Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ED-APHEIT 2020

ED-APHEIT 2020

Published by ED-APHEIT, 2020-04-06 04:37:45

Description: การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร
สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ
หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption”
ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.)

Keywords: ED-APHEIT 2020 ศึกษาศาสตร์ สสอท.

Search

Read the Text Version

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 3.ผลจากการวจิ ยั พบว่า วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษา สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออก ท้ัง 9 สถาบัน มีป๎ญหา และอุปสรรคในการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา (พ.ศ.2560-2579) ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการเพ่ิม ประสทิ ธภิ าพระบบการบริหารจดั การอาชีวศกึ ษา อยใู่ นระดับมาก ในทุกประเด็น ดังนัน้ หนว่ ยงานระดบั นโยบายควรมี ความชัดเจนในด้านการสนับสนุน อาทิเช่น งบประมาณ การให้ข้อมูล เปิดโอกาสให้สถานศึกษาได้มีส่วนร่วมในการ เสนอโครงการต่างๆใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพจริงของวิทยาลัย ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะจากการวิจัย 1. ในการดาเนนิ งานตามโครงการที่เก่ยี วข้องกับ กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการ บริหารจัดการอาชีวศึกษา ในโครงการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมระหว่างหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอน ปลาย (ทวิศึกษา)ในวิทยาลัย พบว่า แม้จะมีการดาเนินงานตามแผน แต่ระดับการปฏิบัติงานมีค่าคะแนนไม่มากนัก ดังนั้นสถาบันควรพิจารณา ปรับปรุง พัฒนา และติดตามประเมินผลโครงการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมระหว่าง หลักสูตรอาชีวศกึ ษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวศิ ึกษา)ในวทิ ยาลยั ใหช้ ดั เจนและเป็นระบบมากขนึ้ 2. การดาเนินงานตามโครงการที่เก่ียวข้องกับกลยุทธ์ท่ี 4 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในการ อาชวี ศกึ ษาทุกระดับการศึกษา โครงการพัฒนาระบบการประเมินและการประกันคุณภาพวิทยาลัย แบบออนไลน์สู่ มาตรฐานสากล (APACC) พบว่า แมจ้ ะมีการดาเนินงานตามแผน แตร่ ะดบั การปฏบิ ตั งิ านมคี ่าคะแนนไมม่ ากนัก ดังนั้น สถาบันควรส่งเสริม ความรู้ และวิธีการใหก้ ับผู้ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง เพ่ือจะได้ พัฒนาระบบการประเมินและการประกันคุณภาพวิทยาลัย แบบออนไลน์สู่มาตรฐานสากล (APACC) ให้บรรลุตาม เปูาหมาย เพื่อเปน็ การยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา 3.ผลจากการวิจยั พบวา่ วิทยาลยั อาชีวศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ทั้ง 9 สถาบัน มีป๎ญหา และอุปสรรคในการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา (พ.ศ.2560-2579) ยุทธศาสตร์ท่ี 6 ด้านการเพ่ิม ประสิทธิภาพระบบการบริหารจดั การอาชีวศึกษา อยใู่ นระดับมาก ในทกุ ประเด็น ดงั นน้ั หน่วยงานระดับนโยบายควรมี ความชัดเจนในด้านการสนับสนุน อาทิเช่น งบประมาณ การให้ข้อมูล เปิดโอกาสให้สถานศึกษาได้มีส่วนร่วมในการ เสนอโครงการตา่ งๆให้สอดคล้องกับสภาพจริงของวทิ ยาลยั ขอ้ เสนอแนะในการทาวิจัยคร้ังต่อไป 1. ควรมกี ารศึกษาผลสาเรจ็ ของการดาเนินงานตามโครงการต่างๆ ในยุทธศาสตร์อื่นๆ เพื่อเปรียบเทียบผล การดาเนนิ การดาเนนิ ในภาพรวมของวทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษา 2.ควรมีการศึกษาเชิงลึกในประเด็นป๎ญหา อุปสรรค ของการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา (พ.ศ.2560-2579) เพือ่ จะไดแ้ นวทางในการพัฒนา ปรบั ปรุง และแก้ไขปญ๎ หา เอกสารอา้ งองิ กระทรวงศึกษาธกิ าร. การประชุมขบั เคล่ือนการบรู ณาการดา้ นการศกึ ษาระดับภาค (ภาคตะวันออก) เมื่อวันที่ 24-25 ตุลาคม 2561. เข้าถึงได้จากwww.moe.go.th หนา้ 292

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) กระทรวงศกึ ษาธิการ. การผลิตกาลังคนดา้ นอาชีวศึกษาตามนโยบาย เป้าหมาย ยทุ ธศาสตร์การผลิต และพัฒนากาลงั คนอาชีวศกึ ษาสูส่ ากล พ.ศ. 2555-2569 . เขา้ ถึงได้จากwww.lampangpoly.ac.th สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา. นโยบายอาชวี ศกึ ษา. เขา้ ถงึ ได้จาก www.moe.go.th. สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา. แนวคดิ ในการจดั การศึกษาระบบอาชีวศกึ ษา. เข้าถงึ ได้ จาก www.moe.go.th สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 มีความ เชอ่ื มโยงระหวา่ งยทุ ธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี แผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี 12 .เขา้ ถึงไดจ้ าก www.moe.go.th สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ เป้าหมาย แผนงาน โครงการ ตวั ช้ีวัด แผนพฒั นาการอาชีวศกึ ษา พ.ศ. 2560-2579. เข้าถงึ ไดจ้ าก www.vec.go.th สานกั งานคณะกรรมการอาชีวศกึ ษา. การจัดการศึกษาดว้ ยระบบอาชวี ศึกษา.เข้าถึงได้จาก WWW.VEC.go.th สานกั มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษาและวิชาชีพ. สานกั งานคณะกรรมการอาชีวศึกษา. (2555). แนวการ จัดการศึกษา ตามมาตรา 8 พระราชบัญญัตกิ ารอาชวี ศึกษา พ.ศ. 2551. สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาต.ิ พระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ ท่ีแกไ้ ขเพม่ิ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. สานักนายกรฐั มนตร.ี มปป. สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. การเรยี นรู้ : ขุมทรพั ยใ์ นตน. คณะกรรมาธิการนานาชาตวิ ่าดว้ ย การศึกษาในศตวรรษที่ 21 ร่วมกับยเู นสโก. สวุ ัฒน์ วฒั นวงศ์. (2551). รวมบทความแนวคิดทางอาชีวศึกษาและการศกึ ษาผใู้ หญ่. กรงุ เทพฯ : สานักพมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปัญหาการจัดการศกึ ษาในประเทศไทย.เข้าถึงได้จากhttp://www.nesdb.go.th พิชานนั ท์ กจิ จานุกจิ . (2550). กลยุทธ์การส่ือสารการตลาดของโรงเรยี นปญ๎ ญาภวิ ัฒน์เทคโน ธรุ กจิ . วิทยานพิ นธ์. วรสารศาสตรม์ หาบณั ฑิต. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ หน้า293

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ผลการจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้โครงงานเปน็ ฐานในรายวชิ าเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ท่ีมีต่อการคิดเชิงคานวณ ของนกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ปทมุ วนั The Effect of Project – Based Learning management in technology subject (Computing science) on computational thinking of Mathayomsuksa 4 students at Patumwan Demonstration School กติ ตศิ กั ดิ์ นิทาน สุนทร ภรู ปี รีชาเลิศ โรงเรียนสาธติ มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ปทุมวนั E-mail [email protected], [email protected] บทคัดยอ่ การศกึ ษาวจิ ยั คร้ังนี้มจี ุดม่งุ หมายเพอ่ื ศกึ ษาการคิดเชงิ คานวณของนักเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ โครงงานเป็นฐานในวชิ าเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) การวิจัยน้ีเป็นการวิจัยเชิงกึ่งทดลองใช้รูปแบบการศึกษากลุ่มเดียวในการศึกษาการคิดเชิงคานวณของนักเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้เป็นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนสาธิต มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ ปทุมวัน จานวน 35 คน จากนักเรียนจานวน 301 คน ซ่ึงได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม จากน้ัน จัดการเรียนรโู้ ดยใชโ้ ครงงานเป็นฐาน สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาคือ คา่ เฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่าคะแนนการคิดเชิงคานวณของนักเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 26.60 คิดเป็นร้อยละ 73.89 อยูใ่ นระดบั ดี คาสาคัญ: โครงงานเปน็ ฐาน การคดิ เชงิ คานวณ ABSTRACT The purpose of this research was to study the computational thinking of students after learning management by using project as a base in technology. (Computing science) This research is a quasi-experimental research to study the computational thinking of students using the single group study model. The samples used in this study were 35 from 301 of Mathayomsuksa 4 students in the second semester of the academic year 2018 at the Patumwan Demonstration School, selected by random sampling. The statistics used in the study were Mean and standard deviation. The results of the study showed that the average score of students' computational thinking scores is 26.60 (73.89%) which are at a good level. KEYWORDS:Project – Based Learning , Technology Subject (Computer Science), Computational thinking หนา้ 294

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) บทนา ในปี พ.ศ.2551 กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โ ดยสาระ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารเป็นสาระท่ี 3 ในกลุ่มสาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ท้ังนีก้ ารจัดทา ตัวชว้ี ัดชน้ั ปแี ละตวั ชวี้ ดั ชว่ งชนั้ สาหรับสาระดังกล่าวได้นามาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นเดิมจากหลักสูตร ปี พ.ศ. 2544 มาพิจารณาและจัดแบ่งเน้ือหาแต่ละชั้นปี ตามความยากง่ายและศักยภาพของเด็กในแต่ละช่วงวัย เน้นให้ผู้เรียนนา เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน สามารถค้นหาข้อมูลและสร้างช้ินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ มีจริยธรรม และมีความรพู้ ้นื ฐานดา้ นการเขียนโปรแกรมเพ่ือการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นซ่ึงสอดคล้อง กับสถานการณท์ ่เี ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารเร่ิมเขา้ มามบี ทบาทกบั การทางานและการดาเนินชีวิตประจาวัน มากขน้ึ ปจ๎ จบุ นั เศรษฐกิจ สังคมโลก เปลีย่ นแปลงไปจากเดมิ มาก มกี ารนาเทคโนโลยมี าประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวัน และใช้ในด้านอุตสาหกรรมการผลิต การบริการ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น ส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงวิถี ชีวติ สงั คม มีการทาธุรธรรมออนไลน์ การเขา้ ถงึ ติดตอ่ สื่อสาร นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ผ่านส่ือต่าง ๆ ส่วนการพัฒนา ด้านเทคโนโลยคี อมพิวเตอรแ์ ละการส่อื สารกไ็ ดร้ ับการนาไปใช้เป็นเคร่ืองมือ ช่วยในการทางาน การศึกษา การเรียนรู้ ให้มีประสิทธิภาพและสะดวกสบายมากข้ึน เพื่อการพัฒนาประเทศให้ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงน้ี รัฐจึงได้วาง นโยบาย ประเทศไทย 4.0 ทีเ่ นน้ ขีดความสามารถการแข่งขนั ของประเทศ เป็นโมเดลเศรษฐกิจที่จะนาพาประเทศไทย ใหเ้ ปลย่ี นผ่านไปสู่ “ประเทศในโลกที่หนึ่ง” ที่มีความมั่นคง มั่งค่ัง และยั่งยืน ในบริบทของการปฏิวัติอุตสาหกรรม ยคุ ที่ 4 อยา่ งเป็นรูปธรรม ตามแนวทางแผนยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี ด้วยการสร้างความเข้มแข็งจากภายในควบคู่ไปกับ การเชื่อมโยงกับประชาคมโลก ตามแนวคิด “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ทิศทางการพัฒนาของประเทศเน้น แนวทางจากการได้เปรียบของประเทศไทยที่มีอยู่ 2 ด้าน คือความหลากหลายเชิงชีวภาพ (Biodiversity) และความ หลากหลายเชิงวัฒนธรรม (Cultural Diversity) ให้เป็นความได้เปรียบในเชิงแข่งขัน (Competitive Advantage) โดยการเติมเต็มดว้ ยวิทยาการ ความคิดสรา้ งสรรค์ นวตั กรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการวิจัยและพัฒนา แล้ว ตอ่ ยอดความได้เปรียบเชงิ เปรยี บเทยี บเปน็ 5 กล่มุ เทคโนโลยแี ละอุตสาหกรรมเปาู หมาย การเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสารจึงอาจไม่เพียงพอสาหรับการดาเนินชีวิตในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลท่ีต้องมีพื้ นฐานความรู้และ ทักษะเพื่อแกป้ ๎ญหาในชีวิตจริงหรือพฒั นานวัตกรรม และใช้ทรพั ยากรดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารในการ สร้างองคค์ วามรู้หรือสร้างมลู ค่าใหเ้ กดิ ขน้ึ ได้อย่างสร้างสรรค์สสวท. ตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาทักษะของ ผู้เรยี นใหด้ ารงชีวติ อยู่ได้อย่างมคี ุณภาพในศตวรรษที่ 21 รวมถึงสร้างความรู้ ความเข้าใจ และสง่ เสรมิ ทักษะขั้นพ้ืนฐาน ในการนาเทคโนโลยีไปสร้างนวัตกรรมอย่างมีความคิดสร้างสรรค์เพื่อตอบสนองต่อโมเดลประเทศไทย 4.0 ท่ีใช้เป็น เครือ่ งมือในการก้าวไปสู่ประเทศไทยทม่ี คี วามมนั่ คง มงั่ คั่งและย่ังยืน จึงได้ปรับเปลี่ยนหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่อื สารไปสู่หลักสูตรวิทยาการคานวณ ท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะ การคิดวิเคราะห์ แก้ป๎ญหาอย่าง เป็นข้ันตอนและเป็นระบบ มีทักษะการคิดเชงิ คานวณ ซ่ึงผู้เรยี นสามารถนาทักษะนไ้ี ปประยุกต์ใชเ้ พื่อแก้ป๎ญหาในชีวิต จริงได้ด้วย เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้พัฒนาแอปพลิเคชันและหรือโครงงานด้านคอมพิวเตอร์ที่สนับสนุนงานในกลุ่ม อุตสาหกรรมเปูาหมายของประเทศ สร้างทักษะในการรวบรวม ประมวลผล ประเมินผล นาเสนอสารสนเทศ ใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารในการทางาน ใหส้ ามารถออกแบบวิธีการท่ีเหมาะสมและสร้างสารสนเทศท่ีเป็น ประโยชน์หรือเกิดมูลค่าได้ รวมถึงให้ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการปกปูองข้อมูลส่วนตัวและรู้เท่าทันต่อการใช้ หนา้ 295

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จะเหน็ ไดว้ ่าความรู้และทักษะดังกล่าวน้ีล้วนมีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิตใน ศตวรรษที่ 21 อีกทั้งยังเป็นการเตรียมเยาวชนให้เป็นพลเมืองท่ีมีความพร้อมในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล ซ่ึงจะเป็นกาลัง สาคญั ในการพัฒนาประเทศตอ่ ไปได้ป๎จจบุ นั สาระการเรยี นร้แู กนกลางกล่มุ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระท่ี 8 เทคโนโลยีในวิทยาการคานวณ มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และมีทักษะการคิดเชิงคานวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ป๎ญหาเป็นข้ันตอนและเป็นระบบ ประยกุ ต์ใช้ความร้ดู า้ นวิทยาการคอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ในการแก้ป๎ญหาที่พบในชีวิตจริง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีสาระสาคัญ คือ วิทยาการคอมพิวเตอร์ การแก้ป๎ญหาอย่างเป็นข้ันตอนและเป็นระบบ การใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ป๎ญหาในชีวิตประจาวัน การบูรณาการกับวิชาอ่ืน การเขียนโปรแกรม การ คาดการณ์ผลลัพธ์ การตรวจหาข้อผิดพลาด การพัฒนาแอปพลิเคชันหรือพัฒนาโครงงานอย่างสร้ างสรรค์เพ่ือ แก้ป๎ญหาในชีวิตจริง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การรวบรวมข้อมูล การประมวลผล การประเมินผล การนาเสนอข้อมูลหรือสารสนเทศเพื่อแก้ป๎ญหาในชีวิตจริง การค้นหาข้อมูลและแสวงหาความรู้บนอินเทอร์เน็ต ข้อตกลงและข้อกาหนดในการใชส้ ื่อหรอื แหล่งข้อมูลต่าง ๆ หลักการทางานของคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีการส่ือสาร การรู้ดิจิทัล การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างปลอดภัย การจัดการอัตลักษณ์ การรู้เท่าทันส่ือ กฎหมายเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ การใช้ลิขสิทธ์ิของผู้อ่ืนโดยชอบธรรม นวัตกรรมและผลกระทบของเทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สารตอ่ การดาเนินชีวิตอาชีพ สังคม และวัฒนธรรม (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ,2560) การคดิ เชงิ คานวณนั้นมีความจาเปน็ อย่างยง่ิ สาหรบั ผู้เรียนในป๎จจุบันเน่ืองจากผู้เรียนจะต้องเผชิญ กบั ปญ๎ หาในโลกความเป็นจริง จึงต้องพิจารณาป๎ญหา สามารถจัดการข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับป๎ญหา ทดสอบแผนการ ดาเนินงาน แกไ้ ขป๎ญหาเพ่อื ตรวจสอบข้อผดิ พลาดและปรบั แก้ไขแผนการดาเนนิ งานให้ดีขึ้น (McKenna,2017 อ้างถึง ในศรายทุ ธ ดวงจันทร,์ 2561 : 1) แม้ว่าความสามารถในการคิดเชิงคานวณจะถูกส่งเสริมในสาระวิทยาการคานวณ เป็นส่วนใหญ่ แตม่ ีความจาเปน็ ท่ีครูผู้สอนควรสง่ เสริมให้กับนักเรียนในสาระวิชาอ่ืน ๆ ที่หลากหลายไม่ใช่เพียงแต่ใน สาระวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ (Yadav et al., 2011 อ้างถึงในศรายุทธ ดวงจันทร์, 2561 : 1) จากการศึกษางานวิจัย ของศภุ วัฒน์ ทรพั ยเ์ กิด (2559) พบวา่ นักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 มปี ๎ญหากับการเรียนในวชิ าการโปรแกรมและการ ประยุกต์ โดยนักเรียนไม่สามารถวิเคราะห์ป๎ญหาและออกแบบวิธีการแก้ป๎ญหาเพ่ือนาไปใช้ในการเขียนโปรแกรมได้ ซง่ึ เปน็ ผลมาจากการขาดความสามารถในการคิดเชิงคานวณ ดงั น้นั การจัดการเรียนการสอนควรเป็นรูปแบบที่ส่งเสริม ความสามารถในการคิดเชิงคานวณโดยให้นักเรียนได้เผชิญกับสถานการณ์ที่เก่ียวข้องกับการแก้ป๎ญหา สอดคล้องกับ การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในศตวรรษท่ี 21 ท่ีผู้สอนต้องจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ให้ผู้เรียนได้ ออกไปเผชิญป๎ญหาและการเปลี่ยนแปลง เรียนรู้ทักษะไปพร้อม ๆ กับทฤษฎี ค้นหาความรู้ด้วยตนเองโดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ (จรยิ า สจุ ารีกลุ , 2550 อ้างถึงในศรายุทธ ดวงจันทร์, 2561 : 3) ในระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 มตี ัวชีว้ ดั ใหน้ ักเรียนจะไดศ้ ึกษาการประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคิดเชิงคานวณในการพัฒนา โครงงาน การพัฒนาโครงงานทางด้านเทคโนโลยี การนาแนวคิดเชิงคานวณพัฒนาโครงงานที่เก่ียวกับชีวิตประจาวัน ตลอดจนใช้ในการพัฒนาโครงงานท่ีมีการบูรณาการกับวิชาอื่นอย่างสร้างสรรค์และเชื่อมโยงกับชีวิตจริงโดยอาศัย กระบวนการเรียนรู้โดยใช้ป๎ญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning) และการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) เพ่ือเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญสถานการณ์การแก้ป๎ญหาวาง แผนการเรียนรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้ และนาเสนอผา่ นการทากิจกรรมโครงงาน เพ่ือให้เกิดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ หนา้ 296

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) และทักษะในการวิเคราะห์โจทย์ป๎ญหา จนสามารถนาเอาแนวคิดเชิงคานวณมาประยุกต์ใช้ในการสร้างโครงงานได้ เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถใช้ความรู้ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อ รวบรวมข้อมูลในชีวิตจริงจากแหล่งต่างๆ และความรู้จากศาสตร์อ่ืน มาประยุกต์ใช้ สร้างความรู้ใหม่ เข้าใจการ เปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีท่ีมีผลต่อการดาเนินชีวิต อาชีพ สังคม วัฒนธรรม และใช้อย่างปลอดภัยมีจริยธรรม ตลอดจนนาความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม และการดารงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคดิ และจนิ ตนาการ ความสามารถในการแก้ป๎ญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ และเป็นผู้ท่ีมีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ยา่ งสรา้ งสรรค์ จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจในการศึกษาผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน วชิ าเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ท่ีมีตอ่ การคดิ เชิงคานวณของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เพื่อเป็นแนวทางในการ จัดการเรียนรเู้ พ่ือส่งเสริมสมรรถนะและทักษะตา่ งๆ ทจ่ี าเป็นสาหรับนักเรยี นตามท่หี ลักสูตรกาหนดไว้ วัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาการคิดเชิงคานวณของนักเรียนหลังจากได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานในวิชา เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ประชากรท่ีใชใ้ นการวิจยั ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้เป็นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 ปีการศกึ ษา 2561 จานวน 9 ห้องเรยี น นกั เรยี นทง้ั หมด 301 คน กลมุ่ ตัวอยา่ งทีใ่ ช้ในการวจิ ัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ีเป็นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ศรีนครินทร วิโรฒ ปทุมวนั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ปกี ารศกึ ษา 2561 จานวน 1 ห้องเรียน จานวน 35 คน ไดม้ าโดยการสมุ่ แบบกลมุ่ ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ตวั แปรอิสระคือการจัดการเรยี นรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน ตวั แปรตามคอื การคิดเชงิ คานวณ วิธดี าเนนิ การวิจัย 1. การสร้างเครือ่ งมือทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัย เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ในการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ เครื่องมือท่ีใช้ในการทดลองและเครื่องมือที่ใช้ใน การรวบรวมข้อมลู มีรายละเอยี ดการสรา้ งเครอื่ งมอื ทใี่ ช้ในการวิจัย ดงั น้ี หน้า297

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 1.1 เครอ่ื งมือทีใ่ ช้ในการทดลอง ไดแ้ ก่ แผนการจดั การเรยี นรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน มีขั้นตอนในการพัฒนา ดังตอ่ ไปน้ี 1) ศกึ ษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกีย่ วขอ้ ง 2) ศึกษาเนอ้ื หาจากแบบเรียนรายวชิ าเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 กลุ่มสาระ การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พ.ศ.2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2560) 3) กาหนดเนื้อหาและกจิ กรรมการเรียนร้จู านวน 16 คาบ 4) ดาเนินการร่างแผนการจดั การเรียนรู้ 5) นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างข้ึนเสนอต่อผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 3 ท่าน เพ่ือตรวจสอบความสอดคล้อง ระหว่างจดุ ประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตลอดจน ตรวจสอบความเหมาะสมของภาษาท่ีใช้ จากนั้นพิจารณารายการประเมินค่าดัชนีความสอดคล้องของผู้ทรงคุณวุฒิ (Index of Item – Objective Congruence : IOC) ในแต่ละประเด็นของแผนการจัดการเรียนรู้ พบว่าดัชนีความ สอดคล้องของผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ระหว่าง 0.67 – 1.00 จากน้ันดาเนินการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของ ผู้ทรงคุณวุฒิโดยทดลองคุณภาพเคร่ืองมือกับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 จานวน 30 คน ในภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2561 6) ปรับปรงุ แก้ไขแผนการจดั การเรียนรู้ตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ จากนั้นนาแผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 1 แผน ไปทดลองใช้กับนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มเปูาหมาย โดยเป็นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ห้อง 331 ปี การศึกษา 2561 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน เพ่ือตรวจสอบการใช้เวลา ภาษาและความ เหมาะสมของกจิ กรรม จากนัน้ ทดลองใชแ้ ผนการจดั การเรียนรโู้ ดยใชเ้ วลา 16 คาบเรียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 1.2 เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ได้แก่ แบบวดั ความสามารถในการคิดเชิงคานวณ ซึ่งมีขั้นตอนใน การพฒั นา ดงั ต่อไปน้ี 1) ศึกษาเอกสาร ตารา ทีเ่ กย่ี วข้องกับความสามารถในการคิดเชิงคานวณในแง่ของความหมายและ องค์ประกอบ ตามแนวทางของสถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2561) เพ่ือกาหนดพฤติกรรมบ่งช้ี ทีใ่ ชส้ ร้างแบบวัดความสามารถในการคดิ เชิงคานวณ ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ตารางแสดงพฤติกรรมบ่งชขี้ องความสามารถในการคดิ เชิงคานวณในแต่ละด้าน ศรายุทธ ดวงจันทร์ (2561 : 50) องคป์ ระกอบ พฤตกิ รรมบง่ ช้ี 1. ก า ร แ ย ก ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ แ ล ะ ก า ร ย่ อ ย ป๎ ญ ห า - วิเคราะห์และแบ่งระบบหรอื ปญ๎ หาออกเป็นสว่ นยอ่ ย (Decomposition) - สามารถแกป้ ญ๎ หาสว่ นยอ่ ยได้ 2. การหารปู แบบ (Pattern Recognition) - ระบแุ บบของระบบหรอื รูปแบบของวิธีการแก้ป๎ญหาที่มี ความเหมือน หรอื สอดคลอ้ งกนั - ระบุแนวโน้มคาตอบโดยสังเกตรูปแบบของระบบหรือ หนา้ 298

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) องคป์ ระกอบ พฤตกิ รรมบง่ ช้ี 3. การคิดเชงิ นามธรรม (Abstraction) วธิ กี ารแกป้ ญ๎ หา - เขียนแผนภาพ สัญลักษณ์ ท่ีเป็นตัวแทนสถานการณ์ 4. การออกแบบข้ันตอนวิธี (Algorithms) หรือปญ๎ หา - ระบุส่วนสาคัญของป๎ญหาโดยคัดกรองสิ่งที่ไม่เก่ียวข้อง ออกได้อยา่ ง ชดั เจน - ระบหุ รือจดั เรียงขนั้ ตอนวธิ ีการแกป้ ๎ญหา - สามารถออกแบบ สร้าง และเขียนข้ันตอนในการบรรลุ งานหรือ การแกไ้ ขป๎ญหาได้ 2) สร้างแบบวัดความสามารถในการคิดเชิงคานวณตามลักษณะท่ีกาหนดไว้ เป็นแบบวัดประเภท อัตนัย โดยแบบวัดเปน็ สถานการณ์ท่ีครอบคลมุ การใชค้ วามสามารถในการคิดเชิงคานวณทุกองค์ประกอบ มีจานวน 3 สถานการณ์ ในแตล่ ะสถานการณ์ประกอบดว้ ย 4 ข้อคาถาม ทีใ่ ช้วดั แตล่ ะองคป์ ระกอบของความสามารถในการคิดเชิง คานวณ รวมจานวนขอ้ คาถามในแบบวัดท้ังส้นิ 12 ข้อคาถาม ใช้เวลาในการทาแบบวัด 60 นาที 3) สร้างเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนในแตล่ ะข้อคาถามตามแนวทางของ Rodriguez (2015) อ้างถึงในศรา ยุทธ ดวงจันทร์ (2561 : 51) คือเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค โดยมีการให้คะแนนต้ังแต่ 1 – 3 คะนน ตามเกณฑ์ รบู รคิ รายขอ้ คาถาม หากไมเ่ ขียนตอบได้ 0 คะแนน โดยรวมมีจานวน 12 ข้อคาถาม คิดเป็น 36 คะแนน 4) กาหนดเกณฑ์การประเมินระดับความสามารถในการคิดเชิงคานวณตามเกณฑ์ระดับ ความสามารถในการคิดเชิงคานวณ 6 ระดบั ของ Ling et al.(2018) อ้างถงึ ในศรายทุ ธ ดวงจนั ทร์ (2561 : 51) ตารางที่ 3 เกณฑช์ ่วงคะแนนร้อยละและระดบั ความสามารถในการคดิ เชิงคานวณ ชว่ งคะแนนร้อยละที่ได้ ระดบั ความสามารถ ความหมาย มีคะแนนตัง้ แตร่ อ้ ยละ 81 ข้นึ ไป 6 ดมี าก มคี ะแนนระหวา่ งรอ้ ยละ 65 - 80 5 ดี มคี ะแนนระหว่างรอ้ ยละ 49 – 64 4 มีคะแนนระหว่างร้อยละ 33 – 48 3 ค่อนขา้ งดี มคี ะแนนระหว่างรอ้ ยละ 17 – 32 2 พอใช้ มีคะแนนต่ากว่าร้อยละ 16 1 คอ่ นขา้ งตา่ ปรับปรุง หนา้ 299

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 5) นาแบบวัดความสามารถในการคิดเชิงคานวณและเกณฑ์การให้คะแนนเสนอต่อผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบค่าดัชนีความตรง (Index of Item – Objective Congruence : IOC) ของข้อคาถาม ต่อความสอดคล้องของพฤติกรรมท่ีต้องการวัด และตรวจสอบลักษณะการใช้คาถามและความถูกต้องเหมาะสมของ ภาษา จากน้ันพิจารณารายการประเมินค่าดัชนีความสอดคล้องของผู้ทรงคุณวุฒิ (IOC) ในแต่ละข้อ พบว่ามีค่าดัชนี ความสอดคล้องอยรู่ ะหวา่ ง 0.67 – 1.00 6) นาแบบวดั ความสามารถในการคิดเชิงคานวณไปทดลองใช้กับนักเรียนกลุ่มท่ีไม่ใช่เปูาหมาย เพ่ือ ตรวจสอบคุณภาพแบบวัดรายขอ้ ในด้านค่าความยาก ค่าอานาจจาแนก พบว่ามีค่าความยากอยู่ระหว่าง 0. 28 – 0.86 คา่ อานาจจาแนกอยูร่ ะหวา่ ง 0.20 – 0.48 และมีค่าความเทยี่ งเท่ากับ 0.72 7) นาแบบวัดความสามารถในการคิดเชิงคานวณท่ีผ่านการทดลองใช้แล้วมาตรวจสอบความเป็น ปรนัย พิจารณาจากค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างผู้ประเมิน (Rater Agreement Index; RAI) โดยการตรวจ ประเมินระหว่างผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิทยาการคานวณ 1 ท่าน และผู้วิจัย ผลการตรวจสอบความเป็นปรนัยพบว่ามีค่า ดชั นคี วามสอดคลอ้ งระหวา่ งผูป้ ระเมนิ อยู่ระหวา่ ง 0.80 – 1.00 2. การดาเนนิ การทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล การวิจัยนีผ้ วู้ ิจัยดาเนินการทดลองจดั การเรยี นร้ตู ามแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีพัฒนาขึ้น และเก็บรวม รวมขอ้ มลู ดว้ ยตนเอง โดยมลี าดับขั้นตอน ดังนี้ 2.1 การเตรียมนักเรยี น เตรียมความพร้อมนกั เรยี นกลุ่มตัวอยา่ ง โดยดาเนนิ การแนะนาวิธีการสอน ชี้แจงจุดประสงค์ และวธิ กี ารจัดการเรียนรู้ การวดั ผลและประเมนิ ผลใหน้ ักเรียนกลุ่มตวั อย่างทราบ 2.2 การดาเนินการทดลอง ดาเนินการจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 คาบเรียน รวมท้งั สน้ิ 16 คาบเรยี น 2.3 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู หลงั การทดลอง เมอื่ ดาเนินการจัดการเรยี นรตู้ ามแผนการจัดการเรยี นรคู้ รบตามกาหนดแล้ว จงึ ดาเนินการเก็บ รวบรวมข้อมูลหลังการทดลองของนักเรียนกลุ่มเปูาหมาย โดยการทดสอบด้วยแบบวัดความสามารถในการคิดเชิง คานวณ ใช้เวลาในการทาแบบวัด 90 นาที 3. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู คานวณคะแนนเฉลี่ย คะแนนร้อยละเฉลี่ย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของคะแนน ความสามารถในการคิดเชิงคานวณของกลุ่มเปูาหมายในแต่ละองค์ประกอบและภาพรวมของกลุ่มเปูาหมายหลังการ ทดลอง จากแบบวัดความสามารถในการคิดเชิงคานวณ และวิเคราะห์ระดับความสามารถในการคิดเชิงคานวณของ กลุ่มเปูาหมาย ผลการวิเคราะห์ข้อมูล หนา้ 300

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) การศึกษาระดับความสามารถในการคดิ เชงิ คานวณหลงั เรยี นของนกั เรียนกลุม่ เปูาหมายแสดงผลการวิเคราะห์ ระดับความสามารถในการคิดเชิงคานวณหลงั เรียนของนกั เรยี นกล่มุ เปูาหมาย ดงั ตารางที่ 4 ตารางที่ 4 คา่ สูงสุด (Max) คา่ ตา่ สุด (Min) คา่ เฉล่ยี และคา่ เฉลย่ี รอ้ ยละ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) และ ระดบั ของความสามารถในการคดิ เชงิ คานวณหลังเรยี นของนกั เรียน องคป์ ระกอบ คะแนน คา่ สถติ ิ ระดบั การแยกสว่ นประกอบและการย่อยป๎ญหา เตม็ Max Min X S.D. Xร้อยละ ความสามารถ การหารูปแบบ การคดิ เชงิ นามธรรม 9 9 3 7.77 1.52 86.33 ดีมาก การออกแบบขั้นตอนวธิ ี ความสามารถในการคิดเชิงคานวณ 9 9 3 7.27 1.51 80.78 ดีมาก 9 9 3 6.03 1.79 67.00 ปานกลาง 9 9 3 5.33 1.74 61.44 ปานกลาง 36 36 12 26.60 5.83 73.89 ดี จากตารางที่ 4 พบว่าหลังจากนักเรียนกลุ่มเปูาหมายได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน ใน รายวิชาเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) มีคะแนนเฉล่ียร้อยละของความสามารถในการคิดเชิงคานวณอยู่ท่ี ร้อยละ 73.89 ซึง่ จดั อยูใ่ นเกณฑด์ ี เม่อื พจิ ารณาผลการวิเคราะห์แยกองค์ประกอบพบว่าการแยกส่วนประกอบและการย่อยป๎ญหาและการหา รูปแบบนักเรียนมีความสามารถในระดับดีมาก ส่วนการคิดเชิงนามธรรมและการออกแบบขั้นตอนวิธีนักเรียนมี ความสามารถในระดบั ปานกลาง สรปุ ผลการวจิ ัย ผลการศึกษาพบว่าคะแนนการคิดเชิงคานวณของนักเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 26.60 คิดเป็นร้อยละ 73.89 อยู่ในระดบั ดี อภิปรายผล ผลการวจิ ัยครงั้ น้พี บว่านกั เรยี นที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานมีความสามารในการคิดเชิง คานวณหลงั เรียนอยูใ่ นระดับดี เมอ่ื พิจารณาแตล่ ะองค์ประกอบ กล่าวคือ การแยกส่วนประกอบและย่อยป๎ญหา การ หารูปแบบ การคิดเชิงนามธรรม และการออกแบบขั้นตอนวิธี พบว่า นักเรียนมีความสามารถอยู่ในระดับดีทุก องค์ประกอบ สามารถอภิปรายได้ด้วยเหตุผล ดังน้ี การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานน้ันเป็นกิจกรรมอิสระที่นักเรียน เลอื กทาตามความสนใจของตนเองหรือกล่มุ งาน โดยใชท้ กั ษะประสบการณ์ด้านคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ใน หน้า301

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) การแก้ปญ๎ หา ผู้ทาโครงงานจะต้องวางแผนดาเนินงาน ศึกษารายละเอียดของช้ินงาน ตลอดจนเลือกใช้ซอฟต์แวร์ ประยุกต์ หรือซอฟต์แวร์ภาษาคอมพวิ เตอรเ์ พ่อื ใช้พฒั นาโปรแกรมให้บรรลุผลตามเปูาหมายของโครงงาน โดยกิจกรรม โครงงานทดี่ าเนนิ การมีองค์ประกอบหลัก ดังนี้ 1. เป็นกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับฮาร์ตแวร์และซอฟแวร์คอมพิวเตอร์ 2. เป็นกระบวนการทางานท่ีเกิดจากความสนใจและความต้องการของผู้เรียน 3. ผู้ทาโครงงานเป็นผู้ริเริ่มกาหนดหัวข้อ เรื่องทต่ี ้องการศึกษา ค้นคว้า และพัฒนา 3. ผู้ทาโครงงานเปน็ ผ้รู เิ ริม่ กาหนดหัวขอ้ เร่ืองท่ีต้องการศึกษา ค้นคว้า และ พัฒนา 4. ผทู้ าโครงงานเขียนโครงร่างต้นแบบขึ้นมาจากความคิดเหน็ ของตนเองหรือระดมความคิดจากสมาชิกในกลุ่ม ได้อยา่ งอสิ ระ 5. ผู้ทาโครงงานเป็นผู้ศึกษาประเด็นป๎ญหาของเรื่อง โดยมีการวางแผน กาหนดกิจกรรม ภาระงาน ต่างๆ พร้อมเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากแหล่งเรียนรตู้ า่ ง ๆ เชน่ หนังสอื วารสาร วดี ทิ ัศน์ ซีดีรอม อินเทอร์เน็ต และ 6. ผู้เรียนปฏิบัติจริงตามแผนและข้อมูลท่ีรวบรวมได้จนได้ข้อสรุปผลการศึกษาตามเค้าโครงที่กาหนดไว้โดยมีครูเป็นท่ี ปรึกษา ผู้เรียนจะค้นพบความรู้ด้วยตนเอง สามารถแก้ป๎ญหาท่ีเกิดข้ึนเสมือนผู้เรียนได้ทางานวิจัยเพื่อหาคาตอบท่ี ตนเองสงสัยและอยากเรียนรู้ การนาแนวคิดเชิงคานวณมาใช้ในการทาโครงงานเร่ิมจากวิธีการแก้ป๎ญหาที่มี หลากหลาย เช่น วิธีลองผิดลองถูก วิธีกาจัดสิ่งที่ไม่ใช่พวกออก วิธีการใช้เหตุผลประกอบ วิธีหาความสัมพันธ์ของ กลุ่ม ถ้าคิดแก้ป๎ญหาเองไมไ่ ด้ให้ใชก้ ระบวนการแก้ป๎ญหาทุกคนจะต้องทาความเข้าใจป๎ญหา วางแผนและออกแบบ การแก้ปญ๎ หา ดาเนนิ การแก้ป๎ญหา ตรวจสอบความถกู ต้อง และการนาไปใชใ้ นขน้ั ตอนของการวางแผนและออกแบบ ข้ันตอนวิธีให้เลือกเคร่ืองมือโดยการจาลองความคดิ แบบผงั งาน เม่ือเขียนผงั งานได้แล้วก็สามารถนาป๎ญหาเหล่านี้ไปสู่ ขั้นตอนของการพัฒนาโปรแกรม รูปแบบการวิเคราะห์จะมีรายละเอียดต่าง ๆ เพ่ิมเติม ซึ่งข้ันตอนการวิเคราะห์ ปญ๎ หา ประกอบดว้ ยวัตถุประสงค์ของงาน ข้อมูลนาเข้า วิธีการประมวลผล ข้อมูลส่งออก เม่ือคิดวิเคราะห์ป๎ญหา แลว้ ก็สามารถดาเนินการทาโครงงาน ตามขั้นตอนการทาโครงงาน กล่าวคือ ขั้นตอนท่ี 1 การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน ขั้นตอนที่ 2 การศกึ ษา ค้นควา้ หลักการ ทฤษฎี เอกสารและแหล่งข้อมูล ซ่ึงผลที่ได้จากการดาเนินงานตามขั้นตอนน้ี จะชว่ ยทาใหไ้ ด้แนวคดิ ในการกาหนดขอบข่ายงานหรือเค้าโครงของเรื่องท่ีจะศึกษาชัดเจน โดยใช้แนวคิดเชิงคานวณ แบ่งป๎ญหาย่อย (Decomposition) และการมองรูปแบบของป๎ญหาที่เกิดข้ึนซ้า ๆ (Pattern Recognition) โดยตอบ ชุดคาถามทักษะการคิดวิเคราะห์ 5W2H ( What Why When Where How Howmuch Who) ข้ันตอนท่ี 3 การจัดทาโครงร่างของโครงงาน การนาแนวคิดเชิงคานวณมาใช้เป็นการนาการคิดเชิงนามธรรม การสรุปและสร้าง รูปแบบ (Abstraction and Pattern Generalization) มาดาเนินการ ข้ันตอนน้ีการสร้างแผนที่ความคิดเป็นการ นาเอาภาพของงานและภาพความสาเรจ็ ของโครงงานท่ีวิเคราะห์ไว้มาจัดทารายละเอียด เพื่อแสดงแนวคิด แผน และ ข้นั ตอนการทาโครงงาน ข้ันตอนท่ี 4 การวางแผนและการดาเนินกิจกรรมของโครงงาน การนาแนวคิดเชิงคานวณใน ขน้ั ตอนนี้จะนาการออกแบบขั้นตอนวิธีการแก้ป๎ญหา (Algorithm Design) มาใช้ในการปฏิบัติงาน ต้องปฏิบัติด้วย ความรอบคอบ คานึงถึงความประหยัดและความปลอดภัยในการทางานตลอดจนนึกถึงสภาพแวดล้อม ระหว่าง ปฏิบัติงาน ต้องจดบันทึกรายละเอียดข้อมูลต่าง ๆ ไว้ว่า ทาอะไร ได้ผลอย่างไร มีป๎ญหา อุปสรรค และใช้แนว ทางแก้ไขอย่างไร การบันทึกข้อมูลนี้จะต้องทาเป็นระบบและระเบียบเพ่ือนาไปใช้เป็นข้อมูลสาหรับการปรับปรุง แกไ้ ข การดาเนนิ การต่อไป ข้นั ตอนท่ี 5 การเขยี นรายงานโครงงาน และขัน้ ตอนท่ี 6 การนาเสนอโครงงานและการจัด แสดงผลงาน และทักษะความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) เป็นความสามารถทางสมองของมนุษย์ท่ีคิดได้ กว้างไกลหลายแง่มุม หลายทิศทาง นาไปสู่การคิดประดิษฐ์สิ่งของและแนวทางการแก้ป๎ญหาใหม่ ลักษณะการคิด อย่างสร้างสรรค์มี 4 ลักษณะ ประกอบด้วย ความคิดริเริ่ม (Originality) คือลักษณะความคิดที่แปลกใหม่ แตกต่าง หน้า302

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) จากความคิดเดิม ประยุกต์ให้เกิดส่ิงใหม่ขึ้นท่ีไม่ซ้ากับของเดิมที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน ความยืดหยุ่นในการคิด (Flexibility) คือความสามารถในการคิดหาคาตอบได้หลายประเภทและหลายทิศทาง ดัดแปลงจากส่ิงหน่ึงไปเป็น หลายส่ิงได้ เช่น ให้ผู้เรียนบอกวิธีการนาขวดพลาสติกท่ีเหลือใช้นาไปทาอะไรให้เกิดประโยชน์บ้าง และความคิด ละเอียดลออ (Elaboration) คือความคิดในรายละเอียดเพ่ือตกแต่งหรอื ขยายความคิดหลกั ใหส้ มบรู ณย์ ิ่งข้ึน สอดคล้อง กับงานวจิ ยั ของดนพุ ล บุญชอบ และนา้ มนต์ เรอื งฤทธิ์ (2558) ทท่ี าการเปรียบเทียบผลการเรียนรู้โครงงานระหว่าง กลมุ่ รว่ มมือกนั เรยี นรู้แบบผสมผสานและกลุม่ ปกตริ ายวชิ าโครงงานคอมพิวเตอร์ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนบางลี่วิทยา ซึ่งผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของ นักเรียนที่เรียนโครงงานกลุ่มร่วมมือกันเรียนรู้แบบผสมผสานและกลุ่มปกติแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดบั .012) ผลการเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ของโครงงานหลงั เรียนของนักเรียนที่เรียนโครงงานระหว่างกลุ่มร่วมมือกัน เรียนรแู้ บบผสมผสานและกลุม่ ปกตแิ ตกต่างกนั อย่างมนี ัยสาคัญทางสถติ ิที่ระดบั .01 โดยมผี ลสัมฤทธข์ิ องโครงงานหลัง เรียนของนักเรียนกลุ่มร่วมมือกันเรียนรู้แบบผสมผสานสูงกว่านักเรียนกลุ่มปกติ 3) ผลการศึกษาความพึงพอใจของ นกั เรยี นทม่ี ีต่อการเรียนโครงงาน พบว่านักเรียนกลุ่มร่วมมือเรียนรู้แบบผสมผสานมีความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อ การเรยี นโครงงาน พบวา่ นกั เรยี นกลมุ่ รว่ มมอื กันเรียนรู้แบบผสมผสานมคี วามพึงพอใจรวมทุกดา้ นอยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ย 4.83 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.38 และนักเรียนกลุ่มปกติมีความพึงพอใจรวมทุกด้านอยู่ใน ระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.19 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.66 รวมถึงงานวิจัยของบุณณิตา จิรีเชาว์ (2558) ทาการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์โดยใช้แบบฝึกทักษะความคิดสร้างสรรค์ในวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์ ผลการวิจัยพบวา่ ค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.5106 คิดเป็นร้อยละ 51.06 และคะแนนหลังการฝึกทักษะนักเรียนมี คะแนนเพม่ิ ขึ้น โดยมคี ะแนนเฉลี่ยหลังการฝึกทักษะเท่ากับ 47.52 คิดเป็นร้อยละ 79.20 ซ่ึงเพ่ิมขึ้นจากคะแนนเฉล่ีย กอ่ นการฝกึ ทกั ษะซึ่งมคี ่าเทา่ กับ 34.50 คดิ เป็นร้อยละ 57.50 โดยคะแนนพัฒนาการเฉล่ียคิดเป็นร้อยละ 50.69 และ งานวิจัยของเมธาวี โสรเนตร (2560) ศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คอมพิวเตอร์และความสามารถในการทาโครงงานของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ผลการวิจัยพบว่าค่าเฉลี่ย ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนคอมพิวเตอรข์ องนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 หลงั การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานสูงกว่าก่อน เรยี นอยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดบั .01 และคา่ เฉลี่ยความสามารถในการทาโครงงานของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3 หลังจัดการเรยี นรู้แบบโครงงานอยู่ในระดับสงู ข้อเสนอแนะ 1. ขอ้ เสนอแนะสาหรับการนาผลการวจิ ยั ไปใช้ 1.1 ในการจัดการเรียนรโู้ ดยใช้โครงงานเปน็ ฐาน ผูส้ อนต้องมีความเข้าใจในขั้นตอนของการจัดการเรียนรู้ และมีทกั ษะในการสืบคน้ และแสวงหาความรจู้ ากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ควบคไู่ ปกบั นักเรียน 1.2 ในการจัดการเรยี นรู้อาจใชเ้ วลามากทาใหต้ อ้ งนัดหมายนักเรียนเพ่ิมเติมนอกเวลาเรียน เนื่องจากการฝึก ทักษะตา่ ง ๆ ต้องใช้เวลานาน รวมถึงการให้คาปรกึ ษานักเรียนเพ่ือให้ดาเนินการจัดทาโครงงานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 2. ขอ้ เสนอแนะในการทาวิจยั ครงั้ ตอ่ ไป 2.1 ควรมกี ารศกึ ษาโดยใชว้ ธิ ีการจดั การเรียนรอู้ ่ืนวา่ ส่งผลเชน่ ใดต่อการคดิ เชงิ คานวณ หนา้ 303

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 2.2 เพ่ิมการศึกษาการคิดเชิงคานวณของนักเรียนเป็นระยะในตอนท้ายการจัดการเรียนรู้หรือการวัดและ ประเมนิ การคดิ เชงิ คานวณของนกั เรยี นโดยใช้แบบวดั อื่นประกอบ เอกสารอา้ งอิง ดนุพล บญุ ชอบ และน้ามนต์ เรืองฤทธิ์. (2558). การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้โครงงานระหว่างกลุ่มร่วมมือกัน เรยี นรู้แบบผสมผสานและ กลุ่มปกติรายวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนบางสวี่ ทิ ยา.ฉบบั ภาษาไทยสาขา มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือน พฤษภาคม – สิงหาคม 2558 มหาวิทยาลัยศิลปากร. บุญณิตา จิตรีเชาว์. (2558). การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์โดยใช้แบบฝึกทักษะความคิดสร้างสรรค์ในวิชา โครงงานคอมพิวเตอร์. ปริญญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ (การวิจยั และประเมินทางการศกึ ษา) สาขาวิชาการวิจัย และประเมนิ ทางการศึกษา มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์ เมธาวี โสรเนตร. (2560). การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคอมพิวเตอร์และ ความสามารถในการทา โครงงานของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 . ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา หลักสตู รและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา. ศรายุทธ ดวงจันทร์. (2561). ผลการใช้แนวสะเต็มศึกษาในวิชาฟิสิกส์ที่มีต่อความสามารถในการคิดเชิงคานวณ ของนักเรยี นมธั ยมศกึ ษา ตอนปลาย. ปรญิ ญาครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการศึกษาวิทยาศาสตร์ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . ศุภวฒั น์ ทรพั ย์เกดิ . (2559). การจดั กิจกรรมการเรยี นรเู้ พอื่ เสริมสร้างการคิดเชิงประมวลผลดว้ ยการจดั การเรียนรู้ แบบสะเต็มศึกษา วิชาการ โปรแกรมและการประยุกต์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 โรงเรยี นอนุกูลนารี. (ครุศาสตรมหาบัณฑิต) , สาขาวิชา คอมพวิ เตอร์ศึกษา บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั มหาสารคาม. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชา พน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระ การเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาระ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ประถมศึกษาและ มัธยมศกึ ษา. กรุงเทพฯ : สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์. อัจฉราวรรณ กัลยาณสิทธ.์ิ (2561). หนงั สอื เรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิทยาการคานวณ ช้ัน มธั ยมศึกษาปีที่ 4.กรุงเทพ ฯ : แมค็ เอด็ ดูเคชัน่ . หน้า304

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) การจัดกิจกรรมการเรยี นร้แู บบเพอื่ นชว่ ยเพ่ือนผา่ นโครงการบัดดไี้ ทย–จนี IMPLEMENTING PEER-ASSISTED LEARNING ACTIVITIES THROUGH the Thai-Chinese Buddy Program จริยา วาณิชวิริยะ คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรุ กจิ บณั ฑิตย์ E-mail [email protected] จุฑามาศ ลมิ ศภุ นาค คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรุ กิจบัณฑติ ย์ E-mail [email protected] บทคดั ยอ่ บทความนีม้ วี ตั ถปุ ระสงค์เพ่ือ 1) ศกึ ษากจิ กรรมการเรยี นรูแ้ บบเพ่อื นช่วยเพื่อนผา่ นโครงการบัดด้ี ไทย-จีน 2) ศกึ ษาเจตคตติ อ่ กิจกรรมการเรยี นร้แู บบเพือ่ นชว่ ยเพอื่ นผ่านโครงการบัดด้ีไทย-จีน กลุ่มตัวอย่าง คือนักศึกษาช้ันปีที่ 1 หลักสตู รภาษาจีนธรุ กิจ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ท่ีเข้าร่วมโครงการบัดดี้ไทย-จีนจานวน 49 คน เลือกแบบเจาะจง(purposive sampling) เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยคือ 1) แบบสอบถามเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบเพ่ือนช่วยเพ่ือนผ่านโครงการบัดด้ีไทย-จีนและ 2) แบบสอบถามเจตคตินักศึกษาต่อการเรียนรู้แบบเพื่อน ชว่ ยเพื่อนผา่ นโครงการบดั ดีไ้ ทย-จีน การวเิ คราะห์ข้อมูลใชส้ ถติ ไิ ด้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วน เบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า 1.ผลของการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้แบบเพ่ือนชว่ ยเพื่อนผ่านโครงการบัดดไี้ ทย-จีน จานวน 18 ประเด็น เป็น กิจกรรมท่ีมีคะแนนร้อยละ 50 ข้ึนไปจานวน 9 ประเด็น คือ 1) ป๎ญหาในการสื่อสารของบัดดี้ 2) รูปแบบในการ ติดต่อสื่อสาร 3) ส่ิงท่ีบัดด้ีให้ความช่วยเหลือ 4) สถานที่ที่นัดพบคุยกัน 5) ทุกคร้ังท่ีมีการนัดพบได้มีการเตรียมเรื่อง ภาษาก่อนหรือไม่ 6) เร่ืองที่พูดคุยกับบัดด้ี 7) สิ่งท่ีได้รับจากโครงการบัดด้ีไทย-จีนมากที่สุด 8) ลักษณะของคู่บัดด้ีท่ี ตอ้ งการ 9) สิง่ ทอี่ ยากใหค้ ่บู ัดดชี้ ว่ ยเหลอื มากทส่ี ดุ 2.เจตคติของนักศกึ ษาตอ่ การเรยี นรแู้ บบเพ่ือนช่วยเพื่อนผ่านโครงการบัดดี้ไทย-จีนค่าเฉล่ียโดยรวมอยู่ระดับ มาก (Mean = 4.32 ,S.D.= 0.60 ) คาสาคญั : การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ แบบเพือ่ นชว่ ยเพอื่ น โครงการบดั ดไ้ี ทย–จนี ABSTRACT หน้า305

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) The objectives of this research were to 1) explore the peer-assisted learning activities through the Thai-Chinese buddy program, and 2) investigate the attitudes towards the peer- assisted learning activities through the Thai-Chinese buddy program. The samples selected by a purposive sampling method were 49 first year students majoring in the Business Chinese from the Faculty of Arts, Dhurakij Pundit University, participating in the Thai-Chinese buddy program. The research instruments were 1) the questionnaire on the peer-assisted learning activities through the Thai-Chinese buddy program, and 2) the questionnaire on the attitudes towards the peer-assisted learning activities through the Thai-Chinese buddy program. Data were analyzed using percentage, mean scores and standard deviation. The results showed that 1. the outcomes of implementing the peer-assisted learning activities through the Thai- Chinese buddy program included 18 aspects. Among these, 9 aspects which gained higher than 50% were as follows: 1) communication difficulties of buddies, 2) forms of contact, 3) assistance from buddies, 4) meeting places, 5) language preparation before meeting, 6) discussion topics, 7) benefits from the Thai-Chinese buddy program, 8) desired characteristics of a buddy, and 9) what kind of assistance students expect most from a buddy. 2. the average level of the attitudes towards the peer-assisted learning activities through the Thai-Chinese buddy program was at a high level (Mean = 4.32, S.D. = 0.60). KEYWORDS:Peer-assisted learning activities, the Thai-Chinese buddy program บทนา ความเปน็ มาและปัญหา ประเทศไทยเปน็ หนึง่ ในสมาชิกอาเซียนจาเปน็ ทีจ่ ะต้องปรับเปลี่ยนตัวเองเพ่ือรับมือกับการก้าวเข้าสู่การเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ด้วยเช่นกัน เน่ืองจากภาษาจีนเป็นหน่ึงในห้าภาษาหลักขององค์การ สหประชาชาติและเป็นภาษาท่ีมคี นใช้มากทีส่ ุดในโลกเพื่อตดิ ต่อสอื่ สารและการทาธุรกิจ ประกอบกับประเทศจีนได้ลง นามจดั ตง้ั เขตการค้าเสรีกับไทย และประเทศไทยเข้าเป็นสมาชกิ องคก์ ารการค้าโลก (WTO) ทาให้ตลาดการค้าของจีน เป็นประเทศท่มี โี อกาสทางธุรกจิ สูง เป็นตลาดการค้าที่ใหญ่อันดับต้น ๆ และมีแนวโน้มการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ อย่างตอ่ เนอื่ ง ทาใหร้ ฐั บาลไทยประกาศให้ภาษาจีนเปน็ ภาษาต่างประเทศภาษาท่ีสองสาหรบั คนไทย จงึ อาจกล่าวได้ว่า ภาษาจีนเป็นภาษาต่างประเทศท่ีสาคัญในการติดต่อสื่อสาร สร้างความสัมพันธ์ด้านการประกอบอาชีพ การขยาย โอกาสทางธุรกิจ และการศึกษาหาความรู้ในวิทยาการด้านต่าง ๆ ท่ีมีมาช้านานของประเทศจีน จากความจาเป็น หนา้ 306

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ดังกล่าวส่งผลกระทบต่อการศึกษาของไทยในระดับอุดมศึกษาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และเป็นกลไกสาคัญในการสร้าง การแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การศึกษาและวัฒนธรรมในภูมิภาคอาเซียน โดยภาครัฐได้มีการ ดาเนนิ การเตรียมความพร้อมในเชิงการศึกษาเป็นสาคัญ ด้วยการกาหนดนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ในการรองรับ การเตรียมความพร้อมของอดุ มศึกษาไทยในการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนแก่มหาวิทยาลัยในประเทศไทยอย่างเป็น รูปธรรม (ไทยโพสต์. อา้ งถึงใน กัลปพฤกษ์โชคสริ ิ โชคดมี ีสขุ , 2558 หน้า154-155) มหาวทิ ยาลยั ธุรกิจบณั ฑิตย์เปดิ สอนหลักสตู รภาษาจีนธุรกิจต้ังแต่ปีพ.ศ.2529 จนถึงป๎จจุบันเปิดสอนมาแล้ว 33 ปี เปน็ มหาวทิ ยาลัยเอกชนแห่งแรกทเ่ี ปดิ สอนหลกั สตู รภาษาจนี ธรุ กจิ การจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรมีการ สอนทักษะทางภาษาคือการฟ๎ง การพูด การอ่าน การเขียนและการแปล และในแต่ละทักษะยังมีรายวิชาที่เกี่ยวกับ ธุรกจิ เช่นการฟ๎งการพดู ภาษาจีนธุรกิจ การอ่านภาษาจีนธุรกิจ การเขียนภาษาจีนธุรกิจ และการแปลภาษาจีนธุรกิจ อีกทัง้ ยังเพ่ิมพูนความร้ดู า้ นธรุ กิจในสายอาชพี เชน่ ภาษาจีนเพื่องานธุรกจิ ภาษาจีนเพื่อธุรกิจสายการบิน ภาษาจีนเพ่ือ การโรงแรม ภาษาจีนเพ่ือการนาเท่ียว ภาษาจีนเพื่อการค้าระหว่างประเทศเป็นต้น นอกจากนี้หลักสูตรยังมีการจัด กิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อพัฒนาทักษะการฟ๎ง การพูด เช่น งานวันตรุษจีนโดยกิจกรรมมีการแสดงละครส้ัน การ ประกวดร้องเพลง การอ่านบทกลอน เป็นต้น ด้วยมหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์มีนักศึกษาชาวจีนมาศึกษาที่ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์จานวนกว่า 2 พันคน ทางหลักสูตรเห็นว่านอกจากการเรียนในห้องเรียนแล้ว การศึกษา ด้วยตนเอง การเขา้ รว่ มกจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร และการมสี ิง่ แวดลอ้ มทางด้านภาษา จะทาให้สามารถพัฒนาทักษะทาง ภาษาได้ หลกั สตู รจึงไดจ้ ดั กิจกรรมบัดดี้ไทย–จีน ข้นึ เพื่อใหน้ ักศกึ ษาหลักสตู รภาษาจีนธุรกิจมีบัดด้ีชาวจีน ซ่ึงบัดดี้ชาว จนี เปน็ นักศกึ ษาท่ีมาเรยี นภาษาไทยที่หลกั สตู รภาษาไทยเพ่ืออาชีพ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์เป็น เวลา 1 ปีการศึกษา กจิ กรรม บัดดไ้ี ทย–จีนเป็นกจิ กรรมทจี่ ัดมาอยา่ งต่อเนื่องตัง้ แต่ปี พ.ศ.2553 มีวัตถุประสงค์ เพอื่ ให้นักศกึ ษาจีนและไทยชว่ ยเหลือกันในการพัฒนาทักษะต่างๆ โดยเฉพาะทักษะการฟ๎ง การพูด นักศึกษาชาวจีน ช่วยเหลือบัดดี้นักศึกษาชาวไทยในด้านการฟ๎งการพูดภาษาจีนและเรียนรู้วัฒนธรรมจีน นักศึกษาชาวไทยช่วยเหลือ นกั ศกึ ษาชาวจีน ในด้านการฟง๎ การพูดภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย รูปแบบของกิจกรรมจะจัดเป็นเวลาหนึ่งวัน โดย จับคู่บดั ด้นี ักศึกษาชาวไทย 1 คนต่อนักศกึ ษาชาวจนี 1 คน ผ่านกิจกรรมละลายพฤติกรรม ผ่านฐานเกมที่นักศึกษาได้ ร่วมทากจิ กรรมและทาความรูจ้ ักซ่งึ กันและกนั ในเบอ้ื งตน้ เมอื่ จบกจิ กรรมแลว้ นักศึกษาท่ีจับคู่บัดดี้แล้วจะมีการนัดพบ เพือ่ ทาความร้จู กั กนั มากขน้ึ เช่น การนดั กนิ ขา้ ว การพาเพื่อนบัดดี้ชาวจีนท่องเที่ยวในสถานที่ต่างๆ ซ่ึงทาให้นักศึกษา ไดใ้ ช้ภาษาจีนและภาษาไทยในการส่ือสาร และมกี ารแลกเปลยี่ นด้านวฒั นธรรมไทยและจีน ในการจัดการเรยี นการสอนครูจะต้องให้ความสาคญั กบั ผู้เรยี น คานงึ ถงึ ความตอ้ งการของผู้เรียนและพยายาม สอนโดยใหน้ ักเรียนมสี ว่ นในการแกป้ ๎ญหาตา่ งๆ และได้ทากจิ กรรมร่วมกันในการเรยี นการสอน ดังนั้นจึงมีความจาเป็น อย่างยงิ่ ท่ีจะต้องมกี ารจดั การเรียนการสอนเพอื่ ให้นกั เรียนมสี ่วนร่วมในการเรียนมากท่สี ดุ และมีการสนับสนุนให้มีการ ชว่ ยเหลือกันในในดา้ นการเรียนในชั้นเรียน โดยท่ีเด็กเก่งสามารถช่วยเหลอื เด็กอ่อน มีความสามัคคี รักกัน และเห็นอก เห็นใจกนั (สรุ างค์ โคว้ ตระกลู , 2553) ซง่ึ การเรยี นการสอนท่ใี ห้นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนต่า เรียกว่า การสอน โดยเพ่ือนช่วยสอน ( Peer tutoring หรอื Peer-Assisted Learning) แนวคดิ เก่ียวกบั วิธีการสอนแบบเพอื่ นช่วยเพอื่ น(Peer-Assisted Learning) หนา้ 307

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) การสอนโดยเพื่อนช่วยสอน( Peer tutoring)เป็นการสอนที่มีพื้นฐานมาจากแนวคิดที่เก่ียวกับการกระจาย บทบาทในการสอนซง่ึ Rom (อา้ งถึงในอตมิ า อุ่นจิตรและชนกกานต์ สหัสทัศน์, 2561 หนา้ 198) ได้ให้แนวคิดเก่ียวกับ วิธีให้เพ่ือนช่วยสอนว่า เป็นการสอนที่ส่งเสริมให้นักเรียนสอนกันเอง วิธีสอนดังกล่าวมีรากฐานมาจากแนวคิด และ ทัศนคตเิ กี่ยวกับเร่ืองกระบวนการกลุ่มสมั พนั ธ์ ซ่ึงการให้นกั เรยี นมาสอนน้ันสามารถทาได้ 2 แบบคือ 1) ให้นักเรียนรุ่น เดยี วกนั หรือเพ่อื นร่วมชัน้ ทอ่ี ยู่ในระดับเดียวกนั เป็นนกั เรยี นผสู้ อน (Same-Age Tutoring) 2) ให้นักเรียนรุ่นพี่หรืออยู่ ในระดบั ช้ันท่ีสูงกวา่ เปน็ นกั เรยี นผูส้ อน (Cooke-Age Tutoring) สคุ นธ์ สินธพานนท์ และคณะ (อ้างถึงใน ประนอม ดอนแก้ว, 2550 หน้า 12) กล่าวว่า กลวิธีการเรียนรู้แบบ เพอ่ื นช่วยเพอื่ นเป็นวิธกี ารสอนวิธีหน่ึงท่ีสืบทอดเจตนารมณ์ของปรัญชาการศึกษาที่ว่า learning by doing ตามแนว ทฤษฎีของ John Dewey โดยเน้นการให้นักเรยี นมีการรวมกลุ่มเพ่ือการทางานร่วมกันหรือการปฏิบัติในกิจกรรมการ เรียนการสอน อาจกล่าวได้วา่ การสอนแบบเพ่ือนชว่ ยสอนนั้นเปน็ การสง่ เสรมิ ระบอบประชาธิปไตย และยังมุ่งให้ผู้เรียน ทม่ี ีผลสมั ฤทธอ์ิ ยู่ในเกณฑต์ ่าได้รับประโยชนจ์ ากเพ่ือนนกั เรยี นท่เี ก่งกวา่ หรือมีผลสัมฤทธ์ใิ นการเรียนอยู่ในเกณฑ์สูง การเรียนการสอนภาษาต่างประเทศแบบเพือ่ นช่วยเพือ่ น จาเปน็ ตอ้ งสรา้ งปฎิสัมพนั ธ์อนั ดีต่อกัน ส่งผลให้เกิด การยอมรับซึ่งกันและกันระหว่างผู้เรียน โดยอาศัยกระบวนการสนทนา จนเกิดเป็นความร่วมมือในการแลกเปล่ียน เรียนรู้ จนผู้เรียนตกผลึกและกล่ันกรองความรู้ที่อยู่ในสมองให้กลายเป็นคาพูด ข้อเขียน ที่เป็นการแสดงออกมา ภายนอกอย่างเป็นรูปธรรม ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนจะทาให้ผู้เรียนปรับเปล่ียนโครงสร้างความรู้ของตน และมี พัฒนาการทางความคิดแบบรวบยอด คิดค้น สร้างสรรค์แนวคิดใหม่ๆท่ีเป็นประโยชน์ร่วมกัน (นันทวัน วัฒนมงคลสุข และคณะ. 2560, หน้า 282) กรมวชิ าการ.( 2544, หน้า 61 - 63) กล่าวถึง การจัดการเรียนรู้แบบเพ่ือนช่วยเพ่ือน หรือการให้ผู้เรียนช่วย สอนกันเองนี้ เป็นวิธีการท่ีจะช่วยให้ผู้เรียนได้รับประโยชน์ทางด้านวิชาการด้วยกันท้ังสองฝุาย วิธีการให้ผู้เรียนสอน กันเองนี้ได้มกี ารพฒั นาและนามาใช้ในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไปตามจุดมุ่งหมายและวิธีการของครู โดยมุ่งเน้นเพ่ือ ช่วยเหลอื ผเู้ รียนทช่ี า้ และมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนทีต่ า่ มปี ญ๎ หาในด้านความประพฤตแิ ละปญ๎ หาด้านอ่ืนๆ โดยมีความ เชือ่ วา่ วิธีการใหผ้ ู้เรียนสอนกันเองนี้ ผเู้ รยี นจะเรยี นร้อู ะไรตา่ งๆได้จากกนั และกันและการเรียนรู้แบบน้ีทาให้ผู้ท่ีเรียนรู้ ช้าเกดิ การเรียนรู้ได้ เนื่องจากภาษาท่ีใช้ในการพูดจาสื่อสารกันน้ัน สามารถสื่อความหมายระหว่างกันและกันได้เป็น อย่างดี เน่ืองจากเพื่อนนักเรียนเป็นวัยเดียวกัน ซ่ึงสามารถช่วยในการถ่ายทอดส่ิงที่เขาได้เรียนรู้มาให้เพื่อนๆฟ๎งด้วย ภาษาและรูปแบบของเขาเอง กจ็ ะทาใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจในความรนู้ นั้ ไดแ้ จ่มแจ้งมากยิ่งขน้ึ ผเู้ รยี นซ่ึงได้รับฟ๎งจากเพ่ือนก็ จะไดร้ ับประโยชนด์ ้วย ผูว้ ิจัยได้ศึกษาค้นคว้างานวจิ ยั ที่เก่ยี วชอ้ งเช่น Chen Yifei.(2019 หน้า 133) การจัดกิจกรรมการส่ือสารกับคู่ บัดด้ี สามารถพัฒนาทักษะการฟ๎งการพูดภาษาจีนให้กับนักศึกษาต่างชาติได้อย่างชัดเจน Dai Di‖ou. (2017 หนา้ 45 ) นกั ศึกษาตา่ งชาตทิ ่ีมาเริ่มเรยี นที่ประเทศจีนไดไ้ ม่นาน คู่บดั ดไ้ี ม่เพียงช่วยพัฒนาระดับภาษาจีนได้ ยิ่งไปกว่า น้ียังสามารถช่วยให้นักศึกษต่างชาติเข้าใจวัฒนธรรม ประเพณีจีนอีกด้วย อติกันต์ ภูดีทิพย์. (2552) การศึกษา หนา้ 308

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม พื้นฐาน 8 ประการ ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพ่ือนนวกานต์ คาเรียง. (2555) ศึกษาวิจัยเรื่องการ พัฒนาทกั ษะการใช้โปรแกรม Microsoft Office Excel 2007 ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 5 โดยใช้เทคนิคการ สอนแบบเพื่อนช่วยเพ่ือนอติมา อุ่นจิตร และชนกกานต์ สหัสทัศน์. (2561) การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง การแก้ระบบสมการเชิงเสน้ สองตวั แปรช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ เพื่อนช่วยเพือ่ น ดังน้ัน ผู้วิจัย จึงสนใจท่ีจะศึกษาเกี่ยวกับการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพ่ือนซึ่งเป็นการจัดกิจกรรมให้นักศึกษา ไทยได้จบั คบู่ ัดดกี้ บั นักศึกษาจีน เพือ่ เปิดโอกาสให้คู่บัดด้ไี ดม้ ปี ฏิสัมพันธ์ผ่านกิจกรรมท่ีทาร่วมกัน เกิดการเรียนรู้ซ่ึงกัน และกันในการเรียนภาษา ได้เรยี นรวู้ ัฒนธรรมไทยและจีน ทาให้นักศกึ ษามีเจตคตทิ ่ดี ีตอ่ การเรยี นภาษาจีนอาจส่งผลต่อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวชิ าภาษาจนี อีกด้วย วตั ถุประสงคก์ ารวิจยั 1. เพื่อศกึ ษากจิ กรรมการเรียนรู้แบบเพ่อื นชว่ ยเพ่ือนผ่านโครงการบดั ด้ีไทย-จีน 2. เพ่อื ศึกษาเจตคติต่อกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพอื่ นผ่านโครงการบดั ด้ไี ทย-จีน วิธดี าเนินการวิจัย ขอบเขตการวิจัย ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ธุรกิจ ประชากร คือ นักศึกษาหลักสูตรภาษาจีนธุรกิจชั้นปีที่ 1 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย บัณฑิตย์จานวน 80 คน กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาหลักสูตรภาษาจีนธุรกิจชั้นปีท่ี 1 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธุรกิจ บัณฑิตย์ท่ที เี่ ขา้ รว่ มโครงการบดั ดไ้ี ทย-จนี จานวน 49 คน เลอื กแบบเจาะจง (purposive sampling) ตวั แปรที่ใช้ในการวิจยั ตัวแปรอสิ ระ กิจกรรมการเรียนร้แู บบเพื่อนช่วยเพือ่ นผ่านโครงการบัดด้ีไทย-จนี ตัวแปรตาม 1.ผลการจัดกจิ กรรมของนกั ศึกษาต่อการเรียนรู้แบบเพอ่ื นช่วยเพือ่ นผ่านโครงการ บัดดไี้ ทย-จนี 2.ระดับเจตคตขิ องนกั ศกึ ษาตอ่ การเรียนรู้แบบเพอ่ื นชว่ ยเพอื่ นผา่ นโครงการบัดดี้ ไทย-จีน หน้า309

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) เนื้อหาท่ใี ชใ้ นการวิจยั กจิ กรรมในชีวิตประจาวนั ซ่งึ เก่ียวขอ้ งกบั การเรียนร้ภู าษาจีน เวลาทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัยในครั้งน้ี ภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2562 เป็นเวลา 16 สัปดาห์ ต้งั แต่เดือนกนั ยายนถงึ ธันวาคม พ.ศ. 2562 เครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นการวิจยั 1.แบบสอบถามเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพ่ือนช่วยเพ่ือนผ่านโครงการบัดดี้ไทย-จีนจานวน 1 ชุด ประกอบดว้ ยข้อคาถาม ประเด็นหลัก 18 ประเด็น และแต่ละประเด็นมีรายละเอียดย่อย เพื่อให้ผู้ตอบแบบสอบถาม เลือกตอบได้ 1 ขอ้ หรือหลายๆขอ้ เพ่อื นามาประมวลเป็นขอ้ มลู สาหรับการวิจัย 2. แบบสอบถามเจตคติของนักศึกษาตอ่ การเรยี นรแู้ บบเพ่อื นชว่ ยเพ่ือนผ่านโครงการบัดดี้ไทย-จีนจานวน 1 ชุด จานวน 10 ขอ้ แบบสอบถามดังกลา่ วเปน็ ลักษณะรูปแบบการวัดเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ตามวธิ ขี องลเิ คิรท์ (Likert Scale) ใช้มาตราสว่ นประเมนิ คา่ และการแปลความหมาย 5 ระดับคือ มากท่ีสุด มาก ปาน กลาง น้อย และนอ้ ยทสี่ ุด (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2556 หน้า 121) เกณฑก์ ารแปลผลดงั นี้ คา่ เฉล่ีย แปลความหมาย 1.00 - 1.50 น้อยทส่ี ุด 1.51 – 2.50 นอ้ ย 2.51 – 3.50 ปานกลาง 3.51 – 4.50 มาก 4.51 – 5.00 มากทส่ี ุด หลังจากนั้นแบบสอบถามเกย่ี วกบั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ แบบสอบถามเจตคติของนักศึกษาต่อการเรียนรู้ แบบเพ่ือนช่วยเพ่ือนฯ นาเสนอต่อผู้เช่ียวชาญ 3 คน เพ่ือตรวจสอบความสอดคล้องของเนื้อหา ภาษาที่ใช้ ความ สอดคล้องกับองค์ประกอบท่ีต้องการวัด และความเหมาะสมของตัวเลือกซ่ึงมีค่าเท่ากับ .05 ข้ึนไปถือว่ามีความ สอดคลอ้ งอยู่ในเกณฑ์ท่ียอมรับได้ แบบสอบถามเกยี่ วกบั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ แบบสอบถามเจตคติของนักศึกษา ต่อการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพ่ือนฯมคี า่ IOC เท่ากบั 0.67 – 1.00 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 1. เร่ิมดาเนินโครงการบัดด้ีไทย-จีนโดยให้นักศึกษากลุ่มตัวอย่างเข้าร่วมเม่ือเดือนกันยายน พ.ศ. 2562 เป็น เวลา 1 วนั โดยจดั เป็นฐานกิจกรรมจานวน 5 ฐาน แต่ละฐานมีนกั ศึกษาไทยและจีนรวมกนั ซงึ่ เปน็ รุ่นพีป่ ี 2 เป็นหลัก ใน กจิ กรรมนใ้ี หน้ กั ศึกษาจบั คู่บดั ดี้ไทย-จีน เพือ่ ทากิจกรรมแต่ละฐานใหส้ าเร็จตามท่ีกาหนดไว้ 2. หลังจากจบโครงการบัดด้ีไทย-จีน ผู้วิจัยได้ให้นักศึกษาไทยท่ีจับคู่กับนักศึกษาจีนทากิจกรรมต่อเนื่องโดย ใหม้ กี ารติดต่อกันในรูปแบบต่างๆเพอ่ื ใชภ้ าษาจนี และภาษาไทยในการสื่อสารจากคู่บัดด้ีโดยใช้เวลาในการทากิจกรรม ต่อเน่ืองเป็นระยะเวลา 16 สัปดาห์และหลังจากน้ันให้นักศึกษาไทยตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับการทากิจกรรม แบบสอบถามเจตคติของนักศึกษาตอ่ การเรียนรู้แบบเพือ่ นช่วยเพอ่ื นฯ หนา้ 310

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) การวิเคราะหข์ ้อมลู วิเคราะห์แบบสอบถามเก่ยี วกบั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ แบบสอบถามเจตคติของนกั ศกึ ษาต่อการเรียนรู้แบบ เพ่ือนชว่ ยเพ่อื นผ่านโครงการบดั ดี้ไทย-จนี ใชส้ ถิติ ค่าร้อยละ (Percentage ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล 1.ผลของการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบเพือ่ นช่วยเพื่อนผา่ นโครงการบดั ด้ีไทย-จีน 1.1ขอ้ มูลทวั่ ไปจากการตอบแบบสอบถามของนักศึกษาทเ่ี ป็นบัดด้ีไทย-จนี จานวน 49 คน เพศ ชาย จานวน ร้อยละ หญงิ 8 16.33 41 83.67 อายุ 18-20 ปี 45 91.84 21-23 ปี 4 8.16 2 4.08 เพศของคบู่ ัดดี้ ชาย-ชาย 38 77.55 หญิง-หญงิ 9 18.37 ชาย-หญงิ มีพ้นื ฐานความรูภ้ าษาจีนกอ่ นมาเรียนท่ี 16 32.65 มหาวทิ ยาลยั ธรุ กิจบัณฑิตย์ 5 10.20 6เดอื น 5 10.20 1ปี 23 46.95 2ปี 3ปขี น้ึ ไป ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิงจานวน 41 คนคิดเป็นร้อยละ83.67, เพศชายจานวน 8 คนคิดเป็นร้อยละ 16.33, อายุ 18-20ปีจานวน 45 คนคดิ เป็นรอ้ ยละ91.84, อายุ 21-23 ปีจานวน 4 คนคิดเป็นร้อยละ 8.16, เพศของคู่ บัดดี้ ชาย-ชาย จานวน 2 คนคดิ เป็นรอ้ ยละ4.08, หญิง-หญิงจานวน 38 คนคิดเป็นร้อยละ77.55, ชาย-หญิงจานวน 9 คนคิดเป็นร้อยละ18.37, มีพื้นฐานความรู้ภาษาจีนก่อนมาเรียนท่ีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 6 เดือนจานวน 16 คนคดิ เป็นรอ้ ยละ32.65, 1 ปีจานวน 5 คนคดิ เป็นรอ้ ยละ 10.20, 2 ปีจานวน 5 คนคิดเป็นร้อยละ10.20, 3 ปีขึ้นไป จานวน 23 คนคดิ เปน็ รอ้ ยละ46.95 1.2 ผลการทากิจกรรมตอ่ เนื่องจากโครงการบดั ด้ไี ทย-จีนมี 18 ประเด็น ดงั น้ี หน้า311

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 1) การกินข้าวร่วมกนั 1 วนั ตอ่ สปั ดาห์จานวน 19 คนคิดเป็นร้อยละ 38.78, 0 วันต่อสัปดาห์จานวน 16 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 32.65, 2-3 วันตอ่ สปั ดาหจ์ านวน 12 คนคดิ เป็นร้อยละ 24.49, 6-7วนั ต่อสัปดาห์จานวน 1 คนคิดเป็น ร้อยละ 2.04, 4-5 วนั ตอ่ สัปดาห์จานวน 1คนคิดเปน็ รอ้ ยละ 2.04 2) การไปเทีย่ ว 0 วันต่อสปั ดาห์จานวน 27 คนคดิ เปน็ ร้อยละ 55.10, 1 วนั ต่อสัปดาห์จานวน 16 คนคิดเป็น รอ้ ยละ 32.66, 2-3 วันต่อสัปดาห์จานวน 3 คนคิดเป็นร้อยละ 6.12, 4-5 วันต่อสัปดาห์จานวน 2 คนคิดเป็นร้อยละ 4.08, 6-7 วันตอ่ สปั ดาหจ์ านวน 1 คนคดิ เป็นร้อยละ 2.04 3) การทาการบา้ น 2-3 วนั ต่อสปั ดาหจ์ านวน 18 คนคิดเป็นร้อยละ 36.73, 1 วันต่อสัปดาห์จานวน 18 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 36.73, 0 วันต่อสัปดาห์จานวน 9 คนคิดเป็นร้อยละ 18.38, 4-5 วันต่อสัปดาห์จานวน 3คนคิดเป็น ร้อยละ 6.12, 6-7 วันตอ่ สัปดาห์จานวน 1 คนคิดเปน็ ร้อยละ 2.04 4) การสนทนา 2-3 วนั ต่อสัปดาห์จานวน 19 คนคิดเป็นร้อยละ 38.78, 4-5 วันต่อสัปดาห์จานวน 10 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20.14, 1 วันต่อสัปดาห์จานวน 13 คนคิดเป็นร้อยละ 26.54, 6-7 วันต่อสัปดาห์จานวน 4 คนคิดเป็น ร้อยละ 8.16, 0 วนั ต่อสปั ดาห์จานวน 3 คนคดิ เป็นร้อยละ 6.12 5) การดูภาพยนตร์ 0 วนั ตอ่ สัปดาห์จานวน 34 คนคดิ เปน็ รอ้ ยละ 69.39, 1 วนั ต่อสัปดาห์จานวน 10 คนคิด เปน็ รอ้ ยละ 20.41, 4-5 วันต่อสปั ดาห์จานวน 2 คนคิดเป็นร้อยละ 4.08, 2-3 วันต่อสัปดาห์จานวน 2 คนคิดเป็น รอ้ ยละ 4.08 , 6-7 วันต่อสัปดาห์จานวน 1 คนคดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.04 6) การซ้ือของ 0 วันตอ่ สปั ดาหจ์ านวน 31 คนคดิ เป็นร้อยละ 63.27, 1 วันต่อสัปดาห์จานวน 13 คนคิดเป็น รอ้ ยละ 26.53, 4-5 วันต่อสัปดาห์จานวน 2 คนคิดเป็นร้อยละ 4.08, 2-3 วันต่อสัปดาห์จานวน 2 คนคิดเป็นร้อยละ 4.08, 6-7 วันต่อสัปดาห์จานวน 1 คนคดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.04 7) การถ่ายภาพ 0 วันต่อสัปดาห์จานวน 22 คนคิดเป็นร้อยละ 44.90, 1 วันต่อสัปดาห์จานวน 14 คนคิด เปน็ รอ้ ยละ 28.57, 2-3 วันตอ่ สัปดาห์จานวน 7 คนคิดเป็นร้อยละ 14.29, 4-5 วันต่อสัปดาห์จานวน 4 คนคิดเป็น ร้อยละ 8.16, 6-7 วันต่อสปั ดาหจ์ านวน 2 คนคิดเปน็ รอ้ ยละ 4.08 8) ป๎ญหาในการส่ือสารของบัดดี้ พูดเร็วไปจานวน 25 คนคิดเป็นร้อยละ 51.02, ไม่เข้าใจคาศัพท์จานวน 24 คนคิดเป็นร้อยละ 48.98, ไม่เข้าใจรูปประโยคจานวน 18 คนคิดเป็นร้อยละ 36.73, ไม่คุ้นเคยกับสาเนียงจานวน 11 คนคิดเปน็ ร้อยละ 22.45, อืน่ ๆคือ ไม่พดู จีน ใชแ้ ตภ่ าษาไทยจานวน 1 คนคิดเป็นร้อยละ 2.04, ไม่มีจานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 8.16 9) รูปแบบในการติดตอ่ ส่อื สาร วแี ชท / ไลน์ / อเี มลจานวน 47 คนคดิ เป็นร้อยละ 95.92, การพูดคุยจานวน 30 คนคดิ เป็นรอ้ ยละ 61.22, ทางโทรศัพท์จานวน 12 คนคิดเป็นร้อยละ 24.49, เฟสบุ๊กจานวน 1 คนคิดเป็นร้อยละ 2.04 10) ส่ิงท่ีบัดดี้ให้ความช่วยเหลือ ทาการบ้านภาษาจีนจานวน 41 คนคิดเป็นร้อยละ 83.67, สอนคาศัพท์ ภาษาจีนจานวน 33 คนคิดเป็นร้อยละ 67.35, ออกเสียงพูดจานวน 29 คนคิดเป็นร้อยละ 59.18, ค้นหาข้อมูลที่เป็น ภาษาจีนจานวน 26 คนคิดเป็นร้อยละ 53.06, ให้กาลังใจในการเรียนและการใช้ชีวิตจานวน 25 คนคิดเป็นร้อยละ 51.02, สอนไวยากรณ์ภาษาจีนจานวน 23 คนคิดเป็นร้อยละ46.94,คอยรับฟ๎งป๎ญหาจานวน 13 คนคิดเป็นร้อยละ 26.53 หน้า312

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 11) สถานท่ีทีน่ ดั พบคยุ กันใตอ้ าคารเรยี นจานวน 32 คนคดิ เปน็ รอ้ ยละ 65.13, ห้องสมุดจานวน 27 คนคิด เปน็ รอ้ ยละ 55.10, สถานที่ท่องเท่ียวจานวน 11 คนคิดเป็นร้อยละ22.45, หอพักของคู่บัดดี้จานวน 9 คนคิดเป็น ร้อยละ 18.37, ห้างสรรพสินค้าจานวน 9 คนคิดเป็นร้อยละ 18.37, ร้านกาแฟจานวน 5 คนคิดเป็นร้อยละ 10.20, หอพกั ตัวเองจานวน 4 คนคิดเป็นร้อยละ 8.16, รา้ นอาหารจานวน 2 คนคดิ เป็นร้อยละ 4.08 12) ทุกคร้ังท่ีมีการนัดพบได้มีการเตรียมเร่ืองภาษาก่อนหรือไม่ ไม่เตรียมจานวน 32 คนคิดเป็นร้อยละ 65.31, เตรียมคาศพั ท์จานวน 18 คนคิดเป็นรอ้ ยละ 36.73, เตรยี มไวยากรณ์จานวน 5 คนคิดเปน็ ร้อยละ 10.20 13) เรื่องทีพ่ ดู คยุ กบั บดั ด้ี การเรยี นจานวน 41 คนคิดเป็นร้อยละ 83.67, การบ้านจานวน 40 คนคิดเป็นร้อย ละ 81.63, ชวี ิตประจาวันจานวน 35 คนคดิ เปน็ รอ้ ยละ 71.43, วฒั นธรรม สังคมจานวน 28 คนคิดเป็นร้อยละ 57.14, งานอดเิ รกจานวน 14 คนคิดเป็นร้อยละ 28.57 14) ภาษาท่ีใช้ในการสอื่ สาร ส่วนใหญใ่ ช้ภาษาไทยและใช้ภาษาจีนบ้างจานวน 21 คนคิดเป็นร้อยละ 42.86, สว่ นใหญภ่ าษาจนี และใช้ภาษาไทยบา้ งจานวน 15 คนคิดเปน็ ร้อยละ 30.61, สว่ นใหญ่ใช้ภาษาไทย ภาษาจีนบ้างและ ภาษาองั กฤษเล็กน้อยจานวน 10 คนคดิ เปน็ ร้อยละ 20.41, ภาษาจีนจานวน 2 คนคิดเป็น ร้อยละ 4.08, ภาษาไทย จานวน 1 คนคิดเป็นรอ้ ยละ 2.04 15) สิ่งที่ได้รับจากโครงการบัดดี้ไทย-จีนมากที่สุด การฟ๎ง การพูดจานวน 44 คนคิดเป็นร้อยละ 89.80, การอา่ น การเขยี นจานวน 5 คนคิดเป็นร้อยละ 10.20 16) ผลการเรียน A จานวน 23 คนคิดเป็นร้อยละ 46.94,B+ จานวน 8 คนคิดเป็นร้อยละ 16.33, D จานวน 4 คนคิดเป็นร้อยละ 8.16,B จานวน 3 คนคิดเป็นร้อยละ 6.12,C+ จานวน 3 คนคิดเป็นร้อยละ 6.12,C จานวน 3 คนคดิ เป็นร้อยละ 6.12,D+ จานวน 3 คนคิดเปน็ ร้อยละ 6.12,F จานวน 2 คนคดิ เป็น รอ้ ยละ 4.08 17) ลักษณะของคู่บัดด้ีท่ีต้องการช่วยเหลือซึ่งกันและกันจานวน43 คนคิดเป็นร้อยละ 87.76, เป็นคน สนุกสนานจานวน 42 คนคิดเป็นร้อยละ 85.71, ให้คาแนะนาด้านการเรียนภาษาจีนจานวน 40 คนคิดเป็นร้อยละ 81.63, มีความจริงใจจานวน 36 คนคิดเป็นร้อยละ 73.47, ให้เกียรติกันจานวน 31 คนคิดเป็นร้อยละ 63.27, รับฟ๎ง ความคดิ เหน็ จานวน 30 คนคดิ เป็นร้อยละ 61.22, โทรศพั ทต์ ิดต่อหรอื สง่ ขอ้ ความจานวน 28 คนคดิ เปน็ รอ้ ยละ 57.14 18) สิ่งทีอ่ ยากใหค้ ่บู ัดด้ีชว่ ยเหลือมากทส่ี ุด สอนคาศัพท์ภาษาจีนจานวน 42 คนคิดเป็นร้อยละ 85.71, สอน ไวยากรณ์ภาษาจนี จานวน 39 คนคดิ เป็นร้อยละ79.59, ออกเสียงพดู จานวน 34 คนคิดเป็นรอ้ ยละ 69.39, ทาการบ้าน ภาษาจีนจานวน 23 คนคิดเป็นร้อยละ 46.94, ให้กาลังใจในการเรียนและการใช้ชีวิตจานวน 18 คนคิดเป็นร้อยละ 36.73, ค้นหาข้อมูลภาษาจีนจานวน18 คนคิดเป็นร้อยละ 36.73, คอยรับฟ๎งป๎ญหาจานวน 12 คนคิดเป็นร้อยละ 24.49, อยากให้บัดด้ีช่วนสอนภาษาพูดของจีน ภาษาท่ีคนจีนใช้คุยกันที่ไม่เป็นทางการมากนักจานวน 1 คนคิดเป็น ร้อยละ 2.04 2.เจตคติของนักศึกษาต่อการเรียนรแู้ บบเพอื่ นช่วยเพอื่ นผ่านโครงการบดั ดไี้ ทย-จนี ภาพ แสดงผลระดบั เจตคติต่อการเรยี นรู้แบบเพอื่ นช่วยเพือ่ นโดยผา่ นโครงการบัดด้ีไทย–จีน นักศึกษาจานวน 49 คน หน้า313

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) จากภาพ แสดงผลระดับเจตคติต่อการเรียนรู้แบบเพ่ือนช่วยเพื่อนโดยผ่านโครงการบัดดี้ไทย–จีนพบว่า ค่าเฉลย่ี โดยรวมอยู่ระดบั มาก (Mean = 4.32 ,S.D.= 0.60 ) เมอ่ื พิจารณาเป็นรายประเด็นเรียงลาดับค่าเฉลี่ยจากมาก ไปหาน้อยดงั น้ี นกั ศึกษามีความสุขกับการทากิจกรรมกับคู่บัดด้ี(Mean = 4.49 ,S.D.= 0.54 ),การได้รู้จักกับบัดดี้ชาว จนี ทาให้มีมมุ มองท่ีกวา้ งขน้ึ (Mean = 4.43 ,S.D.= 0.50 ),ไดส้ ื่อสารกับชาวจีนทาให้รู้สึกมั่นใจในการใช้ภาษาจีนมาก ขึ้น (Mean = 4.37 ,S.D.= 0.57 ),คู่บัดด้ีสามารถให้คาแนะนาด้านการเรียนภาษาจีน(Mean = 4.35 ,S.D.= 0.56 ) , รูปแบบกิจกรรมท่ีหลากหลายทาให้การใช้ภาษามีความหลากหลาย(Mean = 4.31 ,S.D.= 0.65 ) ,การเตรียมหัวข้อ หรือเนอ้ื หามาก่อนทาให้การสือ่ สารราบร่ืน (Mean = 4.31 ,S.D.= 0.62 ) ,การเรียนรภู้ าษาจีนจากเจ้าของภาษาทาให้ เข้าใจวัฒนธรรมจีน (Mean = 4.27 ,S.D.= 0.57) , การสื่อสารภาษาจีนกับบัดด้ีจีนทาให้เข้าใจการดาเนินชีวิตและ การใชช้ วี ติ ของเจ้าของภาษามากขึ้น(Mean = 4.24 ,S.D.= 0.56 ) ,การสื่อสารกับบัดดี้ชาวจีนทาให้ภาษาจีนด้านการ พูดดขี ้ึน(Mean = 4.22 ,S.D.= 0.74 ) ,การจบั คู่บัดดีท้ าให้ผลการเรียนภาษาจนี ดขี ้ึน(Mean = 4.20 ,S.D.= 0.71 ) สรุปผลการวิจัย 1.ผลของการจัดกจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบเพอ่ื นช่วยเพอื่ นผา่ นโครงการบัดดไ้ี ทย-จนี จานวน 18 ประเด็น เป็น กิจกรรมท่ีมีคะแนนร้อยละ 50 ข้ึนไปจานวน 9 ประเด็น คือ 1) ป๎ญหาในการส่ือสารของบัดดี้ 2) รูปแบบในการ ตดิ ตอ่ สอ่ื สาร 3) ส่ิงที่บัดด้ีให้ความช่วยเหลือ 4) สถานที่ท่ีนัดพบคุยกัน 5) ทุกคร้ังท่ีมีการนัดพบได้มีการเตรียมเรื่อง ภาษาก่อนหรือไม่ 6) เรื่องท่ีพูดคุยกับบัดด้ี 7) ส่ิงที่ได้รับจากโครงการบัดด้ีไทย-จีนมากท่ีสุด 8) ลักษณะของคู่บัดดี้ที่ ต้องการ 9) สง่ิ ท่อี ยากใหค้ บู่ ดั ด้ีชว่ ยเหลอื มากท่สี ดุ 2.เจตคติของนกั ศกึ ษาต่อการเรยี นรูแ้ บบเพือ่ นช่วยเพ่ือนผ่านโครงการบัดดี้ไทย-จีนค่าเฉล่ียโดยรวมอยู่ระดับ มาก (Mean = 4.32 ,S.D.= 0.60 ) อภิปรายผล หนา้ 314

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 1.ผลของการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบเพอ่ื นช่วยเพ่ือนผา่ นโครงการบัดดไ้ี ทย-จีนจานวน 18 ประเด็นพบว่า จานวน 18 ประเด็นมีกิจกรรมที่มีคะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไปจานวน 9 ประเด็นคือ1)ป๎ญหาในการสื่อสารของบัดดี้ 2) รปู แบบในการตดิ ต่อส่ือสาร 3)ส่ิงท่ีบัดดใ้ี หค้ วามช่วยเหลือ 4)สถานท่ีที่นัดพบคุยกัน 5)ทุกครั้งที่มีการนัดพบได้มีการ เตรยี มเรอื่ งภาษากอ่ นหรือไม่ 6)เร่อื งท่ีพูดคุยกับบัดดี้ 7)ส่งิ ท่ีได้รับจากโครงการบัดดี้ไทย-จีนมากท่ีสุด 8)ลักษณะของคู่ บดั ดี้ทต่ี อ้ งการ 9) สิง่ ทอี่ ยากให้คูบ่ ดั ดช้ี ่วยเหลือมากทสี่ ดุ ดังทสี่ ุคนธ์ สินธพานนท์ และคณะ (อา้ งถึงใน ประนอม ดอนแก้ว, 2550 หน้า 12) กล่าวว่า กลวิธีการเรียนรู้ แบบเพอื่ นชว่ ยเพ่อื นเปน็ วิธกี ารสอนวิธีหน่ึงที่สืบทอดเจตนารมณ์ของปรัญชาการศึกษาท่ีว่า learning by doing ตาม แนวทฤษฎีของ John Dewey โดยเน้นการให้นักเรียนมีการรวมกลุม่ เพ่ือการทางานร่วมกันหรือการปฏิบัติในกิจกรรม การเรียนการสอน อาจกลา่ วได้ว่าการสอนแบบเพ่ือนช่วยสอนน้ันเป็นการส่งเสริมระบอบประชาธิปไตย และยังมุ่งให้ ผเู้ รยี นท่ีมีผลสัมฤทธ์ิอย่ใู นเกณฑต์ ่าไดร้ บั ประโยชน์จากเพ่ือนนักเรยี นที่เกง่ กวา่ หรือมผี ลสัมฤทธิ์ในการเรียนอยู่ในเกณฑ์ สูง และกรมวิชาการ.(2544, หน้า 61 - 63) การจดั การเรียนรู้แบบเพ่อื นชว่ ยเพ่อื น หรือการให้ผู้เรียนช่วยสอนกันเองน้ี เป็นวิธีการท่ีจะช่วยให้ผเู้ รยี นได้รบั ประโยชน์ทางดา้ นวิชาการด้วยกันทั้งสองฝุาย วิธีการให้ผู้เรียนสอนกันเองน้ี ผู้เรียน จะเรียนร้อู ะไรตา่ งๆได้จากกนั และกันและการเรียนรู้แบบน้ีทาให้ผู้ที่เรียนรู้ช้าเกิดการเรียนรู้ได้ เน่ืองจากภาษาท่ีใช้ใน การพูดจาสื่อสารกันนั้น สามารถสื่อความหมายระหว่างกันและกันได้เป็นอย่างดี เนื่องจากเพื่อนนักเรียนเป็นวัย เดยี วกัน ซ่ึงสามารถชว่ ยในการถา่ ยทอดสิ่งทเ่ี ขาไดเ้ รียนรู้มาให้เพื่อนๆฟ๎งด้วยภาษาและรูปแบบของเขาเอง ก็จะทาให้ นักเรียนเข้าใจในความรู้นั้นได้แจ่มแจ้งมากยิ่งขึ้น ผู้เรียนซ่ึงได้รับฟ๎งจากเพ่ือนก็จะได้รับประโยชน์ด้วย สอดคล้องกับ การวจิ ัยของ Chen Yifei.(2019 หนา้ 133) การจดั กิจกรรมการสือ่ สารกับคู่บดั ดี้ สามารถพัฒนาทักษะการฟ๎งการพูด ภาษาจีนให้กับนักศึกษาต่างชาติได้อย่างชัดเจน และDai Di‖ou. (2017 หน้า 45 ) นักศึกษาต่างชาติที่มาเร่ิมเรียนท่ี ประเทศจีนไดไ้ มน่ าน คู่บัดดไี้ ม่เพียงช่วยพัฒนาระดับภาษาจีนได้ ยิ่งไปกว่านี้ยังสามารถช่วยให้นักศึกษต่างชาติเข้าใจ วฒั นธรรม ประเพณีจนี อีกด้วย 2.เจตคตขิ องนักศึกษาตอ่ การเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพ่ือนผา่ นโครงการบัดด้ีไทย-จนี ผลระดบั เจตคตติ ่อการเรียนร้แู บบเพ่อื นช่วยเพ่ือนโดยผ่านโครงการบัดด้ีไทย–จีน พบว่าค่าเฉล่ียโดยรวมอยู่ ระดับมาก(Mean = 4.32 ,S.D.= 0.60 ) ระดับเจตคติทุกประเด็นอยู่ระดับมาก ได้แก่ การมีความสุขกับการทา กิจกรรมกับคู่บัดดี้การได้รู้จักกับบัดด้ีชาวจีนทาให้มีมุมมองท่ีกว้างข้ึนได้สื่อสารกับชาวจีนทาให้รู้สึกม่ันใจในการใช้ ภาษาจนี มากขึ้นคบู่ ัดด้สี ามารถให้คาแนะนาด้านการเรียนภาษาจีนรูปแบบกิจกรรมท่ีหลากหลายทาให้การใช้ภาษามี ความหลากหลาย การเตรยี มหวั ขอ้ หรอื เน้อื หามากอ่ นทาใหก้ ารสอื่ สารราบร่นื การเรียนรูภ้ าษาจีนจากเจ้าของภาษาทา ให้เข้าใจวฒั นธรรมจีนการส่ือสารภาษาจีนกับบดั ด้ีจีนทาให้เข้าใจการดาเนินชีวิตและการใช้ชีวิตของเจ้าของภาษามาก ข้นึ การสือ่ สารกบั บัดดี้ชาวจนี ทาให้ภาษาจนี ด้านการพดู ดีข้ึนการจับค่บู ัดดที้ าให้ผลการเรียนภาษาจีนดขี นึ้ ดังที่ทองดี ศรีอันยู้ (อ้างถึงใน ทัศนาวลัย ตันติเอกรัตน์, 2558 หน้า1165) กล่าวว่าเจตคติเป็นเรื่องของ อารมณค์ วามร้สู ึกภายในตวั บคุ คลท่ีมีตอ่ สงิ่ ใดส่งิ หนงึ่ เมอ่ื มีข้อมลู ของสิง่ ใดส่ิงหนง่ึ สง่ ไปยงั สมองบคุ คลจะแสดงออกเป็น พฤติกรรมสนองตอบ จึงไม่สามารถสังเกตได้โดยตรง โดยพฤติกรรมท่ีแสดงออกจะมีลักษณะเป็นไปในทางบวก ลบ หน้า315

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) หรือเปน็ กลาง และเจตคติมีความคงทนแต่ก็ยังสามารถเปลี่ยนแปลงได้สอดคล้องกับงานวิจัยของอติมา อุ่นจิตร และ ชนกกานต์ สหัสทัศน์. (2561). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 3 วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบเพ่ือนช่วยเพ่ือนมีทัศนคติที่ดีต่อการเรียน วชิ าคณติ ศาสตรด์ ังนนั้ อาจกล่าวไดว้ า่ การจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพ่ือน สามารถนามาใช้ในการจัดการเรียนการ สอนวิชาคณติ ศาสตรไ์ ดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ขอ้ เสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะเพือ่ การนาไปใช้ 1.1 หลงั จบโครงการ ผูจ้ ัดทาโครงการคอื อาจารยป์ ระจาหลักสูตรไม่ได้มีการจดั กิจกรรมให้นกั ศกึ ษาท่ีเป็นคู่ บัดด้ีตอ่ แตเ่ ปน็ การให้คู่บัดดี้ติดต่อกันเอง เน่ืองจากการวางแผนตั้งแต่เริ่มแรกไม่ได้คิดว่าจะจัดกิจกรรมแบบต่อเน่ือง ด้วยปญ๎ หาเรอ่ื งเวลาของนกั ศึกษาไทยและนักศีกษาจีนซ่ึงไม่ตรงกันจึงได้แต่สอบถามความก้าวหน้าในการทากิจกรรม ดังนัน้ จึงควรมีการติดตามหรือทาโครงการอยา่ งต่อเนอื่ ง 1.2 เนอื่ งจากมขี ้อจากดั เกี่ยวกับนกั ศกึ ษาจนี ท่ศี ึกษาท่มี หาวิทยาลยั ใช้เวลา 1 ปีการศึกษา ทาให้นักศึกษา ไทยทีเ่ ป็นค่บู ดั ด้ีสว่ นใหญไ่ ม่มีการติดต่อส่ือสารอย่างต่อเนื่อง อาจมบี างคนทีย่ ังตดิ ตอ่ อยเู่ ทา่ นัน้ ดงั นนั้ ทางหลักสูตรอาจ ต้องประสานงานกับวิทยาลัยนานาชาติจนี ท่มี ีนกั ศึกษาหลกั สูตร 4 ปี เพ่ือให้นักศกึ ษามีบัดด้ีอยา่ งตอ่ เน่ือง 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยคร้งั ตอ่ ไป ควรทาวจิ ัยเรื่องปจ๎ จยั ที่ส่งผลต่อการเรียนรู้แบบเพอื่ นช่วยเพอื่ นผา่ นโครงการบัดดี้ไทย-จนี เอกสารอา้ งอิง มหาวทิ ยาลัยราชภฎั สวนดุสิต ศูนย์ ตรัง.\". รายงานสืบเนอ่ื งเสนอในการประชมุ กรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2544). หลักสตู รการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานพทุ ธศกั ราช หาดใหญ่วิชาการ วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2558.สงขลา : มหาวทิ ยาลัยหาดใหญ.่ 2544. กรุงเทพ:องคก์ ารรับสง่ สนิ คา้ และ 1162-1172 พสั ดภุ ณั ฑ์. นวกานต์ คาเรยี ง. (2555). ศกึ ษาวจิ ยั เรื่องการ กัลปพฤกษ์โชคสิริ โชคดมี ีสขุ .(2558).การเตรียม พัฒนาทักษะการใช้โปรแกรม Microsoft ความพรอ้ มด้านภาษาจีนในการกา้ วเข้าสู่ Office Excel 2007ของนักเรียนชนั้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. ประถมศึกษาปที ่ี 5 โดยใชเ้ ทคนิคการ วารสาร มฉก.วิชาการ19(37), 153-161. สอนแบบเพือ่ นช่วยเพอ่ื น.นครปฐม: ทศั นาวลัย ตันตเิ อกรัตน์. (2558). \"การศึกษา โรงเรียนวดั ไทร(สินศึกษาลยั ). เจตคติต่อการเรียนรายวชิ าการจัดการ นันทวนั วัฒนมงคลสขุ . (2560).เทคนคิ การสอน ทอ่ งเท่ียวอยา่ งย่ังยนื ของนักศึกษา ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษแบบ \"เพอื่ นช่วย หน้า316

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) เพื่อน\".วารสารวทิ ยาลัยนครราชสีมา. กรุงเทพฯ:บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั 11(3) หน้า 277 - 287. ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การวจิ ยั เบอื้ งต้น (พมิ พ์ ครั้งท่ี 9).กรุงเทพมหานคร: อตมิ า อนุ่ จติ ร และชนกกานต์ สหสั ทัศน์. (2561). สุวริ ยิ สาส์น. การพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ประนอม ดอนแกว้ . (2550). การใชก้ ลวิธีการเรยี นรู้ แบบเพอ่ื นชว่ ยเพอื่ นเพ่อื พฒั นาทกั ษะ การ เร่ือง การแกร้ ะบบสมการเชงิ เสน้ สอง ค้นคว้าแบบอิสระ. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ ตวั แปรชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 วิทยาลยั บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่. นาฏศิลปกาฬสินธ์ุโดยใช้การจดั การ สุรางค์ โค้วตระกูล. (2553). จิตวทิ ยาการศึกษา. เรยี นรแู้ บบเพ่ือนชว่ ยเพือ่ น. วารสาร (พิมพค์ รง้ั ที่ 9). กรงุ เทพมหานคร: วิทยาศาสตร์และวทิ ยาศาสตรศ์ กึ ษา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 1(2), 196-205. อติกนั ต์ ภดู ีทพิ ย.์ (2552). การศึกษาผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรยี นวิทยาศาสตรแ์ ละ Chen Yifei. (2019). 来华留学生语伴交 พฤติกรรมด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม พ้นื ฐาน 8 ประการของนกั เรยี นชน้ั 际情况 มธั ยมศึกษาปที ่ี 3ทีไ่ ด้รับการจัดการ 调查及启事. 现代交际, 19(11), 132- เรยี นรแู้ บบกลุม่ เพอื่ นชว่ ยเพ่ือน. สารนิพนธ์ กศ.ม. (การมธั ยมศึกษา). 135. Dai Di‖ou. (2017). 关玉琪.论汉教语伴 对象对留 学生汉语学习的影响. 文教资科, 17(16), 45-49. หนา้ 317

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ผลการจดั กิจกรรมเรียนรโู้ ดยใชแ้ บบจาลองเป็นฐาน เพือ่ พัฒนาแบบจาลองทางความคดิ และทกั ษะการสร้าง แบบจาลอง เรอื่ ง ปรากฏการณ์ทางธรณวี ทิ ยาและดาราศาสตร์ ของนักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 โรงเรยี นสาธิต มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ปทุมวัน USING MODEL-BASED LEARNING FOR ENHANCING MENTAL MODEL OF PHENOMENAL GEOLOGY AND ASTRONOMY AND MODELLING SKILL OF 11th GRADE STUDENTS OF SRINAKHARINWIROT UNIVERSITY, PATUMWAN DEMONSTRATION SCHOOL ศักดส์ิ ิทธ์ิ โอปณ๎ ณา โรงเรียนสาธติ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ ปทุมวนั E-mail [email protected] บทคัดยอ่ การศึกษาวจิ ยั ครงั้ นมี้ ีจดุ มงุ่ หมายเพ่อื วเิ คราะห์ข้อมูลเกย่ี วกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจาลองเป็นฐานท่ีมี ผลต่อการพัฒนาแบบจาลองทางความคิด เรื่อง ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาและดาราศาสตร์ ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 แผนการเรียนท่ี 2 – 4 (แผนอักษรศาสตร์) ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ปทุมวัน และศกึ ษาทกั ษะการสรา้ งแบบจาลองและความพึงพอใจของนักเรียนจากการ จดั การเรยี นรู้โดยใช้แบบจาลองเป็นฐาน การวิจัยน้ีเป็นการวิจัยก่ึงทดลองที่ใช้กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยครั้งน้ีเป็นนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 แผนการเรยี นท่ี 2 – 4 จานวน 30 คน ผลการศึกษาพบวา่ แบบจาลองทางความคิด เร่อื ง ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา และดาราศาสตร์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 แผนการเรียนท่ี 2 – 4 (แผนอักษรศาสตร์) ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2560 โรงเรยี นสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจาลองเป็น ฐานมีคา่ สูงกว่ากอ่ นการจัดการเรียนร้อู ย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยหลังจากการเรียนรู้โดยใช้แบบจาลอง เป็นฐาน พบวา่ นกั เรียนสว่ นใหญ่ อยใู่ นระดับท่ีดีมาก เน่ืองจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจาลองเป็นฐานจะช่วยให้ นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ทั้งการใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างแบบจาลองทาง วทิ ยาศาสตร์ ทาใหน้ กั เรยี นจะไดว้ เิ คราะห์ป๎ญหาเองเพ่ือออกแบบแบบจาลองและสร้างแบบจาลองร่วมกันภายในกลุ่ม โดยนกั เรยี นจะได้นาแบบจาลองท่ีได้เปรียบเทียบกบั มโนทศั นเ์ ดมิ แล้ววิเคราะห์และสะท้อนความคิดจนทาให้นักเรียน เกิดความเขา้ ใจในเนือ้ หาความรทู้ เ่ี ก่ียวขอ้ งกบั วทิ ยาศาสตรไ์ ดม้ ากขึ้นและเห็นความเปล่ียนแปลงผลการเรียนรู้ได้อย่าง ชดั เจน คาสาคญั : แบบจาลองทางความคิด, การเรยี นรโู้ ดยใชแ้ บบจาลองเป็นฐาน หน้า318

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ABSTRACT The purpose of study of research were to analyze using Model-based learning for develop mental model phenomenal geology and astronomy and modeling skill of 11thgrade students semester 1/2560 of Srinakharinwirot University, Patumwan demonstration school, and study satisfactionof student in class. This study was quasi–experimental research. The samples were classes of 11thgrade students at the Srinakharinwirot University, Patumwan demonstration school. The result is after the experiment, the percentage average score of mental model was higher than before at .05 level of significance. The most of modeling skill of students were very good because the teaching by use Model-based learning to enrich scientific skill by doing, use inquiry method and created scientific model. The student analyze problem to design and create model in group, and compare model with them concept for reflect of thinking to understand content. KEYWORDS: Mental model, Model-based learning บทนา วทิ ยาศาสตร์มบี ทบาทสาคัญยิง่ ในสงั คมโลก เพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับธรรมชาติของมนุษย์ทุกชีวิต ท้ัง การดารงชีวิตประจาวนั และในงานอาชพี ต่าง ๆ เคร่อื งมือเคร่ืองใช้ตลอดจนผลผลิตต่าง ๆ ที่สร้างข้ึนเพ่ืออานวยความ สะดวกในชวี ติ ประจาวนั ล้วนเปน็ ผลจากความรู้วิทยาศาสตร์ผสมผสานกบั ความคดิ สรา้ งสรรค์และศาสตรอ์ ื่น ๆ ความรู้ วิทยาศาสตร์จึงมสี ่วนสาคัญในการช่วยใหเ้ กิดการพัฒนาเทคโนโลยี ในทางตรงกนั ข้ามเทคโนโลยกี ็มสี ว่ นสาคญั มากท่ีจะ ส่งผลให้มีการศึกษาค้นคว้าความรู้ทางวิทยาศาสตร์และศาสตร์อ่ืน ๆ เพิ่มขึ้น ทั้งน้ีหลักสูตรแกนกลางการศึ กษาข้ัน พื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ม่งุ หวงั ใหผ้ ู้เรยี นได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ท่ีเน้นการเช่ือมโยง ความรู้กบั กระบวนการมที ักษะสาคัญในการคน้ คว้า และสร้างองค์ความรู้โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ และการแก้ป๎ญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ มีการทากิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติจริง อย่างหลากหลาย และเหมาะสมกับระดับช้ัน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2552) การพัฒนาการเรียนการสอนหรือการ จัดการเรยี นร้ใู ห้มปี ระสทิ ธิภาพมากย่งิ ขน้ึ จงึ เป็นป๎จจัยสาคัญอย่างหนงึ่ ที่สง่ ผลตอ่ การเรยี นรขู้ องผู้เรียน โดยวิธีการสอน ทม่ี คี วามหลากหลายและเหมาะสมกบั ผ้เู รยี นเป็นส่งิ ที่ผสู้ อนควรจะกระทาและพฒั นาอยูอ่ ย่างสมา่ เสมอ เพื่อพัฒนาการ เรียนการสอนหรอื การจดั การเรยี นร้ใู ห้มีประสทิ ธิภาพมากยง่ิ ขนึ้ กระบวนการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์น้ันควรเน้นให้ ผเู้ รยี นเป็นผลู้ งมือปฏิบัติ ฝึกและใช้ทักษะการคดิ ด้วยตนเอง ผ้สู อนควรทาหน้าท่ีเป็นผู้จัดกิจกรรมให้นักเรียนได้ศึกษา ด้วยตนเองมากกว่าที่จะเป็นผู้บอกเล่าให้นักเรียนจดจาเน้ือหาหรือสาระการเรียนรู้ รวมท้ังควรคานึงถึงวุฒิภาวะ ประสบการณ์เดิม และป๎จจัยแวดล้อมต่าง ๆ ที่นักเรียนได้รับมาก่อนเข้าสู่ห้องเรียนด้วย เนื่องจากนักเรียนจะมีการ สรา้ งมโนมติผา่ นทางประสบการณท์ น่ี กั เรียนได้รบั จากการเรยี นการสอนหรือการจัดการเรยี นรู้ในชั้นเรยี นในแตล่ ะวนั หนา้ 319

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) จากการศึกษาเกย่ี วกับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ พบว่าการเรียนรู้และเข้าใจแบบจาลอง (Model) เป็นวิธีการ สาคัญอย่างหนึ่งของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยแบบจาลองเป็นส่ิงท่ีนักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้นเพื่อใช้อธิบายแนวคิด หลักการ ทฤษฎี หรือกฎ กล่าวคือ แบบจาลอง เป็นตัวแทนของวัตถุ แนวคิด กระบวนการหรือระบบที่เชื่อมโยง ระหว่างทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์กับความเป็นจริง (Gilbert, Boulter and Rutherford, 1998 อ้างใน ชาตรี, 2554) แบบจาลองจึงมีความสาคญั ต่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยแบบจาลองสามารถทาให้เข้าใจ มโนมติทางวิทยาศาสตร์ และแนวคิดต่าง ๆ ได้ง่ายข้ึน ซ่ึงจะช่วยในการมองเห็นปรากฏการณ์ต่าง ๆ และสามารถใช้อธิบายปรากฏการณ์ ธรรมชาติ ส่งผลให้ผู้เรียนสามารถสร้างความเข้าใจโดยการเปรียบเทียบหลักฐานที่ได้จากการออกแบบและสร้าง แบบจาลองทางวิทยาศาสตร์ท่ีเชื่อมโยงกับความคิดความเข้าใจ และพัฒนา ความเข้าใจไปสู่มโนมติในเร่ืองน้ัน ๆ ได้ แม้แบบจาลองทางวิทยาศาสตร์จะไม่ใช่ของจริง (Artificial) แต่สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นตัวแทนของแนวคิดหรือ ปรากฏการณท์ างธรรมชาติได้ ดงั น้ันการใชแ้ บบจาลองจึงตอ้ งมีการตคี วามหมาย (Interpret) เพ่ือทาความเข้าใจในสิ่ง ที่เปน็ เปาู หมายท่ีต้องการศึกษา แบบจาลองทางวิทยาศาสตร์จึงจัดเป็นส่วนหนึ่งขององค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ถ้า หากผ้เู รยี นเขา้ ใจวา่ แบบจาลองทางวิทยาศาสตร์คืออะไร ได้มาอย่างไร มีขอบเขตและข้อจากัดอย่างไรบ้าง ก็จะทาให้ ผเู้ รยี นเข้าใจลักษณะของความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์ ซ่งึ สงิ่ เหลา่ นี้เปน็ สว่ นหนงึ่ ของการเรยี นรธู้ รรมชาติวิทยาศาสตร์ (นิภา พร, 2558) สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ มีเนื้อหาที่ครอบคลุมวิทยาศาสตร์ 3 สาขา ได้แก่ ธรณีวิทยา อุตุนิยมวิทยา และดาราศาสตร์ โดยมีสาระสาคัญที่ศึกษา เก่ียวกับปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึ้นบนโลก และ ปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขน้ึ ในอวกาศ เน่ืองจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติหลายปรากฏการณ์เป็นปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึ้นใน ระดบั สเกลใหญ่ เชน่ โครงสรา้ งโลก การเกดิ ภเู ขาไฟระเบดิ การเกิดแผ่นดนิ ไหว การเกดิ รอยเลอ่ื น การเคล่ือนที่ปรากฏ ของดวงอาทิตยบ์ นทรงกลมฟูา การเกิดข้างขึ้นข้างแรม เป็นต้น เราไม่สามารถศึกษาปรากฏการณ์ต่าง ๆ เหล่าน้ีโดย วิธกี ารสร้างปรากฏการณข์ ึ้นในหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารใหเ้ ห็นเชิงประจักษไ์ ดโ้ ดยตรง ซ่ึงในการจัดการเรียนการสอนในป๎จจุบัน ส่วนใหญจ่ ะใชก้ ารบรรยายประกอบภาพนาเสนอ หรือมีชุดกิจกรรมสาเร็จรูปท่ีใช้แทนการเกิดปรากฎการณ์ดังกล่าว เช่น แผ่นไม้ตัดเปูนชิ้น ๆ แล้วให้เคล่ือนท่ีชนกันในกรอบไม้แสดงถึงการเคล่ือนที่ของแผ่นเปลือกโลกในการเกิด แผน่ ดินไหว การสร้างแบบภูเขาไฟท่ีใช้เบกก้ิงโซดาผสมน้าส้มสายชู เพื่ออธิบายลักษณะการระเบิดของภูเขาไฟ โดย ไม่ไดเ้ น้นเร่ืองโครงสร้างและชนิดของภูเขาไฟ ชุดสาธิตการโคจรของดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ ซ่ึงผู้สอน เปน็ ผู้นาเสนอแกน่ ักเรยี นทกุ คนหรอื ใหผ้ ้เู รยี นสังเกตแบบจาลองด้วยตนเอง แต่ไม่ได้ลงมือปฏิบัติหรือสร้างแบบจาลอง นั้น เป็นต้น ทาให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยวิธีการจาจากภาพหรือตัวอย่างที่ได้เห็น แต่ไม่สามารถเรียนรู้และนาภาพหรือ ตัวอยา่ งดังกลา่ วมาสรา้ งแบบจาลองทางความคิดไดด้ ว้ ยตนเอง รวมทง้ั ไมส่ ามารถทาการทดลองหรอื ลงมอื ปฏิบตั ิได้จริง เน่ืองจากปรากฎการณ์ทางธรรมชาติมีขนาดใหญ่และไม่สามารถเรียนรู้หรือสัมผัสได้โดยตรง จึงจาเป็นต้องมีวิธี การศึกษาที่ช่วยให้เข้าใจปรากฏการณ์ดังกล่าวได้อย่างเหมาะสม และทาให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง สามารถที่จะ จดจาและเข้าใจจากประสบการณ์การลงมือทาหรอื การสรา้ งแบบจาลองด้วยตนเอง ซ่ึงวิธีการจัดการเรียนรู้วิธีการหน่ึง ทช่ี ว่ ยทาใหผ้ ูเ้ รียนสามารถทาความเขา้ ใจปรากฏการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพคือ วิธีการจัดการเรียนการสอน โดยมีแบบจาลองเปน็ ฐาน (Model-based Teaching and learning : MBTL) หรือการเรียนรู้ท่ีมีแบบจาลองเป็นฐาน (Model-based Learning) หน้า320

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) จากความสาคญั เกีย่ วกบั การเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์โดยใช้แบบจาลองเป็นฐาน (Modeling-based Learning) ที่ ช่วยให้ผเู้ รียนเขา้ ใจธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์ ทาให้มีการศกึ ษาผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วยแบบจาลองของผู้เรียน ท้ังในและต่างประเทศ ซึ่งพบประเด็นต่าง ๆ ท่ีผู้เรียนมีความเข้าใจไม่สอดคล้องกับแบบจาลองทางวิทยาศาสตร์ ยกตวั อย่างเช่น ผู้เรียนมีความเข้าใจว่าแบบจาลองคือวัตถุหรือส่ิงของท่ีเป็นรูปธรรมเท่านั้น หรือแบบจาลองเกิดจาก การลอกเลียนแบบมาจากของจริง ทาใหผ้ ู้เรยี นสว่ นใหญม่ คี วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั ธรรมชาติของแบบจาลองที่ไม่สอดคล้อง กับแนวคิดท่ีนักวิทยาศาสตร์หรือนักการศึกษายอมรับ รวมถึงการสร้างองค์ความรู้และเข้าใจสาระการเรียนรู้ในวิชา วทิ ยาศาสตร์บางสาระมีความซับซอ้ นและไมส่ ามารถอธิบายได้ด้วยการบรรยาย บอกข้อมูลหรือภาพประกอบ (Gross light et al., 1991 อ้างใน Treagust, 2007) ดังน้ันจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งท่ีผู้สอนต้องจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการ ธรรมชาตขิ องแบบจาลองเขา้ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ วธิ ีดาเนนิ การวจิ ัย ความสาคญั ของการวิจยั : ผลการวิจัยครั้งนี้จะทาใหไ้ ด้วิธีการจดั การเรียนรูร้ ูปแบบหนง่ึ ทมี่ คี วามเหมาะสมและ สอดคล้องกับบริบทของนกั เรียนในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน สามารถทาให้ผู้เรียนเรียนรู้ และสร้างองค์ความรไู้ ดด้ ้วยตนเอง ตลอดจนได้เรยี นรดู้ ว้ ยการลงมอื ปฏบิ ัตจิ รงิ เกิดความพงึ พอใจในการเรียนรู้ ส่งผลให้ มีเจตคตทิ ่ีดตี อ่ วชิ าวิทยาศาสตร์ อนั นาไปสู่การพฒั นาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นวิชาวทิ ยาศาสตร์และมีคุณลักษณะอันพึง ประสงคท์ ด่ี ี ขอบเขตของการวจิ ยั การวิจัยครั้งน้ี ผวู้ จิ ัยไดก้ าหนดขอบเขตการศกึ ษาด้านเนื้อหา ประชากร กลุ่มตัวอย่าง และตัวแปรที่ศึกษาไว้ ดงั น้ี 1. ขอบเขตเนอื้ หา ผู้วจิ ัยไดม้ ่งุ ศกึ ษาและวิเคราะห์ข้อมลู เกยี่ วกบั การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจาลองเป็นฐานที่มีผลต่อ พัฒนาแบบจาลองทางความคิดในสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เร่ือง ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาและดาราศาสตร์ ตลอดจนทักษะการสร้างแบบจาลองและความพงึ พอใจของนกั เรยี นจากการจดั การเรียนร้โู ดยใชแ้ บบจาลองเป็นฐาน 2. ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 2.1 ประชากร นกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรี นครินทรวโิ รฒ ปทมุ วนั จานวน 200 คน 2.2 กล่มุ ตัวอยา่ ง กล่มุ ตัวอยา่ งท่ีใช้ในการวจิ ยั ครัง้ นีเ้ ปน็ นักเรยี น ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 5 แผนการเรียนท่ี 2 – 4 จานวน 30 คน ทไ่ี ดม้ าจากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบ Stratified Random Sampling โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่ม ซึ่งมี นักเรยี นแผนการเรยี นที่ 2 – 4 จานวน 3 ห้อง โดยสมุ่ เลอื กนกั เรยี น 1 ห้องเป็นกล่มุ ตัวอยา่ ง 3. ตวั แปรที่ศกึ ษา ตัวแปรทศี่ ึกษา ประกอบดว้ ย 3.1 ตวั แปรต้น คอื การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใช้แบบจาลองเปน็ ฐาน 3.2 ตัวแปรอสิ ระ คอื แบบจาลองทางความคิด, ความพงึ พอใจ 4. สมมตฐิ านการวจิ ยั หน้า321

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 1. การจัดการเรียนรโู้ ดยใช้แบบจาลองเปน็ ฐานมผี ลตอ่ พฒั นาแบบจาลองทางความคิด ของนักเรียน ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรยี นสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน ทาให้นักเรียนมีแบบจาลองทางความคิด ก่อนเรยี นรสู้ ูงกว่าหลงั การจดั กิจกรรมการเรียนรโู้ ดยใชแ้ บบจาลองเป็นฐาน 2. การจัดการเรียนรู้โดยใชแ้ บบจาลองเปน็ ฐานมผี ลให้นกั เรียนมพี ฤตกิ รรมทีแ่ สดงถงึ ทกั ษะการสร้าง แบบจาลองในระดบั ดมี าก และมคี วามพงึ พอใจในระดับมากท่สี ดุ 5. กรอบแนวคิดในการวจิ ยั ในการศกึ ษาคร้งั น้ี ผูว้ จิ ยั ได้ศึกษางานวิจัยทเี่ ก่ียวขอ้ งกับการจัดการเรยี นรโู้ ดยใชแ้ บบจาลองเป็นฐาน (Model-based Learning) และจากการศกึ ษางานวิจยั ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ทาให้ผู้วิจยั สรุปกรอบแนวคดิ ในการการวจิ ัยไวด้ ังน้ี ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนแบบจาลองความคิด เร่ือง ปรากฎการณ์ทางธรณีวิทยาและดารา ศาสตร์ก่อนและหลังเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 แผนการเรียนที่ 2 - 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ดว้ ยการเรยี นรโู้ ดยใช้แบบจาลองเปน็ ฐาน ตารางท่ี 1 การเปรยี บเทยี บคา่ เฉลยี่ ของคะแนนแบบจาลองความคดิ กลุ่มตวั อย่าง n ̅ SD df t p กอ่ นเรียน 35 6.05 2.21 32 19.462 .000 หลังเรียน 35 13.09 2.67 p< 0.5 จากตารางที่ 1 พบว่าค่าเฉลีย่ แบบจาลองความคิด เรื่อง ปรากฎการณ์ทางธรณีวิทยาและดาราศาสตร์ ก่อนและหลงั เรยี นของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 5 แผนการเรียนท่ี 2 - 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ด้วยการ เรียนรโู้ ดยใชแ้ บบจาลองเปน็ ฐาน หลังเรียนมีค่าสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทาสถิติที่ระดับ .05 สรุปว่านักเรียน เรยี นรูด้ ้วยการจัดการเรียนรโู้ ดยใชแ้ บบจาลองเปน็ ฐานดขี ึน้ กวา่ กอ่ นเรียนซึง่ เปน็ ไปตามสมมติฐานทีต่ ั้งไว้ สรุปผลการวิจัย ในการศึกษาครั้งนส้ี รุปผลการวิจยั ไดด้ งั น้ี แบบจาลองทางความคดิ เรอื่ ง ปรากฏการณ์ทางธรณีวทิ ยาและดาราศาสตรข์ องนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 5 แผนการเรยี นท่ี 2 – 4 (แผนอกั ษรศาสตร์) ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ ปทุมวนั หลังการจดั การเรียนรู้โดยใช้แบบจาลองเป็นฐานมีค่าสูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติท่ีระดับ .05 โดยหลังจากการเรียนรู้โดยใช้แบบจาลองเป็นฐาน พบว่านักเรียนส่วนใหญ่ อยู่ในระดับท่ีดีมาก เนือ่ งจากการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชแ้ บบจาลองเป็นฐานจะช่วยให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ท้ังการใช้กระบวนการสืบ เสาะหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างแบบจาลองทางวิทยาศาสตร์ ทาให้นักเรียนจะได้วิเคราะห์ป๎ญหาเองเพื่อ หน้า322

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ออกแบบแบบจาลองและสรา้ งแบบจาลองร่วมกันภายในกลุ่ม โดยนกั เรียนจะได้นาแบบจาลองที่ได้เปรยี บเทียบกับมโน ทัศน์เดิม แล้ววิเคราะห์และสะท้อนความคิดจนทาให้นักเรียนเกิดความเข้าใจในเน้ือหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับ วิทยาศาสตร์ไดม้ ากขึ้นและเหน็ ความเปลย่ี นแปลงผลการเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างชัดเจน การให้นักเรียนได้ประเมินและปรับปรุงแบบจาลองทางวิทย าศาสตร์ด้วยตนเองถึง 2 คร้ัง ถือ เป็น กระบวนการตรวจสอบความคิดที่เป็นสมมติฐานที่ช่วยให้นักเรียนมีความคิดความเข้าใจท่ีชัดเจนมากข้ึน อีกท้ังการท่ี นักเรียนได้ปรับปรุงแก้ไขแบบจาลองแสดงถึงการสะท้อนความรู้ความเข้าใจท่ีเพ่ิมขึ้น ในขณะที่สร้างแบบจาลอง นกั เรียนจะตอ้ งสร้างและปรับโครงสรา้ งใหม่ด้วยตนเองหรือเป็นผู้ให้ความหมายกับประสบการณ์ที่ได้รับให้เป็นไปตาม ความเข้าใจของตนเองโดยใช้ประสบการณ์ที่มีอยู่เดิมเป็นพ้ืนฐานรวมทั้งการให้นักเรียนได้ร่วมกันตรวจสอบ แบบจาลองโดยนาเสนอแบบจาลองของตนเองและให้เพ่ือนร่วมชั้นเรียนเป็นผู้ประเมิน โดยเพื่อนอาจช่วยให้นักเรียน เกดิ การเรยี นรู้ในมโนทศั นจ์ ากการเปน็ ผู้ตรวจสอบ จากน้ันนักเรียนได้พิจารณา ประเด็นท่ีเหมือนและแตกต่างกันของ แบบจาลองแตล่ ะกลมุ่ เพ่อื ปรบั ปรุงใหเ้ ป็นแบบจาลองทสี่ มบรู ณ์ ตารางที่ 2 ผลงานการสร้างแบบจาลองของนักเรียนในรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เรื่อง โลก ดารา ศาสตร์ และอวกาศ ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ปกี ารศกึ ษา 2560 4 –แผนการเรยี นท่ี 2 5 หัวข้อเรื่อง มโนทัศน์ แบบจาลอง โครงสร้างของโลก การเคลอื่ นท่ขี อง แผ่นเปลือกโลก ภเู ขาไฟ หนา้ 323

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) การเคลอ่ื นท่ขี องรอย เลื่อน (แผ่นดนิ ไหว) ซากดกึ ดาบรรพ์ ปรากฏการณ์ บิ๊กแบง ระบบสุรยิ ะ โครงสร้างดวง อาทิตย์ ทรงกลมฟูา หน้า324

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ขา้ งขึ้นข้างแรม ดาวเทยี ม จากผลการจดั การเรยี นรูโ้ ดยใชแ้ บบจาลองเป็นฐาน พบว่าผูเ้ รยี นสามารถสร้างแบบจาลองทางความคิดได้ดี มี ทักษะการสร้างแบบจาลอง มคี วามพงึ พอใจในระดับดีมาก และให้ความร่วมมือในการทากิจกรรมทุกคร้ัง มีความใส่ใจ และพยายามในการสร้างผลงานให้มีคุณภาพ รวมท้ังมีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้น อย่างไรก็ตามส่ิงสาคัญที่ ได้รับรจู้ ากผู้เรยี น คือ ผู้เรยี นมคี วามสขุ รู้สกึ สนกุ สนาน มเี จตคติทีด่ ีต่อต่อผู้สอน และรกั การเรียนวชิ าวทิ ยาศาสตร์ อภปิ รายผล การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจาลองเปูนฐานพบว่านักเรียนส่วนใหญ่มีผลการเรียนรู้อยู่ในระดับดีมาก เนือ่ งจากนักเรียนได้ลงมือปฏบิ ตั ิจรงิ มกี ารแก้ไขปรับปรุงและพฒั นาแบบจาลอง สามารถสร้างแบบจาลองทางความคิด และนามาใช้อธบิ ายความรทู้ ไี่ ด้ ข้อเสนอแนะ 1. การจดั การเรยี นร้โู ดยใชแ้ บบจาลองเปน็ ฐาน พบว่าสามารถพัฒนานักเรยี นในดา้ นความเข้าใจมโนทัศน์ทาง วิทยาศาสตร์ ดังนั้นจึงควรนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจาลองเป็นฐานไปใช้ในการจัดการเรียนรู้วิชา วทิ ยาศาสตรใ์ นหวั ขอ้ อ่ืน ๆ 2. ครูเป็นผู้ที่มีบทบาทสาคัญในการจัดการเรียนรู้ เม่ือครูสามารถจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถทาให้นักเรียนได้ เรยี นรดู้ ้วยตนเอง ลงมอื ปฏิบัติจรงิ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองได้น้ัน จะเป็นผลดีต่อนักเรียน ซ่ึงการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แบบจาลองเป็นวธิ ีหนึง่ ทม่ี ีประสิทธิภาพในการนาไปพัฒนากระบวนการคิดและศักยภาพของนักเรียนได้ ดังนั้น จงึ ควรขยายความรู้และสง่ เสริมใหค้ รูผสู้ อนคนอ่นื ทั้งในกล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และอ่ืน ๆ ได้เรียนรู้และนามา ทดลองปฏิบัติ เอกสารอ้างองิ หน้า325

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2552). หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ : ชมุ ชนสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. ชาตรี ฝุายคาตา. วธิ สี อนวทิ ยาศาสตรร์ ะดบั ประถมศึกษา (Methods of Teaching Science at Elementary Level). กรุงเทพฯ :บรษิ ัท เอพริลพร้นิ ตง้ิ จากดั; 2551: 65-71. นภิ าภรณ์จันทะโยธา. (2558)การพัฒนาวถิ ที างมโนมติวทิ ยาศาสตร์และการสร้างแบบจาลองทางวทิ ยาศาสตรด์ ว้ ย การจัดการเรยี นูรโ้ ดยใชแ้ บบจาลองเปน็ ฐาน เรอื่ ง ของแข็ง ของเหลวและแก๊ส ของนักเรยี นชั้น มธั ยมศึกษาปที ี่ 4.สืบค้นจาก https://gsbooks.gs.kku.ac.th/58/the34th/pdf/HMP11.pdf .เมื่อวันท่ี 18 มกราคม 2561 หนา้ 326

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ความสุขในการเรยี นรู้ : บทบาทของผ้บู รหิ ารและครู Learning Happiness: The Role of administrators and teachers กรองทพิ ย์ นาควิเชตร*,ภควรรณ ลุนสาโรง** และ กฤษฎา วฒั นศกั ด์ิ*** คณะศกึ ษาศาสตรแ์ ละศลิ ปศาสตร์ วทิ ยาลยั นครราชสีมา E-mail [email protected];[email protected]; [email protected] บทคดั ยอ่ การเรยี นรูข้ องบคุ คลทกุ ยุคสมัยมคี วามจาเป็นสาหรบั ทุกคน นาไปสู่การมคี วามรู้ ความสามารถ ทักษะชีวิตในการอยู่ ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบร่ืน หากมีความสุขในการเรียนรู้ จะทาให้บุคคลเรียนรู้ได้ดี และประสบความสาเร็จบรรลุ เปูาหมายของการเรยี นรู้จาเป็นตอ้ งอาศัยหลายป๎จจยั ป๎จจัยภายในคอื ตนเองที่ต้องมสี ขุ ภาพดี มจี ิตปรารถนาที่จะเรียนรู้ มีนิสัย ใฝเุ รยี นรู้ ลงมอื เรยี นรู้อยา่ งจริงจงั และปจ๎ จัยภายนอก คือ บุคคลและบรบิ ทรอบขา้ ง ไดแ้ ก่ผู้ปกครอง ผู้บริหาร ครู เพ่ือน และ คนในชุมชน ท่สี นับสนนุ บุคคลท่ีความสาคัญมาก คือผู้บริหารและครู ควรให้ความสาคัญกับการพัฒนาครูให้สามารถจัดการ เรียนรู้ท่ีเอื้อให้ผู้เรียนใฝุเรียนรู้อย่างมีความสุข จัดกิจกรรมโดยร่วมมือกับผู้ปกครอง จัดให้ทีบรรยากาศท้าทายการเรียนรู้ รว่ มกัน จะไดช้ ว่ ยหล่อหลอมผู้เรยี นให้รักการเรียนรู้ ส่คู วามเจริญในความรู้ และความดีในแบบของคนยคุ ใหม่ต่อไป คาสาคญั :ความสขุ ในการเรียนรู้ ผู้บรหิ าร ครู ABSTRACT Learning of the learner in any time perspective is essential. It will lead to gaining knowledge,abilities and life skills to live at ease with others in society.It is likely caused by being happy to learn, making the learner learn better and attaining successfulness . In order to fulfill the learning objectives it is necessary to depend up on many factors, namely internal factors: the must have good health, wish to learn, have learning habit, and do active learning; and external factor: supporting persons and contacts, including parents school administrators, teachers and community members. In addition, the school administrators should have the roles to encourage the teachers to manage learning for the learners to learn with pleasures, organize related activities with parents, and organize the challenging learning climate for the learners. KEYWORDS:Leaning pleasures, school administrators, teachers, roles กรองทิพย์ นาควเิ ชตร*กฤษฎา วฒั นศักด์ิ*** หลักสตู รศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา ภควรรณ ลุนสาโรง** หลักสตู รประกาศนยี บณั ฑิต สาขาวชิ าชีพครู คณะศึกษาศาสตร์และศลิ ปศาสตร์ วทิ ยาลยั นครราชสีมา หน้า327

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) บทนา การเรียนรู้เป็นกระบวนการหนึ่งในการพัฒนาบุคคลโดยเฉพาะในป๎จจุบันซ่ึงทุกระบบย่อยในสังคมมีการ เปล่ยี นแปลงอย่างรวดเร็วและรุนแรง บุคคลจาเป็นต้องพัฒนาตนทง้ั ดา้ นความรู้ ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการวิชาชีพ ที่แต่ละคนมคี วามถนดั สนใจ และตรงกบั ความต้องการของสังคม ควบคู่กับพัฒนาความดีงามของตนเอง พัฒนา Soft skill ได้แก่ ทกั ษะดา้ นความคิด อารมณ์ ความรูส้ ึกที่เหมาะสมการสื่อสารที่ดี (สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสด์ิ, 2562; วิชัย วงษ์ ใหญ่ และมารุต พัฒผล, 2562 ก) จากการเรียนรู้อย่างสนุก เรียนรู้อย่างมีความสุข จะนาไปสู่การบรรลุเปูาหมายของ การเรียนรนู้ น่ั คอื ผู้เรยี นประสบความสาเรจ็ ในการเรยี นรู้ จาเปน็ ต้องอาศัยความปรารถนาของตนท่ีจะเรียนจะรู้ ตั้งใจ เรียนรู้ มีเปูาหมายในการเรียนรู้เป็นพ้ืนฐาน ได้รับการสนับสนุนท่ีดีจากบุคคลรอบข้าง ภายใต้สภาพแวดล้อมท่ี เออ้ื อานวย (กรมสุขภาพจติ , 2554; ธารณ์ ทองงอก ภารดี อนันตนาวี สุขุม มูลเมือง คุณวุฒิ คนฉลาด, 2557 : 1-17) ส่กู ระบวนการเรยี นรอู้ ย่างเต็มใจ ตั้งใจ บรรลุเปาู หมายการเรยี นรู้ของแตล่ ะคน เกดิ ผลการเรียนรู้ที่จะส่งผลให้ผู้เรียนมี พัฒนาการท้ังความดี ความรู้ ความสามารถ และทักษะในการทางาน รวมท้ังความสุขอันเป็นผลมาจากความดี เก่ง และความสามารถน้นั ซึง่ ต้องอาศัยกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิผล ภายใต้การสนับสนุนของผู้บริหาร การ เอื้ออานวยการเรียนร้จู ากครูซงึ่ รับการพัฒนาเพอ่ื ให้สามารถจดั การเรียนรู้และกจิ กรรมทเ่ี ก่ยี วเนอ่ื งได้เป็นอย่างดี ป๎จจุบนั โลกแวดล้อมดว้ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศนานาประเภท มนษุ ย์อาศัยเทคโนโลยีในการใช้ชีวิตประจาวัน นบั ตัง้ แต่ตื่นนอนกจ็ ะตอ้ งใชน้ าฬิกาปลุกหรอื มอื ถอื ในการตั้งปลุก การใช้ไมโครเวฟในการทาอาหาร การใช้เทคโนโลยี ในการซักผ้าหรือทาความสะอาดบ้าน และท่ีสาคัญ คือ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน โดยเฉพาะการใชโ้ ทรศัพท์มอื ถอื ซึง่ ในยคุ ป๎จจุบนั น้ยี ากทจี่ ะปฏเิ สธวา่ โทรศัพท์มือถือไม่มีความจาเป็นต่อมนุษย์ การใช้ คอมพวิ เตอรแ์ ละอนิ เตอรเ์ น็ตก็ไดร้ ับความนิยมเป็นอย่างมากในการทางาน ใช้ในการคน้ หาขอ้ มูลและความบันเทิง การ รับ-ส่ง อีเมล์ การสนทนาออนไลน์ การเล่นเกมออนไลน์ หรือแม้กระทั่งการรับข้อมูลข่าวสารผ่านคอมพิวเตอร์และ อินเตอร์เน็ต ในทุกท่ีท่ัวโลกได้อย่างทันท่วงที โดยเฉพาะในกระบวนการเรียนรู้ทั้งในโรงเรียนและการเรียนรู้ตาม อัธยาศัย มีการนาคอมพวิ เตอรแ์ ละอุปกรณเ์ ครอ่ื งมอื ช่วยในการเรยี นรู้ น่ันคือ ระบบการส่ือสารในป๎จจุบันได้ช่วยเพิ่ม ความสามารถให้กับมนุษย์ ที่สามารถจาลองสถานการณ์จริง ช่วยย่นระยะทางและเหตุการณ์ท่ีอยู่คนซีกโลกมาสู่ นักเรียนได้ ทาให้การเรียนร้เู ป็นไปอย่างฉับพลันยงิ่ ข้ึน เทคโนโลยีการสอนเปรยี บเสมือนสะพานท่ีเชอื่ มโยงระหว่างที่อยู่ ภายนอกโรงเรียนและโลกท่อี ยภู่ ายในโรงเรียน ทาให้เกิดความเสมอภาคของการศึกษามากขึ้น และทุกคนสามารถใช้ ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยีไดท้ ุกหนแหง่ เทคโนโลยีพร้อมทจี่ ะหยิบยนื่ ความรใู้ หแ้ ก่ทุกคน คอมพวิ เตอร์และอินเตอร์เน็ตก็ ยงั ถกู นามาใช้ในเรอื่ งการค้าและพาณิชย์ด้วยเชน่ กัน จะเห็นไดจ้ ากการใชช้ วี ิตประจาวันของมนุษย์ในแต่ละวันล้วนต้อง ใชแ้ ละอาศยั พ่งึ พาเทคโนโลยตี ลอดเวลาในการดาเนินกจิ กรรมตา่ ง ๆ ตามความตอ้ งการ เน้อื หาสาระ การจัดการศึกษาจาเป็นต้องอาศัยกระบวนการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้ บรรลุเปูาหมายการศกึ ษา โดยครูต้องสรา้ งแรงจงู ใจใหผ้ ูเ้ รยี นใฝเุ รยี นรู้ จดั บรรยากาศการเรยี นรใู้ ห้ผ้เู รยี นไดเ้ รียนรู้อย่าง มีความสุข ผู้เรียนมีสุขภาพกายและจิตท่ีดี (ราชกิจจานุเบกษา, 2562)รวมทั้งเกิดผลการเรียนรู้แบบองค์รวมในตัว ผู้เรียน ซึ่งจาเป็นต้องเร่ิมจากป๎จจัยปูอนเข้า อันเป็นป๎จจัยที่จาเป็นของทุกคนและสังคม โดยอาศัยกระบวนการ เปล่ียนแปลง คือ การจัดกระบวนการการเรียนรู้ภายใต้การสนับสนุนจากทุกฝุาย ในท่ีน้ีมุ่งนาเสนอบทบาทของ หนา้ 328

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ผู้บริหารและครู ซึ่งจะเป็นผู้มีอิทธิพลในการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนรู้ ในมุมมองของการ พฒั นาการจัดการศึกษาอยา่ งเปน็ ระบบ ดงั ภาพประกอบ 1 สภาพแวดล้อมท่ีเปลี่ยนแปลง ปัจจัยท่จี าเป็น การกากับตดิ ตาม ผลการเรยี นรู้ - ความตอ้ งการของสงั คม กระบวนการสนบั สนุน - ความดี - ความปรารถนาของผเู้ รยี นรู้ ความสุขในการเรียนรู้ - ความสามารถ - สภาพและบุคคลสนบั สนุน - ความสุข - การสนบั สนนุ การจัด การเรียนรจู้ ากผ้บู ริหาร - การพฒั นาครู ข้อมูลเพอื่ การทบทวน ภาพประกอบ 1ระบบพฒั นาการเรียนร้อู ยา่ งมีความสขุ เพอ่ื บรรลผุ ลการเรยี นรู้ จากภาพประกอบ 1 การเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวม ท้ัง ความรู้ ความดี ความสามารถ และมีความสุขในการดาเนินชีวติ และการทางานร่วมกับผูอ้ นื่ อย่างราบร่ืน ประสบความสาเรจ็ ในชีวิต เกิดผลการเรียนรู้ ทัง้ ความดที เ่ี ป็นความดีงามตามวัฒนธรรมของสังคมไทยและสากล ความสามารถในการทางาน ทั้งทักษะการทางาน และ Soft Skill และความสุขท่ีได้จากการเรียนรู้ โดยเร่ิมจากป๎จจัยที่จาเป็น สู่กระบวนการสนับสนุนความสุขในการ เรยี นรู้ เพ่ือบรรลุเปาู หมายผลการเรียนรู้ ดังต่อไปน้ี 1. ปจั จยั ท่ีจาเปน็ ของระบบการเรียนรู้อย่างมคี วามสขุ ปจ๎ จัยท่จี าเปน็ ของระบบพัฒนาการเรียนรอู้ ยา่ งมคี วามสขุ เพอ่ื บรรลุผลการเรียนรู้ คือ ความต้องการของสังคมเก่ียวกับ ความสามารถของบุคคลท่แี ปรเปลย่ี นตามยคุ สมยั ซงึ่ ป๎จจุบันสังคมต้องการบุคคลนักปฏิบัติ ทางานร่วมกับทีมงานได้ดี มีมนษุ ยสมั พันธ์ สร้างสรรค์กระบวนการทางานท่ีแก้ไขป๎ญหาและสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ ป๎จจัยถัดมาคือ ความปรารถนา ของผู้เรยี นทจ่ี าเปน็ ต้องสอดคล้องกับความต้องการของสังคมผนวกกับศักยภาพของแต่ละบุคคลที่แตกต่างกัน สภาพ สิ่งแวดล้อมและบคุ คลสนบั สนนุ การเรียนรูอ้ ันประกอบดว้ ยบคุ คลรอบข้างทุกคน ทั้งบุคคลในครอบครัว เพื่อน ในการ นี้บคุ คลทม่ี ีบทบาทสาคัญในการสนับสนุนการเรียนรู้ คือ ครู จึงจาเป็นต้องมีการพัฒนาครูอย่างรอบด้านอันเกี่ยวข้อง หน้า329

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) กับการการจัดการเรียนรู้ท่ีดี ทาให้ผู้เรียนรู้สึกอบอุ่น อยากเรียนอยากรู้ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมในลักษณะที่ สนบั สนุนการเรยี นรู้ของผู้เรียนแต่ละกลุ่มแต่ละระดับ โดยเฉพาะเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า ซึ่งบุคคลที่เกี่ยวข้องทุกคนท้ัง ผู้บริหาร ครู ตัวนักเรียนเอง บุคคลในครอบครัวควรให้ความสาคัญ ทบทวนและกากับติดตามความก้าวหน้าในการ เรียนรู้ของผูเ้ รียน ระบบ กระบวนการเรียนรู้เพอ่ื พฒั นาความรู้ ความสามารถเก่ียวกับวชิ าการวิชาชีพทีแ่ ต่ละคนมีความ ถนัด สนใจ และตรงกบั ความตอ้ งการของสังคมดงั กลา่ ว ผ่านกระบวนการการเรียนรู้และการสนบั สนนุ การเรยี นรู้ (สุชัช วรี ์ สุวรรณสวสั ดิ์, 2562; วชิ ยั วงษใ์ หญ่ และมารุต พฒั ผล, 2562ก 2. กระบวนการสนบั สนุนความสขุ ในการเรียนรู้ ผเู้ ขียนนาเสนอประเด็นความสุขในการเรียนรู้ เป็นจุดเรมิ่ ตน้ ของการกลา่ วถงึ กระบวนการสนับสนุน ความสุขในการเรยี นรู้ สกู่ ารอธิบายการสนบั สนุนจากผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาและการพฒั นาครซู งึ่ เปน็ บุคคลสาคัญในการ จดั การเรยี นร้ใู หผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรู้อย่างมีความสขุ ตามยุคสมัย ดังต่อไปนี้ 2.1 ความสขุ ในการเรียนรู้ ความสุข เปน็ ความสบายกาย สบายใจ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2556: 1241)สอดคล้องกับที่ อัลเบิร์ต ไอสไตน์ เสนอว่า ความสุข เกิดจากชีวิตท่ีเรียบง่าย ไม่มีความกังวลร่วมด้วย (เอ็มไท, 2559) เช่นเดียวกันกับท่ีบุคคลในวงการทาง จิตวิทยาตะวันตก คือ ทาล เบน ซารฮ์ าร์ มหาวิทยาลยั ฮารว์ าร์ด นยิ ามความสขุ ว่า เปน็ ความพึงพอใจในชวี ติ ในป๎จจุบัน และเชื่อมโยงสู่ท่ีจะเกิดในอนาคต อันเกิดจากตนเองและผู้อื่น กล่าวคือ ความสุขของบุคคลร้อยละ 50 กาหนดโดย พันธุกรรม ความสขุ ร้อยละ 35-40 กาหนดโดยความพึงพอใจ สมรรถภาพและคุณภาพของจิตใจ ความสุขร้อยละ 10- 15 กาหนดโดยปจ๎ จยั สนับสนุน(กรมสุขภาพจิต, 2554) และที่ Talebzadeh & Samkan(2011) สรุปว่า ความสุขเป็น ความรู้สกึ ดา้ นดที ี่สามารถแสดงออกใหเ้ หน็ เปน็ ความพงึ พอใจ ไมม่ ีทศั นคติเชิงลบ ในทานองเดียวกัน ประภาภัทร นิยม (2557) กลา่ วถงึ ความสุขจากการเรียนรู้วา่ ความสขุ ของบคุ คลเกิดขนึ้ ได้ 2 ทาง คอื ความสุขความพอใจที่ได้รับสิ่งที่พึง ปรารถนา และความสุขจากการให้ คือ ให้สิ่งของ การให้โอกาส การให้อภัย การนาสิ่งท่ีมีอยู่ออกมาใช้ให้เกิด ประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น และที่กรองทิพย์ นาควิเชตรและคณะ (2562: 485-499)วิจัยพบว่าความสุขของบุคคล เกดิ จากการไดท้ าความดเี พ่อื ตนเอง เพือ่ ผู้อ่ืน หนว่ ยงาน และสงั คม สาหรับความสุขท่เี กี่ยวข้องกับการเรียนรู้ฐิติยา อัลอิดรีสี (2551) และป๎ทมา ทองสม(2554)วิจัยพบว่า สิ่งส่งเสริมการ เรยี นรู้อย่างมีความสุขของผู้เรียน นอกจากตัวนักเรียนเองแล้วยังต้องอาศัยครูที่ดี ครอบครัวที่อบอุ่น เพ่ือนท่ีดีพากัน เรียนรู้ ชุมชนท่ีสุขสงบและสนับสนุนการเรียนรู้ ในทานองเดียวกัน มารุต พัฒผล (2557)วิจัยพบว่าความสุขในการ เรียนรู้ของนักเรียนมีท่ีมาจากอารมณ์และการปฏิบัติที่ดีตามบทบาทของนักเรียนตามความถนัดและความสนใจของ นักเรียน เกดิ พฤติกรรมการเรียนรทู้ ส่ี ามารถสรปุ ได้ คอื 1) มรี ่วมปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 2) ขยันทาแบบฝึกหัด ทางานที่ได้รับ มอบหมายอย่างเต็มใจ 3) มาโรงเรยี นด้วยความตน่ื เต้น และสบายใจ กระตือรอื รน้ ทีจ่ ะเรียน 4) มีแรงจูงใจในการเรียน ม่งุ มัน่ อยากเรียนร้อู ยา่ งสมา่ เสมอ 5) รักครู รักเพ่ือน รักโรงเรียน 6) มีความสนุกกับการเรียน 7) แสวงหาความรู้ด้วย ตนเองจากแหลง่ เรยี นรู้ที่หลากหลายนอกจากนี้ สาอางค์ สุดสะอาด สมศักด์ิ ลิลา สุรินทร์ สุทธิธาทิพย์ (2560) วิจัย พบว่า โมเดลวัดองค์ประกอบความสขุ 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ดา้ นกายภาพ ได้แก่ สภาพแวดล้อมการจัดสถานท่ีใน โรงเรียน สิ่งอานวยความสะดวก การดูแลสุขภาพ ส่ือเทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ 2) ด้านอารมณ์และสังคม ได้แก่ สัมพันธภาพกับผู้บริหารและครู สัมพันธภาพระหว่างเพื่อนนักเรียน การปูองกันอาชญากรรม ทัศนคติของนักเรียน หน้า330

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) การเหน็ คุณคา่ ในตนเอง 3) ด้านการเรยี นการสอน ไดแ้ ก่ บรรยากาศการเรียนการสอน ลักษณะของครู วิธีการจัดการ เรยี นการสอน บทเรียน เนอื้ หาทีเ่ รียน การเอาใจใส่ต่อการเรียน การวัดผลประเมินผล และ 4) ด้านส่งเสริมศักยภาพ นกั เรยี น ได้แกก่ ารกระต้นุ พรสวรรค์ การส่งเสริมความสามารถพิเศษ การมีส่วนร่วมของนักเรียน การประชาสัมพันธ์ ผลงานของนักเรียน ส่วนความสาคัญของการเรียนรู้อย่างมีความสุข วิชัย วงษ์ใหญ่ และ มารุต พัฒผล (2562ข : 4-5)ได้สรุปว่าเมื่อ ผู้เรียนมีการเรียนรู้อย่างจริงจังตั้งใจ เกิดความสุขในการเรียนรู้ จะนาไปสู่การได้ความรู้จริงและต่อยอดสู่การสร้าง นวัตกรรมได้สอดคล้องกับที่ วิจารณ์ พานิช (พิริยาภรณ์ เดชธรากร, 2558) เสนอว่า การเรียนรู้อย่างสนุก (Enjoy learning)จะทาใหผ้ ูเ้ รียนลงมอื เรยี นรูอ้ ยา่ งตั้งใจ และเกดิ ผลลัพธ์ท่ีดีจากการเรียนรู้ และได้เสนอกลยุทธ์ในการจัดการ เรียนรู้อย่างสนุกว่า ครูพึงสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้เรียนอยากเรียนรู้ จัดสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ท่ีท้าทาย เรียนรู้ แบบบูรณาการ คือ เรียนรู้โดยลงมือทา จัดสภาพห้องเรียนแบบเป็นชุมชนเรียนรู้ ผู้เรียนเรียนรู้ร่วมกัน ในลักษณะ ช่วยเหลือเกอ้ื กูลกันทัง้ ในกระบวนการเรยี นรูแ้ ละการใชช้ ีวิตรว่ มกนั 2.2 การสนบั สนุนการจดั การเรยี นรจู้ ากผู้บริหาร การสนับสนุนการจัดการเรียนรู้จากผู้บริหารเป็นสิ่งสาคัญมาก คือ การบริหารจัดการสภาพ แวดล้อมภายใน สถานศกึ ษาให้เอือ้ ตอ่ การจัดการเรยี นรู้ และเออ้ื ตอ่ บรรยากาศการเรียนรทู้ ่มี คี วามสุข จัดให้มีระเบียบท่ีเป็นแบบแผนท่ี ดชี ว่ ยใหผ้ เู้ รยี นมวี ินัย การส่งเสริมการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สนับสนุนการจัดกิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย การ เลอื กตั้งผูแ้ ทนผู้เรียน สง่ เสรมิ การจดั หลกั สูตรเสรมิ ทต่ี รงกับความต้องการของผเู้ รียน ผบู้ รหิ ารโรงเรยี นเป็นแบบอย่างที่ ดสี าหรบั ครแู ละผ้เู รยี น รวมทง้ั อาจจัดใหผ้ เู้ รียนได้เลือกเรียนรายวิชาเลือกเสรีอย่างหลากหลาย จัดโรงเรียนให้สะอาด ร่มร่นื เปน็ ธรรมชาติ ปลอดภยั ไม่เสยี่ งตอ่ อบุ ตั ิเหตุ จัดห้องสมดุ ใหม้ ีหนงั สอื ที่น่าสนใจ มีแหล่งเรียนรู้เหมาะสมเพียงพอ สนบั สนนุ การจัดห้องเรียนและห้องปฏิบัติการต่าง ๆ ท่ีทันสมัยพร้อมใช้งาน จัดให้มีบริการอินเตอร์และคอมพิวเตอร์ เพยี งพอสาหรับผเู้ รยี น ส่งเสรมิ การดแู ลหอ้ งสขุ าใหถ้ กู สุขอนามัย ปลอดโปร่ง ส่งเสริมให้มีจัดการเรียนการรู้ภายนอก โรงเรียนอย่างเหมาะสม ส่งเสริมการจัดทัศนศึกษาท้ังในและนอกโรงเรียนสาหรับผู้เรียนอย่างน่าสนใจ สนับสนุนครู ผู้ปกครองและผู้เรียนให้ร่วมกันจัดกิจกรรมสาหรับผู้เรียนตามความต้องการอย่างเหมาะสม เช่น กีฬา ดนตรี นันทนาการ อื่น ๆ การจัดกิจกรรมที่ปลูกจิตสานึกด้านคุณธรรมจริยธรรม รักษ์โลก รักษ์ธรรมชาติ ในเวลาเดียวกัน ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารกระตนุ้ พรสวรรค์และสง่ เสรมิ ความสามารถพเิ ศษของผู้เรียนใหไ้ ด้แสดงออกในการมีส่วนร่วมในการทา กิจกรรมเหลา่ นี้ ทาความรว่ มมอื กับผู้ปกครอง จากความจรงิ พ้นื ฐานอันเปน็ ท่ียอมรับท่วั ไป คอื ผูป้ กครองเป็นบุคคลที่มี ความรักความผูกพัน มีเวลาอยู่ร่วมกับผู้เรียนมากและใกล้ชิดกับผู้เรียนเป็นลาดับแรก มีความเข้าใจในลักษณะนิสัย และความถนัดของผู้เรยี น อีกทง้ั ผ้ปู กครองเองก็ต่างมคี วามสามารถท่แี ตกต่างกนั ท่ีสามารถให้การสนับสนุนการเรียนรู้ ทัง้ โดยการเล้ยี งดู การใหค้ วามอบอุ่น การให้ความร่วมมือในการทากิจกรรมกับโรงเรียน รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการ พฒั นาการเรยี นรขู้ องผูเ้ รยี น ทงั้ ดา้ นความรู้ ความดี ประเพณวี ฒั นธรรม ภาษา และทกั ษะบางประการ ตามบริบทของ แต่ละครอบครวั รวมทงั้ รว่ มกันดแู ลสิ่งแวดลอ้ มในชุมชนให้สะดวก ปลอดภัย เป็นมิตร มีแหล่งเรียนรู้ สถานท่ีพักผ่อน หย่อนใจ ปลอดสิ่งเสพติด ซ่ึงล้วนมีอิทธิพลต่อการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุขท้ังสิ้น (ธารณ์ ทองงอก ภารดี อนันตนาวี สขุ มุ มูลเมอื ง คณุ วุฒิ คนฉลาด, : 1-17; สาอางค์ สุดสะอาด สมศักดิ์ ลิลา สุรินทร์ สุทธธิ าทิพย,์ 2560) ท่ีสาคญั คอื ผู้บริหารจาเปน็ ต้องพัฒนาครูใหส้ ามารถจัดการเรยี นร้ทู ดี่ ี ตามบทบาทของผู้บริหารที่ หน้า331

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) พึงเป็นผ้นู าทางวิชาการ ผนวกกบั การส่งเสริมและสรา้ งบรรยากาศการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน สร้างความสัมพันธ์กับ ชุมชนเพื่อสนับสนนุ การจดั การเรียนร้เู พอ่ื พฒั นาผเู้ รยี น จะเห็นไดว้ า่ การสนบั สนนุ การจดั การเรยี นรู้จากผบู้ ริหารในประเดน็ สาคญั เหล่านท้ี ้งั ด้านวิชาการและกิจกรรม ล้วนมีอทิ ธพิ ลตอ่ การจดั การเรยี นรทู้ ่ีเช่ือมโยงกันในการสง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รียนไดเ้ รียนรูอ้ ยา่ งมีความสขุ ซง่ึ เกีย่ วเน่ืองกับการ พฒั นาครูซง่ึ เปน็ บคุ คลสาคญั ในการร่วมดาเนินงานจัดการเรียนรู้ 2.3 การพฒั นาครู จุดเร่ิมต้นของการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีสาคัญ คือ การพัฒนาครูเป็นผู้จัดการเรียนรู้ให้ ผูเ้ รียน ไดเ้ รยี นรอู้ ย่างมคี วามสุขในยุคปจ๎ จุบนั (กรองทิพย์ นาควิเชตร และคณะ, 2561) ดงั น้ี (1) การพัฒนาครูโดยหน่วยงาน/สถานศึกษา โดยสังเกตพฤติกรรม ความสามารถของครู แจ้ง ข่าวสารความก้าวหน้าทางวิชาการ วิธีพัฒนาผู้เรียนแบบใหม่ ๆ สร้างแรงจูงใจครูในการจัดการเรียนรู้ท่ีดี สร้าง วัฒนธรรมองคก์ รและคา่ นิยมในการปฏบิ ัตงิ านด้วยจิตสานกึ ของครูทดี่ แี บบมสี ่วนรว่ มพฒั นาครูผ่านกระบวนการทางาน และจัดกิจกรรม โครงการอบรมหรือส่งครูเข้ารับการอบรมกับหน่วยงานอ่ืนหรือส่วนกลาง ร่วมกิจกรรมหรือสร้าง เครือข่ายพัฒนาครู พัฒนาครทู ้งั ในดา้ นคุณลกั ษณะความเปน็ ครู ด้านความรู้ในวิชาท่ีสอน วิธีการสอนบทบาทอื่น การ สรา้ งสัมพนั ธ์กับผูป้ กครองและชุมชน แบบบูรณาการสนับสนุนให้ครูแสวงหาความรู้และใช้ส่ือเทคโนโลยีดิจิทัลในการ เรียนรูแ้ ละการทางานทุกด้าน จัดนเิ ทศภายในและการลดภาระงานครใู ห้ครูสามารถจัดการเรียนเรียนรู้ได้เต็มศักยภาพ รวมท้ังสง่ เสริมการจดั กจิ กรรมแลกเปลีย่ นเรยี นรูร้ ะหวา่ งครดู ้วยกันภายในโรงเรยี นและเข้าร่วมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทั้ง ในโรงเรียนและกับโรงเรียนเครอื ข่าย (2) การสง่ เสรมิ ครูให้พัฒนาตนเอง คือ กระตุน้ ให้ครูตระหนักและสร้างแรงจูงใจในการพัฒนาตนท้ัง ด้านคุณธรรม จริยธรรม การจัดการเรียนรู้ท่ีทาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข การปฏิบัติงานในหน้าที่ครู ความสมั พันธก์ ับผปู้ กครองและชุมชน โดยเข้าร่วมรับการพัฒนา อบรม เขา้ ร่วมกจิ กรรมตา่ ง ๆ เรยี นรวู้ ัฒนธรรมภายใน โรงเรียน หรอื กลุ่มปฏิบัติงาน ติดตามความกา้ วหน้าและตดิ ตามการเปลี่ยนแปลงบริบทโลก แสวงหาความรู้ การเรียนรู้ จากครรู ุ่นพ่ี พัฒนาการใชส้ ่ือไอที อปุ กรณ์และเทคโนโลยใี นการทางานของครูทุกด้าน มุ่งพัฒนาผู้เรียน พัฒนามนุษย สัมพันธ์ของตนเอง เข้าร่วมเสวนาทาความเข้าใจและร่วมกับผู้ปกครอบชุมชน ประมวลความรู้และประสบการณ์สู่ จดั การเรยี นร้ทู ่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ 2.4 การจัดการเรยี นร้ใู หผ้ ู้เรยี นรูอ้ ยา่ งมีความสุข วิธกี ารจัดการเรยี นร้มู ีหลากหลายวธิ ี ซึ่งควรปรับเปล่ยี นตามเนอ้ื หาสาระทีค่ รูจะสอน ความถนัดและ ความสามารถของผเู้ รียน (เสริมศักด์ิ วิศาลาภรณ,์ 2546; พาสนา จุลรตั นะ,2561 : 2363-2380) ดังภาพประกอบ 2 หน้า332

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) วธิ ีการจดั การเรยี นรู้ เนื้อหาสาระ ผ้เู รยี น ภาพประกอบ 2 วิธีการจดั การเรียนรปู้ รบั เปลีย่ นตามเนือ้ หาสาระและผ้เู รียนท่ีแตกต่างกนั ทม่ี า: เสรมิ ศักดิ์ วิศาลาภรณ.์ (2546). การเป็นผ้นู าทางการศกึ ษา. ประมวลสาระชุดวิชาประสบการณ์ วชิ าชีพประกาศนยี บตั รบณั ฑติ ทางการบรหิ ารการศกึ ษา. หนว่ ยท่ี 6-10. บณั ฑติ ศกึ ษา สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช : หน้า 47-76. การจดั การเรียนรูท้ เ่ี น้นผูเ้ รียนเปน็ สาคญั มหี ลากหลายวิธีการ การท่ีครูจะสามารถจัดการเรียนรู้ท่ีดี ครูพึงรู้เนื้อหาที่จะ จดั การเรียนรู้ ทไี่ ดจ้ ากการศึกษาคน้ ควา้ จนไดห้ ลกั การ และองคค์ วามร้ทู จี่ ะนาผู้เรียนให้เรียนรู้ไปด้วยกันได้เป็นอย่างดี สามารถอธิบาย ตอบข้อสงสัยแก่ผู้เรียน หรือสามารถสืบค้นคาตอบท่ีดีได้หลากหลายคาตอบ เนื่องจากครูเข้าใจใน ความสามารถ ความถนดั ความสนใจ และความไม่รขู้ องลักษณะการเรยี นรู้ของผเู้ รยี นแต่ละคน รวมท้ังหาวิธีที่จะทาให้ ผู้เรียนได้เรียนรู้ในเร่ืองน้ันได้ดีข้ึน อันอาจประยุกต์และบูรณาการวิธีสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ได้แก่ การจัดการ เรียนรู้แบบโครงการ โครงงาน การสืบเสาะ การใช้เกมส์ต่าง ๆ บูรณาการการเรียนรู้ อาศัยเทคโนโลยีประกอบการ จดั การเรยี นรู้ ซ่งึ เปิดโอกาสและจงู ใจให้ผเู้ รยี นได้เป็นผลู้ งมือในการเรียนรู้ หาวิธีเรียนรู้ร่วมกัน ในบรรยากาศที่ท้าทาย ทว่าอบอนุ่ ท่ามกลางความเขา้ ใจกนั ระหว่างครกู บั ผเู้ รยี น ผเู้ รยี นกบั ผู้เรียน และผู้เรียนกับชุมชุน ซ่ึงครูเองจาเป็นต้องมี การเตรียมการในการจัดการเรยี นรู้พอสมควร ซึ่งควรจัดในลักษณะเช่ือมโยงกับชีวิตของผู้เรียน โดยมีการปรับเปลี่ยน วิธีการจดั การเรยี นรู้ไปตามเน้ือหาความรูแ้ ละตัวผเู้ รยี นซ่งึ แตกต่างกนั รวมท้งั บริบทและความตอ้ งการหรือเปูาหมายใน การเรยี นรู้อยตู่ ลอดเวลา ปรับ ประยกุ ตใ์ ช้สอื่ และเทคโนโลยีประกอบการจัดการเรียนรู้อย่างคุ้มค่า ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ อย่างมีความหมาย สนกุ สนาน และนาไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตจรงิ ได้ (เสริมศกั ดิ์ วิศาลาภรณ์, 2546) สาหรับการจดั การเรยี นรู้ใหผ้ เู้ รยี นรู้อย่างมีความสขุ และทันสมัย วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล (2562ข; 2562ค) ได้เสนอคุณลักษณะและกระบวนการจัดการเรียนรู้ของครูในยุค 2020 ซึ่งจะสามารถพัฒนาผู้เรียนให้ตอบ โจทย์ความต้องการของสงั คมปจ๎ จบุ นั ทีบ่ รบิ ทของโลกท่ใี ช้หนุ่ ยนตท์ างานแทนมนุษย์ว่าครสู มยั ใหม่ ควรมีลกั ษณะเปน็ สาหรับการจัดการเรยี นร้ใู หผ้ เู้ รยี นรู้อย่างมคี วามสขุ และทันสมัย วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล (2562ข; 2562ค) ได้เสนอคุณลักษณะและกระบวนการจัดการเรียนรู้ของครูในยุค 2020 ซ่ึงจะสามารถพัฒนาผู้เรียนให้ตอบ โจทยค์ วามตอ้ งการของสงั คมป๎จจุบนั ทีบ่ ริบทของโลกท่ีใช้หุ่นยนต์ทางานแทนมนุษย์ว่าครสู มยั ใหม่ ควรมีลักษณะเป็น หนา้ 333

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 1) ครูสร้างสรรค์ (Creative)คือ ทักษะที่ครูสามารถออกแบบ สร้างสรรค์กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีแปลกใหม่ นา่ สนใจ จงู ใจให้ผู้เรยี นอยากเรยี นอยากรู้ อยากปฏิบัติ เปน็ การจัดการเรียนรู้ทต่ี อบโจทย์ความต้องการของผู้เรียน อัน เกิดจากครูรู้นิสัยการเรียนรู้และความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียน เป็นเบื้องต้น สู่การเช่ือมโยงกับการจัดการ เรียนรใู้ นเนื้อหาสาระท่ีตรงประเด็น ตรงเจตนารมณใ์ นการเรยี นรู้ ผ้เู รียนจงึ จะสนุกและมคี วามสุขในการเรยี นรู้ 2) ครูโคช (Coach) ในระหว่างท่ีผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ ครูท่ีจัดการเรียนรู้ต้องเช่ือม่ันว่าผู้เรียนสามารถ เรียนรู้ได้ พร้อมกับสร้างความเช่ือม่ันนี้ให้เกิดแก่ตัวผู้เรียนเอง ให้ผู้เรียนเชื่อมั่นว่าตนเองสามารถเรียนรู้ได้ สู่การดึง ศักยภาพและความชอบของผู้เรียนสู่กระบวนการคิด การเรียนรู้ การลงมือปฏิบัติ พร้อมกันน้ีครูหาช่องทางในการ ช้แี นะการเรียนรู้ ให้ข้อมลู ปอู นกลบั อยา่ งสรา้ งสรรค์ ให้กาลังใจ ให้ผูเ้ รียนเรยี นร้ดู ีไดด้ ี และผู้เรยี นมีวิธกี ารเรยี นรทู้ ด่ี ขี ึ้น 3) ครูเอาใจใส่ (Care) ครูควรดูแลผู้เรียนตลอดกระบวนการเรียนรู้ในระดับท่ีพอดี ไม่มากเกินไป ไม่น้อย เกนิ ไป สาหรับผเู้ รียนแตล่ ะคน ทั้งในเร่อื งวธิ ีการเรยี นรู้ อารมณ์ และความรู้สึกขณะเรียนรู้ ครูคอยประคับประคองให้ ผู้เรยี นได้พัฒนาความรู้ ทักษะ และความดีงามในกระบวนการเรียนรู้แบบเข้าใจกัน ค่อยเป็นค่อยไป จนกระท่ังผู้เรียน สามารถเรียนรู้ได้เอง และชอบที่จะเรียนรู้ เสนอให้ผู้บริหารและครูส่งเสริมและจูงใจให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่าง จรงิ จังตงั้ ใจ ใช้ความมานะพยายาม อตุ สาหะในการเรียนรู้ ลงมือทางาน หาวิธีการแก้ไขป๎ญหาและลงมือแก้ไขเมื่อเกิด ป๎ญหา เพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ท่ีถูกต้อง จริง ชัดเจน นาไปสู่การสร้างนวัตกรรม อันเป็นเปูาหมายของการจัดการเรียนรู้ใน ปจ๎ จุบนั ซึง่ ในปจ๎ จุบนั กระแสแนวคดิ เร่อื งทักษะแหง่ อนาคตใหม่ หรือ 21st Century Skill (วิจารณ์ พานิซ, 2561) ซ่ึง ระบถุ งึ แนวคิดริเร่มิ ของการเปลีย่ นแปลงครั้งใหญ่ทีเ่ กดิ จากการพลักดันของสังคมภายนอกหรือภาคีแห่งศตวรรษที่ 21 ไดช้ ้ีนาถึงการเปล่ียนแปลงกรอบแนวคิดสาคัญ 3 ประการ ได้แก่ 1) การเปลี่ยนแปลงกรอบแนวคิดเรื่องผู้เรียน หรือ ผลลัพธ์ของผู้เรียนใน 5 ด้าน โดยอ้างอิงจากทฤษฎี Multiple Intelligent ของ Howard Gardner (2006) 2) การ เปลี่ยนแปลงนโยบาย มาตรฐานหลกั สูตร วธิ ีสอนและประเมินผล 3) การเปล่ียนแปลงด้านสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ท่ีสุดกับการสอนทักษะชีวิตในศตวรรษที่ 21 โดยเกิดจากชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพที่เป็นต้นแบบของทักษะเหล่านั้น วรพจน์ วงศ์กจิ รงุ่ เรอื ง และ อธปิ จิตตฤกษ.์ (2554 : 465-489) ได้กล่าวถึง ความจาเป็นในการเปลี่ยนแปลงคร้ังสาคัญ 4 อยา่ งในศตวรรษใหม่ ได้แก่ ผลกระทบจากการลม่ สลายของเศรษฐกจิ โลก ความร่ารวยผิดปกติของคนกลุ่มเดียวและ ความเหลือ่ มลา้ ทางเศรษฐกิจ ผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศท่เี ปล่ียนแปลงไป และการผลัดยุคของแรงงาน หรือการ เปล่ียนจากคนในยุคเบบี้บูมไปสู่คนในเจนเนอร์เรช่ันเอ็กซ์และเจนเนอร์เรช่ันวาย ประเด็นสาคัญที่สุดของการ เปล่ียนแปลงแนวคิดทางการศึกษา คือ//การเปล่ียนแปลงกรอบแนวคิดเร่ืองผู้เรียนเป็นสาคัญ ซ่ึงคานึงถึงผลลัพธ์ท่ี เกิดข้ึน (Outputs) กับผู้เรียนโดยเน้นถึงทักษะในอนาคตท่ีจาเป็นสาหรับศตวรรษที่ 21 หรือที่เรียกว่า “Bloom‖s Taxonomy” ซ่ึงเป็นการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญอีกประการหนึ่ง คือ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิทัล//ท่ีเข้ามามี บทบาทในชีวิตประจาวันของมนุษย์มากข้ึน ในขณะเดียวกันเทคโนโลยีดิจิทัลได้ส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ความร้สู กึ นกึ คิดและการรบั รู้ของมนษุ ย์ในสมัยใหม่ที่เรียกว่า “เจนเนอร์เรชั่น” ซ่ึงเป็นมนุษย์ในยุคใหม่ท่ียึดโยงอยู่กับ เทคโนโลยีอย่างมาก จนทาให้เทคโนโลยีกลายเป็นป๎จจัยท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติอย่างคาดไม่ถึง เช่นเดียวกันกับในวงการการศึกษา คนรุ่นใหม่ที่มีทักษะแบบใหม่ๆ มีวิธีคิดในแบบใหม่และมีเครื่องมือใหม่ในการ แสวงหาความรู้ เมือ่ เป็นเช่นนี้ วงการศึกษาจึงถึงจุดเปลี่ยนสาคัญที่จาเป็นต้องทบทวนบทบาทของครูท่ีมีต่อการสร้าง ความรูใ้ หก้ ับผู้คนในยคุ ปจ๎ จบุ นั เพื่ออนาคต หนา้ 334

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) อนง่ึ การจัดการเรียนรทู้ ่คี รมู ่งุ มั่นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข มักเกิดป๎ญหาในการจัดการเรียนรู้ใน ชั้นเรียนของครูแต่ละคน ได้แก่ ผเู้ รียนขาดความรับผดิ ชอบตอ่ งานทีไ่ ด้รับมอบหมาย ประพฤติไม่เหมาะสมกับการเป็น ผู้เรียน ขาดคุณธรรมในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น ไม่ส่งงานตามท่ีครูกาหนด เรียนรู้บางเรื่องบางศาสตร์โดยลาบาก ครูจึง จาเป็นต้องทาการวจิ ยั เพ่ือพฒั นาการเรียนรขู้ องผู้เรียนคนนน้ั กลมุ่ น้นั หรือทง้ั ชัน้ เรียน ดาเนินการควบคู่กับการจัดการ เรียนรู้แบบเป็นสว่ นหน่ึงของการจดั การเรียนรู้ทมี่ ีประสิทธิภาพ มุ่งการใช้ประโยชน์จากการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ของผเู้ รียนเป็นหลกั (ไพศาล หวังพานิช, 2550 : 1) แตไ่ ม่เน้นรูปแบบท่ีเป็นทางการมากนัก ดังข้ันตอนดาเนินการ (ทิศ นา แขมมณี และนงลกั ษณ์ วิรัชชัย, 2546: 55-85) ตอ่ ไปนี้ 1) กาหนดปญ๎ หาแทท้ ่ีจะตอ้ งวิจัยและหาสาเหตุของป๎ญหา 2) วิเคราะห์สภาพป๎ญหา ระบุป๎ญหาและสาเหตุที่ผู้สอนสามารถแก้ป๎ญหาได้ 3)ระบุคาตอบท่ีคาดหวังซ่ึงเป็นการ ตั้งสมมตฐิ านการวจิ ยั ในช้ันเรียน4)กาหนดช่อื เรื่อง และวัตถุประสงค์การวิจัย5) ระบุแนวทางท่ีจะใช้แก้ไขป๎ญหาอย่าง ละเอียด เป็นวิธีแก้ป๎ญหาท่ีตรงประเด็นอย่างชัดเจน ปฏิบัติได้จริงตามสภาพป๎ญหานั้น6) วางแผนและลงมือแก้ไข ป๎ญหาผู้เรยี นบางคน บางกลุม่ ในขณะเดียวกนั กับที่ครูสอนตามปกติ 7) ครูสงั เกต สอบถามผ้เู รียนท่ีมีป๎ญหา จดบันทึก วธิ ีการและผลของการแก้ไขปญ๎ หาเป็นระยะอยา่ งตอ่ เนื่อง 8) สรุปและอภปิ รายผลการแก้ป๎ญหา ว่าเกิดผลดีได้อย่างไร อะไรคอื ตัวชวี้ ัด 9) สะท้อนความคิด ว่าครูไดพ้ ฒั นาทกั ษะการวิจยั และความเป็นครูมืออาชีพอย่างไร เสนอแนะการนา ผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ 10) จัดทารายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรยี นรขู้ องนักเรียนเรื่องที่ 1 สาหรับผู้เรียนคนนั้น กลุ่มน้ัน และในประเดน็ นั้น 11) เตรียมวจิ ัยเพ่อื พัฒนาการเรยี นร้ขู องผูเ้ รียนเร่ืองต่อไป อาจวิจัยในผู้เรียนกลุ่มเดิมหรือ กลุ่มใหม่ อาจวิจัยป๎ญหาใหม่ หรือป๎ญหาเดิม แต่แก้ป๎ญหาด้วยวิธีที่แตกต่างออกไป จะเห็นได้ว่าวิธีการวิจัยเพื่อ พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนจะต้องดาเนินการอย่างครบวงจร มีการแก้ป๎ญหาที่เป็นป๎ญหาแท้ท่ีครูสังเกตว่าเกิดกับ ผ้เู รยี นมาระยะหน่งึ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ซงึ่ อาจเกิดจากหลายสาเหตุ และเปน็ ปญ๎ หาท่ีครูน่าจะสามารถแก้ไขได้ด้วยตัวครูเอง นับเป็นจดุ เรม่ิ ต้นของการการกากับติดตามการจัดการเรียนรู้ของครูเอง ในการนี้ ครูจาเป็นต้องสนับสนุนให้ผู้เรียนทุก คนพัฒนาตนเองเป็นเบื้องต้น ทงั้ สุขภาพกายทีแ่ ขง็ แรงพร้อมทีจ่ ะเรียนรู้ มีสขุ ภาพจิตท่ดี ี มั่นใจและภูมใิ จในตนเอง ด้วย การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ ทั้งกิจกรรมจิตอาสา กิจกรรมเพื่อประโยชน์สาธารณะ กิจกรรมรักษ์โลก รักษ์ธรรมชาติ กิจกรรมทางศาสนา ฝกึ ฝนการสรา้ งแรงจงู ใจแก่ตนเอง จดั กิจกรรมนนั ทนาการ กีฬา ดนตรี กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมต่าง ๆ การมีแรงจูงใจใฝุเรียนรู้ การมีเปูาหมายในการเรียนรู้ที่กล่าวแล้ว นอกจากน้ี ครูยังจาเป็นต้องร่วม ภารกจิ กบั ผบู้ ริหารโรงเรยี นในการสรา้ งสมั พนั ธ์กบั ชุมชน ร่วมอนุรักษ์ทรัพยากร วัฒนธรรมและภูมิป๎ญญาท้องถิ่น ทา ความรว่ มมือกบั ผู้ปกครองในการร่วมกันพัฒนาผู้เรียนในการแก้ป๎ญหาผู้เรียน ร่วมกันจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรและ กจิ กรรมเสริมหลักสตู ร สาหรับกลยุทธ์ในการจัดการเรียนรู้อย่างสนุก ท่ีครูในฐานะผู้ดาเนินการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ผู้สนับสนุน และรับผิดชอบการจัดการเรียนรู้ และเป็นผู้ร่วมเรียนรู้กับผู้เรียน พึงสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้เรียนอยากเรียนรู้ จัด สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ที่ท้าทาย อาจใช้คาถามท่ีท้าทาย หรือโจทย์ที่ต้องลงมือแก้ไขป๎ญหาร่วมกันแบบลงมือ ทางาน เรียนรู้แบบบูรณาการ คือ เรียนรู้โดยลงมือทา จัดสภาพห้องเรียนแบบเป็นชุมชนเรียนรู้ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ร่วมกัน ช่วยเหลือเกือ้ กูลกนั ทก่ี ลา่ วไว้เบอ้ื งต้นน้ัน ครูตอ้ งคานึงถงึ การจดั องค์ประกอบตา่ ง ๆ ในหอ้ งเรียน ได้แก่ ความ สะดวกสบาย ความปลอดโปร่งของห้องเรยี น มอี ปุ กรณก์ ารเรยี นรพู้ อเพียง ผเู้ รียนมอี สิ ระในการลงมือทางานในเนื้อที่ที่ เหมาะสม มีพน้ื ท่ที างานกลุ่ม งานเด่ียว พ้ืนที่เรียนรู้สามารถปรับเปลี่ยนยืดหยุ่นได้ตลอดเวลา ครูดูแลผู้เรียนได้ท่ัวถึง สรา้ งกติกาการเรยี นรรู้ ่วมกัน สรา้ งสมั พันธภาพทด่ี ีระหวา่ งผ้เู รียนกับครู ผู้เรียนกับผู้เรียน ร่วมกันกากับพฤติกรรมการ หนา้ 335

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) เรียนรรู้ ่วมกัน การปรับเปล่ียนกจิ กรรมเมอื่ กระบวนการเรยี นรผู้ า่ นไปเป็นระยะ การร่วมกันขจัดป๎ญหาอุปสรรคในการ เรียนรู้ หรือหาวิธกี ารเรียนรรู้ ว่ มกันโดยหลกี เล่ยี งอปุ สรรค และประเมนิ ผลเพ่ือติดตามการเปลยี่ นแปลงของผู้เรียน เพื่อ พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ครูมุ่งความสนใจไปที่การเรียนรู้ร่วมกัน ไม่ใช่การสอน สะท้อนให้ผู้เรียนได้มองเห็น ความกา้ วหน้าในการเรยี นรขู้ องตน (วจิ ารณ์ พานชิ , 2559) ในการนี้ ผู้บริหารและครูจาเป็นต้องคานึงถึงการพัฒนาผู้เรียนในยุคป๎จจุบัน ท่ีพึงได้รับการพัฒนาทักษะต่าง ๆ โดย รว่ มกันสร้างหลักสูตรท่ีทันสมัย เน้นการบูรณาการเน้ือหาสาระท่ีเป็นประโยชน์กับชีวิต ให้ความสาคัญกับการจัดการ เรียนรู้แบบให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ แก้ไขป๎ญหา คิดวิเคราะห์ คิดส่ิงใหม่ สร้างนวัตกรรม จัดสภาพแวดล้อมและ เทคโนโลยที ี่เอ้อื อานวยต่อการเรียนรู้ที่ดี ใช้กระบวนการประเมินผลท่ีให้ผู้เรียนได้คิด คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ คิด แก้ไขปญ๎ หา ทง้ั แบบประเมนิ ท่ีเป็นอัตนัย การพจิ ารณาผลงาน และกระบวนการแก้ไขป๎ญหา ซ่ึงผู้บริหารควรเน้นการ พัฒนาครูให้เป็นผกู้ ระต้นุ และสนบั สนนุ ให้ผ้เู รยี นเกิดการเรยี นรทู้ ี่ ออกแบบการจดั การเรยี นรใู้ หเ้ หมาะกับเน้อื หาสาระที่ บรู ณาการกัน เหมาะกับวัยและความสามารถของผู้เรียน เอื้อโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ภูมิป๎ญญาไทยและภูมิป๎ญญา จากคนทั่วโลก กระตุ้นใหผ้ ู้เรียนแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ เสมอ (พาสนา จุลรัตนะ, 2561 : 2363-2380) ซึ่งเชื่อมโยงกับ แนวคิดเบ้ืองต้นท่ีกล่าวถึงการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ท้ังผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง ตัวนักเรียนเอง เพื่อน และ ชมุ ชน 3. การกากับตดิ ตามและขอ้ มูลเพอื่ การทบทวนภายใต้สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ปลี่ยนแปลง มมุ มองเชงิ ระบบท่ีเสนอบทบาทผบู้ รหิ าร ครู อันเปน็ ผู้มีอิทธิพลในการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความสุข ในการเรียนรู้ มีกระบวนการสนับสนุนความสุขในการเรียนรู้สู่การพัฒนาผู้เรียนให้เป็นนวัตกรได้น้ัน ผู้บริหารและครู จาเป็นต้องติดตามการดาเนินงานของทีมงาน ทบทวนการดาเนินงานทุกขั้นตอน นาข้อมูลที่ได้กลับมาปรับปรุงการ ดาเนินงานพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ผู้บริหารและครูร่วมกันวางแผนกลยุทธ์การจัดการเรียนรู้อย่างมีความสุขใน ลกั ษณะบรู ณาการไว้ในการทาแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษา จัดทมี ผู้บริหารและครูรับผิดชอบ แจ้งให้ครูทุกคนในฐานะ ครูยุคใหมไ่ ดม้ สี ว่ นรว่ มดาเนินงานในลักษณะเป็นเจ้าของงานจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข ร่วมกัน ติดตามผลการดาเนนิ งาน ทาการวิจัยเพื่อพฒั นาการเรียนรู้ของผู้เรยี น รว่ มกนั บรหิ ารการจัดการเรียนรู้ และรายงานผล การดาเนินงานในการประชุมคณะครูทุกระยะ เพ่ือเป็นการปลุกย้าตนเองและเพ่ือครูถึงความสาคัญในการทางานน้ี รว่ มกันปรบั ปรุงวิธกี ารจดั การเรยี นร้เู มื่อพบป๎ญหา ธารงรกั ษากระบวนการดาเนินงานจัดการเรียนรู้ดังกล่าว และนาสู่ การเสวนาในชมุ ชนแห่งการเรียนรขู้ องคณะครแู ละผู้บริหารเป็นประจา โดยอาศัยเทคโนโลยีและสารสนเทศสนับสนุน การดาเนินงานน้ีอย่างคุ้มค่า พร้อมท่ีจะปรับเปลี่ยนกระบวนการดาเนินงานภายใต้สภาพแวดล้อมท่ีเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยี ความต้องการของสงั คม และวัฒนธรรมการอยรู่ ว่ มกนั ของผู้คนในสงั คมโลก สรุป ความสขุ ในการเรยี นรู้ ทาให้บุคคลเรียนรู้ได้ดี บรรลเุ ปูาหมายของการเรียนรู้ เพราะมีท่ีมาจากตัวผู้เรียนเองที่ มีสขุ ภาพดี มจี ิตปรารถนาท่ีจะเรยี นรู้ มนี สิ ยั ใฝเุ รียนรู้ ลงมือเรียนร้อู ยา่ งจรงิ จัง อาศัยการกากับ ควบคุม ติดตาม นิเทศ ประเมิน และสนับสนุนจากผู้บริหารท่ีจะพัฒนาครูให้สามารถจัดการเรียนรู้ท่ีเอ้ือให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข และจัดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยครูและผู้เรียนได้เรียนรู้ไปพร้อมกันภายใต้กติกาที่ร่วมกันกาหนดใน หนา้ 336

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) สถานการณต์ ่าง ๆ และสิ่งแวดล้อมท่ีเอื้ออานวยการเรียนรู้ที่มีความสุข ซ่ึงสามารถยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนกระบวนการ เรียนรไู้ ดต้ ลอดเวลา ขอ้ เสนอแนะ ผู้บริหารการศึกษาระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา และผู้บริหารระดับกระทรวง ควรสนับสนุนให้ ผู้บริหาร สถานศึกษาและครูได้ตระหนักในความสาคัญในการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างสนุก อย่างมีความสุข ด้วย กระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ท้ังในโรงเรียนและชุมชน ร่วมกันดาเนินงานและทบทวนการดาเนินงาน ต่อเนอ่ื งจรงิ จัง โดยบูรณาการกับงานจดั การศกึ ษาตามปกติ ทงั้ นี้อาจพัฒนากระบวนการดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพ ย่ิงข้ึนด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียน และร่วมกับ โรงเรียนเครอื ขา่ ย ประมวลสู่แนวปฏบิ ัติการจดั การเรยี นรู้อย่างมีความสุขในบริบทของตน รวมทั้งเผยแพร่แนวปฏิบัติ ท่ีดแี ก่มวลสมาชิกในวงการการศกึ ษา ชุมชน สงั คม เพ่ือขยายผลการดาเนินงานลกั ษณะน้ี แกส่ ังคมการจัดการศึกษาใน วงกว้าง ท่จี าเปน็ ต้องมกี ารพัฒนาปรับเปล่ียนตามสภาพการณท์ เ่ี ปลีย่ นแปลงเสมอ เอกสารอา้ งอิง ฐิติยา อัลอิดรีสี. (2551). การพัฒนาตัวบ่งช้ีการ กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. ( 2554). สง่ เสริม ความสขุ การเรยี นรู้อยา่ งมีความสุขของนักเรียนชว่ งช้ัน ที่ 3 ในจังหวดั ปตั ตาน.ี วิทยานิพนธป์ รญิ ญา “นัยของความสุข”. [ออนไลน]์ . ได้จาก การศึกษามหาบัณฑติ สาขาวชิ าการวิจัยและ :https://www.dmh.go.th/news/ ประเมนิ ผล มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ : สบื คน้ เมอ่ื 18 มกราคม 2562. คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. กรองทิพย์ นาควิเชตร และคณะ. (2562). การพัฒนา ธารณ์ ทองงอก ภารดี อนันตนาวี สุขุม มูลเมือง ครู คุณวฒุ ิ ตามมาตรฐานวิชาชีพครู พ.ศ. 2562 : คนฉลาด. (2557). การพัฒนาตวั บ่งชี้การเรยี นรู้ กรณีศึกษา นกั ศึกษาหลักสูตรประกาศนียบตั รบณั ฑิต อย่างมีความสุขของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สาขาวิชาชีพครู วิทยาลัยนครราชสีมา. เมือง รายงาน พัทยา จังหวัดชลบุร.ี วารสารบรหิ ารการศึกษา สืบเนื่องจากสัมมนาวิชาการระดับชาติของ สมาคม มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ.11(20): หนา้ 1- พัฒนาวชิ าชพี การบรหิ ารการศึกษาแห่งประเทศ 17. ไทย. ทศิ นา แขมมณี และ นงลกั ษณ์ วิรัชชยั . (2546). โรงแรม แอมบาสซาเดอร์ ซิต้ี จอมเทียน เก้าก้าวสู่ความสาเร็จในการวิจัยปฏิบัติการใน จงั หวดั ชลบรุ ี ในวนั ที่ 26 เมษายน 2562 (455 - 468) หน้า337

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ชั้นเรียนและการสังเคราะห์งานวิจัย. กันยายน – ธันวาคม 2557 : หน้า 682 – 699 กรุงเทพฯ: สานักพมิ พบ์ ริษัทพฒั นาคุณภาพ ราชกิจจานุเบกษา. (2562). ขอ้ บังคบั ครุ สุ ภา ว่าด้วย วิชาการ (พว.) จากดั . มาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562. ประภาภัทร นิยม. (2557).ความสขุ จากการเรยี นร.ู้ โรงเรยี นรุง่ อรุณ 2014 . (ออนไลน)์ . ได้จาก : ราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม 135 ตอนพเิ ศษ 68 ง http://www.roong-aroon.ac.th/?p=3321. 20 มนี าคม 2562. สบื คน้ เมอื่ วันท่ี 2 มีนาคม 2562. ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรม ป๎ทมา ทองสม. (2554). การพฒั นาดัชนีชวี้ ดั ความสุข ในการเรยี นของนักศกึ ษาหลักสตู รพยาบาลศาสตร ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์คร้ัง บัณฑติ สงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ . วารสาร ท่ี 2. การพยาบาลและการศึกษา.4(1) มกราคม- เมษายน 2554 : หน้า 92–111. กรุงเทพฯ : บริษัท นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์ พาสนา จลุ รัตนะ. (2561). การจัดการเรียนรู้สาหรับ จากดั . ผ้เู รียนยคุ Thailand 4.0. Veradian e - journal วรพจน์ วงศก์ ิจรุ่งเรอื ง และ อธปิ จิตตฤกษ์. (2554). Silpakorn University. ฉบับภาษาไทย สาขา ทกั ษะแห่งอนาคตใหม:่ การศกึ ษาเพอื่ ศตวรรษท่ี มนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตรแ์ ละศลิ ปะ. 11 (2) 21. กรุงเทพมหานคร: โอเพ่นเวลิ ดส์ . หน้า 465-489. พฤษภาคม - สงิ หาคม 2561 : หนา้ 2363 – 2380. วจิ ารณ์ พานิช. (2559). บนั เทงิ ชีวิตครูส่ชู มุ ชน พิริยาภรณ์ เลขธรากร. (2558). สนกุ กับการเรียนรู้ การเรียนรู้. กรงุ เทพฯ : บริษัท เอส. อาร์. พร้ิน ในศตวรรษที่ 21. วารสารศกึ ษาศาสตร์ ตงิ้ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร.17 (3) กรกฎาคม – แมสโพรดกั ส์ จากัด. กนั ยายน 2558 : หนา้ 161 – 163. . (2561). 21st Century Skill. [ออนไลน์]. สบื คน้ ไพศาล หวังพานชิ . (2550). การวจิ ยั ในชั้นเรียน. จาก: www.gotoknow.org/blog/ เอกสารประกอบการบรรยาย โครงการ thaikm/tag/21st century skills สืบค้น เม่อื “การนาเสนอผลงานวิจัยในชั้นเรียนกับครูยุค วนั ที่ 4มกราคม 2563. ปฏริ ูป วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2562ก). Soft การเรียนการสอน” วันศุกร์ท่ี 14 กันยายน Skill to Master. บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัย 2550 ศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ : ศูนย์ผู้นา ณ มหาวิทยาลยั วงษ์ชวลติ กุล. นวตั กรรม มารุต พฒั ผล. (2557). รูปแบบการพฒั นาครู การเรียนร.ู้ (ออนไลน)์ ไดจ้ าก : ดา้ นการจดั การเรียนรูท้ ่ีเสรมิ สรา้ งการรู้คดิ และ www.curriculummandlearning.com. ความสขุ ในการเรียนรู้ของผู้เรยี นระดบั ประถมศึกษา. สบื คน้ วารสารวชิ าการ Veridian E - journal เมื่อวนั ท่ี 17 ธนั วาคม 2562. ฉบบั สงั คมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศลิ ปะ7(3) . (2562ข). ครู 3C ในปี 2020.บัณฑิต วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ. กรงุ เทพฯ : ศูนย์ผนู้ านวตั กรรมการเรยี นรู้. (ออนไลน)์ ไดจ้ าก : หน้า338

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) www.curriculummandlearning.com. เสริมศักด์ิ วศิ าลาภรณ.์ (2546). การเปน็ ผู้นาทาง สบื ค้น การศกึ ษา. เม่อื วนั ที่ 17 ธันวาคม 2562. ประมวลสาระชดุ วิชาประสบการณ์วิชาชพี . (2562ค). การเรียนรู้อย่างจริงจังและตัง้ ใจ ประกาศนยี บัตรบณั ฑิตทางการบรหิ ารการศึกษา. (Active Deep Learning). หนว่ ยที่ 6-10. บณั ฑิตศกึ ษาสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. : หน้า 47-76. กรงุ เทพฯ : ศนู ย์ผู้นานวตกรรมการเรียนร.ู้ เอ็มไท. (2559). เปิดข้อความทฤษฎีแห่งความสุข (ออนไลน์) ไดจ้ าก :www.curriculummandlearn แนวคิดสดุ ล้าค่าของอัลเบิรต์ ไอสไตน.์ (ออนไลน)์ ได้จาก:https://book.mthai.com/all- books/ ing.com. สบื ค้น เมอื่ วนั ท่ี 17 ธนั วาคม 2562. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์. (2562).การประชุมทาง 5406.Html.สบื ค้นเมื่อวนั ท่ี 22 ตลุ าคม 2561. วิชาการ Howard Gardner. (2006). Multiple และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรรค์สาขาวชิ า ศึกษาศาสตร์ คร้ังท่ี 3 : การจัดการศกึ ษาเพอ่ื Intelligences: new horizons in theory การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต. วนั ที่ 2-3 กุมภาพันธ์ 2562 and practice. ที่ Kensington Garden Resort Khaoyai New York: Basic Books. จดั โดยคณะอนกุ รรมการศึกษาศาสตร์ สสอท. Talebzadeh, F., & Samkan, M. (2011). สาอางค์ สดุ สะอาด สมศักดิ์ ลิลา และสุรินทร์ สุทธิธา Happiness for our kid in school : A ทพิ ย์. (2560). การพฒั นาแบบวดั ความสขุ ของผู้เรยี น concept model. Procedia – Social and Behavioral สั ง กั ด ส า นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า Sciences, ประถมศึกษาใน 29 1462 – 1417. ภา คต ะวั นอ อก . วา รส าร ศึก ษา ศ า สต ร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 19(3) กรกฎาคม - กันยายน 2560 : หนา้ 103–117. หน้า339

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) การจดั การศกึ ษาสาหรบั เด็กทม่ี ีความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ เพื่อคณุ ภาพชวี ติ ท่ดี ี Educational Management for Children with Special Needs for Good Quality of Life. วรพล ธลุ จี ันทร์ นกั ศึกษาหลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฏบี ัณฑิต สาขาการบรหิ ารการศึกษา สาขาการบริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยสยาม ผศ.พลเรือตรหี ญงิ ดร.สุภัทรา เอื้อวงศ์ อาจารย์ทป่ี รึกษา ผศ.ดร.ชนิศา ตันติเฉลมิ อาจารย์ทป่ี รึกษารว่ ม E-mail: [email protected] บทคัดยอ่ บทความน้ีมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื นาเสนอการจดั การศกึ ษาสาหรบั เดก็ ท่มี คี วามต้องการจาเปน็ พเิ ศษ เพ่ือคุณภาพ ชีวิตทดี่ ีโดยศึกษาจากการศึกษาเอกสาร ตารา แนวคิด และงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง สรุปผลการศึกษาพบว่า คุณภาพชีวิต เด็กทีม่ คี วามต้องการจาเป็นพิเศษ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ด้านสุขภาพทางร่างกายด้านส่ิงแวดล้อมด้าน การศึกษาดา้ นอารมณ์และจติ ใจและดา้ นสัมพันธภาพทางสงั คมคุณภาพการจัดการศึกษาสาหรับเด็กท่ีมีความต้องการ จาเป็นพิเศษ เพื่อคุณภาพชีวิตท่ีดี ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ ด้านกระบวนการเรียนการสอน ด้านการ บริหารจดั การ ด้านครู ดา้ นหลกั สูตรสถานศึกษา ดา้ นการวดั และประเมนิ ผล และด้านบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ ม คาสาคัญ :เดก็ ที่มีความตอ้ งการจาเป็นพิเศษ, คณุ ภาพชวี ติ , การจัดการศึกษา ABSTRACT This article aims to present the education management for children with special needs for good quality of life. This is a review study based on documents, texts, concepts and related research. The conclusion of the study shows that the quality of life for children with special needs, consists of 5 components : Physical Health, Environment, Education, Emotional and Psychological and in Social Relations. The quality of educational management for children with special needs for good quality of life consists of 6 components : Teaching and Learning process, Management, School Curriculum and Evaluation and the Atmosphere and Environment. KEYWORDS:Children with Special Needs,Quality of Life ,Education บทนา คุณภาพชีวิตเป็นเครื่องช้ีวัดความเจริญก้าวหน้าของมิติทางด้านประชากรสังคมสุขภาพจิตวิญญาณ สิง่ แวดลอ้ มและองคป์ ระกอบอ่ืนๆที่เก่ียวข้องกับความเป็นอยู่ที่ดีของมนุษย์ (Well-being) เป็นเปูาหมายท่ีสาคัญของ หนา้ 340

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) การพัฒนาประชากรของประเทศต่างๆในป๎จจุบันซึ่งมีการตีความหมายและการให้คุณค่า (Value judgement) แตกต่างกันไปตามคุณค่าของแต่ละสังคมจึงมีการให้ความหมายหรือนิยามของคุณภาพชีวิตท่ี แตกต่างกันไปองค์การ อนามยั โลก (World Health Organization: 1997) ได้ให้ความหมายของคุณภาพชีวิตไว้ว่าคุณภาพชีวิตเป็นการรับรู้ ของบุคคลภายใต้บริบททางวัฒนธรรมและคุณค่าที่คนผู้นั้นอาศัยอยู่ซึ่งมีความสัมพันธ์กับจุดมุ่งหมายความคาดหวัง มาตรฐานและสง่ิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งของบคุ คลผู้น้ันเปน็ มโนทัศน์หลายมติ ิทีป่ ระสานการรับรู้ของบุคคลใน ด้านสุขภาพร่างกาย ด้านสภาวะจิตใจ ระดับความเป็นอิสระไม่ต้องพ่ึงพา ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม ด้านความเชื่อส่วนบุคคล ความสัมพนั ธก์ ับส่งิ แวดลอ้ ม และด้านสขุ ภาวทางปญ๎ ญาคณุ ภาพชวี ติ ยงั เป็นดัชนีการวดั และเปรยี บเทยี บดา้ นทรัพยากร มนษุ ย์ การวัดและจดั กลุม่ ประเทศทีพ่ ัฒนาแล้ว ประเทศทกี่ าลงั พฒั นา หรือประเทศพัฒนานอ้ ยทีส่ ดุ หรือแม้แต่การวัด ความสามารถในการแข่งขันของโลก รวมถึงดัชนีการพัฒนามนุษย์วัดความสาเร็จโดยเฉลี่ยของแต่ละประเทศในการ พฒั นามนุษย์ 3 ดา้ นหลัก ๆ ไดแ้ ก่ การมชี วี ิตท่ยี นื ยาวและมสี ขุ ภาพดี ความรู้ และมาตรฐานคุณภาพชีวิต จะเห็นได้ว่า คุณภาพชีวติ นน้ั มคี วามสาคญั อย่างยิง่ ในแต่ละประเทศ ประเทศไทยไดม้ ีการผลักดันให้มกี ารขับเคล่ือนพัฒนาประเทศให้มีความก้าวหน้าสูงขึ้นในด้านต่าง ๆ รวมถึง ด้านคุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศด้วย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช2560มาตรา 58 การ ดาเนนิ การใดของรฐั หรือที่รัฐจะอนญุ าตใหผ้ ใู้ ดดาเนินการ ถ้าการน้ันอาจมีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพ สงิ่ แวดล้อม สุขภาพ อนามยั คณุ ภาพชวี ติ หรือส่วนได้เสียสาคัญอื่นใดของประชาชนหรือชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมอย่าง รุนแรง รัฐต้องดาเนินการให้มกี ารศึกษาและประเมนิ ผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนหรือ ชุมชน และจัดให้มีการรับฟ๎งความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียและประชาชนและชุมชนท่ีเกี่ยวข้องก่อน เพ่ือนามา ประกอบการพิจารณาดาเนนิ การหรอื อนญุ าตตามท่ีกฎหมายบัญญัติ มาตรา 257 การปฏิรูปประเทศตามหมวดน้ีต้อง ดาเนนิ การเพอื่ บรรลเุ ปาู หมาย ดงั ต่อไปน้ี(1) ประเทศชาตมิ ีความสงบเรียบร้อย มีความสามัคคีปรองดอง มีการพัฒนา อย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้านวัตถุกับการพัฒนาด้าน จติ ใจ(2) สงั คมมีความสงบสุข เป็นธรรม และมโี อกาสอันทัดเทียมกันเพื่อขจัดความเหลื่อมล้า(3) ประชาชนมีความสุข มีคณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี และมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาประเทศและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข พระราชบัญญัติส่งเสริมการพฒั นาเดก็ และเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550มาตรา 11 (3) และมาตรา 19 ทใี่ ห้มีการชว่ ยเหลอื ส่งเสริม สนบั สนนุ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ เด็กและเยาวชน รวมท้ังให้การช่วยเหลือทางวิชาการใน การวิจยั และพฒั นาคุณภาพชีวติ เด็กและเยาวชนดังนั้น หน่วยงานต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสขุ หรือกระทรวงกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ รวมถึงหน่วยงานต่าง ๆ ท่ี เกี่ยวขอ้ งไดใ้ ห้ความสาคัญและสนใจในเรือ่ งน้ีมากย่งิ ขน้ึ รวมถึงคนพิการ ประเทศไทยได้จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพชีวิต คนพกิ ารแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 5 พ.ศ. 2560-2564 กาหนดวิสัยทัศน์ “คนพิการเข้าถึงสิทธิได้จริง ดารงชีวิตอิสระในสังคม อยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันอย่างย่ังยืน” ภายใต้ยุทธศาสตร์แห่งความเท่าเทียม (EQUAL) ได้แก่ เสริมพลังคนพิการและ องค์กรด้านคนพิการให้มีศักยภาพและความเข้มแข็ง (Empowerment) พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ขจัดการ เลือกปฏิบัติ เพื่อให้คนพิการเข้าถึงสิทธิได้จริง (Quality Management) เสริมสร้างความเข้าใจและเจตคติ เชิง สรา้ งสรรคต์ ่อคนพิการและความพิการ (Understanding) สร้างสภาพแวดล้อม และบริการสาธารณะที่ทุกคนเข้าถึง และใชป้ ระโยชน์ได้ (Accessibility) สง่ เสริมการบรู ณาการเครอื ข่ายและสรา้ งการมีสว่ นรว่ มเพอ่ื พฒั นาคุณภาพชีวิตคน พกิ ารอย่างย่งั ยืน (Linkage) (คณะกรรมการสง่ เสริมและพฒั นาคุณภาพชีวิตคนพกิ ารแหง่ ชาติ, 2560) หน้า341


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook