Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ED-APHEIT 2020

ED-APHEIT 2020

Published by ED-APHEIT, 2020-04-06 04:37:45

Description: การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร
สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ
หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption”
ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.)

Keywords: ED-APHEIT 2020 ศึกษาศาสตร์ สสอท.

Search

Read the Text Version

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ละ 1.75) อย่างไรก็ตามเม่ือเปรียบเทียบสัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ท่ี 25 พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยทักษะบริหาร จัดการชีวิต หรอื ทักษะสมอง EF สงู ขึน้ อยา่ งชัดเจน(เพ่ิมขนึ้ รอ้ ยละ 18.23) 3. การเปรยี บเทียบทกั ษะการกากบั ตนเองในระยะก่อนทดลองสัปดาห์ที่ 1 กบั ทักษะการกากับตนเองของกลมุ่ ตวั อย่าง ในระยะหลงั การทดลองสปั ดาหท์ ่ี 25 พบว่ามคี วามแตกต่างกนั โดยทกั ษะการกากับตนเองของกลุม่ ตวั อยา่ งในระยะ หลังการทดลองสัปดาห์ 25 สูงกวา่ ความสามารถในการกากับตนเอง ในระยะก่อนการทดลองสปั ดาหท์ ี่ 1) อย่างมี นัยสาคญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดับ .05จงึ ยอมรบั สมมติฐานท่ี 1และเม่อื พจิ ารณาในรายละเอยี ดด้านพฤติกรรมทบ่ี ่งชท้ี ักษะการ กากบั ตนเอง ซ่ึงได้แก่ 1) ความจดจ่อตงั้ ใจ 2) การควบคุมอารมณ์ และ 3) การประเมนิ ตนเอง พบวา่ พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ทักษะการกากบั ตนเองทัง้ 3 พฤตกิ รรม มีคา่ คะแนนเฉล่ยี หลงั การทดลองสปั ดาหท์ ี่ 25 สงู กว่าในระยะก่อนการทดลอง สัปดาหท์ 1ี่ อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดับ .05ดังตาราง 5 ตาราง 5 ตารางแสดงการเปรียบเทียบคะแนนทกั ษะการกากบั ตนเอง (SRS) กอ่ นการทดลองสัปดาหท์ ่ี 1 กบั สปั ดาห์ท่ี 25(n = 30) 4. การเปรยี บเทยี บทักษะบรหิ ารจดั การชีวติ หรือทักษะสมอง EF ในระยะกอ่ นทดลองสัปดาหท์ ี่ 1 กับทกั ษะบรหิ าร จัดการชีวติ หรือทกั ษะสมอง EF ของกลุ่มตัวอยา่ งในระยะหลงั การทดลองสัปดาห์ที่ 25 พบว่ามีความแตกตา่ งกัน โดย ทกั ษะบรหิ ารจัดการชีวิต หรอื ทกั ษะสมอง EF ของกลุ่มตัวอย่างในระยะหลงั การทดลองสัปดาห์ 25 สงู กว่าทักษะ บริหารจัดการชวี ติ หรือทักษะสมอง EF ในระยะกอ่ นการทดลองสปั ดาห์ท่ี 1) อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .05จงึ ยอมรับสมมติฐานท่ี 2 โดยพบว่าทกุ ทกั ษะท่ีบ่งชี้ทักษะบริหารจดั การชีวิต หรือทักษะสมอง EF ไดแ้ ก่ 1) ทักษะพ้ืนฐาน 2) ทกั ษะการกากบั ตนเอง และ 3) ทักษะการปฏบิ ัติให้สาเรจ็ ของกลุ่มตวั อยา่ งในระยะหลงั การทดลองสัปดาห์ท่ี 25 สงู กว่าในระยะก่อนการทดลองสัปดาห์ที่1 อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิติทร่ี ะดับ .05ดังตาราง 6 ตาราง 6 ตารางแสดงการเปรียบเทียบคะแนนทักษะบรหิ ารจดั การชีวิต (EFS) ก่อนการทดลองสัปดาหท์ ่ี 1 กับสัปดาห์ที่ 25(n = 30) หน้า392

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 5. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู เชิงคุณภาพ 1) ด้านการใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของครูประจาชั้นเห็นว่าเป็น รูปแบบทชี่ ว่ ยใหเ้ ดก็ ปฐมวัยไดฝ้ ึกการกาหนดเปูาหมาย ซึ่งชว่ ยให้เด็กๆ เรียนรู้อย่างสนุกสนาน และมีความมุ่งมั่นตั้งใจ เรียนรมู้ ากขึน้ 2) ด้านผู้ปกครองนักเรียน ส่วนใหญ่รับรู้ว่าเด็กๆ มีเปูาหมายในการเล่นและเรียนรู้ของตนเอง มีความ ต้งั ใจและความพยายามในการทางานทไ่ี ด้รบั มอบหมายมากข้ึน สรปุ ผลการวจิ ัย จากผลการวเิ คราะห์ข้อมลู สามารถสรุปผลการวจิ ยั ได้ดังนี้ 1. การประยุกต์รูปแบบการเรียนการสอนแบบ AFTER Model เพื่อการเสริมสร้างทักษะการกากับตนเอง และทกั ษะบริหารจัดการชีวิตในเด็กปฐมวัย ทาให้ได้รูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบ AFTER Model ซ่ึง เหมาะสมกับพัฒนาการตามวัยของเด็กปฐมวัย แต่ยังคงขั้นตอนการจัดการเรียนรู้เป็น 5 ขั้น ได้แก่ 1) ข้ันสร้างความ สนใจ (Attention) 2) ขั้นคาดการณ์ล่วงหน้า(Forethought) 3) ข้ันวางแผนยุทธศาสตร์(Tactic planning) 4) ขั้น ปฏบิ ตั ิใหส้ าเร็จ(Execution) และ 5) ขั้นสะทอ้ นผลงาน(Reflection) ท้ังนีใ้ นทุกขั้นตอนครหู รือผู้สอนจะปรบั ความยาก ของช้ินงานให้เหมาะสมกับระดับความคิดของเด็ก คือให้เป็นรูปธรรมให้มากที่สุด ปรับระยะเวลาการทางานให้ เหมาะสมกับระยะเวลาความสนใจของเดก็ ปรับช้ินงานใหเ้ หมาะสมกับความสามารถในการใชก้ ล้ามเนื้อมดั เลก็ เปน็ ตน้ 2. ผลจากการทดลองจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบ AFTER Model สาหรับเด็กปฐมวัย ซึ่งได้รับการ ประยกุ ต์และปรับจากรูปแบบการเรียนการสอนแบบ AFTER Model เป็นระยะเวลา 1 ภาคเรียน พบว่ารูปแบบการ จดั ประสบการณก์ ารเรยี นรแู้ บบ AFTER Model สาหรับเด็กปฐมวัย มปี ระสทิ ธผิ ลดงั ตอ่ ไปนี้ 2.1 สามารถเสริมสรา้ งทกั ษะการกากับตนเองของกลุม่ ตัวอยา่ งได้ โดยพจิ ารณาจากค่าคะแนนเฉลี่ย ทักษะการกากับตนเอง หลังการทดลองท่ีสูงกว่าก่อนการทดลอง (คิดเป็นร้อยละ 16.21) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดบั .05 2.2 สามารถเสริมสร้างทักษะบริหารจัดการชีวิต หรือทักษะสมอง EF ของกลุ่มตัวอย่างได้ โดย พจิ ารณาจากค่าคะแนนเฉล่ยี ทกั ษะบริหารจัดการชีวิต หรือทักษะสมอง EF หลังการทดลองที่สูงกว่าก่อนการทดลอง (คิดเป็นรอ้ ยละ 18.23) อย่างมนี ัยสาคัญทางสถติ ิท่ีระดับ .05 อภปิ รายผล การวจิ ัยและพฒั นาในคร้ังนดี้ าเนินการวิจัยด้วยการศึกษาและวิจัยเอกสารในระยะท่ี 1 และการวิจัยแบบก่ึง ทดลองในระยะท่ี 2 ผลการวิจยั ปรากฏตามลาดบั ดังต่อไปน้ี 1. การศึกษาคร้ังนี้พบว่ารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบการวางยุทธศาสตร์ชีวิต(AFTER Model) ท่ี ได้รับการพัฒนาข้ึนเพ่ือเสริมสร้างการกากับตนเองและผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาสุขศึกษาสาหรับนักเรียน มัธยมศกึ ษาตอนตน้ (อดศิ ร บาลโสง วลยั อศิ รางกลู ณ อยุธยา และอัมพร ม้าคนอง, 2557) สามารถประยุกต์และปรับ ให้เหมาะสมกับพัฒนาการของเดก็ ปฐมวยั ในรูปแบบการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้แบบ AFTER Model สาหรับเด็ก ปฐมวัย ท่ีเน้นการพัฒนาผู้เรียนทุกด้าน โดยยังคงรูปแบบของการจัดการเรียนรู้ 5 ข้ัน ได้แก่ 1) ขั้นสร้างความสนใจ (Attention) 2) ข้ันคาดการณ์ล่วงหน้า(Forethought) 3) ขั้นวางแผนยุทธศาสตร์(Tactic planning) 4) ข้ันปฏิบัติให้ หนา้ 393

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) สาเร็จ(Execution) และ 5) ข้ันสะท้อนผลงาน(Reflection) (Bansong & Isarankura na ayudhaya, 2019) เชน่ เดียวกบั รูปแบบการเรียนการสอนแบบ AFTER Model เป็นข้ันตอนท่ีคล้ายคลึงกับการเรียนรู้แบบสังเกตหรือการ เลียนแบบ ซึ่งพฒั นาโดยอาศัยแนวคิดและทฤษฎีการเรยี นรู้ทางสงั คมเชิงพุทธิป๎ญญา(Social Cognitive Theory) เป็น พืน้ ฐานในการพฒั นาโดยเฉพาะขนั้ ตอนการสร้างความสนใจและการคิดคาดการณ์ล่วงหน้า (Bandura, 1989) ขณะท่ี ขั้นตอนของการวางแผนยุทธศาสตร์ และการปฏิบัติให้สาเร็จคงมีความชัดเจนว่าได้รับการพัฒนาและบูรณาการจาก ขั้นตอนในการวางแผนยุทธศาสตร์ชีวิต (Glick-Smith, 2005; Haines, 2000; Long, 2007; Mullings, 2010; Shapiro, 2001) 2. การศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนแบบ AFTER Model เพื่อการเสริมสร้างทักษะการ กากับตนเองและทักษะบริหารจัดการชีวิตของเด็กปฐมวัยในครั้งน้ี มีข้อค้นพบที่น่าสนใจในประเด็นที่แสดงให้เห็นว่า รูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบ AFTER Model มีประสิทธิผลในการเสริมสร้างทักษะการกากับตนเอง และทกั ษะบรหิ ารจัดการชีวติ ของเด็กปฐมวัยได้อย่างน่าสนใจ เม่ือพิจารณาจากการเปรียบเทียบ 1) ทักษะการกากับ ตนเอง 2) ทกั ษะบรหิ ารจัดการชวี ติ หรือทกั ษะสมอง EF กอ่ นการทดลองกับหลงั การทดลอง จะพบว่าประสิทธิผลของ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ AFTER Model เป็นดังน้ี 2.1 รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ AFTER Model สามารถเสริมสร้างทักษะการกากับ ตนเอง(Self-Regulation) ของเดก็ ปฐมวัยได้ โดยพจิ ารณาจากค่าคะแนนเฉลีย่ ทักษะการกากับตนเองของกลุ่มตัวอย่าง หลงั การทดลองสงู กว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ที่เป็นเช่นนี้อาจเน่ืองมาจากผลของการ จัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบ AFTER Model ซ้าหลายๆรอบ ส่งผลให้เด็กได้ฝึกการคิดคาดการณ์ล่วงหน้า การ วางแผน และการสะท้อนผลงาน ซ่ึงเป็นลักษณะของการประเมินตนเอง(Self-Monitoring หรือ Self-Evaluation)ท่ี เปน็ ป๎จจยั หน่ึงของการกากับตนเอง สอดคล้องกับผลการศึกษาของอดิศร บาลโสง วลัย อิศรางกูร ณ อยุธยา และ อมั พร มา้ คนอง (2557) ทพ่ี บวา่ ความสามารถในการกากบั ตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น หลังการทดลอง สูงกวา่ ก่อนการทดลองใชร้ ูปแบบการเรียนการสอนแบบ AFTER Model อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .05 2.2 รปู แบบการจัดการเรียนการสอนแบบ AFTER Model สามารถเสริมสร้างทักษะบริหารจัดการ ชีวิต (Executive Functions) หรือทักษะสมอง EF ของเดก็ ปฐมวยั ได้ท้ังนี้โดยการพิจารณาจากค่าคะแนนเฉลี่ยทักษะ บรกิ ารจดั การชีวิตหลังการทดลองสูงกว่ากอ่ นการทดลอง อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิทรี่ ะดับ .05 ซึ่งผลอาจเป็นผลที่เกิด จากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบ AFTER Model ซ้าหลายๆคร้ัง ดังที่ปรากฏในข้อ 2.1 ซ่ึงพบว่าสามารถ เสรมิ สรา้ งการกากบั ตนเอง(Self-Regulation)ของเดก็ ปฐมวัยได้ อย่างไรก็ตามทักษะการกากับตนเองเป็นหนึ่งในสาม ทักษะหลักของทักษะบริหารจัดการชีวิต ดังน้ันการท่ีรูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบ AFTER Model สามารถเสริมสรา้ งทกั ษะการกากับตนเองของเดก็ ปฐมวัยได้ จึงมีเหตุผลเพียงพอที่จะสามารถเชื่อได้ว่ารูปแบบการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้แบบ AFTER Model สามารถเสริมสร้างทักษะบริหารจัดการชีวิต(Executive Functions) ของเด็กปฐมวยั ไดเ้ ชน่ เดยี วกัน ผลดังกลา่ วคล้ายคลึงกับการศึกษาของอภริ กั ษ์ ตาแมก่ ๋ง (2562) เร่ืองผลของโปรแกรม I AM TAP ตอ่ ทกั ษะการคิดเชงิ บริหารของเด็กปฐมวัย ท่พี บว่าเด็กกลมุ่ ทดลองมีคา่ เฉล่ียคะแนนทักษะการคิดเชิงบริหาร หลังเข้าร่วมโปรแกรม I AM TAP สูงกว่าก่อนเข้าร่วมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.001 โปรแกรม I AM TAP เป็นโปรแกรมการใช้กิจกรรมกลุม่ สาหรบั ใชร้ ว่ มกับแผนการเรียนการสอนในห้องเรียนเด็กปฐมวัย เพ่ือส่งเสริมทักษะ หนา้ 394

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) พื้นฐานของทักษะสมอง EF ในเด็กปฐมวยั ถูกพัฒนาขน้ึ ตามแนวทาง EF Guideline เด็กในกลุ่มทดลอง จะได้เข้าร่วม กิจกรรมกลุม่ ในโปรแกรม จานวน 18 ครั้ง ครงั้ ละ 20–30 นาที 2 ครัง้ ตอ่ สปั ดาห์ เปน็ ระยะเวลา 9 สัปดาห์ ซึ่งพบว่ามี ความคล้ายคลึงกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบ AFTER Model ท่ีมีการจัดประสบการณ์อย่างต่อเนื่องและ สมา่ เสมอเป็นระยะเวลา 1 ภาคเรยี น จงึ ใหผ้ ลของการเสริมสร้างทักษะบรหิ ารจัดการชีวิตของเด็กปฐมวัยที่สูงข้ึนอย่าง ชดั เจน กล่าวโดยสรปุ ได้วา่ รูปแบบการจดั การเรยี นการสอนแบบ AFTER Model ทพี่ ัฒนาตามทฤษฎีการเรียนรู้ทาง สังคมเชิงพทุ ธปิ ๎ญญาและแนวคดิ การวางแผนยทุ ธศาสตร์ชีวติ สามารถประยกุ ตแ์ ละปรบั เพ่ือใช้ในการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะการกากับตนเอง(Self-Regulation) และทักษะบริหารจัดการชีวิต(Executive Functions) หรอื ทักษะสมอง EF สาหรับเดก็ ระดับปฐมวัยได้ ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะสาหรับครูหรือผู้สอน สาหรับการนารูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบ AFTER Model ไปใช้ 1.1 ควรศกึ ษาและทาความเข้าใจขั้นตอนและกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์เพ่ิมเติม จะช่วยให้ การเตรยี มแผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรูด้ าเนนิ ไปได้ด้วยดี 1.2 ควรจดั ทาและใช้แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามรูปแบบ AFTER Model สาหรับเด็ก ปฐมวัยอยา่ งตอ่ เนื่องเพือ่ การเสรมิ สร้างทกั ษะการกากับตนเองและทกั ษะบรหิ ารจดั การชวี ติ ใหม้ คี วามคงทน 1.3 ควรจดั สภาพแวดล้อมและบรรยากาศการเรยี นรู้ ให้มคี วามผอ่ นคลาย อานวยความสะดวกและ ส่งเสริมให้เดก็ ๆ ไดเ้ รียนรตู้ ามยทุ ธศาสตร์ที่ตนเองกาหนดให้มากท่สี ดุ 2. ข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาวจิ ยั ครง้ั ต่อไป 2.1 การศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบ AFTER Model เพื่อ เสริมสร้างทักษะบริหารจัดการชีวิต(Executive Functions) หรือทักษะสมอง EF ในกลุ่มนักเรียนที่มีความต้องการ พิเศษด้านการเรยี นรู้ 2.2 การศึกษาปจ๎ จัยหรือตัวแปรทีส่ ามารถทานายระดับทกั ษะบริการจัดการชีวิต หรือทักษะสมอง EF เอกสารอา้ งองิ EF : Executive Functions. พิมพค์ รัง้ ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : เอกพิมพ์ไท.(หน้า 17-27) คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน, สานกั งาน. ประเสริฐ ผลติ ผลการพมิ พ์. (2559). เลย้ี งลูกอยา่ งไร (2560). หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ให้ได้ EF. พิมพ์ครัง้ ท่ี 1. กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์แพรว 2560. พิมพค์ รงั้ ที่ 1. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พช์ ุมนุม เพ่อื นเดก็ . สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากัด. นวลจันทร์ จฑุ าภกั ดีกุล. (2562). การพัฒนาสมอง ด้านการคิดในเด็กปฐมวยั . ในคู่มอื พฒั นาทักษะสมอง หน้า395

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) วรรณี แกมเกตุ. (2551). วิธวี ิทยาการวจิ ัยทาง Arsal, Z. (2009). The effects of diaries on พฤตกิ รรมศาสตร์. พิมพค์ ร้ังท่ี 2. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ self-regulation strategies of preservice แหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . science teachers. International Journal of อดศิ ร บาลโสง. (2560). ยทุ ธศาสตรช์ วี ิต กาหนด Environmental & Science Education. 5(2): 85- อดตี ลิขติ อนาคต. พมิ พค์ ร้ังที่ 1. สถาบันสง่ เสรมิ และ 103. พัฒนาการเรียนร้สู เู่ ปาู หมายและการวางแผน Bandura, A. (1989). Social cognitive theory. ยทุ ธศาสตรช์ ีวิต(สพย.). บุรรี มั ย์. In R. Vasta (Ed.), Annals of child อดิศร บาลโสง และวลยั อิศรางกูร ณ อยธุ ยา. development. Vol. 6. Six theories of child (2557). การเสริมสรา้ งการกากบั ตนเองและ development (pp. 1-60). Greenwich, CT: JAI ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนกั เรยี นมัธยมศกึ ษา Press. ตอนตน้ ด้วยรปู แบบการเรยี นการสอนตามทฤษฎี Bansong, A. and Isarankura na ayudhaya, W. การเรยี นรทู้ างสงั คมเชิงพทุ ธิปญั ญาและแนวคดิ การ (2019). The Development of an วางแผนยทุ ธศาสตรช์ วี ิตแบบ AFTER Model. การ Instructional Model Based on Social ประชุมและนาเสนอผลงานวิชาการทางการศกึ ษา Cognitive Theory and Strategic Life ระดับชาติ ครงั้ ที่ 2 เรือ่ งการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา Planning to Enhance Self-regulation and ในศตวรรษที่ 21. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั Health Education Learning Achievement of วงษ์ชวลิตกลุ . Lower Secondary School Students. The 5th อดิศร บาลโสง วลัย อิศรางกูร ณ อยธุ ยา และ National & International Conference on อัมพร มา้ คนอง. (2557). การพฒั นารปู แบบการการ Curriculum & Instruction: NICCI 2019 เรียนการตามทฤษฎีการเรียนร้ทู างสังคมเชิงพุทธิ “Differentiated Curriculum and Instruction in ปญั ญาและแนวคดิ การวางแผนยุทธศาสตรช์ ีวติ เพอ่ื the 21st century”. March 4, 2019, Faculty of เสริมสรา้ งการกากับตนเองและผลสมั ฤทธ์ิทางการ Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat เรียนสุขศกึ ษาของนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ . University, Thailand. page 1-20. วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลกั สูตร Bembenutty, H. (2009). Three essential และการสอน ภาควชิ าหลกั สูตรและการสอน คณะครุ components of college teaching : ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . Achievement calibration, Self-efficacy, and Self-regulation. College Student Journal 43 อภริ กั ษ์ ตาแม่ก๋ง. (2562). ผลของโปรแกรม I AM no 2 p.562-570 TAP ต่อทกั ษะการคิดเชงิ บรหิ ารของเด็กปฐมวัย. Barkley, R. A. (2011). Executive Function: วารสารวจิ ัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ What They Are, How They Work and Why มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ: ปที ่ี 14 ฉบับที่ 1 They Involved. New York: Guilford Press. เดอื นมกราคม – มถิ ุนายน 2562 หน้า396

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) Bierman, KL, Nix RL, Greenberg, MT., Blair C, Community. The GlickSmith Group, Inc. 2915 Domitrovich, CE. (2008). Executive functions Brookwater Drive. and school readiness intervention: Impact, Haines G., (2012). Creating the People Edge. moderation, and mediation in the Head Premier Publishers and Clearinghouse. Start REDI program. Dev Psychopathol. Retrieved February 9, 2013 from 20(3):821–843. http://www.hainescentre.com Diamond A, Lee K.(2011). Interventions Janet Shapiro.(2001). Strategic Planning shown to aid executive function Toolkit. World Alliance for Citizen development in children 4 to 12 years old. Participation. Newtown, Johannesburg. South Science. 333(6045):959–964. Africa. Diamond, A. & Daphne, S. L., (2016). Kerlinger, F. & Lee, H. (2000). Foundations of Conclusions about interventions, programs, Behavioral Research. Orlando, FL: Harcourt and approaches forimproving executive College Publishers. functions that appear justified and those Kral, V. A., MacLean, Paul D. (1973). A Triune that, despite much hype, do not. Program concept of the brain and behaviour, by in Developmental Cognitive Neuroscience, Paul D. MacLean. Including Psychology of Department of Psychiatry, UBC, 2255 memory, and Sleep and dreaming; papers Wesbrook Mall, Vancouver, BC, Canada. presented at Queen's University, Kingston, Retrieved from Ontario, February 1969, by V. A. Kral [et al. http://www.elsevier.com/locate/dcn on Toronto]: Published for the Ontario Mental 03/09/2019 at 10.42 a.m. Health Foundation by Univ. of Toronto Press. Eddie L. Long. (2007). A minute for the next MacLean, P. D. (1990). The triune brain in generation : Strategic Life Plan Starter Kit. evolution: role in paleocerebral functions. Newbirth. Community & Civic Engagement. New York: Plenum Press. Gredler, M. E., & Garavalia, L. S. (2000). Mullings R. (2010). The Strategic Planning Students’ Perceptions of Their Self- Handbook. From Regulatory and Other-Directed Study http://www.theMullingsGroup.com online Strategies: A Factor Analysis. Psychological 20/10/2012 10.00 am. Reports: Volume 86, Issue, pp. 102-108 Pintrich, R. (1995). Understanding Self- Glic-Smith J. (2005). Strategic Planning for Regulation Learning. Jossey-Bass Publischers. Your Life. Washington D.C. STC. San Francisco. U.S.A. Thorell LB, Lindqvist S, Bergman Nutley S, Bohlin G, Klingberg, T. (2009). Training and หน้า397

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) แนวคดิ การบรหิ ารตามหลักคณุ ธรรมจริยธรรม Virtue and Morality Management สชุ าติ พิมพ์พันธ์ คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา [email protected] บทคัดยอ่ การบริหารตามหลกั คุณธรรมจรยิ ธรรมเปน็ หลกั การบริหารทใ่ี ชค้ ุณธรรมจริยธรรมเป็นตัวนาในการบรหิ าร โดยหลักคุณธรรมจริยธรรมนี้อาจเป็นไดท้ งั้ หลกั คุณธรรมจริยธรรมเชงิ ศาสนาหรอื เป็นหลกั คณุ ธรรมจรยิ ธรรมของสงั คม ก็ได้ จรยิ ธรรมทางศาสนาเปน็ หลกั ธรรมทีป่ รากฏในคัมภรี ์คาสอนของศาสนาในสังคมที่นบั ถือศาสนาใดศาสนาหนงึ่ นักบรหิ ารสามารถนาหลักธรรมตา่ งๆ มาประยกุ ต์ใชส้ าหรบั การบรหิ ารได้ ในขณะ เดียวกัน จริยธรรมของสังคมที่เกดิ จากแนวคดิ ของนกั ปราชญ์หรือประสบการณ์ทางจริยธรรมของมนุษยใ์ นสังคมท่สี ง่ั สมกนั มาตลอดระยะเวลายาวนาน จนตกผลึกเป็นหลกั จริยธรรมท่สี าคัญของมนษุ ย์ ก็สามารถนามาใช้เป็นหลักการบริหารและการบริหารการศึกษา คาสาคญั : การบริหาร, การศกึ ษา,คุณธรรมจริยธรรม ABSTRACT Administration according to the principles of Virtue and morality is administration using morals and ethics as principles in administration. Virtues and morality can be either moral principles based on religious teaching or social morals. Religious morality is the principle that appears in religious teachings taught by various prophets in a particular religious society. It can be adopted and applied to be the principles of Administration for administration. Social morality arising from the ideas of a philosopher or human ethics in society that has accumulated over a long time until It was crystallized as principle administration. KEYWORDS:Administration, Education, Morality ความนา แนวคิดการบริหารการศึกษาตามหลักคุณธรรมจริยธรรม เป็นหลักการบริหารองค์การแบบหน่ึงท่ีใช้หลัก คุณธรรมจริยธรรมเป็นสาคัญในการบริหารจัดการ หลักคุณธรรมจริยธรรมที่ใช้ในการบริหารน้ันมีทั้งท่ีมาจากหลัก คุณธรรมจริยธรรมเชิงศาสนาหรือเป็นหลักคุณธรรมจริยธรรมของสังคม แนวคิดการบริหารน้ีมุ่งเน้นพฤติกรรมด้าน หนา้ 398

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) บวกของมนุษย์ทสี่ ามารถจะพัฒนาตนเองไดด้ ว้ ยคณุ ธรรมจริยธรรม คอื เกดิ ความสานึกในตน (Self- awareness) และ สานกึ ในสงั คม (Social- awareness) จากการศกึ ษาแนวคดิ นี้ผู้เขยี นพบว่ามีความหลากหลายของแนวคิดและวิธีการ ในการบรหิ ารแบบนี้ ผ้เู ขียนสนใจวา่ ในแนวทางเหล่านั้นมีความเหมือนและความต่างกันอย่างไร ในบทความน้ีจึงขอ เสนอประเด็นการศึกษา 4 ประการทสี่ าคัญ คอื ความหมายของคุณธรรมจริยธรรมและคาต่างๆท่ีใช้ร่วมกัน แนวคิด การบริหารตามหลักคุณธรรมจริยธรรมของพุทธศาสนา แนวคิดการบริหารตามหลักคุณธรรมจริยธรรมของระบบ ราชการพลเรอื นของไทย(กพ.) และแนวคิดการบรหิ ารตามหลักการบรหิ ารคุณธรรมจริยธรรมของ Andrew F. Sikula ความหมายของคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคาต่างๆ ท่ใี ชร้ ว่ มกนั การศึกษาความหมายและแนวคิดเร่ืองคุณธรรมจริยธรรมเป็นเรื่องที่มีความซับซ้อน คาว่าคุณธรรม จรยิ ธรรมเป็นคาคู่คอื “คณุ ธรรม และ จริยธรรม” การให้ความหมายและศึกษาแนวคิดจึงต้องแยกกันเพื่อให้เกิดความ กระจ่างชดั นอกจากนี้มคี าท่ีมีความหมายในทางเดียวกนั ท่ีตอ้ งศึกษาในท่ีนี่ด้วยคือ ศีลธรรม จรรยาบรรณ และจริย ศาสตร์ ดังนี้ ความหมายของคณุ ธรรม คุณธรรม (Virtue) หมายถึง สภาพคุณงามความดี (ราชบัณฑิตยสถาน, 2554) หากวิเคราะห์คาแล้วจะทา ความเข้าใจเรากระจา่ งขึน้ คือ คานี้ประกอบขน้ึ จากคา “คุณ” แปลว่า ค่าหรือคุณค่า และคาว่า “ธรรม” แปลว่า สภาพ สภาวะ ส่ิงทด่ี ารงอยอู่ ย่างนั้นเป็นปกติ เมื่อรวมกันแล้วก็พอจะให้ความหมายได้ว่า คุณค่าความเป็นปกติของ บุคคล ท่ีเป็นสภาพของความดีภายในบุคคลท่ีทาให้เกิดความช่ืนชมยินดี เป็นสภาพจิตใจเต็มเป่ียมไปด้วยความสุข เป็นอุปนสิ ยั อันดีงามท่ีสัง่ สมอยใู่ นใจมายาวนาน และคุณธรรมมีส่วนสัมพันธ์กับหน้าท่ี หรือการทาตามหน้าท่ีจนเป็น นิสัย ความหมายของจริยธรรม จรยิ ธรรม(Moral) พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน (ราชบัณฑิตยสถาน, 2554) ใหค้ วามหมายว่า “ธรรม ท่เี ป็นขอ้ ประพฤตปิ ฏิบัติ, ศลี ธรรม, กฎศีลธรรม.” ตามตัวอักษรน้ีเราสามารถให้ความหมายว่า จริยธรรมจะต้องเป็น หลักการหรือหลกั ธรรมะทเี่ ป็นขอ้ ๆ ทคี่ วรปฏบิ ตั ิว่ามีอะไรบ้าง สามารถระบุออกมาเป็นข้อ ให้เห็นชัดเจนว่าเป็นหลัก ความประพฤติที่จาเป็น หรือเปน็ หลักในการดาเนินชวี ติ ในด้านตา่ งๆ เพ่ือให้เกิดความงอกงาม ประโยชน์แก่ชีวิตและ สงั คม ความหมายของศีลธรรม ศีลธรรม (Precepts/Principle) หมายถึง ความประพฤติที่ดีที่ชอบ(ราชบัณฑิตยสถาน, 2554) หาก วิเคราะห์คาก็สามารถพบคารวมกันสองคาคือ “ศีล” แปลตามศัพท์ว่า “หนัก,ปรกติ” และคาว่า “ธรรม” แปลว่า “คาส่ังสอน, หน้าที่, สภาพท่ีเป็นเช่นนั้น” เมื่อนาความหมายของสองคารวมกันแล้วก็จะได้ว่า คาส่ังสอนที่เก่ียวกับ ขอ้ กาหนดทีใ่ หง้ ดเว้นและใหป้ ระพฤติตาม ศลี ธรรมนี้จะมีความเกีย่ วขอ้ งกับคาสงั่ สอนของศาสนา การผิดศีลธรรมจะมี บทลงโทษที่ชัดเจนตามหลักศาสนากาหนด หากศาสนาท่เี ชอ่ื พระเจ้าพระเจ้าก็จะลงโทษตามความผิดในวันพิพากษา หากศาสนาท่ีไม่เช่ือพระเจ้าการกระทาของเขาก็จะลงโทษเขาเอง เช่น การดื่มน้าเมาเป็นส่ิงท่ีผิดศีลธรรมก็จะได้รับ หนา้ 399

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) โทษคือ ถ้าในศาสนาที่เชื่อพระเจ้าก็ถูกจะลงโทษจากพระเจ้าในนรก ถ้าในศาสนาที่ไม่มีพระเจ้าโทษก็คือ เมาหรือ สขุ ภาพไม่ดี หรอื สงั คมเดือดรอ้ น อย่างกรณีเมาขบั ความหมายของจรรยาบรรณ จรรยาบรรณ(Code of Conduct)หมายถงึ ประมวลความประพฤตทิ ี่ผูป้ ระกอบอาชีพการงานแต่ละกลุ่ม วชิ าชพี กาหนดข้ึนเพ่ือรกั ษาและสง่ เสรมิ เกยี รตคิ ณุ ชือ่ เสียงและฐานะของสมาชิกอาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ กไ็ ด้ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2554) จรรยาบรรณใชใ้ นความหมายที่แคบหรือระบุเฉพาะเรื่องใดเรื่องหน่ึงโดยเฉพาะหรือ อาชีพท่มี วี ชิ าชพี เฉพาะ เช่น จรรยาบรรณแพทย์ จรรยาบรรณครู จรรยาบรรณนักบัญชี จรรยาบรรณทนายความ เป็น ต้น ด้วยเหตุว่าวิชาชีพเฉพาะย่อมจะมีความสานึกเฉพาะที่มากกว่าคนอ่ืนๆ จึงต้องมีการกาหนดหลักปฏิบัติเฉพาะ เชน่ การไมเ่ ปิดเผยความลับบางอย่างของคนปุวยให้คนอื่นทราบของหมอ หรือทนายความก็ไม่ควรเช่นกัน หรือการ เอาใจใสต่ ่อการสอนวชิ าอย่างเทยี่ งตรงของครู เปน็ ต้น ความหมายของจริยศาสตร์ จรยิ ศาสตร์ (Ethics) หมายถึง ปรชั ญาสาขาหน่งึ วา่ ดว้ ยการแสวงหาความดีสูงสุดของชีวิตมนุษย์แสวงหา เกณฑใ์ นการตดั สินความประพฤตขิ องมนุษย์วา่ อย่างไหนถูกไมถ่ ูก ดีไม่ดคี วรไม่ควร และพจิ ารณาป๎ญหาเร่ืองสถานภาพ ของคณุ ค่าทางศีลธรรม(ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2554) กีรติ บญุ เจอื (2538) และเมนิ รัตน์ นวะบศุ ย์(2543) ไดใ้ หค้ วามเหน็ ในทานองเดียวกันว่า จริยศาสตร์เป็น การศึกษาเร่ืองความประพฤติดี หรือความรู้ที่ว่าด้วยการประพฤติดี ท่ีมีสาเหตุแรงจูงใจแห่งการปฏิบัติ รวม การศึกษาถึงกฎเกณฑ์ที่จะนามาใช้ตัดสินคุณค่าแบบต่างๆ จริยศาสตร์น้ีจะมีลักษณะเป็นปรัชญาที่มุ่งประเด็น การศึกษาไปที่การถกเถียงเพ่ือหาเหตุผลในสิ่งที่เรียกว่า “คุณค่าจริยะ” เช่น จริยธรรมบอกว่ามนุษย์ไม่ควรมีการ เบยี ดเบยี นเข่นฆ่ากัน แต่ในทางจริยศาสตร์ก็จะเกิดประเด็นข้ึนมาว่าทาไมจึงไม่ควรฆ่า และถ้าเกิดมีคนที่สมควรถูก ฆา่ ข้นึ มาจะทาออย่างไร เชน่ นกั โทษทไี่ ดร้ บั การตัดสินประหารชีวติ หรือการฆา่ เพราะจาเปน็ เชน่ การปูองกันตัว การ ฆา่ ในสนามรบของทหาร การฆา่ แบบน้ีจะตดั สนิ อย่างไร มีแนวทางให้เราเลอื กอย่างไร วสิน อนิ ทสระ(2518) ไดจ้ าแนกวา่ โดยเนอ้ื หาจรยิ ศาสตร์พอสรปุ ได้ 3 ด้าน คือ 1) จริยศาสตรจ์ ะหา คาตอบวา่ อะไรคืออุดมคติสงู สดุ ของชีวติ อะไรคือสง่ิ ท่ีประเสริฐสูงสดุ ทม่ี นษุ ย์ควรแสวงหา สง่ิ นั้นมีอยอู่ ย่างไร เราจะ ให้คาตอบอย่างไร 2) จรยิ ศาสตร์จะหาคาตอบวา่ อะไรคอื ส่งิ ที่ถกู ท่สี ดุ เอาอะไรมาเปน็ เกณฑ์ในการตัดสินว่าทาอย่าง น้ันวา่ ถกู หรือผิด 3)จรยิ ศาสตรจ์ ะพยายามคน้ หาวา่ อะไรคือ \"ด\"ี เราจะนิยามศพั ทว์ ่าดนี ้อี ยา่ งไร และค่าทางจริยเป็นอ ยา่ งไร สรุปได้ว่า เมื่อพิจารณาความหมายแล้วคาท้ังห้ามีส่วนที่เหมือนและต่างกัน เหมือนกันในในแง่ท่ีว่า ท้ังหมดหมายถึง สิ่งท่ีแสดงถึงคุณค่าบางอย่างของมนุษย์ ส่วนท่ีต่างกันคือแต่ละคาใช้ในจุดเน้นที่ต่างกัน ได้แก่ คณุ ธรรมเปน็ เร่ืองอุปนสิ ยั ความสานึกรับผิดชอบในบุคคลตามธรรมชาติของความเป็นมนุษย์ จริยธรรมเป็นข้อปฏิบัติ เพ่ือให้ดาเนินชีวิตให้ได้อย่างสงบ ศีลธรรมเป็นข้อปฏิบัติทางศาสนาหรือเป็นหลักหรือศิลปะในการดาเนินชีวิตที่วาง กฎเกณฑแ์ ละสอนถงึ วิธีการควบคมุ กเิ ลส จรรยาบรรณเป็นหลักปฏบิ ตั สิ าหรบั วิชาชพี และคาหลังสดุ คือ จริยศาสตร์ หมายถึงศาสตร์หรือหลักวิชาท่ีศึกษาหาเหตุผลของหลักการและอุดมคติของมนุษย์ว่ามีเหตุผลท่ีส มเหตุผลหรือไม่ หน้า400

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) เรียกว่าปรัชญาจริยธรรม(Philosophy of morality)หรือทฤษฎีทางศีลธรรม ท่ีทาหน้าที่ส่งเสริมอุดมคติและคุณค่า ทางศีลธรรม บอกถงึ ลักษณะแห่งความดี ถูกผิด พร้อมทั้งอ้างอิงถงึ ความดีอนั สูงสดุ แนวคดิ การบริหารตามหลักคณุ ธรรมจรยิ ธรรมของพทุ ธศาสนา การบรหิ ารตามหลักคณุ ธรรมจริยธรรมพุทธศาสนา หมายถึง แนวคิดการบริหารโดยการประยุกต์คาสอน ของพระพุทธเจ้าศาสดาของศาสนาพุทธในการบริหารจัดการองค์การ เพ่ือให้สาเร็จตามวัตถุประสงค์ขององค์กร โดย หลักการแลว้ หลกั ธรรมของพุทธศาสนาเนน้ การสร้างความสมดุลย์กับชีวติ ดาเนนิ ตามทางสายกลางจนเข้าสู่ภาวะธรรม ในการดาเนนิ ชีวติ เพ่ือความพ้นทุกข์หรอื เขา้ สู่ภาวะนพิ พานท่ีเกดิ ป๎ญญารแู้ จ้งเหน็ แจ้ง (พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ. ปยุตฺ โต). 2546) หลกั คาสอนสาหรับการดาเนินชีวติ อยา่ งดงั กล่าวนี้สามารถตีความประยุกต์ใช้ในการบริหารในบริบทต่างๆ ได้ และมีหลักธรรมที่กล่าวถึงอย่างเฉพาะเจาะจงเพ่ือใช้สาหรับการบริหาร (วรภาสประสมสุขและนิพนธ์กินาวงศ์. 2550., พระมหาสมบูรณ์ สุธมฺโม.2554., ชินชัย แก้วเรือน.2558., บุญทันดอกไธสง สุริยา รักษาเมืองและประเวศน์ มหารัตน์สกุล, 2560.)หรือผู้ศึกษาสามารถศึกษาคาสอนพระพุทธเจ้าแล้วจาแนกเป็นหลักการบริหารให้เห็นการ วางแผน การการจัดองค์การ การสรรหาบุคลากร การอานวยการและการกากับดูแล หรือ POSDC ตามหลักการ บรหิ ารสมยั ใหมข่ องตะวันตกกส็ ามารถทาได้ (ประยรู ธมฺมจติ โต. 2539) ในชว่ งทศวรรษท่ีผ่านมามีการศึกษาหลักการบริหารตามหลักคุณธรรมจริยธรรมพุทธศาสนามากมาย ท้ัง นกั ศกึ ษาบณั ฑติ ศกึ ษาและนักบริหาร การศกึ ษาเหล่านีม้ วี ัตถปุ ระสงค์เพือ่ ค้นหาหลักการท่พี ทุ ธศาสนาใช้บริหารตลอด สองพนั ห้ารอ้ ยปีท่ผี า่ นมา ผลการศึกษาเกดิ ข้อค้นพบทั้งทเี่ หมือนและต่างกันตามบริบทและโจทก์การศึกษาของแต่ละ คนดงั น้ี วรภาสประสมสุขและนิพนธ์กินาวงศ์ (2550) ได้ศึกษาวิเคราะห์หลักธรรมของพุทธศาสนาท่ีสอดคล้องกับ หลักการบริหารการศึกษายุคใหม่ พบว่าหลักธรรมบริหารการศึกษามีจานวนมากถึง 21 หลักธรรมโดยวิเคราะห์ สงั เคราะหด์ ว้ ยแนวคิดการบริหารแบบ “ครองตน ครองคน ครองงาน” คือ 1) หลกั ธรรมในการครองตนมี 19 หลักธรรมได้แก่กัลยาณมิตตตา, โยนิโสมนสิการ, ธรรมคุ้มครองโลก 2, ธรรมทาใหง้ าม 2 ,ธรรมมีอุปการะมาก 2, กศุ ลมลู 3, สันโดษ 3, สุจรติ 3, อธปิ ไตย 3, ฆราวาสธรรม 4, พรหมวิหาร 4, สังคหะวัตถุ 4, อธิษฐานธรรม 4, เบญจธรรม, พละ 5 ,กัลยาณมิตรธรรม 7, สัปปุริสธรรม 7, อริยทรัพย์ 7 และ ทศพิธราชธรรม 2) หลักธรรมในการครองคนมี 15 หลักธรรม ได้แก่กัลยาณมิตตตามโยนิโสมนสิการ,ธรรมคุ้มครองโลก 2, ธรรมทาให้งาม 2, กุศลมลู 3, สุจรติ 3, อธิปไตย 3, ฆราวาสธรรม 4, พรหมวิหาร 4,สังคหะวัตถุ 4, กัลยาณมิตรธรรม 7, สปั ปรุ ิสธรรม 7, อปริหานยิ ธรรม 7, อริยทรัพย์ 7 และทศพธิ ราชธรรม 3) หลักธรรมในการครองงานมี 10 หลกั ธรรมได้แก่กลั ยาณมิตตตา, โยนโิ สมนสกิ าร,ธรรมทาใหง้ าม 2, ธรรมมี อปุ การะมาก 2, สจุ รติ 3, อทิ ธิบาท 4, พละ 5, ฆราวาสธรรม 4, สงั คหะวตั ถุ 4 และสปั ปุรสิ ธรรม 7 พระมหาสมบูรณ์ สุธมโฺ ม (2554) ได้ศึกษาเฉพาะกรณีคณุ ลักษณะที่สาคัญของนักบริหารพบว่า นักบริหาร จะทาหน้าท่ีสาเร็จลุล่วงไปด้วยดีจะต้องมีคุณลักษณะ3ประการ คือ ๑) จักขุมาหมายถึงมีป๎ญญามองการณ์กับ ภาษาองั กฤษว่า Conceptual skill ๒) วิธูโรหมายถึงจัดการธุระได้ดีมีความเช่ียวชาญเฉพาะด้านTechnical Skill 3) นิสสยสัมป๎นโนหมายถึงการเป็นคนมีมนุษยสัมพันธ์ดีตรงกับภาษาอังกฤษว่า Human Relation skill และเสนอว่า หนา้ 401

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) คณุ ธรรมจริยธรรมของผู้บริหารการศึกษาหลักธรรมสาคัญ คือ คือ พรหมวิหารธรรม สัปปุริสธรรม สังคหวัตถุ อคติ สงั คหวตั ถุ ทศพิราชธรรม ธรี พงษ์ บุญรกั ษาและนวพันธ์ วิกลาง (2559) ได้ศึกษาแนวทางเพ่ือเพิ่มสมรรถนะการบริหารองค์กรด้วย หลกั ธรรมของพทุ ธศาสนาพบว่า หลักธรรมในการบริหารเพื่อเพ่ิมสมรรถนะในการบริหารองค์กรที่สาคัญ คือ พรหม วิหารธรรม สัปปรุ สิ ธรรม อิทธบิ าท สังคหวัตถุ โดยแสดงให้เห็นว่าหลักธรรมเหลา่ นที้ าให้เกดิ ผลสัมฤทธิ์ทางการบริหาร อยา่ งไร เชน่ พรหมวิหาร 4 เป็นเรือ่ งภาวะผู้นาดา้ นจิตใจ ก่อให้เกิดความศรัทธาเช่ือมั่นขององค์กร บุคลาการพร้อม ท่มุ เทกับการทางาน บญุ ทันดอกไธสงสรุ ิยารกั ษาเมอื งและประเวศน์มหารัตน์สกุล (2560) ได้ศึกษาการบูรณาการพุทธธรรมเพื่อ นาไปใช้ในการบริหารงานภาครัฐอย่างลุ่มลึกในการศึกษาระดับสูงของหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยเพ่ือ เตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน พบว่ามีหลักเพ่ือการบริหารงานภาครัฐ 9 ประการคือ 1) พุทธบริหารที่มี เปูาหมายเป็นอุดมการณ์ใช้หลักความผาสุขของประชาชน 2) พุทธองค์การได้แก่หลักการทางานร่วมกัน 3) การ วางแผนเชิงพทุ ธโดยยึดหลักอริยสจั 4) ความเช่ยี วชาญเชงิ พทุ ธใช้หลกั เอตทัคคะ 5) การบรหิ ารความขดั แย้งเชิงพุทธใช้ หลกั อปริหาริยธรรม 6) พุทธบริการโดยใช้หลักสังคหวัตถุ 4 7) พุทธจริยธรรมาภิบาลใช้หลักเบญจศีลเบญจธรรม 8) พทุ ธสปั ปายะใชห้ ลกั ปฏริ ปู เทศ 9) สมั ฤทธิผลเชงิ พุทธใช้หลกั สนั ตสิ ุข ไชยสิทธิ์อุดมโชคนามอ่อนและคณะ(2561) ได้ศึกษาเร่ืองการบริหารการพัฒนาเชิงพุทธโดยเน้นที่การค้นหา หลักธรรมเพื่อพัฒนาการบริหารในระบบประชาธิปไตย พบว่ามีหลักธรรมสาคัญ คือ หลักอธิปไตย 3ได้แก่ 1) อั ต ต า ธิ ป ไ ต ย ห ม า ย ถึ ง ก า ร ถื อ ต น เ ป็ น ใ ห ญ่ คื อ ถื อ เ อ า ต น เ อ ง เ ป็ น ศู น ย์ ก ล า ง ใ น ก า ร ตั ด สิ น ใ จ 2) โลกาธิปไตยหมายถึงการถือความนิยมของชาวโลกเป็นใหญ่หว่ันไหวไปตามเสียงนินทาและสรรเสริญ 3) ธรรมาธปิ ไตยหมายถงึ การถือธรรมเป็นใหญ่คือถือหลักการความจรงิ ความถูกตอ้ งความดงี ามเหตุผลเปน็ ใหญ่ เมื่อพิจ ารณา กา รศึกษา เหล่า น้ีแล้วจ ะเห็นว่า กา รศึกษา หลักการและวิธีกา รบริหารตามหลักคุณธรรม จรยิ ธรรมของศาสนาพุทธทกี่ ลา่ วมาจะเนน้ การพัฒนาภาวะผูน้ าของบคุ คล ทัง้ น้ีเปน็ เพราะหลักการพุทธศาสนาเห็นว่า การพฒั นาคนเปน็ สิง่ สาคัญ (พระพรหมคณุ าภรณ์(ป.อ. ปยุตฺโต). 2546) หลักธรรมมากมายท่ีมีผู้คนพบและอธิบายการ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการบรหิ ารที่สาคัญ คือ พรหมวิหารธรรม สัปปุริสธรรม สังคหวัตถุ อคติ สังคหวัตถุ ทศพิราชธรรม มี คาอธบิ ายและองค์ประกอบตามท่พี ระธรรมปฎิ ก(ป.อ. ปยตุ ฺโต) ไดแ้ สดงจัดหมวดหม่ไู ว้ ดังน้ี พรหมวหิ ารธรรม พรหมวิหารธรรม แปลว่า หลักธรรมสาหรับผู้ใหญ่ เป็นหลกั สาหรบั ผู้บรหิ ารที่ควรถือกากบั ตนเองเป็นนติ ย์ มี 4 ประการ หรอื นยิ มเรยี กว่า พรหมวหิ าร 4 คือ 1. เมตตา ความรกั ใคร่ ปราถนาจะใหผ้ ู้อ่นื มคี วามสุข 2. กรุณา ความสงสาร คดิ ช่วยเหลอื ผอู้ น่ื ใหพ้ ้นทกุ ข์ 3. มทุ ติ า ความพลอยยินดีเมื่อผ้อู ืน่ ไดด้ ีมีสุข 4. อุเบกขา วางตนเปน็ กลาง ไม่ดใี จ ไม่เสียใจ เมอ่ื ผู้อ่ืนถึงวบิ ัติ มที กุ ข์ อคติ หน้า402

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) อคติ แปลวา่ ความลาเอยี ง หมายถงึ ส่ิงท่จี ะทาให้เสยี ความเทีย่ งธรรม ท่ผี บู้ ริหารตอ้ งละเวน้ หา้ มกระทา มี 4 ประการ 1. ฉันทาคติ ลาเอียงเพราะรัก 2. โทสาคติ ลาเอยี งเพราะโกรธ 3. โมหาคติ ลาเอยี งเพราะเขลา 4. ภยาคติ ลาเอียงเพราะกลวั สังคหวัตถุ สงั คหวัตถุแปลวา่ สิ่งท่คี วรใหแ้ ก่กันและกนั หมายถงึ หลกั ยดึ เหนี่ยวน้าใจในการอย่รู ว่ มกัน หรอื บรหิ าร เพื่อความกา้ วไปสคู่ วามเจรญิ รุ่งเรอื งมี 4 ประการ คอื 1. ทานแบง่ ปน๎ สง่ิ ของทค่ี วรใหแ้ ก่กนั 2. ปิยวาจา เจรจาดว้ ยถ้อยคาไพเราะอ่อนหวาน 3. อตั ถจรยิ า ประพฤตใิ นส่ิงทีเ่ ป็นประโยชน์ 4. สมานนัตตตา วางตนใหเ้ หมาะสมกบั ฐานะของตน ทศพธิ ราชธรรม ทศพิธราชธรรม แปลว่า ธรรมของพระราชาสบิ ประการ หมายถึง หลกั ธรรมสาหรบั การบรหิ ารช้ันสูง 10 ประการ คอื 1. ทานคือ การให้ป๎น ซึง่ อาจเปน็ การใหเ้ พ่อื บชู าคณุ หรือใหเ้ พอื่ เปน็ การอนเุ คราะห์ 2. ศลี คือ ไดแ้ ก่การสารวม กาย วาจา ใจ ใหเ้ รียบรอ้ ยสะอาดดงี าม 3. บริจาค คอื การให้ทรัพย์สงิ่ ของเพอื่ เป็นการชว่ ยเหลือหรอื ความทกุ ข์ยากเดอื ดร้อน 4. อาชวะคอื ความมีอธั ยาศยั ซื่อตรงม่ันในความสุจรติ ธรรม 5. มัทวะคอื ความมอี ัธยาศัยดงี าม ละมนุ ละไม อ่อนโยน สุภาพ 6. ตบะคอื การบาเพ็ญเพียรเพอื่ ขจัดหรอื ทาลายอกุศลกรรมให้สนิ้ สูญ 7. อโกรธะ คือ ความสามารถระงับหรือขจัดเสียได้ซ่งึ ความโกรธ 8. อวหิ งิ สา คือ การไมเ่ บยี ดเบยี นคนอื่น 9. ขนั ติ คือ ความอดกล้ันไมป่ ลอ่ ยกาย วาจา ใจ ตามอารมณ์หรือกิเลสทีเ่ กดิ มีข้นึ น้ัน 10. อวโิ รธนะ คือ การธารงคร์ กั ษาไว้ซ่ึงความยตุ ธิ รรม กัลยาณมติ ตธรรม กัลยาณมติ ตธรรมแปลว่า คุณธรรมสาหรบั การเป็นมิตรทด่ี ี หลักการนี้เป็นหลกั สาหรบั การกาหนด คุณลกั ษณะของผบู้ รหิ ารตามตามแนวทางพุทธศาสนา มหี ลักการว่าผู้บรหิ ารตอ้ งมีความเปน็ เพอื่ นกับผู้ร่วมงาน ความเป็นเพ่ือนสามารถท่จี ะทาให้เกิดบุคลกิ ลักษณะผ้บู ริหารท่ดี ี 7 ประการคอื 1. ปโยเปนผูนารัก คอื เปนผูมีจติ ใจประกอบดวยเมตากรณุ าพรหมวิหาร หน้า403

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 2. ครุ เป็นผูนาเคารพชู า คอื เปน็ ผู้ท่ีสามารถเป็นทพ่ี ่ึงอาศัยเป็นพึง่ ทางใจผูใ้ นบังคบั บญั ชา 3. ภาวนโี ยเปนผูนานับถือนาเจรญิ ใจ เปนผูไดฝกฝนอบรมตนมาดแี ลวควรแกการยอมรบั และยกยองนบั ถือเอาเปนเยี่ยงอยางได 4. วตั ตาเปนผูรูจักพดู จาโดยมีเหตุผลและหลักการรูจกั ช้ีแจงแนะนาใหผ้ ู้อื่นเขาใจดี เป็นทป่ี รกึ ษาทดี่ ี 5. วจนักขโมเปนผูอดทนตอ่ ถอยคาทล่ี วงเกินวิพากษวิจารณ์ซกั ถามหรือขอปรกึ ษาหารือขอใหคา แนะนาต างๆ ได 6. คมั ภีรัณจะกะถงั กัตตาเปน็ ผู้สามารถแถลงช้ีแจงเร่ืองทลี่ ึกซงึ้ หรือเรือ่ งย่งุ ยากซบั ซอนใหเขาใจอย่าง ถกู ต้องและตรงประเด็นได 7. โนจฏั ฐาเนนโิ ยชะเย เป็นผไู้ มชักนาในส่งิ ทีม่ ิใช่ฐานะ คือไมชกั จูงไปในทางเสอื่ มหรือไปในทางที่เหลวไหล ไรสาระ หรือที่เปนโทษเปนความทุกขเดือดรอน ปรโตโฆษะและโยนโิ สมนสกิ าร ปรโตโฆษะและโยนิโสมนสิการหมายถึง การรับฟ๎งและการไตร่ตอง หลักคุณธรรมมีสองเรื่องด้วยกันและ ควรมาคู่กนั เสมอไมค่ วรแยกจากันหลกั ปรโตโฆษะและโยนิโสมนสิการนี้เป็นการกาหนดป๎จจัยเก้ือหนุนการเสริมสร้าง คณุ ธรรมจรยิ ธรรมในพฒั นาตนเองในการบรหิ ารของผูบ้ รหิ าร พระพทุ ธศาสนาได้แสดงหลักการเร่ืองปรโตโฆษะและ โยนโิ สมนสกิ ารว่ามีความสาคัญและสามารถเป็นหลักจริยธรรมเพ่ือการบริหาร (พระธรรมปิฎก(ป.อ. ปยุตฺโต). 2538) มีรายละเอียดหลกั การดงั นี้ 1. ปรโตโฆษะแปลว่าเสยี งจากส่ิงอนื่ หมายถึง การยนิ ดรี บั ฟง๎ คาติชมจากผ้อู ่นื เพ่ือเราจะได้ปรับปรุงตัวเองให้ มคี วามบกพร่องน้อยลงการเป็นผู้บริหารต้องฟ๎งมากว่าพูด โดยปกตินั้นมนุษย์เราจะถือความเห็นของตัวเองเป็นหลัก สาคัญส่ิงใดทีไ่ มส่ อดคลอ้ งกับความคดิ เห็นของตวั เองเรามักจะดือ้ ร้นั ทจ่ี ะรับฟ๎งการรับฟ๎งผู้อื่นจึงถือเป็นเร่ืองสาคัญของ มนุษย์กล่าวถึงหลักในมงคล 38 ได้กล่าวถึงไว้ในข้อ 28 ว่าการับฟ๎งผู้อ่ืนถือเป็นมงคลอย่างหน่ึงและที่กล่าวไว้โดย ออ้ มในขอ้ 7 วา่ การเปน็ พหูสูตรคอื เป็นผ้ทู ไี่ ดย้ ินได้ฟง๎ มากศกึ ษามากเปน็ มงคลและข้อ 26 ก็เช่นกันกล่าวไว้โดยอ้อมว่า การฟ๎งธรรมตามโอกาสถอื เป็นมงคลอย่างหนง่ึ ปรโตโฆสะเป็นป๎จจัยส่งเสริมจากภายนอกท่ีสาคัญ หลักการน้ีเน้นว่าผู้บริหารต้องรู้จักรับฟ๎งจากผู้เป็น กัลยาณมิตรจะสามารถส่งเสริมให้เกิดคุณธรรมจริยธรรมกับตนเองของในฐานะผู้บริหาร หลักเรื่องกัลยาณมิตรเป็น จุดเรม่ิ ตน้ ของการเสริมสรา้ งจรยิ ธรรมให้เกดิ เป็นหลกั ทเี่ หน็ วา่ สิ่งแวดมีผลต่อการเสรมิ สรา้ งคุณธรรมจริยธรรม 2. โยนโิ สมนสิการแปลว่าการกระทาในใจโดยแยบคายหมายถึงวิธกี ารใช้ความคิดท่ีถูกวิธีจนทาให้สามารถ มองเห็นสิ่งต่างๆไดอ้ ยา่ งแจ่มแจ้งตามสภาวะแห่งเหตุป๎จจัย โยนิโสมนสิการจัดเป็นป๎จจัยภายในที่เป็นระบบความคิด ไตร่ตรองที่เป็นไปเพ่ือให้เกิดป๎ญญาเข้าใจแจ่มแจ้งในเร่ืองต่างๆ กระบวนการคิดแบบโยนิโสมนสิการนี้จะทาให้เรา ทราบอย่างแน่ชดั ว่าสง่ิ ทีเ่ ราไดย้ นิ ไดฟ้ ง๎ มาจากผูอ้ ่ืนและสิ่งท่เี รามองเห็นรอบๆตวั เราเป็นอย่างไรการคดิ ที่ถูกวิธีจึงเป็นส่ิง สาคัญมาก ความสาคญั ของโยนิโสมนสิการ คอื มันจาเปน็ ตอ่ กระบวนการคิดที่ถกู ต้อง การคิดท่ีถูกต้องจะทาให้ได้ ความรทู้ ถ่ี กู ต้อง ลักษณะการคดิ ที่ถกู ตอ้ งตามแบบโยนโิ สมนสิการมี 4 ประการ 1)อปุ ายมนสิการแปลวา่ คิดถกู วิธี หมายถึง คิดถูกตอ้ งตามกระบวนเหตุปจ๎ จัยสอดคลอ้ งกบั ความจรงิ หนา้ 404

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 2) ปถมมนสกิ ารแปลวา่ คดิ ถูกทางหมายถึง คิดได้อย่างต่อเน่ืองมีระบบระเบียบไม่ยุ่งเหยิงสับสน และ คดิ เข้าหาแนวทางถูกตอ้ ง 3) การณมนสกิ ารแปลวา่ คิดตามเหตุ หมายถึง คิดค้นตามแนวความสัมพันธ์แห่งเหตุ ไม่ออกนอกจาก เหตุ คดิ สืบสาวหาตน้ เคา้ ท่ีเกดิ 4) อปุ ปาทกมนสกิ าร แปลวา่ คดิ ให้เกิดผลหมายถึง คิดเพอ่ื ให้เกดิ มรรคผลตามที่พึงประสงค์ ที่เป็นกุศล ธรรม สรา้ งสรรค์ไมท่ าลาย ไม่เปน็ อุปสรรคตอ่ อกศุ ลธรรม เมอ่ื มโี ยนโิ สมนสิการแลว้ จะทาให้เกิดความรแู้ จ้งตามส่ิงท่เี ป็นจริงสามารถเหน็ ภาพรวมทง้ั หมดของเร่ือนั้นไม่ มองเห็นเฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งมุมใดมุมหน่ึงซ่ึงจะทาให้เราไม่สามารถแก้ป๎ญหาเม่ือมี ความคิดท่ีแยบคายเช่นน้ีแล้ว ผู้บริหารกจ็ ะมีคณุ สมบตั ิ 3 ประการคอื 1) มคี วามสามารถในการวิเคราะห์คือสามารถแยกแยะส่วนประกอบของสิ่งต่างๆได้มองเห็นส่วนที่ดีท่ี เสียและท่สี ่งเสรมิ กนั 2) มคี วามสามารถในการสังเคราะห์คือสามารถเช่ือมโยงสิ่งที่เกื้อหนุนกันเข้าด้วยกันสรุปรวบยอดส่ิงที่ เป็นประเภทเดียวกนั เกดิ การการเช่ือมโยงเป็นระบบ 3) สามารถนาไปใช้ในเชงิ ปฏบิ ัตไิ ด้อยา่ งถูกตอ้ ง กลา่ วโดยสรุป หลกั การบริหารตามหลักคณุ ธรรมจริยธรรมพุทธศาสนาเห็นความสาคัญของภาวะผู้นาในตัว มนุษย์ในฐานะที่เป็นส่วนสาคัญที่สุดของการการบริหาร จากก็เป็นเทคนิคการบริหารโดยหลักธรรมตามๆ ท่ี สอดคลอ้ งกับองคก์ ร และระบถุ งึ ป๎จจยั ภายในและปจ๎ จยั ภายนอกท่จี ะทาให้การบรหิ ารดาเนินไปได้ แนวคดิ การบรหิ ารตามหลักคณุ ธรรมจริยธรรมของระบบข้าราชการพลเรอื น(กพ.)ของไทย การบรหิ ารตามหลักคุณธรรมจริยธรรมของระบบราชการพลเรือนของไทย(กพ.) คือ หลักการบริหารด้วย วิธีการกาหนดมาตรฐานทางจริยธรรมเป็นแนวทางในการบริหาร โดยสานักงานข้าราชการพลเรือน(กพ.) ได้เสนอ พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 เป็นหลักในการบริหารท่ีประกอบด้วยหลักการสาคัญคือ มาตรฐานทางจริยธรรม คณะกรรมการมาตรฐานทางจรยิ ธรรม ประมวลจริยธรรมของหนว่ ยงาน การรักษาจริยธรรม ของเจา้ หนา้ ท่ขี องรฐั สานกั งานกพ.( 2562) มาตรฐานทางจริยธรรม ตามพระราชบญั ญตั มิ าตรฐานทางจริยธรรมนี้ ไดก้ าหนดมาตรฐานทางจริยธรรมไวใ้ นมาตรา 5 โดยวาง หลักไวว้ า่ การประพฤติปฏบิ ตั ิอย่างมีคุณธรรม ของเจา้ หนา้ ทขี องรฐั จะต้องประกอบดว้ ย 1. ยดึ มน่ั ในสถาบนั หลกั ของประเทศ อันไดแ้ ก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และ การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข 2. ซื่อสัตย์สุจรติ มีจติ สานกึ ที่ดี และรับผิดชอบต่อหน้าที่ 3. กล้าตดั สินใจและกระทาในส่ิงทีถ่ ูกต้องชอบธรรม 4. คดิ ถึงประโยชนส์ ว่ นรวมมากกว่าประโยชน์สว่ นตวั และมีจิตสาธารณะ 5. ม่งุ ผลสัมฤทธ์ิของงาน 6. ปฏบิ ตั ิหน้าทีอยา่ งเปน็ ธรรมและไม่เลอื กปฏบิ ัติ หน้า405

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 7 ดารงตนเปน็ แบบอย่างทด่ี ีและรักษาภาพลักษณ์ของทางราชการ การจัดทาประมวลจรยิ ธรรมของหนว่ ยงาน หน่วยงานของรัฐจะต้องกาหนดเป็นหลักเกณฑ์มาตรฐานทางจริยธรรมเป็นของตนเองอีก โดยใช้มาตรฐาน ตามตามพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรมน้ี และให้ใช้ประมวลจริยธรรมท่ีจัดทาน้ันเป็นหลักสาคัญในการ ปฏิบตั ติ นของเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ สาหรบั การพจิ ารณาเกีย่ วกบั สภาพคุณงามความดีท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐต้องยึดถือสาหรับ การปฏิบัติงาน การตัดสนิ ความถกู ผิด การปฏิบตั ทิ ่ีควรกระทาหรอื ไม่ควรกระทา ตลอดจนการดารงตนในการกระทา ความดีและละเว้นความชั่ว กฎหมายนี้ได้กาหนดให้มีองค์กรกลางเพ่ือการบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐ และให้องค์กร เหล่านัน้ มีหน้าทจ่ี ดั ทาประมวลจรยิ ธรรมสาหรบั เจา้ หนา้ ท่ขี องรัฐทอ่ี ยู่ในความรบั ผิดชอบ องคก์ รเหล่านั้น คือ 1. คณะรัฐมนตรี สาหรบั ข้าราชการการเมือง 2. สภากลาโหม สาหรับข้าราชการทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหม 3. สานักงานคณะกรรมการนโยบายรฐั วิสาหกจิ สาหรบั ผ้บู รหิ ารและพนกั งานรฐั วสิ าหกิจ 4. คณะกรรมการพฒั นาและส่งเสริมองค์การมหาชน สาหรับผบู้ ริหาร เจา้ หนา้ ที่ คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ตามพระราชบัญญัตมิ าตรฐานทางจริยธรรมน้ี ให้มีคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมคณะหนง่ึ ใน มาตรา 8 เรียกโดยย่อวา่ “ก.ม.จ.” ประกอบด้วย 1. นายกรัฐมนตรีหรอื รองนายกรฐั มนตรีซงึ่ นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เปน็ ประธานกรรมการ 2. ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนท่ไี ดร้ ับมอบหมาย เป็นรองประธานกรรมการ 3. กรรมการโดยตาแหนง่ จานวนหา้ คน ไดแ้ ก่ ผแู้ ทนทไ่ี ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการ ขา้ ราชการพล เรอื นในสถาบนั อุดมศึกษา คณะกรรมการข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา คณะกรรมการขา้ ราชการตารวจ คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น และ สภากลาโหม อย่างละหนง่ึ คน อานาจหนา้ ทข่ี องกรรมการคอื เสนอแนะและใหค้ าปรึกษาคณะรฐั มนตรกี าหนดแนวทางหรอื มาตรการใน การขับเคล่อื นสง่ เสรมิ และพัฒนาเพอ่ื เสรมิ สร้างประสทิ ธภิ าพให้เจ้าหน้าท่ีของรฐั มคี วามรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกบั มาตรฐานทางจรยิ ธรรมและยดึ ถือแนวทางปฏบิ ตั ติ ามประมวลจริยธรรมและกากับตดิ ตามประเมนิ ผล การรกั ษาจรยิ ธรรมของเจ้าหน้าท่ีของรฐั หนว่ ยงานต้องดาเนินการเพอื่ ใหเ้ จ้าหนา้ ทไ่ี ดร้ ักษาจริยธรรม โดยกาหนดไวใ้ นมาตราที่ 19 ดังน้ี 1. กาหนดให้มีผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาจริยธรรมประจาหน่วยงานของรัฐ และกาหนดให้ผู้มี ผ้รู บั ผดิ ชอบ 2. การส่งเสริม สนบั สนนุ ใหค้ วามรู้ฝึกอบรม และพัฒนาเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ในหน่วยงานของรัฐ และจัด ใหม้ มี าตรการและกลไกที่มีประสทิ ธิภาพเพื่อเสรมิ สร้างใหม้ ีการปฏิบัติ ตามประมวลจริยธรรม รวมทั้งกาหนดกลไกใน การส่งเสรมิ ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบพฤติกรรม ของเจ้าหนา้ ทขี่ องรฐั หน้า406

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 3. ทกุ สิน้ ปงี บประมาณ ให้หน่วยงานจดั ทารายงานประจาปีผา่ นองคก์ รกลางบรหิ ารงานบคุ คลหรือองค์กรท่ี รับผดิ ชอบ หลักการบรหิ ารตามหลกั คุณธรรมจริยธรรมของระบบขา้ ราชการพลเรอื นของไทย(กพ.)ถือว่าเป็นนวัตกรรม การบรหิ ารอันหนงึ่ ท่ีภาครัฐของประเทศไทยได้สรา้ งระบบขึน้ มาเพือ่ ให้เกดิ ประสิทธิภาพในการบรหิ ารภาครัฐ โดยเน้น การออกเปน็ กฎหมายกาหนดหลกั การและวิธีการตา่ งๆ แนวคดิ การบรหิ ารตามหลกั คณุ ธรรมจรยิ ธรรมของ Andrew F. Sikula ตามแนวคิดของ Andrew F. Sikula (1989) บริหารตามหลักคุณธรรมจริยธรรมของ หมายถึง การจัดการ ทางจริยธรรมเพอื่ ความเป็นเลศิ ทางจรยิ ธรรม โดยการปฏิบตั ิงานและการดาเนินการต้องดาเนินตามหลักการศีลธรรม การบริหารตามแนวคิดของ Andrew F. Sikulaใช้หลักการคิดทางด้านพฤติกรรมการ บริหารของผู้บริหาร โดยมี แนวคิดว่ามนุษย์ท่ีเป็นผู้บริหารมีพฤติกรรม 3 คือ การบริหารแบบผิดจริยธรรม (immoral management), การ บรหิ ารแบบไร้จริยธรรม (amoral management) และการบริหารแบบมีจริยธรรม (moralmanagement) การทา ความเขา้ ใจหลักการบรหิ ารนจ้ี ึงต้องทาความเข้าใจผ่านพฤติกรรมการบรหิ ารสามแบบน้ี จากนั้นจึงกาหนดหลักกลยทุ ธ์ และวิธีการบริหารเพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพโดยพิจารณาถึงด้านผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และความรับผิดชอบต่อสังคม (Carroll, Archie & Meeks, Michael. (1999) มีคาอธบิ ายดังนี้ การบรหิ ารแบบผิดจริยธรรม (Immoral Management) การบริหารแบบผิดจริยธรรมหมายถึง รูปแบบการบริหารจัดการที่ผิดหลักการทางจริยธรรมหรือศีลธรรม รวมถึงการการต่อต้านส่ิงที่เป็นจริยธรรม พฤติการณ์ความเป็นผู้นาจะมีท่าทีหรือวิธีการที่ปราศจากหลักการและ ศลี ธรรม และมีความกระตือรือร้นในการบริหารจัดการที่ผิดศีลธรรม การตัดสินใจและพฤติกรรมการกระทามักจะ ขดั แยง้ กบั บรรทัดฐานทางจริยธรรมหรือหลกั การทางจรยิ ธรรมเสมอ การกระทาของผู้บริหารเกิดจากแรงจูงใจที่เป็นก ความเห็นแก่ตัว พวกพ้องหรือเห็นแก่บริษัทของพวกเขาเองเท่านั้น ผู้บริหารในระบบนี้จะไม่สนใจว่าอะไรคือความ ถูกต้องทางจริยธรรมทางการบริหาร เขาจะคานึงถึงเร่ืองกาไร ไม่สนใจผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจะร้องเรียนหรือไม่ (Carroll, Archie & Meeks, Michael. 1999,Archie B. Carroll. 2001) การบริหารแบบไรจ้ รยิ ธรรม (Amoral Management) การบรหิ ารแบบไร้จริยธรรม คือการบริหารจัดการที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานของพฤติกรรมจริยธรรมหรือ จรรยาบรรณวิชาชีพ การจัดการท่ีไร้ศีลธรรมไม่ได้เป็นส่ิงท่ีถูกต้องหรือผิดศีลธรรม ผู้บริหารแบบนี้มุ่งม่ันที่บริหาร เพียงเพื่อมันเปน็ ไปตามบรรทัดฐานทางจริยธรรม เป็นมืออาชีพ หรือมันเป็นตามกฎหมายและกลยุทธ์การดาเนินงาน ท่ัวไปผ้บู ริหารแบบนีร้ บั รูก้ ฎหมายวา่ เปน็ จรยิ ธรรมขน้ั ต่าและเขาก็มุง่ ม่ันทีจ่ ะดาเนินงานในระดบั ท่ีสูงกว่าท่ีเป็นอยู่ แต่ การพฤตกิ ารณ์การบริหารของเขาขาดองค์ประกอบทางศีลธรรม พฤตกิ ารณ์ทีก่ ารขาดองค์ประกอบทางศีลธรรมมีสอง ลักษณะคือ คือ1) พฤติกรรมไร้ศีลธรรมโดยไม่เจตนาและ 2)พฤติกรรมไร้จริยธรรมโดยเจตนา (Archie B. Carroll. 2001) ดงั นี้ หน้า407

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 1) พฤติกรรมไร้ศลี ธรรมโดยไมเ่ จตนา คอื ลักษณะทแ่ี สดงว่าผู้บริหารมีพฤติกรรมท่ีไม่เอาใจใส่และไม่สนใจ การกระทาท่ีเกี่ยวข้องกับความคิดทางศีลธรรม หรือไม่ใช้ผลกระทบในการพิจารณาการปูองกัน พฤติกรรมทาง ศีลธรรม พฤตกิ ารณแ์ บบนี้ปรากฏในสถานการณท์ ่ผี ูบ้ ริหารไมต่ ้องคดิ ถึงจรยิ ธรรม หรอื ไมไ่ ดค้ านึงถึงป๎จจยั ข้อพิจารณา เชิงจรยิ ธรรมในการตดั สินใจทางการบริหาร 2) พฤติกรรมไรจ้ ริยธรรมโดยเจตนา มีลกั ษณะท่ีมกั เปน็ พฤติการณท์ ร่ี ับรู้ว่าอาจมีการจัดการด้านจริยธรรม แต่มกั จะพยายามหลีกเลี่ยงไปเปน็ อย่างอน่ื โดยถอื ว่าไม่ผิดในทางธรุ กิจ เช่น การยอมรับคณุ ค่าแบบ \"กฎของธุรกิจ\" ท่ี ผู้บรหิ ารทไ่ี ร้ศลี ธรรมจงใจทามันข้นึ มาเอง การบริหารแบบมจี รยิ ธรรม (Moral Management) การบริหารแบบมีจริยธรรม หมายถึง การจัดการทางจริยธรรมที่เป็นไปตามมาตรฐานของพฤติกรรม จริยธรรมหรือจรรยาบรรณวิชาชีพ ผู้บริหารมุ่งมั่นท่ีจะมีการจัดการจริยธรรมท่ีเป็นไปตามบรรทัดฐานทางจริยธรรม และความเป็นมอื อาชีพท่มี ีมาตรฐาน ผูบ้ รหิ ารมีแรงจูงใจการในการปฏิบัติไปส่เู ปูาหมายจากกฎหมายและกลยุทธ์การ ดาเนินงานทั่วไปและต้องดาเนินการให้สูงกว่า(Archie B. Carroll. 2001) ผู้บริหารแบบนี้จะมีลักษณะเป็นผู้นาทาง ศีลธรรมท่ีมุ่งม่ันที่จะประสบความสาเร็จ แต่ความสาเร็จต้องอยู่ภายในขอบเขตของศีลธรรมท่ีดีเท่านั้น คือ ความ ยุติธรรม ความเป็นธรรม และกระบวนการที่เหมาะสม ผู้บริหารแบบน้ีมีความเป็นผู้นาทางจริยธรรมสูง มีความ เชื่อม่ันต่อจริยธรรมและกฎหมายท้ังตามตัวอักษรและจิตวิญญาณของกฎหมาย โดยที่กฎหมายถูกมองว่าเป็น พฤติกรรมทางจริยธรรมในระดบั ท่ีน้อยท่ีสดุ ผ้นู าทางศีลธรรมชอบที่จะดาเนินการเหนือส่ิงท่ีกฎหมายกาหนด กลยุทธ์ แบบน้ีของการบริหารเรยี กวา่ “กลยุทธ์แหง่ ความซื่อสัตย์”(integrity strategy) (Archie B. Carroll,2003). ภาพที่ 1 ทมี่ าภาพ: http://ibsiblog.wpengine.com/wp-content/uploads/2015/01/strand-image-amoral-1.jpg สืบคน้ เมือ 10 ธันวาคม 2562 กลยุทธการบริหารแบบมีจริยธรรม หน้า408

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) กลยทุ ธการบริหารแบบมจี ริยธรรมมกี ลยุทธ์สาคัญ 2 ประการ คือ การเพ่ิมพูนพฤติกรรมจริยธรรม(moral maximization) และ การสรา้ งเง่อื นไขวฒั นธรรมองค์กร (Culture Condition) (Sikula, 1992) มีรายละเอียดดงั นี้ 1) การเพิ่มพูนพฤติกรรมจริยธรรม(moral maximization ) หมายถึง การแสดงให้คนในองค์กร ประจกั ษ์แจ้งว่ามีคุณธรรมสูงสุดอันเป็นผลมาจากการไดส้ ทิ ธิสว่ นบุคคลและสิทธสิ ว่ นรวม,เสรีภาพ,ความยุตธิ รรม,ความ เท่าเทียม และการได้รับการพัฒนา เม่ือมีส่ิงเหล่าน้ีการบริหารแบบมีจริยธรรมจึงจะสามารถสร้างพฤติกรรมการมี จรยิ ธรรมสาหรับผู้บริหารและองค์กรเพ่มิ ขึ้นแทนการบรหิ ารทผี่ ิดจริยธรรมหรอื ไรจ้ รยิ ธรรม 2) การสร้างเง่อื นไขวัฒนธรรมองค์กร(Culture Condition) คือ การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ให้เข้าสู่โลกใหม่ ท่ีเปล่ียนแปลงทุกอย่าง คุณค่าหลายอย่างเปลี่ยนไปจากที่มนุษย์เคยยอมรับกัน เช่น โลกทัศน์ป๎จจุบันคนเราเห็นว่ า มนษุ ยชาติมคี วามสาคัญมากกวา่ พระเจ้า มนษุ ย์เปน็ ศนู ยก์ ลางความสาคัญและวิวัฒนาการได้ องค์ความรู้จากวิชากร ด้าน ชีววิทยา วทิ ยาศาสตร์ ธรณีวิทยา มานุษยวิทยาและวิชาอื่นๆ ทาให้เรา มโี ลกทศั น์เนน้ ความสาเร็จของมนุษย์และ การทาให้เปน็ จริงด้วยตนเองมากว่าการบันดาลให้ของพระเจ้า สรุปได้ว่า บริหารตามหลักคุณธรรมจริยธรรมของ Andrew F. Sikula มุ่งท่ีพฤติการณ์ทางจริยธรรมของ ผู้นา มีหลักคิดท่ีวางอยู่บนทฤษฎีทางด้านพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร มองการบริหารผ่านภาวะผู้นาโดยมี แนวคิดว่าผูบ้ ริหารมพี ฤติกรรม 3 คอื การบริหารแบบผดิ จรยิ ธรรม การบรหิ ารแบบไร้จริยธรรมและการบริหารแบบมี จรยิ ธรรม ในพฤตกิ ารณ์ผบู้ ริหารทัง้ สามแบบน้ี Archie B. Carroll เหน็ ว่าจานวนของนกั บรหิ ารแบบมีจริยธรรม จะมี จานวนทม่ี ากกว่าอกี สองประเภทและจะตอ้ งใช้กลยุทธเ์ พ่อื เพม่ิ จานวนให้มากขึ้นหรือทาให้เกิดขึ้นแทนอีกสองประเภท ให้มากขึน้ สรุป การบรหิ ารตามหลักคุณธรรมจริยธรรม เป็นหลักบริหารที่เห็นว่ามนุษย์สามารถพัฒนาตนได้ เน้นให้เกิด ความสานึกในตน (Self- awareness) และสานึกในสังคม (Social- awareness) เพื่อให้การบริหารองค์กรบรรลุผล ตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ แนวคิดการบริหารตามหลักหลักคุณธรรมจริยธรรมท่ีสาคัญมีสามแบบคือ แนวคิดการบริหารตามหลักคุณธรรมจริยธรรมของพุทธศาสนา แนวคิดการบริหารตามหลักคุณธรรมจริยธรรมของ ระบบราชการพลเรือนของไทย(กพ.) และแนวคิดการบริหารตามหลักการบริหารคุณธรรมจริยธรรมของ Andrew F. Sikulaนกั บรหิ ารหรอื ผ้บู ริหารศกึ ษาสามารถนามาประยุกตเ์ ป็นหลกั บริหารทม่ี ีประสิทธภิ าพ ในสามแนวคิดนี้ แนวคิด แรกใชค้ ณุ ธรรมจริยธรรมตามหลักธรรมคาสอนของศาสนาพุทธท่ีมีการศึกษาและจัดกลุ่มให้เหมาะสาหรับการบริหาร แม้วา่ โดยจดุ หมายแลว้ หลกั ธรรมในศาสนาพุทธนม้ี งุ่ การบริหารตนเองเพือ่ ความหลุดพน้ ตามแนวทางศาสนา หลักธรรม เหล่าน้นั ยงั สามารถใชใ้ นการบริหารคนและองค์กรได้ดี ส่วนอีกสองแนวคิดหลังเป็นแนวคิดของนักปราชญ์ ผู้รู้ และ ประสบการณ์ทางจริยธรรมของสังคมที่ได้ประสบกับป๎ญหาและพยายามหาทางการกาหนดมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรมในการบริหาร เพอ่ื เป็นส่ิงทีผ่ ูบ้ รหิ ารต้องนามาใช้ในการบริหารองคก์ ร ขอ้ เสนอแนะ หน้า409

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ขอ้ เสนอแนะสาหรบั การนาแนวคิดการบรหิ ารตามหลกั คุณธรรมจริยธรรมสาหรับการบริหารการศึกษาในยุค Digital Disruption ผเู้ ขียนเสนอแนะเปน็ หลักคิด 3 ประการคือ ข้อเสนอแนะประการท่ี 1 การจัดการศึกษา Digital Disruption ให้ความสาคัญกับความคิดสร้างสรรค์และ นวตั กรรมส่วนแนวคิดการบรหิ ารตามหลกั คุณธรรมจริยธรรมมุงเนน้ ใหเ้ กิดความสานกึ ในตนและสานึกในสังคมจึงเสนอ วา่ การใช้หลกั การบริหารนจ้ี ะชว่ ยทาให้สมดุลทางการจัดการศกึ ษา ขอ้ เสนอแนะประการท่ี 2 แนวคิดการบริหารตามหลกั คุณธรรมจรยิ ธรรมมีปรัชญาว่ามนษุ ยส์ ามารถพัฒนาตน ได้ การบริหารจึงมุงเน้นให้เกิดความสานึกในตน (Self- awareness) และสานึกในสังคม (Social- awareness) แนวคดิ การบริหารท้งั สามแนวจึงไม่มีแนวคดิ ไหนถกู หรือผดิ และดหี รือไมด่ ีกวา่ กันบางแนวคิดอาจจะใช้ได้สาหรับบาง กรณี ดังน้นั ไมว่ า่ จะเลือกใช้แนวคิดใดสาหรับการบรหิ ารในโลกอนาคต ก็ควรเป็นการบริหารโลกสาหรับการปฏิบัติต่อ กันอย่างมศี ักด์ิศรีและเทา่ เทียมและจุดหมายของการบริหารที่น้ันควรเน้นคุณค่าและประโยชน์ท่ีจะเกิดขึ้นสาหรับทุก คนทุกกลุ่ม แตพ่ ึงระวังวา่ การบริหารเป็นเพยี งเครื่องมือสาหรับการเดนิ ทางไปสจู่ ดุ หมาย เราอาจจะเลือกได้หลายทาง เพ่อื ไปสจู่ ดุ หมาย การใช้จริยธรรมเป็นหลักการบริหารควรเป็นตัวตนของเรา หาไม่แล้วการกระทาในสิ่งท่ีไม่ใช่ตัวตน ของเราอาจจะนาไปสู่ป๎ญหามากกว่าเดมิ ก็ได้ เอกสารอา้ งอิง กีรติ บญุ เจอื . (2538).จริยศาสตรส์ าหรับผู้เรม่ิ เรียน. กรุงเทพมหานครฯ: ไทยวฒั นาพานชิ . ไชยสทิ ธิ์อุดมโชคนามอ่อนปริวตั รปอู งพาลทรงศกั ด์จิ รี ะสมบตั ิสญั ญาเคณาภูมิและพระมหาจิตนเรศ วุฑฒฺ ิธมโฺ ม. (2561). การบรหิ ารการพัฒนาเชิงพทุ ธ. วารสารมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุบลราชธานี. 9(2): 169-181. ธีรพงษ์ บญุ รักษาและนวพันธ์ วกิ ลาง. (2559). แนวทางการบรหิ ารองค์กรดว้ ยหลักธรรม. วรสารบรหิ ารธรุ กจิ . 11(พเิ ศษ):4-20. บุญทนั ดอกไธสงสุรยิ ารกั ษาเมืองและประเวศน์มหารตั นส์ กุล. (2560) การบูรณาการพุทธ ธรรมเพือ่ นาไปใช้ในการบริหารงานภาครัฐอยา่ งลุ่มลกึ ในการศึกษาระดบั สงู ของมหาวิทยาลัย มหาจฬุ าลง กรณราชวิทยาลยั เพ่อื เตรียมความพรอ้ มสู่ประชาคมอาเซียน. วารสาร มจร. สงั คมศาสตรป์ รทิ รรศนม์ . 6(2):69-85. ประวณี ณ นคร. (2553). การพิทักษ์ระบบคณุ ธรรม. วารสารขา้ ราชการ.5(5):1-10. พระธรรมโกศาจารย์ (ประยรู ธมมฺ จิตโต). 2549. พทุ ธวิธีบริหาร, พมิ พ์ครง้ั ท่ี๔. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพม์ หาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระธรรมปิฎก(ป.อ. ปยุตโฺ ต). (2538).พจนานกุ รมพทุ ธศาสนฉ์ บับประมวลศพั ท์. พมิ พ์ครั้งท9่ี . กรงุ เทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณ์ราชวทิ ยาลยั . พระพรหมคุณาภรณ(์ ป.อ. ปยตุ ฺโต). (2546). ธรรมนญู ชีวิต พุทธธรรมเพ่ือชวี ติ ทด่ี ีงาม.พิมพค์ ร้งั ท่ี 5. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลยั . หน้า410

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) พระมหาสมบูรณส์ ธุ มโฺ ม,ดร. คณุ ธรรมจริยธรรมของผู้บริหารการศึกษา.วารสารมหาจฬุ าวิชาการ. 1(2)น.1-13. เมินรัตน์ นวะบศุ ย์.(2543).ความจริงของชวี ิต.นครราชสีมา: คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร.์ สถาบันราชภัฏนครราชสมี า. ราชบัณฑิตยสถาน. (2553). พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน 2553. [Online], สบื คน้ เมอ่ื 27 กันยายน 2562. Available from http://www.royin.go.th/dictionary/index.php วสิน อินทสระ. (2518). จรยิ ศาสตร์. มปท. สงวน ธรี ะกลุ . (2562).ประมวลพระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว.[Online], สบื คน้ เม่ือ 27 กนั ยายน 2562. Available from http://www.stabundamrong.go.th/ web/ book/53/b4_53.pdf. สานักงาน กพ. (2551). คู มือการพัฒนาและส่ งเสรมิ การปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานทาง จรยิ ธรรมข้ าราชการพลเรอื นสาหรับคณะกรรมการจริยธรรม. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ สานักงาน กพ. Archie B. Carroll. (2001). Models of management morality For the new millennium. Business Ethics Quarterly. 11(2): 365-371. Archie B. Carroll, (2003). Ethical Leadership: From Moral Manager to Moral Leader. Rights, Relationships & Responsibilities: Business Ethics and Social Impact Management. 1(2003): 7-17. Carroll, Archie & Meeks, Michael. (1999). Models of management morality: European applications and implications. Business Ethics: A European Review. 8(2): 108-116. Sikula Sr., A. (2009). Moral Management Methodology/Mythology: Erroneous Ethical Equations. Ethics & Behavior. 19(3): 253-61. หน้า411

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) การพัฒนาชดุ ฝกึ อบรมเพอื่ ส่งเสรมิ สมรรถนะครใู นการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารในการจัดการเรยี นรู้ ในศตวรรษที่ 21 The Development of A training manual to encourage teacher‖scompetencies in Information and Communication Technology and Learning Management in the 21st Century ณภัสวรรก์ สุภาแสน ณัฐกิ า ลี้สกุล สุนทร ภรู ปี รีชาเลิศ โรงเรยี นสาธิตมหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ ปทมุ วัน E-mail [email protected] บทคัดยอ่ การวิจัยน้มี ีวัตถุประสงคเ์ พื่อพัฒนาชุดฝกึ อบรมเพ่ือส่งเสริมสมรรถนะครูในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอื่ สารในการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) ชุดฝึกอบรมจานวน 4 ชุด 2) แบบวัดผลสัมฤทธิ์จากการใช้ชุดฝึกอบรม 40 ข้อมีค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objectives Congruence: IOC) จากผู้เช่ียวชาญได้เทา่ กับ 0.67 – 1.00 ค่าความยากของข้อสอบเท่ากับ 0.24 – 0.78 ค่าอานาจ จาแนกเท่ากับ 0.20 – 0.60 และค่าความเชื่อม่ันของแบบทดสอบโดยใช้สูตร KR – 20 เท่ากับ 0.66 3) แบบวัดสมรรถนะตามการรับรขู้ องตนเองเก่ยี วกบั สมรรถนะครใู นการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการ จัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objectives Congruence: IOC) จาก ผู้เชี่ยวชาญได้เท่ากบั 0.67 – 1.00 โดยเกบ็ ขอ้ มลู จากอาจารย์โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน จานวน 30 คน โดยการสมุ่ อย่างงา่ ย วเิ คราะห์ข้อมลู โดยการวิเคราะห์สาระ ค่าความถี่ ร้อยละ คา่ เฉลีย่ สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ผลการวจิ ยั พบว่า 1. ชดุ ฝึกอบรมเพอื่ ส่งเสรมิ สมรรถนะครูในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการจัดการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 มีคุณภาพตามเกณฑ์ 80/80 คือมีค่าประสิทธิภาพระหว่างกระบวนการและหลังกระบวนการอยู่ที่ 80.68/80.93 2. คะแนนผลสมั ฤทธห์ิ ลังการใชช้ ุดฝกึ อบรมของกลุ่มตัวอย่างมคี ่าเฉลี่ยเท่ากบั 32.27 อยู่ในระดับดีมาก 3. ผลการศึกษาสมรรถนะครใู นการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ทง้ั 8 ดา้ นอยใู่ นระดบั มากท่ีสุดเรียงตามลาดับจากมากไปน้อย พบวา่ ด้านการประเมินค่า ด้านจรรยาบรรณในการ ใช้ส่ือสารสนเทศ ด้านการสือ่ สาร ด้านความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านการเข้าถึงสารสนเทศ อยูใ่ นระดับมากที่สดุ ด้านการใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัล ด้านการผลิต สร้างสรรค์ ส่ือสารสนเทศ และด้าน การจัดการ อยูใ่ นระดับมาก คาสาคัญ:ชุดฝึกอบรม สมรรถนะดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาสาหรับครู การจัดการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 ABSTRACT หนา้ 412

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) The purpose of this research were to develop training manual to improve teacher‖s competencies in Information and Communication Technology and Learning Management in the 21st Century. The research instruments consisted of 1) 4 training manuals 2) 40-items achievement test. The Index of Item Objectives Congruence (IOC) of achievement test determined by the experts were between 0.67 - 1.00, Theitem difficulty were between 0.24 - 0.78, The item discrimination were between 0.20 - 0.60 and the item reliability by KR - 20 was 0.66 and 3) The competencies test based on their own perceptions in term of teacher‖s competencies in Information and Communication Technology and Learning Management in the 21st Century. The Index of Item Objectives Congruence (IOC) of achievement test determined by the experts were between 0.67 – 1.00. The data was collected from 30 of Patumwan Demonstration school‖s teachers, by simple random sampling method. The statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean, standard and deviation. The research results were as follows 1. The quality of the training manual to improve teacher‖s competencies in Information and Communication Technology and Learning Management in the 21st Century meets the 80/80 criteria and the between-process efficiency and after-process efficiency is 80.68 / 80.93. 2. The averaged of achievement scores after using the training manual of the sample group was 32.27 which is at a high level. 3. The results of teacher‖s competencies in Information and Communication Technology and Learning Management in the 21st Century in 8 aspects including Evaluation, Ethics of using media information, Communication, Knowledge of Information and Communication Technology, Information accesswere at a highest level in descending order. The use of Information, production and creating media and management were at a high level in descending order. KEYWORDS:A Training Manual , Teacher‖s competencies in Information and Communication Technology , Learning Management in the 21st Century บทนา การเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 “ต้องก้าวข้ามสาระวิชา” ไปสู่การเรยี นรู้ “ทกั ษะเพื่อการดารงชีวติ ในศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) ทคี่ รูสอนไม่ได้ นักเรยี นตอ้ งเรยี นเองหรือพูดใหมว่ ่าครูต้องออกแบบการเรียนรู้และ อานวยความสะดวก (facilitate) ในการเรียนรู้ใหน้ ักเรียนเรยี นรู้จากการเรียนแบบลงมอื ทา แล้วการเรียนรู้ก็จะเกิด จากภายในใจและสมองของตนเอง สาระวิชามีความสาคัญ แต่ไมเ่ พียงพอสาหรบั การเรียนรู้เพ่ือมชี ีวิตในโลกยคุ หนา้ 413

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ศตวรรษท่ี 21 ซ่ึงทกั ษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร (Information, Media, Technology Skill) เป็น ทกั ษะหนง่ึ ที่มีความสาคัญมาก โดยทักษะดา้ นสารสนเทศ (Information Literacy) กาหนดให้นักเรียนมที ักษะที่ ต้องการคอื 1) ทกั ษะในการเขา้ ถงึ (access) อยา่ งรวดเรว็ และร้แู หลง่ ทกั ษะในการประเมินความนา่ เช่ือถือ และ ทกั ษะในการใช้อย่างสร้างสรรค์ ทกั ษะด้านสอ่ื (Media Literacy Skills) เป็นทกั ษะสองทางคือ ด้านรับสารจากส่อื และด้านส่ือสารออกไปยงั ผู้อื่นหรือสาธารณะหรอื โลกในวงกวา้ ง คนในศตวรรษท่ี 21 ตอ้ งมีความสามารถใช้เครื่องมอื สรา้ งส่อื และสือ่ สารออกไปไดห้ ลากหลายทาง เช่น วิดโี อ (video) ออดิโอ (audio) พอดคาส์ท (podcast) เวบ็ ไซต์ (website) เปน็ ตน้ Center for Media Literacy ระบวุ า่ ทักษะดา้ นส่ือประกอบด้วยความสามารถด้านการเขา้ ถงึ วิเคราะห์ ประเมิน และสร้างสาร (message) ในรปู แบบตา่ ง ๆ อนั ไดแ้ ก่ ในรปู สิง่ พิมพก์ ราฟคิ แอนเิ มช่นั ออดิโอ วิดีโอ เกม มัลตมิ เี ดยี เว็บไซต์ และอ่ืน ๆ ในทักษะด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Literacy) ตามคู่มอื การใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการเรยี นรู้มีท่ี ISTE (International Society for Technology in Education) ครูเพือ่ ศษิ ยต์ ้องออกแบบการเรียนร้ใู หศ้ ษิ ยม์ ที กั ษะต่อไปนโี้ ดยมเี ปูาหมาย : สามารถประยกุ ตใ์ ช้ เทคโนโลยอี ย่างมปี ระสิทธิผล ประกอบด้วย ใช้เทคโนโลยเี พื่อวิจยั จัดระบบ ประเมิน และสอื่ สารสารสนเทศ ใช้ เครือ่ งมอื สอ่ื สาร เชือ่ มโยงเครอื ขา่ ย (คอมพวิ เตอร์ เคร่อื งเล่นมีเดยี ฯลฯ) และ social network อย่างถกู ตอ้ ง เหมาะสม เพ่อื เขา้ ถงึ (access) จัดการ (manage) ผสมผสาน (integrate) ประเมิน (evaluate) และสรา้ ง (create) สารสนเทศ เพือ่ ทาหน้าทีใ่ นเศรษฐกิจฐานความรู้ และปฏิบัตติ ามคุณธรรมและกฎหมาย ทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับการ เขา้ ถงึ และใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ (วิจารณ์ พานิช, 2555) นอกจากนยี้ ูเนสโก (UNESCO , 2008) ได้แสดงสมรรถนะ ด้านสารสนเทศ (Information Literacy) และสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร (ICT Literacy) ซึ่งสมรรถนะด้านสารสนเทศ ประกอบดว้ ย การนยิ าม จากดั ความ และกาหนดความจาเปนของความจาเปนของ สารสนเทศ (Definition and Articulation of Information Need) การเขาถึงสารสนเทศ (Location and access of information) การประเมนิ สารสนเทศ (Assessment of Information) โครงสรางสารสนเทศ (Organization of information) การใชสารสนเทศ (Use of information) การสอ่ื สารและจรรยาบรรณการใชสารสนเทศ (Communication and ethical use of information) และทกั ษะดานสารสนเทศดานตางๆ (Other information skill) และสมรรถนะด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร (Information and Communication Technology Literacy) มีองค์ประกอบ 6 ด้าน ประกอบดว้ ย เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั การใชเ้ ครอ่ื งมือสือ่ สาร การใช้ เครอื ขา่ ย การเลอื กสรรสือ่ การประเมินส่อื และทักษะดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร และทกั ษะด้านสอื่ (Other ICT/Media Skill) รวมถงึ การกาหนดแผนแมบ่ ทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร พ.ศ.2552 – 2556 ดา้ นสมรรถนะการรู้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร(แผนแมบ่ ทเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ฉบับ พ.ศ. 2554 – 2557 : ออนไลน์) เพ่อื เปน็ แนวทางในการกาหนดสมรรถนะทางดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Competency) ทจ่ี าเป็นในแตล่ ะตาแหนง่ หนา้ ท่ใี นความเชยี่ วชาญดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ประกอบด้วย 10 ดา้ นคอื โปรแกรมในการใชอ้ ินเทอร์เนต็ (Web Application) ดา้ นที่ 2 โปรแกรม Office (Office Suite) และ/หรือ Open Office ด้านท่ี 3 โปรแกรมในการใชฐ้ านข้อมูลและโปรแกรมประยุกต์ ดา้ นที่ 4 โปรแกรม พ้นื ฐานสาหรับพฒั นาและเช่อื มตอ่ Application ในองคก์ ร (Middleware) ดา้ นที่ 5SOA (Service Oriented Architecture) ดา้ นท่ี 6 โปรแกรมบริหารงานสาหรบั องค์กร ด้านท่ี 7 ระบบปฏิบัตกิ าร OS ดา้ นที่ 8 โปรแกรม หนา้ 414

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) รกั ษาความปลอดภัย Security ด้านท่ี 9 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (PC, Sever and Hardware) ด้านที่ 10 ระบบ เครอื ขา่ ย (Network and Infrastructure) สาหรับมหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒซง่ึ เป็นสถานท่ีทางานของ คณะผวู้ จิ ยั มีการกาหนดแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ตัง้ แต่ พ.ศ.2550 โดยมีเปาหมายในการ พัฒนาสมรรถนะดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร สาหรบั นสิ ิต คณาจารย และบคุ ลากร โดยมอบหมายให สานักคอมพิวเตอรดาเนินการพฒั นา SWU Competency Model เพอ่ื ใชเปนกรอบแนวคดิ ในการพัฒนา ICT Competency Model (มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ , 2555 : ออนไลน)์ ซึง่ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒมี นโยบายโดยสรปุ ดงั น้ี เนนพัฒนาบคุ ลากรทุกสายงาน 14 ภายในมหาวิทยาลัย ใหมีความรูความสามารถในการใช คอมพวิ เตอรเพอ่ื การปฏิบัตงิ านและมนี โยบายในการพัฒนาอตั ลกั ษณนสิ ิตของมหาวิทยาลัยใหเปนบณั ฑติ ทม่ี ีสมรรถนะ ดา้ นภาษา ท้งั ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ และภาษาคอมพิวเตอร และปรับเปลี่ยนนโยบายการเรียนในรายวิชาการศึกษา ท่วั ไป ดานคอมพิวเตอรเปนการ ทดสอบเพื่อประเมินสมรรถนะ หากนสิ ติ สอบไมผานตาม เกณฑมาตรฐาน จะตอง พัฒนาตนเองเพอ่ื ใหเปนผูรูเทคโนโลยสี ารสนเทศ โดยการเขารับการฝกอบรม โดยวิธเี รยี นรูดวยตนเอง หรือเรยี นรูผา นระบบออนไลน เพือ่ ใหเขาสอบใหมใหผานตามเกณฑท่กี าหนดไว โดยมหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒไดกาหนดนิยาม ของสมรรถนะดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่อื สาร หมายถงึ “คุณลกั ษณะเชงิ พฤตกิ รรมท่ีเปนผลมาจากความรู ทักษะ ความสามารถและคณุ ลักษณะอืน่ ๆ ทท่ี าใหบุคคลสามารถนาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารมา ใชเพื่อสร างผลงานไดโดดเดน” และ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒไดกาหนดสมรรถนะดานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ ส่ือสารของมหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ เปน 2 ประเภท ดงั น้ี 1) สมรรถนะหลัก (Core Competencies) หมายถงึ คณุ ลกั ษณะรวมของนสิ ติ คณาจารย และบคุ ลากรของมหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ เพ่ือหลอหลอมคานยิ มและ พฤตกิ รรมทพี่ งึ ประสงครวมกันในการเปนผูรูไอซที ีและผรู ูสารสนเทศสามารถใชความรูและทกั ษะดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสอ่ื สารขัน้ พืน้ ฐานเพื่อการเรยี นรูและการทางานไดอยางมีประสิทธิภาพ 2) สมรรถนะประจากลุ มงาน (Functional Competencies) หมายถงึ คุณลักษณะรวมทก่ี าหนดไวเฉพาะสาหรับกลมุ งานหรอื สาขาวิชาชีพ เพือ่ สนับสนุนใหบคุ คลสามารถใชความรูและ ทักษะดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารที่เหมาะสมแกหนาที่ และสงเสริมใหปฏิบัติภารกิจในหนาท่ใี หดยี ่งิ ขึ้นพน้ื ฐานดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารและเครอ่ื งมือ (Basic ICT & Productivity Tools) กาหนดสมรรถนะด้านการรูเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร ดังน้ี 1.ความร้คู วาม เข้าใจและทกั ษะข้ันพ้นื ฐานในการใช้ไอซที ีได้อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม 1) สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์เบ้ืองตน้ ได้ อย่างถูกตอ้ ง 2) สามารถใชซ้ อฟต์แวร์ทเี่ กยี่ วข้องกับการปฏิบัตงิ านได้ 3) สามารถใช้ไอซีทเี พ่อื การติดตอ่ ส่อื สารและ การสืบคน้ ข้อมลู 4) เข้าใจในเร่ืองกฎ กติกาและจรรยามารยาทในการตดิ ตอ่ สอ่ื สารผา่ นระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ รวมท้ัง ตระหนักถงึ ผลกระทบทม่ี ตี อ่ บุคคลและสงั คม 2.ความสามารถในการใชท้ ักษะดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ สอ่ื สารเพ่ือการปฏิบตั ิงานและการเรยี นรู้ของตนเองได้ 1) สามารถใชไ้ อซที ใี นการปฏบิ ัติงานตามภาระหน้าท่ไี ดอ้ ย่างค้มุ ประโยชนแ์ ละมีประสิทธภิ าพ 2) สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพือ่ การพฒั นาการเรยี นรแู้ ละทักษะ ของตนเอง 3) สามารถใชท้ กั ษะและความรูด้ ้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารเพื่อพฒั นาสมรรถนะดา้ นอ่ืน ๆ ของตนเองได้ ในด้าน SWU Tools & System กาหนดสมรรถนะดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารว่าความ เขา้ ใจในสมรรถนะและประโยชน์ของระบบงานขององค์กรและสามารถนามาใช้ในการปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและมี ความรบั ผิดชอบ 1) เขา้ ใจในนโยบายและแนวปฏิบตั ิเกีย่ วกบั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของ มหาวทิ ยาลยั 2) ใหค้ วามสาคญั ในเรือ่ งการใช้ทรัพยากรรว่ มกัน เพื่อมุ่งส่คู วามสาเรจ็ ของการทางานร่วมกนั อย่างมี หนา้ 415

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ประสิทธิภาพ และ 3) สามารถเขา้ ถงึ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของมหาวทิ ยาลยั ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ตามสทิ ธิ์และหนา้ ทที่ ่ไี ด้รับ โดยมาตรฐานสมรรถนะดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารทีม่ หาวิทยาลยั ศรนี ครินท รวโิ รฒ (SWU ICT Competency Standards)ไดกาหนดไวประกอบดวย ความรู และทักษะ ดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Knowledge & Skills Domain) ในประเดน็ ตอไปนี้ 1. การใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่ือสารเบ้ืองตน (Basic ICT Skills) 2. การตดิ ตอสือ่ สารดวยเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Skills Communication & Collaboration) 3. การรูสารสนเทศ (Information Literacy Skills) 4. การจัดการเอกสาร (Document Management Skills) 5. การนาเสนอ ผานสอ่ื อิเล็กทรอนกิ ส ICT Skills for Presentation) 6. การ จดั การขอมูลและสารสนเทศ (Data and Information Managements Skills) และ อุบลรัตน์ หริณวรรณ และคณะ (2557).ศึกษาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาของครูพบว่า สมรรถนะดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษาของครู ประกอบดว้ ยสมรรถนะ 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1) ด้านการปฏิบัติงาน โดยใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน 2) ด้านการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศถูกต้องตามกฎหมายจริยธรรม จรรยาบรรณ และปลอดภัย 3) ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน และ 4) ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาตนเองและวิชาชพี จากการสารวจขอ้ มูลเบอ้ื งต้นของอาจารย์โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุม วัน มีอาจารย์ท่ีเข้าทางานเป็นอาจารย์ของโรงเรียนที่มีอายุงานตั้งแต่ 5 ปีข้ึนไปหรืออาจารย์ที่ไม่ได้สังกัดอยู่ใน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยีท่สี อนวชิ าคอมพิวเตอร์นนั้ จากการสารวจความต้องการในการเข้ารับ การอบรมเพ่ือเพ่ิมพูนความรู้และทักษะในการจัดการเรียนรู้ของอาจา รย์เบ้ืองต้นพบว่าเร่ืองสมรรถนะครูในการใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศและนวัตกรรมการศึกษาเปน็ เรือ่ งทอ่ี าจารยใ์ ห้ความสนใจในการเข้ารับการอบรมเปน็ อันดับแรก ผ้วู จิ ยั ในฐานะคณะกรรมการฝุายพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการศึกษามีความต้องการท่ีจะ การพฒั นาชดุ ฝึกอบรมเพื่อส่งเสรมิ สมรรถนะครใู นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการจัดการเรียนรู้ใน ศตวรรษท่ี 21 เพอ่ื ใช้เปน็ แนวทางในการพฒั นาสมรรถนะครูในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้มีความ พร้อมในการสง่ เสริมทักษะดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารของนกั เรียน วัตถุประสงค์ เพ่ือพัฒนาชุดฝกึ อบรมเพ่อื ส่งเสรมิ สมรรถนะครใู นการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการจัดการ เรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 สมมติฐานการวิจัย ชุดฝึกอบรมเพ่ือส่งเสริมสมรรถนะครูในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการจัดการเรียนรู้ใน ศตวรรษท่ี 21 มีประสทิ ธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ขอบเขตการวิจยั ประชากรทีใ่ ชใ้ นการวิจยั อาจารย์โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ ปทมุ วนั จานวน 130 คน กลุม่ ตัวอยา่ งทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย อาจารย์โรงเรียนสาธติ มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ ปทุมวนั จานวน 30 คน ตัวแปรที่ใชใ้ นการวจิ ยั หน้า416

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ตวั แปรอิสระ คือ ค่มู อื อบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร ตวั แปรตาม คือ สมรรถนะครูในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร เครอ่ื งมือและการพัฒนาเครื่องมอื การวจิ ยั 1. ชดุ ฝึกอบรมจานวน 4 ชดุ ประกอบด้วย ชดุ ท่ี 1 จรรยาบรรณในการใชส้ อ่ื สารสนเทศและความรู้ด้าน ICT (Application for Education) ชุดที่ 2 ความรู้ด้าน ICT (Application for Education) ชดุ ท่ี 3 ฝึกปฏบิ ัติการ Workshop ชุดท่ี 4 นาเสนอผลงานและร่วมกนั แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ โดยมีค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objectives Congruence: IOC) จากผู้เช่ียวชาญ ได้เท่ากับ 0.67 – 1.00 2. แบบวัดผลสัมฤทธิ์หลังการอบรมจานวน 40 ข้อ ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นโดยมีค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objectives Congruence: IOC) จากผู้เชี่ยวชาญได้เทา่ กับ 0.67 – 1.00 ค่าความยากของข้อสอบเท่ากับ 0.24 – 0.78 ค่าอานาจจาแนกเทา่ กับ 0.20 – 0.60 และค่าความเชื่อม่ันขอแบบทดสอบโดยใช้สูตร KR – 20 เท่ากับ 0.66 3. แบบวัดสมรรถนะตามการรับรู้ของตนเอง (Self – Report) เก่ียวกับการพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและ การสื่อสารปรับจากศกลวรรณ พาเรือง (2554) โดยมีค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objectives Congruence: IOC) จากผเู้ ชี่ยวชาญไดเ้ ทา่ กบั 0.67 – 1.00 วธิ ดี าเนินการวจิ ยั 1. นาชดุ ฝกึ อบรมเพ่อื สง่ เสรมิ สมรรถนะครูในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารในการจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 ที่สรา้ งขึ้นไปทดลองกบั กลุ่มตัวอย่าง 2. หลังจากเสร็จส้ินการใช้ชดุ ฝึกอบรมให้ผู้เข้ารบั การอบรมทาแบบวัดผลสัมฤทธิห์ ลังการอบรม 3. ผู้เข้ารับการอบรมทาแบบวัดสมรรถนะตามการรับรู้ของตนเอง (Self – Report) เก่ียวกับการพัฒนา สมรรถนะด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารปรบั จากศกลวรรณ พาเรอื ง ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู การพฒั นาชดุ ฝกึ อบรมเพือ่ ส่งเสรมิ สมรรถนะครูในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการจัดการ เรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 ไดผ้ ลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ดงั นี้ 1.ประสทิ ธิภาพของชุดฝกึ อบรม ชุดฝึกอบรมเร่ืองสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาสาหรับครูในการจัดการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 มีค่า E1/E2 เท่ากับ 80.68/80.93 แสดงว่า ชุดฝึกอบรมเรื่องสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทาง การศึกษาสาหรับครูในการจัดการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 มีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ โดยมีค่า E1 และ E2สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ทกี่ าหนดไว้ หนา้ 417

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 2. การวัดสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจากการประเมินตนเองของอาจารย์ โรงเรียนสาธิตมหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ปทมุ วนั ตารางท่ี 1 คา่ เฉลีย่ และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวัดสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจากการ ประเมนิ ตนเองของอาจารย์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ปทมุ วนั โดยภาพรวม ดา้ นสมรรถนะ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ยี งเบน ระดบั มาตรฐาน สมรรถนะ 1. ดา้ นความรดู้ ้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร 4.58 .348 มากทีส่ ดุ 2. ด้านการเข้าถึงสารสนเทศ 4.57 .412 มากท่ีสุด 3. ดา้ นการใช้สารสนเทศ 4.49 .340 มาก 4. ดา้ นการผลติ และสร้างสรรค์สอ่ื สารสนเทศ 4.46 .421 มาก 5. ด้านการส่อื สารสารสนเทศ 4.61 .400 มากที่สุด 6. ดา้ นการจดั การสารสนเทศ 4.48 .452 มาก 7. ดา้ นการประเมนิ ค่าสารสนเทศ 4.67 .402 มากทสี่ ดุ 8. ดา้ นจรรยาบรรณในการใชส้ ่อื สารสนเทศ 4.65 .452 มากที่สดุ รวม 4.55 .250 มากที่สดุ จากตารางที่ 1 พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีผลการประเมินสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยรวมในทุกสมรรถนะอยู่ในระดับมากท่ีสุด การประเมินระดับสมรรถนะในระดับมากท่ีสุดเรียงลาดับตามค่าเฉล่ีย รายด้านได้ดังนี้ ด้านการประเมินค่าสารสนเทศมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.67 ด้านจรรยาบรรณในการใช้สื่อสารสนเทศมี ค่าเฉลี่ยเทา่ กบั 4.65 ด้านการส่ือสารมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.61 ด้านความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมี ค่าเฉล่ียเท่ากบั 4.58 ด้านการเข้าถึงสารสนเทศมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.57 ส่วนระดับสมรรถนะที่อยู่ในระดับมากเรียง ด้านการใช้สารสนเทศมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.49 ด้านการผลิตและสร้างสรรค์สื่อสารสนเทศมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.46 และ ด้านการจัดการสารสนเทศมีค่าเฉลี่ย 4.48 สรุปผลการวิจยั 1. ชุดฝึกอบรมเพ่ือส่งเสริมสมรรถนะครใู นการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารในการจดั การเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 มีคุณภาพตามเกณฑ์ 80/80 คอื มีค่าประสิทธภิ าพระหวา่ งกระบวนการและหลงั กระบวนการอยทู่ ี่ 80.68/80.93 2. คะแนนผลสมั ฤทธ์ิหลังการใช้ชดุ ฝึกอบรมของกลุ่มตวั อย่างมคี า่ เฉลยี่ เทา่ กับ 32.27 และส่วนเบย่ี งเบน มาตรฐานเทา่ กบั 2.33 3. ผลการศึกษาสมรรถนะครใู นการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารในการจดั การเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 ทั้ง 8 ดา้ นอยู่ในระดับมากทสี่ ดุ เรยี งตามลาดบั จากมากไปนอ้ ย พบว่า ด้านการประเมินค่า ด้านจรรยาบรรณในการ ใชส้ ่ือสารสนเทศ ด้านการสอ่ื สาร ด้านความรดู้ ้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ดา้ นการเข้าถึงสารสนเทศ หนา้ 418

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) อยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ ส่วนด้านการใช้สารสนเทศ ด้านการผลติ และสร้างสรรค์สือ่ สารสนเทศ และดา้ นการจดั การ สารสนเทศ อยูใ่ นระดับมาก อภิปรายผล 1. ชดุ ฝึกอบรมเพือ่ ส่งเสรมิ สมรรถนะครใู นการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารในการจัดการเรียนรู้ใน ศตวรรษท่ี 21 มีคุณภาพตามเกณฑ์ 80/80 คือมีค่าประสิทธิภาพระหว่างกระบวนการและหลังกระบวนการอยู่ที่ 80.68/80.93การที่ชุดฝึกอบรมมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดอาจเป็นผลจากการพัฒนาชุดฝึกอบรมเพ่ือ สง่ เสรมิ สมรรถนะครูในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 น้ันได้พัฒนา ตามขั้นตอนของกระบวนการวจิ ัย โดยเร่มิ จากการนาข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญมาพัฒนาและปรับปรุง ท่ีสาคัญการ นาความคิดเห็นของผู้เขา้ ร่วมสนทนากลมุ่ จากโรงเรยี นสาธิตมหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ปทมุ วัน จานวน 10 คน ซึ่ง มีความคิดเห็นสอดคล้องเกี่ยวกับการสร้างชุดฝึกอบรม โดยมีเนื้อหาท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาสมรรถนะครูในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของบุษรา สงั วาลย์เพ็ชร (2548) เร่ืองการพัฒนาชุดฝึกอบรมเร่ืองไอซีทีเพื่อการเรียนการสอนสาหรับครูโรงเรียนท่าม่วงราษฎร์ บารุง จังหวัดกาญจนบุรี พบว่า ชุดฝึกอบรมเร่ือง ไอซีที เพื่อการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ 82.16/81.72 และ งานวิจัยของทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ (2555) เรื่องการพัฒนาชุดฝึกอบรมทางไกลเร่ืองเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารที่ใช้ในการศึกษาทางไกล ผลการวิจัยพบว่า หน่วยการเรียนรู้ท่ีพัฒนาขึ้นท้ัง 4 หน่วย มีประสิทธิภาพคือ 81.50/80.00 , 80.25/80.40 , 81.20/81.10 และ 80.65/80.80 ตามลาดับซึ่งเปน็ ไปตามเกณฑ์ 80/80 2. คะแนนผสสัมฤทธิ์หลังการใช้ชุดฝึกอบรมของกลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 32.27 และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเทา่ กบั 2.33 สอดคล้องกับงานวิจัยของภรณี หลาวทอง (255 )ทาการศึกษาเร่ืองการพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสารของอาจารย์ผู้สอนสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน พบว่าผลสัมฤทธิ์การฝึกอบรมเพ่ือ พฒั นาสมรรถนะด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารของอาจารย์ผู้สอนแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ .05 น่ันคือ อาจารย์ผู้สอนหลังจากท่ีได้รับการฝึกอบรมตามหลักสูตรการฝึกอบรมมีผลสัมฤทธิ์ สูงกว่าก่อนการ ฝกึ อบรม เนอื่ งจากผู้ใช้ชดุ ฝึกอบรมมีความตงั้ ใจ สนใจท่ีจะเรียนรู้ มีประสบการณ์ตรงและเห็นคุณค่าในการปฏิบัติได้ จนสาเร็จ 3. ผลการศกึ ษาสมรรถนะครใู นการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ท้ัง 8 ด้านอยใู่ นระดับมากทสี่ ุดเรยี งตามลาดับจากมากไปน้อย พบวา่ ด้านการประเมินค่า ด้านจรรยาบรรณในการ ใช้สอ่ื สารสนเทศ ดา้ นการสือ่ สาร ด้านความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านการเข้าถึงสารสนเทศ ส่วนด้านการใช้สารสนเทศ ด้านการผลิตและสร้างสรรค์ส่ือสารสนเทศ และด้านการจัดการสารสนเทศ อยู่ในระดับ มากท่ีเปน็ เชน่ นอี้ าจเป็นเพราะชดุ ฝึกอบรมที่พฒั นาข้นึ มีการสงั เคราะห์ขอ้ มูลอย่างเป็นระบบ โดยเร่ิมจากข้ันศึกษาด้วย การสังเคราะหส์ าระจากเอกสาร (content analysis) และงานวิจัยทเี่ กีย่ วข้องซง่ึ สอดคล้องกบั วัชรา เล่าเรยี นดี (2550 :5-9) ท่ีกล่าวว่าการกาหนดจุดหมายไดช้ ัดเจนเทา่ ใดยิ่งทาใหม้ องเห็นแนวทางปฏิบัติ และเปูาหมายท่ีชัดเจนขึ้นเท่านั้น โดยเฉพาะงานการจัดกิจกรรมการเรยี นร้ซู งึ่ เป็นงานที่ปฏบิ ัตขิ องครูท่ีสง่ ผลตอ่ ผู้เรียนโดยตรงสอดคล้องกับงานวิจัยของ หน้า419

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ปารชิ าติ เภสัชชา (2556) ทท่ี าการพฒั นาสมรรถนะครูผนู้ าดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการจัด กิจกรรมการเรยี นรู้ศตวรรษท่ี 21 ผลการวจิ ัยพบวา่ สมรรถนะครูผู้นาด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ศตวรรษท่ี 21 ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 สมรรถนะด้านการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการ้สอ่ สาร (ICT competency) ประกอบด้วย 1) การเปน็ ผูร้ อบรู้สารสนเทศ (information literacy) ได้แก่ความสามารถในการเข้าถึงและใช้สารสนเทศ การมีวิจารณญาณและรู้เท่าทันสารสนเทศ การมีคุณธรรมและ จริยธรรมในการเข้าถึงและใช้สารสนเทศ 2) การเป็นผู้รู้ทันไอซีที(ICT literacy) ได้แก่ การใช้ภาษาท่ีใช้ก้บ คอมพวิ เตอร์/เทคโนโลยีการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ การใช้ซอฟ์ตแวร์ประยุกต์ การใช้งานเครือข่ายและอินเทอร์เน็ต การใช้งานอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ และ 3) การเป็นผู้รู้ทางเทคโนโลยี (technological literacy) ได้แก่ ความสามารถ ในการออกแบบสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้และประสบการณ์โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนทักษะใน ศตวรรษท่ี 21 ความสามารถในการประเมินความก้าวหน้าทางการเรียนรู้ และส่วนท่ี 2 สมรรถนะด้านความเป็นผู้นา (leadership competency) ได้แก่ ความเป็นครผู นู้ า การเปน็ บคุ คลแห่งการเรียนรู้ การเป็นผู้ได้รับการยอมรับ การมี วิสัยทัศน์ร่วมการร่วมตัวกันเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ และผลการพัฒนาสมรรถนะ พบว่าสมรรถนะด้านการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ศตวรรษท่ี 21 หลังการพัฒนาของครูผู้นาสูงกว่า ก่อนการพฒั นาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ครูผู้นามีสมรรถนะในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับ ศตวรรษท่ี 21 โดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเป็นเคร่ืองมือหลังการเรียนรู้ระหว่างปฏิบัติงานหลังพัฒนา สูงกวา่ กอ่ นการเรียนรรู้ ะหวา่ งปฏิบัตงาน ครผู ้นู ามคี วามพึงพอใจตอ่ การพฒั นาสมรรถนะอยู่ในระดับมากท่ีสุด ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะในการนาชุดฝกึ อบรมไปใช้ 1. ก่อนการนาชดุ ฝึกอบรมไปใช้ผนู้ าไปใช้ต้องทดลองศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมในชุดฝึกอบรมให้เข้าใจอย่าง ถอ่ งแทเ้ สยี กอ่ น 2. ภายหลงั การฝึกอบรม ควรมีการศึกษาและติดตามพรอ้ มทั้งประเมนิ ผลในการทาชดุ ฝกึ อบรม ข้อเสนอแนะเพ่ือการทาวจิ ยั คร้งั ตอ่ ไป 1. การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการฝึกอบรมที่แตกต่างกันไป เช่น การฝึกอบรมท่ีวิทยากรให้ความรู้และ ชดุ ฝกึ อบรมออนไลน์ 2. สรา้ งชุดฝึกอบรมเพือ่ ส่งเสริมสมรรถนะครูในศตวรรษที่ 21 เอกสารอ้างอิง งานวจิ ยั (โครงการบรกิ ารวิชาการแก่สงั คม) ประจาปี 2555 มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช. ทววี ฒั น์ วฒั นกลุ เจรญิ . (2555).การพฒั นาชดุ บษุ รา สงั วาลยเ์ พช็ ร. (2548). การพฒั นาชดุ ฝกึ อบรมทางไกล เรอ่ื งเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ ฝกึ อบรมเรอ่ื งไอซทเี พือ่ การเรยี นการสอนสาหรบั ครู สือ่ สารที่ใชใ้ นการศึกษาทางไกล. หน้า420

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) โรงเรยี นท่าม่วงราษฎรบ์ ารงุ จงั หวดั วชั ราภรณ์ เลา่ เรียนดี. (2550). การนิเทศการสอน. กาญจนบรุ ี.ปริญญานพิ นธภ์ าควชิ า นครปฐม :ภาควชิ าหลกั สูตรและวธิ สี อน คณะ ศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศลิ ปากร. วจิ ารณ์ พานชิ . (2555). วิถสี รา้ งการเรยี นรูเ้ พอื่ ศษิ ย์ ปารชิ าต เภสชั ชา. (2558). การพฒั นาสมรรถนะครู ในศตวรรษที่ 21. กรงุ เทพฯ : มูลนธิ สิ ดศรี – สฤษด์ิ ผนู้ าด้านการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร วงศ์. ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ศตวรรษที่ ศกลวรรณ พาเรอื ง. (2554). การพฒั นาสมรรถนะ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารของนสิ ิต 21. วารสารบณั ฑติ ศึกษาปีท่ี 12 ฉบับท่ี 59 นักศกึ ษาครศุ าสตรศ์ กึ ษาศาสตร์. ตลุ าคม – ธันวาคม 2558. แผนแมบ่ ทเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ดุษฎนี ิพนธป์ รญิ ญาครุศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต ฉบับ พ.ศ. 2554–2557 เปรียบเทียบแผนแมบ่ ท สาขาวชิ าอุดมศึกษา ภาควิชานโยบาย การจดั การและ ICT ประเทศไทย ความเป็นผูน้ าทางการศึกษา พ.ศ. 2552 – 2554.[ออนไลน์]. สบื ค้นเมือ่ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . วนั ท่ี 6 ธนั วาคม 2562 .Available อุบลรตั น์ หรณิ วรรณ.(2557). สมรรถนะดา้ น from:http://www.rmutp.ac.th เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษาของคร.ู ภรณี หลาวทอง. (2554). การพฒั นาสมรรถนะด้าน วารสารวิชาการศกึ ษาศาสตร์ คณะศกึ ษาศาสตร์ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารของอาจารย์ ผูส้ อนสังกดั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ: ปีที่ 15 ฉบับ ท่ี 2 กรกฎาคม 2557 – ธันวาคม 2557. ราชมงคลอีสาน. วารสารวิชาการและวจิ ยั UNESCO. (2008). ICT COMPETENCY มทร.พระนคร ฉบับพเิ ศษ การประชมุ วชิ าการ STANDARDS FOR TEACHERS. [Online].2012. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล ครง้ั ท่ี 5. Available from http://www.ets.org. มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ. สมรรถนะด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร หรอื ไอซที ขี อง มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมติ ร (2555).[ออนไลน์].,สบื คน้ เม่อื 6 ธนั วาคม 2562.Available from http://www.swu.ac.th หนา้ 421

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) การศึกษารปู แบบการจัดกิจกรรมเพ่ือการพัฒนาทกั ษะความรู้ความสามารถของครู เขตกรงุ เทพมหานคร Title Study of Activity Model for Developing Knowledge and Capacity Skills of Teachers : Bangkok นลนิ ี สตุ เศวต และสภุ ทั รา เออื ้ วงศ์ บัณฑติ วทิ ยาลยั ศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สยาม E-mail : [email protected] บทคัดย่อ การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1.ศึกษารูปแบบการจัดกิจกรรมเพื่อการพัฒนาทักษะความรู้ ความสามารถของครู เขตกรุงเทพมหานคร และ2.ศึกษาข้อเสนอแนะสาหรับการพัฒนาทักษะความรู้ ความสามารถของครู เขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มประชากรท่ีศึกษา คือผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ ผู้ช่วย ผู้อานวยการ หัวหนา้ กล่มุ สาระ และครู เขตกรงุ เทพมหานคร จาก 67 โรงเรียน กลุ่มตัวอย่างจานวน 370 คน เครอื่ งมือท่ใี ช้เปน็ แบบสอบถาม สถิตทิ ่ีใช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู คือ การแจกแจงความถี่ และค่ารอ้ ยละ ผลการวจิ ยั พบวา่ 1.รูปแบบการจดั กิจกรรมทกี่ ลมุ่ ตัวอยา่ งมีความตอ้ งการเรยี งตามดังนี้ ลาดับที่ 1 คอื การอบรม หลักสูตรระยะสัน้ จานวน 148 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 50.3 ลาดบั ที่ 2 คอื การประชุมเพอื่ ระดมสมอง จานวน 47 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 16.0 และลาดับท่ี 3 คือ การประชมุ วิชาการ จานวน 36 คน คิดเปน็ ร้อยละ 12.2 2.ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ เกี่ยวกบั การพัฒนาทักษะความรู้ความสามารถของครู กลมุ่ ตัวอย่างต้องการให้มี การพัฒนาทเ่ี กีย่ วข้อง เรยี งตามลาดับดงั นี้ 1.ต้องการใหก้ ารจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเนน้ การปฏิบตั ิให้มากๆจะได้ นามาใชไ้ ดห้ รือมีคมู่ อื การฝกึ อบรมทจ่ี ะสามารถนามาใชห้ ลังจบการอบรมแล้ว 2.ต้องการอบรมหลกั สตู รระยะ สั้นเกี่ยวกับทักษะการใชภ้ าษาอังกฤษในการส่อื สารและการเรยี นการสอน และ 3.ควรเนน้ การอบรมหลกั สูตร การใชเ้ ทคโนโลยเี พอื่ สรา้ งส่อื การเรียนการสอนสาหรบั ครู คาสาคญั -รูปแบบ,การพัฒนาทกั ษะครู หนา้ 422

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ABSTRACT Purposes of study were 1) to provide the activity model for developing knowledge and capacity skills of teachers: Bangkok. 2) To determine suggestions for developing knowledge and capacity skills of teachers: Bangkok. Since population of 67 schools, three hundred and seventy sampling were applied, including directors, vice-directors, assistant directors, and head of academic group: Bangkok. Research instrument was questionnaires. Frequency and percentile were also applied for statistical analysis. Results were found as the following: 1.Activity model that sampling needed were found as the following: 1. Short-term curriculum seminar for 148 people or 50.3% 2. Brainstorming conference for 47 people or 16.0% and 3. Academic conference for 36 people or 12.2% respectively. 2.According to the additional recommendation regarding development of knowledge and capacity skills of teachers, sampling needed to be developed as the following: 1. Workshop concerning more practice for using or workshop manual for using after finishing. 2. Short-term curriculum training regarding communication skills in English for learning and teaching and 3. Training curriculum in technology for creating both learning and teaching media for teachers. Key words: Model, Development skill for teachers บทนา จากสภาพการเปล่ียนแปลงของสังคมโลก ท่ีมุ่งเน้นการเตรียมทรัพยากรมนุษย์ให้มีความพร้อมและ ทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษที่ 21 เพื่อให้ประชากรของประเทศต่างๆสามารถแข่งขันกับประเทศต่างๆในโลก ภายใต้การเปล่ียนแปลงได้ โดยเฉพาะในด้านการจดั การศกึ ษาของประเทศไทยท่ีต้องการให้มีคุณภาพ มีความ เป็นเลิศ มีความเป็นสากล สอดคล้องกับการพัฒนาและความก้าวหน้าของโลกนั้น กลไกสาคัญในการ ขับเคลือ่ นการจดั การศกึ ษาใหบ้ รรลตุ ามเปูาหมายสู่ความเปน็ เลิศนั้น คือ ครูและบุคลากรทางการศึกษา เพราะ ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาจะเป็นผทู้ ี่มีบทบาท หนา้ ท่ใี นการจดั การเรียนการสอนทั้งในช้ันเรียนและนอกชั้น เรียนเพื่อให้เกดิ ประสิทธิผลตอ่ ผเู้ รียน ในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาน้ัน บุคคลท่ีเปน็ ป๎จจัยสาคญั ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษากค็ อื ครู ด้วยเพราะครเู ป็นผทู้ ่ีมคี วามสาคัญ มีบทบาทในการจดั การเรยี นการสอน และมีบทบาทในการพัฒนาผเู้ รียนใน ด้านอนื่ ดว้ ย ดังนัน้ หากได้ครูทมี่ ีความรคู้ วามสามารถ มีศักยภาพ เป็นผูท้ ีเ่ สยี สละ มงุ่ มัน่ ในการทางานเพ่อื หนา้ 423

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ประโยชน์ของนักเรยี นและโรงเรยี น ก็จะสง่ ผลให้การศึกษาของชาตมิ ีความเจริญร่งุ เรือง สามารถแขง่ ขนั กบั ประเทศอน่ื ได้ สอดคลอ้ งกับ รงุ่ แก้วแดง (อ้างถงึ ใน มุกดา คาอานา,2557)ท่ีกล่าวว่า การเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 การเปลี่ยนแปลงบรบิ ทสังคมและวัฒนธรรม ทีเ่ ป็นไปอย่างรวดเรว็ และรนุ แรงอยา่ งหลีกเลี่ยงไม่ได้ การศึกษา ยงั คงเป็นกลไกสาคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์และการพฒั นาประเทศทเี่ ชือ่ มโยงกับท่วั โลก และสุรศกั ด์ิ ปาเฮ(อ้างถึงใน มกุ ดา คาอานา,2557) ไดก้ ลา่ วว่า การศึกษาในทศวรรษทส่ี องไดม้ ่งุ เนน้ ในมิตขิ องการพฒั นาใน 4 มติ ทิ ่สี าคญั ไดแ้ ก่ การปฏิรปู นักเรียนยคุ ใหม่ การปฏิรูปครูยุคใหม่ การปฏิรปู โรงเรียนหรอื แหล่งเรยี นรยู้ ุคใหม่ และการฏิรปู ระบบบริหารจดั การยคุ ใหม่ ซ่งึ ในทง้ั 4 มิตนิ ม้ี คี วามสัมพนั ธ์กันอย่างเป็นระบบเพ่ือให้บรรลุผลของ การปฏริ ูปการศึกษาไทยในทศวรรษที่สอง(พ.ศ.2552-2561) จากนโยบายของกระทรวงศึกษาในโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร (คูปองพัฒนาครู) ที่ริเร่ิมโดย นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีได้มองถึงการปฏิรูปการศึกษา ต้อง ปฏิรูปที่ครูเพ่ือพัฒนาผู้เรียน ครูทุกคนจาเป็นต้องได้รับการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกัน สานักคณะกรรมการ การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน มคี รูในสังกดั ประมาณ 400,000 คน เม่อื กอ่ นพัฒนาอะไร พัฒนาอย่างไร ถึงจะทาให้เกิด การพฒั นาผ้เู รียนได้จรงิ ๆ สานกั พัฒนาครแู ละบุคลากรข้ันพนื้ ฐานตอ้ งทาการบ้าน แม้ในอดีตมีการพัฒนาแต่ไม่ ทกุ คน บางคนไดร้ ับการพฒั นาแล้ว แต่เรอ่ื งเดมิ ๆเป็นเรื่องที่ไมไ่ ด้เอามาใช้จรงิ ควรให้ครไู ด้รับการพฒั นาด้วยตัว ครูเอง ในการเลือกเพ่ือเอาไปใช้กับผู้เรียนได้จริง ที่บริบทของโรงเรียนมีความแตกต่างกัน มีความรับผิดชอบ นักเรียนที่แตกต่างกัน ดังนั้นคนท่ีเข้าใจมากท่ีสุดก็คือครู ครูจึงต้องมีการเลือกในส่ิงที่เขาคิดว่าคอร์สไหน หลักสูตรไหนท่ีเลือกแล้วนาไปใช้ได้จริง ก็น่าจะเกิดประโยชน์กับผู้เรียนมากท่ีสุด จึงเป็นที่มาของโครงการ พั ฒ น า ครู รู ป แบ บใ หม่ แบ บค ร บ ว ง จร ( https://sites.google.com/site/nithesxxnlinphechrburn/- khupxng-khru-khux-xari เข้าถงึ เมอื่ วนั ที่ 28 สงิ หาคม 2561) โดยเปดิ โอกาสให้ครูสามารถเลือกหลักสูตรการ อบรมตา่ งๆ ซ่ึงผา่ นความเห็นชอบจากสถาบันคุรุพัฒนา และเป็นหลักสูตรที่เชื่อมโยงกับวิทยฐานะครู ในหลัก คิดและความเช่อื ที่วา่ ครเู ปน็ ผ้เู รยี นทจี่ ะต้องเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองและรับการส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้อย่าง ต่อเน่ืองเพื่อยกระดับคุณภาพครู ดังน้ัน ในปีงบประมาณ 2560 จึงมีโครงการพัฒนาคุณภาพครู โดยเฉพาะ อย่างยง่ิ โครงการคูปองครู ทม่ี ีวตั ถุประสงค์ทีต่ ้องการจะส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูได้พัฒนาตนเอง ทั้งความรู้ และทักษะต่างๆท่ีครูต้องการตามความสนใจสอดคล้องกับ พิณสุดา สิริรังธศร (2557) ที่ได้เสนอแนวคิดการ ยกระดับคุณภาพ “ครูไทยในศตวรรษที่21” ว่า การจัดระบบการศึกษาท่ีสนองตอบความต้องการของบุคคล สังคม และประเทศชาติ มากเท่าไร หมายถึงการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผเู้ รียนให้มีศักยภาพเพิ่มข้ึนเพียง นน้ั บุคคลท่ีสาคัญทส่ี ดุ ในกระบวนการพัฒนาการศึกษาและการพัฒนาการเรียนรู้คือ “ครู” ครูยังคงเป็นผู้ท่ีมี ความหมายและเปน็ ป๎จจัยทีส่ าคัญมากท่ีสุดในหอ้ งเรียน และเปน็ ผทู้ มี่ คี วามสาคัญต่อคุณภาพการศึกษา และยัง ไดร้ ะบคุ ณุ ลักษณะครูทม่ี คี ณุ ภาพ คอื 1.เป็นผ้มู จี ติ วญิ ญาณของความเป็นครูและผู้ให้ 2.มีความรู้ความสามารถ และทกั ษะการจัดการเรยี นรู้ 3.มีทกั ษะการสอ่ื สาร 4.อานวยความสะดวกในการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ 5.ตื่นรู้ ทันสมัยทันเหตุการณ์ 6.ตามทันเทคโนโลยีและข่าวสาร 7.สร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ของผู้เรียน 8. หนา้ 424

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ไขวค่ วา้ และแสวงหาความรู้อยา่ งตอ่ เน่อื ง 9.เป็นแบบแผนของคุณภาพ จรยิ ธรรมและศลี ธรรม 10. รู้และเข้าใจ ในอัตลกั ษณ์ 11.ภาคภูมิใจในการเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก 12.ยอมรับและเป็นผู้นาการเปล่ียนแปลง และ 13. มีความพร้อมและปรบั ตนต่อการเปล่ยี นแปลงของโลกและประชาคมอาเชยี น จากคณุ ลกั ษณะดังกล่าว ข้างต้น ครูจึงเป็นบุคคลสาคัญที่สุดในกระบวนการเรียนรู้ท่ีต้องได้รับการยกระดับคุณภาพท้ังระบบ และ ต่อเนื่อง ต้ังแต่ดา้ นการผลิต การพัฒนาและการใชค้ รู อนั จะส่งผลตอ่ คณุ ภาพผเู้ รยี น ประชาชนและการพัฒนา ประเทศในทสี่ ดุ นอกจากน้ี การยกระดบั คุณภาพของครูแล้ว ยงั มีผลการประเมนิ เพ่อื จดั ลาดบั คณุ ภาพการศกึ ษาของ ประเทศไทยกบั ประเทศอ่ืนๆทัง้ ในระดับอาเชย่ี นหรอื ระดบั โลก พบว่าลาดับคณุ ภาพการศึกษาของประเทศไทย โดยรวมยังมลี าดับที่ไมด่ นี ักต้องไดร้ ับการพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาในหลายป๎จจัย ซึง่ ป๎จจยั ทสี่ าคญั อย่าง หน่ึงคือการพัฒนาคุณภาพครทู ีต่ อ้ งได้รับการส่งเสริมทีเ่ ปน็ ระบบและมีความต่อเนอื่ ง ดงั นั้น ผทู้ ่มี ีส่วนเก่ียวข้อง กับการพฒั นาการศกึ ษา จงึ ต้องให้ความสาคญั กบั การพัฒนาครูอยา่ งตอ่ เนอื่ งทัง้ ด้านความรูแ้ ละทักษะต่างๆ ตามแนวคดิ ที่วา่ ครูเก่ง เดก็ เกง่ ครูทเ่ี กง่ และมีความสามารถ มีทกั ษะการสอนท่ดี ี สามารถช่วยสอนและพัฒนา ให้นักเรียนใหเ้ กง่ ได้ดว้ ย จากนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ ารท่ตี อ้ งการพฒั นาครู และสภาพการแขง่ ขนั ด้าน คณุ ภาพการศึกษาข้างตน้ บัณฑิตวิทยาลัยศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สยาม ในฐานะหนว่ ยงานทมี่ หี นา้ ทใี่ นการ ผลติ และพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งหน้าที่ในการบรกิ ารวิชาการแกส่ ังคม จึงเลง็ เห็นถงึ ความสาคญั ของส่งเสรมิ การพฒั นาทกั ษะความรคู้ วามสามารถของครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา เพ่ือให้ครูมีความรู้ ทกั ษะ และสมรรถนะต่างๆทีเ่ อื้อตอ่ การจัดการเรยี นการสอนและการบริหารงานในสถานศึกษา และเพื่อให้การ ปฏบิ ตั ิงานของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาสาเร็จตามเปูาหมายทีต่ ้องการทั้งในระดบั นโยบายและระดบั สถานศึกษา จึงไดจ้ ัดทาการศึกษารปู แบบการจัดกิจกรรมเพอ่ื การพัฒนาทกั ษะความรู้ความสามารถของครู กรุงเทพมหานคร โดยการสารวจความต้องการเกยี่ วกับรปู แบบการจัดกิจกรรมเพอ่ื การพฒั นาทักษะครทู ้งั นี้ ขอ้ มลู ทไี่ ด้จากการศึกษาวิจยั นี้ จะนาไปเปน็ แนวทางในการออกแบบการจดั กจิ กรรม หรือการจัดบริการวชิ าการ ท่สี อดคลอ้ งและตรงตามความตอ้ งการของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาของกลมุ่ เปูาหมายไดอ้ ย่างเหมาะสม ก่อให้เกิดประสทิ ธผิ ลและประสิทธิภาพตอ่ ไป วัตถุประสงค์ 1.เพ่ือศกึ ษารูปแบบการจัดกจิ กรรมเพ่ือการพฒั นาทักษะความรคู้ วามสามารถของครู เขต กรงุ เทพมหานคร 2.เพ่อื ศกึ ษาขอ้ เสนอแนะสาหรบั การพฒั นาทักษะความรู้ความสามารถของครู เขตกรุงเทพมหานคร ขอบเขตการวิจัย 1.ขอบเขตด้านเนอื้ หา การวิจยั ครง้ั นจ้ี ะศกึ ษารปู แบบการจดั กิจกรรมท่ีเหมาะสมสาหรับการพัฒนาทกั ษะความรู้ ความสามารถของครู เขตกรุงเทพมหานคร หน้า 425

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 2. ขอบเขตด้านประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง การวิจัยคร้ังนี้กลุ่มประชากรท่ีศึกษา ประกอบด้วย ผู้อานวยการโรงเรียน รองผู้อานวยการโรงเรียน ผู้ช่วยผู้อานวยการโรงเรียน หัวหน้ากลุ่มสาระ และครู ในกรุงเทพมหานคร จานวน 5,002 คน จาก67 โรงเรยี น (ขอ้ มูล ณ วันท่ี 8 กนั ยายน 2561) ได้กลุม่ ตัวอย่างจานวน 370 คน โดยใช้สูตรการกาหนดขนาดกลุ่ม ตัวอย่างของยามาเน่ (อ้างถึงใน ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ และคณะ,2555) และใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งสัดส่วน (Statistics random sampling) เพอ่ื ให้ไดก้ ลุ่มตวั อย่างครอบคลมุ ในทุกกลุ่มของสถานศกึ ษา 3. ขอบเขตด้านระยะเวลา ดาเนินการในชว่ งปีการศึกษา 2561 4.ขอบเขตดา้ นพืน้ ท่ี โรงเรียนมัธยมศกึ ษา กรุงเทพมหานคร นิยามศพั ท์เฉพาะ รปู แบบในการจัดกิจกรรม หมายถึง วิธกี าร กระบวนการหรือ วธิ ีการท่ีจดั ขึน้ เพอ่ื ให้ความรู้ หรือ ประสบการณ์ในการเรียนรสู้ าระตา่ งๆท่เี หมาะสม ซึง่ จะชว่ ยสง่ เสริมหรือเพิม่ พูนความรู้ ความสามารถ ทักษะต่างๆ ใหก้ บั ผู้ท่ผี ่านกระบวนการหรอื การจดั กิจกรรมในรปู แบบต่างๆนั้น เช่น การอบรม การประชมุ การสมั มนา การศกึ ษาดูงาน การพัฒนาทกั ษะความร้คู วามสามารถ หมายถึง การทบ่ี ุคคลมคี วามตอ้ งการท่ีจะพัฒนาตนเอง หรือทา ใหต้ นเองดีข้นึ ในด้านตา่ งๆ ท่ีเป็นท้ังทักษะทจ่ี าเป็นในการทางาน ความรู้ ความสามารถ เพอ่ื ให้บคุ คลนนั้ สามารถ ใชท้ ักษะความสามารถที่มีอยเู่ ดิม หรอื ไดร้ บั การเรียนร้ทู ักษะใหมๆ่ ทาให้บุคคลน้ันสามารถนาทักษะ ความรู้ ความสามารถเหล่าน้ัน ไปใช้ในการทางานได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ตอบสนองต่อเปาู หมายความตอ้ งการของตนเอง นาไปสู่การพัฒนาตนเองและการทางานดว้ ย ประโยชนข์ องงานวิจยั ได้ข้อมูลรูปแบบการจัดกิจกรรมทเี่ หมาะสมสาหรับการพฒั นาทกั ษะความรคู้ วามสามารถของครูเขต กรุงเทพมหานคร อันจะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การวางแผน การออกแบบกจิ กรรม การออกแบบหลักสูตรเพือ่ การ พฒั นาครู รวมทง้ั การจดั บริการวิชาการทีต่ อบสนองต่อความตอ้ งการของกล่มุ เปูาหมายทางการศึกษา และ ข้อเสนอแนะทจี่ ะเป็นประโยชนต์ อ่ การพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา สาหรบั หน่วยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ งจะใช้ เปน็ ข้อมูลในการส่งเสริมและพัฒนาครูต่อไป รปู แบบการจดั กจิ กรรมเพอื่ การพฒั นาทรพั ยากรบุคคล รูปแบบการจดั กจิ กรรมเพือ่ การพฒั นาทรัพยากรบุคคล โดยทั่วไปจะประกอบด้วย วทิ ยากร สอ่ื กิจกรรม และผู้เข้ารับการพัฒนาตนเอง ซงึ่ สามารถแบ่งรูปแบบการจัดกิจกรรม ไดด้ งั นี้ (Online,https://www.gotoknow.org/posts/15388 สบื ค้น 29 กรกฏาคม 2561) 1.การบรรยาย (Lecture) การบรรยาย เป็นเทคนิควิธีที่ใช้ในการถ่ายทอดข้อมูลความรู้ ความคิดเห็น ตลอดจนข้อเท็จจริงให้แก่ผู้ฟ๎ง เป็นเทคนิคที่แพร่หลายและสามารถใช้ประกอบกับเทคนิคอ่ืน ๆ ได้ การ บรรยายจะเป็นระบบการสื่อสารทางเดียว จะมีข้อจากัดที่ผู้ฟ๎งจะมีส่วนร่วมในการซักถามหรือแสดงความ หน้า 426

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) คิดเห็นเก่ียวกับเรือ่ งท่บี รรยายไม่มากนักหรือจะไม่มีโอกาสซักถาม ผู้บรรยายไม่สามารถประเมินได้ว่าเม่ือจบ การบรรยายแล้วผู้ฟ๎งมีความรู้ ความเข้าใจ ในสิ่งท่ีบรรยายมากน้อยเพียงใด ซ่ึงอาจจะต้องพิจารณาจาก ผลกระทบท่ีเกิดจากการบรรยาย 2.การอภปิ ราย (Discussion) การอภิปราย คือ การท่กี ลมุ่ คนทมี่ ีความสนใจในปญ๎ หาหรอื เร่ือง เดยี วกัน ต้องการทจ่ี ะแลกเปล่ียนความคิดเหน็ เพื่อหาขอ้ สรปุ รว่ มกันดว้ ยวธิ ีการวิเคราะห์ และพิจารณาโดย อาศัยความคดิ เห็น 3.การสาธิต (Demonstration) การสาธติ เป็นการแสดงให้ผู้เขา้ รับการฝึกอบรมไดเ้ หน็ ขั้นตอน แนวทางในการปฏิบตั ิจริง ซง่ึ การสาธติ จะกระทาหรือปฏิบัติคล้ายการสอนงาน การสาธติ นยิ มใชก้ ับหวั ขอ้ วิชา หรือทักษะทีม่ ีการปฏิบตั ิการๆได้ เช่น การฝึกอบรมเก่ียวกับการใช้เครือ่ งมอื หรอื อุปกรณต์ ่างๆ การสอน นาฏศิลป์ การเล่นดนตรแี ละขบั ร้อง 4.การสอน (Coaching) การสอน เป็นการแนะนาให้รวู้ ิธปี ฏบิ ัติงานใหถ้ กู ต้อง โดยปกติจะเป็นการ สอนหรอื อบรมในระหว่างการปฏบิ ัติงาน อาจสอนเป็นรายบุคคลหรือสอนเปน็ กลมุ่ เลก็ ๆ ซงึ่ ผู้สอนต้องมีประสบการณแ์ ละทักษะในเรื่องทีส่ อนจรงิ ๆ 5.การระดมสมอง (Brainstorming) การระดมสมอง เป็นการประชมุ กลุ่มเล็กๆไมค่ วรเกนิ 15 คน เปน็ การเปดิ โอกาสใหท้ ุกคนได้แสดงความคิดเหน็ อยา่ งเสรี ปราศจากข้อจากัดหรอื กฎใดๆ ในหวั ขอ้ ใดหัวขอ้ หน่ึง หรอื ป๎ญหาใดป๎ญหาหน่งึ โดยไมค่ านึงว่าความคิดเห็นน้ันจะถูกหรือผิด ดหี รอื ไม่ดี ความคิดหรอื ข้อเสนอทุก อย่างจะถกู จดไว้แล้วนาไปกลน่ั กรองอีกชั้นหนง่ึ ดัง้ น้ัน ในการระดมสมอง จึงต้องมกี ารเลือกประธานและ เลขานกุ ารของกลมุ่ กอ่ นเร่มิ การประชมุ เสมอ 6.กรณีศึกษา (Case Study) กรณีศกึ ษา เปน็ เทคนิคการฝึกอบรมทีน่ าเอาเรือ่ งราวหรือกรณที เ่ี ป็น ปญ๎ หาเกดิ ขน้ึ จรงิ ๆ มาเสนอในกลุ่มผเู้ ขา้ รบั การอบรม โดยสมาชกิ ของกลุม่ จะใชห้ ลักวชิ าการและประสบการณ์ ที่ได้จากการปฏบิ ตั ิงานมาผสมผสานเพื่อวเิ คราะห์กรณศี ึกษาที่ยกมา โดยมีท่ีปรกึ ษาคอยใหค้ าแนะนาและให้ แนวทาง เพื่อชว่ ยสมาชกิ กลมุ่ วิเคราะหป์ ๎ญหาไดต้ รงวตั ถุประสงค์ข้นั ตอนของการศึกษาจะเรม่ิ ด้วยหลกั การ และการใหภ้ าพตา่ ง ๆ ท่จี ะเป็นประโยชน์ตอ่ การพจิ ารณาแก้ไขปญ๎ หา จากนน้ั ผูเ้ ขา้ ฝึกอบรมจะศึกษา อภิปราย และค้นคว้าตามหลักวิชาการ ซง่ึ บางครงั้ ขอ้ มูลท่ีตอ้ งการอาจเปน็ ข้อมลู ทส่ี าเร็จอยูแ่ ล้ว แต่บางครั้ง จาเป็นตอ้ งค้นควา้ หาข้อมูลบ้าง และในขนั้ ตอนสุดทา้ ยผู้เขา้ รับการอบรมจะต้องพิจารณาตัดสินใจแก้ปญ๎ หา กรณีทน่ี าเสนอ ภายใต้สภาพการณท์ ใี่ กลเ้ คยี งกับความเปน็ จรงิ มากท่ีสุด และเพื่อช่วยใหก้ ารตัดสนิ ใจของผู้เข้า รบั การอบรมดีขนึ้ การนาเสนอกรณศี ึกษาหรือป๎ญหา จะตอ้ งมีรายละเอยี ดมากพอท่จี ะทาให้ผศู้ ึกษาไดเ้ ห็น จุดสาคัญของปญ๎ หาและไดข้ ้อมูลท่ีเป็นแนวทางนาไปสู่การตดั สนิ ใจการแก้ปญ๎ หา 7.การสัมมนา (Seminar) การสัมมนา เป็นการประชุมของผทู้ ี่ปฏิบัตงิ านอยา่ งเดียวกันหรือคลา้ ยกัน แล้วพบป๎ญหาเหมอื นๆกัน เพ่ือรว่ มกันแสดงความคิดเห็น หาแนวทางปฏิบัตใิ นการแกป้ ญ๎ หา ทุกคนท่ีไปร่วม การสมั มนาตอ้ งช่วยกันแสดงความคิดเหน็ ปกติจะบรรยายใหค้ วามรู้พ้นื ฐานกอ่ นแลว้ แบง่ กลุม่ ย่อย จากน้นั นา หนา้ 427

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ผลการอภปิ รายของกล่มุ ย่อยเสนอทป่ี ระชุมใหญ่ เปน็ การแลกเปลี่ยนความรปู้ ระสบการณ์ ผู้เข้ารบั การ ฝึกอบรมมโี อกาสมสี ่วนร่วมมาก ผลสรุปของการสัมมนานาไปเปน็ แนวทางแก้ปญ๎ หาได้ดี 8.การศกึ ษาดูงานนอกสถานที่ (Field Trip) การศกึ ษาดูงานนอกสถานที่ เปน็ การนาผู้เข้ารบั การอบรม ไปศึกษายังสถานที่อ่นื นอกสถานทีฝ่ ึกอบรม เพ่อื ให้พบเหน็ ของจรงิ ซึ่งผจู้ ดั ตอ้ งเตรียมการเปน็ อยา่ งดี ข้อดีเป็น การเพม่ิ ความรคู้ วามเข้าใจและได้เห็นการปฏิบตั ิจริง สร้างความสนใจและความกระตือรือรน้ อกี ทั้งยงั สร้าง ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมด้วย 9.การประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ าร (Workshop) การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั ิการ เปน็ รปู แบบของการฝกึ อบรมท่ี สง่ เสรมิ ให้ผู้เข้ารบั การอบรมเกิดการเรยี นรู้ ทงั้ ดา้ นทฤษฎีและปฏิบัติ สามารถนาสงิ่ ทไ่ี ดร้ ับไปปฏบิ ตั ิงานใน สถานการณ์จริงท่ีผู้เขา้ อบรมปฏิบตั ิ 10.การศึกษาต่อ(Continuing Education) การศกึ ษาตอ่ คอื การศึกษาที่จดั ข้ึนเพอื่ ตอบสนองความ ตอ้ งการและความจาเปน็ ของบคุ คล ที่ตอ่ เนอ่ื งจากการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานและการศึกษาระดับอดุ มศกึ ษา การศกึ ษาต่อมีทั้งในรปู แบบหลกั สูตรการเรยี นรู้ที่มจี านวนหนว่ ยกติ หรือไมม่ ีหนว่ ยกติ การศกึ ษาต่อเปน็ ไดท้ ั้ง การฝึกอบรมด้านอาชีพ การยกระดับฝมี อื ในการปฏิบัติงาน รวมท้งั หลักสตู รการพฒั นาตนเองเพอ่ื การทางาน การศกึ ษาตอ่ ในรูปแบบหลักสูตรจะเปน็ การจัดให้บรกิ ารของภาควชิ าหรือคณะตา่ งๆโดยสถาบันการศึกษา ซึ่ง บคุ คลท่ัวไปสามารถสมัครและเลือกเรียนไดต้ ามความสนใจได้ (อัญชลี ธรรมะวิธกี ลู , 2552 เขา้ ถงึ ใน, https://panchalee.wordpress.com/2009/05/17/continuing_education/สบื คน้ สบื ค้นเมือ่ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2561) รูปแบบการจดั กจิ กรรมเพ่อื การพัฒนาข้างตน้ แต่ละรูปแบบมที ้งั ขอ้ ดแี ละข้อจากดั ที่แตกต่างกนั ออกไป ดังนั้น ในการเลอื กรูปแบบการจัดกจิ กรรมในการจัดอบรม ผจู้ ัดกิจกรรมหรอื ผ้ทู ี่เกย่ี วข้องจะต้องคานึงถงึ วตั ถปุ ระสงค์ เปูาหมายความตอ้ งการทผ่ี ู้เข้ารบั การอบรมจะไดร้ บั จากรปู แบบการจดั กจิ กรรมแบบต่างๆ ซึ่งควร จะต้องสอดคลอ้ งกบั เนื้อหาสาระความรู้ กลุ่มผู้ฟง๎ ที่มีความแตกตา่ งกนั เพ่ือจะไดเ้ ลือกใชร้ ูปแบบหรือออกแบบ การจดั กจิ กรรมใหส้ อดคลอ้ งและเกดิ ประโยชนส์ งู สุดตามทีต่ อ้ งการไดอ้ ย่างเหมาะสม การพัฒนาศักยภาพครู การพฒั นาศกั ยภาพครู หมายถงึ การพฒั นาเพ่ือเพ่ิมพูนความรู้ความเข้าใจ ทักษะต่างๆ ความชานาญ และความสามารถในการปฏิบตั หิ นา้ ท่ี รวมทง้ั การพฒั นาดา้ นคุณธรรมและจริยธรรม เพ่ือให้ครสู ามารถทางานท่ี รับผิดชอบไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพตลอดเวลา ความสาคญั ของการพัฒนาศกั ยภาพครู เป็นท่ียอมรับกันโดยท่ัวไปแล้วว่า ครูเป็นบุคคลท่ีมีความสาคัญท่ีสุดต่อการพัฒนาสังคมและชาติ บ้านเมือง ทั้งน้ีเพราะครูต้องรับหน้าที่ในการพัฒนานักเรียนให้มีความเจริญงอกงามอย่างเต็มที่ จนนักเรียน หน้า 428

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) เหล่านนั้ สามารถทจ่ี ะใช้ความรู้ ความสามารถของตนเพื่อพฒั นาชาตบิ า้ นเมอื งต่อไป ดังนน้ั การพฒั นาครูให้เป็น บคุ คลทม่ี ศี กั ยภาพอย่างที่สดุ จงึ เปน็ งานที่นกั วชิ าการศกึ ษา ผู้นเิ ทศ ผู้บริหารสถานศึกษา จะต้องกระทาอย่าง จริงจงั และตอ่ เนื่อง กลา่ วโดยสรุป การพัฒนาครกู อ่ ให้เกดิ ประโยชนห์ ลายประการ ดังนี้ 1.การพัฒนาครู ช่วยพัฒนาคุณภาพและวิธีการทางานของครู ทาให้ครูมีสมรรถภาพในการสอน มี ความรู้เพิ่มขึน้ เข้าใจบทบาทหนา้ ท่แี ละปฏบิ ตั ิหน้าที่ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ สามารถแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งใหด้ ีขนึ้ 2.การพัฒนาครู ช่วยทาให้เกิดการประหยัดเวลาและลดความสูญเปล่าทางวิชาการ เพราะครูที่ได้รับ การพัฒนาจนเป็นครูท่ีมีคุณภาพนั้น ย่อมไม่ทาส่ิงใดๆผิดพลาดง่ายๆ สามารถใช้ส่ือการเรียนการสอนอย่างมี ประสิทธิภาพ ทาการสอนนักเรียนได้ผลเต็มที่และตรงตามจุดประสงค์ ส่วนนักเรียนก็มีความรู้ความสามารถ ตามเกณฑ์ทกี่ าหนด 3.การพฒั นาครู ช่วยทาให้ครูได้เรียนรู้งานในหนา้ ทไ่ี ดเ้ รว็ ข้ึน โดยเฉพาะครูท่ีเพิ่งได้รับการบรรจุให้เข้า ทางานใหมๆ่ และครทู ยี่ า้ ยไปทาการสอน ณ ที่ทางานแหง่ ใหม่ 4.การพฒั นาครู ช่วยแบ่งเบาหรือลดภาระหน้าท่ีของผู้บังคับบัญชา หรือหัวหน้างานในสายงานต่างๆ เพราะครูที่ไดร้ ับการพัฒนาอย่างดแี ละต่อเนอ่ื ง จะมีความเข้าใจในงานการสอนและงานอืน่ ๆไดเ้ ปน็ อยา่ งดี 5.การพัฒนาครู ชว่ ยกระตุ้นใหค้ รปู ฏบิ ัติงานเพ่ือความก้าวหน้าในตาแหน่งหน้าที่การงาน กล่าวคือ ทา ใหค้ รูทกุ คนมีโอกาสกา้ วหน้าไปสตู่ าแหนง่ ทางการบรหิ ารทีม่ สี ถานภาพดีขนึ้ 6.การพัฒนาครู ช่วยทาให้ครูเป็นบุคคลที่ทันสมัยอยู่เสมอ ท้ังในด้านความรู้และเทคโนโลยีต่างๆ รวมท้ังหลกั การปฏบิ ัติงานและเครือ่ งมือเครื่องใชต้ ่าง ดงั น้ัน การพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา จึงมคี วามสาคญั และจาเปน็ อยา่ งยิ่งในการบริหาร การศึกษา แมว้ ่าครูและบุคลากรในสถานศกึ ษาทุกคน จะมคี วามสามารถเพยี งใดก็ตาม ถา้ เวลาผ่านไปนานๆ บรรดาความรู้ ความชานาญก็ยอ่ มออ่ นลงไปเปน็ ธรรมดา หรอื บางทกี ารทางานจาเจอยู่เสมอ งานที่ทาอาจจะ กลายเปน็ ความเบือ่ หน่ายได้เหมอื นกัน หากผู้บรหิ ารมคี วามเขา้ ใจและใหค้ าปรกึ ษา แนะนา ชว่ ยแก้ป๎ญหาและ สง่ เสรมิ สนับสนุนให้ครูและบคุ ลากรไดร้ ับการพฒั นาในรูปแบบตา่ งๆ จึงเป็นสิ่งจาเปน็ อยา่ งยิง่ เพือ่ ให้ครูและ บุคลากรสามารถทางานได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพรวมท้ังมขี วัญและกาลังใจทีด่ ีดว้ ย วิธีดาเนินการวจิ ัย เคร่อื งมอื ทใี่ ช้ในการวิจยั เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการศกึ ษาวิจัยรูปแบบการจัดกิจกรรมท่เี หมาะสมสาหรบั การพัฒนาทักษะความรู้ ความสามารถของครเู ขตกรงุ เทพมหานคร เปน็ แบบสอบถามแบง่ เป็น 3 ตอน ดงั นี้ ตอนท่ี 1 ข้อมลู ทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม แบบชนิดเลอื กรายการ(Check-list) ตอนท่ี 2 ความคิดเหน็ เก่ียวกับรปู แบบการจัดกิจกรรมทีเ่ หมาะสมสาหรับการพัฒนาทักษะความรู้ ความสามารถของครูเขตกรุงเทพมหานคร โดยใหเ้ รียงลาดับความตอ้ งการทม่ี ากทสี่ ุดไปหานอ้ ยที่สดุ หนา้ 429

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะสาหรับการพัฒนาทักษะความรคู้ วามสามารถของครูเขตกรงุ เทพมหานคร เป็น คาถามปลายเปดิ การสร้างและการหาคุณภาพเครอ่ื งมือ ผวู้ ิจยั ไดด้ าเนินการสร้างและหาคุณภาพเคร่ืองมอื ตามขั้นตอนดังน้ี 1. ศึกษาแนวคิดและทฤษฎี วรรณกรรมและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง เพื่อกาหนดขอบเขตและ กรอบแนวคดิ การวจิ ยั สร้างเครื่องมือที่ใชใ้ นการศกึ ษาวิจัยให้ครอบคลมุ ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย 2. สรา้ งแบบสอบการวิจยั โดยให้ครอบคลมุ ตามกรอบแนวคิดการวิจัยเกี่ยวกับรูปแบบการจัด กิจกรรมที่เหมาะสมสาหรับการพัฒนาทักษะความรคู้ วามสามารถของครเู ขตกรุงเทพมหานคร 3. นาแบบสอบถามที่สร้างขนึ้ ไปให้ผู้ทรงคณุ วฒุ ิจานวน 3 คน ซึ่งมีคุณวุฒิและประสบการณ์ท่ี เก่ียวข้องกับงานวิจัย เพ่ือตรวจสอบและหาค่าความถูกต้องของเนื้อหา (Content Validity) โดยคานวณหา ดัชนีความสอดคลอ้ งระหว่างข้อคาถามกับวัตถุประสงค์ (Index of Item Objective Congruence หรือ IOC) โดยเลือกข้อคาถามทม่ี คี ่าระหวา่ ง 0.60-1.00 4. นาแบบสอบถามที่ปรับแก้ไขถามข้อแนะนาของผู้ทรงคุณวุฒิ ไปทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง (Try out) จานวน 30 ชุด เพื่อหาความเชื่อมั่น (Reliability) ของข้อมูลท้ังหมด โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ค่า สัมประสิทธแิ์ อลฟาของคอนบาค (Cronbach,1990) ไดค้ ่าความเชื่อม่ันที่ 0.95 5. นาแบบสอบถามฉบบั สมบรูณ์ไปสอบถามกบั กลมุ่ ตวั อย่าง สรปุ ผลการวิจัยและการอภปิ รายผล 1.ข้อมูลทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม พบวา่ ผ้ตู อบแบบสอบถามสว่ นมากเปน็ เพศหญิง จานวน 197 คน คดิ เปน็ ร้อยละ67.0, มีอายุระหว่าง31-40 ปี จานวน 97 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 33.0, มวี ฒุ กิ ารศกึ ษาระดับ ปริญญาตรี จานวน 205 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 69.7, มตี าแหน่งครู-อาจารย์ จานวน 251 คน คดิ เป็นร้อยละ85.4, มปี ระสบการณใ์ นการทางานในสถานศึกษาระหว่าง 1-5 ปี จานวน 147 คิดเปน็ รอ้ ยละ 50.0 และขนาดของ โรงเรียนทีส่ ังกดั มขี นาดใหญ(่ พิเศษ) จานวน 108 คิดเป็นร้อยละ36.7 2 รปู แบบการจดั กิจกรรมเพอื่ การพัฒนาทกั ษะความรู้ความสามารถของครูเขตกรงุ เทพมหานคร รปู แบบการพัฒนาตนเอง จานวน คิดเปน็ ลาดบั ความถี่ รอ้ ยละ ท่ี 1.การประชมุ วิชาการ 2.การประชมุ เพือ่ ระดมสมอง 36 12.2% 3 3.การอบรมสมั มนา 47 16.0% 2 4.การประชมุ เชิงปฏิบตั ิการ 4 1.4% 8 5.การศกึ ษาดงู านในประเทศ 18 6.1% 5 6.การศกึ ษาดูงานตา่ งประเทศ 25 8.5% 4 5 1.7% 7 หน้า 430

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 7.การอบรมหลกั สูตรระยะส้นั 148 50.3% 1 8.การอบรมหลกั สตู รระยะยาว 1 0.3% 10 9.การศึกษาตอ่ ในประเทศ 2 0.7% 9 10.การศึกษาตอ่ ตา่ งประเทศ 8 3.7% 6 ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการจัดกจิ กรรมทกี่ ล่มุ ตัวอยา่ งมคี วามตอ้ งการลาดับที่ 1 คอื การอบรม หลกั สตู รระยะสน้ั จานวน 148 คน คิดเปน็ ร้อยละ 50.3 ลาดับท่ี 2 คอื การประชุมเพ่ือระดมสมอง จานวน 47 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 16.0 และลาดบั ที่ 3 คอื การประชมุ วิชาการ จานวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 12.2 การที่ กลุ่มตัวอยา่ งมคี วามคดิ เห็นว่ารูปแบบในการจดั กิจกรรมเพอื่ การพฒั นาทักษะความรขู้ องครเู ป็นลาดับที่ 1 คอื การอบรมหลักสูตรระยะสน้ั นัน้ ด้วยเหตุผลเพราะเป็นรูปแบบการจัดอบรมทนี่ ิยมใช้กันอยา่ งแพร่หลาย สามารถกาหนดเน้อื หาท่ตี อบสนองต่อความต้องการเก่ียวกบั ความรู้ หรอื ประเดน็ สาคัญๆท่บี ุคคลมีความสนใจ ขัน้ ตอนการจดั อบรมหรอื การเขา้ รว่ มกจิ กรรมก็ไมย่ ุ่งยากซบั ซอ้ น รวมทงั้ เวลาในการเรียนรู้กไ็ มต่ ้องใช้เวลามาก นกั สอดคล้องกบั แนวคิดของไพโรจน์ คะเชนทร์ ท่กี ลา่ วว่า การจัดอบรมเปน็ กระบวนการจัดการเรยี นรูอ้ ยา่ ง เป็นระบบ โดยมจี ดุ ประสงค์เพ่อื สร้างหรอื เพมิ่ พูนความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ ความสามารถ ประสบการณ์ ทศั นคติเกย่ี วกบั งานในหนา้ ท่หี รอื งานในอาชพี เรอ่ื งใดเร่ืองหนึ่งให้สูงขัน้ และเปน็ การการส่งเสรมิ สมรรถภาพใน การทางานให้ ทนั กบั ความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างมีประสทิ ธิภาพตอ่ ตนเองและองค์การ เช่นเดยี วกับท่ี สนานจิตร สุคนธทรัพย์ ( 2544 ) ได้กล่าวว่า การอบรมมปี ระโยชนต์ ่อการพัฒนาคน เพราะการ พฒั นาคนกบั งาน การฝึกอบรมถอื ได้วา่ เปน็ การลงทุนทีก่ ่อใหเ้ กิดประโยชนท์ ี่คุ้มคา่ ท้งั ทางตรงและ ทางอ้อม ตอ่ บุคคลหรอื บุคลากรและต่อหนว่ ยงานหรอื องค์การด้วย เชน่ เดียวกับงานวจิ ยั ของชืน่ สกลุ ป๎น และบุญชว่ ย ศิริ เกษ(2562) ที่ได้ทาการศึกษาวจิ ัยเก่ยี วกับความต้องการพัฒนาตนเองของครูผสู้ อน ของโรงเรยี นเอกชน ในเครือ มูลนธิ ไิ ทไชโย สงั กดั สา นกั งานคณะกรรมการการส่งเสริมการศึกษา เอกชน พบว่าครตู อ้ งการพัฒนาตนเอง ด้านการฝึกอบรม ควรมกี ารจดั อบรมการ เขียนแผนกานสอนอย่างเตม็ รปู แบบ ควรมกี ารอบรมพฒั นาหลกั สูตร บ่อยๆ จะไดม้ เี ทคนิคในการ เรยี นการสอนมากขน้ึ ดา้ นการประชุมสัมมนา ควรจดั การประชุมสัมมนาตามหัวขอ้ ทค่ี รูสนใจหรือพบเจอ ปญ๎ หา ควรจดั ประชุมสัมมนานอกสถานที่ มีการประชมุ เชงิ วิชาการและให้ความรดู้ ้าน เทคโนโลยใี หมๆ่ แกค่ รเู พื่อใช้ในการสอน 3.ข้อเสนอแนะสาหรับรูปแบบการจดั กจิ กรรมเพอ่ื การพฒั นาทักษะความรู้ความสามารถของครู พบวา่ กลุ่มตัวอย่างมีข้อเสนอแนะเพ่ิมเตมิ ดังนี้ ขอ้ เสนอแนะ การแจกแจง ความถี่ 1.ตอ้ งการให้การจัดอบรมเชิงปฏบิ ัติการเนน้ การ 12 ปฏบิ ตั ใิ ห้มากๆจะได้นามาใชไ้ ด้ หรอื มีคู่มอื การ ฝึกอบรมท่ีจะสามารถนามาใชห้ ลังจบการอบรม แล้ว 2.ตอ้ งการอบรมหลักสตู รระยะสนั้ เก่ยี วกับ 10 ทักษะการใช้ภาษาองั กฤษในการสอ่ื สารและการ เรียนการสอน หน้า 431

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 3.ควรเนน้ การอบรมหลักสตู รการใช้เทคโนโลยี 8 เพื่อสร้างสื่อการเรียนการสอนสาหรบั ครู 5 4.อยากใหม้ กี ารอบรมกบั วทิ ยากรหรอื ครู ตา่ งประเทศที่ประสบความสาเรจ็ ในการจัดการ 5 เรียนการสอนทท่ี ันสมยั เพ่อื จะได้นาความรไู้ ป ใชใ้ หเ้ กดิ ผลตอ่ ผเู้ รียนอย่างแทจ้ รงิ 3 5.อยากศกึ ษาและอบรมเพ่มิ เติมในสาระความรู้ 3 ทแี่ ปลกใหมเ่ พ่ือพฒั นาตนเองให้ทนั การ 1 เปลยี่ นแปลงท่ีเกิดขึน้ 1 6.ควรมีฐานข้อมลู ทนุ การศึกษาตอ่ ปริญญาโท/ 1 ปรญิ ญาเอกให้กบั ครทู ี่สนใจ 7.ตอ้ งการศึกษาต่อต่างประเทศเพ่อื พฒั นา ตนเอง 8.ตอ้ งการให้มีการจดั อบรมครูเก่ยี วกบั จิตวทิ ยา วัยรนุ่ 9.ควรมีการอบรมและการพฒั นาการนิเทศ ภายในสถานศกึ ษา 10.หลงั การอบรมหน่วยงานทจี่ ัดควรมกี าร ตดิ ตามผลและเปน็ พีเ่ ล้ียงให้อยา่ งตอ่ เน่ือง เพอ่ื ใหก้ ารช่วยเหลอื และผู้เขา้ อบรมสามารถนา ความร้ไู ปสูก่ ารปฏิบัตอิ ย่างแท้จริง จากข้อเสนอแนะที่ได้จากกล่มุ ผบู้ รหิ ารและครขู ้างตน้ สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของ ชืน่ สกลุ ปน๎ และบุญ ช่วย ศิรเิ กษ (2562) ทไ่ี ดท้ าการศกึ ษาวิจัยเกย่ี วกับความต้องการพฒั นาตนเองของครูผู้สอน ของโรงเรยี น เอกชน ในเครือ มลู นธิ ไิ ทไชโย สังกดั สา นักงานคณะกรรมการการสง่ เสรมิ การศกึ ษา เอกชน ในส่วนของ ขอ้ เสนอแนะที่ครตู ้องการพฒั นาตนเอง ได้แก่ ดา้ นการฝึกอบรม ควรมีการจดั อบรมการ เขียนแผนกานสอน อยา่ งเตม็ รปู แบบ ควรมกี ารอบรมพัฒนาหลักสตู รบอ่ ยๆ จะไดม้ ีเทคนิคในการ เรยี นการสอนมากขึน้ ดา้ นการ ประชุมสัมมนา ควรจดั การประชุมสมั มนาตามหวั ขอ้ ท่คี รูสนใจหรอื พบเจอ ป๎ญหา ควรจัดประชุมสัมมนานอก สถานท่ี มกี ารประชมุ เชงิ วชิ าการและให้ความรู้ด้านเทคโนโลยีใหมๆ่ แกค่ รูเพือ่ ใช้ในการสอน ด้านการศึกษาตอ่ ควรส่งเสรมิ ด้านการศกึ ษาตอ่ ในระดบั ท่ีครผู ู้สอนต้องการ ควรมีการ สนับสนุนการเรียนต่อ เพอื่ พัฒนาบุคลากร และสถานศึกษา และด้านการศึกษาดงู าน ควรมกี ารศึกษาดงู านในโรงเรียนที่มชี ่ือเสยี งอ่นื ๆ ควรจดั ให้มีการดู งานนอกสถานที่ ขอ้ เสนอแนะจากการวิจัย 1.จากผลการวจิ ัยการศกึ ษารปู แบบการจัดกจิ กรรมเพือ่ การพฒั นาทักษะความรู้ความสามารถของครู เขตกรุงเทพมหานคร ทพ่ี บวา่ รูปแบบการจัดกจิ กรรมท่กี ลุ่มตัวอยา่ งมคี วามต้องการลาดับท่ี 1 คอื การอบรม หลกั สตู รระยะสนั้ เปน็ ประเดน็ ท่ีน่าสนใจกบั การพัฒนากาลังคนในยุคป๎จจุบนั ทีส่ ถานศกึ ษาระดับอุกมศึกษา โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยท้ังภาครัฐและภาคเอกชนกาลงั ประสบป๎ญหาจานวนผู้เรยี นที่ลดลง การนาข้อมลู ท่พี บ หนา้ 432

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) จากการวจิ ยั นไี้ ปใช้เพ่อื สร้างมลู คา่ เพม่ิ หรือสร้างรายไดใ้ นกบั สถานศกึ ษา โดยการจดั อบรมหลักสูตรระยะสั้น เพื่อเป็นการ Re-skills และการ Up-skills ใหก้ บั กลุ่มครใู นโรงเรยี น รวมทัง้ กลุ่มวัยทางาน วัยผสู้ งู อายุกลุ่มอนื่ ๆ ทีม่ ีความตอ้ งการจะพัฒนาทกั ษะความรู้ใหต้ อบสนองกับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน หลกั สูตรอบรมระยะ สัน้ ตา่ งๆจะเกดิ ขน้ึ ภายใต้ความเชีย่ วชาญและความสามารถของแต่ละสถาบันอุดมศกึ ษาที่มีความโดดเดน่ แตกต่างกัน อกี ท้ังจะเปน็ โอกาสที่สถาบนั อุดมศกึ ษาจะได้มกี ิจกรรมทตี่ อบสนองนโยบายการพัฒนาทนุ มนุษย์ ของชาติ ให้มีทักษะความรคู้ วามสามารถไดท้ ันเทียมกบั ประเทศอ่ืนๆ ทาใหท้ รพั ยากรมนษุ ยข์ องประเทศไทย สามารถแข่งขันกบั ประชากรโลกไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2.จากขอ้ มลู ทไ่ี ด้เกี่ยวกับข้อเสนอแนะเพ่ือการพฒั นาทกั ษะความรคู้ วามสามารถของครู พบว่ามคี วาม ต้องการในหลายประเดน็ ทน่ี า่ สนใจ เช่น ความต้องการการอบรมหลักสูตรระยะสน้ั เกี่ยวกับทักษะการใช้ ภาษาองั กฤษในการสื่อสารและการเรยี นการสอน ความตอ้ งการการอบรมหลกั สูตรการใชเ้ ทคโนโลยีเพือ่ สรา้ งส่อื การเรียนการสอนสาหรบั ครู และความตอ้ งการทอี่ ยากจะศึกษาและอบรมเพิม่ เติมในสาระ ความรทู้ ่ีแปลกใหม่เพือ่ พัฒนาตนเองให้ทันการเปลยี่ นแปลงที่เกิดขึ้น ความต้องการเหลา่ น้ี สถาบันอดุ มศกึ ษา หรือหน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งสามารถทจี่ ะนาเสนอหลักสตู รสาหรับการฝึกอบรมทั้งในรูปแบบการฝกึ อบรมระยะส้นั ระยะยาว การอบรมเชิงปฏิบตั ิการ การจัดหลกั สตู รระดบั บณั ฑิตศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของครแู ละ บุคลากรทางการศกึ ษา กจ็ ะเปน็ ประโยชน์ทีจ่ ะได้ช่วยกบั พัฒนาคณุ ภาพครูให้สามารถเปน็ ครทู ีม่ ีทักษะ มี ความสามารถเป็นครูท่เี ก่ง สามารถนาความรเู้ หล่านี้ไปถา่ ยทอดใหก้ ับนกั เรยี นเพอื่ ใหน้ ักเรียนได้รบั ความรแู้ ละ เตบิ โตไปเปน็ ทรพั ยากรมนุษยท์ ่ีมคี ุณภาพตอ่ ไปตามลาดบั เอกสารอ้างองิ ชนื่ สกลุ ปน๎ และบญุ ชว่ ย ศริ เิ กษ (2562) ความต้องการพัฒนาตนเองของครผู ้สู อน ของโรงเรียนเอกชน ใน เครอื มูลนิธไิ ทไชโย สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน วทิ ยานิพนธ์ระดบั ปรญิ ญาโท สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั Journal of Education, Mahasarakham University .Volume 12 Number 1 January-March 2018 (83-95) นลินี พานสายตา และประวีณา คาไซ. (2560). ความต้องการในการฝกึ อบรมและความคาดหวงั ต่อ ความกา้ วหน้าในสายอาชีพของบุคลากรสายสนบั สนุนวิทยาลัยดุสติ ธานี วารสารวทิ ยาลยั ดุสิตธานี ปที ่ี 11 ฉบบั ท่ี 2 เดอื นพฤษภาคม - สงิ หาคม 2560 พชั รี ราวีศร.ี (2544). ศกึ ษาความตอ้ งการในการพฒั นาบคุ ลากรของข้าราชการสายงาน ข มหาวิทยาลยั บรู พา. วิทยานิพนธก์ ารศกึ ษามหาบัณฑติ ภาควิชาบรหิ ารการศกึ ษา. มหาวทิ ยาลยั บูรพา พิณสุดา สริ ริ งั ธศรี. (2557) การยกระดับคณุ ภาพครูไทยในศตวรรษท่ี 21 พิมพค์ รั้งท่ี 1 เมษายน 2557 พิมพ์ ทบ่ี รษิ ทั มาดา การพิมพ์ จากัด สานักงานส่งเสรมิ สงั คมแหง่ การเรียนรแู้ ละคุณภาพเยาวชน(สสค) กรงุ เทพฯ มกุ ดา คาอานา,(2557). ความสัมพนั ธร์ ะหว่างวัฒนธรรมองคก์ ารเชิงสรา้ งสรรคก์ บั การพัฒนาตนเองของครู ในทัศนะของผู้บริหารสถานศกึ ษา สังกดั สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี,วิทยานิพนธ์ หนา้ 433

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีการบรหิ ารการศกึ ษา คณะครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี วิลาศ สิงหวสิ ยั . (2544). การบริหารบคุ ลากรในโรงเรยี น. นนทบุรี : มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช สนานจติ ร สุคนธทรพั ย์. (2544). แนวคดิ และรูปแบบการบริหารจัดการของสถานศึกษาโดยใช้ โรงเรียนเป็น ฐาน:ประสบการณส์ ทู่ ฤษฎี ในรายงานการประชมุ สร้างความรู้ ความเข้าใจ: การปฏิรูปการเรยี นรู้ เพอ่ื พัฒนา คณุ ภาพผู้เรียนทั้งโรงเรียน. กรงุ เทพฯ: พิมพ์ด.ี อัญชลี ธรรมะวธิ กี ลู , (2552), รปู แบบการจดั กิจกรรมเพ่ือการพัฒนาทรัพยากรบคุ คล. [Online], สบื ค้นเม่อื 30 กนั ยายน 2561 Available from https://panchalee.wordpress.com/2009/05/17/continuing_education หนา้ 434

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) การบรหิ ารสถานศกึ ษาตามหลกั ธรรมาภิบาลของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาสงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา เขต 27 School Administration Based on Good Governance of School Administrators under The Secondary Educational Service AreaOffice 27 อษุ า ชมภพู ฤกษ์1อาจารย์ดร.วริ ัลพชั ร วงศว์ ัฒนเกษม 2, อาจารย์ ดร.วัฒนพงษ์ รม่ ศร3ี 1 นักศกึ ษาหลกั สูตรศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสมี า 2 อาจารยป์ ระจาหลักสตู รศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา คณะศึกษาศาสตรแ์ ละศิลปศาสตร์ วทิ ยาลัยนครราชสมี า บทคัดยอ่ การวิจัยครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพอื่ 1) ศึกษาการบรหิ ารตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสังกัดสานักงานเขต พ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 27 ตามความคิดเห็นของครูผู้สอนและ 2) เปรียบเทียบสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษามัธยมศกึ ษาเขต 27 ตามความคิดเหน็ ของครูผู้สอนจาแนกตามวุฒิการศึกษาประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน และขนาดของสถานศึกษาประชากรได้แก่ครูผู้สอนในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 27 ปี การศึกษา 2562 จานวน 3,053 คน กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นจานวน 341 คนเคร่ืองมือที่ใช้ในการ วิจัยเป็นแบบสอบถามมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับมีระดับความเช่ือม่ันเท่ากับ 0.90 สถิติ พืน้ ฐานที่ใชว้ ิเคราะห์ข้อมูลไดแ้ ก่ความถรี่ ้อยละค่าเฉล่ียส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติท่ีใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ t-test และ f-test ผลการศกึ ษา 1. การบรหิ ารตามหลกั ธรรมาภบิ าลของผู้บริหารตามทัศนะของครูผู้สอนสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษาเขต 27 ในภาพรวมอย่ใู นระดับมากพิจารณารายด้านพบว่าด้านที่มีการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลมาก ท่ีสุดคือด้านหลักนิติธรรมรองลงมาคือด้านหลักความคุ้มค่าหลักความรับผิดชอบตรวจสอบหลักความโปร่งใสหลั ก คุณธรรมและด้านหลักการมีสว่ นร่วมนอ้ ยท่สี ุด 2. เปรยี บเทียบระดบั การบริหารตามหลกั ธรรมาภิบาลของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาตามความคดิ เห็นของครผู ้สู อน สงั กดั สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 27 จาแนกตามวฒุ กิ ารศกึ ษาประสบการณใ์ นการปฏิบัติงานและ ขนาดของสถานศกึ ษาพบวา่ 2.1 การบริหารสถานศกึ ษาตามหลักธรรมาภิบาลของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาสงั กัดสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 27 จาแนกตามวฒุ กิ ารศึกษาโดยภาพรวมไม่แตกต่างกนั และรายดา้ นแตกต่างกนั ในดา้ นหลักนิติธรรม ดา้ นหลกั การมีสว่ นรวมและดา้ นหลักความคมุ้ ค่า หนา้ 435

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 2.2 การบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาสังกดั สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา มัธยมศกึ ษาเขต 27 จาแนกตามตาแหนง่ ผู้สอนโดยภาพรวมไมแ่ ตกต่างกันและรายดา้ นแตกต่างกันในดา้ นความโปรง่ ใส และดา้ นความคุ้มคา่ 2.3 การบริหารสถานศกึ ษาตามหลกั ธรรมาภิบาลของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาสงั กดั สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา มัธยมศกึ ษาเขต 27 จาแนกตามขนาดของโรงเรียนโดยภาพรวมแตกต่างกันและรายดา้ นแตกต่างกนั ในด้านคุณธรรม ด้านความโปร่งใสและด้านความคมุ้ คา่ คาสาคญั : การบริหารสถานศึกษา, หลักธรรมาภบิ าล, ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา, สานักงานเขตพื้นท่มี ธั ยมการศึกษา ABSTRACT This research aimed: 1) to study the teachers‖ opinions based on Good Governance of school administrators under The Secondary Educational Service Area Office 27, and 2) to compare the teachers‖ opinions based on Good Governance of school administrators under The Secondary Educational Service Area Office 27, and classified by the education level, work experiences, and school size. The populations of this study are 3,053 teachers of schools under The Secondary Educational Service Area Office 27, academic year 2019, The sample groups contained 341 teachers under The Secondary Educational Service Area Office 27. The research instrument was used in this study was questionnaire with rating scales, with Cronbach's alpha as 0.90. The descriptive statistics was percentage, mean, standard deviation, and t-test, F-test. The results finding follows: 1. School administration based on Good Governance of school administrators under The Secondary Educational Service Area Office 27, according to the opinions of teachers, as a whole and as an individual, were found at a high level. and each aspect the highest mean was the aspect of cost-effectiveness, accountability, transparency. Morality, and each aspect the lowest mean was participation. 2. The result of comparison compare school administration based on Good Governance of school administrators under The Secondary Educational Service Area Office 27, and as classified by the education level, work experiences, ans size school. finding follows: หนา้ 436

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 2.1 School administration based on Good Governance of school administrators under The Secondary Educational Service Area Office 27, and as classified by the education levelwho have a different size schools overall were not significantly different (p<.05), except rule of law, participationม and cost- effectiveness. 2.2 School administration based on Good Governance of school administrators under The Secondary Educational Service Area Office 27, and as classified by positionwho have a different size schools overall were not significantly different (p<.05), except transparency and cost-effectiveness. 2.3 School administration based on Good Governance of school administrators under The Secondary Educational Service Area Office 27, and as classified by positionwho have a different size schools overall were not significantly different (p<.05), except Morality, transparency and cost-effectiveness. KEYWORDS: School administration, Good Governance, School administrators, The Secondary Educational Service Area บทนา การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552- 2561) มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศกึ ษาการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ท้ังนี้ เพื่อให้คนไทยได้ เรียนรตู้ ลอดชวี ิตอยา่ งมคี ณุ ภาพ โดยมีกรอบแนวทางการปฏิรูปใน 4 ด้าน คือ การพัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ การ พัฒนาครูยุคใหม่ การพัฒนาสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ใหม่การพัฒนาการบริหารจัดการใหม่ (สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน, 2553 : ก) และในการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่3) พ.ศ. 2553 มีความมุ่งหมายที่จะจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็น มนุษย์ท่ี สมบูรณ์ เป็นคนดี มีความสามารถและมีความสุขการดาเนินการให้บรรลุเปูาหมายอย่างมีพลังและมี ประสิทธภิ าพ จาเปน็ ทจี่ ะตอ้ งมกี ารกระจายอานาจและใหท้ ุกฝุายมีส่วนร่วม สานักคณะกรรมการการะพัฒนาระบบราชการไทย (2552, น.97 ) ได้ให้ความสาคัญกับหลัก ธรรมาภบิ าล เพื่อเป็นหลักในการพัฒนาระบบราชการและข้าราชการให้เป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูงอย่างต่อเนื่องมา ตัง้ แตป่ ีงบประมาณ พ.ศ. 2547 จนมาถงึ ป๎จจุบัน เหน็ ไดจ้ ากรอบการประเมินผลตามคารับรองการปฏิบัติราชการของ ส่วนราชการท่สี อดคลอ้ งกบั หลักธรรมาภบิ าลในแตล่ ะปี โดยใช้กับองค์การที่เป็นระบบราชการ ที่มีหลักจริยธรรมและ ศักด์ิศรีจะเน้นการประเมินผล ด้านจริยธรรมด้านธรรมาภิบาลโดยให้ความสาคัญเรื่องความโปร่งใสของการปฏิบัติ หน้า 437

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ราชการ ความมีส่วนร่วมของประชาชน ตลอดจนการสร้างมาตรการปูองกันและปราบปรามการทุจริตแลความ ประพฤตมิ ชิ อบในสว่ นราชการ จงึ ไดใ้ ห้ส่วนราชการปฏิบตั ิตามหลักการบริหารกจิ การบา้ นเมอื งท่ดี ี เปูาหมายของแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - พ.ศ. 2559 : 7) ได้ กาหนดการเสริมสร้างหลักธรรมาภิบาลเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์การบริหารจัดการประเทศ ให้มีความสาคัญกับการ พัฒนาระบบราชการและข้าราชการโดยยึดหลักธรรมาภิบาลเพิ่มประสิทธิภาพ การกระจายอานาจให้แด่องค์กรทุก องคก์ ร โดยพฒั นาระบบและกลไกการปอู งกันและปราบปราบการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบอย่างมีส่วนรว่ ม ส่งเสริมให้ ประชาชนทุกระดับมโี อกาสเขา้ ถงึ กระบวนการยตุ ธิ รรมอยา่ งเทา่ เทียมและสร้างความเป็นธรรม ในการเข้าถึงทรัพยากร ควบคมุ ไปกบั การปลกู จิตสานึก คา่ นิยมประชาธิปไตยและ หลักธรรมาภิบาลแกป่ ระชาชนทุกกลุ่มท่ีผ่านมาประชาชนมี ส่วนร่วมในระดับท่ีค่อนข้างน้อยจากการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วของกระแสสังคมโลก ส่งผลให้สังคมไทยเกิดการ เปลี่ยนแปลงทกุ ด้าน การพัฒนาการศึกษาจึงต้องปรับเปล่ียนตามท้ังแนวคิดตลอดจนแนวทางในการจัดการศึกษาใน ฐานะเปน็ เครอ่ื งมอื หรอื วธิ กี ารทีส่ าคัญในการพฒั นาบุคคลในชาติ จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไข (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ในหมวดที่ 5 ว่าด้วยการบริหารและการจัดการศึกษาในการบริหารและการจัด การศึกษาของรัฐแบ่งออกเปน็ 3 ระดับ คือ ระดับชาติ ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา และระดับสถานศึกษา เพื่อเป็นการ กระจายอานาจลงไปสู่ทอ้ งถิ่นและสถานศกึ ษามากท่ีสุด รวมท้ังการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองชุมชน และทุกภาคส่วนมี ระบบการบริหารจัดกรตามหลกั ธรรมาภิบาลเพ่ือใหส้ อดคล้องกับนโยบายดงั กลา่ ว สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กาหนดให้นาหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารจัดการใน สถานศึกษาทุกแห่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้บริการ ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการ บริหารงาน ก่อให้เกิดความตะหนักและปรับปรุงระบบงานของหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ ท่ีเกิดการเปล่ียนแปลง อยา่ งต่อเน่ือง สอดคล้องกบั การศึกษาของธรี ะ รญุ เจรญิ (2548,น.91-92) ได้กล่าวถึงความจาเป็นของการใช้หลักธรร มาภบิ าลในการบรหิ ารการศกึ ษาวา่ การบริหารการศกึ ษาตอ้ งดาเนินการตามหลักธรรมาภิบาล จึงจะเป็นการบริหารที่ สอดคล้องกับแนวโน้มของสภาพป๎ญหาและความต้องการในยุคโลกาภิวัฒน์ นาไปสู่ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ องคก์ าร และเป็นหลักประกันความสาเร็จของการบริหารจัดการ อย่างไรก้อตาม เนื่องจากหลักธรรมาภิบาลเป็นมิ ติ ของกระบวนทัศน์ในการบรหิ าร ซึ่งมอี งค์ประกอบทสี่ าคญั คือ การเน้นบทบาทของผบู้ รหิ ารงานในฐานะเป็นผู้ให้บริการ ทม่ี ีคุณภาพสงู ในการบรหิ ารงานแต่ละระดับมากขึ้น เพ่อื ปอู งกันเรอ่ื งกที่ จุ ริตและประสิทธภิ าพในการบริหารงานอย่าง โปร่งใส่ และมคี ุณภาพผู้บริหารสถานศึกษาจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาให้ความรู้ ความเข้าใจ ถึงหลักธรรมของ การบริหารอยา่ งมีจดุ หมายของหลักธรรมาภิบาล และนามาบูรณาการในการบริหารและจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสร้าง สถานศึกษาให้มีความเข้มแข็ง โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ ซึ่งหลักการดังกล่าวได้แก่ หลักนิติธรรม หลั ก คุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า อันจะส่งผลให้การ ปฏิบัติงานประสบความสาเร็จตามเปูาหมาย เกิดประโยชน์สูงสุด แต่การพัฒนาโรงเรียนและเยาวชนของชาติ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2553 : 24 - 25) โรงเรยี นในฐานะองคก์ ารของรัฐและเป็นหน่วยงานทางการศึกษาที่เล็กท่ีสุด แต่มีความสาคัญอย่างย่ิง ที่จะ ขบั เคลือ่ นการศึกษาใหบ้ รรลุวัตถุประสงคข์ องพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ แนวทางหน่ึงที่ เป็นแนวปฏิบัติในการ ดาเนินการด้านต่างๆ ของโรงเรียน คือ การใช้หลักธรรมาภิบาล เพื่อการบริหารโรงเรียน ผู้ บริหารโรงเรียนมีอานาจ หนา้ 438

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) หน้าที่ เป็นผู้บังคับบัญชา ถือว่าเป็นตัวจักรที่สาคัญของการบริหารจัดการศึกษา เป็นผู้มีบทบาทสาคัญย่ิง เป็นผู้มี อานาจในการตัดสินใจในการดาเนินงานของสถานศึกษา ดังนั้น ภาระหน้าที่สาคัญ คือ การบริหารจัดการศึกษาให้ บรรลุตามจุดมุ่งหมาย ด้วยเหตนุ ี้ ผบู้ รหิ ารโรงเรยี นจึงต้องเปน็ บุคคลที่มีวิสัยทัศน์ มีความรู้ความสามารถ มีทักษะ เป็น ผู้นาการเปลี่ยนแปลง บริหารงานต้องยึดหลักคุณธรรม หลักนิติธรรมในการปฏิบัติงาน เพ่ือให้ผู้ร่วมงานเช่ือถือและ ยอมรับ จากการท่ีรัฐกาหนดให้มีมาตรฐานด้านคุณธรรมจริยธรรมของข้าราชการ มีการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจ วิธีการบริหารงานภาครฐั ให้มปี ระสิทธิภาพ มกี ารนาระบบบริหารกจิ การบ้านเมืองและสงั คมทด่ี ี (Good Governance) มาเป็นแนวทางในการดาเนินงาน และจัดการศึกษา เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับโรงเรียน ในฐานะท่ีเป็นนิติ บุคคล หลักการดังกล่าว ไดแก หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความ รับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า (กระทรวงศึกษาธิการ. 2546: 30) หลักธรรมาภิบาลอาจบูรณาการเข้ากับการ ดาเนินงานต่างๆ ของสถานศึกษาซึ่ง ไดแ้ ก่ การดาเนินการด้านวิชาการ งบประมาณ บริหารบุคคล และบริหารท่ัวไป และเปาู หมายในการจดั การศกึ ษาคือ ทาให้ผู้เรยี นเป็นคนดี เก่ง และมีความสุข การบริหารโรงเรียนในป๎จจุบัน พบว่า มปี ญ๎ หาที่เกิดจากการบริหารงานผิดพลาดไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ แก่ราชการ บ่อยคร้ังที่เกิดความเสียหายต่อองค์กร ราชการ ตวั บุคคล มเี ร่ืองราวรอ้ งเรยี น ฟอู งรอ้ ง ขอความเป็นธรรม มีคดคี วามทีต่ ้องสืบสวนเป็นจานวนมาก สร้างความ ขัดแย้ง ในองค์กรทาให้การปฏิบัติงานไม่ประสบความสาเร็จตามเปูาหมาย บรรยากาศในองค์กรเสียไปจากป๎ญหา ดังกลา่ วโรงเรียนจึงได้นาระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2542 ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศ ท่ัวไป เล่ม 116 ตอนท่ี 63 ลงวันที่ 10 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2542 มาใช้ในการ บริหารงาน (จารุวรรณ สรุ ินทร์, 2552: 3) เมือ่ พจิ ารณาการบรหิ ารโดยใช้หลักธรรมาภิบาล พบวา่ ปญ๎ หาสาคัญทางการ บรหิ ารการศกึ ษาในภาพรวมคือ มีการรวมอานาจไวท้ สี่ ่วนกลาง ขาดเอกภาพในการบรหิ าร ขาดประสิทธิภาพในระบบ ประกนั คณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา ขาดการมสี ่วนร่วมของประชาชน ขาดการพัฒนานโยบายอย่างเป็นระบบและ ต่อเนือ่ ง และ ขาดความเชื่อมโยงกับองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินและหน่วยงานอ่ืนๆ ผู้ปกครองนักเรียนและประชาชน มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาน้อยมากส่วนใหญ่มีส่วนร่วมในการเป็นคณะกรรมการสถานศึกษา ซึ่งเป็นเพียง คณะกรรมการท่ปี รึกษา การมีส่วนร่วมในการบริหารงานของคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการ ยังขาดความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ ไม่กล้าแสดงความคิดเห็น ขาดการประสานงาน ระหวา่ งสถานศกึ ษากับคณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาไม่ให้ความสาคัญต่อ การจัดการศึกษา ของโรงเรียนและไม่กล้าท้วงติง หรือเสนอแนะเม่ือโรงเรียนดาเนินการไม่ถูกต้อง นอกจากน้ี ขนาดของโรงเรียนที่ ปฏิบัติงานต่างกัน มีผลต่อการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาตามแนวทางการบริหาร โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน เพราะผู้บริหารและครูที่ปฏิบัติงานโรงเรียนขนาดต่างกันจะมีทรัพยากรที่ใช้ในการ บริหารต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นวัสดุ ครุภัณฑ์ หรืออาคารสถานท่ี ตลอดจนจานวนบุคลากรทาให้ป๎ญหาในการใช้ ทรัพยากรเพื่อการบริหารแตกต่างกัน (นัยหมะ สามะ, 2554: 3) จากการทบทวนวรรณกรรม จะเหน็ ว่า การบรหิ ารงานตามหลกั ธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาข้างต้น พบว่าได้มีการศึกษาในหลายๆพน้ื ท่ี ซึ่งบริบทแต่ละพื้นทม่ี ีความแตกตา่ งกัน จากป๎ญหาดังกล่าว ผูว้ ิจัยสนใจท่ีจะศึกษา การบรหิ ารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 ซึ่งผลการศึกษาครั้งนี้จะเป็นประโยชน์อย่างย่ิงต่อการบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาลท่ีจะนา หน้า 439

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ประกอบการวางแผนในการบริหารจดั การแก้ไขปรับปรุงและพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพ และเกดิ ประสิทธิผลไดต้ ามมาตรฐานตอ่ ไป คาถามการวจิ ยั 1. การบรหิ ารสถานศกึ ษาตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มธั ยมศึกษา เขต 27 อยู่ในระดบั ใด 2. ครูผู้สอนซงึ่ ปฏิบัติงานอยใู่ นสถานศึกษาจาแนกตามวุฒิการศึกษา ตาแหน่ง และขนาดของสถานศึกษามี ความคิดเห็นต่อการบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 27 แตกต่างกนั หรอื ไม่ วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั 1. ศึกษาการบริหารตามหลกั ธรรมาภบิ าลของผบู้ ริหารสังกัดสานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษาเขต 27 ตามความคิดเห็นของครูผู้สอน 2. เปรียบเทยี บสงั กัดสานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต 27 ตามความคิดเห็นของครูผู้สอนจาแนก ตามวฒุ ิการศกึ ษาประสบการณใ์ นการปฏบิ ัตงิ านและขนาดของสถานศกึ ษา สมมตฐิ านของการวจิ ัย ครผู สู้ อนทมี่ ี วฒุ ิการศกึ ษา ตาแหน่ง และขนาดของสถานศึกษาท่ีมขี นาดตา่ งกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหาร สถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 แตกต่างกัน ประโยชน์ของการวิจัย 1. ไดท้ ราบการบรหิ ารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภบิ าลของผบู้ ริหารสถานศึกษา เพ่อื เป็น ประโยชน์สาหรบั ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา นาไปเพ่ิมประสทิ ธิภาพของการปฏบิ ัติงาน 2. ไดผ้ ลการเปรียบเทียบแนวความคดิ ในการบริหารสถานศกึ ษาตามหลักธรรมาภบิ าลของ ผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 ตามสถานภาพ ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ สาหรับผู้บริหารนาไปเพิ่มประสทิ ธิภาพของการบริหารสถานศึกษาให้ตรงกลุ่มเปาู หมาย 3. ผลการศกึ ษาครั้งนี้ สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการบริหารสถานศึกษา ตาม หลักธรรมาภบิ าลของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ซ่ึงจะเป็นประโยชนส์ าหรับผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาและผเู้ ก่ียวข้องนาไปกาหนด นโยบายและวางแผน เพื่อเพิม่ ประสทิ ธภิ าพซึ่งจะมผี ลต่อ ขวญั และกาลังใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร และคุณภาพ ของผเู้ รียนต่อไป หน้า 440

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) วธิ ดี าเนนิ การวจิ ยั การวจิ ัยเรื่อง การบริหารสถานศึกษาตามหลกั ธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 มีประเด็นและข้ันตอนการดาเนินงานที่สาคัญ ซึ่งผู้ศึกษาได้ดาเนินการไปตามลาดับ ขนั้ ตอนดังต่อไปนี้ ประชากร ประชากรท่ี ใช้ในการศกึ ษาคร้ังนี้ ไดแ้ ก่ ครผู ูส้ อน ในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 ปกี ารศึกษา 2562 จานวน 3,053 คน ประกอบด้วย โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ จานวน 799 คน โรงเรียนขนาดใหญ่ จานวน 609 คน โรงเรยี นขนาดกลาง จานวน 791 คน โรงเรียนเลก็ จานวน 854 คน กลมุ่ ตัวอย่าง กลมุ่ ตัวอยา่ งท่ีใช้ในการศึกษาครงั้ น้ีไดแ้ ก่ครูผูส้ อน ในสงั กดั สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 ปีการศึกษา 2562 กาหนดขนาดกล่มุ ตัวอย่างใช้ตารางเทียบหากลุ่มตัวอย่างของเครซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan 1970 : 607-610) และใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิตามสัดส่วน โดยใช้ขนาดของสถานศึกษาเป็นเกณฑ์ในการ แบง่ ได้กลุ่มตัวอยา่ ง รวมทั้งสิ้น จานวน 341 คน ทาการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายตามขนาดของสถานศึกษาแบ่งออกเป็น ครูสอนโรงเรียนขนาดใหญ่พเิ ศษ จานวน 100 คน ครสู อนโรงเรยี นขนาดใหญ่ จานวน 89 คน ครูสอนโรงเรียนขนาด กลาง จานวน 62 คน ครูสอนโรงเรียนเล็ก จานวน 90 คน เครอื่ งมือทใี่ ช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลครั้งนี้ ไดแ้ ก่แบบสอบถาม แบง่ ออกเป็น 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกย่ี วกบั สถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม ได้แก่ วฒุ ิการศึกษาตาแหน่ง และขนาด ของสถานศกึ ษา มลี กั ษณะเปน็ แบบตรวจสอบรายการ (Check - List) ตอนที่ 2 แบบสอบถามการบริหารสถานศกึ ษาตามหลกั ธรรมาภบิ าลของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา สงั กดั สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 27ซึง่ มีลักษณะเป็นแบบสอบถามมาตราสว่ นประมาณค่า 5 ระดับ ตามวิธีการวดั แบบ ลเิ คริ ์ท(Likert)โดยใหค้ ่านา้ หนกั คะแนน แตล่ ะข้อ การสร้างและการหาคณุ ภาพเครอ่ื งมือ การสร้างและการหาคุณภาพเคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้ดาเนินการตามลาดับขั้นตอน ดงั น้ี 1. ศกึ ษาเอกสาร ตารา และงานวิจัยทเ่ี ก่ียวข้องกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล เพ่ือเป็นแนวทางใน การกาหนดกรอบแนวคดิ ในการวจิ ัยและการสร้างแบบสอบถาม 2. ร่างแบบสอบถามท่ีได้ศึกษาแล้วนาเสนอประธานและกรรมการท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ เพ่ือตรวจสอบและ แก้ไขประเดน็ คาถามใหส้ มบูรณ์ย่งิ ขึน้ 3. นาแบบสอบถามท่ีปรับปรุงแก้ไขแล้วเสนอผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 5 ท่าน เพื่อขอความ อนุเคราะห์ในการ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยหาค่าดัชนีความสอดคล้อง ระหว่างข้อคาถามและ วัตถปุ ระสงค์ (Index of Item - objective Congruence : IOC) หน้า 441


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook