรสัตวศาสตร์มี 2 เทอมต่อปีการศึกษาซึ่งเหมาะสม” รองลงมาลาดับท่ี 2 คือ “หลักสูตรสัตวศาสตร์มี ระบบรบั นักเรยี นแบบโควตา หรือรับตรง” และ ลาดับที่ 3 คอื “หลกั สูตรสตั วศาสตรม์ ีค่าใชจ้ า่ ยอน่ื ๆ ท่นี อกเหนือจาก ค่าเทอมไม่สูง เมอ่ื เทียบกบั หลกั สตู รอน่ื ” ซึ่งแสดงให้เห็นว่า หลักสูตรสตั วศาสตรม์ รี ะบบรบั นกั เรยี นแบบโควตา หรือรับตรง เป็นป๎จจัยที่สาคัญท่ีทาให้ นักศกึ ษาตัดสนิ ใจเขา้ ศึกษาคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวิทยาลัยศลิ ปากร ทงั้ 3 กลมุ่ ตวั อยา่ ง ในด้านเหตุผลส่วนตัว เม่ือเรียงลาดับคะแนนเฉล่ียสูงสุด 3 ลาดับแรก กลุ่มที่ 1 นักศึกษาใหม่ กลุ่มที่ 2 นกั ศึกษาที่กาลงั ศกึ ษาอยู่ และกลุม่ ที่ 3 ศิษย์เก่าท่ีจบการศึกษาไปแล้ว มีป๎จจัยด้านเหตุผลส่วนตัวที่ส่งผลให้เลือกเข้า ศึกษาต่อสูงท่ีสุดในลาดับแรก คือ “หลักสูตรสัตวศาสตร์ตรงตามความต้องการของนักเรียน” เหมือนกันทั้ง 3 กลุ่ม ตวั อยา่ ง สว่ น เพ่อื น ผู้ปกครอง และครูแนะแนว เปน็ ผแู้ นะนาให้เรียน เป็นเหตุผลในลาดับรอง ๆ ลงมา ซึ่งสอดคล้อง กับเมธาวี สขุ ปาน (2556) ได้ศกึ ษาเร่ืองปจ๎ จยั ท่ีมี ผลตอ่ การตดั สนิ ใจเลือกศกึ ษาตอ่ ในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ช้นั สงู (ปวส.) ของนกั เรียน กรณศี ึกษา วทิ ยาลัยพณิชยการธนบุรี ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญมาก ทส่ี ดุ กับปจ๎ จยั ดา้ นความชอบ และความถนัดของสว่ นตวั มากที่สดุ ขอ้ เสนอแนะ 1. นกั ศกึ ษาทเ่ี ขา้ มาเรียนอาศยั อยใู่ นภาคตะวันตก ภาคกลางและกรงุ เทพมหานคร ดังนั้นเปูาหมายของการ ประชาสัมพนั ธห์ ลักสูตรอาจจาเพาะพน้ื ทเี่ พ่อื ใหไ้ ดจ้ านวนนกั ศึกษามากทส่ี ุด 2. ปจ๎ จยั ท่ีมีผลตอ่ การตดั สนิ ใจเลือกเข้าศกึ ษาตอ่ ระดับปรญิ ญาตรี สาขาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ของนกั ศึกษาใหม่ นกั ศกึ ษาป๎จจุบนั และศิษยเ์ กา่ แสดงใหเ้ หน็ ว่าจุดเดน่ ทส่ี าคัญของสาขาคือ คณาจารย์ที่ เก่งและมีความเชี่ยวชาญ และการเรียนการสอนท่ีโดดเด่น ความเป็นมหาวิทยาลัยรัฐที่มีช่ือเสียง และ การเปน็ ทตี่ ้องการของตลาดแรงงานในการปรบั ปรุงและพัฒนาหลกั สตู ร 3. รับนักเรียนแบบโควตา หรือรับตรง เป็นป๎จจัยท่ีสาคัญท่ีทาให้นักศึกษาตัดสินใจเข้าศึกษาคณะสัตว ศาสตร์และเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวิทยาลยั ศิลปากรดงั น้ันจึงควรรับนักศกึ ษาในรอบนีใ้ หเ้ พมิ่ ข้ึน หนา้ 246

เอกสารอา้ งอิง TEP - Thailand Education Partnership ภาคเี พื่อ ธิติ ธรี ะเธยี ร. (2563). Digital Disruption กับครูไทย การศึกษา ใน ไทย. (2019). การปฏริ ปู การศึกษา ในยุค ศตวรรษท่ี 21. [Online], สืบคน้ เมอื่ 7 Digital Disruption. [Online], สบื ค้นเมอื่ 7 มกราคม 2563. Available from มกราคม 2563. Available from https://www.starfishlabz.com/blog/4- https://www.facebook.com/TEPThaiE digital- disruption-กับครไู ทยในศตวรรษท่ี-21 DU/posts/ 845612122506632/ พรรณพนัช จนั หา และ อจั ฉรยิ า ปราบอริพ่าย. ณชั ชา สุวรรณวงศ.์ (2560). ปจ๎ จัยที่สง่ ผลตอ่ การ (2558). ปจ๎ จยั ที่มผี ลต่อความต้องการศกึ ษาตอ่ ระดบั ตัดสนิ ใจ ปริญญาโททมี่ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์ เลือกเขา้ ศกึ ษาตอ่ ระดบั ปริญญาตรี ใน วารสารสาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน และ ศิลปะ มหาวิทยาลยั ศิลปากร, 8 (1): 291- นครราชสีมา (ระบบโควตา) ประจาปี 317. การศึกษา 2560. สานักสง่ เสริมวชิ าการ เมธาวี สขุ ปาน. (2556). ปจ๎ จัยทมี่ ผี ลต่อการตัดสินใจ และงาน ทะเบยี น มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล เลือก อสี าน. [Online], สืบค้นเม่ือ 7 มกราคม ศึกษาตอ่ ในหลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพ 2563. Available from ชน้ั สงู (ปวส.) ของนกั เรยี น กรณีศึกษา https://www.rmuti.ac.th/news/attash/ วทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี. เศรษฐศาสตรมหาบณั ฑิต. 721d0b02 32717ccfa663943b4e4fcf46- มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บณั ฑติ ย์. 20170828-2-1541- 7433..pdf

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) รายงานการสงั เคราะหอ์ งคค์ วามร้แู ละนวัตกรรมการดาเนนิ โครงการการขยายการจัดการการเรยี นรแู้ บบเครอื ข่าย การมีสว่ นรว่ มของชุมชนเพอื่ สุขภาวะเดก็ และเยาวชน ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื จงั หวดั สรุ นิ ทร์ A Report on Synthesizing the Knowledge and Innovation in Promoting and Implementing the Learning Management Project of Communnity-Based Participation for Improving Health of Children and Teenagers in Surin Province in the Northeastern Region of Thailand วิทยา วรพนั ธ์แุ ละสนิ ธะวา คามดษิ ฐ์ Wittaya Worapun Sintawa Khamdit ภาควิชาหลกั สูตรและการสอน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม บทคัดย่อ งานวิจยั ครง้ั นี้มีวัตถุประสงคเ์ พ่ือสังเคราะห์การจัดการเรียนรู้แบบเครือข่ายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสุขภาวะ เด็กและเยาวชนเครือข่ายจังหวัดสุรินทร์เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย )Descriptive Research) ในลักษณะการศึกษา เอกสารรายงานตา่ งๆ )Documentary Research) ร่วมกับการสัมภาษณ์เชิงลึก )In-depth Interview ) ประชากรท่ี ใช้ในการศกึ ษา คือ เอกสารเกยี่ วกับโครงการขยายการจดั การเรยี นรแู้ บบเครือขา่ ยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสุข ภาวะเด็กและเยาวชน และผู้ให้ข้อมูลสาคัญ )Key Informant ) ได้แก่ ผู้นาเครือข่ายและผู้ประสานงานเครือข่าย จานวน คน เคร่อื งมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบบันทึกข้อมูลและแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ 12 ) เน้อื หาContent Analysis) และสถิติพรรณนา (Descriptive Statistics( ผลการวิจยั พบว่า 1.เครือข่ายจังหวัดสุรินทร์มีการบริหารเครือข่ายเพ่ือการขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆสู่เปูาหมายและสามารถ สรุปออกมาเป็นโมเดลการบริหารและภาวะผนู้ าเครอื ข่ายจังหวดั สุรินทร์ คอื วงลอ้ การขับเคลื่อนเครือข่ายสุรินทร์เพื่อ สุขภาวะของเด็กและเยาวชนอยา่ งย่งั ยืนโมเดล ไดแ้ ก่ “ศรทั ธา ส่วนร่วม รวมพลงั สร้างสรรค์ ยั่งยืน” 2.การมีส่วนร่วมขององค์กรภายนอก พบว่า เครือข่ายจังหวัดสุรินทร์ มีองค์กรภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมใน การดาเนินกิจกรรมตามโครงการการจัดการเรียนรู้แบบเครือข่ายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสุขภาวะเด็กและ เยาวชน ได้แก่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 องค์การปกครองส่วนท้องถ่ิน สถานี ตารวจภธู รโรงพยาบาล วัด และคณะกรรมการหมบู่ า้ นซึง่ แตล่ ะองค์กรมีบทบาทในการมสี ่วนร่วมแตกต่างกนั 3.นวัตกรรมด้านองค์ความรู้ทเ่ี กดิ จาการดาเนินงานและเป็นต้นแบบให้กับหน่วยงานอ่ืน พบว่า ส่วนใหญ่เป็น นวัตกรรมท่ีเกดิ จากกจิ กรรมด้านคุณภาพการศกึ ษา ไดแ้ ก่ หลักสตู รแบบฝกึ ทักษะการคิดเลขเรว็ คู่มอื ครูแบบฝึกทักษะ การคิดเลขเร็ว และแบบฝึกทักษะการคิดเลขเร็ว การอ่านเขียนภาษาไทยได้ด้วยบันได 3 ข้ัน (ไตร-ช่อง-คอน-นา-ผือ โมเดล) และ คู่มือการใช้และแบบฝึกทักษะอา่ นออกเขียนไดต้ ามช่วงวัย หนา้ 248

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 4. ความสาเรจ็ ที่เกิดข้ึนหลังการดาเนินกิจกรรม 5 ด้านของโครงการ พบว่า โดยภาพรวมมีผลการประเมิน การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักเรียนสูงถึงร้อยละ 91.45 และส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยพิจารณาจาก คะแนน O-Net ในปีการศกึ ษา 2561 ของโรงเรียนในเครือขา่ ยจงั หวดั สุรินทร์สูงกวา่ ปีการศึกษา 2560 คิดเป็นร้อยละ 90.32 ของโรงเรยี นในเครือขา่ ย คาสาคัญ:การมีส่วนร่วม นวตั กรรม ความย่นั ยืน ABSTRACT The major aim of the research was to synthesize the models of participatory community-based learning management for improving health of the children and teenager networks in Surin Province. The data of the descriptive research was collected by documentary studies and in-depth interview. The key informants were twelve leaders and coordinators of the children and teenager networks in Surin Province. The research instrument was a note-taking form and an interview form.The descriptive statistics were employed for content analysis.The research results were as follows: 1. The networks had organized and managed activities for well-being of the children and teenagers in Surin Province, and the model of community-based learning management for improving health of the children and teenager networks in Surin Province focused on belief, participation, unity, creativity and sustainability. 2. The external organizations also participated in the activities for improving health of the children and teenagers in Surin Province consisting of Surin Primary Educational Service Area Office 2, local government administrative organizations, police stations, hospitals, temples and community committee in Surin Province. The participants took their different responsibilities for the activities based on their interest and ability. 3. The research findings showed that the quality of educational activity management created the innovation for practical application of other organization. The activities consisted of exercises and handbooks quick calculation skills and three steps of Thai language literacy for teachers of each educational level. 4. The achievement of the project after organizing the five activities was identified by the two major indicators. 91.45 % of the students improved their behavior, and 90.32% of the average O-net scores of the students who participated in the project in 2018 were higher than those of the students in 2017. Key Words:participation,innovation, sustainability โครงการวจิ ัยน้ไี ดร้ บั ทุนอดุ หนุนจากมลู นธิ ศิ ึกษาธกิ ารและมหาวทิ ยาลัยธุรกจิ บณั ฑิตย์โดยการสนับสนุนทนุ จาก กองทนุ สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หนา้ 249

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) บทนา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 ได้กาหนดการมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนในการจัด การศึกษา โดยระบุไวใ้ นมาตรา 8 (2) การจดั การศึกษาให้ยึดหลักให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและมาตรา 9 (6) การจดั ระบบโครงสร้างและกระบวนการจัดการศึกษาให้ยึดหลักการมีส่วนร่วมของบุคคลครอบครัวชุมชนองค์กร ชุมชนองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ เอกชนองค์กรเอกชนองคก์ รวชิ าชีพสถาบันการศึกษาสถานประกอบการและสถาบัน สังคมอ่ืนส่วนมาตรา 24 (6) การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการจัดการ เรียนรูใ้ หเ้ กิดขึ้นได้ในทุกเวลาสถานที่มีการประสานความร่วมมือกับบิดามารดาผู้ปกครองและบุคคลในชุมชนทุกฝุาย เพ่ือร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพและมาตรา 29 ให้สถานศึกษาร่วมกับบุคคลครอบครัวชุมชนองค์กรชุมชน องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ เอกชนองค์กรเอกชนองคก์ รวชิ าชพี สถาบันศาสนาสถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่ืน ส่งเสรมิ ความเขม้ แข็งภายในชุมชน(สาธติ ปรัชญาอรยิ กุล พณิ สดุ า สริ ิธรังศรี และสินธะวา คามดิษฐ์,2560) โครงการขยายการจัดการเรียนรู้แบบเครือข่ายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพ่ือสุขภาวะเด็กและเยาวชน เป็นโครงการท่ีตอบสนองพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ดังกล่าวข้างตน้ ดงั ท่พี ิณสุดา สริ ิธรังศรี (2560) ได้กลา่ วถงึ เหตุผลและความเป็นมาของโครงการฯ ซ่ึงขอนาเสนอเพียงบางส่วน ดังนี้ ...สุขภาวะเดก็ และเยาวชน ทัง้ ดา้ นรา่ งกาย จิตใจ สังคมและสติปัญญา อย่างเป็นองค์รวม เป็นเปา้ หมายสาคัญของการพัฒนาประเทศ เพอ่ื การดารงชีวิตที่มีคุณภาพของประชาชนและ ความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน ท่ีจาเป็นต้องได้รับการปกป้องสนับสนุนและพัฒนา ร่วมกนั จากทกุ ภาคสว่ นโดยเฉพาะโรงเรยี นและผ้ทู ีม่ ีส่วนได้ส่วนเสียท้ังครอบครัว ชุมชน และ สถาบันสังคมต่าง ๆ ผ่านกระบวนการเรียนรู้ทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ใน ลักษณะของการทางานร่วมกัน เป็นการศึกษาเพื่อมวลชน (Education for all) และมวลชน เพอ่ื การศึกษา (All for education)การศึกษาท่นี าไปสู่สุขภาวะของเด็กและเยาวชนดังกล่าว นั้น จงึ เปน็ การศึกษาทีผ่ า่ นกระบวนการจัดการการเรียนรู้ท่ีทุกฝ่ายทุกภาคส่วนและนโยบาย ของรฐั ทสี่ อดคลอ้ งกบั เปา้ หมายสุขภาวะ ตลอดจนแผนสุขภาวะเด็ก เยาวชนและครอบครัว ปีงบประมาณ 2560 ทเ่ี นน้ ถงึ ผลลัพธ์เชงิ สุขภาวะของเด็กและเยาวชนตามช่วงวัยโดยเน้นการ พัฒนากระบวนการเรยี นการสอน ปรบั กระบวนการเรียนรู้ สนบั สนุนกิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อ เสรมิ สร้างทักษะชีวิต สร้างจิตสานึกความเป็นพลเมือง และสร้างค่านิยมพฤติกรรมสุขภาพที่ เหมาะสมและถูกต้อง โดยการทางานผ่านโรงเรียน และชุมชนทอ้ งถิ่น… นอกจากน้ี ผลการศึกษาสภาพป๎ญหานักเรยี นของโรงเรยี นในเครือขา่ ยจังหวัดสรุ นิ ทรเ์ บอื้ งตน้ พบว่า นักเรียน บางส่วนมีป๎ญหาหลายด้าน เช่น ป๎ญหาการสูบบุหร่ีและสารเสพติด ป๎ญหาการรับประทานอาหารไม่ถูกหลัก โภชนาการและโรคอ้วน ป๎ญหาทางเพศหรือท้องก่อนเวลาอันควร ป๎ญหาด้านคุณธรรมจริยธรรม และป๎ญหาด้าน การอ่านเขยี นไม่คลอ่ ง และขาดทักษะการคิดวิเคราะห์ ซึ่งป๎ญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อสุขภาวะของเด็ก/เยาวชน และคุณภาพการศึกษา โดยสาเหตุของป๎ญหาเกิดจากการขาดความรู้ความเข้าใจท่ีไม่ถูกต้องในเรื่องของโทษภัยของ การสูบบหุ รแ่ี ละสารเสพตดิ พฤตกิ รรมเลียนแบบโฆษณาจากสอื่ ตา่ งๆในการบรโิ ภคอาหาร เลียนแบบเพ่ือนๆ มีความ เชื่อท่ีผิดในเร่ืองเพศและคุณธรรมจริยธรรม รวมถึงการจัดการเรียนรู้ที่โรงเรียนขาดการเน้นทักษะการคิดวิเคราะห์ หนา้ 250

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ให้แก่ผู้เรียน เมื่อมีโครงการขยายการจัดการเรียนรู้แบบเครือข่ายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพ่ือสุขภาวะเด็กและ เยาวชน ทางเครือข่ายสุรินทร์ได้รับการติดต่อประสานงานจากผู้จัดการโครงการเพ่ือเข้าร่วมโครงการฯ และทาง เครอื ขา่ ยจงึ ได้เริ่มก่อตัวโดยมีประธานเครือข่ายโรงเรียนบ้านดอนแรด (จินดาวิทยาคาร)เป็นผู้นาในการประสานงาน และการสร้างเครือข่ายจังหวัดสุรินทร์ ซ่ึงประกอบด้วยเครือข่ายโรงเรียนบ้านดอนแรด(จินดาวิทยาคาร) เครือข่าย โรงเรียนไตรคามวิทยา เครือข่ายโรงเรียนบ้านผือ (ประชาพัฒนา) เครือข่ายโรงเรียนบ้านขาม เครือข่ายโรงเรียนบ้าน หนองไม้ถี่ และเครือข่ายโรงเรียนบ้านท่าศิลา รวมจานวน 6 เครือข่าย (โรงเรียนในเครือข่ายจานวน 31 โรงเรียน) โครงการของแต่ละเครือขา่ ยภายใตก้ รอบกิจกรรม 5 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นความตระหนกั และการลดอตั ราการสูบบุหรี่ ด้าน ความตระหนักและการรับประทานอาหารถูกหลักโภชนาการและการลดภาวะโรคอ้วน ด้านความตระหนักและลด ป๎ญหาสขุ ภาวะทางเพศ ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม และด้านคุณภาพการศึกษา เครือข่ายได้ดาเนินการในแต่ละกิจกรรม โดยเน้นการมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วนเพื่อสร้างนวัตกรรมด้านองค์ความรู้ในการแก้ป๎ญหาและยกระดับคุณภาพของ เด็กและเยาวชนจนประสบผลสาเร็จดังที่ปรากฏในเวทีสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครั้งสาคัญใ นระดับภูมิภาคเม่ือวันท่ี 18-19 ตุลาคม 2561ณ โรงแรมตักสิลา จังหวัดมหาสารคาม และระดับประเทศเม่ือวันที่ 1-3 เมษายน 2562 ณ โรงแรม TK Palace แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร ซ่ึงในการจัดสัมมนาระดับประเทศ ของโครงการขยายการจัดการ เรยี นรูแ้ บบเครือขา่ ยโดยการมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนเพอื่ สขุ ภาวะเดก็ และเยาวชน จัดโดย สานักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มูลนิธศิ ึกษาธิการ และมหาวิทยาลยั ธรุ กิจบัณฑติ ย์ ซ่งึ จัดในรูปแบบการสัมมนาสรุปบทเรียน จากเครือขา่ ยทั่วประเทศ และในงานสัมมนาครั้งน้ไี ด้มกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรู้ ไดข้ อ้ สรุปที่สาคัญและเกิดนวัตกรรมด้าน องค์ความรู้จานวนมากท่ีมาจากฐานรากและผ่านการปฏิบัติมาแล้วซ่ึงเห็นได้จากรายงานการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม นักเรียนจากการดาเนินกิจกรรม 5 ด้าน (สินธะวา คามดิษฐ์ และวิทยา วรพันธุ์. 2562) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการ สัมมนาคร้ังนี้ มีการบรรยายพิเศษในหัวข้อ “การจัดการศึกษาฐานชุมชนแบบมีส่วนร่วม จากยุค 4.0 สู่ 5.0” โดย ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ไพฑรู ย์ สินลารตั น์ ภาครี าชบัณฑิต ทีม่ ีสาระและประเด็นสาคัญ กล่าวคือเห็นว่าโครงการน้ี ได้สรา้ งสรรค์นวตั กรรมด้านองค์ความรู้ที่เกิดจากการบริหารจัดการแบบเครือข่ายการมีส่วนร่วมที่อาศัยความร่วมมือ ระหว่างโรงเรียน ผู้ปกครอง และองค์กรในชุมชนซึ่งรูปแบบดังกล่าวมีความน่าสนใจ เนื่องจากมีรูปแบบการบริหาร จดั การที่เป็นเอกลักษณข์ องตนเองในบริบทของความเป็นไทย โดยเฉพาะความสาเร็จท่ีเกิดขึ้นท่ีเห็นได้จากนวัตกรรม ด้านองค์ความรู้จานวนมาก และรูปแบบการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมท่ีแตกต่างจากโครงการอ่ืนๆ ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ี ส่งผลดีต่อการยกระดับคุณภาพคนไทย สามารถนามาดาเนินการต่อยอดและขยายผลไปสู่สังคมในวงกว้างและ สามารถเรยี กว่าแนวปฏบิ ตั ิท่ีดี (Best Practice) ในบรบิ ทของสังคมไทยท่ีเกิดจากฐานรากเพ่ือให้เกิดความย่ังยืนต่อไป ในอนาคต จากข้อเสนอดังกล่าว ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิณสุดา สิริธรังศรี ผู้จัดการโครงการฯได้มีแนวคิดว่าเมื่อ ผลผลติ และผลลัพธ์ของการดาเนินงานตามโครงการฯหรือนวัตกรรมท่ีเกิดจากการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมของ ชุมชน ซึ่งแต่ละเครือข่ายได้นามาแสดงในรูปแบบต่างๆจานวนมาก เช่น รายงานความก้าวหน้า รายงานการถอด บทเรียน รายงานการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักเรียน นิทรรศการ ผลงานนักเรียน และรายงานอ่ืนๆจานวนมาก หากนาส่ิงเหล่าน้ีมาวิเคราะห์และสังเคราะห์เพ่ือสร้างเป็นองค์ความรู้ของแต่ละเครือข่ายท่ีมีบริบทแตกต่า งกันน่าจะ เปน็ ผลงานทตี่ กผลึกและสามารถเผยแพร่ไปสู่สังคมอย่างกว้างขวาง เพ่ือช้ีให้เห็นว่าการบริหารจัดการแบบเครือข่าย การมสี ่วนรว่ มท่ีอาศัยความร่วมมอื ระหว่างคนและองค์กรในชุมชนในการจัดการเรียนรู้เป็นทางเลือกหนึ่งของประเทศ หน้า251

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ไทยทคี่ นและองค์กรในชมุ ชนสามารถสร้างหรอื กาหนดรปู แบบของตนเองได้ หรือ เปน็ การจดั การศึกษาฐานชุมชนแบบ มีสว่ นร่วมอย่างแท้จริง และเพ่ือให้แนวคิดดีเป็นรูปธรรมยิ่งข้ึน จึงได้มีการประชุมผู้บริหารโครงการ ผู้ทรงคุณวุฒิทุก ระดับ และตัวแทนเครือข่ายเพ่ือสรุปบทเรียนอีกคร้ังเม่ือวันที่ 23-24 เมษายน 2562 ณ โรงแรม TK Palace แจ้ง วฒั นะ กรุงเทพมหานคร และในการประชมุ คร้ังนีแ้ ต่ละเครอื ขา่ ยไดน้ าเสนอรูปแบบการบริหารจัดการเครือข่ายและได้ มกี ารระดมความคดิ เพือ่ กาหนดทศิ ทางและกรอบการศกึ ษาซง่ึ ได้แนวทาง ไดแ้ ก่ “ การศึกษาการดาเนนิ การการจัดการ เรยี นรแู้ บบเครือข่ายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสุขภาวะเด็กและเยาวชนในด้านรูปแบบการบริหารจัดการของ เครือขา่ ย ภาวะผู้นาของผบู้ รหิ ารเครือข่าย นวตั กรรมที่เกดิ จากการดาเนินงานของเครือข่าย การมีส่วนร่วมขององค์กร ภายนอก การให้คาปรึกษาแนะนาการขับเคล่ือนการดาเนินงาน (coaching) ความสาเร็จที่เกิดขึ้นและส่งผลต่อการ ยกระดับคุณภาพคนไทย” ซึ่งแนวทางดังกลา่ วที่ประชุมไดม้ อบใหผ้ ูท้ รงคณุ วุฒขิ องแตล่ ะเครอื ข่ายไปดาเนินการและนา ผลการศึกษามานาเสนอในช่วงปลายเดือนพฤษภาคม 2562 โดยจะจัดในรูปแบบของการประชุมวิชาการ และเชิญ นกั วิชาการและผสู้ นใจทัว่ ไปเขา้ รว่ มประชุมในคร้งั นี้ดว้ ย ด้วยท่มี าและเหตุผลดังกลา่ วผูว้ ิจยั ได้นาทิศทางและกรอบการศกึ ษาดังกลา่ วข้างต้นมาทาการศึกษาโดยวิเคราะห์ และสังเคราะห์การดาเนนิ งานท่ีผ่านมาและผลท่เี กิดจากการดาเนินงานซึ่งผลการศึกษาครั้งน้ีนอกจากจะได้ข้อมูลและ สารสนเทศเกย่ี วกบั สภาพการดาเนินการการจดั การเรยี นรแู้ บบเครอื ขา่ ยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสุขภาวะเด็ก และเยาวชนเครือข่ายจังหวัดสุรินทร์ในด้านรูปแบบการบริหารจัดการของเครือข่ายภาวะผู้นาของผู้บริหารเครือข่าย นวัตกรรมท่ีเกิดจากการดาเนินงานของเครือข่าย การมีส่วนร่วมขององค์กรภายนอก การให้คาปรึกษาแนะนาการ ขับเคล่ือนการดาเนินงาน ความสาเร็จที่เกิดข้ึนและส่งผลต่อการยกระดับคุณภาพคนไทยแล้ว ยังสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ในการจดั การเรียนรู้แบบเครือขา่ ยโดยการมสี ่วนร่วมของชุมชนเพ่ือสุขภาวะเด็กและเยาวชนในอนาคต และ ใช้เป็นส่วนหนึ่งในการตัดสินใจของผู้บริหารสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ตลอดจน หน่วยงานอ่นื ๆ ทส่ี นใจในการนารปู แบบน้ีไปประยกุ ตใ์ ชเ้ พ่อื การจัดการเรียนรแู้ บบมีส่วนรว่ มของชุมชนในระยะตอ่ ไป วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ัย การวิจัยครัง้ น้ีมีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือวิเคราะห์และสงั เคราะหก์ ารจัดการเรียนรู้แบบเครือข่ายโดยการมีส่วนร่วม ของชุมชนเพ่ือสุขภาวะเด็กและเยาวชนเครือข่ายจังหวัดสุรินทร์ เกี่ยวกับประเด็นสาคัญ ได้แก่ รูปแบบการบริหาร จัดการของเครอื ข่าย ภาวะผู้นาของผู้บริหารเครอื ข่ายการมีส่วนร่วมขององค์กรภายนอก การให้คาปรึกษาแนะนาการ ขับเคลื่อนการดาเนินงาน (Coaching) นวตั กรรมทเี่ กิดจากการดาเนินงานของเครือข่าย และความสาเร็จท่ีเกิดขึ้นและ สง่ ผลต่อคุณภาพคนไทย วิธดี าเนินการวิจัย การวจิ ัยครง้ั นีเ้ ป็นการวิจัยเชงิ บรรยาย (Descriptive Research) ในลักษณะการศกึ ษาเอกสารรายงาน ต่างๆ (Documentary Research) ของโครงการขยายการจัดการเรียนรู้แบบเครือข่ายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เพ่ือสุขภาวะเด็กและเยาวชน เครือข่ายจังหวัดสุรินทร์ ร่วมกับการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depthInterview ) ผู้นา หนา้ 252

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) เครอื ขา่ ยและประสานงานเครือขา่ ย โดยกาหนดประชากรในการวิจัย เครื่องมอื ทใี่ ช้ในการวิจยั การเก็บรวบรวมข้อมูล และการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ดังนี้ 1.ประชากร ประชากรในการวิจัย แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ เอกสารเก่ียวกับโครงการขยายการจัดการเรียนรู้แบบ เครือข่ายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสุขภาวะเด็กและเยาวชน และผู้ให้ข้อมูลสาคัญ(Key Informant) จาก เครือข่ายจังหวัดสุรินทร์ ซึ่งเป็นเครือข่ายที่ได้รับการสนับสนุนจากโครงการโครงการขยายการจัดการเรียนรู้แบบ เครือข่ายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสุขภาวะเด็กและเยาวชน เป็นผู้มีตาแหน่งประธานเครือข่ายและผู้ ประสานงานเครอื ขา่ ย 6 เครอื ข่ายๆ ละ 2 คน รวม 12 คน 2. เคร่ืองมอื ทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั 2.1 แบบบันทึกข้อมลู จากเอกสาร โครงการขยายการจัดการเรยี นร้แู บบเครือข่ายโดยการมีสว่ นร่วม ของชมุ ชนเพื่อสขุ ภาวะเด็กและเยาวชนเครอื ขา่ ยจงั หวัดสุรินทร์ ประกอบด้วยประเดน็ สาคญั ไดแ้ ก่ รูปแบบการ บรหิ ารจดั การของเครอื ข่าย ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริหารเครือข่าย การมีส่วนรว่ มขององค์กรภายนอก การให้คาปรกึ ษา แนะนาการขับเคลื่อนการดาเนินงาน (Coaching) นวัตกรรมท่เี กดิ จากการดาเนินงานของเครือขา่ ย และความสาเรจ็ ท่ี เกิดขน้ึ และสง่ ผลต่อคณุ ภาพคนไทย 2.2 แบบสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview) โดยใช้แบบสัมภาษณ์ประธานเครือข่ายและผู้ ประสานงานเครือข่าย ตามโครงการขยายการจัดการเรียนรู้แบบเครอื ข่ายโดยการมีสว่ นร่วมของชมุ ชนเพือ่ สุขภาวะเด็ก และเยาวชนเครือข่ายจังหวัดสุรินทร์ ประกอบด้วยประเด็นการสัมภาษณ์ ได้แก่ รูปแบบการบริหารจัดการของ เครอื ขา่ ย ภาวะผนู้ าของผู้บรหิ ารเครือขา่ ย การมสี ่วนรว่ มขององค์กรภายนอก การให้คาปรึกษาแนะนาการขับเคลื่อน การดาเนนิ งาน (Coaching) นวัตกรรมที่เกิดจากการดาเนินงานของเครือข่าย และความสาเร็จที่เกิดข้ึนและส่งผลต่อ คณุ ภาพคนไทย 3. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 3.1 การบนั ทกึ ข้อมลู จากเอกสาร การบันทึกข้อมูลจากเอกสารโครงการขยายการจัดการเรียนรู้แบบเครือข่ายโดยการมีส่วนร่วมของ ชุมชนเพือ่ สุขภาวะเดก็ และเยาวชนเครือขา่ ยจงั หวัดสรุ นิ ทร์ ดาเนนิ การระหว่างวนั ที่ 1-20 พฤษภาคม 2562 3.2 การแบบสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์ประธานเครือข่ายและผู้ประสานงานเครือข่ายตามโครงการขยายการจัดการเรียนรู้ แบบเครือขา่ ยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพ่ือสุขภาวะเด็กและเยาวชนเครือข่ายจังหวัดสุรินทร์ ดาเนินการวันที่ 17 พฤษภาคม 2562 ณ เครอื ข่ายโรงเรียนบา้ นดอนแรด(จนิ ดาวทิ ยาคาร) อาเภอรตั นบรุ ี จงั หวดั สรุ นิ ทร์ 4. การวเิ คราะห์ข้อมลู เมอ่ื เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ได้แลว้ ผวู้ จิ ัยนาข้อมูลเชิงคุณภาพมาวิเคราะหเ์ น้อื หา หนา้ 253

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) (Content Analysis) ส่วนข้อมูลเชิงปริมาณนามาวิเคราะห์โดยใช้สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics ) ได้แก่ ความถี(่ Frequency ) ค่ารอ้ ยละ (Percentages) และค่าเฉล่ยี (Mean) ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู และสรุปผลการวิจัย การวจิ ัยครัง้ นไี้ ด้ขอ้ ค้นพบทส่ี าคญั ตามวตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย ดังนี้ 1.รปู แบบการบรหิ ารและภาวะผนู้ า 1.1 รปู แบบการบรหิ าร 1.1.1 ด้านแนวคิดและหลักการ พบว่า เครือข่ายจังหวัดสุรินทร์ใช้แนวคิดและหลักการในการบริหาร จัดการเครือขา่ ย คอื 1) หลกั การสรา้ งความศรทั ธาและความเชือ่ มนั่ รวมถึงความไว้วางใจในการทางานระหว่างสมาชิก ของเครอื ข่าย 2) หลกั การทางานแบบมีส่วนร่วม ตามแนวคิดของพิณสุดาโมเดล ท่ีประกอบด้วย 8 ร่วม ได้แก่ ร่วม คิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมวางแผน ร่วมแก้ป๎ญหา ร่วมรับผิดชอบ ร่วมติดตาม ร่วมประเมินและร่วมชื่นชมผลสาเร็จ และ 3) หลักการกาหนดแผนงานและกิจกรรมท่ีชัดเจนและตรงประเด็นท่ีสามารถนาไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็น รูปธรรม 1.1.2 ด้านการสร้างเครือข่าย พบว่า เครือข่ายจังหวัดสุรินทร์ใช้หลักการและแนวคิดในการสร้าง เครือขา่ ย คอื 1) เนน้ ความร่วมมอื และการมีส่วนรว่ มของสมาชกิ ซ่งึ เป็นหลกั การสาคัญท่ีนามาสานต่อตามเจตนารมณ์ ของโครงการขยายการจัดการเรียนรู้แบบเครือข่ายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสุขภาวะเด็กและเยาวชน 2) สมาชิกมีแนวความคิดแนวทางเดียวกัน มีป๎ญหาคล้ายกัน และมีเปูาหมายในการพัฒนาร่วมกันเพื่อกาหนดกิจกรรม ย่อยในกิจกรรมหลัก 5 ด้าน เนื่องจากรูปแบบของกิจกรรมย่อยจะต้องเปลี่ยนโรงเรียนสมาชิก และ 3) ผู้รับผิดชอบ หรอื เป็นผนู้ ากิจกรรม และสมาชกิ หรือโรงเรยี นที่เป็นสมาชิกในแต่ละเครือข่ายมีที่ต้ังโรงเรียนอยู่ใกล้กันเพ่ือสะดวกใน การติดตอ่ ประสานงานและทากจิ กรรมรว่ มกนั 1.2.3 ดา้ นวธิ ีดาเนินงานและกลยทุ ธก์ ารดาเนนิ งาน พบว่า เครือขา่ ยจังหวดั สุรินทร์ใช้วิธีดาเนินงานและ กลยทุ ธ์การดาเนินงานการเพือ่ ให้มสี มาชิกดาเนินการกิจกรรมตามโครงการขยายการจัดการเรียนรู้แบบเครือข่ายโดย การมีส่วนรว่ มของชมุ ชนเพอื่ สขุ ภาวะเด็กและเยาวชน คอื 1) มีการประชมุ ผู้บริหารโรงเรียนเพ่ือติดตามการดาเนินงาน ตามกิจกรรม 5 กจิ กรรมของสมาชิกเครือข่ายและประเมินผลการดาเนินงานตามกิจกรรมดังกล่าว 2) การมีส่วนร่วม ของสมาชิกเครือข่ายในการทางานร่วมกันตั้งแต่ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมวางแผน ร่วมแก้ป๎ญหา ร่วมรับผิดชอบ รว่ มตดิ ตาม ร่วมประเมินและร่วมช่นื ชมผลสาเรจ็ ตามหลกั การของโครงการและ 3) มกี ารประเมินความเสี่ยงก่อนและ หลงั การทากิจกรรมของโครงการ ซ่งึ ทาใหส้ ง่ ผลดตี อ่ เครอื ข่ายต่างๆเพอ่ื เฝาู ระวังปญ๎ หาที่อาจเกิดขึ้น 1.2.4 ดา้ นป๎จจยั ท่สี ง่ ผลต่อความสาเรจ็ ของเครือขา่ ยจังหวดั สุรนิ ทร์ พบวา่ 1) ความศรัทธาในตัวผู้นาของสมาชิกเครือข่าย และประธานเครือข่ายได้แสดงออกให้เห็นถึงความ เปน็ ผูม้ ภี าวะผ้นู าผ่านกระบวนการทางานอยา่ งเปน็ ระบบตงั้ แต่เร่ิมโครงการ กล่าวคือ การเข้าร่วมประชุมเพ่ือรับทราบ นโยบายและหลักการของโครงการขยายการจดั การเรยี นรู้แบบเครือข่ายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสุขภาวะเด็ก และเยาวชน จากผจู้ ดั การโครงการฯ( สสส.)และการขับเคลือ่ นการทางานแบบมีส่วนร่วมจนบรรลุเปูาหมาย หน้า254

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 2) ทีมงานท่ีเข็มแข็งและการสร้างความร่วมมือของเครือข่ายโดยแต่ละเครือข่ายมีคณะกรรมการ บริหารเครือข่ายในระดับผู้อานวยการโรงเรียนและมีทีมงานเป็นผู้บริหารโรงเรียน มีครูรวมถึงกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองและชมุ ชนรว่ มกนั เป็นกรรมการในการดาเนินงานตามกิจกรรมย่อยของโครงการ ซ่ึงทุกฝุายร่วมมือกันอย่าง เข้มแข็ง 3) มหี น่วยงานภายในชมุ ชนให้ความร่วมมือ และมีหน่วยงานภายนอกชุมชนทั้งภาครัฐและองค์กรให้ ความรว่ มมอื เชน่ คณะกรรมการเครอื ข่ายโดยการมสี ว่ นร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน ปราชญ์และภูมิป๎ญญาท้องถิ่น วัด สถานีตารวจ โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบล องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน การร่วมมือสนับสนุนทาให้องค์กรและ ภาคีต่าง ๆ เขา้ มาร่วมสง่ เสริมใหก้ ารดาเนนิ กิจกรรมเปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ 4) มกี ระบวนการ PLC หรอื ชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียน โดยการรวมตัว รวมใจ รวมพลัง ร่วมมือกันของครู และผู้บริหาร ตลอดจนบุคลากรทางการศึกษาจากเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 2 เพื่อ พัฒนาการเรยี นร้ขู องผเู้ รยี นโดยอาศัยกิจกรรม 5 ด้านของโครงการขยายการจดั การเรียนรู้แบบเครือข่ายโดยการมีส่วน รว่ มของชมุ ชนเพอื่ สุขภาวะเด็กและเยาวชน 1.2 ภาวะผนู้ า จากการวจิ ัย พบว่า ภาวะผู้นาของประธานเครอื ขา่ ย ผู้บรหิ ารเครอื ขา่ ย ครูแกนนา นักเรียนแกนนา และ ชุมชนแกนนาในโครงการขยายการจัดการเรียนรู้แบบเครือข่ายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพ่ือสุขภาวะเด็กและ เยาวชนเครือข่ายจงั หวัดสรุ ินทร์ ดงั น้ี 1.2.1 ภาวะผู้นาระดับผู้บริหารแกนนา พบว่า ส่วนใหญ่เห็นว่าผู้บริหารแกนนา 1) มีส่วนร่วมในทุก กระบวนการของโครงการ กล่าวคือตั้งแต่ต้ังแต่ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมวางแผน ร่วมแก้ป๎ญหา ร่วมรับผิดชอบ ร่วมติดตาม ร่วมประเมินและร่วมช่นื ชมผลสาเร็จ ดว้ ยการสรา้ งความศรทั ธา ความเชอื่ มั่น โน้มน้าว ชักจูง ให้มองเห็น ประโยชนร์ ว่ มกนั และ 2) มีทักษะในการบริหารจัดการสมาชิกเครอื ขา่ ยใหก้ ิจกรรมต่างๆ บรรลเุ ปูาหมาย 1.2.2 ภาวะผนู้ าของผู้นาระดับครูแกนนาพบว่า สว่ นใหญ่เห็นวา่ ครูแกนนา 1) มีความรู้ ความสามารถใน กจิ กรรมทดี่ าเนินการ มคี วามมุ่งมน่ั ในการทางานและ มีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดีต่อสมาชิกเครือข่าย 2) สามารถสร้างและ พฒั นานกั เรียนแกนนาด้วยวิธีการให้ความรู้ สอดแทรกคุณธรรม ยึดม่ันในธรรมเนียมประเพณีท่ีดีงามของครอบครัว และชมุ ชน และ 3) มีทกั ษะในการประสานงานสมาชกิ เครอื ขา่ ยอยา่ งรวดเร็ว มีความคล่องตัว สามารถกระจายงานได้ ทั่วถึง มีความรบั ผิดชอบและม่งุ ม่นั ตั้งใจในการดาเนนิ โครงการ 1.2.3 ภาวะผ้นู าของผู้นาระดับนักเรยี นแกนนาพบว่า ส่วนใหญ่เห็นว่านักเรียนแกนนา 1) เป็นนักเรียนท่ี ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดี 2) มีความรู้ความสามารถและความเชื่อม่ันในงานที่ตนเป็นผู้นาในเร่ืองน้ัน 3) มี ความสามารถถา่ ยทอดให้กับเพื่อนในโรงเรยี น และ 4) สามารถนาความรใู้ นกจิ กรรมทด่ี าเนินการไปพฒั นาตนเองได้ 1.2.4 ภาวะผู้นาของชมุ ชนแกนนาพบว่า สว่ นใหญ่เห็นว่าชุมชนให้ความร่วมมือกับโรงเรียนที่เป็นสมาชิก เครอื ข่ายเปน็ อย่างดี ช่วยดูแลเอาใจใส่บุตรหลาน ยอมรับและกล้าเผชิญกับป๎ญหาของบุตรหลานและมีส่วนร่วมใน การแกไ้ ขปญ๎ หาที่เกิดขน้ึ ได้ ผลการวิจัยคร้ังน้ีได้รูปแบบการบริหารและภาวะผู้นาของเครือข่ายจังหวัดสุรินทร์คือ วงล้อการขับเคล่ือนเครือข่าย สรุ ินทร์เพอื่ สขุ ภาวะของเด็กและเยาวชนอยา่ งย่ังยืนโมเดล ได้แก่“ศรทั ธา สว่ นร่วม รวมพลงั สร้างสรรค์ ยั่งยนื ” 2.การมีสว่ นร่วมขององคก์ รภายนอกและการใหค้ าปรึกษา หนา้ 255

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 2.1 การมสี ว่ นรว่ มขององคก์ รภายนอก เครอื ข่ายจงั หวดั สรุ ินทร์ท้งั 6 เครือข่าย มีองค์กรภายนอกเข้ามามีการมีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรมตาม โครงการการจดั การเรยี นรแู้ บบเครอื ข่ายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพ่ือสุขภาวะเด็กและเยาวชน จานวน 6 องค์กร ซึ่งแต่ละองค์กรมบี ทบาทในการมสี ่วนร่วมอย่างสอดคลอ้ งกัน ดงั น้ี 1) สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ซ่ึงถือได้ว่าเป็นหน่วยงานต้นสังกัดของทุก เครือข่ายทกุ โรงเรียน โดยมีบทบาทสาคัญ ไดแ้ ก่ ใหค้ วามเห็นชอบ สนบั สนนุ และส่งเสริมให้ 6 เครือข่าย 31 โรงเรียน เขา้ ร่วมกจิ กรรมตามโครงการการจดั การเรียนรู้แบบเครอื ข่ายโดยการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนเพือ่ สุขภาวะเด็กและเยาวชน ของสานกั งานกองทนุ สนบั สนุนการสร้างเสรมิ สุขภาพ (สสส.) นอกจากนี้ยังมีส่วนในการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล การดาเนินงานตามโครงการอีกด้วย 2) องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น (อบต/เทศบาล) ที่เครือข่ายแต่ละแห่งตั้งอยู่ กล่าวคือ มี 2 อาเภอ ได้แก่ องคก์ ารปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ในพน้ื ท่อี าเภอรตั นบุรี และอาเภอท่าตูม โดยทั้ง 2 อาเภอมีองค์การปกครองส่วนท้องถ่ิน มีส่วนร่วมโดยการสนับสนุนด้านงบประมาณเสริมจากที่เครือข่ายได้รับการสนับสนุนจาก สสส. โดยส่วนใหญ่เป็น งบประมาณสนับสนุนกิจกรรมดา้ นที่ 1 คอื กิจกรรมด้านความตระหนักและการลดอัตราการสูบบุหรี่ 3) สถานีตารวจภูธร ได้แก่ สถานีตรวจภูธรในเขตพ้ืนท่ีอาเภอรัตนบุรีและอาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ท่ี ส่วนใหญ่เข้ามามสี ว่ นร่วมในกิจกรรมด้านความตระหนักและการลดอัตราการสูบบุหรี่ โดยการเป็นวิทยากรอบรมให้ ความรู้และครู DAE ให้แก่นักเรียน นอกจากนี้ยังให้ความรู้เก่ียวกับกฎหมายและด้านการปูองกันป๎ญหาเก่ียวกับเร่ือง เพศอีกด้วย 4) โรงพยาบาลอาเภอและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ในเขตพ้ืนท่ีที่เครือข่ายต้ังอยู่โดยส่วนใหญ่ให้ความรู้ เกย่ี วกบั โทษภัยของบุหรี่คณุ คา่ และ ประโยชน์ของการรบั ประทานอาหาร และความรู้ดา้ นอนามยั เจริญพันธ์ุ 5) วดั ในเขตพ้ืนท่ีทเ่ี ปน็ ท่ตี ัง้ ของเครอื ขา่ ยโดยวดั ทกุ วดั ท่ีเขา้ มามีส่วนรว่ มทั้งหมด มบี ทบาทในการ 2.2 การใหค้ าปรึกษา 1) ผู้ทรงคุณวุฒิจากส่วนภมู ภิ าค จากการวจิ ัย พบว่า การให้คาแนะนาของผ้ทู รงคุณวุฒิจากส่วนภูมิภาค แบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ ก่อน และระหว่าง การดาเนินงานตามโครงการการจัดการเรยี นรแู้ บบเครอื ข่ายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสุขภาวะเด็กและเยาวชน เครือข่ายจังหวัดสรุ ินทร์ ไดแ้ ก่ 1.1) ก่อนดาเนินงานตามโครงการโดยการประสานงานเครือข่ายฯเพื่อเข้าประชุมรับฟ๎งการชี้แจงโค รงการฯ จาก ผู้จัดการโครงการฯและคณะ การเขียนโครงการฯของแต่ละเครือข่าย หลังรับฟ๎งการช้ีแจงแนวทางและหลักการของ โครงการฯ 1.2) ระหว่างการดาเนินงานตามโครงการ โดยประชุมและให้คาแนะนาการดาเนินงานตามกิจกรรม 5 ด้านในระดับเครือข่าย 6 เครือข่าย เย่ียมและให้คาแนะนาการดาเนินงานตามกิจกรรม 5 ด้านในระดับเครือข่าย 6 เครือขา่ ย และระดับโรงเรียนการเข้าร่วมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับภูมิภาค และประสานงานประธานเครือข่าย เพอ่ื เขา้ ร่วมประชุมสมั มนาสรุปผลการดาเนนิ การระดบั ประเทศ 2) ผูท้ รงคณุ วฒุ จิ ากส่วนกลาง หนา้ 256

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 2.1.) ก่อนดาเนินงานตามโครงการโดยประชุมผู้บริหารเครือข่ายเพื่อชี้แจงหลักการและแนวคิด ขั้นตอนและวิธกี ารดาเนินงานของโครงการฯ จากผู้จัดการโครงการฯ และคณะ ให้คาแนะนาการเขียนโครงการฯของ แตล่ ะเครือข่ายโดยผู้ทรงคณุ วฒุ แิ ละทาสญั ญารบั ทุนสนับสนนุ 2.2) ระหว่างการดาเนินงานตามโครงการ โดยผู้จัดการโครงการฯ และคณะจากส่วนกลางและทีมงาน จากมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นเิ ทศและให้คาแนะนาการดาเนินงานตามกิจกรรม 5 ด้านในระดับเครือข่าย 6 เครอื ขา่ ย และผู้ทรงคณุ วฒุ ิฝุายตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการฯ เยี่ยมเครือข่ายเพื่อติดตามการดาเนินงานของแต่ละ เครือขา่ ย 3.นวตั กรรมด้านองคค์ วามรู้ ผลการวิจัยเก่ียวกับนวัตกรรมด้านองค์ความรู้เครือข่ายจังหวัดสุรินทร์ ที่เกิดจากการดาเนินงานตาม โครงการขยายการจัดการเรียนรู้แบบเครือข่ายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสุขภาวะเด็กและเยาวชนมา จาแนก ตามดา้ นจานวนนวตั กรรมด้านองค์ความรู้ และด้านนวตั กรรมท่ีประสบความสาเรจ็ และภาคภมู ใิ จ ดงั น้ี 3.1 จานวนนวตั กรรมดา้ นองค์ความรู้ เครือข่ายจังหวัดสุรินทร์มีจานวนนวัตกรรมด้านองค์ความรู้ จาแนกตามประเภทของนวัตกรรม จานวน รายการในแตล่ ะประเภท และจานวนชนิ้ งาน พบว่า นวัตกรรมด้านองค์ความรู้มีจานวน 16 ประเภท ได้แก่ หลักสูตร แผนการจัดการเรียนรู้ ส่อื การเรียนรู้ คมู่ อื (ครู/นักเรยี น/ผู้ปกครอง) กระบวนการ (โครงงาน) แบบฝึกทักษะ หนังสือ เล่มเล็ก ปูาย/นิทรรศการ แผ่นพับ งานวิจัย 5 บท เอกสารประกอบการอบรม บันทึก ปฏิทินกิจกรรม แบบสารวจ ผลงานนกั เรยี น (เรยี งความ) และบคุ คลตัวอย่าง โดยประเภทนวตั กรรมฯทม่ี จี านวนรายการนวัตกรรมสูงสุด คือ คู่มือ (คร/ู นกั เรยี น/ผ้ปู กครอง) (จานวน 23 รายการ ) รองลงมา คอื แผนการจัดการเรียนรู้ (จานวน 14 รายการ) และปูาย/ นทิ รรศการ (จานวน 13 รายการ) ตามลาดับ ส่วนจานวนช้ินงานนวัตกรรมด้านองค์ความรู้สูงสุดที่แต่ละเครือข่ายระบุไว้ในแต่ละประเภทและแต่ละ รายการ พบว่า มีจานวนรวมกันทั้ง 6 เครือข่ายเครือข่าย 8,089 ช้ินงาน โดยเครือข่ายที่มีจานวนชิ้นงานสูงสุด คือ เครอื ข่ายโรงเรียนบ้านหนองไม้ถ่ี (จานวน 2,105 ชิ้นงาน) รองลงมา คือ เครือข่ายโรงเรียนบ้านขาม (จานวน 1,584 ช้ินงาน) และเครือขา่ ยโรงเรยี นบ้านผือ (จานวน 1,556 ช้ินงาน) ตามลาดับ 3.2 นวัตกรรมทีป่ ระสบความสาเรจ็ และภาคภมู ิใจ นวตั กรรมด้านองคค์ วามรทู้ ่ีเกดิ จากการดาเนนิ งานทส่ี ามารถเปน็ ต้นแบบสาหรับบุคคลหรือหน่วยงานและ โครงการอนื่ ๆ ของเครอื ขา่ ยจงั หวดั สุรนิ ทร์ พบว่า สว่ นใหญ่เปน็ นวตั กรรมทเี่ กดิ จากกิจกรรมด้านที่ 5 คือ ด้านคุณภาพ การศึกษา โดยลักษณะของนวตั กรรมดงั กลา่ ว ไดแ้ ก่ หลกั สูตรแบบฝึกทักษะการคิดเลขเร็ว คู่มือครูแบบฝึกทักษะการ คิดเลขเรว็ และแบบฝึกทกั ษะการคิดเลขเร็ว (เครือข่ายโรงเรียนบ้านดอนแรด อ่านเขียนภาษาไทยได้ด้วยบันได 3 ข้ัน (ไตร-ช่อง-คอน-นา-ผอื โมเดล) และ คู่มือการใช้แบบฝึกทักษะอ่านออก เขียนได้ตามช่วงวัย และแบบฝึกทักษะ อ่าน ออก เขยี นไดต้ ามชว่ งวยั 4.ความสาเร็จและการยกระดับคณุ ภาพคนไทย 4.1 ความสาเรจ็ ทเี่ กิดขนึ้ ดา้ นการบรหิ าร จากการวจิ ัย พบวา่ เครอื ข่ายจังหวดั สรุ ินทร์มีการบรหิ ารจดั การเครอื ข่ายเพอื่ การขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆ สู่เปูาหมาย และสามารถสรุปออกมาเป็นโมเดลการบริหารและภาวะผู้นาเครือข่ายจังหวัดสุรินทร์ คือ วง ล้อการขับเคลื่อน หนา้ 257

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) เครือข่ายสรุ นิ ทรเ์ พอ่ื สขุ ภาวะของเดก็ และเยาวชนอย่างยั่งยืนโมเดล มีองคป์ ระกอบหลัก 5 องค์ประกอบ คือ “ศรัทธา ส่วนรว่ ม รวมพลัง สรา้ งสรรค์ ยงั่ ยนื ” 4.2 ความสาเร็จท่ีเกิดข้ึนด้านการบริหาร ด้านการจัดการการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อนักเรียนในด้านความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และ การเปลย่ี นแปลงพฤติกรรม จากการวิจัย พบวา่ ความสาเรจ็ ทเ่ี กิดขนึ้ ด้านการบรหิ าร ด้านการจัดการการเรียนรทู้ ี่ส่งผลต่อนักเรียนในด้าน ความรู้ ทักษะ เจตคติ และ การเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมของเครอื ขา่ ยจงั หวดั สุรินทร์ ดงั นี้ 4.2.1 ด้านความรู้พบว่า องค์ความรู้ที่เกิดจากการดาเนินงานของเครือข่ายจังหวัดสุรินทร์ มี 16 ประเภท ได้แก่ หลักสูตร แผนการจัดการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ คู่มือ (ครู/นักเรียน/ผู้ปกครอง) กระบวนการ (โครงงาน) แบบฝึกทักษะ หนังสือเล่มเล็ก ปูาย/นิทรรศการ แผ่นพับ งานวิจัย 5 บท เอกสารประกอบการอบรม บันทึก ปฏิทินกิจกรรม แบบสารวจ ผลงานนักเรียน (เรียงความ) และบุคคลตัวอย่าง โดยประเภทนวัตกรรมฯท่ีมี จานวนรายการนวัตกรรมสูงสุด คือ คู่มือ (ครู/นักเรียน/ผู้ปกครอง) (จานวน 23 รายการ ) รองลงมา คือ แผนการ จัดการเรียนรู้ (จานวน 14 รายการ) และปูาย/นิทรรศการ (จานวน 13 รายการ) ตามลาดับ ส่วนจานวนชิ้นงาน นวัตกรรมดา้ นองค์ความรู้สงู สุดท่แี ตล่ ะเครือขา่ ยระบุไวใ้ นแต่ละประเภทและแต่ละรายการ พบว่า มีจานวนรวมกันทั้ง 6 เครอื ข่ายเครอื ข่าย 8,089 ช้ินงาน โดยนวตั กรรมด้านองคค์ วามรู้ดังกลา่ วได้ผ่านการนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้กับนักเรียนมาแล้วใน 31 โรงเรียนท่ีเปน็ สมาชกิ ของเครือข่ายจังหวัดสุรินทร์ในปีการศึกษา 2561 และเห็นว่ากระบวนการดังกล่าวเป็นส่วน หน่ึงที่สาคัญที่ส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน กล่าวคือ การท่ีผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรต่างๆในชุมชน ได้รวมพลังขับเคล่ือนกิจกรรมสุขภาวะท้ัง 5 ด้าน ได้แก่ ด้าน ความตระหนักและการลดอัตราการสบู บหุ ร่ี ดา้ นความตระหนักและการรบั ประทานอาหารถูกหลักโภชนาการและการ ลดภาวะโรคอ้วน ด้านความตระหนักและลดป๎ญหาสุขภาวะทางเพศ ด้านคุณธรรมจริยธรรม และด้านคุณภาพ การศึกษา ท่ีสะท้อนสุขภาวะด้านร่างกาย จิตใจ และป๎ญญา ย่อมส่งผลต่อพัฒนาการด้านความรู้ ตามหลักสูตรการ เรยี นการสอนในระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน นอกจากนีเ้ ครือข่ายจังหวัดสุรินทร์ได้จัดกิจกรรมสุขภาวะท้ัง 5 ด้าน โดยแต่ละด้านมีรูปแบบและวิธีการใน การให้ความรู้ความเข้าใจผ่านกิจกรรมที่เน้นการปฏิบัติมากกว่าการบรรยายหรือเรียกว่าเป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ (Student Center) ในรูปแบบการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) โดยการมีส่วนร่วมของครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ตลอดจนองค์กรภายนอก นอกจากนี้ในแต่ละกิจกรรมหลัก 5 ด้าน ยังมีกิจกรรมย่อยท่ี เครือข่ายร่วมกันกาหนดชื่อกิจกรรมท่ีสะท้อนการทางานเป็นทีมและมีส่วนร่วม เช่น ร่วมใจต้านภัยบุหรี่ (ดอนแรด) อาหารดมี ปี ระโยชน์ และ การจัดการเรยี นรู้คุณค่าอาหารหลัก 5 หมู่ (บ้านผอื ) ลอ้ มรักให้ครอบครัว ล้อมร้ัวป๎ญหาทาง เพศ (ไตรคาม) เครอื ข่ายท่าศลิ าเป่ียมดว้ ยคุณธรรมและจรยิ ธรรม (ท่าศลิ า) และ คลินิกภาษาไทย (หนองไม้ถ)่ี เปน็ ต้น ความรู้ท่นี กั เรียนได้รับจากกจิ กรรมย่อยดงั กล่าว โดยเฉพาะด้านคุณภาพการศึกษา ได้แก่กิจกรรมการเรียนรู้ ภายใต้ชื่อ “ทกั ษะการคิดเลขเรว็ (ดอนแรด) อ่านออกเขยี นได้ตามช่วงวัย (ไตรคาม) คลินิกภาษาไทย (บ้านขาม) สนุก กบั การอ่านและคิด และการเขยี นไม่ยากอย่างท่ีคดิ (บา้ นผือ) คลินิกภาษาไทย (หนองไม้ถี่) และ คลินิกภาษาไทย (ท่า ศิลา)” ซึ่งโดยภาพรวมของกิจกรรมส่วนใหญ่ได้เน้นให้นักเรียนมีความรู้และทักษะทางภาษาไทย (5 ใน 6 เครือข่าย หรือ 26 โรงเรียน) และมีอีก 1 เครือข่ายท่ีเน้นกิจกรรมการ“ทักษะการคิดเลขเร็ว” อย่างไรก็ดี กิจกรรมอ่ืนๆอีก 4 หนา้ 258

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) กิจกรรมถือได้ว่ามีส่วนสาคัญและเป็นพื้นฐานต่อผลการเรียนในสาระการเรียนรู้ของการศึกษาข้ันพื้นฐานท้ัง 8 กลุ่ ม สาระ กลา่ วคือ ส่งเสริมให้มีสุขภาวะทางกายและจิตใจเพื่อความพร้อมในการเรียนรู้ รวมเป็นองค์ประกอบ 3 ด้านที่ สาคัญของนักเรียน คือ “ป๎ญญา กาย และจิต” ที่สมบูรณ์ ที่นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นของนักเรียนใน 31 โรงเรียน 6 เครือข่ายจังหวดั สรุ ินทร์ ดังนั้น กิจกรรมต่างๆ ที่ดาเนินการมาแล้วของเครือข่ายจังกวัดสุรินทร์ สามารถเห็นความ เปลยี่ นแปลงในทางทดี่ ขี ึ้นในด้านความรู้ โดยพิจารณาจากคะแนน o-net ของนักเรียนเครือข่ายจังหวัดสุรินทร์ ในปี 2561 พบว่า โรงเรียนส่วนใหญ่ จานวน 28 โรงเรียน จาก 31 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 90. 32 ของโรงเรียนสมาชิก เครือข่าย มีคะแนนเฉลย่ี สูงกว่าปี 2560 และค่าเฉลย่ี ระดบั เครือข่ายทุกเครอื ขา่ ยมคี ะแนนเฉลยี่ สงู กวา่ ปี 2560 4.2.2 ด้านทกั ษะกระบวนการ (Process skills) เปน็ ทกั ษะทเี่ กิดจาการปฏบิ ตั ขิ องนักเรียนผ่านกิจกรรมย่อย ของกจิ กรรมทัง้ 5 ดา้ น โดยเฉพาะด้านท่ี 1-4 เชน่ การคิดวิเคราะห์และการทางานเป็นทีมของนักเรียนทุกกิจกรรมท่ี เน้นให้นักเรียนร่วมมือกันทางาน การแสดงบทบาทในการเป็นผู้นาในฐานนะนักเรียนแกนนา และในฐานะผู้ตามใน กิจกรรมตา่ งๆ 4.2.3 ดา้ นเจตคติ (Attitude) และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์(Attribute) หมายถึง ความตะหนัก ใฝุรู้ มุ่งม่ัน และจิต อาสาของนักเรยี นทเ่ี กดิ จาการร่วมกิจกรรมตามกระบวนการที่กาหนดไว้ผ่านกิจกรรมย่อย เช่น การเข้าค่ายคุณธรรม จรยิ ธรรม การร่วมเดินรณรงค์โทษของสงิ่ เสพติด เป็นต้นนอกจากน้ียังสามารถพิจารณาจากรายงานการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมนกั เรียนทีร่ ะบุผลการสารวจการสารวจว่านกั เรียนมกี ารเปล่ียนแปลงพฤติกรรมและมคี วามตระหนักเห็นโทษ ภัยของส่ิงเสพติด มีความตระหนักและการรับประทานอาหารถูกหลักโภชนาการและการลดภาวะโรคอ้วน มีความ ตระหนกั และลดปญ๎ หาสขุ ภาวะทางเพศ และมคี ณุ ธรรมจริยธรรม ตลอดจนใสใ่ จในการเรยี นรู้ และการคิดวิเคราะห์ 4.2.4 ด้านการเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมของนกั เรยี น ผลการวิจัย พบว่า จากสรุปผลการประเมินของเครือข่ายจังหวัดสุรินทร์โดยภาพรวมมีระดับการ ปฏิบัติการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของนักเรียน ร้อยละ 92.93โดยด้านที่มีร้อยละเฉล่ียสูงสุด คือ ด้านที่ 1 ความ ตระหนักและลดอัตราการสูบบุหร่ี รองลงมา คือ ด้านที่ 4 คุณธรรมจริยธรรม และด้านที่ 3 ความตระหนักและลด ป๎ญหาสขุ ภาวะทางเพศ ตามลาดับ สว่ นดา้ นท่ีมีรอ้ ยละเฉลย่ี ตา่ สดุ คอื ด้านท่ี 5 การศึกษาทีเ่ ชื่อมโยงกบั สุขภาวะ 4.3 ดา้ นการยกระดบั คุณภาพคนไทย จาการวจิ ยั พบว่าความสาเร็จทเ่ี กดิ ข้ึนในโครงการขยายการจัดการเรียนรู้แบบเครือข่ายโดยการมีส่วนร่วม ของชมุ ชนเพอื่ สุขภาวะเด็กและเยาวชนของจังหวัดสุรนิ ทร์ สามารถพิจารณาไดจ้ าก 1) การบรหิ ารจัดการเครือข่ายเพื่อ การขับเคล่อื นกิจกรรมตา่ งๆ ส่เู ปูาหมาย และสามารถสรุปออกมาเป็นโมเดลการบรหิ ารและภาวะผูน้ าเครือข่ายจังหวัด สรุ นิ ทร์ คอื วงลอ้ การขับเคล่ือนเครือข่ายสรุ ินทร์เพ่ือสุขภาวะของเด็กและเยาวชนอย่างยั่งยืนโมเดล มีองค์ประกอบ หลัก 5 องค์ประกอบ คอื “ศรัทธา สว่ นรว่ ม รวมพลัง สรา้ งสรรค์ ยั่งยืน” และ 2) ความรู้ ทักษะ เจตคติ และ การ เปลยี่ นแปลงพฤติกรรมของนกั เรียนผ่านกระบวนการการจัดการการเรียนรู้ของครูและกิจกรรมท่ีเกิดขึ้นจากกิจกรรม ย่อย 5 ดา้ น สง่ ผลต่อผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน และ การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของนักเรียน และเครือข่ายสุรินทร์ซ่ึง มจี านวนรวมกันจาก 6 เครือขา่ ย 31 โรงเรยี น มีจานวนมากถึง 4,391 คน รวมถึงผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา พ่อแม่ ผู้ปกครอง ชุมชน วดั องค์กรต่างๆ ท่ีมีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรมของโครงการ ซ่ึงบทบาทการมีร่วมมือใน หน้า259

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) โครงการน้แี ตกต่างกันตามลกั ษณะของกจิ กรรม ซง่ึ ต่างก็เปน็ ประชาชนคนไทยท่อี ยู่ในทอ้ งถิ่นที่อาจกล่าวได้ว่าเป็นการ ยกระดบั คุณภาพคนไทย ท้ังในด้านรูปแบบ ความรู้สกึ คณุ ค่า จติ วญิ ญาณ ความสุข สันตสิ ุขและความมัน่ คงดังน้ี 1) ด้านรูปแบบ พบว่าจากการบริหารจัดการโครงการฯที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน เน้นผู้เรียนลงมือปฏิบัติจริง และการมสี ว่ นรว่ มของผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา พ่อแม่ ผู้ปกครอง ชุมชน วัด องค์กรต่างๆ ในการดาเนิน กจิ กรรมของโครงการ ทาให้ได้ข้อคน้ พบวิธีการบรหิ ารจัดการทีม่ าจากฐานราก หรอื ทรี่ ว่ มกันสร้างและออกแบบข้ึนเอง แล้วนามาใช้อย่างได้ผลดีเหมาะสมกับวัฒนธรรมของคนไทยท่ีถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน มีความยืดหยุ่นสูง ซึ่งในการศึกษา ครั้งนไ้ี ด้นาเสนอโมเดลการบรหิ ารของเครือข่ายสรุ นิ ทร์ คอื “วงลอ้ การขบั เคลอ่ื นเครอื ข่ายสุรินทร์เพ่ือสุขภาวะของเด็ก และเยาวชนอย่างยั่งยืนโมเดล” โดยมีองค์ประกอบหลัก 5 องค์ประกอบ ได้แก่ “ศรัทธา ส่วนร่วม รวมพลัง สร้างสรรค์ ยัง่ ยนื ” 2) ด้านความร้สู ึก พบว่า จากรูปแบบวงล้อการขบั เคล่ือนเครือข่ายสรุ นิ ทร์เพื่อสุขภาวะของเด็กและเยาวชน อยา่ งยง่ั ยนื โมเดล สะท้อนให้เห็นถึงสิง่ ทอี่ ย่ใู นจิตใจของสมาชกิ เครือขา่ ยจังหวดั สุรนิ ทร์ ผู้บริหาร ครู นักเรียน บุคลากร ทางการศึกษา พอ่ แม่ ผ้ปู กครอง ชมุ ชน วัด องค์กรตา่ งๆ ท่ีมสี ว่ นรว่ มในการดาเนนิ กิจกรรมของโครงการ 3) ด้านคุณค่า พบว่า การมองเห็นความสาคัญของการดาเนินงานตามกิจกรรม 5 ด้าน ท่ีส่งผลต่อสุขภาวะ ของเดก็ และเยาวชนในทอ้ งถ่นิ หรือการมองเห็นประโยชน์ในการสร้างเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ และมีความรกั ทอ้ งถนิ่ ของตน ด้วยความเช่อื ในการทางานแบบมีส่วนร่วม ตั้งแต่ร่วมคิด ร่วม ตัดสินใจ รว่ มวางแผน รว่ มแก้ป๎ญหา ร่วมรับผิดชอบ ร่วมตดิ ตาม รว่ มประเมนิ และร่วมช่นื ชมผลสาเร็จ 4) ด้านจิตวิญญาณ พบว่า การดาเนินกิจกรรม 5 ด้านที่เน้นการปลูกฝ๎งคุณลักษณะที่ดีและสร้างค่านิยมท่ี ถูกตอ้ งให้แกเ่ ดก็ และเยาวชน เช่น การเห็นโทษของส่ิงเสพติด การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ การปูองกัน ป๎ญหาทางเพศ มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม รู้จักการคดิ วิเคราะหแ์ ละใฝุเรยี นรตู้ ลอดชีวิต โดย ผ่านกระบวนการทางานแบบมี สว่ นรว่ มของทุกฝุาย 5) ดา้ นความสขุ พบวา่ ผลผลติ และผลลัพธท์ ี่เกิดจากโครงการฯ ท่ีผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ครู นกั เรียน บุคลากรทางการศกึ ษา พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ชุมชน วัด องค์กรต่างๆ ท่ีมีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรมของ โครงการ โดยร่วมคิด รว่ มตัดสนิ ใจ รว่ มวางแผน ร่วมแก้ปญ๎ หา ร่วมรบั ผิดชอบ ร่วมติดตาม ร่วมประเมิน และร่วม ชน่ื ชมผลสาเร็จ เฉพาะ ร่วมตัวที่ 8 (การร่วมช่ืนชมผลสาเร็จ) ทาให้ทุกฝุายมีความสุขใจที่ถือได้ว่ามีมูลค่าสูงส่ง ไม่ สามารถเทยี บเปน็ เงินหรอื สิ่งของใดๆไดเ้ ลย 6) ด้านสันติสุขและความม่ันคง พบว่า จากรูปแบบ ความรู้สึก คุณค่า จิตวิญญาณ และความสุขที่เกิดจาก กระบวนการดาเนินงานตามโครงการย่อมก่อให้เกิดสันติสุขข้ึนในชุมชน ส่งผลต่อความมั่นคงท้ังในระดับบุคคล และ ชุมชน จึงอาจกล่าวได้ว่าการพัฒนาใดๆหากยึดประชาชน ชุมชน การมีส่วนร่วม หรือเห็นประโยชน์ส่วนรวมยิ่งกว่า ประโยชนส์ ว่ นตนแล้ว ย่อมสง่ ผลต่อคณุ ภาพชีวติ เกดิ สันตสิ ุข มีความม่ันคงและ ย่งั ยืน อภปิ รายผล ผลการวิจยั จากรปู แบบการบริหารของเครอื ข่ายจังหวัดสุรินทร์ พบวา่ ข้อคน้ พบท่ีสาคัญและสอดคล้องกันทั้ง 4 ตัวแปร คือ การสรา้ งศรัทธา และการมีสว่ นร่วม ผลการวจิ ยั น้ีแสดงให้เห็นวา่ การทางานร่วมกันน้ันการยอมรับนับถือ ในความรู้ความสามารถ และไว้วางใจกันในการทางานด้วยความโปร่งใส เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมยิ่งกว่าส่วนตน หน้า260

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) รวมถงึ ความเปน็ ผมู้ ีจิตอาสา เปน็ เร่อื งสาคญั ท่ที าให้การทางานรว่ มกนั เป็นไปด้วยความราบรน่ื และบรรลุเปูาหมายท่ีตั้ง ไว้ สอดคล้องกับ สรรเสริญ สุวรรณ์ (2562) ที่กล่าวไว้ในเร่ือง ส่ิงดีดีท่ีพบจากการนิเทศว่า เครือข่ายโรงเรียนเกิดข้ึน จากการรวมตัวด้วยความสมัครใจของแตล่ ะโรงเรียนเพราะศรทั ราประธานเครือข่าย ด้านการให้คาปรึกษาแนะนาการขับเคล่ือนการดาเนินงานพบว่า การให้คาแนะนาของผู้ทรงคุณวุฒิ นิเทศ และติดตามจังหวัดสุรินทร์ ท้ัง ก่อน และระหว่างการดาเนินงานตามโครงการขยายการจัดการเรียนรู้แบบ เครือข่ายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสุขภาวะเด็กและเยาวชนเครือข่ายจังหวัดสุรินทร์ โดยเฉพาะระหว่างการ ดาเนินงานตามโครงการ โดยประชุมและให้คาแนะนาการดาเนินงานตามกิจกรรม 5 ด้านในระดับเครือข่าย 6 เครือข่าย เย่ียมและให้คาแนะนาการดาเนินงานตามกิจกรรม 5 ด้านในระดับเครือข่าย 6 เครือข่าย และระดับ โรงเรียนในเครือข่าย ให้คาแนะนาการเขียนรายการความก้าวหน้า และเอกสารการเงินในรอบการส่งงานให้ สสส. ส่วนกลาง และรายงานการถอดบทเรียนและการเขียนบทความผลงานของเครือข่าย ให้คาแนะนาการเตรียมความ พร้อมในการเข้าร่วมสัมมนาแลกเปล่ียนเรียนรู้ระดับภูมิภาค และประสานงานประธานเครือข่ายเพ่ือเข้าร่วม ประชมุ สมั มนาสรปุ ผลการดาเนนิ การระดับประเทศ ผลการวิจัยน้ีแสดงให้เห็นว่าผู้ทรงคุณวุฒิดังกล่าวได้ปฏิบัติหน้าท่ี ตามเงื่อนไขและข้อตกลงกับโครงการฯ ในส่วนกลาง เพื่อให้การดาเนินงานในแต่ละกิจกรรมของเครือข่ายบรรลุ เปาู หมายและตัวช้วี ัดทงั้ ด้านปริมาณและคุณภาพ ท้ังน้ีการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ทรงคุณวุฒิดังกล่าวสามารถดาเนินการ นิเทศแล ะติดตา มได้เป็ นอย่างดี เนื่องจ ากโคร งการได้จัดทาคู่ มือการ ดาเนินโครงก ารขยาย การจัดการเรี ยนรู้แบ บ เครือข่ายโดยการมสี ว่ นร่วมของชมุ ชนเพื่อสุขภาวะเด็กและเยาวชน (พิณสุดา สิริธรังศรี,2560) ซ่ึงในคู่มือดังกล่าวได้ มอบให้ท้ังผทู้ รงคุณวุฒิและประธานเครอื ขา่ ยเมื่อใชเ้ ปน็ แนวทางในการทางาน ด้านนวัตกรรมด้านองค์ความรู้ที่เกิดจากการดาเนินงานของเครือข่าย พบว่า เครือข่ายจังหวัดสุรินทร์มี จานวนนวัตกรรมด้านองค์ความรู้ จาแนกตามประเภทของนวัตกรรม จานวนรายการในแต่ละประเภท และจานวน ชิน้ งาน พบว่า นวตั กรรมด้านองค์ความรู้มีจานวน 16 ประเภท ได้แก่ หลักสูตร แผนการจัดการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ คู่มือ (ครู/นักเรียน/ผู้ปกครอง) กระบวนการ (โครงงาน) แบบฝึกทักษะ หนังสือเล่มเล็ก ปูาย/นิทรรศการ แผ่นพับ งานวิจัย 5 บท เอกสารประกอบการอบรม บันทึก ปฏิทินกิจกรรม แบบสารวจ ผลงานนักเรียน (เรียงความ) และ บุคคลตวั อยา่ ง โดยประเภทนวัตกรรมฯท่ีมีจานวนรายการนวัตกรรมสูงสุด คือ คู่มือ รองลงมา คือ แผนการจัดการ เรียนรู้ และปูาย/นทิ รรศการ ตามลาดบั ผลการวิจยั นี้แสดงให้เหน็ ว่าเครือขา่ ยจงั หวัดสุรินทร์ได้ดาเนินงานตามกิจกรรม 5 ด้านจนสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมท่ีส่วนใหญ่เป็นเร่ืองของการศึกษาเพ่ือพัฒนานักเรียนโดยตรง โดยนวัตกรรม ดงั กล่าวเกิดขึ้นได้ด้วยความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของสมาชิกเครือข่าย และได้นานวัตกรรมดังกล่าวไปใช้ในการ จัดการเรียนรู้ในรูปแบบตา่ งๆ กับนักเรยี นในโรงเรยี นท่เี ป็นสมาชกิ เครอื ขา่ ย 6 เครือขา่ ย 31 รงเรียน ส่วนนวตั กรรมด้านองค์ความรู้ที่ประสบความสาเร็จและภาคภูมิใจของเครือข่ายจังหวัดสุรินทร์ พบว่า ส่วน ใหญเ่ ป็นนวัตกรรมท่ีเกิดจากกิจกรรมด้านที่ 5 คือ ด้านคุณภาพการศึกษา โดยลักษณะของนวัตกรรมดังกล่าว ได้แก่ หลักสตู รแบบฝึกทักษะการคิดเลขเรว็ คู่มือครูแบบฝึกทักษะการคิดเลขเรว็ และแบบฝึกทักษะการคิดเลขเร็ว อ่านเขียน ภาษาไทยไดด้ ้วยบนั ได 3 ข้ัน (ไตร-ช่อง-คอน-นา-ผอื โมเดล) และ คมู่ ือการใชแ้ บบฝึกทกั ษะอ่านออก เขียนได้ตามช่วง วัย และแบบฝึกทักษะ อ่านออก เขียนได้ตามช่วงวัยผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า ทุกเครือข่ายได้ให้ความสาคัญต่อ คุณภาพการศึกษาท่ีเน้นให้นักเรียนอ่านออกเขียนได้เป็นหลักสาคัญ และตามด้วยการคิดวิเคราะห์ รวมถึงการคิด คานวณทางคณิตศาสตร์ ซึ่งในเรื่องดังกล่าวเป็นป๎ญหาทางการศึกษาระดับประเทศ สอดคล้องกับพิชญา สุวรรณโน หน้า261

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) และคณะ (2560) ทก่ี ลา่ ววา่ การอ่านเป็นป๎จจัยพื้นฐานสาคัญในการพัฒนาประเทศ เนื่องจากเป็นเครื่องมือสาคัญใน กระบวนการเรยี นร้เู พ่อื แสวงหาคาตอบในส่งิ ทมี่ นษุ ย์ต้องการ ช่วยให้มนุษย์สามารถพัฒนาความรู้ความคิด สติป๎ญญา สรา้ งความบนั เทิง เสรมิ ประสบการณ์ชีวติ อันเปน็ ประโยชนต์ อ่ การดาเนินชวี ิต ยงิ่ อ่านมาก ย่งิ มคี วามร้มู าก สร้างโอกาส ในการพัฒนาความกา้ วหนา้ ใหก้ บั ชีวิตมาก เพราะมีองคค์ วามรเู้ ปน็ ตน้ ทุนทจี่ ะตอ่ ยอดเปน็ กาไรชวี ติ ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติให้เจริญรุ่งเรือง ก้าวทันเทคโนโลยีตามกระแสความเปล่ียนแปลงของสังคมโลกท่ี ปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา จึงกล่าวได้ว่า การท่ีเครือข่ายจังหวัดสุรินทร์เห็นว่านวัตกรรมด้านองค์ความรู้ท่ีประสบ ความสาเรจ็ และภาคภูมิใจของเครอื ขา่ ยฯ ตามขอ้ คน้ พบขา้ งตน้ ถอื ว่าเปน็ เรือ่ งทด่ี แี ละเหมาะสมเปน็ อยา่ งยง่ิ ความสาเร็จทีเ่ กดิ ขึน้ จากผลการวิจัย พบว่า ความสาเร็จที่เกิดข้ึนจากการดาเนินงานตามโครงการขยายการจัดการเรียนรู้แบบ เครือข่ายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสุขภาวะเด็กและเยาวชนของเครือข่ายจังหวัดสุรินทร์ประการแรก คือ ได้ บทสรุปเป็นข้อค้นพบท่ีสาคัญเก่ียวกับรูปแบบการบริหารและภาวะผู้นาของเครือข่ายจังหวัดสุรินทร์คือ วงล้อการ ขับเคล่ือนเครือข่ายสุรินทร์เพื่อสุขภาวะของเด็กและเยาวชนอย่างยั่งยืนโมเดล ได้แก่“ศรัทธา ส่วนร่วม รวมพลัง สร้างสรรค์ ยงั่ ยนื ” ส่วนความสาเร็จด้านการจัดการการเรียนรู้ท่ีส่งผลต่อนักเรียนในด้านความรู้ มีข้อค้นพบที่สาคัญ คือ กิจกรรมต่างๆ ทด่ี าเนินการมาแลว้ ของเครือขา่ ยจังหวัดสุรินทร์ ส่งผลตอ่ ความเปลี่ยนแปลงในทางท่ีดีขึ้นในด้านความรู้ ของนักเรยี น โดยพจิ ารณาจากคะแนน o-net ของนักเรียนเครือข่ายจังหวัดสุรินทร์ ในปี 2561 พบว่า โรงเรียนส่วน ใหญ่ (จานวน 28 โรงเรียน จาก 31 โรงเรยี น หรือ คดิ เป็นรอ้ ยละ 90.32 ของโรงเรียนสมาชิกเครือข่าย) มีคะแนน o- net เฉล่ียสูงกวา่ ปี 2560 และค่าเฉล่ียระดับเครือข่ายของทุกเครือข่ายมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าปี 2560 ผลการวิจัยนี้ แสดงให้เหน็ ว่ากจิ กรรมทั้ง 5 กิจกรรมตามโครงการขยายการจัดการเรียนรู้แบบเครือข่ายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อสุขภาวะเด็กและเยาวชนของเครือข่ายจังหวัดสุรินทร์ เป็นส่วนหนึ่งท่ีมีความสาคัญร่วมกับการจัดการเรียนรู้ ตามปกตขิ องโรงเรยี นท้งั 31 แหง่ โดยกิจกรรมดา้ นที่ 5 ด้านการศึกษาที่เชื่อมโยงกับสุขภาวะ ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นการฝึก ทักษะทางภาษาไทยและทักษะทางคณิตศาสตร์ และท้ัง 2 วิชานี้เป็นวิชาที่ใช้สอบ o-net ส่วนกิจกรรมด้านที่ 1-4 ได้แก่ ด้านความตระหนักและการลดอัตราการสูบบุหร่ี ด้านความตระหนักและการรับประทานอาหารถูกหลัก โภชนาการและการลดภาวะโรคอ้วน ด้านความตระหนักและลดป๎ญหาสุขภาวะทางเพศ และด้านคุณธรรมจริยธรรม ถือไดว้ ่าเปน็ กิจกรรมที่สนับสนุนการเรยี นรู้ด้านวิชาการ กล่าวคือ เป็นเรื่องพ้ืนฐานที่สาคัญต่อคุณภาพและทักษะชีวิต ของนกั เรียน เป็นการสร้างเสรมิ สขุ ภาวะดา้ นรา่ งกายและด้านจิตใจ ทาให้นักเรียนมีความพร้อมท่ีจะเรียนรู้องค์ความรู้ ตา่ งๆ อยา่ งมคี วามสุขและนาไปสู่การเปลีย่ นแปลงท่ีเกิดขึน้ ของนกั เรียนใน 31 โรงเรยี น 6 เครือข่ายจงั หวดั สรุ ินทร์ ด้านทักษะกระบวนการ (Process skills) พบว่า เป็นทักษะที่เกิดจาการปฏิบัติของนักเรียนผ่าน กจิ กรรมย่อยของกจิ กรรมท้ัง 5 ด้าน โดยเฉพาะด้านที่ 1-4 เช่น การคิดวิเคราะห์และการทางานเป็นทีมของนักเรียน ทุกกิจกรรมท่ีเน้นให้นักเรียนร่วมมือกันทางาน การแสดงบทบาทในการเป็นผู้นาในฐานนะนักเรียนแกนนา และใน ฐานะผู้ตามในกิจกรรมต่างๆ ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่ากิจกรรมด้านท่ี 1-4 ได้แก่ ด้านความตระหนักและการลด อัตราการสูบบุหรี่ ด้านความตระหนักและการรับประทานอาหารถูกหลักโภชนาการและการลดภาวะโรคอ้วน ด้าน ความตระหนักและลดป๎ญหาสุขภาวะทางเพศ และด้านคุณธรรมจริยธรรม เป็นกิจกรรมท่ีพัฒนานักเรียนผ่านการ หนา้ 262

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ทางานท่เี ป็นกระบวนการ มีขั้นตอนการทางานที่เน้นให้คิดวิเคราะห์ ลงมือปฏิบัติ และการทางานเป็นทีมซ่ึงเป็นด้าน ทักษะกระบวนการ (พิมพ์พันธุ์ เตชะคุปต์, 2561) ท่ีมีความจาเป็นท่ีนักเรียนควรได้รับการพัฒนาตั้งแต่เด็กๆ ส่วน ด้านเจตคติ (Attitude) และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์(Attribute) พบว่า ความตะหนัก ใฝุรู้ มุ่งม่ัน และจิตอาสาของ นกั เรียนที่เกดิ จาการรว่ มกิจกรรมตามกระบวนการที่กาหนดไว้ผ่านกิจกรรมย่อย เช่น การเข้าค่ายคุณธรรมจริยธรรม การรว่ มเดินรณรงค์ใหเ้ ห็นโทษของส่ิงเสพตดิ เปน็ ต้น ผลการวิจัยน้ีแสดงให้เห็นว่ากิจกรรมต่างๆที่นักเรียนเข้าร่วม ใน บทบาทที่เป็นนักเรียนแกนนาและนักเรียนทั่วไป ได้สร้างเจตคติ และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์เพ่ือให้ฝ๎งลึกอยู่ในตัว นักเรียนจนเปน็ วิถชี ีวิต (way of life) อนั เป็นพืน้ ฐานชีวติ ทจี่ ะทาให้มภี ูมิคุ้มกนั และใช้ชวี ิตอยู่ในสังคมอย่างมคี วามสุข ด้านการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักเรียนผลการวิจัย พบว่า เครือข่ายจังหวัดสุรินทร์โดยภาพรวมมี ระดับการปฏิบัติการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักเรียน ร้อยละ 92.93โดยด้านที่มีร้อยละเฉล่ียสูงสุด คือ ด้านท่ี 1 ความตระหนกั และลดอตั ราการสบู บหุ รี่ รองลงมา คือ ด้านท่ี 4 คุณธรรมจริยธรรม และด้านท่ี 3 ความตระหนักและ ลดป๎ญหาสขุ ภาวะทางเพศ ตามลาดับ ส่วนด้านท่ีมีร้อยละเฉลี่ยต่าสุด คือ ด้านท่ี 5 การศึกษาท่ีเช่ือมโยงกับสุขภาวะ ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าน่าจะมีป๎จจัยหลายประการที่ส่ งผลต่อค่าเฉลี่ยปฏิบัติการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของ นักเรียนดังกล่าว ได้แก่ เครือข่ายมกี ารวางแผนและเขียนโครงการทผ่ี บู้ รหิ ารเปน็ ผู้นาในการดาเนินการดว้ ยตนเองทาให้ กิจกรรมยอ่ ยในแตล่ ะด้านบรรลุเปูาหมายและตัวชวี้ ดั รวมถงึ รปู แบบของโครงการฯ ทอ่ี อกแบบให้มีการกระจายภาระ งานให้โรงเรียนท่ีเป็นสมาชิกเครือข่ายดาเนินการหรือเป็นเจ้าภาพโดยกิจกรรมที่ทาไม่ซ้ากันและ การมีส่วนร่วมของ ผู้ปกครองและชุมชน ท่ีกาหนดไว้เป็นเงื่อนไขสาคัญของโครงการฯ รวมถึง กิจกรรมทั้ง 5 กิจกรรม เป็นส่วนหน่ึงหรือ เรื่องเดียวกนั กับภารกจิ ของโรงเรียนและสง่ ผลกระทบทางบวกต่อผู้เรยี นโดยตรง ด้านการยกระดับคุณภาพคนไทย ความสาเรจ็ ทเ่ี กิดขึน้ ในโครงการขยายการจัดการเรียนรู้แบบเครือข่ายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพ่ือสุข ภาวะเด็กและเยาวชนของจังหวัดสุรินทร์ พบว่า การบริหารจัดการเครือข่ายเพื่อการขับเคล่ือนกิจกรรมต่างๆ สู่ เปูาหมายได้นั้นเกิดขึ้นจาก รูปแบบหรอโมเดลการบริหารและภาวะผู้นาเครือข่ายจังหวัดสุรินทร์ คือ วงล้อการ ขบั เคลอื่ นเครือขา่ ยสุรนิ ทร์เพ่อื สุขภาวะของเด็กและเยาวชนอยา่ งยัง่ ยนื โมเดล มอี งคป์ ระกอบหลัก 5 องค์ประกอบ คือ “ศรทั ธา สว่ นรว่ ม รวมพลัง สร้างสรรค์ ย่ังยืน” รวมถึงการยกระดับคุณภาพคนไทยด้านความรู้ ทักษะ เจตคติ และ การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของนักเรียนผ่านกระบวนการการจัดการการเรียนรู้ของครูและกิจกรรมท่ีเกิดข้ึนจาก กิจกรรมย่อย 5 ด้าน เห็นได้จากผลต่อผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน และ การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของนักเรียน เครือข่าย สุรินทร์ซ่ึงมีจานวนรวมกันจาก 6 เครือข่าย 31 โรงเรียน และมีนักเรียนจานวน 4,391 คนนอกจากน้ีความสาเร็จท่ี เกิดข้นึ จากโครงการฯในด้านอ่ืนๆ เช่น ด้านความรู้สึกที่เกิดจากผู้บริหาร ครู นักเรียน บุคลากรทางการศึกษา พ่อแม่ ผปู้ กครอง ชุมชน วดั องค์กรต่างๆ มสี ่วนรว่ มในการดาเนนิ กจิ กรรมของโครงการ การมีความคิดท่ีดีและมีมิตรไมตรีต่อ กนั จนเกิดศรทั ธาท้งั ในตวั ผนู้ าและการร่วมกิจกรรมเพ่อื สขุ ภาวะของเดก็ และเยาวชนอย่างแทจ้ ริงผลการวิจัยน้ีแสดงให้ เห็นว่าความรู้สกึ ทแ่ี สดงออกผา่ นการปฏิบตั ิแบบมสี ่วนร่วมการมองเห็นคุณค่าและความสาคัญของการดาเนินงานตาม กิจกรรม 5 ด้าน ที่ส่งผลต่อสุขภาวะของเด็กและเยาวชนในท้องถิ่นหรือการมองเห็นประโยชน์ในการสร้างเด็กและ เยาวชนให้มคี วามรู้ ทักษะกระบวนการ คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ และมีความรักท้องถิ่นของตน ด้วยความเชื่อในการ ทางานแบบมีส่วนร่วม มีจิตวิญญาณท่ีเกิดจากการปลูกฝ๎งคุณลักษณะที่ดีและสร้างค่านิยมท่ีถูกต้องให้แก่เด็กและ เยาวชน ความสุขที่ได้เห็นผลผลิตและผลลัพธ์ท่ีเกิดจากโครงการฯ ท่ีผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกฝุาย และ หน้า263

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ท้ายสุดได้เกิดสันติสุขและความมั่นคงท่ีเกิดจากรูปแบบการบริหาร ภาวะผู้นา ความรู้สึก คุณค่า จิตวิญญาณ และ ความสขุ ทเี่ กดิ จากกระบวนการดาเนนิ งานตามโครงการฯ ส่งผลตอ่ คณุ ภาพชวี ติ เกดิ สันติสขุ มีความมน่ั คงและย่งั ยืน ขอ้ เสนอแนะ จากผลการวิจยั เรอ่ื ง การสงั เคราะหก์ ารจัดการเรยี นรแู้ บบเครือขา่ ยโดยการมสี ว่ นร่วมของชมุ ชนเพอ่ื สุขภาวะ เดก็ และเยาวชนเครือข่ายจงั หวัดสรุ นิ ทรผ์ ู้วิจัยมีข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้และข้อเสนอแนะในการทาวิจัย ครง้ั ต่อไปดังนี้ 1.ขอ้ เสนอแนะการนาผลการวิจยั ไปใช้ 1.1 ด้านรูปแบบการบรหิ ารจดั การและภาวะผู้นาของผู้บรหิ ารเครือข่าย ควรส่งเสริมให้โครงการการจัดการเรียนรู้แบบเครือข่ายโดยกา รมีส่วนร่วมของชุมชนได้นารูปแบบการบริหารจัดการ และภาวะผ้นู าของผู้บรหิ ารเครือข่ายทเี่ น้นให้ผู้บริหารเครือข่ายพยายามสร้างศรัทธาให้เกิดข้ึนให้ได้ด้วยการปฏิบัติให้ เปน็ ท่ียอมรับนับถอื มคี วามรคู้ วามสามารถ และไว้วางใจกนั ในการทางานด้วยความโปร่งใส เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม เป็นผมู้ ีจติ อาสา และดา้ นการมสี ่วนร่วม 1.2 ดา้ นการมสี ่วนร่วมขององค์กรภายนอก ควรแสวงหาเครือข่ายอ่ืนๆที่ไม่ได้อยู่ในเขตพ้ืนท่ี เช่น สมาคม มูลนิธิต่างๆที่มีวัตถุประสงค์ด้านการพัฒนาเด็กและ เยาวชน ตามกรอบกิจกรรม 5 ด้าน เชน่ สมาคมวางแผนครอบครวั แห่งประเทศไทย เป็นตน้ 1.3 ดา้ นการใหค้ าปรึกษาแนะนาการขบั เคลอ่ื นการดาเนนิ งาน (Coaching) ควรมเี ปูาหมายให้เครอื ขา่ ยสามารถดาเนินงานให้บรรลุตามตัวชี้วัดท่ีระบุไว้ในโครงการ พยายามให้เครือข่ายทบทวน ตรวจสอบการทางานตามคูม่ อื และโครงการ เช่น การส่งงวดงาน การเงิน การรายงานความก้าวหน้า การถดบทเรียน ฯลฯ ส่วนการนิเทศและตดิ ตามงานได้ใชช้ อ่ งทางผา่ นไลน์ 1.4 ด้านนวตั กรรมทเี่ กิดจากการดาเนินงานของเครือขา่ ย ควรพิจารณาและพยายามสรา้ งสรรค์นวัตกรรมดังกล่าวให้เกิดขึ้นเพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้เพ่ือสุขภาวะ ของนกั เรียนต่อไป 1.5 ดา้ นความสาเรจ็ ทีเ่ กิดข้ึนและส่งผลต่อการยกระดบั คุณภาพคนไทย ควรให้ความช่วยเหลอื แนะนาโรงเรียน 3 แหง่ ทีม่ ีคะแนน o-net ตา่ ให้มพี ัฒนาการทดี่ ีข้ึนในปตี ่อไปด้วย 2.ขอ้ เสนอแนะในการทาวิจยั ครัง้ ตอ่ ไป 2.1 ควรศึกษาวิจัยโดยการสังเคราะห์การจัดการเรียนรู้แบบเครือข่ายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพ่ือสุข ภาวะเด็กและเยาวชนเครอื ขา่ ยจังหวดั สุรนิ ทรแ์ ยกตามกิจกรรม 5 ด้าน ได้แก่ ด้านความตระหนักและการลดอัตราการ สูบบุหร่ี ด้านความตระหนักและการรับประทานอาหารถูกหลักโภชนาการและการลดภาวะโรคอ้วน ด้านความ ตระหนกั และลดปญ๎ หาสุขภาวะทางเพศ ด้านคณุ ธรรมจริยธรรม และด้านคณุ ภาพการศึกษา หนา้ 264

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 2.2 ควรศกึ ษาวิจัยโดยการศึกษาเชิงเปรยี บเทยี บการจัดการเรียนร้แู บบเครอื ขา่ ยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เพอ่ื สขุ ภาวะเดก็ และเยาวชนระหว่างเครือข่ายต่างๆ ท่ัวประเทศ ตามโครงการขยายการจัดการเรียนรู้แบบเครือข่าย การมีส่วนรว่ มของชุมชนเพอ่ื สขุ ภาวะเดก็ และเยาวชน เอกสารอา้ งองิ ณรงค์ สุทาวัน.(2562). โครงการเครือข่ายโรงเรียนบ้านขามร่วมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพสุขภาวะเด็กและ เยาวชนในพิณสุดา สิริธรังศรี (บรรณาธิการ).การจัดการการเรียนรู้แบบเครือข่ายการมีส่วนร่วม. สงขลา. บรษิ ัทนาสนิ โฆษณา จากัด. ปฏิคม สมทิพย์.(2562). โครงการเครือข่ายไตรคามวิทยา ร่วมส่งเสริมพัฒนาคุณภาพสุขภาวะเด็กและเยาวชน ในพิณสุดา สิริธรังศรี (บรรณาธิการ).การจัดการการเรียนรู้แบบเครือข่ายการมีส่วนร่วม.สงขลา. บริษัทนาสนิ โฆษณา จากดั . ประสิทธิ์ สขุ ชพี .(2562). “เครอื ขา่ ยสง่ เสรมิ สขุ ภาพ พัฒนาการศกึ ษานาพาคุณธรรมเครอื ขา่ ยโรงเรยี นบา้ น โรงเรียนบา้ นท่าศลิ า” ในพณิ สุดา สิริธรังศรี (บรรณาธิการ).การจดั การการเรยี นรแู้ บบเครือข่าย การมสี ว่ นรว่ ม.สงขลา. บริษัทนาสนิ โฆษณา จากดั . พชิ ญา สุวรรณโน และคณะ. (2560).ปญ๎ หาการอ่านของนกั เรียนประถมศกึ ษา โรงเรยี นบ้านหน้า ควนลัง(ราษฎร์สามัคคี)จังหวัดสงขลา .นาเสนอในการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 8 เมอื่ วนั ท่ี 22 มถิ ุนายน 2560 ณ มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่. พิณสุดาสริ ธิ รังศรี. (2559). คมู่ อื การดาเนนิ โครงการแบบเครือขา่ ยโดยการมีส่วนรว่ มของชมุ ชน เพือ่ สุขภาวะเดก็ และเยาวชน. กรงุ เทพฯ: วิทยาลยั ครศุ าสตรม์ หาวิทยาลยั ธรุ กิจบัณฑติ ย์. พิณสุดาสิริธรงั ศรี. (2559). รายงานความก้าวหน้างวดท3่ี โครงการแบบเครอื ขา่ ยโดยการมีส่วน รว่ มของชุมชนเพื่อสุขภาวะเดก็ และเยาวชน. กรงุ เทพฯ: วิทยาลยั ครุศาสตรม์ หาวิทยาลัยธรุ กิจ บณั ฑิตย.์ พิมพนั ธ์ เตชุคปุ ต์ และ พเยาว์ ยินดีสขุ .(2561).การเรยี นรู้เชิงรกุ แบบรวมพลงั กับ PLC เพ่อื การพฒั นา. (พมิ พ์คร้ังที่ 2). กรงุ เทพฯ: โรงพิมพแ์ หง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. ศิริรตั น์ ศิริวรรณ. (2557). การโคช้ เพ่อื การพัฒนาผลงานท่ยี อดเย่ียม. กรุงเทพมหานคร: เอช อารเ์ ซ็นเตอร์. สมศรี หลงชนิ .(2562).โครงการเครือข่ายบ้านดอนแรด“โครงการใจตระหนัก พรอ้ มฉลาดคิด พิชิตสขุ ภาวะ” ในพิณสดุ า สริ ิธรงั ศรี (บรรณาธกิ าร).การจดั การการเรียนรู้แบบเครอื ข่ายการมีส่วนร่วม.สงขลา. บรษิ ทั นาสินโฆษณา จากัด. สาธติ ปรัชญาอรยิ ะกุล พณิ สุดา สิริธรงั ศรี และสนิ ธะวา คามดษิ ฐ์ (2560) รูปแบบการบริหารจดั การ การศึกษาของโรงเรียนแบบมสี ่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเชงิ บูรณาการ.สุทธปิ รทิ ศั น์, 31(100), 274-288. สรรเสริญ สวุ รรณ์. (2562).ส่ิงดีดที ี่พบจากการนเิ ทศ. ในพณิ สดุ า สริ ธิ รังศรี. (2559). (บรรณาธิการ) การจดั การการเรยี นร้แู บบเครอื ข่ายการมสี ่วนร่วม.สงขลา. บริษัทนาสนิ โฆษณา จากัด. หน้า265

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) สินธะวา คามดิษฐ.์ (2560). ผู้นาในสังคมไทย.ในไพทูรย์ สนิ ลารตั นแ์ ละนกั รบ หมี้แสน (บรรณาธกิ าร) ความเปน็ ผู้นาทางการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ. โรงพมิ พ์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . สินธะวา คามดิษฐ์ และวิทยา วรพันธ.์ุ (2562). การจดั การเรยี นรแู้ บบเครอื ขา่ ยโดยการมสี ว่ นรว่ มของ ชุมชนเพอ่ื สขุ ภาวะเดก็ และเยาวชนเครอื ขา่ ยจังหวัดสุรินทร์. ในพณิ สุดา สิรธิ รงั ศรี (บรรณาธกิ าร). การจดั การการเรยี นรูแ้ บบเครอื ขา่ ยการมสี ่วนร่วม.สงขลา. บริษัทนาสนิ โฆษณา จากัด. สุเทพ สุขชพี .(2562). โครงการสง่ เสรมิ สุขภาพ พัฒนาการศกึ ษา นาพาคณุ ธรรม เครอื ข่ายโรงเรียนบา้ น หนองไม้ถ.่ี ในพณิ สดุ า สริ ิธรงั ศรี (บรรณาธิการ).การจัดการการเรยี นร้แู บบเครือขา่ ยการมสี ่วนรว่ ม. สงขลา. บริษทั นาสินโฆษณา จากัด. สุพศิ อาจเชอ้ื .(2562). โครงการจดั การเรียนรู้เพอ่ื สขุ ภาวะที่ดเี ครอื ข่ายโรงเรียนบ้านผอื . ในพณิ สุดา สริ ธิ รังศรี (บรรณาธกิ าร).การจัดการการเรยี นรู้แบบเครือข่ายการมสี ่วนรว่ ม.สงขลา. บริษทั นาสนิ โฆษณา จากัด. หน้า266

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ขอ้ ควรคานึงในการแปลซบั ไตเติลละครซรี ีสจ์ นี เปน็ ภาษาไทย THE CONSIDERATION OF TRANSLATING THE SUBTITLE OF CHINESE DRAMA SERIES TO THAI สุนยี ์ ลลี าพรพินิจ มหาวิทยาลัยธรุ กิจบัณฑิตย์ E-mail [email protected] บทคดั ยอ่ บทความน้ีเป็นการศึกษาข้อควรคานึงในการแปลซับไตเติลละครซีรีส์จีนเป็นภาษาไทย การแปลซับไตเติล ละครซีรีสจ์ นี น้นั ตอ้ งคานงึ ถงึ ความถูกต้องและความเหมาะสมของบทแปล ประการแรก มีความถกู ต้องในด้านรูปภาษา ท่ีเขยี น การเรียงลาดบั โครงสรา้ งของวลีหรือประโยค และการแปลความหมายของคา วลี หรอื สานวน ประการที่สอง มี ความเหมาะสมกับประเภทหรือแนวเร่ือง รวมท้ังเลือกใช้ระดับภาษาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับความสัมพันธ์ ระหว่างตวั ละครกับเหตกุ ารณใ์ นเรือ่ ง คาสาคัญ:การแปลภาษาจนี -ไทย, การแปลซับไตเติล, ละครซรี ีสจ์ ีน ABSTRACT This article is to study the consideration the subtitle of Chinese drama series. Translating the subtitle of Chinese drama series to Thai must be considered the accuracy and suitability of the script. First, the accuracy, the subtitle translation needs to use the correct form of written language, to translate phrases or sentences according to the structural order in Thai and the interpretation of words, phrases or idioms. Second, the suitability, the subtitle translation should be appropriate for the type or style of drama series. In addition, to choose the appropriate language level, and in accordance with the relationship between the characters and the events in the story. KEYWORDS: Translation Chinese to Thai, Subtitle Translation, Chinese drama series หนา้ 267

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) บทนา ละครซีรีส์จีนได้รับความนิยมในประเทศไทยเป็นเวลานานมากกว่า 50 ปี โดยเฉพาะละครท่ีเผยแพร่ทาง โทรทศั น์ เชน่ มงั กรหยก เปาบุน้ จ้ิน ตานานรกั ดอกเหมย รักใสใสหัวใจสี่ดวง เป็นต้น เน้ือหาของละครก็มีหลากหลาย แนว เชน่ กาลงั ภายใน องิ ประวัตศิ าสตร์ ครอบครวั ความรกั วยั รุ่น ฯลฯ ผู้ชมคนไทยจะเข้าใจเนื้อเร่ืองและเกิดอารมณ์ ความรสู้ กึ ร่วมกับตวั ละครหรอื เหตกุ ารณ์ในเร่ืองได้กต็ ้องอาศยั การแปลจากภาษาจีนเป็นภาษาไทย เพราะ “การแปล ถือเป็นเครื่องมือสาคัญที่ทาให้คนสองชาติหรือมากกว่านั้นสามารถเข้าถึงและเข้าใจวัฒนธรรมของกันและกันได้ ” (nuchun, 2553) นอกจากการชมละครซีรีส์จีนทางโทรทัศน์แล้ว ผู้ชมคนไทยในป๎จจุบันยังนิยมเลือกชมละครทางเว็บไซต์อีก ด้วย เช่น www.series-onlines.com, www.kseries.co, nightsiam-series.blogspot.in ฯลฯ จึงทาให้เกิดนักแปล อสิ ระในกลุ่มคนไทยทีร่ ้ภู าษาจีนหรือคนจนี ท่รี ู้ภาษาไทยแปลซบั ไตเตลิ ละครชุดหรือซีรีส์มากขึ้น ดังตัวอย่างละครซีรีส์ จนี ท่ผี ูเ้ ขียนใช้เปน็ กรณศี กึ ษา 4 เร่อื ง ได้แก่ ตานานรักมาเฟียเซ่ียงไฮ้ (锦绣缘华丽冒险) ตอนที่ 5, ,ลิขิต รัก ลิขิตใจ (北京青年) ตอนที่ 9, วุ่นรักหมู่บ้านคนโสด (只因单身在一起) ตอนที่ 21 และมู่หลาน จอมทพั หญงิ ก้แู ผน่ ดนิ (花木兰传奇) ตอนท่ี 21 ดังน้นั ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาลกั ษณะการแปลซับไตเติลละครซีรีส์จีนเรื่องดังกล่าว เพ่ือให้เห็นข้อควรคานึงหรือ หลกั การแปลบางประการ อันจะเปน็ ประโยชน์ต่อนกั แปลภาษาตอ่ ไป เน้อื หาสาระ ลักษณะละครซรี สี จ์ ีน ละครซีรีส์จีน 1 เร่ือง มีประมาณ 20-60 ตอน โดยแต่ละตอนนั้นมีความยาวประมาณ 45 นาที มีจานวน ประโยคประมาณ 600 ประโยคซง่ึ มที ั้งประโยคสั้นและยาว ความยาวของประโยคที่ปรากฏในแต่ละฉากประมาณ 8- 12 คา (nuchun, 2553) คณุ สมบัตินักแปลซับไตเติลละครซรี สี จ์ ีน นักแปลซบั ไตเติลละครซรี ีส์จีนควรมคี ุณสมบตั ิดงั น(้ี ฐปนี สาเนยี งล้า, 2559) 1. ชอบดูละครซีรีสจ์ ีน 2. มีใจรกั การแปล ตัง้ ใจ ใสใ่ จและมวี นิ ยั ในการแปล รวมทั้งมีจรรยาบรรณของนักแปล 3. มที ักษะหรือความสามารถด้านการใช้ภาษาท้งั ภาษาจีนต้นฉบบั และภาษาไทยที่แปล 4. มคี วามรู้ทางประวตั ศิ าสตร์ สังคม และวฒั นธรรมทั้งจนี และไทย หรือความรู้เฉพาะทางท่ีเกี่ยวข้องกับงาน ทจ่ี ะแปล 5. หมัน่ คน้ ควา้ หาความรู้และประสบการณใ์ หมเ่ พมิ่ เติมอย่เู สมอ ขน้ั ตอนการแปลซบั ไตเตลิ ละครซีรีสจ์ ีน การแปลซับไตเติลละครซีรีสจ์ ีนนั้นนกั แปลสามารถปฏบิ ัตติ ามขั้นตอนดงั ตอ่ ไปนี้ หน้า268

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 1. ดลู ะครซีรสี ห์ ลาย ๆ รอบ เพอ่ื ใหเ้ ข้าใจเรื่อง ขณะเดียวกันก็พยายามทาความเข้าใจอารมณ์และความรู้สึก นึกคิดของตวั ละครในความคดิ ของผู้แปลจะมภี าพของเหตุการณ์และตวั ละครทีป่ รากฏอย่างชัดเจน ซ่ึงจะช่วยให้ผู้แปล เลอื กใชค้ าพูดทีเ่ หมาะกับตัวละครและเรอื่ งไดง้ า่ ยขึ้น 2. คดิ ถอ้ ยคาหรือคาพูดทจี่ ะแปลคร่าว ๆ โดยแบง่ เปน็ บทพูด (บทพากย)์ หรอื บทบรรยาย 3. แปลบทพดู หรือบทบรรยายตามตัวบท โดยคงรักษาความหมายเดมิ หรือใจความสาคัญของต้นฉบับไว้ ห้าม ตอ่ เตมิ หรือใสค่ วามคิดเห็นสว่ นตัวของผแู้ ปล 4. หม่นั ตรวจสอบบทแปล หลังจากทเี่ ร่อื งราวของตัวละครในแต่ละฉากหรือแต่ละตอนจบลง เพ่ือตรวจสอบ ความถูกต้องเหมาะสมและความต่อเน่ืองของภาษากับตัวบท ลักษณะหรือความสัมพันธ์ระหว่างตัวละคร รวมทั้ง อารมณเ์ รอื่ ง 5. อา่ นทบทวนบทแปลทั้งหมดเมื่อแปลจบเร่ือง เพื่อตรวจสอบภาพรวมอกี คร้งั ขอ้ ควรคานงึ ในการแปลซบั ไตเติลละครซีรีส์จีน การแปลซับไตเติลละครซีรีส์จีนมีสิ่งที่ต้องคานึงถึง 2 ประการ คือ ความถูกต้องและความเหมาะสมของบท แปล 1. ความถูกตอ้ งของบทแปล 1.1 รปู ภาษาท่เี ขียนต้องถกู ตอ้ งตามหลกั การเขียนหรอื การสะกดคาในภาษาไทย ท้ังนีผ้ ู้แปลสามารถ ตรวจสอบความถูกต้องจากพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถานได้ ในกรณีท่ีเป็นชื่อเฉพาะ เช่น ชื่อคน ช่ือสถานท่ีก็อาศัย การทับศพั ทห์ รอื ถ่ายถอดเสียงใหใ้ กล้เคียงกบั ภาษาจนี ตน้ ฉบบั ให้มากท่ีสุด 木兰: 柱子,你想错了。 ฮวั มู่หลาน:จู้จือ่ , เธอคดิ ผดิ แลว้ 我们当初织和亲图, เดมิ ทีพวกเราทอผา้ ป๎กไหม 是想告诉柔然人。 เพราะต้องการบอกให้คนโหรวหร่านรวู้ า่ 我们魏国人不想打仗。 พวกเราแควน้ เว่ยไมต่ อ้ งการรบ 我们想要和平, พวกเราต้องการสันติ 但是现在和亲图不能带来和平。 แตต่ อนนผ้ี า้ ป๎กไหมไม่สามารถทา ใหเ้ กดิ สันติได้ 这仗得打。 สงครามเกดิ ขึ้น 那我们打还是为了和平。 ง้นั เราก็จะรบเพอื่ สันติ 柱子: 打仗是为了和平。 จู้จอ่ื : รบเพอื่ สันติ 木兰: 咱们的好意。 ฮัวมหู่ ลาน:เจตนาดีของพวกเรา 既然柔然人不接受。 ในเม่อื คนโหรวหร่านไม่ยอมรบั 这仗非得打。 การรบก็คงหลกี เลีย่ งไม่ได้ 咱们也不怕。 แต่พวกเรากไ็ ม่กลัว หนา้ 269

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 柔然人撕毁盟约。 คนโหรวหรา่ นฉีกทาลายสัญญา 咱们就坚决应战, พวกเรากต็ ้องยนื หยดั ท่ีจะรบ 就像奶奶说的。 เหมอื นทท่ี า่ นย่าเคยพดู ไว้ 柔然人想打。好。 คนโหรวหรา่ นตอ้ งการรบ ดี 咱们就奉陪到底,可我们打仗。 พวกเราก็จะลองรบกันซักต้ัง แต่ พวกเรารบ 不是为了要抢他们的土地, ไม่ใช่เพ่ือแย่งเอาทด่ี ินของพวกเขา 不是为了争他们的牛羊, ไมใ่ ช่เพ่อื ชิงววั แพะของพวกเขา 咱们打仗为的是和平。 พวกเราจะรบเพื่อสนั ติ (มหู่ ลาน จอมทัพหญิงกู้แผ่นดนิ ตอนท่ี 21花木兰传奇第21集) ตวั อย่างข้างตน้ ปรากฏช่อื เฉพาะในภาษาจีนหลายคา ได้แก่ ช่ือคน “柱子” ชื่อแคว้น “魏国” และช่ือ เรยี กคนในแคว้น “柔然人” เม่ือแปลเปน็ ภาษาไทยก็ใช้การทับศัพท์และถ่ายถอดเสียงดังน้ี “จู้จ่ือ”, “แคว้นเว่ย” และ “คนโหรวหรา่ น” ตามลาดบั 1.2 การเรียงลาดับโครงสร้างของวลีหรือประโยค ผู้แปลต้องปรับเปลี่ยนโครงสร้างภาษาจีนให้เป็น โครงสรา้ งภาษาไทยทถ่ี ูกต้องตามหลกั ภาษาหรือไวยากรณภ์ าษาไทย กลา่ วคือ หนว่ ยคาหลักในภาษาจนี สว่ นใหญจ่ ะอยู่ หลังหน่วยคาขยาย ในขณะท่หี น่วยคาหลกั ในภาษาไทยจะอยู่หน้าหนว่ ยคาขยาย 明珠: 怎么会一夜之间都死光了呢。 หมงิ จู: คนตายหมดในคืนเดียว เป็นไปได้ยังไงนะ 这年头也不是什么人手上都会有枪的。 ห ล า ย ปี ม า น้ี ไมใ่ ชใ่ ครจะมปี ืนก็ได้ 凶手到底是谁。 ฆาตกรคอื ใครกนั แน่นะ (ตานานรักมาเฟียเซี่ยงไฮ้ ตอนท่ี 5锦绣缘华丽冒险第5集) ตัวอย่างข้างต้นโครงสร้างของประโยคที่ว่า “怎么会一夜之间都死光了呢” (ยังไง/เป็นไป ได้/ในคนื เดยี ว/(คน) ตายหมด/นะ) ในภาษาจีนคาแสดงคาถาม “怎么” จะอยู่หน้าหน่วยภาคแสดงหรือกริยาหลัก แต่เมื่อแปลเป็นภาษาไทยต้องเรียงลาดับโครงสร้างใหม่เป็น “คนตายหมดในคืนเดียวเป็นไปได้ยังไงนะ” เพราะใน ภาษาไทยคาแสดงคาถาม “怎么” ซ่ึงแปลวา่ “ยงั ไง” จะอยูห่ ลงั หน่วยภาคแสดงหรือกรยิ าหลกั หนา้ 270

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 叶坦: 我爸妈虽然在我很小的时候,就离婚了。เย่ถ่าน: แม้ว่าพ่อแม่ ฉันจะหย่ากนั เม่ือฉนั ยังเลก็ 他们彼此不再相爱, ทา่ นทั้งสองไมร่ ักกนั แล้ว 但是他们对于我的爱。 แ ต่ พ ว ก ท่ า น ยั ง รั ก ฉั น เสมอ (ลิขิตรกั ลขิ ิตใจ ตอนท่ี 9北京青年第9集) ตัวอย่างข้างต้นโครงสร้างของประโยคที่ว่า “我爸妈虽然在我很小的时候,就离婚 了” (ฉนั /พ่อแม/่ แม้ว่า/ยงั /ฉัน/มาก/เล็ก/เม่ือ/ก็/หย่ากัน/แล้ว) ในภาษาจีนคาเชื่อม “虽然” สามารถวางไว้หน้า หรือหลังประธานของประโยคก็ได้ ส่วนคาเชื่อม “的时候” จะวางไว้ท้ายสุดของประโยค แต่เม่ือแปลเป็น ภาษาไทยต้องเรียงลาดับโครงสร้างใหม่เป็น “แม้ว่าพ่อแม่ฉันจะหย่ากันเมื่อฉันยังเล็ก” เพราะในภาษาไทยคาเชื่อม “虽然” ซึ่งแปลว่า “แม้ว่า” และคาเชื่อม “的时候” ซึ่งแปลว่า “เมื่อ” จะวางไว้หน้าประโยคหรือเชื่อม ตาแหน่งตรงกลางประโยคเท่านั้น 何东妈: 他们也不肯告诉我。 แม่เหอตง: พวกเขาก็ไม่ ยอมบอกปาู ว่ า ต อ น นี้ เ ห อ ต ง อ ยู่ ที่ 何东现在到底在哪儿? (ลขิ ติ รัก ลขิ ติ ใจ ตอนท่ี 9北京青年第9集) ไหนกันแน่ ตัวอย่างขา้ งต้นโครงสร้างของประโยคท่ีว่า “何东现在到底在哪儿” (เหอตง/ตอนน้ี/กันแน่/อยู่ ไหน) ในภาษาจีนคาบอกเวลา “现在” สามารถวางไวห้ น้าหรือหลังประธานของประโยคกไ็ ด้ สว่ นคาวิเศษณ์ “到 底” จะวางไว้หน้าหน่วยภาคแสดงหรือกริยาหลัก แต่เม่ือแปลเป็นภาษาไทยต้องเรียงลาดับโครงสร้างใหม่เป็น “ตอนน้เี หอตงอยู่ท่ไี หนกนั แน่” เพราะในภาษาไทยคาเชือ่ ม “现在” ซง่ึ แปลวา่ “ตอนนี”้ จะวางไวห้ นา้ ประโยคหรือ หน้าประธานของประโยค ส่วนคาวเิ ศษณ์ “到底” ซ่งึ แปลว่า “กนั แน่” จะวางไว้หลงั หนว่ ยภาคแสดงหรือกรยิ าหลกั 可心爸: 今天啊! พ่อเข่อซนิ :วนั นเี้ หรอ 吃你姐最喜欢吃的, มีของท่ีพ่ีสาวลูกชอบกินมาก ทส่ี ุด เรามาลองเปลย่ี นรสชาติดู 咱们换换口味。 หน้า271

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) (ว่นุ รกั หมูบ่ า้ นคนโสด ตอนที่ 21只因单身在一起第21集) ตวั อย่างข้างต้นโครงสรา้ งของวลีทว่ี ่า “你姐最喜欢吃的” (พสี่ าวลูก/มากที่สุด/ชอบ/กิน/ท่ี/(ของ)) ในภาษาจนี ส่วนขยายจะอย่หู นา้ “的” แล้วตามด้วยหน่วยคาหลัก แต่เมือ่ แปลเปน็ ภาษาไทยต้องเรยี งลาดบั โครงสร้าง ใหมเ่ ป็น “ของทพี่ ่สี าวลูกชอบกนิ มากทส่ี ดุ ” เพราะในภาษาไทยหน่วยคาหลักจะอยู่หน้า “的” ซ่ึงแปลว่า “ที่” แล้ว ค่อยตามด้วยสว่ นขยายหรอื อนุประโยค 可心爸: 可心啊! พอ่ เข่อซิน: เข่อซิน 柜子里有咖喱粉, มีผงกะหร่ีอยู่ในตนู้ ะ่ (วนุ่ รกั หมู่บา้ นคนโสด ตอนท่ี 21只因单身在一起第21集) ตัวอย่างข้างต้นโครงสร้างของประโยคที่ว่า “柜子里有咖喱粉” (ตู้/ใน/มี/กะหรี่/ผง) ในภาษาจีน หนว่ ยคาบอกสถานท่จี ะอยู่หนา้ หนว่ ยภาคแสดงหรอื กรยิ าหลัก แต่เม่ือแปลเป็นภาษาไทยต้องเรียงลาดับโครงสร้างใหม่ เป็น “มผี งกะหร่อี ยู่ในต”ู้ เพราะในภาษาไทยหน่วยคาบอกสถานที่จะอย่หู ลงั หนว่ ยภาคแสดงหรือกรยิ าหลัก 木兰: 我如果是儿子, ฮัวมู่หลาน:ถา้ ขา้ เปน็ ลกู ชาย 就可以替你去上战场去打仗。 ก็จะไปรบ (ในสนาม รบ) แทนท่านได้ 你在家里平平安安。 ท่านจะได้อยู่บ้านอยา่ งปลอดภยั 染丝做活养身体。 ทางานย้อมไหมและดูแลรักษา ตัวเอง 我上战场奋勇杀敌。 ข้าก็จะไปฆ่าศัตรูในสนามรบ อย่างห้าวหาญ 这不两全其美吗? อยา่ งนี้ไม่ดีกว่าหรอื (มู่หลาน จอมทพั หญงิ กู้แผ่นดิน ตอนท่ี 21花木兰传奇第21集) ตัวอย่างข้างต้นโครงสร้างของประโยคที่ว่า “我如果是儿子,就可以替你去上战场 去打仗” (ข้า/ถ้า/เป็น/ ลูกชาย/กจ็ ะ/แทนท่าน/ไปสนามรบ/ไปรบ) ในภาษาจีนคาเช่ือม “如果” สามารถวาง ไวห้ นา้ หรอื หลงั ประธานของประโยคก็ได้ สว่ นกรยิ าวลี “替你” และหน่วยคาบอกสถานที่ “上战场” จะวางไว้ หนา้ หนว่ ยภาคแสดงหรอื กรยิ าหลกั ตามลาดับ แตเ่ ม่ือแปลเป็นภาษาไทยต้องเรียงลาดับโครงสร้างใหม่เป็น “ถ้าข้าเป็น ลูกชายก็จะไปรบ (ในสนามรบ) แทนท่านได้” เพราะในภาษาไทยคาเช่ือม “如果” ซึ่งแปลว่า “ถ้า” จะวางไว้หน้า ประโยคหรือเชื่อมตาแหนง่ ตรงกลางประโยคเท่านนั้ สว่ นหนว่ ยคาบอกสถานที่ “ในสนามรบ” และกริยาวลี “替你” หน้า272

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ซึ่งแปลว่า “แทนทา่ น” จะวางไว้หลงั หน่วยภาคแสดงหรอื กรยิ าหลักตามลาดับ อน่ึง ในการแปลประโยคน้ีละหน่วยคา บอกสถานที่ไปเพ่อื ทาให้ข้อความสน้ั กระชับมากขนึ้ ส่วนโครงสร้างของประโยคท่ีว่า “我上战场奋勇杀敌” (ข้า/ในสนามรบ/ห้าวหาญ/ฆ่าศัตรู) ใน ภาษาจีนหน่วยคาบอกสถานที่ “上战场” จะอยู่หน้าหน่วยภาคแสดงหรือกริยาหลัก ส่วนคาวิเศษณ์ “奋勇” จะวางไวห้ น้าหนว่ ยภาคแสดงหรือกริยาหลัก แต่เม่ือแปลเป็นภาษาไทยต้องเรียงลาดับโครงสร้างใหม่เป็น “ข้าก็จะไป ฆ่าศัตรูในสนามรบอย่างห้าวหาญ” เพราะ ในภาษาไทยหน่วยคาบอกสถานที่ “上战场” ซ่ึงแปลว่า “ในสนาม รบ” จะอยู่หลงั หน่วยภาคแสดงหรือกริยาหลัก สว่ นคาวิเศษณ์ “奋勇” ซึ่งแปลว่า “อย่างห้าวหาญ” จะวางไว้หลัง หน่วยภาคแสดงหรอื กริยาหลกั 花弧: 你别看现在爹没精神。 ฮัวหู: ถึงตอนนี้พ่อจะดูไม่มี แรง 真要上了战场。 แต่พออยใู่ นสนามรบจริงๆ 爹比谁都勇敢都有劲。 พ่อก็ทั้งกล้าหาญและมี กาลงั กว่าใคร (มหู่ ลาน จอมทัพหญิงกแู้ ผน่ ดิน ตอนท่ี 21花木兰传奇第21集) ตัวอย่างข้างต้นโครงสร้างของประโยคที่ว่า “爹比谁都勇敢都有劲” (พ่อ/กว่าใคร/ท้ัง/กล้า หาญ/และ/มีกาลัง) ในภาษาจีนคาวิเศษณ์แสดงการเปรียบเทียบ “比谁” จะวางไว้หน้าหน่วยภาคแสดงหรือ กรยิ าหลัก แตเ่ ม่อื แปลเปน็ ภาษาไทยตอ้ งเรียงลาดับโครงสรา้ งใหมเ่ ป็น “พ่อก็ทั้งกล้าหาญและมีกาลังกว่าใคร” เพราะ ในภาษาไทยคาวเิ ศษณ์ “比谁” ซ่ึงแปลวา่ “กว่าใคร” จะวางไวห้ ลังหน่วยภาคแสดงหรือกริยาหลกั 1.3 การแปลความหมายของคา วลี หรือสานวน โดยเฉพาะคาหรือวลีท่ีมีความหมายใกล้เคียงกัน หรือคลา้ ยคลงึ กนั คา วลหี รือสานวนท่มี ีความหมายเชิงเปรียบเทยี บ การแปลบางครัง้ กต็ อ้ งอาศัยการตีความหมายจาก บริบท ผู้แปลไม่สามารถแปลถอดความหมายของคา วลี หรือสานวนนั้นได้โดยตรง และอาจจาเป็นต้องเลือกใช้คา วลี หรือสานวนที่ใกล้เคียงหรือเป็นท่ีเข้าใจในบริบทของสังคมไทยด้วย แต่ยังคงความหมายเดิมหรือใจความสาคัญของ ต้นฉบบั ไว้ 林曼妮: 你就一直带着那条项链。 หลินม่นั หนี: คุณก็ใส่สร้อย เส้นนี้ไวต้ ลอด 我知道它对你来说很重要。 ฉันรวู้ ่ามันสาคัญสาหรับ คณุ มาก 也是你父母在这个世界上存在过的痕迹。 ท้ั ง ยั ง ถื อ เ ป็ น ตวั แทนของพ่อแมค่ ุณด้วย หนา้ 273

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) (วุ่นรักหมู่บ้านคนโสด ตอนที่ 21只因单身在一起第21集) ตวั อย่างข้างตน้ วลีในภาษาจีนที่ว่า “你父母在这个世界上存在过的痕迹 ” คาหลักในวลีนี้คือ “ 痕迹” ซ่ึงแปลเป็นภาษาไทยได้หลายคา เช่น รอย ร่องรอย สัญลักษณ์ เคร่ืองหมาย ตัวแทน เป็นต้น คาว่า “ตวั แทน” เป็นคาท่ีเหมาะสมกับบริบทนี้มากที่สุด ดังนั้นเม่ือแปลเป็นภาษาไทยจะได้ว่า “(สร้อยเส้นน้ีเป็น) ตัวแทน ของพ่อแม่คุณ” ซึ่งอาศัยการสรุปความเพ่ือให้ความกระชับและได้ใจความคงเดิม เนื่องจากความยาวของข้อความที่ ปรากฏในแต่ฉากนน้ั ไม่ควรเกนิ 12 คา 林曼妮: 但是我真的没想到。 หลินมน่ั หนี:แตฉ่ ันคดิ ไมถ่ ึงจรงิ ๆ 你居然会这样误会我, คณุ จะเข้าใจฉนั ผดิ 以为我是为了抢可心的功劳。 ว่ า ฉั น ท า เ พื่ อ ต้ อ ง ก า ร แยง่ ความดีความชอบ จากเข่อซนิ 才这样弄虚作假。 กลายเปน็ เรอื่ งหลอกลวงไป (ว่นุ รักหมบู่ ้านคนโสด ตอนท่ี 21只因单身在一起第21集) ตัวอย่างข้างต้นคาและสานวนในภาษาจีนท่ีว่า “功劳 ” และ “弄虚作假 ” คาว่า “功劳” แปล เป็นภาษาไทยได้หลายคา เช่น คุณงามความดี ความดีความชอบ เป็นต้น คาว่า “ความดีความชอบ” เป็นคาท่ี เหมาะสมกับบรบิ ทน้ี เพราะเป็นการทาเพื่อคนท่ีตนรักเท่าน้ัน เป็นเร่ืองส่วนตัวไม่ใช่เรื่องส่วนรวม ส่วนสานวน “弄 虚作假 ” แปลเปน็ ภาษาไทยได้หลายคาเช่นกัน เช่นหลอกลวง ตบตา คาว่า “หลอกลวง” เป็นคาที่เหมาะสมกับ สถานการณใ์ นเรื่องมากที่สดุ เนอ่ื งจากตัวละครได้ทาสร้อยปลอมเส้นใหม่ข้ึนมาเพ่ือมอบให้ชายท่ีตนรักแทนสร้อยเส้น เดมิ ท่หี ายไป แตก่ ลับถูกเข้าใจผิดว่าหลอกลวง 锦绣: 那怎么行呢。 จนิ่ ซ่วิ : อยา่ งนั้นจะใช้ไดท้ ีไ่ หนละ่ 小兰,你放心, เส่ยี วหลาน เธอสบายใจได้ 你锦绣姐姐呢身强力壮, พี่ จิ่ น ซ่ิ ว ข อ ง เ ธ อ ค น นี้ แข็งแรง 没那么娇贵的。 ไม่ไดบ้ อบบางขนาดนั้น (ตานานรกั มาเฟียเซีย่ งไฮ้ ตอนที่ 5锦绣缘华丽冒险第5集) หน้า274

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ตัวอย่างข้างต้นสานวนและคาในภาษาจีนที่ว่า “身强力壮” และ “娇贵” สานวน “身强力壮 ”แปลเปน็ ภาษาไทยไดว้ ่า “(รา่ งกาย) แข็งแรง” ส่วนคาว่า “娇贵” แปลเป็นภาษาไทยไดห้ ลายคา เชน่ เอาอกเอาใจ ไม่มีแรง บอบบาง คาว่า “บอบบาง” เป็นคาที่เหมาะสมกับบรบิ ทนี้ เนอ่ื งจากตัวละครเพิง่ เข้ามาทางานเป็นแม่บ้านใน โรงแรม เพือ่ นรว่ มงานรูส้ ึกกังวลใจ ตวั ละครจึงตอ้ งยนื ยันว่าเธอแขง็ แรงและทางานหนกั ได้ 锦绣: 谁要做你的人啊! จ่นิ ซิ่ว: ใครอยากเปน็ คนของคณุ 看看你那些兄弟, ดูพ่ีนอ้ งของคณุ สิ 一个一个凶神恶熬的。 แตล่ ะคนโหดร้ายทารุณ 更何况我跟你在一起,就没好事。 ยิ่ ง ถ้ า อ ยู่ ใ ก ล้ คุณแล้วกย็ ่ิงไมด่ ีใหญ่ 我不想陷入危险。 ฉนั ไมอ่ ยากตกอยู่ในอนั ตราย 我还是离你, ฉันควรจะอยูห่ ่างๆ คุณไว้ 远一点比较安全。 ยิง่ ไกลเทา่ ไรก็ยง่ิ ปลอดภยั เท่านนั้ (ตานานรักมาเฟียเซย่ี งไฮ้ ตอนท่ี 5锦绣缘华丽冒险第5集) ตวั อย่างขา้ งตน้ สานวนและวลใี นภาษาจีนท่ีว่า “凶神恶熬” และ “陷入危险” สานวน “凶神 恶熬” แปลเป็นภาษาไทยได้หลายคา เช่น โหดเห้ียม โหดร้าย ดุร้าย ทารุณ เป็นต้น คาว่า “โหดร้ายทารุณ” เป็น การใชค้ าท่มี คี วามหมายใกลเ้ คียงกนั มาซอ้ นกนั เพ่ือเนน้ ยา้ ใหเ้ หน็ ลกั ษณะความรา้ ยกาจของตวั ละครมากข้ึน ส่วนวลี “ 陷入危险” แปลเป็นภาษาไทยได้ว่า “ตกอยู่ในอันตราย” เป็นคาที่เหมาะสมกับสถานการณ์ในเร่ืองมากท่ีสุด เนอื่ งจากตัวละครมาอาศัยอยกู่ ับเจา้ พ่อหรือ มาเฟียในเซ่ยี งไฮ้ ทาใหเ้ ธอรสู้ ึกไม่ปลอดภัย 何南: 那我们追求理想,追求幸福。 เหอหนาน:ถา้ เราทาตามความฝัน ตามหาความสขุ 我们家人摆什么位置啊? แล้วครอบครวั เราละ่ จะ ทายังไง 何东: 这还真是我的困惑。 เหอตง: เรอ่ื งนี้พกี่ ็ยงั คดิ ไม่ตก 何西: 还好,我暂时没有这方面的困惑。 เหอซี: ยั ง ดี ท่ี ผ ม ไ ม่ เคยเจอเรื่องลาบากใจแบบนม้ี าก่อน 何北: 老二,你别吹。 เหอเปยุ : พีส่ อง, อย่าเพิ่งพดู ไป หน้า275

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 相信我,你早晚会有。 เชื่อผมเถอะ ไม่ช้าก็เร็ว พก่ี ็จะได้รู้ 何西: 闭上你那乌鸦嘴! เหอซ:ี หบุ ปากหมาๆ ของแกไปเลย (ลขิ ติ รกั ลขิ ิตใจ ตอนท่ี 9北京青年第9集) ตัวอย่างข้างต้นปรากฏคาและวลีในภาษาจีนที่ว่า “理想 ” และ “闭上你那乌鸦嘴 ” คาว่า “ 理想 ” แปลเป็นภาษาไทยไดห้ ลายคา เชน่ อดุ มคติ อดุ มการณ์ ความฝ๎น ความหวงั เปน็ ต้น คาว่า “ความฝัน” เป็น คาท่ีเหมาะสมกับบริบทน้ีและถือเป็นแนวคิดหลักของละครเรื่องนี้ท่ีตัวละ ครแต่ละตัวเลือกท่ีจะทาตามความฝ๎นของ ตนเอง สว่ นวลี “闭上你那乌鸦嘴 ” ปรากฏการใชค้ าเปรยี บเทียบวา่ ปากไม่ดีเหมือนอกี า ซ่ึงในภาษาไทยจะ เปรียบกบั หมา ดังนัน้ วลีนี้จึงมีการเปล่ียนคาเปรียบเทียบเพ่ือให้คนไทยเข้าใจได้ชัดเจนเป็น “หุบปากหมาๆ ของแก” โดยความหมายท่ีสอื่ ออกมาก็ไม่ไดแ้ ตกตา่ งกันแตอ่ ยา่ งใด 何东妈: 你是不知道啊? แมเ่ หอตง: หนูไมร่ หู้ รือ 这几个坏小子。 เจ้าพวกตวั แสบ 我就是磨破了嘴皮。 ปูาพูดจนปากจะฉกี แล้ว 他们也不肯告诉我。 พวกเขากไ็ ม่ยอมบอกปาู 何东现在到底在哪儿? ว่ า ต อ น น้ี เ ห อ ต ง อ ยู่ ท่ี ไหนกันแน่ 我算是看透了。 ปาู มองออก 这几个坏小子。 เจา้ พวกนี้ 甭管长多大都一个样, ไ ม่ ว่ า จ ะ โ ต ข น า ด ไ ห น แล้วกเ็ หมอื นกนั 都是臭味相投,互相包庇。 ใครจะทาอะไรก็เห็นดี เหน็ งาม ชว่ ยกัน ปกปอ้ ง 何东不在家这些日子。 เหอตงไม่อยู่บ้านหลาย วันนี้ 我吃不下饭,睡不着觉。 ปูากินไม่ได้ นอนไม่หลับ 我夜夜盼,日日想啊。 คิดถึงและเฝ้าคอยอยู่ ทกุ วนั ทกุ คนื (ลิขิตรกั ลขิ ิตใจ ตอนที่ 9北京青年第9集) หน้า276

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ตัวอย่างขา้ งต้นปรากฏคา วลีและสานวนในภาษาจีน ได้แก่ “这几个坏小子 ” “磨破了嘴皮 ” “臭味相投,互相包庇 ” และ “夜夜盼,日日想 ” คาวา่ “这几个坏小子 ” แปล เปน็ ภาษาไทยไดห้ ลายคา เช่น พวกเด็กไม่ดี พวกเด็กเกเร เจา้ พวกตัวแสบ เป็นต้น คาว่า “เจ้าพวกตัวแสบ” เป็นคาท่ี เหมาะสมกับพฤติกรรมของตัวละคร 4 พน่ี อ้ งตระกูลเหอและคนที่พดู ในฐานะเป็นแม่และปาู ท่เี ลี้ยงและเห็นตัวละครท้ัง สีน่ ้ีตง้ั แต่เลก็ จนโตเปน็ หนุ่ม วลี “磨破了嘴皮 ” แปลเปน็ ภาษาไทยได้วา่ “พดู จนปากจะฉกี ” ความหมายของ วลนี ีท้ ้ังภาษาจีนและภาษาไทยใกล้เคยี งกนั แมว้ า่ จะใช้คาต่างกันก็ตาม สานวน “臭味相投,互相包庇 ” แปลเป็นภาษาไทยได้ว่า “ใครจะทาอะไรก็เห็นดีเห็นงาม ช่วยกันปกป้อง” สานวนนี้เป็นการแปลความหมายโดยการ อธบิ ายขยายความจากสานวนจนี ส่วนวลี “夜夜盼,日日想 ”แปลเป็นไทยได้ว่า “คิดถึงและเฝ้าคอยอยู่ทุกวัน ทกุ คนื ” โดยใช้สานวนภาษาท่มี ใี ช้ในภาษาไทยแลว้ รวมความให้กระชับแต่ได้ใจความคงเดมิ 花弧: 别胡思乱想了。 ฮัวห:ู อย่าคดิ ฟ้งุ ซา่ น 现在国家有难。 ตอนนี้บ้านเมืองกาลังมีภยั 爹作为魏国子民。 พ่อเป็นคนของแควน้ เวย่ 就算年龄大了。 ถงึ แมว้ ่าพอ่ จะอายมุ ากแล้ว 身子骨比以前弱了, ร่า งก า ยอ าจ จ ะอ่ อนแ อก ว่ า เมอื่ กอ่ น 但是也不能临阵退缩。 แต่พ่อก็ไม่สามารถหด หวั อยู่ในกระดองได้ (มหู่ ลาน จอมทัพหญงิ กแู้ ผน่ ดนิ ตอนท่ี 21花木兰传奇第21集) ตัวอย่างขา้ งต้นปรากฏสานวนและคาในภาษาจนี ได้แก่ “胡思乱想 ” “难 ” “子民 ” และ “临 阵退缩 ” สานวน “胡思乱想 ” แปลเป็นภาษาไทยได้หลายคา เช่น คิดเหลวไหล คิดบ้า ๆ บอ ๆ คิด ฟงุู ซ่าน เปน็ ต้น คาวา่ “คดิ ฟุ้งซา่ น” เป็นคาที่เหมาะสมกับบริบทนี้ เพราะตวั ละครท่เี ปน็ ลูกสาวห่วงและกังวลใจเร่ืองท่ี พ่อต้องไปเป็นทหารออกรบ ท้ัง ๆ ท่ีพ่อของเธออายุมากแล้วและสุขภาพไม่ค่อยดี ส่วนคาว่า “难” ก็แปลเป็น ภาษาไทยไดห้ ลายคา เช่น ยาก ลาบาก เดือดร้อน ภัย เป็นต้น คาว่า “ภัย” เป็นคาที่มีความหมายครอบคลุมและ เหมาะสมกับสถานการณ์ในเรื่องท่ีกาลังเกิดศึกสงครามระหว่างแคว้นเว่ยกับโหรวหร่าน คาว่า “子民 ” แปลเป็น ภาษาไทยได้หลายคา เชน่ พลเมือง ราษฎร ประชากร คน เปน็ ตน้ คาว่า “คน” เปน็ คากลาง ๆ ที่เหมาะกบั ภาษาในยุค สมยั อดตี นัน้ หากเลือกใช้คาอน่ื ๆ จะกลายเปน็ ภาษาสมัยใหมท่ ี่ไม่เข้ากับแนวเรื่ององิ ประวัติศาสตร์ ส่วนสานวน “临 阵退缩 ” แปลเปน็ ภาษาไทยได้วา่ “หดหัวอยูใ่ นกระดอง” ความหมายของสานวนนี้ทั้งในภาษาจีนและภาษาไทย ใชเ้ ปรยี บเทียบคนท่ขี ี้ขลาด ไมก่ ล้าออกมาเผชิญหน้ากบั ความเปน็ จริงเหมือนกนั หน้า277

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 2. ความเหมาะสมของบทแปล 2.1 บทแปลต้องมีความเหมาะสมกับประเภทหรือแนวเร่ือง เช่น ละครกาลังภายใน ละครอิง ประวัติศาสตร์ ละครรัก เป็นต้น การแปลซับไตเติลจึงต้องคานึงถึงลักษณะภาษาที่เปล่ียนแปลงตามยุคสมัยด้วย โดยเฉพาะละครกาลงั ภายในหรือละครอิงประวัติศาสตร์ ดังน้นั ในการแปลภาษาจีนเป็นภาษาไทยจึงต้องปรับภาษาให้ เหมาะสมกับประเภทหรือแนวเรือ่ งและยุคสมัย เพอื่ ให้ผูช้ มเขา้ ถงึ เหตุการณห์ รือเร่ืองราวที่เกิดขึ้นในสมัยต่างๆ ได้มาก ขึน้ 木兰: 爹爹,爹你1怎么了? ฮวั มหู่ ลาน:ทา่ นพ่อ, ทา่ นเปน็ อะไรหรอื เปลา่ 让我1看看。 ใหข้ า้ ดูหนอ่ ย 爹,你1这手怎么又严重了。 ท่านพ่อ, มือท่านทาไมเป็นหนัก ขนาดนี้ 你说你1手这样。 มือของท่านเปน็ แบบน้ี 你1连缰绳都拉不稳。 ทา่ นยงั ดึงสายบงั เหียนให้มั่นไมไ่ หวเลย 你1怎么上战场? แล้วท่านจะไปรบในสนามรบได้ ยงั ไง 花弧: 你2说不让我2上战场。 ฮวั หู: เจา้ ไมใ่ หพ้ ่อไปรบ 你2是想让爹当逃兵啊。 เ จ้ า คิ ด จ ะ ใ ห้ พ่ อ ห นี ท ห า ร ห รื อ ยังไง 木兰: 都怪我1不好。 ฮวั มู่หลาน:ต้องโทษข้าทไี่ ม่ดี 花弧: 这哪怪得了你2呢。 ฮัวห:ู ทาไมตอ้ งโทษเจา้ ดว้ ยละ่ (มหู่ ลาน จอมทพั หญงิ ก้แู ผ่นดิน ตอนที่ 21花木兰传奇第21集) ตัวอย่างข้างต้นเป็นบทสนทนาในละครชุดเร่ือง “มู่หลาน จอมทัพหญิงกู้แผ่นดิน” ซึ่งเป็นละครอิง ประวัตศิ าสตร์สมัยที่มีศึกสงครามระหว่างแคว้นเปุยเว่ยกับโหรวหร่าน ดังน้ันในการแปลภาษาจีนโดยเฉพาะคาสรรพ นามจงึ เลือกใช้คาท่ีสอดคล้องกับยุคสมัยด้วย ดังจะเห็นได้ว่าในภาษาจีนคาว่า “爹, “我1”, 你1”, “你2”,และ “我 2” เมอื่ แปลเปน็ ภาษาไทยเลือกใช้ คาวา่ “ท่านพ่อ”, “ข้า”, “ท่าน”, “เจ้า” และ “พ่อ” ตามลาดับ จึงเหมาะสมกับ แนวเรื่องและความสัมพันธข์ องตัวละครระหวา่ งพ่อกับลูก ลกู ใชค้ าสรรพนามวา่ “ทา่ น” นาหน้าคาเรียกญาติว่า “พ่อ” และใช้คาสรรพนามว่า “ท่าน” เรยี กพ่อ เพอ่ื แสดงความเคารพยกยอ่ ง ใชค้ าสรรพนามแทนตัวเองว่า “ข้า” ส่วนพ่อก็ ใชค้ าสรรพนามเรยี กลูกว่า “เจ้า” ซ่ึงเป็นคาท่ีผู้ใหญ่มักใช้เรียกเด็กสมัยก่อนและใช้คาเรียกญาติแทนตัวเองว่า “พ่อ” จากการเลือกใช้คาดงั กลา่ วไม่ว่าจะเป็น “ท่านพ่อ, ข้า หรือเจ้า” ก็ทาให้สอดคล้องกับแนวเร่ืองอิงประวัติศาสตร์และ เหมาะสมกบั ยคุ สมยั เปน็ อยา่ งดี หนา้ 278

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 2.2 บทแปลตอ้ งเลือกใชร้ ะดับภาษาท่มี คี วามเหมาะสม ในภาษาจีนและภาษาไทยมีระดับภาษาทั้งที่ เป็นทางการและไมเ่ ป็นทางการคล้ายคลึงกนั แตเ่ ลอื กใชถ้ ้อยคาแตกตา่ งกนั โดยป๎จจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้ระดับภาษา ไดแ้ ก่ เพศ วัย สถานภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างคู่สนทนาและโอกาสหรือสถานการณ์ในเร่ือง ดังนั้นในการแปลจึงต้อง คานึงถึงป๎จจัยดังกล่าวด้วย เพ่ือให้ภาษาซับไตเติลท่ีแปลออกมาน้ันมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับตัวละครและ เหตุการณใ์ นเร่ืองมากที่สดุ 可心: 爸,我帮你。 เขอ่ ซิน: พอ่ หนูช่วยค่ะ 可心爸: 好的。 พ่อเข่อซิน: ดเี ลย 可心妹: 老爸,我们吃什么? น้องสาวเข่อซิน: พอ่ คะ มอี ะไรกนิ ม่งั 可心爸: 今天啊! พอ่ เขอ่ ซนิ : วันนเี้ หรอ 吃你姐最喜欢吃的, มีของท่ีพ่ีสาวลกู ชอบกินมากท่สี ุด 咱们换换口味。 เรามาลองเปลีย่ นรสชาติดู (วนุ่ รกั หมบู่ ้านคนโสด ตอนที่ 21只因单身在一起第21集) ตวั อย่างข้างต้นจะแสดงถึงความสมั พนั ธ์ระหว่างคู่สนทนาว่าเป็นพ่อกับลูก คาว่า “爸” หรือ “老爸” ใน ภาษาจีนแปลวา่ “พ่อ” ในภาษาไทยเหมือนกัน แต่คาว่า “我” และ “你姐” ในภาษาจีน เม่ือแปลเป็นภาษาไทย ตอ้ งแปลวา่ “หนู” และ “พีส่ าวลกู ” จึงเหมาะสมกับความสมั พันธ์ของตัวละครท่เี ป็นพอ่ ลกู กนั พ่อจะเรียกลกู ว่า “ลกู ” และลกู สาวกใ็ ชค้ าสรรพนามแทนตวั เองว่า “หนู” ท้ังยังมีคาลงท้ายท่ีผู้หญิงใช้เพ่ือแสดงความสุภาพในภาษาไทยด้วย ไดแ้ ก่ คาวา่ “คะ่ ” และ “คะ” ซ่งึ ในภาษาจนี จะไม่ปรากฏลักษณะทางไวยากรณ์แบบนี้ 可心爸: 咖喱饭。 พอ่ เขอ่ ซิน: ข้าวแกงกะหรี่ 可心妹: 咖喱,我1最喜欢吃咖喱了。 นอ้ งสาวเขอ่ ซนิ : แ ก ง ก ะ ห รี่ เหรอ ของชอบของหนเู ลย 可心爸: 可心啊! พอ่ เขอ่ ซิน: เขอ่ ซิน 柜子里有咖喱粉, มผี งกะหรีอ่ ยใู่ นตู้นะ่ 你帮我2拿出来。 ลูกชว่ ยไปหยบิ ใหพ้ ่อที 可心: 好。 เขอ่ ซิน: ค่ะ (วนุ่ รกั หมบู่ า้ นคนโสด ตอนที่ 21只因单身在一起第21集) ตัวอย่างข้างต้นบทสนทนาในภาษาจีนจะปรากฏคาว่า “我1”, “你” และ “我2” แต่เม่ือแปลเป็น ภาษาไทยตอ้ งแปลวา่ “หน1ู ”, “ลูก” และ “พอ่ 2” ตามลาดับ จงึ เหมาะสมกับความสัมพันธ์ของตัวละครที่เป็นพ่อลูก หนา้ 279

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) กนั ลูกสาวใชค้ าสรรพนามแทนตวั เองวา่ “หน”ู พ่อจะเรียกลูกวา่ “ลกู ” และแทนตัวเองว่า “พ่อ” ท้ังยังมีการใช้คาลง ทา้ ยของผหู้ ญงิ ว่า “ค่ะ” แทนการตอบรบั ด้วย ซงึ่ ในภาษาจนี จะใช้คาวา่ “好” โดยไม่สามารถแยกเพศได้ 小兰: 锦绣姐姐。 เสี่ยวหลาน: พจ่ี ่นิ ซิว่ 锦绣: 小兰早。 จ่ินซิ่ว: อรณุ สวสั ดิ์จ้า เสย่ี วหลาน 小兰: 昨天英少说今天你会跟我们一起干活。เส่ียวหลาน: เมื่อวานน้ีที่อิง เส้าพดู ว่าพจี่ ะมาทางานกับพวกเรา 我还以为他是开玩笑的呢。 หนูยังคิดว่าเขาล้อเล่น เลย 没想到你真的来了。 คิดไม่ถึงวา่ พี่จะมาจริงๆ (ตานานรักมาเฟยี เซยี่ งไฮ้ ตอนที่ 5锦绣缘华丽冒险第5集) ตวั อยา่ งข้างต้นบทสนทนาในภาษาจีนจะปรากฏคาว่า “姐姐”, “你”, “我” และ “他” แต่เม่ือแปล เปน็ ภาษาไทยต้องแปลวา่ “พี่”, “พ่ี” , “หน”ู และ “เขา” ตามลาดับ จึงเหมาะสมกบั ความสัมพันธ์ของตัวละครที่เป็น เพอ่ื นกนั แตม่ ีอายตุ ่างกนั คนทอี่ ายุน้อยกวา่ สามารถเรียกคนทอ่ี ายมุ ากกว่าว่า “พ่ี” ได้ ผู้หญงิ ท่ชี อื่ เสี่ยวหลาน ใช้คาว่า “พ่ี” เรยี กคสู่ นทนาทอ่ี ายุมากกวา่ และใช้คาสรรพนามแทนตัวเองว่า “หนู” ซ่ึงแสดงถึงความนับถือแบบพี่น้องและให้ ความเคารพ ท้ังยงั มีการใชค้ าสรรพนามแทนคนท่ีกล่าวถงึ ทเ่ี ปน็ ผู้ชายว่า “เขา” 英少: 我1跟你说你是左震的救命恩人。องิ เส้า: ผมบอกคุณแล้วว่าคุณคือผู้มี พระคุณของจ่วั เจ้ิน 现在全上海滩的人都知道了。 ตอนน้คี นเซยี่ งไฮก้ ร็ ู้กนั ท่ัวแล้ว 你怎么可以做这种事情呢。 คณุ จะมาทางานแบบนีไ้ ด้ยงั ไง 锦绣: 英少,你对我2太好了。 จ่ินซวิ่ :องิ เส้า, คณุ ดีกบั ฉันเหลอื เกนิ 其实我2就是想靠自己的能力。 จริง ๆ แล้วฉันเพียงอยากจะพ่ึง ตวั เองใหไ้ ด้ใชค้ วามสามารถ 在上海做点事,赚点钱,踏踏实实的。 ทางานหาเงินในเซ่ียงไฮ้ ก็เท่าน้นั (ตานานรักมาเฟยี เซ่ียงไฮ้ ตอนที่ 5锦绣缘华丽冒险第5集) ตัวอย่างข้างต้นบทสนทนาในภาษาจีนจะปรากฏคาว่า “我1”, “你” และ “我2” แต่เมื่อแปลเป็น ภาษาไทยต้องแปลว่า “ผม” “คณุ ” และ “ฉนั ” ตามลาดับ จงึ เหมาะสมกับความสมั พันธ์ของตัวละครท่เี ปน็ เพ่ือนท่ีเพิ่ง รู้จักกันไม่นาน ผู้ชายใช้คาสรรพนามแทนตัวเองว่า “ผม” และเรียกเพื่อนผู้หญิงว่า “คุณ” ซ่ึงถือเป็นคาสุภาพ ส่วน ผู้หญิงกแ็ ทนตัวเองวา่ “ฉัน” หน้า280

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 权筝: 阿姨,你1怎么来这儿了? ฉวนเจิง: คุณป้า มาที่นีไ่ ดย้ ังไงคะ 何东妈: 权筝,我1总算找到你2了。 แมเ่ หอตง: ฉวนเจิง, ในท่ีสุดป้าก็หา หนเู จอ 权筝: 您找我2有事啊。 ฉวนเจงิ : คุณป้ามาหาหนมู เี ร่ืองอะไรคะ 何东妈: 有事,有事。 แม่เหอตง: ม,ี มี 权筝说: 那去我办公室坐吧。 ฉวนเจิง: งน้ั ไปนงั่ ทห่ี ้องทางานหนเู ถอะ (ลขิ ิตรัก ลขิ ติ ใจ ตอนที่ 9北京青年第9集) ตัวอยา่ งขา้ งตน้ บทสนทนาในภาษาจนี จะปรากฏคาว่า “阿姨, 你1”, “我1”, “你2”, “您” และ “我2” แต่ เม่ือแปลเป็นภาษาไทยต้องแปลว่า “คุณป้า”, “ป้า”, “หนู” , “คุณป้า” และ “หนู” ตามลาดับ จึงเหมาะสมกับ ความสมั พนั ธ์ของตัวละครท่ีรู้จักกันในฐานะแม่ของเพื่อนกับเพื่อนของลูก เพื่อนของลูกสามารถเรียกแม่ของเพื่อนว่า “คุณปูา” ได้ โดยใช้คาว่า “คุณ” นาหน้าคาเรียกญาติว่า “ปูา” เพื่อแสดงความนับถือและความเคารพ ส่วนแม่ของ เพือ่ นกส็ ามารถใช้คาวา่ “ปูา” แทนตัวเองไดเ้ ช่นกนั เพ่อื แสดงความสนิทสนมและใช้คาสรรพนามเรียกเพ่ือนของลูกว่า “หน”ู เพ่ือนของลูกกใ็ ช้คาสรรพนามแทนตวั เองว่า “หนู” ซึ่งเป็นคาสรรพนามที่เหมาะสมเมื่อเดก็ พูดกับผูใ้ หญ่ 柱子: 花爹,你1什么时候走。 จู้จ่ือ: ลงุ ฮัว, ลงุ ไปเมือ่ ไหร่ 花弧: 初六。你2呢? ฮวั ห:ู วันท่ี 6, แลว้ เจา้ ละ่ 柱子: 后天。 จ้จู ือ่ : มะรนื น้ี 花弧: 那你2和铁匠是同一批走。 ฮวั ห:ู ง้ันเจ้ากับช่างตีเหล็กก็ไปกอง เดยี วกัน 我比你们晚走几天。 ลุงไปหลงั พวกเจา้ หลายวัน (มู่หลาน จอมทพั หญิงกูแ้ ผน่ ดิน ตอนที่ 21花木兰传奇第21集) ตัวอย่างข้างต้นบทสนทนาในภาษาจีนจะปรากฏคาว่า “爹, 你1”, “你2”, “我” และ “你们” แต่ เม่อื แปลเปน็ ภาษาไทยตอ้ งแปลวา่ “ลงุ ”, “เจ้า”, “ลงุ ” และ “พวกเจ้า” ตามลาดับ จึงเหมาะสมกับความสัมพันธ์ของ ตวั ละครทร่ี ู้จกั กันในฐานะพ่อของเพื่อนกับเพ่อื นของลกู เพ่ือนของลกู สามารถเรยี กพ่อของเพื่อนว่า “ลุง” ได้เพื่อแสดง ความนบั ถอื เหมือนญาติ ส่วนพ่อของเพ่ือนใช้คาสรรพนามเรียกเพื่อนของลูกว่า “เจ้า” ซึ่งเป็น คาท่ีผู้ใหญ่มักใช้เรียก เดก็ สมัยก่อน ท้ังยังสอดคล้องกับแนวเร่ืองอิงประวัติศาสตร์ด้วย พ่อของเพื่อนก็ใช้คาเรียกญาติแทนตัวเองว่า “ลุง” เพื่อแสดงความสนิทสนม ตลอดจนใช้คาสรรพนามพหูพจนเ์ รยี กเพ่ือนของลูกท้งั สองคนว่า “พวกเจ้า” หนา้ 281

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) สรปุ จากการศึกษาข้างต้นจะเห็นได้ว่า การแปลซับไตเติลละครซีรีส์จีนต้องคานึงถึงความถูกต้องและความ เหมาะสมของบทแปล ประการแรก มีความถูกต้องในด้านรูปภาษาที่เขียน การเรียงลาดับโครงสร้างของวลีหรือ ประโยค และการแปลความหมายของคา วลี หรือสานวน ประการที่สอง มีความเหมาะสมกับประเภทหรือแนวเรื่อง รวมท้งั เลือกใช้ระดับภาษาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับความสัมพันธ์ระหว่างตัวละครกับเหตุการณ์ในเร่ือง เพ่ือให้ ผ้ชู มละครซรี สี ์เข้าใจเนอ้ื หา เรื่องราว และแนวคิดสาคัญของเรื่องได้อย่างชัดเจน ทั้งยังสามารถเกิดอารมณ์ความรู้สึก ร่วมกับตัวละครและเหตุการณ์ทีเ่ กิดขึ้นในเร่ืองได้อย่างต่อเน่ือง บทแปลที่ถูกต้องและเหมาะสมนั้นจะทาให้ผู้ชมได้รับ อรรถรสในการชมเหมอื นกบั การชมภาษาจนี ตน้ ฉบับอย่างแทจ้ รงิ ขอ้ เสนอแนะ สามารถศึกษาลักษณะการแปลซบั ไตเติลละครซรี สี ไ์ ทยเปน็ ภาษาจนี เปรียบเทียบกับการแปลซบั ไตเตลิ ละครซี รีสจ์ ีนเปน็ ภาษาไทย เพอื่ ให้เห็นความเหมอื นและ/หรือความต่างของหลักการและกลวิธีการแปลภาษาท้ังสองภาษาได้ ชัดเจนมากขนึ้ เอกสารอ้างองิ “ลขิ ิตรัก ลขิ ติ ใจ (北京青年) ตอนที่ 9.” (2559). [Online], สืบค้นเมอื่ ปี 2559. Available “ซรี ีสจ์ ีน Legend of Mulan มูห่ ลาน...จอมทพั หญิง from http://www.series-onlines.com. กู้แผ่นดิน พากย์ไทย Ep. 1-57.” [Online], สืบคน้ เมอื่ 12 มกราคม 2559. Available from “วนุ่ รักหมบู่ ้านคนโสด (只因单身在一起) http://www.kseries.co. ตอนที่ 21.” (2559). [Online], สืบค้นเม่อื ปี 2559. Available from http://nightsiam- ฐปนี สาเนยี งลา้ . (2559).“คุณสมบัติของนักแปล.” series.blogspot.in. [Online], สืบค้นเม่ือ 11 มกราคม 2559. Available from http://www.pasa24.com. ศศนิ ุช สวสั ดโิ กศล. (2560). “เทคนิคการแปล (Translation Technique).” [Online], สบื ค้นเมอ่ื 4 “ตานานรักมาเฟียเซีย่ งไฮ้ (锦绣缘华丽冒 มกราคม 2560. Available from 险) ตอนท่ี 5.” (2559).[Online], สบื ค้นเมอ่ื ปี2559. http://www.thailanguagecenter.com. Available from http://www.series- onlines.com. nuchun. (2553). “Subtitle-พื้นฐานการแปลซบั ไต เติล.” [Online], สืบค้นเม่อื 10 มกราคม 2559. “มู่หลาน จอมทพั หญงิ กู้แผ่นดนิ (花木兰传奇 Available from http://www.nuchun.com. “北 ) ตอนที่ 21.” (2559). [Online], สืบค้นเมอื่ ปี 2559. 京青年的剧情.” (2557). [Online], สืบคน้ Available from http://www.series- onlines.com. หนา้ 282

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) เมอื่ ปี 2559. Available from “只因单身在一起的剧情.” (2557). http://wapbaike.baidu.com. [Online], สืบค้นเมื่อปี 2559. Available from http://wapbaike.baidu.com. “锦绣缘华丽冒险的剧情.” (2557). [Online], สืบคน้ เมื่อปี 2559. Available from http://wapbaike.baidu.com. หน้า283

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) การดาเนนิ งานตามแผนพฒั นาการอาชวี ศกึ ษา (พ.ศ.2560-2579) ยุทธศาสตร์ ดา้ นการเพม่ิ ประสิทธภิ าพระบบ การบรหิ ารจัดการอาชวี ศกึ ษาของวทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษา สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออก The Operation of Vocational Education Development Plan (2017-2036) Strategy : Efficiency increasing of management system in vocational education of vocational college, Institute of vocational education: Eastern Region ปุณนภา พงษ์สนิ มหาวทิ ยาลัยสยาม E-mail [email protected] บทคดั ยอ่ การวิจัยนีม้ วี ัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. การดาเนินงานตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา (พ.ศ.2560-2579) ยุทธศาสตร์ ด้านการเพ่ิมประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษาพ.ศ. 2560– 2562 ของวิทยาลัยอาชีวศึกษา สถาบันการ อาชีวศึกษาภาคตะวันออก และ 2. ป๎ญหาและอุปสรรคของการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา (พ.ศ.2560-2579) ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษา ของวิทยาลัยอาชีวศึกษา สถาบันการ อาชีวศึกษาภาคตะวันออก การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสารวจ กลุ่มประชากรคือ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก จานวน 9 วทิ ยาลัยผูใ้ หข้ อ้ มลู คือผูบ้ ริหารและรองหัวหน้างานด้านนโยบายและแผนงาน และครูผู้ปฏิบัติงาน รวม 45 คน สถิติ ที่ใช้ในการวจิ ัย ได้แก่ การแจกแจงความถี่ รอ้ ยละ คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. เปาู เหมายการดาเนินงานตามแผนการพฒั นาการอาชีวศกึ ษา (พ.ศ.2560-2579) ยุทธศาสตร์ท่ี 6 ใน 4กล ยทุ ธ์ มีการดาเนนิ งานในสว่ นทเ่ี กยี่ วขอ้ ง พบว่า การดาเนินงานตามเปูาหมายของกลยุทธ์ ท้ัง 4 ข้อ กลุ่มตัวอย่างผู้ให้ ข้อมูลท้ัง 45 คน มีการดาเนินงานตามเปูาหมายทุกสถาบัน คิดเป็นร้อยละ 100 และระดับการดาเนินงานตาม แผนงานในกลยุทธท์ ้งั 4 ดา้ น โดยภาพรวมมกี ารดาเนนิ งานตามแผนงานอย่ใู น ระดบั มาก (̅= 4.13) 2.ป๎ญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา (พ.ศ.2560-2579) ยุทธศาสตร์ท่ี 6 ด้านการเพมิ่ ประสทิ ธิภาพระบบการบริหารจดั การอาชวี ศกึ ษา โดยภาพรวมอยใู่ นระดับมาก (̅= 3.84) 3. เปรียบเทียบการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา (พ.ศ.2560-2579) ยุทธศาสตร์ท่ี 6 ด้านการ เพิ่มประสิทธภิ าพระบบการบริหารจดั การอาชวี ศกึ ษา ของวทิ ยาลัยอาชีวศึกษา สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออก ท่ีมขี นาดแตกตา่ งกัน ไม่แตกต่างกันอยา่ งมี นยั สาคญั ที่ 0.05 คาสาคัญ: แผนพัฒนาการอาชวี ศกึ ษา , ดาเนนิ งาน , สถาบนั อาชีวศึกษา ABSTRACT Purposes of the research were 1. To study the operation of vocational education development plan (2017-2036) strategy:6 Efficiency increasing of management system in vocational หนา้ 284

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) education of vocational college, Institute of vocational education: Eastern region 2. To realize problems and obstacles of the operation of vocational education development plan (2017-2036) strategy :6 Efficiency increasing of management system in vocational education of vocational college, Institute of vocational education: Eastern region. This study was a survey research. Nine institutes of vocational education: Eastern region were population of the study. A group of sampling who provided data were Administrators and deputy chiefs of policy and planning Operators; totally 45 people. Frequency, percentile, mean and standard deviation were applied for statistic. Results of the study were found as the following: 1. The operation of vocational education development plan (2017-2036) strategy 6 in 4 master plans was found that all 4 plans. Forty-five sampling who provided data also operated as well as the objectives in every institutions and were found as 100%. According to the operation level of strategy 6 in 4 master plans, the overall of the planning operation were found in high level (̅= 4.13). 2. Problems and obstacles in the operation of vocational education development plan (2017-2036) strategy 6: Efficiency increasing of management system in vocational education were found in high level (̅= 3.84). 3. Comparison between the operation of vocational education development plan (2017- 2036) strategy : Efficiency increasing of management system in vocational education of vocational college, Institute of vocational education: Eastern region which had different size were found a different statistical significant at 0.05 KEYWORDS: Vocational education development plan, Operation, Institute of vocational education บทนา จากข้อมูลแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ความเช่ือมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี แผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่ 12 กับ แผนการศึกษาแห่งชาติ 6 ยุทธศาสตร์ และพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 ที่ต้องการพัฒนาและยกระดับการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ ยนแปลงด้านอุตสาหกรรมและ ธรุ กิจ ซ่งึ การจัดการศึกษาอาชวี ศกึ ษาถอื วา่ มีบทบาทสาคัญตอ่ การเปล่ียนแปลงในหลายมิติ ทั้งในระดับประเทศและ ระดบั โลก ฉะนนั้ การพฒั นาระบบอาชวี ศึกษาไทยในอนาคตเพ่อื ตอบสนองนโยบายรัฐบาล และกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) โดยสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) จึงได้กาหนดแนวการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาล นโยบาย กระทรวงศึกษาธิการ และนโยบาย เปูาหมาย ยุทธศาสตร์การผลิตและพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษาสู่สากล พ.ศ. หนา้ 285

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 2555-2569 และจากความสาคัญของการกากบั คณุ ภาพและมาตรฐานการจดั การอาชวี ศกึ ษาและการกาหนดนโยบาย เปาู หมาย แผนการผลติ และพฒั นากาลังคนอาชีวศกึ ษา แผนการพัฒนาผบู้ ริหาร ครู ข้าราชการพลเรอื น และบุคลากร ทางการศึกษาให้ได้มาตรฐานอาชีพ มาตรฐานสมรรถนะ และวิทยฐานะสาหรับครูและผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อให้ สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี บรรลุวิสัยทัศน์ประเทศไทย ปี 2580 โดยกาหนดไว้ว่าประเทศมีความม่ันคง ม่ัง ค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) เช่ือมโยงสู่แผนพัฒนาตะวันออก และการศึกษา อาชีวศึกษาภาคตะวันออกตอบสนองต่อมิติของการพัฒนาประเทศ ท้ังมิติความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และ สงิ่ แวดลอ้ ม จากความสาคญั ของการผลิตกาลังคนด้านอาชีวศึกษาตามนโยบาย เปูาหมาย ยุทธศาสตร์การผลิตและ พัฒนากาลังคนอาชีวศึกษาสู่สากล พ.ศ. 2555-2569 ข้างต้น และจากจัดการประชุมขับเคลื่อนการบูรณาการด้าน การศึกษาระดบั ภาค (ภาคตะวันออก) ของกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 24-25 ตุลาคม 2561 ท่ีจังหวัดระยอง ซึ่ง ต้องการจะเตรียมความพร้อมในการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาของภาคตะวันออก ที่เป็นพ้ืนท่ีสาคัญท่ีในการขยายตัว เพ่ือรองรับพ้ืนท่ีเศรษฐกิจใหม่ตามแนวนโยบายของประเทศ ดังน้ัน สถานศึกษากลุ่มภาคตะ วันออกจึงต้องมีการ ดาเนนิ งานให้ตอบสนองการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกของรัฐบาล เพราะพื้นที่ดังกล่าวมีการส่งเสริม การพัฒนาด้านการลงทุน อุตสาหกรรมเปูาหมาย เทคโนโลยีดิจิทัล และการท่องเท่ียวในระดับสูง สาหรับขับเคล่ือน ประเทศให้มศี ักยภาพด้านการแขง่ ขันในภูมิภาค และจาเป็นตอ้ งใชม้ ติ กิ ารศกึ ษาเพ่อื เป็นเครอื่ งมือและฐานรากไปสู่การ พัฒนาในด้านต่าง ๆ ด้วยเหตุผลท่ีการศึกษาระดับอาชีวศึกษามีความสาคัญในการเตรียมคนเพื่อเข้าสู่ตลาดแรงงาน และตอบสนองกาลังคนของภาคธุรกิจที่จะขยายมากข้ึนในอนาคต สถานศึกษาที่จัดการศึกษาอาชีวศึกษา ต้องมีการ ดาเนนิ งานอย่างจริงจังทั้งด้านมาตรฐานและคุณภาพเพ่ือให้บรรลุตามเปูาหมายที่กาหนด ดังนั้น ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะ ศึกษาการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการอาชวี ศกึ ษา (พ.ศ .2560-2562) ยทุ ธศาสตร์ ดา้ นการเพ่ิมประสิทธิภาพระบบ การบริหารจดั การอาชวี ศกึ ษา ของวิทยาลัยอาชีวศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ซึ่งผลการศึกษาวิจัย จะทาให้ได้ข้อมูลผลการดาเนนิ งานตามนโยบายดังกล่าว และจะได้แนวทางเพอื่ นาไปสกู่ ารส่งเสริมการดาเนินงานตาม นโยบายที่กาหนดไว้ให้บรรลุเปูาหมายตามที่ต้องการอย่างเป็นระบบ ส่งผลให้เกิดผลสาเร็จในการปฏิบัติงานอย่างมี คณุ ภาพและประสิทธภิ าพของสถานศึกษาและหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้องตอ่ ไป วธิ ีดาเนินการวิจยั ประชากรท่ีใช้ในการวิจัย คือ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก จานวน 9 วิทยาลัย ได้แก่ 1. วทิ ยาลัยเทคนิคชลบรุ ี 2.วิทยาลยั เทคนิคสัตหีบ 3.วิทยาลยั อาชีวศึกษาชลบุรี 4.วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐาน วิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) 5.วิทยาลัยเทคนิคระยอง 6.วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด 7.วิทยาลัยเทคนิคบ้านค่าย 8. วทิ ยาลยั เทคนคิ จันทบุรี 9.วทิ ยาลัยเทคนคิ ตราด โดยกลมุ่ ผู้ใหข้ ้อมูล คือ ผบู้ ริหาร รองผอู้ านวยการ และหัวหน้างาน ทด่ี ูแลงานดา้ นนโยบายและแผนงาน จานวนสถาบนั ละ 5 คน รวม 45 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ี คือ แบบสอบถามเก่ียวกับการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา (พ.ศ.2560-2579) ยุทธศาสตร์ ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษา ของวิทยาลัย อาชวี ศึกษา สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวันออกขั้นตอนในการสร้างเครือ่ งมือ ผู้วิจัยไดด้ าเนินการ ดังน้ี หนา้ 286

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 1.ศึกษากรอบแนวคิดในการวิจัยจากแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา (พ.ศ.2560 -2579) ของสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อนามาสร้างข้อคาถามสาหรับการ วิจัย 2.แบบสอบถามประกอบด้วย ข้อคาถามที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานตาม ยุทธศาสตร์ท่ี 6 ด้านการเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบการบรหิ ารจดั การอาชีวศึกษา ใน 4 กลยุทธ์ ประกอบด้วย กลยุทธ์ท่ี 1 พัฒนาระบบการบริหาร จัดการอาชีวศึกษา ที่มีประสิทธิภาพภายใต้หลักธรรมาภิบาล จานวน 10 โครงการ กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมการสร้าง นวัตกรรมการบริหารจัดการอาชีวศึกษาท่ีสอดคล้องรองรับกับการพัฒนาประเทศ จานวน 5 โครงการ กลยุทธ์ ที่ 3 สง่ เสริมการสรา้ งเครือขา่ ยความรว่ มมือในการบรหิ ารจัดการอาชวี ศึกษา จานวน 3 โครงการ และ กลยุทธ์ ที่ 4 พัฒนา ระบบประกันคุณภาพภายในการอาชีวศกึ ษาทกุ ระดับการศึกษา จานวน 2 โครงการ และข้อคาถามที่เก่ียวกับ ป๎ญหา และอุปสรรคในการดาเนนิ งานตามแผนพัฒนาการอาชวี ศกึ ษา 3.นาแบบสอบถามที่สร้างขึ้นให้ผู้เช่ียวชาญ จานวน 3 ท่าน ตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา เพ่ือหาค่า ความสอดคล้องของข้อคาถามและวตั ถุประสงค์ในการวิจัย ไดค้ ่า IOC ระหวา่ ง 0.6 – 1.00 โดยจะเลือกใช้ข้อคาถามที่ มีค่า IOC ตง้ั แต่ 0.6 ขนึ้ ไป จากผลการประเมนิ ของผู้เชย่ี วชาญแบบสอบถามทงั้ ฉบบั ไดค้ า่ IOC ท่ี 1.00 4.นาแบบสอบถามท่ีแก้ไขแล้วไปทดลองใช้กับผ้ทู ี่มีลักษณะคล้ายกบั ผู้ให้ขอ้ มูลจานวน 30 คน ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ทั้งนี้แบบสอบถามที่ไดม้ ีค่าความเชื่อม่นั .925 การเก็บรวบรวมข้อมูลดาเนินการโดยผู้วิจัยขอหนังสือจากบัณฑิตวิทยาลัย เพื่อขอความร่วมมือไปยัง สถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก ท่ีเปน็ ประชากร จานวน 9 สถาบนั โดยผู้วิจัยจะทาการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วย ตนเอง การวเิ คราะห์ขอ้ มลู และแปลผลข้อมูล ดาเนนิ ตามข้นั ตอนดังน้ี 1. ใชค้ ่าร้อยละและความถส่ี าหรบั ข้อมูลทั่วไปของผ้ใู ห้ข้อมลู 2. ใชค้ ่าเฉลย่ี และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 3. วิเคราะหเ์ นอ้ื หาขอ้ มลู จากขอ้ คาถามปลายเปิด สรปุ ผลการวิจัย 1.การวิเคราะหเ์ ปาู เหมายการดาเนินงาน ตามแผนการพัฒนาการอาชวี ศึกษา (พ.ศ.2560-2579) ยุทธศาสตร์ ท่ี 6 ใน 4 กลยุทธ์ มีการดาเนินงานในสว่ นท่ีเกีย่ วข้อง พบวา่ การดาเนนิ งานตามเปูาหมายของกลยุทธ์ ท้ัง 4 ข้อ กลุ่ม ตัวอย่าง ผูใ้ หข้ อ้ มูลท้งั 45 คน มกี ารดาเนินงานตามเปูาหมายทุกสถาบัน คดิ เปน็ ร้อยละ 100 2.การดาเนินงานตามแผนงานในกลยุทธ์ท่ี 1 ด้านพัฒนาระบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษา ท่ีมี ประสทิ ธิภาพภายใต้หลกั ธรรมาภิบาล พบว่า ระดับการดาเนินงานตามแผนงานในกลยุทธ์ท่ี 1 ด้านพัฒนาระบบการ บริหารจัดการอาชวี ศกึ ษา ทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพภายใต้หลกั ธรรมาภิบาล โดยภาพรวมมกี ารดาเนินงานตามแผนงานอยู่ใน ระดบั มาก 3.การดาเนินงานตามโครงการในกลยุทธ์ที่ 1 ด้านพัฒนาระบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษา ที่มี ประสทิ ธภิ าพภายใตห้ ลักธรรมาภิบาล พบว่าระดับการดาเนินงานตามโครงการในกลยุทธ์ท่ี 1 ด้านพัฒนาระบบการ หนา้ 287

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) บรหิ ารจัดการอาชีวศึกษา ทมี่ ีประสทิ ธภิ าพภายใต้หลักธรรมาภิบาล โดยภาพรวมมกี ารดาเนินงานตามโครงการ อยู่ใน ระดับมาก (̅=4.30 , S.D. = 0.480) เม่ือพิจารณารายข้อพบว่าอยู่ในระดับมากทุกโครงการ โดยมีโครงการ เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล (̅=4.53 , S.D. = 0.625) มีโครงการนวัตกรรมทางการบริหารท่ี สอดคล้องกับบริบทของวิทยาลัยและสภาพพื้นที่ชุมชน เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ( ̅ =4.47 , S.D. = 0.588) และมีโครงการสร้างเสริมคุณภาพสถานศึกษาเพ่ือให้ได้มาตรฐานการอาชีวศึกษาของวิทยาลัย (̅=4.38 , S.D. = 0.576) 4.การดาเนินงานตามแผนงานตามกลยุทธ์ท่ี 2 ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมการบริหารจัดการอาชีวศึกษาที่ สอดคล้องรองรับกับการพัฒนาประเทศ พบว่า ระดับการดาเนินงานตามแผนงานในกลยุทธ์ท่ี 2 ส่งเสริมการสร้าง นวตั กรรมการบรหิ ารจดั การอาชีวศึกษาท่ีสอดคล้องรองรับกับการพัฒนาประเทศ โดยภาพรวมมีการดาเนินงานตาม แผนงานอยู่ใน ระดับมาก (̅=4.10 , S.D. = 0.550) เมื่อพิจารณารายข้อพบว่าอยู่ในระดับมากทุกแผน โดยมี แผนงานการพัฒนานวัตกรรมด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาที่สอดคล้องรองรับกับการพัฒนาประเทศ (̅=4.13 , S.D. = 0.588) 5.การดาเนินงานตามโครงการที่เกี่ยวข้องกับกลยุทธ์ท่ี 2 ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมการบริหารจัดการ อาชวี ศกึ ษาทส่ี อดคล้องรองรบั กบั การพัฒนาประเทศ พบว่า ระดับการดาเนินงานตามโครงการในกลยุทธ์ท่ี 2 ส่งเสริม การสร้างนวัตกรรมการบริหารจัดการอาชีวศึกษาท่ีสอดคล้องรองรับกับการพัฒนาประเทศ โดยภาพรวมมีการ ดาเนนิ งานตามโครงการ อยใู่ น ระดบั มาก (̅=4.25 , S.D. = 0.566) เม่ือพิจารณารายข้อพบว่าอยู่ในระดับมากทุก โครงการ โดยโครงการความร่วมมือเพ่ือผลิตกาลังคนด้านอาชีวศึกษาท่ีตอบสนองภาคการผลิตและบริการใน 10 อุตสาหกรรมหลกั เพื่อเป็นกลไกขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ ประเทศเพอื่ อนาคต (̅=4.42, S.D. = 0.657) มีโครงการพัฒนา คณุ ภาพของวทิ ยาลัยสู่ความเป็นเลิศเฉพาะทาง (̅=4.31 , S.D. = 0.633) และโครงการพัฒนาศักยภาพเพื่อสร้าง ความเข้มแขง็ ใหก้ ับวิทยาลัย (̅=4.29 , S.D. = 0.626) 6.การดาเนนิ งานตามแผนงานใน กลยทุ ธ์ ที่ 3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการบริหารจัดการ อาชวี ศึกษา พบว่าระดับการดาเนินงานตามแผนงานในกลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการ บริหารจดั การอาชีวศกึ ษา โดยภาพรวมมกี ารดาเนินงานตามแผนงานอยู่ใน ระดับมาก (̅=4.13 , S.D. = 0.726) คือ แผนงานในการแสวงหาเครือข่ายความร่วมมือในการบริหารจัดการอาชีวศึกษาพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการ อาชีวศึกษาท่ีสอดคลอ้ งรองรบั กบั การพฒั นาประเทศ 7.การดาเนินงานตามโครงการท่ีเกี่ยวข้องกับ กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการ บริหารจัดการอาชีวศึกษา พบว่า ระดับการดาเนินงานตามโครงการในกลยุทธ์ท่ี 3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายความ ร่วมมือในการบริหารจัดการอาชีวศึกษา โดยภาพรวมมีการดาเนินงานตามโครงการ อยู่ใน ระดับมาก ( ̅=3.87 , S.D. = 0.760) เมื่อพิจารณารายข้อพบว่าอยู่ในระดับมากทุกโครงการ โดยโครงการความร่วมมือกับภาคธุรกิจเพ่ือ พฒั นาการจดั การศึกษาของวทิ ยาลัย (̅=3.98 , S.D. = 0.499) โครงการความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศเพ่ือพัฒนาการ จัดการศึกษาของวิทยาลัย (̅=3.91 , S.D. = 0.793) และโครงการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมระหว่างหลักสูตร อาชีวศกึ ษาและมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ทวศิ ึกษา)ในวทิ ยาลยั (̅=3.71 , S.D. = 0.990) หน้า288

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 8.การดาเนินงานตามแผนงานในกลยุทธ์ ที่ 4 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษาทุกระดับ การศึกษา พบว่า ระดับการดาเนินงานตามแผนงานในกลยุทธ์ ที่ 4 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในการ อาชีวศึกษาทุกระดับการศึกษา โดยภาพรวมมีการดาเนินงานตามแผนงานอยู่ใน ระดับมาก (̅=4.05 , S.D. = 0.460) เม่ือพิจารณารายข้อพบว่าอยู่ในระดับมากทุกแผน โดยมีแผนการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในการ อาชีวศึกษาของสถาบันท่ีสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงและบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป (̅=4.07 , S.D. = 0.539) มี แผนการส่งเสรมิ การพฒั นาระบบประกันคณุ ภาพภายในทมี่ ีประสทิ ธิภาพ และมแี ผนการส่งเสริมให้สถานศึกษาได้รับ การยกระดบั คุณภาพให้ไดค้ ุณภาพตามมาตรฐาน (̅=4.04 , S.D. = 0.475) 9.การดาเนินงานตามโครงการทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั กลยทุ ธท์ ี่ 4 พฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายในการอาชีวศึกษา ทกุ ระดบั การศึกษา พบว่า ระดบั การดาเนินงานตามโครงการในกลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในการ อาชีวศึกษาทุกระดับการศึกษา โดยภาพรวมมีการดาเนินงานตามโครงการ อยู่ใน ระดับมาก (̅=4.03 , S.D. = 0.757) เมื่อพิจารณารายข้อพบว่าอยู่ในระดับมากทุกโครงการ โดยโครงการส่งเสริมการปฏิรูปการอาชีวศึกษาใน วิทยาลยั เพื่อเพม่ิ ผลสัมฤทธ์ผิ ูเ้ รียนด้วยคุณภาพและมาตรฐานให้มีสมรรถนะและความพร้อมเพื่อเข้าสู่ตลาดแรงงาน (̅=4.20 , S.D. = 0.625) ป๎ญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา (พ.ศ.2560-2579) ยุทธศาสตร์ท่ี 6 ด้านการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพระบบการบรหิ ารจัดการอาชีวศึกษา ของวิทยาลัยอาชีวศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษาภาค ตะวันออก พบว่าระดับป๎ญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา (พ.ศ. 2560-2579 ) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6 ด้านการเพ่มิ ประสิทธภิ าพระบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษา ของวิทยาลัยอาชีวศึกษา สถาบันการ อาชีวศกึ ษาภาคตะวันออก โดยภาพรวมมีระดับป๎ญหาและอุปสรรคในการดาเนินงาน อยู่ใน ระดับมาก (̅=3.84 , S.D.= 0.741) เมื่อพิจารณารายข้อพบว่ามีป๎ญหาและอุปสรรค อยู่ในระดับมากทุกข้อ ได้แก่ การสนับสนุนจาก หน่วยงานระดับนโยบายไม่ต่อเนื่อง/ล่าช้า (̅=3.89) โครงการที่ระดับนโยบายกาหนดให้บางโครงการไม่สอดคล้อง กบั สภาพจริงของวิทยาลัย ขาดการชี้แจง/ประชุมให้บุคลากรของวิทยาลัยรับรู้ในเปูาหมายของยุทธศาสตร์ที่ 6 ใน กลยทุ ธท์ ง้ั 4 ข้อ และขาดงบประมาณสนับสนุนการดาเนินงานจากหน่วยงานระดบั นโยบาย (̅=3.87) อภปิ รายผล จากผลการศึกษาการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการอาชวี ศึกษา (พ.ศ.2560-2579) ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการ เพ่มิ ประสิทธภิ าพระบบการบริหารจัดการอาชีวศกึ ษา ของวทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษา สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออก สามารถอภปิ รายผลไดด้ งั ตอ่ ไปนี้ 1. ผลการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา (พ.ศ.2560-2579) ยุทธศาสตร์ท่ี 6 ด้านการเพ่ิม ประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษา ของวิทยาลัยอาชีวศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก จากการวิจัยพบว่า วิทยาลัยอาชีวศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ทั้ง 9 สถาบัน มีเปูาเหมายการ ดาเนนิ งานตามแผนการพฒั นาการอาชวี ศกึ ษา (พ.ศ.2560-2579) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 ใน 4 กลยุทธ์ มีการดาเนินงานตาม เปูาหมาย (พ.ศ.2560 – 2562 )ทุกสถาบัน คิดเป็นร้อยละ 100 แสดงให้เห็นว่าวิทยาลัยอาชีวศึกษา สถาบันการ อาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออก ให้ความสาคัญและดาเนนิ งาน เป็นไปตามนโยบายรัฐบาลตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา หนา้ 289

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) (พ.ศ.2560-2579)ซึ่งการดาเนินงานดังกล่าวของสถาบันวิทยาลัยอาชีวศึกษาภาคตะวันออก มุ่งเน้นจัดการศึกษาให้ ตอบสนองต่อแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา ตามที่สานักงานคณะงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้กาหนดให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาและขับเคล่ือนการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาของ ประเทศให้สอดคล้องกบั เปูาหมายและทศิ ทางของการพัฒนากาลังคนตามยทุ ธศาสตร์ชาติ 2. การดาเนนิ งานตามแผนงานและโครงการในกลยุทธ์ท่ี 1 ดา้ นพัฒนาระบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษา ที่ มีประสิทธิภาพภายใต้หลักธรรมาภิบาล พบว่า มีแผนงานและโครงการครบตามท่ีกาหนดไว้ในแผนพัฒนาการ อาชีวศกึ ษา (พ.ศ.2560-2579) ในภาพรวมมีการดาเนินงาน อยู่ในระดับมาก โดยมีการดาเนินงานในแผนการส่งเสริม ใหม้ กี ารบริหารจดั การทม่ี ีประสิทธิภาพภายใตห้ ลักธรรมาภิบาลและโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรร มาภิบาล อยู่ในระดับมาก แสดงให้เห็นว่า สถาบันวิทยาลัยอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ให้ความสาคัญในการพัฒนา ระบบบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพภายใต้หลักธรรมาภิบาล สอดคล้องกับหลักธรรมาภิบาลกับการศึกษา( Good Governance) การกระจายอานาจการมีส่วนร่วม ทางการศึกษา นับเป็นป๎จจัยท่ีสาคัญท่ีสุด ในการปฏิรูปการศึกษา ตามเจตนารมณแ์ ห่ง พ.ร.บ.การศึกษาฯ พ.ศ.2542 แก้ไขเพ่ิมเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545เพราะจะช่วยให้มีคณะบุคคล เขา้ มามีส่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา/หน่วยงานทางการศกึ ษา และบริหารจดั การโรงเรยี นให้มปี ระสิทธิภาพ 3. การดาเนินงานตามแผนงานและโครงการในกลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมการบริหารจัดการ อาชีวศึกษาท่ีสอดคล้องรองรับกับการพัฒนาประเทศ พบว่า มีแผนงานและโครงการครบตามที่กาหนดไว้ใน แผนพฒั นาการอาชวี ศึกษา (พ.ศ.2560-2579) ในภาพรวมมกี ารดาเนินงาน อยใู่ นระดบั มาก โดยมีแผนงานการพัฒนา นวัตกรรมด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาท่ีสอดคล้องรองรับกับการพัฒนาประเทศ และโครงการความ ร่วมมือเพือ่ ผลิตกาลงั คนดา้ นอาชวี ศึกษาท่ตี อบสนองภาคการผลิตและบริการใน 10 อุตสาหกรรมหลัก เพ่ือเป็นกลไก ขบั เคลอื่ นเศรษฐกิจประเทศเพ่อื อนาคต แสดงให้เหน็ วา่ สถาบันวิทยาลัยอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก ให้ความสาคัญใน การพฒั นานวตั กรรมด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาและได้จัดให้มีโครงการความร่วมมือเพื่อผลิตกาลังคน ด้านอาชีวศึกษาท่ีตอบสนองภาคการผลิตและบริการใน 10 อุตสาหกรรมหลัก เพ่ือเป็นกลไกขับเคล่ือนเศรษฐกิจ ประเทศเพ่อื อนาคตท่ีตอบสนองกบั ภารกิจของการจัดการอาชีวศึกษา ในการจัดการอาชีวศึกษามีภารกิจท่ีสาคัญ ใน เร่ืองความเป็นมืออาชีพ (Professional) หมายถึง ความรู้ ทักษะ และความสามารถในด้านวิชาชีพ รวมทั้งการ ประยุกตใ์ ช้ความรู้ ทกั ษะ ในดา้ นวชิ าชีพเพื่อการประกอบอาชีพอิสระ และคุณภาพ (Quality) หมายถึง ผู้สาเร็จการ อาชีวศึกษามีสมรรถนะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติและมาตรฐานคุณวุฒิการอาชีวศึกษาแต่ละ ระดบั 4. การดาเนินงานตามแผนงานและโครงการในกลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการ บริหารจัดการอาชีวศึกษา พบว่า มีแผนงานและโครงการครบตามท่ีกาหนดไว้ในแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา (พ.ศ. 2560-2579) ในภาพรวมมีการดาเนนิ งาน อยใู่ นระดับมาก โดยมแี ผนงานในการแสวงหาเครือข่ายความร่วมมือในการ บริหารจัดการอาชีวศึกษาพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการอาชีวศึกษาท่ีสอดคล้องรองรับกับการพัฒนาประเทศ และโครงการความร่วมมือกับภาคธุรกิจเพ่ือพัฒนาการจัดการศึกษาของวิทยาลัย แสดงให้เห็นว่า สถาบันวิทยาลัย อาชวี ศึกษาภาคตะวันออก ซึง่ เป็นสถานศกึ ษา ทีจ่ ัดการอาชีวศกึ ษาและการฝกึ อบรมวชิ าชีพต้องเป็นการจัดการศึกษา ในด้านวิชาชีพสอดคล้อง กับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพ่ือผลิตและพัฒนากาลังคนในด้านวิชาชี พ ระดบั ฝีมือ ระดับเทคนคิ และระดับเทคโนโลยี รวมทงั้ เป็นการยกระดบั การศึกษาวชิ าชพี ใหส้ ูงขน้ึ เพ่ือให้ สอดคล้องกับ หนา้ 290

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ความตอ้ งการของตลาดแรงงานโดยนาความรใู้ นทางทฤษฎีอนั เปน็ สากลและภูมิป๎ญญาไทยมาพัฒนาผู้รับการศึกษาให้ มคี วามร้คู วามสามารถในทางปฏิบตั ิและมสี มรรถนะจนสามารถนาไปประกอบอาชีพในลักษณะผู้ปฏิบัติหรือประกอบ อาชีพอสิ ระ มคี วามจาเป็นทจี่ ะต้องแสวงหาเครอื ข่ายความร่วมมือในการบริหารจัดการอาชีวศึกษา พัฒนานวัตกรรม การบริหารจัดการอาชีวศึกษา มีความร่วมมือกับภาคธุรกิจเพ่ือพัฒนาการจัดการศึกษาของวิทยาลัยให้มีคุณภาพ ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของสถานประกอบการ 5. การดาเนินงานตามแผนงานและโครงการในกลยุทธ์ท่ี 4 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในการ อาชีวศึกษาทุกระดบั การศกึ ษา พบว่า มีแผนงานและโครงการครบตามท่กี าหนดไวใ้ นแผนพฒั นาการอาชวี ศกึ ษา (พ.ศ. 2560-2579) ในภาพรวมมีการดาเนินงาน อยู่ในระดับมาก โดยมีแผนการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในการ อาชวี ศกึ ษาของสถาบนั ท่ีสอดคลอ้ งกับการเปลี่ยนแปลงและบริบทท่ีเปล่ียนแปลงไป และโครงการส่งเสริมการปฏิรูป การอาชีวศกึ ษาในวิทยาลัย เพื่อเพมิ่ ผลสัมฤทธ์ผิ เู้ รยี นด้วยคณุ ภาพและมาตรฐานใหม้ สี มรรถนะและความพร้อมเพ่อื เขา้ สู่ตลาดแรงงาน แสดงให้เห็นว่า สถาบันวิทยาลัยอาชีวศึกษาภาคตะวันออกให้ความสาคัญกับระบบประกันคุณภาพ ภายใน โดยมกี ารดาเนนิ งานในโครงการส่งเสริมการปฏิรูปการอาชีวศึกษาในวิทยาลัย เพ่ือเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิผู้เรียนด้วย คณุ ภาพและมาตรฐานให้มีสมรรถนะและความพรอ้ มเพือ่ เข้าสตู่ ลาดแรงงาน ซงึ่ เปน็ ไปตาม พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ (พ.ศ. 2542) หมวด 6 กล่าวถึงหลักการประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา โดยแยกเป็นระบบการ ประกันคณุ ภาพภายใน และการประกันคณุ ภาพภายนอก ในมาตรา 47 ใหม้ ีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพ่ือ พัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการ ประกันคุณภาพภายนอกระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา ให้เป็นไปตามท่ีกาหนดใน กฎกระทรวง และมาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศกึ ษาและใหถ้ อื วา่ การประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการ อย่างต่อเน่ือง โดยมีการจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง แลเปิดเผยต่อ สาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเพอ่ื รองรบั การประกันคุณภาพภายนอก 6. ผลการศึกษาปญ๎ หาและอุปสรรคของการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา (พ.ศ.2560-2579) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6 ดา้ นการเพ่ิมประสทิ ธิภาพระบบการบรหิ ารจัดการอาชีวศกึ ษา ของวิทยาลัยอาชีวศึกษา สถาบันการ อาชีวศึกษาภาคตะวันออก โดยภาพรวมมีระดับป๎ญหาและอุปสรรคในการดาเนินงาน อยู่ในระดับมาก ได้แก่ 1.การ สนับสนุนจากหน่วยงานระดับนโยบายไม่ต่อเน่ือง/ล่าช้า 2.โครงการที่ระดับนโยบายกาหนดให้บางโครงการไม่ สอดคล้องกับสภาพจริงของวิทยาลัย 3.ขาดการช้ีแจง/ประชุมให้บุคลากรของวิทยาลัยรับรู้ในเปูาหมายของ ยุทธศาสตร์ท่ี 6 ในกลยุทธ์ท้ัง 4 กลยุทธ์ 4.ขาดงบประมาณสนับสนุนการดาเนินงานจากหน่วยงานระดับนโยบาย แสดงให้เห็นว่า ป๎ญหาทั้ง 4 ข้อข้างต้น ส่งผลต่อการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา (พ.ศ.2560-2579) ยุทธศาสตร์ท่ี 6 ดา้ นการเพ่มิ ประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการอาชีวศกึ ษา ของวิทยาลัยอาชีวศึกษา สถาบันการ อาชีวศึกษาภาคตะวันออกทาให้บางแผนงานและโครงการมผี ลการดาเนนิ อยู่ในระดับมาก แต่มีค่าคะแนนเฉล่ียต่ากว่า 4.01 จะมีการดาเนินงานตามแผน แต่ระดับการปฏิบัติงานมีค่าคะแนนไม่มากนัก ดังน้ันสถาบันควรส่งเสริม ความรู้ และวธิ ีการให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อจะได้ พัฒนาระบบการประเมินและการประกันคุณภาพวิทยาลัย แบบออนไลน์สู่ มาตรฐานสากล (APACC) ให้บรรลุตามเปาู หมาย เพ่ือเป็นการยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา้ 291


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook