Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ED-APHEIT 2020

ED-APHEIT 2020

Published by ED-APHEIT, 2020-04-06 04:37:45

Description: การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร
สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ
หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption”
ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.)

Keywords: ED-APHEIT 2020 ศึกษาศาสตร์ สสอท.

Search

Read the Text Version

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) สาหรบั ประเทศไทย ไดม้ กี ารตง้ั เปาู หมายการปฏริ ปู โครงสร้างทางสงั คมมุ่งเน้นการพัฒนาคนเพื่อคุณภาพชีวิต และสรา้ งโอกาสของประชาชนในทกุ ช่วงวัยทุกกลุ่มเปูาหมาย และไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ประกอบด้วย 3 แนวทางหลัก ไดแ้ ก่ 1)การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ และการดูแลทุกข์สุขของประชาชน 2)การปูองกันและรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม และ 3)การจัดระเบียบสังคม ในด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการดูแลทุกข์สุขของประชาชน มุ่งเน้น การพัฒนาทรพั ยากรมนุษยซ์ ่งึ เป็นทรัพยากรที่มคี า่ และสาคญั ของประเทศและเป็นรากฐานสาคัญของการพัฒนาอย่าง ย่ังยืนโดยกาหนดนโยบายและการดาเนินการที่สาคัญ ท่ีมุ่งเน้นในด้านการศึกษา ได้แก่ การพัฒนาเด็กปฐมวัย เพื่อ วางรากฐานสกู่ ารเติบโตในช่วงถดั ไปอยา่ งมคี ุณภาพและพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนให้เด็กทุกคนได้มี โอกาสได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพเท่าเทียมกัน โดยจัดทามาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ จัดทา School Mapping และรา่ งพระราชบญั ญตั กิ ารพฒั นาเดก็ ปฐมวัย การลดความเหลือมล้าด้านการศึกษา โดยจัดต้ังกองทุนเพื่อ ความเสมอภาคทางการศกึ ษาสามารถสนบั สนนุ ผขู้ าดแคลนทุนทรัพย์และดอ้ ยโอกาสไปแล้วกว่า 4.3 ล้านคน และการ ยกระดบั คุณภาพการศึกษาในทุกระดับ ท้ังการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา เพื่อตอบโจทย์ด้านการ พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตและการดูแลทกุ ข์สขุ ของประชาชน มงุ่ เน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ซ่ึงเป็นทรัพยากรที่มีค่าและ สาคัญของประเทศและเป็นรากฐานสาคัญของการพัฒนาอย่างย่ังยืน ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทุกคนจุดเริ่มต้น เลก็ ๆ ในการอบรมเล้ียงดคู ือสถาบันครอบครัว รองลงมาคือสถาบันการศึกษา เป็นสถาบันที่สาคัญท่ีทาหน้าท่ีในการ ขัดเกลาถ่ายทอดทางวฒั นธรรมความรู้ไปยงั สมาชิกในสังคม ปลูกฝง๎ ทักษะการใช้ปญ๎ ญาเพอ่ื แก้ป๎ญหาในชีวิตประจาวัน และมีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น ลักษณะของความสัมพันธ์ประกอบด้วย ครู อาจารย์ ลูกศิษย์ เป็นต้นการศึกษามีบทบาท สาคัญต่อสังคมในป๎จจุบัน กล่าวคือ การศึกษามิใช่เป็นเรื่องของการแสวงหาความรู้เฉพาะด้านใดด้านหน่ึงเท่าน้ัน หากแต่เป็นการศึกษาเพอ่ื ใหเ้ กิดความคดิ และเกิดปญ๎ ญาในอนั ท่จี ะนาความรนู้ ้ันไปใชแ้ ก้ไขปญ๎ หา และพัฒนาเศรษฐกิจ และสงั คมให้เจริญกา้ วหนา้ บคุ คลทีม่ ีการศกึ ษา หมายถึงบุคคลที่สามารถแก้ไขป๎ญหาต่าง ๆ ได้เป็นผลสาเร็จ บาเพ็ญ ตนใหเ้ ปน็ ประโยชน์ต่อสังคมโดยสว่ นรวม ฉะน้ัน สถาบันการศึกษาจึงมีความสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเมือง และสงั คม เพราะการศึกษากระตุ้นให้คนมคี วามคิด มีความกระตอื รือร้น มีความพยายาม และพร้อมที่จะปรับปรุงหรือ ปฏิรปู ส่ิงตา่ ง ๆ ใหด้ ขี ึ้น ส่งผลให้มีคณุ ภาพชีวติ ทดี่ ขี น้ึ ในภายภาคหนา้ ศ.ดร.เจมส์ เจ เอคแมน นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบลท่านหนึ่งได้กล่าวไว้ว่า “การลงทุนพัฒนาเด็กปฐมวัย เปน็ การลงทุนที่คุ้มค่าให้ผลตอบแทนแกส่ ังคมทดี่ ที ี่สุดในระยะยาว” “เดก็ ปฐมวัย” ตามระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรีว่า ด้วยการพฒั นาเดก็ ปฐมวัย พ.ศ. 2551ไดใ้ หค้ วามหมายของเดก็ ปฐมวยั วา่ หมายถงึ เด็กซึ่งมีอายุยังไม่ครบหกปีบริบูรณ์ และใหห้ มายความรวมถึงทารกในครรภ์มารดาด้วย ปฐมวยั จงึ เป็นวยั เรม่ิ ต้นของชวี ติ และพัฒนาการในทุกด้าน เป็นช่วง วัยท่ีพฒั นาการทางดา้ นตา่ ง ๆ เปน็ ไปอย่างรวดเร็วท่ีสุดและเป็นฐานรากที่สาคัญสาหรับพัฒนาการในช่วงวัยต่อ ๆ ไป เดก็ ในวัยนีจ้ ึงเปน็ ทรัพยากรบคุ คลทีม่ คี วามสาคัญอย่างย่ิงของประเทศ เด็กปฐมวัยที่ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมตาม ช่วงวัยจะสามารถเติบโตเป็นผู้ใหญ่ท่ีดีมีคุณภาพ มีคุณภาพชีวิตท่ีดี และจะเป็นกาลังสาคัญของประเทศชาติต่อไปใน อนาคต จากข้อความท่ีกล่าวมาข้อต้นทาให้ทราบว่าคุณภาพชีวิตน้ันเป็นดัชนีสาคัญในการพัฒนาประเทศชา ติให้มี ความเจริญก้าวหน้า เป็นท่ียอมรับในระดับสากล และคงปฏิเสธไม่ได้ว่าทุกคนรวมถึงเด็กพิการหรือเด็กที่มีความ ต้องการจาเป็นพิเศษเองล้วนแล้วมีความต้องการให้ตนเองมีคุณภาพชีวิตท่ีดีเช่นเดียวกัน ดังนั้นผู้ศึกษาจึงสนใจท่ีจะ หนา้ 342

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ศึกษาการจัดการศึกษาสาหรับเด็กที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ ระดับปฐมวัย เพ่ือคุณภาพชีวิตที่ดี มีลักษะอย่างไร บา้ ง เนอื้ หาสาระ คณุ ภาพการจดั การศกึ ษาสาหรบั เดก็ ที่มีความตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ ระดับปฐมวยั เพอ่ื คณุ ภาพชีวิตท่ีดีผู้ศึกษา ไดด้ าเนินการศกึ ษาจากการศึกษาเอกสาร ตารา แนวคดิ และงานวจิ ัยที่เกี่ยวขอ้ ง แบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วนประกอบ ด้วย 1) เด็กท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ 2) คุณภาพชีวิต และ 3) การจัดการศึกษา ทั้งนี้ตามรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 27 วา่ ด้วย บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาพและได้รับความ คมุ้ ครอง ตามกฎหมายเทา่ เทียมกัน ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคล ไม่ว่า ด้วยเหตคุ วามแตกตา่ งในเรือ่ งถน่ิ กาเนดิ เช้อื ชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพกิ าร สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของ บคุ คล ฐานะทางเศรษฐกิจหรอื สังคม ความเชอ่ื ทางศาสนา การศกึ ษาอบรม หรอื ความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อ บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หรือเหตุอื่นใด จะกระทามิได้ ดังนั้นในการศึกษาในคร้ังน้ีจึงมองในมุมของคุณภาพชีวิต และการจดั การศกึ ษาของเด็กทวั่ ไปร่วมกบั เดก็ ที่มคี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี 1. เดก็ ท่มี คี วามต้องการจาเป็นพเิ ศษ องค์การอนามัยโลก (World Health Organization - WHO) (2538) ได้พยายามที่จะจากัดความหรือให้ ความหมายของคาว่า “เด็กท่ีมีความต้องการพิเศษ” เพ่ือให้เป็นแนวทางสาหรับการทาความเข้าใจว่าเด็กที่มีความ ต้องการพิเศษจะต้องอยู่ในขอบเขต 3 ประการ คือ 1) ความบกพร่อง (Impairment) หมายถึง มีการสูญเสียหรือมี ความผดิ ปกติของจิตใจ และสรีระหรือโครงสรา้ งและหนา้ ทข่ี องรา่ งกาย 2) ไร้สมรรถภาพ (Disability) หมายถึง การมี ข้อจากดั ใด ๆ หรือการขาดความสามารถ อันเป็นผลมาจากความบกพร่อง จนไม่สามารถกระทากิจกรรมในลักษณะ หรือภายในขอบเขตท่ีถือว่าปกติสาหรับมนุษย์ได้ 3) ความเสียเปรียบ (Handicap) หมายถึง การมีความจากัดหรือ อปุ สรรคกีดก้ันอัน เนื่องมาจากความบกพร่อง และการไร้สมรรถภาพที่จากัดหรือขัดขวางจนทาให้บุคคลไม่สามารถ บรรลุการกระทาตามบทบาทปกตขิ องเขาไดส้ าเร็จ องค์การสหประชาชาติ (United Nations, UN) ให้ความหมาย ความพกิ าร ว่า เปน็ ขอ้ จากัด ท้งั หลายที่ทาให้ ประชากรประเทศใดประเทศหน่ึงไม่อาจทาหน้าท่ีของตนเองได้อันเน่ืองมาจากข้อเท็จจริงที่ว่า คนเราอาจจะพิการได้ จากสาเหตคุ วามบกพร่องทางรา่ งกาย สติป๎ญญา หรือประสาทสมั ผัส หรอื จากสภาพการณด้านการแพทย์ หรืออาการ เจ็บปุวยทางจิตที่กลา่ วมาน้กี ็อาจมลี กั ษณะถาวรกไ็ ด้ หรือเกิดขนึ้ เพียงชั่วคร้ังชัว่ คราวเท่านัน้ กไ็ ด้ พระราชบญั ญตั ิส่งเสริมและการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550 มาตรา 4 ให้ความหมายของคาว่า “คนพิการ” หมายความวา่ บคุ คลซ่ึงมีข้อจากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจาวันหรือเขาไปมีส่วนร่วมทางสังคม เนื่องจากมีความบกพร่องทางการเหน็ การไดย้ ิน การเคลอ่ื นไหว การสอื่ สาร จติ ใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติป๎ญญา การ เรยี นรู้ หรอื ความบกพร่องอืน่ ใด ประกอบกับมีอุปสรรคในด้านตา่ ง ๆ และมคี วามจาเป็นเป็นพิเศษที่จะต้องได้รับความ ชว่ ยเหลือดา้ นใดด้านหน่ึง เพ่ือให้สามารถปฏบิ ตั กิ ิจกรรมในชีวติ ประจาวนั หรือเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มทางสังคมได้อย่างบุคคล ทั่วไป หนา้ 343

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง กาหนดประเภทและหลักเกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษาพ.ศ. 2552 อาศัยอานาจตามความในมาตรา 3 และมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสาหรับคนพิกา ร พ.ศ. 2551 รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร จึงออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอ่ื ง กาหนดประเภทและหลักเกณฑ์ ของคนพิการทางการศึกษา พ.ศ. 2552 โดยการพิจารณาบุคคลท่ีมีความบกพร่องเพ่ือจัดประเภทของคนพิการแบ่ง ออกเป็น 9 ประเภท ประกอบด้วย 1)บคุ คลทีม่ คี วามบกพร่องทางการเห็น 2)บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน 3) บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางสติป๎ญญา 4)บุคคลที่มีความบกพร่องทางรางกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ 5) บคุ คลทมี่ ีความบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ 6)บคุ คลทีม่ ีความบกพร่องทางการพดู และภาษา 7)บุคคลที่มีความบกพร่องทาง พฤตกิ รรม หรืออารมณ์ 8)บุคคลออทิสตกิ และ 9) บุคคลพกิ ารซอ้ น สรปุ เดก็ ที่มคี วามตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ หมายถงึ บุคคลซึง่ มคี วามบกพร่องตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอ่ื ง กาหนดประเภทและหลกั เกณฑข์ องคนพิการทางการศกึ ษา พ.ศ. 2552 ทั้ง 9 ประเภท ประกอบกับมีอุปสรรคใน ดา้ นตา่ ง ๆ ทาใหม้ ขี อ้ จากดั ในการปฏบิ ัติกิจกรรมในชีวิตประจาวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคลทั่วไป ในการวจิ ัยในครงั้ นี้ เด็กทีม่ คี วามตอ้ งการจาเป็นพิเศษ หมายถึง บุคคลซึ่งมีความบกพร่องหรือมีข้อจากัดในการเรียนรู้ การดาเนนิ ชีวิตประจาวนั หรือการเขา้ ไปมีส่วนร่วมทางสังคมไดอ้ ย่างบคุ คลทัว่ ไป 2. คณุ ภาพชีวติ ความปรารถนาอันสงู สดุ ของมนษุ ยก์ ็คอื การมีคณุ ภาพชวี ติ ทีด่ ีนอกจากจะให้บังเกดิ ขึ้นแก่ตนเองแล้วเรายังหวัง ทีจ่ ะให้เกิดแกค่ รอบครัวเครือญาติและบคุ คลอนื่ ๆในสังคมและประเทศชาติโดยส่วนรวมด้วยปจ๎ จุบนั คณุ ภาพชีวิตได้รับ การกาหนดให้เป็นเปูาหมายสูงสุดในการพัฒนาประเทศดังนั้นเปูาหมายทุกด้านไม่ว่าจะในด้านสังคมเศรษฐกิจการ ปกครองฯลฯล้วนมุ่งเน้นไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีของมนุษย์ในสังคมคุณภาพชีวิตจึงเป็นสิ่งที่มีคุณค่ามีความสาคัญ และจาเป็นต่อบคุ คลและสงั คมเป็นสง่ิ ท่ีมนษุ ย์สามารถกาหนดการสรา้ งเกณฑม์ าตรฐานเพ่ือให้ระดับการมีคุณภาพชีวิต ท่ดี ขี ึ้นไดแ้ ละเพอื่ การทาให้การพัฒนาตนเองและสังคมไปสู่เปาู หมายทปี่ รารถนาเก่ยี วกับความสาคญั ของคุณภาพชีวิตมี ผูใ้ ห้แนวคิดทสี่ าคัญ ไวด้ งั น้ี คุณภาพชีวิตของคนทั่วไป องค์การอนามัยโลก (World Health Organization, 1997)ได้กาหนด องค์ประกอบสาคัญของคุณภาพชีวิตสาหรับบุคคลทั่วไปว่าควรประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญของคุณภาพชีวิต 6 ดา้ นคือด้านร่างกาย (Physical Domain) ด้านจิตใจ (Psychological Domain) ด้านระดับความเป็นอิสระของบุคคล (Level of Independence) ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม (Social Relationships) ด้านส่ิงแวดล้อม (Environment) ด้านความเชื่อส่วนบุคคล (Spirituality/Religion/Personal Beliefs) และองค์การยูเนสโก (UNESCO, 1980)ได้ให้ ความหมายคุณภาพชวี ิตไวด้ งั น้ี ความรูส้ ึกของการอย่อู ยา่ งพอใจ มีความสขุ ความพอใจตอ่ องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ที่มีส่วน สาคัญต่อบุคคลนั้น ๆ ได้แก่ อาหารสุขภาพอนามัย โภชนาการ การศึกษา สิ่งแวดล้อม รายได้ ที่อยู่อาศัยและ ทรัพยากร โดยแบ่งประเด็นการศึกษาเป็น 2 ประเด็น ได้แก่ การศึกษาด้านภาวะวิสัย ซึ้งเป็นการวัดข้อมูลท่ีสามารถ นับได้หรือวัดได้เช่น ข้อมูลทางประชากรและเศรษฐกิจ และการศึกษาด้านอัตวิสัยเป็นการสอบถามข้อมูลเก่ียวกับ ความรู้สึก และเจตคติในด้านต่าง ๆ องค์การสหประชาชาติ (United Nation, 1990) ได้กล่าวว่าคุณภาพชีวิตเป็น ดรรชนีใหมท่ ช่ี ้ีบอกภาวะสังคมประกอบด้วยสุขภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมความปลอดภัยความมั่นคงทางเศรษฐกิจชีวิต ครอบครัวชีวิตการทางานชีวติ การศกึ ษาการมสี ่วนรว่ มในชุมชนการทากิจกรรมในชีวิตท่ีสามารถ วัดได้ทั้งทางวัตถุวิสัย หน้า344

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) และจติ วสิ ัยแต่ควรวดั ด้วยตวั ชี้วัดทางสังคม ท่ีเป็นป๎จจัยพื้นฐานในการพัฒนามนุษย์ที่ควรประกอบด้วย 3 ด้าน ได้แก่ การมชี วี ติ ท่ียนื ยาวความรู้ และมาตรฐานความเป็นอยู่ คุณภาพชีวิตนักเรียน กองทุนเพ่ือเด็กแห่งสหประชาชาติ (The United Nations Children's Fund, 2007) ใหท้ ศั นะเก่ียวกับคุณภาพชีวิตท่ีดขี องเดก็ ว่าเปน็ เรอ่ื งของการรับรู้ถงึ ความเปน็ อยทู่ ่ีดขี องตนเอง ความพึงพอใจในสภาพ ท่ีเป็นอยู่ทั้งในด้านวัตถุ (material well-being) จิตใจ (subjective well-being) พฤติกรรมและความเสี่ยง (behaviors and risks) สุขภาพและความปลอดภัย (health and safety) ความสัมพันธ์ในครอบครัวและเพ่ือนฝูง (family and peer relationships) และการศึกษา (educational well-being)สมาคมเด็ก (The Children‖s Society, 2012) ได้นาเสนอองค์ประกอบคุณภาพชีวิตเด็กในรายงานThe Good Childhood Report 2012 ไว้ 11 ด้าน คือ ด้านครอบครัว (family) ด้านท่ีอยู่อาศัย (home) ด้านการเงินและทรัพย์สิน (money and possessions) ด้านเพื่อนฝูง (friends and peers) ด้านโรงเรียน (school) ด้านสุขภาพ (health) ด้านภาพลักษณ์ (appearance) ดา้ นการใชเ้ วลา(time use) ดา้ นทางเลือกและความเป็นอิสระ (choice and autonomy) ด้านอนาคต (the future) และดา้ นสภาพท้องถ่ิน (local area)Save the Children (2012) กล่าวถึง คุณภาพชีวิตของเด็กว่าเกี่ยวข้องกับความ เป็นอยู่ท่ีดีท่ีเด็กได้รับการพัฒนาครอบคลุมทั้งในด้านการศึกษา (education) ด้านสุขภาพ (health) และด้านความ ตอ้ งการพืน้ ฐาน (basic needs) วฐิ ารณ บญุ สทิ ธิ และคณะ(อ้างอิงในวารสารกุมารเวชศาสตร์ 2558 ; 54 : 17-24) ได้ ศึกษาการพัฒนาแบบประเมินคุณภาพชีวิตของผู้ปุวยเด็กไทย โดยใช้ช่ือว่า Thai Quality of Life Instrument for Children (ThQLC)ประเด็นคุณภาพชีวิตท่ีได้จากการทบทวนวารสารและการจัดกลุ่มพูดคุย (focus group) กับ ผู้ปกครองและเด็กแล้วนามาพิจารณาในการประชุมคณะผู้วิจัยร่วมกับผู้เช่ียวชาญ แบ่งเป็น 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้าน รา่ งกาย 2) ด้านจติ ใจ 3) ดา้ นสังคม 4) ด้านการเรียน และ 5) ดา้ นการมองชีวิตโดยรวม คุณภาพชีวิตคนพิการ ธานีรัตน์ ผ่องแผ่ว )2558ได้ศึกษาคุณภาพชีวิตคนพิการขององค์การบริหารส่วน ( ตาบลในอาเภอทา่ ศาลา จงั หวดั นครศรีธรรมราช : ป๎จจัยที่มีผลและแนวทางการพัฒนา พบว่า คุณภาพชีวิตคนพิการ เป็นความรสู้ ึกวา่ ตนเองมีความสุข ความต้องการ ความพึงพอใจในชีวิต เกี่ยวกับความเป็นอยู่ท่ีดี ท้ังสุขภาพกายและ สขุ ภาพจติ ที่สามารถดารงชวี ิตอย่ไู ด้ในสงั คมและส่งิ แวดลอ้ ม ภายใต้บรบิ ทของวัฒนธรรม ค่านิยมมาตรฐานของสังคม และส่ิงอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับคนพิการ ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม และด้านสิ่งแวดลอ้ ม กรมส่งเสริมและพัฒนาคณุ ภาพชีวิตคนพกิ าร(2559) มกี ารขับเคลอ่ื นให้เกิดการดาเนินงานพัฒนา คุณภาพชีวิตคนพิการเป็นไปอย่างต่อเน่ืองและมีประสิทธิภาพ จึงมีการนาข้อเสนอแนะจากผลการศึกษามาจัดทา “โครงการเสริมพลงั คนพกิ าร สร้างโอกาสและความเทา่ เทยี มในสังคม พ.ศ. 2559” ขนึ้ โดยม่งุ หวงั ว่าจะเป็นการบูรณา การภารกิจของหนว่ ยงานท่เี กี่ยวขอ้ งกับการกากับ ตวั ช้ีวดั มาตรฐานคณุ ภาพชีวิตคนพิการอย่างเป็นระบบ อันจะนาผล ไปสู่การพฒั นาคุณภาพชีวติ คนพิการได้อยา่ งเป็นรูปธรรม ทัว่ ถึงและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ อยา่ งครบวงจร ทาให้สังคมได้ประจักษ์ว่าคนพิการไทยเป็นพลเมืองที่มีผลิตภาพ สามารถดารงตนอยู่ในสังคมอย่างมี ศักดิ์ศรี ซึ่งจะส่งผลต่อการเป็นสังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันสาหรับทุกคน (Inclusive Society) ตามเปูาหมายใน แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 11 ซง่ึ มตี วั ชีว้ ดั มาตรฐานคุณภาพชีวิตคนพิการ ประกอบด้วย ด้านสิทธิ และความเท่าเทียม ด้านสุขภาวะคนพิการ ด้านการศึกษา ด้านอาชีพการจ้างงาน และรายได้ ด้านการออกสู่สังคม ด้านกีฬาและนันทนาการ และด้านสิ่งอานวยความสะดวกจิรโชค วีระสย และคณะ )2561คุณภาพชีวิตการยกระดับ( คนพิการในจังหวัดสิงห์บุรี หมายถึง การที่คนพิการในจังหวัดสิงห์บุรี รู้สึกว่าสภาพชีวิตของตนเองได้รับการยกระดับ หน้า345

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) มาตรฐานให้สูงข้ึน ทาให้มีความสขุ ความพึงพอใจในชีวิต มีความเป็นอยู่ท่ีดีทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต ท่ีสามารถ ดารงชีวิตอยู่ได้ในสังคมและสิ่งแวดล้อม ภายใต้บริบทของวัฒนธรรม ค่านิยม มาตรฐานของสังคมและส่ิงอื่น ๆ ท่ี เกย่ี วขอ้ งประกอบด้วย 4 ดา้ น ประกอบด้วย ด้านร่างกาย ดา้ นจิตใจ ด้านความสัมพนั ธท์ างสงั คม และดา้ นสงิ่ แวดล้อม จากการศึกษาเอกสาร ตารา แนวคิด และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สรุปผลการศึกษาพบว่า คุณภาพชีวิตที่ดี สาหรับเด็กท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ ท่ีพึงรู้สึกว่าสภาพชีวิตของตนเองมีความสุข ความพึงพอใจในชีวิต มีความ เป็นอยู่ที่ดีทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต ที่สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ในสังคมและส่ิงแวดล้อม ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ ด้านสขุ ภาพทางรา่ งกายด้านสงิ่ แวดลอ้ มดา้ นการศกึ ษาดา้ นอารมณแ์ ละจติ ใจและด้านสัมพันธภาพ ทางสังคม 3. การจัดการศกึ ษา พระราชบญั ญตั ิการจดั การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 และ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัติน้ี “การศกึ ษา” หมายความว่า กระบวนการเรียนรู้เพื่อ ความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคมโดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การ สร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหนา้ ทางวชิ าการ การสรา้ งองค์ความรูอ้ ันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม การเรียนรู้ และป๎จจัยเก้ือหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต มาตรา 6 ของกฎหมายระบุว่า “การจัดการศึกษาต้อง เป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติป๎ญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและ วฒั นธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยรู่ ่วมกับผอู้ น่ื ได้อยา่ งมคี วามสุข” ซ่ึงสรุปได้ว่าเปูาหมายของการจัดการศึกษาจึง อยู่ที่คนไทยโดยทว่ั ไป ซง่ึ ต้องไดร้ บั การพัฒนาใหเ้ ปน็ คนดี มีประโยชน์ มีความครบถ้วนทุกด้าน คือ ทางกาย ทางจิตใจ ทางสติปญ๎ ญา ความรู้ คุณธรรมและจริยธรรม มีวฒั นธรรมในการดารงชีวติ และอยรู่ วมกบั ผ้อู ื่นไดอ้ ย่างมีความสุข สุรินทร์ ภูสิงห์ (2552) ได้ศึกษาพบว่า องค์ประกอบของรูปแบบการจัดการศึกษาโดยบูรณาการปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนมัธยมศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาอุบลราชธานี การดาเนินการจัดการศึกษา ประกอบด้วย การบริหารและจัดการศึกษา การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนการสอน การจัด บรรยากาศและสภาพแวดล้อม การนิเทศ ตดิตาม ประเมินผลและรายงานผล และการประชาสัมพันธ์และการสร้าง เครือข่าย ชวนคิด มะเสนะ (2554) ได้ศกึ ษาพบว่า รูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยท่ีสอดคล้องกับการพัฒนาสมอง มี การจัดการศึกษาปฐมวัย ประกอบด้วย 7 ด้าน คือ ด้านปรัชญา วิสัยทัศน์ ด้านจุดหมาย ด้านหลักสูตรการเรียนการ สอน ด้านการจัดประสบการณ์ ด้านสื่อและแหล่งเรียนรู้ ด้านสภาพแวดล้อม ด้านการประเมินพัฒนาการ และมี องค์ประกอบหลักของการจัดการศึกษา ประกอบด้วย 8 ด้าน คือ 1)ด้านปรัชญา วิสัยทัศน์ 2)การจุดหมาย 3)ด้าน หลักสูตรการเรยี นการสอน 4) ด้านการจดั ประสบการณ์ 5)ด้านสอื่ และแหลง่ เรียนรู้ 6) ด้านสภาพแวดล้อม 7)ด้านการ ประเมนิ พฒั นาการ และ 8)ด้านบทบาทครู สุนิสา วิทยานุกรณ์ (2554) ได้ศึกษาพบว่า การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาสู่ความเป็นเลิศในโรงเรียน เอกชน มอี งคป์ ระกอบของการจดั การศึกษา ประกอบดว้ ย 7 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการนาองค์กร 2) ด้านการวางแผนกล ยทุ ธ์ 3) ดา้ นการมงุ่ เน้นผเู้ รียน 4) ดา้ นการวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5) ด้านการมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน 6) ด้านการจัดการกระบวนการ และ 7) ด้านผลลัพธ์ หน้า346

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) กรกฏ ไชยเจริญ (2556) ได้ศึกษาพบว่า การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียนเพ่ือ เสริมสร้างทักษะการคิดวิจารณญาณในการปูองกันยาเสพติดสาหรับเยาวชนนอกระบบโรงเรียนในภาคใต้ มี ประกอบด้วยหลักการและกระบวนการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดวิจารณญาณมีท้ังหมด 6 ขั้นตอน คือ 1) วัตถุประสงค์ 2)โครงสร้างเนื้อหา 3)กระบวนการเรียนรู้ 4)แหล่งเรียนรู้และส่ือการเรียนรู้ 5)การวัดและประเมินผล และ 6)ผูส้ อนและผู้เรียน กัลยาณี พรมทอง(2556) ได้ศกึ ษาพบวา่ รูปแบบการจัดการศกึ ษาสู่ความเปน็ เลศิ ของสถาบันการพลศึกษาใน เขตภาคกลาง มีองคป์ ระกอบการจดั การศึกษาสู่ความเป็นเลศิ ประกอบด้วย 6 องคป์ ระกอบ ได้แก่ 1) การจัดการด้าน หลักสูตร 2) การจัดการด้านอาจารย์ 3) การจัดการด้านกระบวนการเรียนการสอน 4) การจัดการด้านนักศึกษา 5) การจัดการด้านการวัดและประเมินผล และ 6) การจัดการด้านป๎จจยั เกื้อหนุน เกชา เหลอื งสุดใจชื้น (2557) ไดศ้ ึกษาพบวา่ การพฒั นารูปแบบการจดั การศึกษาตามอัธยาศัยในสถานศึกษา ข้นั พืน้ ฐานสาหรบั นกั เรยี นระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ที่ออกกลางคัน มโี ครงสรา้ งของการจัดการศึกษา 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการบริหารจัดการศึกษา 2) ด้านหลักสตู รการศกึ ษา 3) ด้านการจัดการเรยี นรู้ 4) ด้านการประเมินผลการเรยี นรู้ ชัยณรงค์ อดทน(2558) ได้ศึกษาพบว่า รูปแบบการจัดการศึกษาทางเลือกในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มี องคป์ ระกอบของการจัดการศึกษา ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบหลัก คือ 1) ด้านหลักการและจุดมุ่งหมาย 2) ด้าน หลักสูตร 3) ดา้ นการจัดการเรียนรู้ 4) ด้านการวดั และประเมินผล และ 5) ดา้ นการบรหิ ารและการจดั การ สุมาลี ศรีผง (2560) ไดศ้ ึกษาพบว่า การวิเคราะหอ์ งคป์ ระกอบการจดั การศึกษาแบบเรียนรวมของนักเรียนที่ มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ในสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยศึกษาเอกสาร สัมภาษณ์ผู้เช่ียวชาญ 9 คน เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง สรุปได้ว่ามีองค์ประกอบของการจัดการศึกษา 4 องค์ประกอบ ไดแ้ ก่ 1) การบรหิ ารจดั การ 2) การจัดสภาพแวดลอ้ ม 3) การจัดการเรยี นรู้ 4) การประสานความร่วมมอื จากการศึกษาเอกสาร ตารา แนวคิด และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง สรุปผลการศึกษาพบว่า คุณภาพการจัด การศึกษาสาหรับเด็กท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ ระดับปฐมวัย เพ่ือคุณภาพชีวิตท่ีดี ให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ทั้ง ร่างกาย จติ ใจ สตปิ ๎ญญา ความรูแ้ ละคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้ อย่างมีความสุขมีองค์ประกอบการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กท่ีมีความต้อ งการจาเป็นพิเศษ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ ด้านกระบวนการเรียนการสอน ด้านการบริหารจัดการ ด้านครู ด้านหลักสูตร สถานศกึ ษา ดา้ นการวัดและประเมินผลและดา้ นบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ ม สรปุ คณุ ภาพชีวติ ท่ดี ีสาหรับเดก็ ท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ ท่ีพึงรู้สึกว่าสภาพชีวิตของตนเองมีความสุข ความ พึงพอใจในชีวิต มีความเป็นอยู่ที่ดีท้ังสุขภาพกายและสุขภาพจิต ท่ีสามารถดารงชีวิตอยู่ได้ในสังคมและ ส่ิงแวดล้อม ควรประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ด้านสุขภาพทางร่างกาย การรับรู้สภาพทางด้านสุขภาพร่างกายของตัว บคุ คลซึ่งมีผลตอ่ การดาเนนิ ชีวติ ประจาวัน ความเป็นอิสระท่ีไม่ต้องพึ่งพาผู้อื่นความสามารถในการเคล่ือนไหวของตน ความสามารถในการปฏบิ ัติกิจวัตรประจาวันของตนความสามารถในการทางาน และการไมต่ อ้ งพ่ึงพายาต่าง ๆ 2) ด้าน ส่งิ แวดลอ้ ม การรบั รูส้ ภาพแวดลอ้ มความเป็นอยู่ที่มีผลต่อการดาเนินชีวิต เช่น การรับรู้ว่าตนมีชีวิตอยู่อย่างอิสระ ไม่ หนา้ 347

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ถูกกกั ขงั มีความปลอดภยั และม่นั คงในชีวติ การรบั รู้ว่าได้อยใู่ นส่ิงแวดลอ้ มทางกายภาพที่ดีปราศจากมลพิษต่าง ๆ การ คมนาคมสะดวก สถานบริการทางสุขภาพและสังคมสงเคราะห์ การรับรู้ว่าตนมีโอกาสท่ีจะได้รับข่าวสารหรือฝึกฝน ทกั ษะตา่ ง ๆ 3) ด้านการศกึ ษาการแสดงออกดา้ นความสามารถทางวิชาการการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมความรู้ท้ังกิจกรรมในหลักสูตรและนอกหลักสูตรการมีสมาธิในเวลาเรียน รู้จักการ ปรับตัวและวางตัวได้อย่างเหมาะสมและมีการแก้ป๎ญหาอย่างเป็นระบบ 4) ด้านอารมณ์และจิตใจ การรับรู้สภาพ ความรสู้ ึกและสภาพจติ ใจของตนเอง ความรสู้ ึกทางบวกทบ่ี คุ คลมีตอ่ ตนเอง ภาพลกั ษณ์ของตนเองความร้สู กึ ภาคภูมิใจ ในตนเอง ความมน่ั ใจในตนเองการมีอารมณ์และสุขภาพจิตท่ีดีมีคุณธรรมการเข้าร่วมบาเพ็ญประโยชน์ตลอดจนได้รับ การยอมรับจากเพอ่ื นหรือทกุ ฝุายท่ีเกี่ยวข้องในโรงเรยี น การให้เด็กมีส่วนรว่ มในกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียนเรียนและ 5) ด้านสัมพันธภาพทางสงั คม การรับรู้สภาพความสัมพันธ์ของตนกับบุคคลอ่ืนการรับรู้ถึงการท่ีได้รับความช่วยเหลือ จากบุคคลอื่นในสังคมการรับรู้ว่าตนได้เป็นผู้ให้ความช่วยเหลือบุคคลอื่นในสังคมด้ วยรวมทั้งการรับรู้ในเร่ืองอารมณ์ และความรู้สึกต่อผู้อื่นการรูจ้ กั เกรงใจผอู้ น่ื และการมปี ฏสิ มั พันธ์กับผ้อู ่ืน เพอื่ คณุ ภาพชีวิตทดี่ ี สาหรับเด็กทม่ี คี วามต้องการจาเป็นพิเศษ ระดบั ปฐมวยั การจัดการศึกษาที่จะส่งเสริมให้ เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ สติป๎ญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยรู่ ว่ มกบั ผูอ้ ่นื ได้อย่างมีความสขุ มอี งค์ประกอบการจดั การศกึ ษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กท่ีมีความต้องการ จาเปน็ พเิ ศษ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ด้านกระบวนการเรียนการสอน มีการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนทเ่ี น้นผู้เรียนเป็นสาคัญสอดคล้องกับความต้องการจาเป็นพิเศษ ทั้งด้านความสนใจความสามารถและความถนัด เน้นการบรู ณาการความรู้ควบคูก่ ารฝึกทักษะตา่ ง ๆ โดยการมีสว่ นรว่ มของครผู ู้สอน ผู้ปกครอง และผู้เรียน รวมถึงการ จัดหาสื่อการเรียนการสอนและแหล่งเรียนรู้ท่ีมีความเหมาะสมให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนรู้และได้รับประโยชน์ สงู สดุ 2) ด้านการบริหารจดั การ มกี ระบวนการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษาทสี่ ่งเสรมิ ตอ่ คณุ ภาพการจดั การศึกษาสาหรับ เดก็ ที่มคี วามตอ้ งการจาเป็นพิเศษ ระดบั ปฐมวยั มีการวางแผนการดาเนินงานของสถานศึกษา การสร้างความสัมพันธ์ ระหวา่ งหน่วยงานและตาแหน่งตา่ ง ๆ ในหนว่ ยงานการติดตามและประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านใหม้ ีประสทิ ธิภาพ 3) ด้าน ครู มีคุณวุฒิความรู้ความสามารถและทักษะด้านต่าง ๆ ที่มีความหลากหลาย และเหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละบุคคล รวมทั้งต้องมีความต่ืนตัวอยู่เสมอในการติดตามเรียนรู้เนื้อหาวิชาการวิชาชีพใหม่ ๆ และวิทยาการด้านการเรียนการ สอนตลอดเวลา ในรปู แบบของการศึกษาอบรมมาท้ังด้านเนื้อหาและวิธีการถ่ายทอด ให้สามารถถ่ายทอดความรู้ และ ทักษะท่ีเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณภาพชีวิตท่ีดี 4) ด้านหลักสูตร สถานศกึ ษา เน้ือหาสาระหรอื ทักษะในการพฒั นาเด็กท่มี คี วามต้องการจาเป็นพิเศษ ในการจดั ทาหลักสูตรการศึกษานั้น ควรทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียนแต่ละบุคคล และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ การจัดการศกึ ษา ควรมีการประเมินหลักสูตรอย่างสม่าเสมอ และการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง 5) ด้านการวัดและประเมินผล กระบวนการการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ที่ใช้ในการพัฒนาคุณภาพเด็กที่มีความ ตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ มขี ้อมลู สารสนเทศทีแ่ สดงพฒั นาการ ความก้าวหน้าและความสาเร็จทางการเรียนและพิจารณา จากพัฒนาการของผู้เรยี น โดยสังเกตความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรมและการทดสอบ ควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสมของแต่ละบุคคล รวมท้ังข้อมูลที่จะเป็นประโยชน์ต่อการ สง่ เสริมการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนและ 6) ด้านบรรยากาศและสภาพแวดล้อม การจัดบรรยากาศแวดล้อมกระตุ้นการ เรยี นรขู้ องเด็กที่มีความต้องการจาเปน็ พิเศษ ระดับปฐมวัย จัดห้องเรียนมีชีวิต มีส่ิงดึงดูดความสนใจของผู้เรียน จัดมุม หนา้ 348

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) การเรยี นรทู้ เ่ี หมาะสมหลากหลาย ทง้ั น้ีต้องคานึงถึงความเหมาะสม ปลอดภัย และการมีบรรยากาศแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อ การเรียนรู้ ข้อเสนอแนะ ถึงอย่างไรกต็ ามการจดั การศกึ ษาสาหรับเด็กท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ เพ่ือคุณภาพชีวิตท่ีดี ที่ผู้ศึกษาได้ สรุปมาในครั้งน้ี อาจจะไม่ใช่องค์ประกอบท่ีมีความเหมาะสมมากท่ีสุด เนื่องจากสรุปจากการศึกษาเอกสาร ตารา แนวคิด และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง ที่ได้กล่าวถึงคุณภาพชีวิต และการจัดการศึกษาโดยภาพรวม สาหรับเด็กที่มีความ ต้องการจาเป็นพิเศษมีขอ้ จากดั ในการปฏิบัตกิ ิจกรรมในชวี ิตประจาวนั หรอื เขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มทางสังคม เน่ืองจากมีความ บกพรอ่ งทางการเหน็ การไดย้ นิ การเคลอื่ นไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤตกิ รรม สตปิ ๎ญญา การเรยี นรู้ หรือความ บกพรอ่ งอน่ื ใดประกอบกบั มอี ุปสรรคในดา้ นตา่ ง ๆ และมคี วามตอ้ งการจาเป็นพิเศษทางการศึกษาท่ีจะต้องได้รับความ ชว่ ยเหลอื ดา้ นหนึ่งด้านใด เพือ่ ให้สามารถปฏบิ ตั ิกจิ กรรมในชวี ติ ประจาวันหรอื เข้าไปมีสว่ นร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคล ทั่วไป ดังนั้นพื้นฐานคุณภาพชีวิตของเด็กที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ จึงมีความสมบูรณ์ไม่เท่ากัน ในการประเมิน หรือวัดด้านคุณภาพชีวิตของเด็กกลุ่มน้ีจึงมองในด้านของศักยภาพของแต่บุคคล ลักษณะของการจัดการศึกษาจึง อาจจะต้องมีความเฉพาะเจาะจงที่เหมาะสมกับความต้องการจาเป็นพิเศษของแต่ละบุคคล ซึ่งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องที่ สาคญั ประกอบดว้ ย พอ่ แม่ ผูป้ กครอง ครู และภาคเี ครือขา่ ย ตอ้ งเข้าใจในความตอ้ งการจาเป็นพิเศษของแต่ละบุคคล ว่ามีความแตกต่างจากคนท่ัวไป มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่องท้ังที่สถานศึกษาและท่ีบ้าน และการจัด การศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ ลักษณะองค์ประกอบการจัดการศึกษาอาจจะ เหมอื นกนั แต่รายละเอียดของการจัดการศกึ ษายอ่ มมีความแตกตา่ งกนั ขนึ้ อยูก่ บั ความต้องการจาเป็นพิเศษของแต่ละ บคุ คลดว้ ยเชน่ กนั เอกสารอ้างอิง กรกฎ ไชยเจริญ. (2556). การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิด วิจารณญาณในการป้องกันการเสพยาเสพติดสาหรับเยาวชนนอกระบบโรงเรียนในภาคใต้. วิทยานิพนธ์ หลักสตู รครศุ าสตรดุษฎีบัณฑติ สาขาวิชาการศึกษานอกระบบโรงเรียน ภาควิชาการศึกษาตลอดชีวิต คณะครุ ศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. กรมส่งเสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพกิ าร. (2560). แผนพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตคนพกิ ารแหง่ ชาติฉบบั ที่ 5 พ.ศ. 2560–2564.กรุงเทพฯ. กรมส่งเสริมศักยภาพชีวิตคนพิการ. (2559). การขบั เคลื่อนใหเ้ กดิ การดาเนนิ งานพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพกิ ารเป็นไป อย่างต่อเนอ่ื งและมปี ระสทิ ธิภาพ. กรงุ เทพฯ กัลยาณี พรมทอง. (2556). รูปแบบการจัดการศึกษาสู่ความเป็นเลิศของสถาบันการพลศึกษาในเขตภาคกลาง. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษาและผู้นาการเปล่ียนแปลง มหาวทิ ยาลยั อีสเทิรน์ เอเชยี . หนา้ 349

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) กระทรวงศึกษาธิการ. (2552).ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเรื่อง กาหนดประเภทและหลักเกณฑข์ องคนพกิ ารทาง การศึกษาพ.ศ. 2552.สบื คน้ เมอื่ 25 กรกฎาคม 2562. Available from http://www.mua.go.th/users/he- commission/doc/law/ministry%20law/1-42%20handicap%20MoE.pdf กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2562). พระราชบญั ญตั กิ ารจดั การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542แก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 และ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562. [Online], สบื คน้ เม่ือ 25 กรกฎาคม 2562. Available from http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/057/T_0049.PDF กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2551). พระราชบญั ญตั กิ ารจดั การศกึ ษาสาหรบั คนพกิ าร พ.ศ. 2551. [Online], สบื ค้นเมือ่ 25 กรกฎาคม 2562. Available fromhttp://www.moe.go.th/moe/nipa/ed_law/p.r.g.edu35.pdf เกชา เหลอื งสุดใจชน้ื . (2557). การพฒั นารปู แบบการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ในสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน. วทิ ยานิพนธห์ ลกั สตู รปรัชญาดษุ ฎีบัณฑติ มหาวิทยาลยั นอรก์ รงุ เทพ. จิรโชค วีระสยและคณะ. (2561). การยกระดับคุณภาพชีวิตคนพิการในจังหวัดสิงห์บุรีโดยวิธีการบูรณาการ.ศูนย์ การศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวดั สิงหบ์ รุ ี. ชวนคิด มะเสนะ. (2554). รปู แบบการจดั การศกึ ษาปฐมวัยที่สอดคล้องกับการพัฒนาสมอง. วิทยานิพนธ์หลักสูตร ครศุ าสตรดุษฎีบณั ฑติ สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอบุ ลราชธาน.ี ชยั ณรงค์ อดทน. (2558). รูปแบบการจดั การศกึ ษาทางเลือกในสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน.วิทยานพิ นธ์หลกั สตู รครุศาสตร ดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลับราชภฏั อบุ ลราชธานี. ธานีรัตน์ ผ่องแผ้ว. (2558). คุณภาพชีวิตคนพิการขององค์การบริหารส่วนตาบลในอาเภอท่าศาลา นครศรีธรรมราช : ปจั จัยทม่ี ผี ลและแนวทางการพฒั นา. วิฐารณ บุญสิทธิ และคณะ. (2558). การพฒั นาแบบประเมนิ คณุ ภาพชวี ติ ของผปู้ ว่ ยเดก็ ไทย (ThQLC).วารสารกุมาร เวชศาสตร์ 2558 ; 54 : 17-24. สนุ ิสา วิทยานกุ รณ์. (2552). การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาสู่ความเป็นเลิศในโรงเรียนเอกชน. วิทยานิพนธ์ หลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา. สุมาลี ศรีผง. (2560). รูปแบบการจัดการศึกษาแบบเรียนรวมของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ใน สถานศกึ ษา สงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน. วิทยานพิ นธห์ ลกั สูตรครศุ าสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. สุรินทร์ ภสู ิงห์. (2552). การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาโดยบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียน มัธยมศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์หลักสูตรการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารและพัฒนาการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. สานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า. (2550). พระราชบญั ญตั สิ ่งเสรมิ การพฒั นาเดก็ และเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.2550 และท่แี กไ้ ขเพิ่มเตมิ (ฉบบั ที่2) พ.ศ. 2560.[Online], สบื คน้ เมอ่ื 1 สงิ หาคม 2562. Available fromhttp://www.yala.m-society.go.th/?wpfb_dl=190 สานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า. (2550). พระราชบญั ญตั สิ ง่ เสริมและการพฒั นาคุณภาพชีวติ คนพกิ าร พ.ศ. 2550. [Online], สืบคน้ เมื่อ 1 สงิ หาคม 2562. Available fromhttps://www.omhc.dmh. go.th/law/files/พรบ.สงเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพกิ าร-พ.ศ.2550.pdf หนา้ 350

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) สานกั งานเลขาธิการวุฒิสภา.(2560). รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560. กรงุ เทพฯ : สานักการ พมิ พ์สานักงานเลขาธกิ ารวฒุ ิสภา. สานักนายกรัฐมนตร.ี (2551).ระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรีวาดว้ ยการพฒั นาเด็กปฐมวัยพ.ศ. 2551. [Online], สืบคน้ เมื่อ 1 สิงหาคม 2562. Available from http://www.lertchaimaster.com/doc/ patomwai- 2551.pdf Save the Children. (2012). The Child Development index 2012: Progress, challenges and inequality. London : savethechildren.org.uk. The Children‖s Society. (2012). The Good Childhood Report 2012 : A review of our children’s well-being. www.childrenssociety.org.uk/well-being or call 0113 246 5131. The United Nations Children's Fund : UNICEF. (2007). Child poverty in perspective: An overview of child well-being in rich countries, Innocent Report Card 7. UNESCO. (1980).Evaluation the Quality of Life in Belgium. Social Indicators. Research, 312. United Nations. (1990). Guidelines on Methodological Approaches to the Conduct of a Regional Survey of the Quality of life and Aspect of Human Resourses. Development: New York. World Health Organization. (WHO, 1997). CBR Guidelines ขององคก์ ารอนามัยโลก ฉบับภาษาไทย (Community Based Rehabilitation). กรงุ เทพฯ. พรเี ม่ยี ม เอ็กซเ์ พรส. หน้า351

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) การบรู ณาการการศึกษากบั การท่องเที่ยวโดยผา่ นการเขยี นเชิงสรา้ งสรรคใ์ นภาษาองั กฤษ Blending Education with Tourism through Creative Writing in the English Language ดร. จนั ทร์พา ทัดภธู ร คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรุ กจิ บณั ฑิตย์ E-mail: [email protected] Abstract In this paper, the writer discusses why creative writing in the English language has a role to play in fostering closer ties among peoples in the ASEAN region and beyond. Our stance is that creative writing, writing with constraints emailing two salient elements: creativity and imagination, is doable even with beginners. We strongly believe that creativity is crucial in human development in all dimensions. As the working language of ASEAN and the language of choice for creative writing activities, English has additional roles in building international relations and cross-cultural education, supporting the socio-cultural pillar of ASEAN. English as the official language of the region has a role to play beyond being the language of the meetings and official documentation, that is, as a language to express one‖s cultural identity, and in this case through creative works. I also explain how creative writing has been used to promote regional integration and collaboration under a creative writing group called “The Asian Teacher-Writers Group”. The paper also provides examples of the group‖s activities, meetings, and material published. It entertains the exciting possibilities of integrating education with tourism. Keywords: Creative writing, English, The Asian Teacher-Writers group, Educational tourism หน้า352

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) Introduction It is the writer strong belief to assert that creative writing has a role to play in bringing peoples together. When I say creative writing (CW), I mean the CW in English, considered or regarded as a global language. As a member of the Asian Teacher-Writers Group, originated in Bangkok Thailand in 2003, I would also like to give a few examples of the activities that we did to explain how CW has been used to foster greater ties between peoples of different cultural backgrounds. When we do creative writing, we do it in English and we have many good reasons for doing that. When I say creative writing, as far as I am concerned, I would conceptualize it as a kind of writing that reflects one‖s creativity and imagination, and it is writing with constrains. Creative writers work within such constraints and try to stretch the possibilities of meaning and syntax. Creative writing, therefore, entails at least two components: creativity and imagination. Peoples across the globe may differ in many aspects, but they share one thing in common: that is, their creativity manifested through written works or other sign systems. CW is indeed a sign of advanced civilization. English is not new to the ASEAN peoples, as mentioned, it is the second language in three member states, namely, Malaysia, the Philippines, and Singapore. In this paper, I discuss the role of English in ASEAN, based on the role prescribed by the ASEAN charter. English has another role to play, that is, to promote closer ties among the peoples in the ASEAN region, which could also be done through creative writing activities. English actually unifies peoples and reconciles differences. We strongly believe that creativity is crucial in human development in all dimensions. In this paper, the focus is on how creative writing activities promote people-people cultural exchange and how our activities, perceived as educational ones, promote creative tourism in the region. Based on my experience as a member of the group mentioned earlier, doing creative writing works in English would allow us to build personal as well as international relations, including cross- cultural interaction. In many aspects, the activities of our group operate at the people-to-people level, promoting the socio-cultural pillar of ASEAN. Yet, we recognize the criticisms of the English- only approach to creative writing, in particular, we acknowledge the argument that English could be regarded as the language of colonization and using English is a new form of imperialism, hence, the need to embrace multiculturalism (e.g. Phillipson, 2009). Our stance is that English is the most important global language of the 21st century, and its role as a ―lingua franca‖ has more advantages than shortcomings. หนา้ 353

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) English as a Global Language David Crystal has been credited as the first person who coined the term ―English as a global language‖ in 1997 (Crystal, 1997). In the book, he noted that the emergence of English as a global language is unprecedented; it is a unique phenomenon in the history of humans. The use of English in the ASEAN region is a common and noteworthy event, as some member states were closely associated with either the UK or the USA in their histories. Starting from there, we recognize the role of English as a common language for international communication. We also recognize its role as a language of high social mobility and agency. For example, in Thailand, in the past, English was the language of the well-educated and the elites. Later, it has become the language for all. So, English remains prominent a major global language. Next, I shall explain why CW should be done in English. Why Creative Writing in English? Before addressing the issue of CW in English, I would like to address one misunderstanding in the business of language teaching, that is, that creative writing is too difficult for young learners. This myth has created countless losses of opportunities in students across the world. It is not true that CW is suitable only for advanced language learners. You can provide creative writing activities for learners from beginners to advanced, from native speakers to non-natives or EFL learners (Maley, 2015). Several useful teaching ideas and activities can be adapted to suit young learners as well as beginners. Creative writing can be done in any sign system, including English. In fact, every language has elements to create creative stories and creative works. Thai, for example, has its own literary works. One might ask why CW should to be rendered in English. The simple answer is the status of English as a global language and its role as the region‖s lingua franca or common language. We can cite the ASEAN charter or other research papers. But the plain fact is that it is the language widely used and the language of global education. Most schools and colleges offer English courses. Hence, it is everybody‖s language – the lingua franca to express one‖s history, cultural identity and imagination. Besides, tradition has it that English is the language of technology, commerce, and education. The language is well-researched and its tradition in literature is strong. English is a second language in หนา้ 354

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) three ASEAN countries: the Philippines, Singapore, and Malaysia. Its widespread instruction in the region has been noted (Kirkpatrick, 2011). Our group has several aims, one of which is to create effective instructional materials. The poems and stories as well as CW activities (we call them teaching ideas) are aimed at making English not boring and relevant to their contexts. This is in line with what Kirkpatrick has proposed for a multilingual model of English education. He wrote that “ Rather than a course in American or British culture, the ELT curriculum can provide a course in regional cultures. (p. 10).” With regard to the content and methods, in Malaysian context, Mukundan (2006) has urged English teachers to produce their own instructional materials. The Asian Teacher-Writers Group Our CW group began as a small group facilitated by Prof. Alan Maley (As of today, ours is still considered a small group by any modern organizational standard). We have about 25 members, with new members joining and older member opting out. After all, ours is a voluntary community and loosely structured. One of the websites that one can find out about our activities is below. The Asian Teacher-Writers Group Our CW group began as a small group facilitated by Prof. Alan Maley (As of today, ours is still considered a small group by any modern organizational standard). We have about 25 members, with new members joining and older member opting out. After all, ours is a voluntary community and loosely structured. One of the websites that one can find out about our activities is below. https://flexiblelearning.auckland.ac.nz/cw/index.html - which is a webpage hosted by Auckland University in New Zealand. This website is under the care of Tan Bee Tin, one of our active members. The activities of the group can be classified into three broad areas. 1.In-group workshops – where members get together in the agreed destination (e.g. Nepal), exchange ideas, yarns, and practice creative writing skills. 2.Running of workshops or conferences – Occasionally, we provide CW workshops for other associations or clubs. Sometimes, we co-organize academic conferences. หนา้ 355

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 3.Publications – which can be classified into two groups (1) publication of works related to CW matters and (2) publication of academic papers or research Here are some concreate examples. In-group workshops The main activity of the group is the CW workshop. This is when members and associates get to engage in their learning, entailing both theory and practice. We would write several types of verses and short stories. In addition, as most are either language teachers or those working in education, we also hold forums and group activities. This workshop often lasts for several days. Normally, we would have a writing trip, an excursion to places of significant values such as historical parks or temples. This would help trigger one‖s Muse in writing. After all, inspiration is not easy to please. As mentioned earlier, our members are somewhat informal and voluntary. Each workshop would welcome new faces, in addition to old ones. Every workshop would usually result in a publication. Every CW workshop participant would contribute their writings to the publication. Figure 1: Our workshop in Pokhara, Nepal (2019) The photograph above shows some of the members of the recent CW workshop in Pokhara, Nepal in late November 2019. Our week-long workshop were participated by ten international teachers and scholars across Asia. หน้า356

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) Workshops and Conferences Figure 2: Our conference in 2009 We often shoot two birds with one stone. Within a week-long workshop, we usually organize or help to organize workshops for English teachers, including organizing ELT conferences. This is how we function within the wider community of ELT/ESL professionals. Several papers and research studies have been published. Two of which are presented below: Tan Bee Tin, Towards creativity in ELT: the need to say something new, ELT Journal, Volume 67, Issue 4, October 2013, Pages 385–397, https://doi.org/10.1093/elt/cct022 Thadphoothon, J. (May 2017). Let‖s Rap and Learn English: Promoting English Language Learning through the Rap Music Activity. Paper presented at the Faculty of Liberal Arts. King Mongkut's Institute of Technology Lat Krabang, Bangkok, Thailand Publications สรปุ Figure 3: One of the books produced by group members Content matters. Our group pays special attention to the content as well as the language, in addition to creativity and imagination. As the CW works that we have produced are locally and regionally situated, they are mingled with scents and sounds of the หนา้ 357

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) locals. The language, too, embraces the use of regional variations, regarded as a desirable characteristic by Andy Kirkpatrick (2011) who has proposed a model called the multilingual model, in the context of English as a lingua franca in “multilingual settings”. As mentioned earlier, under the model, local content in English with regional vocabulary, has its place in the students‖ learning process. English needs to be localized. Contrary to the stereotyped notion of writers or creative writers, our approach is very much the people-oriented one. Here we bring peoples together. Usually our members are from different nationalities and cultural backgrounds. Creative writing is not just coming up with ―products‖ it also about following a process of writing. In the process, teachers as writers would learn from one another. Maley (2015) has this advice to new creative writers: Talk to people who are interested in writing or in what you have written. But make sure they are people you can trust – to tell you the truth about your writing, and not to use it as a weapon against you among your other friends. It is always a good idea to get another opinion about your writing: it is far easier to spot someone else‖s faults than it is to spot your own. Maley (2015, p. 80) It seems that CW has the potential to promote economic growth as well as intellectual one, not to mention the growth of GDP. On reflection, CW is not an individualist and isolated enterprise, rather, it is a highly socialized one. It has several educational benefits, especially deep and meaningful learning. CW, hence, creates opportunities or motivation for peoples to travel to different places and get together and do their discussions and produce creative written texts. One may, however, entertain the thought of linking education with tourism. We have heard more and more the term ―educational tourism‖. In the next section, I shall explain the bleeding of the two, tourism and education. Education and Tourism Under this section, I would like to discuss one remaining issue, namely the relationship between education and tourism. In must be acknowledged that tourism has become a term used in many contexts, including health and wellness. We might have heard the term like health tourism, where foreign visitors come to Thailand for good health and healthcare and relax at the same time. Equally popular is the concept of work and travel – the combination of work and tourism. What is gaining a momentum across the globe is also the concept of tourism and education. Some have หน้า358

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) called this mixing ―edurism‖ – the marriage between education and tourism. An edurist is a person who travels to other places to study, learn, and see places at the same time. This is a point of departure from the general term of ―tourist‖. It is not only possible but desirable to travel and learn about things or people at the same time. We travel to learn; we learn as we travel. No wonder tradition has several sayings regarding this relationship. One example is this: To travel is to broaden one‖s mind. Traveling fosters other transversal skills such as tolerance and empathy. With the accessibility of the Internet and smartphones, we now can travel and study at the same time. Many tourists come to Thailand, for example, to learn Thai cooking or Thai herbal medicine or massage. Some European tourists travel to Myanmar to practice and learn about mindfulness and meditation. There is always learning opportunities awaiting people who desire to learn something new and worth learning. With new digital technology, nowadays, more people start talking about perpetual learning or anytime-anywhere learning. Some even suggest the merging of face-to-face and online self-learning. As a matter of fact, a small-scale investigation conducted by Thongsin and and Thadphoothon (2020) found that Thai university students have integrated digital technology into their educational and personal lives. Elon Musk might have called them ―cyborgs.‖. We found that the students generally watched YouTube videos to learn the English language. They downloaded translation applications to help them learn the language or do their assignments. Google translation was found to be the most popular application, followed by YouTube. The general trend was that university students were highly active users of smartphones and applications. They have been using them for all kinds of purposes, from entertainment, work, and education. Summary and Conclusion This paper discusses the link between education and tourism, and the need to embrace creative writing in education. It offers a conceptual framework for looking at educational tourism, a new frontier in tourism and education. Creative writing in English at the international level has several benefits, including the potential to boost tourism and cultural exchange, the foundation of any strong regional community like ASEAN. The Asian Teacher-Writers Group is given as an example of an effort to create forums of knowledge exchange and cross-cultural learning. The paper also หน้า359

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) discusses the possibilities offering by digital technology in bridging the gap between education and tourism. Indeed, the topics of creativity and technology are two new frontiers in years to come. Recommendations 1. Creative writing has the potential to make both education and tourism more creative and productive. Teachers, especially English language teachers, should integrate CW in their lessons. At the same time, out-of-class language learning and activities should be promoted. 2. English language teachers, native and non-native alike, need to keep up with new technologies, especially AI machines. They may need to incorporate other elements in their teaching, including tourism and entertainment. 3. Efforts should be made to foster teacher-teacher collaboration and meetings across Asia. This should function within the context of professional development and academic advancement. References Angaindrankumar Gnanasagaran (9 December 2018). “ASEAN should be people focused”. Retrieved from https://theaseanpost.com/article/asean-should-be-people-focussed Crystal, David. (1997). English as a Global Language. Cambridge: Cambridge University Press. Maley, A. (2015). Interview with Alan Maley on Teaching and Learning Creative Writing. In International Journal of Comparative Literature and Translation Studies, 3(3), pp. 77-81. Retrieved from https://www.journals.aiac.org.au/index.php/IJCLTS/article/view/1848/1701 Mukundan, J. (ed) (2006) Creative Writing in EFL/ESL Classrooms II. Petaling Jaya: Pearson Longman Malaysia. Kirkpatrick, A. (2011). English as an Asian Lingua Franca and the Multilingual Model of ELT in Language Teaching, pp. 1-13. Retrieved from https://research- repository.griffith.edu.au/bitstream/handle/10072/42297/73943_1.pdf Phillipson, R. (2009). Linguistic Imperialism Continued. New York: Routledge. Thongsin, C. and Thadphoothon, J. (January 2020). Survey of Thai University Students' English Learning Behavior through Smartphones Use. Retrieved from https://www.researchgate.net/publication/338711465_Survey_of_Thai_University_Students'_English_ Learning_Behavior_through_the_Use_of_Smartphones หน้า360

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) การพฒั นาหน่วยการเรยี นรบู้ ูรณาการเรอื่ งการแก้ปญั หาตามกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมท่ีมีตอ่ ทักษะและ กระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรยี นสาธิตมหาวิทยาลัย ศรีนครนิ ทรวิโรฒ ปทุมวนั The Development of An Integrated Learning unit on Problem Solving by the Engineering design process effecting on core skills and processess of technology (Design and Technology) for Mathayomsuksa 4students at Patumwan Demonstration School ณัฐิกา ลสี้ กลุ สุนทร ภรู ปี รชี าเลิศ ณภัสวรรก์ สภุ าแสน โรงเรียนสาธติ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ ปทมุ วัน E-mail : [email protected] บทคัดยอ่ การวิจยั ครงั้ นมี้ ีความม่งุ หมายเพ่ือ 1) พัฒนาหน่วยการเรียนรู้บูรณาการเร่ืองการแก้ป๎ญหาตามกระบวนการ ออกแบบเชงิ วศิ วกรรมสาหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 42) ศกึ ษาผลของการใช้หน่วยการเรียนรู้บูรณาการเร่ืองการ แก้ป๎ญหาตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมที่มีต่อทักษะและกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี (การ ออกแบบและเทคโนโลยี) ซึ่งกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยน้ีเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จานวน 35 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) ขั้นตอนดาเนินการวิจัยมี 2 ระยะ ระยะที่ 1 การสร้างและพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ ระยะท่ี 2 การทดลองใช้หน่วยการเรียนรู้ เครื่องมือท่ีใช้ใน การวิจัย ได้แก่ 1 ) แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ 2 ) แผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 2 หน่วยย่อย 16 คาบ 3 ) แบบประเมินทักษะและกระบวนการสาคญั ของสาระเทคโนโลยี สถติ ทิ ่ีใข้ในการศกึ ษาข้อมลู ได้แก่ คา่ เฉลี่ย ผลการวจิ ยั ปรากฏดงั น้ี 1. ผลการประเมินหน่วยการเรียนรู้บูรณาการเรื่องการแก้ป๎ญหาตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ผเู้ ชี่ยวชาญมคี วามคดิ เห็นว่ามคี วามเหมาะสมของโครงสร้าง ระยะเวลา รายละเอียดของหน่วยการเรียนรู้ กิจกรรม การเรียนรู้ ส่ือการจดั การเรยี นรู้ และสามารถพัฒนาทักษะและกระบวนการสาคญั ของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบ และเทคโนโลยี) ผลการวิจัยระยะที่ 1 จงึ ได้หนว่ ยการเรยี นร้บู รู ณาการเรือ่ งการแกป้ ๎ญหาตามกระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรม ซง่ึ มีจานวน 2 หน่วยยอ่ ย 16 คาบ ได้แก่ หน่วยย่อยท่ี 1 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม หน่วยย่อยท่ี 2 กรณศี กึ ษาการแกป้ ญ๎ หาตามกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม 2. ทกั ษะและกระบวนการสาคญั ของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ของนักเรยี นหลังเรียนสงู กว่าเกณฑร์ อ้ ยละ 65 อยา่ งมีนัยสาคญั ทรี่ ะดับ .05 คาสาคญั :หนว่ ยการเรยี นรบู้ รู ณาการ การแก้ปญ๎ หาตามกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม ทกั ษะและกระบวนการ สาคญั ของสาระ หนา้ 361

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ABSTRACT The purpose of this research were 1) to develop an Integrated learning unit on problem solving by the Engineering design process effecting on core skills and processes of technology (Design and Technology) for Mathayomsuksa 4 students. 2) to study the effects of using an integrated learning unit on problem solving by the Engineering design process effecting on core skills and processes of technology (Design and Technology). The sample consisted of 35 students from Mathayomsuksa 4 in the second semester of the academic year 2018, selected by Cluster Random Sampling. This research consisted of Phase 1;Creating and developing learning units and Phase 2;The trial of a learning unit. The research instruments were 1) questionnaires and interview forms, 2) learning management plans, 2 sub-units, 16 periods 3) the evaluation of core skills and processes of technology. The statistics used in data analysis were percentage, mean, standard deviation and T-test. The research results are as follows 1. The experts agree that an Integrated learning unit on problem solving by the Engineering design process is appropriate is appropriate, in terms of structure, duration, details of the Learning unit, Learning activities and Learning management media and be able to develop core skills and processes of technology (Design and Technology). Phase 1 research results was to develop an integrated an Integrated learning unit on problem solving by the Engineering design process, which consisted of 2 sub-units with 16 periods, including Sub-unit 1; Engineering Design Process, Sub-unit 2; Case study of problem solving by engineering design process. 2. Core skills and Processes of technology (Design and Technology) of students after the studying is higher than 65 percent criterion at .05 level of significant. KEYWORDS: Integrated learning unit, Problem solving, Processes of technology (Design and Technology) บทนา ตามทส่ี ถาบันการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการได้จัดทาตัวช้ีวัดและสาระ การเรยี นร้แู กนกลางในกลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 และกาหนดให้รายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) หน้า362

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) อยู่ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ซึ่งมีเปูาหมายมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับเทคโนโลยีเพื่อ ดารงชีวิตในสังคมทม่ี กี ารเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเร็ว ใช้ความร้แู ละทกั ษะเพื่อแก้ป๎ญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิด สรา้ งสรรคด์ ้วยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม บูรณาการกับศาสตร์อื่นโดยเฉพาะวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ อยา่ งเหมาะสม เลือกใช้เทคโนโลยีโดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคมและส่ิงแวดล้อม ซึ่งสถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตระหนักถึงความสาคัญของการสร้างความรู้ ความเข้าใจและส่งเสริมทักษะ พื้นฐานด้านเทคโนโลยีของผู้เรียน เพื่อให้ดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมีคุณภาพ รวมท้ังการนาเทคโนโลยีไป สร้างนวัตกรรมอย่างมีความคิดสร้างสรรค์เพื่อตอบสนองต่อแนวคิดประเทศไทย 4.0 และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ที่มุ่งส่งเสริมอุตสาหกรรมหลัก 5 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ กลุ่มเครื่องมืออุปกรณ์ อัจฉริยะ หุ่นยนต์ และเทคโนโลยีเมคาทรอนิกส์ กลุ่มดิจิทัล Internet of Things ป๎ญญาประดิษฐ์และเทคโนโลยี สมองกลฝ๎งตัว และกลุ่มเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและบริการที่มีมูลค่าสูง ทั้งน้ีเปูาหมายของสาระเทคโนโลยี (การ ออกแบบและเทคโนโลยี) มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับเทคโนโลยีเพื่อดารงชีวิตในสังคมที่มีการ เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะเพื่อแก้ป๎ญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้ างสรรค์ด้วย กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม บูรณาการกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ อย่าง เหมาะสม เลอื กใช้เทคโนโลยโี ดยคานงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ ชวี ิต สังคม และสงิ่ แวดล้อม สาหรบั การจดั การเรียนรู้สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) เพื่อพัฒนาความสามารถของผู้เรียน ในการแก้ป๎ญหาหรือพัฒนางานอย่างสร้างสรรค์ ผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาทักษะและกระบวนการที่จาเป็นต่อการ ดารงชีวิตผ่านการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นการลงมือปฏิบัติ ซึ่งทักษะและกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี (การ ออกแบบและเทคโนโลยี) ได้แก่ 1) กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เป็นกระบวนการแก้ป๎ญหาหรือพัฒนางาน ประกอบดว้ ยขน้ั ตอน ขนั้ ระบุปญ๎ หา ขัน้ รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เก่ยี วข้องกับปญ๎ หา ขนั้ ออกแบบวธิ ีการแก้ป๎ญหา ข้ันวางแผนและดาเนินการแก้ป๎ญหา ข้ันทดสอบ ประเมิน และปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ป๎ญหาหรือชิ้นงาน และขั้น นาเสนอวิธกี ารแกป้ ญ๎ หา ผลการแก้ปญ๎ หาหรอื ชนิ้ งาน ท้งั น้ีในการแก้ป๎ญหาตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมน้ัน ไม่ได้มีลาดับข้ันตอนท่ีแน่นอนโดยข้ันตอนท้ังหมดสามารถย้อนกลับไปมาได้ และอาจมีการทางานซ้า ( iterative cycle) ในบางขัน้ ตอนหากตอ้ งการพฒั นาหรอื ปรบั ปรุงใหด้ ีข้ึน 2) การคิดเชิงระบบ เป็นการคิดถึงสิ่งหน่ึงส่ิงใดทีมอง ภาพรวมเป็นระบบ โดยมีหลักการและเหตุผล มกี ารจัดระเบียบขอ้ มลู หรือความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ ให้เป็น แบบแผนหรือกระบวนการที่ชัดเจน 3) ความคิดสร้างสรรค์ ใช้เทคนิคในการสร้างสรรค์มุมมองอย่างหลากหลายและ แปลกใหม่ ซึ่งอาจจะพัฒนาจากของเดิมหรือคิดใหม่ วิเคราะห์และประเมินแนวคิดเพ่ือพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ให้ ได้มากที่สุด นาไปสู่การลงมือปฏิบัติตามความคิดสร้างสรรค์ให้ได้ผลสาเร็จที่เป็นรูปธรรม โดยความคิดสร้างสรรค์ ประกอบดว้ ย 4 ลักษณะ คอื ความคิดริเร่ิม ความคิดคล่อง ความคิดยืดหยุ่น และความคิดละเอียดลออ 4) การคิด อย่างมีวิจารณญาณ เป็นการคิดโดยใช้เหตุผลที่หลากหลายเหมาะสมกับสถานการณ์ มีการวิเคราะห์และประเมิน หลักฐานและข้อคิดเหน็ ด้วยมมุ มองท่ีหลากหลาย สังเคราะห์ แปลความหมาย และลงข้อสรุปได้อย่างสมเหตุสมผล รวมทงั้ สะทอ้ นขอ้ คดิ เห็นด้วยมุมมองทีห่ ลากหลาย สังเคราะห์ แปลความหมาย และลงข้อสรุปได้อย่างสมเหตุสมผล รวมทง้ั สะท้อนความคิดโดยใช้ประสบการณ์และกระบวนการเรียนรู้ 5) การสื่อสาร เป็นการเรียบเรียงความคิดและ สื่อสารแนวคิดในการแก้ป๎ญหาให้ผู้อ่ืนเข้าใจอย่างชัดเจน สามารถใช้วิธีการส่ือสารเพื่อให้บรรลุเปูาหมายได้หลาย หนา้ 363

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) รปู แบบ เช่น การพูด การเขียนบรรยาย การร่างภาพ และการใช้ส่ือมัลติมิเดีย 6) การทางานร่วมกันกับผู้อ่ืน เป็น ความสามารถในการทางานร่วมกับผู้อ่ืน มีความยืดหยุ่น มีความรับผิดชอบร่วมกัน เคารพในความคิด เห็นคุณค่า และเขา้ ใจบทบาทของผอู้ ืน่ เพอ่ื ทางานให้บรรลุเปูาหมายรว่ มกนั (สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2560) ผู้วิจัยในฐานะผู้สอนในรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยีซ่ึงเป็นการสอนครั้งแรกตามสาระการเรียนรู้ แกนกลางในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดารงชิวิตในสังคมที่มีการ เปล่ยี นแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืนๆ เพ่ือแก้ป๎ญหา หรอื พฒั นางานอยา่ งมคี วามคิดสร้างสรรค์ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยคาถงึ ถึงผลกระทบตอ่ ชวี ติ สังคม และส่ิงแวดลอ้ ม จึงมีความสนใจท่ีจะพัฒนาหน่วยการเรียนรู้บูรณาการเร่ืองการ แกป้ ๎ญหาตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมว่าส่งผลต่อทักษะและกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี (การ ออกแบบและเทคโนโลยี) อยา่ งไร วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อพัฒนาหนว่ ยการเรยี นรูบ้ รู ณาการเรื่องการแก้ปญ๎ หาตามกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม 2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะและกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) หลัง เรียนเทียบเกณฑ์ร้อยละ 65 ขอบเขตของการวิจัย ประชากรท่ีใชใ้ นการวิจัย ประชากรทใี่ ช้ในการวจิ ยั ครัง้ นีเ้ ปน็ นักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 โรงเรียนสาธิตมหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวนั ช้นั มัธยมศึกษา ปีท่ี 4 ปีการศึกษา 2561 จานวน 9 หอ้ งเรียน นกั เรยี นท้งั หมด 300 คน กลุ่มตวั อยา่ งท่ีใช้ในการวจิ ัย กลุ่มตวั อยา่ งทใี่ ชใ้ นการวจิ ัยคร้ังนีเ้ ป็นนักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ ปทุมวัน ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ปีการศึกษา 2561 จานวน 1 หอ้ งเรียน จานวน 35 คน ไดม้ าโดยการสมุ่ แบบกลมุ่ ตวั แปรทใี่ ชใ้ นการวิจยั 1) ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) คือ หน่วยการเรียนรู้บูรณาการเร่ืองการแก้ป๎ญหาตาม กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม 2) ตัวแปรตาม (Dependent Variables) คือ ทักษะและกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี (การ ออกแบบและเทคโนโลยี) หนา้ 364

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) วธิ ีดาเนนิ การวจิ ยั การพัฒนาหน่วยการเรยี นรบู้ รู ณาการเร่อื งการแก้ป๎ญหาตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมที่มีต่อทักษะ และกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ ปทุมวันผวู้ ิจยั ไดด้ าเนนิ การวิจัย แบง่ ออกเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 การพฒั นาหนว่ ยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ 1. ศึกษาและวิเคราะห์ขอ้ มลู พนื้ ฐาน ความต้องการจาเปน็ ในการพฒั นาหนว่ ยการเรียนรู้ 1.1 ศึกษาหลักสตู ร มาตรฐานและตวั ชว้ี ดั และเอกสารทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 1.2 ศึกษาความต้องการในการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้บูรณาการเร่ืองการแก้ป๎ญหาตามกระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยใชแ้ บบสอบถามและการสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและ วชิ าการ และคณะกรรมการงานหลกั สตู รและกิจกรรมการเรยี นรู้ฝุายวชิ าการ จานวน 5 ทา่ น โดยผู้วิจัยสร้างและปรับปรุงแบบสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับความต้องการจาเป็นในการพัฒนา หน่วยการเรียนรู้จากแบบสอบถามและสัมภาษณ์ความคิดเห็นเก่ียวกับหน่วยการเรียนรู้บูรณาการเร่ืองการแก้ป๎ญหา ตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมจานวน 1 ฉบับ ซึ่งแบบสอบถามมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดบั และคาถามปลายเปิด 2. ออกแบบหนว่ ยการเรยี นรแู้ ละสรา้ งหนว่ ยการเรยี นรู้ 2.1 นาข้อมูลทีไ่ ดจ้ ากการศกึ ษาเอกสารงานวจิ ยั ทเ่ี กีย่ วข้องมาวิเคราะห์เป็นขอ้ มูลเบือ้ งตน้ ในการพัฒนาหน่วย การเรยี นรู้ 2.2 นาผลการวิเคราะห์ความต้องการจาเปน็ ของผ้ทู ่ีเก่ยี วขอ้ งมาสร้างเป็นหนว่ ยการเรียนรู้ 2.2.1 ศึกษาหลกั การจดั การเรียนร้สู าระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 2.2.2 กาหนดสาระการเรียนรู้ โดยนาทักษะและกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยีมากาหนดกจิ กรรมใน หน่วยการเรียนรู้ โดยนามาวิเคราะห์กิจกรรมที่เสริมสร้างทักษะและกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี มา รวบรวมและเรียบเรียงลาดับกจิ กรรมที่เกิดความสอดคล้องชองทักษะท่ีเกิดขึ้นในแต่ละกิจกรรม แต่ละหัวข้อ พร้อม ท้งั กาหนดระยะเวลาที่เหมาะสม 2.2.3 กาหนดจุดประสงค์ในการเรยี นร้ใู นแต่ละกิจกรรม เพอื่ ใหแ้ ต่ละกจิ กรรมสร้างให้ผู้เรียนเกิดทักษะตามท่ี ตอ้ งการ 2.2.4 สร้างโครงสรา้ งการจัดการเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ สื่อและแหล่งการ เรียนรู้ และการวัดและประเมินผลท่ีสอดคล้องกับสาระการเรียนรู้และทักษะและกระบวนการสาคัญของสาระ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 3. สร้างแผนการจดั การเรยี นรู้ ผู้วิจยั นาหนว่ ยการเรียนร้มู าสรา้ งแผนการจัดการเรียนรู้จานวน 16 คาบ โดยมีข้ันตอนการสร้างแผนการ จัดการเรยี นรู้ ดงั นี้ 3.1 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ จานวน 16 คาบ โดยสร้างแผนการจัดการ เรียนรู้ประกอบดว้ ย โครงสร้างการจัดการเรยี นรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ สื่อและแหล่งการ หนา้ 365

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) เรียนรู้ การวัดและการประเมินผล ท่ีสอดคล้องกับสาระการเรียนรู้และทักษะและกระบวนการสาคัญของสาระ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ที่สอดคล้องกบั สาระการเรียนรู้และทักษะที่ต้องการพฒั นา 3.2 นาหนว่ ยการเรียนรู้ โครงสร้างหน่วยการเรยี นรแู้ ละแผนการจดั การเรยี นรู้ เสนอให้ผู้เชี่ยวชาญที่มีความ เชี่ยวชาญด้านการจดั การเรียนรสู้ าระการออกแบบและเทคโนโลยี จานวน 3 ท่าน ตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา ความถูกต้องของภาษาที่ใช้และกิจกรรมการเรียนรู้ 3.3 นาผลท่ีไดจ้ ากการตรวจไปแก้ไขปรับปรงุ หนว่ ยการเรียนรู้ โครงสรา้ งหน่วยการเรยี นรู้ รวมทั้งปรับปรุง แผนการจัดการเรียนรู้ เพอื่ ใหไ้ ดแ้ ผนการจดั การเรยี นรสู้ าหรบั นาไปใช้กับกลุ่มตวั อย่างตอ่ ไป 4. ประเมินหนว่ ยการเรียนร้แู ละแผนการจดั การเรียนร้โู ดยผเู้ ช่ยี วชาญด้านหลักสูตรและสาระเทคโนโลยี และปรบั ปรุงหน่วยการเรียนรู้ 4.1 ประเมินความเหมาะสมของหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ ด้านความเหมาะสมของ โครงสร้างหน่วยการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ 1) การจดั แบง่ เนือ้ หาสาระของหน่วยการเรียนรู้ที่เน้นทักษะและกระบวนการสาคัญ ของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 2) การกาหนดระยะเวลาในการจัดการเรียนรู้ท่ีใช้ในแต่ละหน่วย ความเหมาะสมกบั การสรา้ งและพัฒนา ทกั ษะและกระบวนสาคญั ของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ด้านความเหมาะสมและความสอดคล้องของรายละเอียดของหน่วยการเรียนรู้ 1) ความเหมาะสมของกิจกรรมการ เรียนรู้ 2) ความเหมาะสมของสื่อและแหล่งการเรียนรู้ 3) ความเหมาะสมของระยะเวลาท่ีใช้ 4) การกาหนดกิจกรรม การเรียนรู้มีความสอดคล้องกับทักษะและกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ที่ พัฒนาข้ึน 4.2 ประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ ด้านความเหมาะสมและความสอดคล้องขององค์ประกอบต่าง ๆ ใน แผนการจัดการเรียนรู้ รายละเอียดของหน่วยการเรียนรู้จานวน 2 หน่วย ได้แก่แผนการเรียนรู้หน่วยย่อยที่ 1 กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม หน่วยย่อยที่ 2 กรณีศึกษาการแก้ป๎ญหาตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ด้านความเหมาะสมและความสอดคล้อง รายละเอียดของหน่วยการเรียนรู้ 1) ความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนรู้ 2) ความเหมาะสมของส่ือการจดั การเรยี นรแู้ ละแหลง่ การเรยี นรู้ 3) ความเหมาะสมของระยะเวลาท่ีใช้ 4) การกาหนด กิจกรรมการเรียนรทู้ ่ีสอดคลอ้ งกับทกั ษะและกระบวนการสาคญั ของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ท่ี พัฒนาข้นึ 4.3 ปรบั ปรุงหนว่ ยการเรยี นรแู้ ละแผนการจัดการเรียนรตู้ ามคาแนะนาที่ไดจ้ ากผ้เู ช่ียวชาญ 4.4 นาหนว่ ยการเรยี นรูไ้ ป Try Out กบั นักเรยี นท่ีไม่ใช่กลุ่มทดลอง และนาส่ิงท่ีต้องปรับปรุงไปแก้ไขหน่วย การเรยี นรู้ โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรยี นรแู้ ละเวลาในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้หน่วย การเรียนรู้มีความสมบรู ณข์ น้ึ และนาไปใช้ทดลองต่อไป ระยะที่ 2 การทดลองใชห้ น่วยการเรยี นรู้ 1. เคร่ืองมือในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินทักษะและกระบวนการสาคัญของกระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรมโดยใชแ้ บบประเมินของสถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) 2. ดาเนนิ การทดลองใช้หน่วยการเรยี นรู้และแผนการจดั การเรยี นรู้ 2.1 ดาเนินการนาหนว่ ยการเรยี นรไู้ ปทดลองใช้ตามเนอ้ื หาและกิจกรรมทว่ี างแผนไว้ หน้า366

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) โดยดาเนนิ การจดั การเรยี นรูต้ ามแผนการจัดการเรียนรู้ ครั้งละ 2 คาบ จานวน 8 สัปดาห์ รวมเป็น 16 คาบ โดยผวู้ ิจัยดาเนนิ การจัดการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง สังเกตการร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ สังเกตพฤติกรรมและทักษะสาคัญ ของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี โดยแผนการจัดการเรียนรู้ได้รับการประเมินตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหา (Content Validity) และค่าดัชนี ความสอดคล้อง (Index of Item Objectives Congruence : IOC) จากผเู้ ชีย่ วชาญไดเ้ ท่ากับ 0.67 – 1.00 2.2 ประเมินทกั ษะการปฏบิ ตั ิกิจกรรม และประเมินการทากิจกรรมกลุ่มค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objectives Congruence : IOC) จากผเู้ ชยี่ วชาญได้เทา่ กบั 0.67 – 1.00 2.3 นาแบบวัดทักษะและกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)ท่ีผ่านการ ประเมินตรวจสอบความเท่ียวตรงเชิงเน้ือหา (Content Validity) และค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objectives Congruence : IOC) จากผู้เชี่ยวชาญได้เท่ากับ 0.67 – 1.00 และมีค่าความเช่ือม่ันโดยสัมประสิทธ์ิ สหสัมพนั ธแ์ อลฟา (α– Coefficient) เทา่ กบั 0.74 ใหน้ กั เรียนได้ทดสอบ 3.วเิ คราะห์ขอ้ มูล การเปรยี บเทียบทักษะและกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) หลังเรียน เทียบกับเกณฑ์โดยนาคะแนนท่ีได้จากแบบวัดทักษะและกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี(การออกแบบและ เทคโนโลย)ี หลังเรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้ ตามแผนการจัดการเรียนรู้ทาการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉล่ียเทียบกับ เกณฑร์ อ้ ยละ 65 โดยใชส้ ถิติทดสอบ t – test for one sample ในการทดสอบ ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ผลการวจิ ัยเรื่องการการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้บูรณาการเร่ืองการแก้ป๎ญหาตามกระบวนการออกแบบเชิง วศิ วกรรมท่ีมตี อ่ ทักษะและกระบวนการสาคญั ของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) สาหรับนักเรียนชั้น มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 โรงเรยี นสาธิตมหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ ปทุมวัน ผู้วิจัยนาเสนอผลการวิจัย แบ่งออกเป็น 2 ตอน ดงั ต่อไปนี้ ตอนท่ี 1 ผลการพฒั นาหนว่ ยการเรียนรู้ 1. หน่วยการเรียนรู้ 1.1 ผลการประเมินจากผูเ้ ช่ยี วชาญ มขี ้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะด้านต่าง ๆ โดยมรี ายละเอียด ดงั ตอ่ ไปน้ี 1 ) ความเหมาะสมของโครงสรา้ งหนว่ ยการเรียนรู้ 2 ) ความเหมาะสมและความสอดคล้องของรายละเอียดหน่วยการเรียนรู้ 3 ) ความเหมาะสมและตวามสอดคล้องขององค์ประกอบต่าง ๆ ในแผนการจดั การเรยี นรู้ หน้า367

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ตาราง 2 ความคดิ เห็นของผเู้ ชีย่ วชาญดา้ นความเหมาะสมของโครงสร้างหนว่ ยการเรยี นรู้ ประเดน็ การประเมนิ ความคิดเห็นของผเู้ ช่ยี วชาญ 1. การจัดแบ่งเนอื้ หาสาระของหนว่ ยการเรียนรู้ทเี่ น้น ผู้เชย่ี วชาญมคี วามคิดเห็นวา่ การจดั แบง่ เนอ้ื หาสาระของ ทกั ษะและกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี (การ หนว่ ยการเรยี นร้มู คี วามเหมาะสมของโครงสร้างหนว่ ยการ ออกแบบและเทคโนโลย)ี เรยี นรู้ท่ีไดอ้ อกแบบไว้ แตม่ ขี อ้ เสนอแนะคอื กิจกรรมการ เรยี นรูม้ ีมากเกนิ เวลาของคาบเรยี นท่ีกาหนดไว้ 2. การกาหนดระยะเวลาในการจัดการเรยี นรู้ท่ใี ช้ในแต่ ผ้เู ชี่ยวชาญมีความคิดเห็นวา่ การกาหนดระยะเวลาในการ ละหน่วยยอ่ ยเหมาะสมกบั การสรา้ งและพัฒนา ทกั ษะ จดั การเรยี นรทู้ ่ใี ชใ้ นแตล่ ะหนว่ ยการเรียนรู้เหมาะสม แต่ให้ และกระบวนการสาคญั ของสาระเทคโนโลยี (การ พิจารณาถงึ สัดส่วนของเวลาให้เหมาะสมกบั การสร้างและฝึก ออกแบบและเทคโนโลย)ี ทักษะและกระบวนการสาคญั ของสาระเทคโนโลยี (การ ออกแบบและเทคโนโลย)ี ซึ่งบางทกั ษะอาจตอ้ งใชเ้ วลา ค่อนข้างมาก ตาราง 3 ความคดิ เห็นของผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านความเหมาะสมและความสอดคลอ้ งของรายละเอียดของหนว่ ยการเรียนรู้ ประเดน็ การประเมนิ ความคิดเหน็ ของผู้เชยี่ วชาญ 1.ความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนรู้ ผเู้ ชี่ยวชาญมีความคิดเห็นวา่ กิจกรรมการเรยี นรู้ท่อี อกแบบไว้ มีความเหมาะสม 2. ความเหมาะสมของสือ่ และแหลง่ การเรยี นรู้ 1. ควรเพม่ิ แหล่งการเรยี นรูห้ รอื ป๎ญหาที่พบในชีวิตประจาวัน ของ นักเรียนใหห้ ลากหลายมากย่งิ ขน้ึ 2. กาหนดให้นักเรียนศึกษาเอกสารหรอื สถานการณ์มา ลว่ งหน้า 3. ความเหมาะสมของระยะเวลาทีใ่ ช้ เวลาทีใ่ ช้มคี วามเหมาะสม 4. การกาหนดกิจกรรมการเรยี นรู้ทีม่ ีความสอดคลอ้ งกับ ผู้เชย่ี วชาญมีความคิดเห็นว่ากจิ กรรมการเรยี นร้ทู ี่ออกแบบไว้ ทักษะและ มีความเหมาะสม กระบวนการสาคญั ของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบ และเทคโนโลย)ี ผลการประเมนิ ความเหมาะสมและความสอดคล้องของโครงสรา้ งหนว่ ยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมทักษะและกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) จากผู้เช่ียวชาญและ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ โดยการวิเคราะหเ์ นื้อหา พบวา่ มีความเหมาะสมและความสอดคล้องของโครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ มี ความเหมาะสมและความสอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ ระยะเวลาที่ใช้ และแหล่งการเรียนรู้ มี ความเหมาะสมและความสอดคล้องชองกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านความเหมาะสมและมีความสอดคล้องของ หน้า368

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) องค์ประกอบต่าง ๆ ในแผนการจัดการเรียนรู้ รายละเอียดของหน่วยการเรียนรู้ และสามารถใช้พัฒนาทักษะและ กระบวนการสาคญั ของสาระการออกแบบและเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ของนักเรียนได้ ตอนท่ี 2 ผลการทดลองใชห้ น่วยการเรยี นรู้ ผลการเปรียบเทียบทักษะและกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ของ นักเรยี น หลังใช้หนว่ ยการเรียนรูเ้ ทยี บกบั เกณฑ์ร้อยละ 65 ดงั ตาราง ตาราง 3 การเปรียบเทียบทกั ษะและกระบวนการสาคญั ของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ของนักเรียน หลังใช้หน่วยการเรียนรู้เทียบเกณฑ์ร้อยละ 65 คะแนนเต็ม 30 คะแนน และ uo (65%) เท่ากับ 19.5 คะแนน) การทดสอบ n X S t ห ลั ง ใ ช้ ห น่ ว ย ก า ร 30 21.33 3.58 2.801 เรียนรู้ * มีนัยสาคัญทางสถติ ิทรี่ ะดบั .05 จากตาราง 3 ทกั ษะและกระบวนการสาคญั ของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ของนักเรียน หลงั ใช้หนว่ ยการเรียนรู้บูรณาการเพ่ือส่งเสริมทักษะและกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและ เทคโนโลย)ี พบวา่ มคี ะแนนเฉล่ยี เลขคณิต21.33คะแนน สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน คะแนน คิดเป็นร้อยละ 3.58 โดยสูงกว่าเกณฑร์ ้อยละ 65 อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติทร่ี ะดับ .05 สรุปผลการวจิ ยั 1. หน่วยการเรยี นรู้บูรณาการเรอ่ื งการแกป้ ญ๎ หาตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ผู้เชี่ยวชาญมีความ คิดเหน็ ว่ามคี วามเหมาะสมของโครงสร้าง ระยะเวลา รายละเอยี ดของหน่วยการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการ จัดการเรยี นรู้ และสามารถพัฒนาทักษะและกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ผลการวิจัยระยะที่ 1 จึงได้หนว่ ยการเรยี นรบู้ ูรณาการเรอ่ื งการแก้ป๎ญหาตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ซ่ึงมี จานวน 2 หน่วยย่อย 16 คาบ ได้แก่ หน่วยย่อยท่ี 1 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม หน่วยย่อยท่ี 2 กรณีศึกษา การแกป้ ญ๎ หาตามกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม 2. ทกั ษะและกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ของนกั เรียนหลังเรียนสูง กว่าเกณฑร์ อ้ ยละ 65 อยา่ งมีนัยสาคัญท่ีระดับ .05 อภปิ รายผล หน้า369

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) จากการศกึ ษาสร้างและพัฒนาหน่วยการเรียนรู้บูรณาการเรื่องการแก้ป๎ญหาตามกระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรมทีม่ ตี ่อทกั ษะและกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) สาหรับนักเรียนช้ัน มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรียนสาธติ มหาวทิ ยาลยั ศรนี คริน ทรวโิ รฒ ปทมุ วนั สามารถอภปิ รายผลการวจิ ัยไดด้ ังน้ี ทกั ษะและกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ของนักเรียนสูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 65 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 เนื่องจากหน่วยการเรียนรู้บูรณาการเร่ืองการแก้ป๎ญหาตาม กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมที่สร้างและพัฒนาขึ้นน้ัน นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมที่มุ่งเน้นทักษะและ กระบวนการสาคญั ของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ซึ่งกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมคือการ นากระบวนการคดิ และวเิ คราะหอ์ ยา่ งเป็นระบบมาใช้เปน็ เครื่องมอื สาหรับแก้ป๎ญหา พัฒนาเทคโนโลยีที่มีอยู่เดิมหรือ สรา้ งเทคโนโลยีใหม่อยา่ งเหมาะสมโดยประยุกต์ใช้ความรู้จากศาสตร์และเทคโนโลยีท่เี ก่ยี วข้อง สอดคล้องกับงานวิจัย ทเ่ี กย่ี วข้องกับการพฒั นาหนว่ ยการเรยี นรขู้ องกฤษณพร ดวงหะคลังและคณะ (2558) ทาการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยีเร่ืองมหัศจรรย์แห่งกล้วยนวล สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบา้ นกง (ประชานุกูล) จงั หวัดขอนแก่น ซึ่งผลการทดลองใช้หน่วยการเรียนรู้เร่ืองมหัศจรรย์แห่งกล้วยนวล มี ดังน้ี 1) คะแนนทักษะการประดิษฐ์ของใช้ของเล่นหรือของตกแต่งจากกล้วยนวลของนักเรียนในภาพรวมมีค่าเฉลี่ย 2.72 ผ่านเกณฑ์ในระดบั ดี 2) คณุ ลกั ษณะทีด่ ีในการทางานของนักเรยี นในภาพรวมมคี า่ เฉล่ยี 8.63 ผ่านเกณฑ์ในระดับ ดี 3) คะแนนผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนเฉล่ียของนักเรยี นจากการเรยี นดว้ ยหน่วยการเรียนรู้เรือ่ งมหศั จรรย์แห่งกล้วยนวล มคี ่ารอ้ ยละ 92.59 ผา่ นเกณฑ์ในระดบั ดี และงานวิจัยของจรยิ า กรดเต็ม (2552). ทาการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้แบบ บูรณาการเรื่องการผูกผ้าตกแต่งสถานท่ีกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาหรับนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปที ี่ 6 ตาบลตะแพน อาเภอศรบี รรบต จงั หวัดพทั ลุง พบวา่ การปฏบิ ตั งิ านของนักเรยี นผ่านเกณฑใ์ นระดับ ดีมาก โดยมีคะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ 87.23 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นหลงั เรียนของนักเรยี นผา่ นเกณฑใ์ นระดับดีมาก โดยมี คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ 83.17 ผลการประเมินความพงึ พอใจของนกั เรียนทมี่ ตี ่อการเรยี นด้วยหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณา การเร่อื งการผูกผา้ ตกแต่งสถานทีผ่ า่ นเกณฑ์ในระดับมาก โดยมีคะแนนเฉล่ยี เท่ากับ 4.13 คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.58 และงานวิจัยของจริยา โสพิกุล (2552) ในการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ท้องถ่ินแบบบูรณาการ เร่ืองขนมไทยใน ทอ้ งถน่ิ กลุม่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี สาหรับนักเรียนช่วงชั้นท่ี 2 พบว่าผลการปฏิบัติงาน ผลการ ทางานกลุม่ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านความรู้ของนักเรียน โดยภาพรวมมีคะแนนเฉล่ียร้อยละ 82.18 , 81.34 และ 80.11 ตามลาดบั ซ่งึ ผา่ นเกณฑใ์ นระดับดีมาก ขอ้ เสนอแนะ จากการวิจัยคร้ังนี้ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะซ่ึงอาจเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้และการศึกษาคร้ังต่อไป ดังน้ี ขอ้ เสนอแนะท่วั ไป 1. ครูควรอธิบายและยกตัวอย่างประกอบให้ชัดเจนว่าทักษะและกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) เพอ่ื ให้ผเู้ รียนเกิดความตระหนกั ถึงความจาเป็นในการพัฒนาทักษะสาคัญในแต่ละดา้ น 2. ครคู วรกาหนดบทบาทของผู้เรียนให้มีส่วนในกิจกรรมเพ่ิมข้ึน หากเป็นไปได้ควรมีการบันทึกภาพและวีดิ ทศั นเ์ พอ่ื จะไดส้ งั เกตพฤตกิ รรมของผเู้ รียนได้อยา่ งตอ่ เนอ่ื งทกุ กจิ กรรม หน้า370

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ข้อเสนอแนะสาหรบั การทาวิจยั ครง้ั ต่อไป 1. ควรจัดให้มหี นว่ ยการเรียนรู้บูรณาการท่ีส่งเสริมทักษะและกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี (การ ออกแบบและเทคโนโลยี) อย่างน้อยปกี ารศกึ ษาละ 1 หน่วยการเรียนรู้ เพ่ือฝึกนักเรียนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โดยแยกหนว่ ยการเรยี นรูใ้ ห้ครบทกุ ภาคการศกึ ษา 2. ควรพัฒนาหน่วยการเรียนรู้บูรณาการท่ีส่งเสริมทักษะและกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี (การ ออกแบบและเทคโนโลยี) เปน็ หลักสูตรสาระเทคโนโลยีที่เน้นทักษะและกระบวนการสาคัญของสาระเทคโนโลยี (การ ออกแบบและเทคโนโลยี) สาหรับนกั เรียนระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาต่อไป เอกสารอา้ งองิ กฤษณาพร ดวงหะคลัง. (2558). การพัฒนาหนว่ ยการเรยี นรกู้ ลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยีเรอ่ื ง มหศั จรรย์แห่ง กล้วยนวลสาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรียนบา้ นกง (ประชานกุ ลู ) จังหวัดขอนแก่น. วารสาร วิจัย มข. มส. (บศ.) 3 (3) : ก.ย. – ธ.ค. 2558. จริยา กรดเต็ม. (2553).การพฒั นาหน่วยการเรยี นรู้แบบบูรณาการ เร่ืองการผูกผ้าตกแต่งสถานท่ี กลุ่มสาระการ เรยี นรกู้ ารงานอาชพี และ เทคโนโลยี สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ตาบลตะแพน อาเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง. วิทยานพนธ์ปริญญาการศกึ ษา มหาบณั ฑติ สาขาวิชาหลกั สตู รและการสอน มหาวิทยาลยั ทักษิณ. จริยา โสพิกลุ (2552). การพฒั นาหนว่ ยการเรยี นร้ทู ้องถ่ินแบบบูรณาการเร่ืองขนมไทยในท้องถ่ิน กลุ่มสาระการ เรยี นรูก้ ารงานอาชพี และ เทคโนโลยี สาหรับนักเรียนช่วงช้ันที่ 2.วิทยานิพนธ์ ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสตู รและการสอน มหาวิทยาลัย ทกั ษิณ. นันทพล มียิ่ง. (2559). การพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ “สนุกกับการคิด พิชิตทักษะและกระบวนการทาง คณิตศาสตร์” สาหรบั นกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษา มหาบณั ฑติ สาขาวิชาวทิ ยาการทางการศึกษาและการ จัดการเรยี นรู้ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ . (2560). คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชา พ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ กลุ่ม สาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระเทคโนโลย(ี การออกแบบและเทคโนโลย)ี ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย. กรงุ เทพ ฯ : สถาบันส่งเสริมการสอน วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. หน้า371

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) อิทธพิ ลของปัจจัยครอบครวั ตอ่ นักเรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ : กรณศี กึ ษา The Influence of the Family Factors on Lower High School Students: A Case Study ดร.ชายแดน เดชาฤทธ์ิ โรงเรียนสามโคก องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั ปทุมธานี E-mail [email protected] บทคัดยอ่ ป๎ญหาของสังคมในป๎จจุบันมีมาก หลากหลายและส่งผลรุนแรง ท้ังน้ีเพราะโลกในยุคป๎จจุบันมีความ เปล่ียนแปลงตลอดเวลาโดยเฉพาะเม่ือโลกแบบเดิมๆได้รับผลกระทบมาจากการทาลายของเทคโนโลยีที่นาความ เปลยี่ นแปลงมาอย่างรวดเร็ว บทความนม้ี ีเปูาหมายทจี่ ะนาเสนอสาเหตุของความรนุ แรงจากกรณศี กึ ษาของนักเรียนคน หน่ึงโดยอ้างอิงทฤษฎีท่ีได้มาจากงานวิจัยในระดับปริญญาเอกท่ีระบุว่าการทาผิดวินัยของนักเรียนจานวน 7 คนมี สาเหตุมาจากปจ๎ จัยหลกั 3 ประการ คือ ครอบครวั เพอื่ น และพฤตกิ รรมสว่ นบคุ คลของนักเรียน นกั วิจัยพบว่ารูปแบบ การทาผิดวนิ ยั ทีเ่ กดิ ขึน้ บอ่ ยครัง้ ทสี่ ดุ คือ การทะเลาะเบาะแวง้ บทความชิ้นน้ีจึงเป็นรายงานเพ่ิมเติมในประเด็นเรื่องความรุนแรงและอิทธิพลของป๎จจัยครอบครัวต่อ พฒั นาการของนักเรยี นมัธยมศกึ ษาตอนต้น นกั วิจัยใชก้ ารสมั ภาษณ์นกั เรยี นทเี่ ปน็ กรณีศึกษาและนาข้อมูลมาวิเคราะห์ แบบ 3 C (Coding—Categorizing—Concept) ของ Lichtman,2013 ท้ังน้ีผู้เขียนได้นาทฤษฎีสาคัญที่เกี่ยวกับ พัฒนาการของมนษุ ย์ทเี่ ปน็ ทรี่ ู้จกั กันแพรห่ ลายมาใชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มูลด้วยคือทฤษฎีของ Maslow และทฤษฎีของ Bandura สรปุ ไดว้ ่ามนุษย์ทุกคนต้องการความม่ันคงด้านสรีระและความปลอดภัย ก่อนท่ีจะสามารถพัฒนาในระดับ ของจิตใจได้ รวมท้ังการท่ีต้องมีความเคารพในตนเอง (self-esteem) รวมทั้งการได้รับการปฏิบัติต่ออย่างเหมาะสม และหลีกเลี่ยงการเห็นตัวอย่างที่ไม่ดีเพื่อปูองกันการประพฤติเลียนแบบ ข้อมูลที่ได้จากกรณีศึกษานี้คือนักเรียนจะมี พฤติกรรมรุนแรงเพราะเป็นผู้ที่ได้รับผลของความรุนแรงและการที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีการใช้ความรุนแรง ตลอดเวลา คาสาคัญ: พฤติกรรมนักเรยี น,ปัจจยั ด้านครอบครัว,ความรนุ แรงของนักเรียน หนา้ 372

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ABSTRACT Currently, there are many and various types of social problems which have serious consequences because of the rapid changes that are taking place, especially when the traditional world has been affected by the rapid changes of digital disruption. This academic article is aimed at introducing the causes of violence among students in the junior high school by portraying a student basing the investigation on the data-driven theory from a doctoral research which stated that students were led to break the school regulations displaying serious indiscipline problems from three major factors—family, friends and students‖ individual behavior. The researcher of the study found that quarrelling and fighting were common behavior problems of the students. This article, thus, contributes additional information to the issue of violence and the influence of the family factor in junior high school student development. Interviewing was used as the main instrument for data collection and the collected data were analyzed with Lichtman‖s theory of 3 Cs (Coding—Catagorizing--Concept). In addition, the author based data analysis on two most known theories of human development: theories of Maslow and Bandura, which led to a conclusion that everyone must first meet his/her basic requirements and safety before they can develop their mental spirit as well as their self-esteem. They need to be appropriately treated and avoid seeing bad examples to protect themselves from imitating the acts of violence. The findings from this case study is students are prone to violence acts because they have been the victims and surrounded by violence in their environment. KEYWORDS:.student behaviour, family factor, violence among students บทนา หน้า373

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ในสภาวะป๎จจุบัน สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างมาก ส่ิงแวดล้อม หมายถึ ง ทกุ สิ่งที่มอี ยู่รอบตวั เรา รวมทัง้ ครอบครัว โรงเรียน เพ่อื น (มนัส สูงประสิทธ์ิ, 2560) และการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่โลกา ภวิ ัตน์ท่ีทาให้เทคโนโลยีและส่ือสังคมออนไลน์ (Social Media) ส่งผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตของคนในยุคนี้อย่าง เหน็ ได้ชัดเจน (Thai PBS News, 12 มถิ ุนายน 2560) ในขณะท่ีสังคมมีความสับสนยุ่งเหยิงท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอย่างท่ีปรากฏในป๎จจุบัน ครอบครวั ซ่งึ เป็นหนว่ ยทใ่ี กลช้ ิดกับบุคคลมากที่สุดจึงต้องมีความเข้มแข็งเพ่ือให้ต่อสู้กับความเปล่ียนแปลงของโลกใน ปจ๎ จุบันใหไ้ ด้ (Ministry of Social Development and Human Security, 2016) แตเ่ รามอิ าจปฏิเสธได้ว่า ครอบครัว ซ่ึงเป็นหน่วยของความสัมพันธ์ที่เล็กท่ีสุด และใกล้ตัวท่ีสุดของทุกคน มี บทบาทสูงสุดในการหล่อหลอมให้เด็กทุกคนเติบโตข้ันมาในสภาพท่ีสมบูรณ์เป็นสมาชิกท่ีดีภายในครอบครัวของตน และพลเมืองทีด่ ีของสังคม(ชัชวาลย์ ปัญญภายตั จติ, 2557) จากการทน่ี ักวิจัยไดศ้ กึ ษาในระดบั ดุษฎบี ณั ฑติ และจัดทาวทิ ยานิพนธ์ เรื่อง กรณีศึกษา ประสบการณ์การทา ผิดวนิ ยั ของนกั เรยี นระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนต้น จงั หวดั ปทุมธานี ทาใหไ้ ด้ตระหนกั ถึงกรณีทน่ี กั เรียนมีป๎ญหาเรื่องการ ทาผิดวินัยภายในโรงเรียนเสมอ พบว่ามีสาเหตุมาจากป๎จจัยหลัก 3 ประการ คือ 1. ครอบครัว 2. เพ่ือน และ 3. พฤติกรรมส่วนบคุ คล ดงั ทแี่ สดงไวพ้ รอ้ มกบั รายละเอียดประกอบในภาพตอ่ ไปน้ี สาเหตุท่นี ักเรียนทาผดิ วินัยของโรงเรียน ครอบครัว เพ่อื น สภาพจติ ใจ และ o ครอบครัวแตกแยก o ตดิ เพื่อน o เอาแตใ่ จ o ป่ ยู า่ ตายายเลยี ้ งดไู ป o ทาตามท่ีเพอื่ น o ไม่กลวั การทาผิด o ชอบทะเลาะววิ าท ในทางตามใจ ชกั ชวน o ขาดความรักและความ อบอนุ่ ท่ีแท้จริง รปู ภาพท่ี 1 สาเหตุที่นกั เรียนทาผดิ วนิ ัยของโรงเรยี น ขอ้ มูลจาก กรณีศึกษา ประสบการณ์การทาผิดวินัยของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดปทุมธานี นาย ชายแดน เดชาฤทธิ์ หนา้ 88 หนา้ 374

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ป๎ญหาภายในครอบครวั มหี ลากหลายและส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อนักเรียน ซึ่งทาให้นักเรียนไม่สามารถ เรยี นหนงั สอื ได้อย่างมีประสิทธิภาพ หลายคนใช้เวลากับเพื่อนซงึ่ อาจจะนาไปสทู่ างลบ ข่าวในหนังสือพมิ พท์ ่ีมีอยู่ไม่เว้น แต่ละวัน ช้ีให้เห็นความเส่ือมถอยทางครอบครัว นาไปสู่ความเสื่อมถอยทางสังคมนักเรียนท่ีผ่านประสบการณ์ความ รนุ แรงในครอบครวั หรอื การเลยี งดทู ี่ไมถ่ กู ทาง จะสร้างปญ๎ หาใหก้ บั สังคมอย่างน่าตกใจ ดูได้จากกรณีตัวอย่างของนาย สมคิด พุ่มพวง อายุ 55 ปี ฆาตกรต่อเน่ือง ซ่ึงพ้นโทษจาคุกนาน 14 ปี ออกมาฆ่ารัดคอแม่บ้านของโรงแรมใน อ. กระนวน จ.ขอนแก่น กอ่ นหลบหนี กระท่ังพลเมอื งดีแจ้งเบาะแสจนเจ้าหน้าท่ีตารวจสามารถจับกุมตัวได้ขณะโดยสาร รถไฟทสี่ ถานปี ากช่อง จ.นครราชสมี า เม่ือวนั ที่ 18 ธ.ค.62 \"สมคิด\" เคยเรียนกฎหมายในคุก แต่เมื่อพ้นโทษออกมาจะ ใชเ้ วลาไปในทางลบต้มตุน๋ ชาวบา้ นทีพ่ บเจอรวมท้ังหลอกว่าเป็นทนาย สมคิดตดิ คุกรวม 14 ปี เรยี นกฎหมายตอนอยู่ใน คกุ ตามหลกั สตู ร \"สัมฤทธิบตั ร\" ของ มสธ. จนมีความรดู้ ้านกฎหมาย (ไทยรฐั ออนไลน์19 ธ.ค. 2562 ) ข่าวเกี่ยวกับความรุนแรงมีมากมายในป๎จจุบันและจานวนไม่น้อยที่เป็นการทาความผิดของเยาวชน เม่ือไม่ นานมาน้ีมีขา่ วเกยี่ วกับ วัยรุน่ ที่ใชเ้ วลาไปการต้ังแก๊งกอ่ กวน ไปทาร้ายบคุ คลจนกระทง้ั เสยี ชวี ิต จากเหตุการณ์วัยรุ่นดัก ตีกันหลังจบคอนเสิร์ตงานแห่เทียนเข้าพรรษา อ.นางรอง จ.บุรีรัมย์ ทาให้มีคนตาย 1 เจ็บ 3 พ.ต.อ.ภควัต ธรรมดี ผกก.สภ.นางรอง เผยว่า “ขณะนี้ได้จบั กมุ ผู้ทีร่ ่วมกันกระทาผิด ก่อเหตุตีนายณัฐพล วิชัยกูล อายุ 21 ปี เสียชีวิตขณะ ไปส่งเพ่อื นทบ่ี า้ น ไดแ้ ล้ว 3คน คือ นายเขียว นายเปู และนายดิว เป็นคนในพ้ืนที่ ต.หนองโบสถ์ และ ต.ลาไทรโยง อ. นางรอง นาตัวฝากขังทีศ่ าล จ.นางรอง”(ไทยรัฐออนไลน์16 ก.ค. 2562) บทความวิชาการนี้ จึงเขียนข้ึนเพื่ออภิปรายประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับความสาคัญของครอบครัวต่อนักเรียน โดยเฉพาะเป็นการขยายทฤษฏที ผ่ี ูเ้ ขยี นไดม้ าจากทาวิจัย ในระดับปรญิ ญาเอก ทฤษฏีท่ีได้มาจากการวิเคราะห์ข้อมูลท่ี รวบรวมมาจากการสัมภาษณ์นักเรียนที่ทาผิดวินัย 7 คนโดยการใช้ Grounded Theory (Strauss and Corbin, 1990) ซึง่ เป็นทฤษฎีท่ีนาข้อมูลมาวิเคราะห์เชิงคุณภาพ (creativeData Analysis) อย่างไรก็ดี จึงสรุปประเด็นป๎จจัย ครอบครัวท่ีได้จากข้อมูล ชี้ให้เห็นว่า ครอบครัวของนักเรียนท่ีเป็นผู้ให้ข้อมูลหลัก ตามใจนักเรียนจนทาให้ขาดวินัย เพราะผู้ดแู ลนักเรียนเหล่านี้ คอื ปูุย่าตายาย ที่มีความรกั และความสงสารหลานท่ขี าดพอ่ แม่ท่ีแทจ้ รงิ ดแู ล เพราะพ่อแม่ แยกทางกันไป ปูุย่าตายาย ต้องการให้หลานมีความอบอุ่นจึงปล่อยให้หลานใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่นอกบ้า น และทา กจิ กรรมตามทีเ่ พื่อนชกั ชวน ซงึ่ ส่วนใหญเ่ ป็น การเล่นเกมส์และการไปขมี่ อเตอร์ไซค์เป็นกลุ่ม หากย้อนไปดูบันทึกเร่ือง กรณีศึกษา ประสบการณ์การทาผิดวินัยของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดปทุมธานี พบว่า มีป๎ญหา เร่ืองการทะเลาะวิวาท จานวน 36 รวมนักเรยี นท่เี กยี่ วขอ้ ง 124 คน (ข้อมลู จากนายชายแดน เดชาฤทธ์ิ) ขอ้ มลู ที่นามาเขียนบทความน้ไี ด้มาจากประสบการณข์ องนักเรยี นคนหนึง่ ซ่งึ นามาเป็นเป็นกรณีศึกษา เป็นผู้ท่ี มีป๎ญหาเรื่องการใช้ความรุนแรง นักวิจัยจึงได้ติดตามนักเรียนคนนี้ เพ่ือศึกษาว่า ความรุนแรงที่นักเรียนคน นี้แสดง ออกมาเป็นผลจากการเล้ียงดภู ายในครอบครัวหรือไม่ หนา้ 375

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) เนอื้ หาสาระ ทฤษฏีที่เกย่ี วข้องกับพฒั นาการของมนุษย์ ในการรวบรวมขอ้ มูลเพอื่ มาอธิบายพฤตกิ รรมของคนท่วั ไป นักวิจยั ขอนาเสนอทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องและเชื่องโยง กบั ความรุนแรงสองทฤษฎี คือ 1) ทฤษฎขี องมาสโลว์ (Maslow, 1987, น.64) มาสโลว์ไดแ้ บง่ ความต้องการของมนษุ ย์ออกเป็น 5 ขั้น คือ ความต้องการทางสรีระ (Physiological Needs) ความต้องการความปลอดภัย (Safety Needs) ความต้องการความรักและการเป็นส่วนหนึ่ง (Love and Belongingness Needs) ความตอ้ งการการเคารพนับถือ (Esteem Needs) ความต้องการเข้าถึงสภาพท่ีแท้จริงแห่ง ตน (Self-Actualization Needs) โดยจัดลาดับความต้องการจากต่าไปสูง เมื่อความต้องการข้ันต่าได้รับการ ตอบสนองจนเป็นท่ีพอใจ จึงจะมีความต้องการข้ันสูงต่อไป และความต้องการขั้นสูงสุดจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเม่ือความ ตอ้ งการขัน้ ต่ากว่าทง้ั 4 ข้ันได้รับการตอบสนอง อยา่ งไรก็ตามการตอบสนองขน้ึ อยู่กับความพอใจของแต่ละบุคคล และ ความต้องการแตล่ ะข้ันไม่จาเป็นต้องถงึ 100% (สรุ างค์ โคว้ ตระกลู , 2556, น. 159) จากทฤษฎนี ้ี สามารถกลา่ วได้วา่ ทุกคนตอ้ งการความสุขขั้นพื้นฐาน การมีที่พักอาศัย มีอาหารประทังชีวิต มี ความปลอดภัยทางการ ก่อนท่ีจะพัฒนาไปถึงขั้นสูงสูดท่ีมุ่งสู่การพัฒนาจิตใจของตนเอง โดยไม่ได้หวังสิ่งใดจาก ภายนอก ผวู้ จิ ยั ใช้ทฤษฎีนีป้ ระกอบการวิเคราะห์ข้อมลู ทไ่ี ด้จากบทสัมภาษณ์นักเรียนที่เป็นผู้ให้ข้อมูล เพ่ือค้นหาส่ิงท่ี นกั เรียนคนน้ตี อ้ งการ รปู ภาพที่ 2. ลาดบั ความตอ้ งแตล่ ะขัน้ 1.Physiological Needs ความต้องการพน้ื ฐาน เชน่ อาหาร นา้ เครื่องนุง่ หม่ และท่ีอยอู่ าศยั 2.Safety Needs ความตอ้ งการด้านความปลอดภัย 3.Love and belonging Needs ความตอ้ งการเป็นทีร่ กั และเป็นส่วนหนงึ่ 4.Esteem Needs ความตอ้ งการมีคุณค่า และ หน้า376

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 5.Self-Actualization Needs ความปรารถนาทจ่ี ะสามารถเติมเตม็ ภายในตนเองไดอ้ ย่างสมบรู ณ์ ทฤษฎีที่สองคือทฤษฎีของ Bandura ทชี่ ี้ให้เห็นถงึ กระบวนการการแสดงออกและการเลียนแบบการกระทา 2) Bandura (1977) ได้กล่าวว่า ความภูมิใจแห่งตน หรือการเคารพตนเอง หรือการเห็นคุณค่าในตนเอง เขาเชื่อว่า 1.) กระบวนการเกิดขึ้นระหว่างแรงกระตุ้นกับการสนองตอบและ 2.) พฤติกรรมเรียนรู้ได้จากสิ่งแวดล้อมโดย กระบวนการเรียนรู้จากการสังเกตเด็กสังเกตผู้ใหญ่ที่อยู่รอบตัว ซึ่งเป็นแบบอย่าง เช่น พ่อแม่ ตัวละครใน ทีวี เพ่ือน และครู พวกเขาจะลอกเลียนแบบพฤติกรรมเหล่านนั้ เช่น ความเปน็ ชาย ความเปน็ หญิง การสนับสนุนหรือการต่อต้าน สังคม 1.) เดก็ จะเลยี นแบบคนนีค้ ลา้ ยตนเอง และจะเลียนแบบคนเพศเดียวกนั 2.) เดก็ จะได้รับแรงกระตุ้นเม่ือได้รับคา ชมหรือถูกลงโทษ Bandura เสนอรูปแบบการเลือกการแสดงออกหรือไมแ่ สดงออกพฤติกรรมหลังจากมีแรงกระตุ้นก่นจะได้ตอบออกไป 4 รูปแบบ คือ 1. ความสนใจ (Attention)คือ ขอบเขตการใสใ่ จสงั เกตพฤตกิ รรมว่ามีมากน้อยเพยี งใด 2. ความระลึกได้ (Retention) คอื การจดจาทาไดด้ หี รือไม่ เพราะจะทาใหเ้ ลยี นแบบหรอื ไม่ 3. การแสดงออก (Reproduction) คือ ความสามารถท่ีจะแสดงพฤติกรรมเลียนแบบบางครั้งอยากจะทาตาม แต่ไม่ สามารถทาได้ 4. แรงจงู ใจ (Motivation) รางวลั และการลงโทษทสี่ ังเกตเห็นจะช่วยใหพ้ ิจารณาควรทาส่งิ น้ันหรือไม่ ทง้ั 2 ทฤษฏีขใ้ี หเ้ หน็ วา่ มนุษยโ์ ดยเฉพาะเด็กในวยั เยาว์มีความเปราะบาง เขาจะถูกหล่อหลอมให้เป็นไปตามท่ี เขาเห็นและส่ิงแวดล้อมรอบตัว การพัฒนาทางจิตใจจะเกิดขึ้นหลังความสมบูรณ์ของความต้องการความจาเป็นขั้น พ้นื ฐาน ครอบครัวจึงควรจัดสรรความต้องการทางสรีระ ความปลอดภัย ความรัก ให้แก่เด็กในความปกครองอย่าง เต็มท่ี และผู้ใหญ่ควรแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมต่อเด็ก ๆ จะเห็นได้ว่าในโรงเรียนทั่วไป หากพูดถึงป๎ญหานักเรียน ทางด้านการแสดงพฤติกรรมออกมาจะพบเห็นเดก็ จะลอกเลยี นแบบผูป้ กครองท่ีแสดงใหเ้ ห็นต่อหน้าเด็กที่บ้านเอามาใช้ กับเพ่อื นหรือคนอื่น วธิ เี กบ็ รวบรวมขอ้ มูล นักวจิ ยั ใชว้ ธิ ีการ 3C (Lichtman, 2013 ) ดงั ทแ่ี สดงไวใ้ นรปู ภาพดังน้ี Coding Categorizing Concepts C1 C2 C3 รูปภาพท่ี 3 ตัวอยา่ งของการวิเคราะห์มีดงั นี้ หน้า377

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ดังน้นั ข้อมูลน้ที ่ีไดจ้ ากการสมั ภาษณ์นกั เรยี นสามารถนามาจัดเป็นกลุ่มขอ้ มลู ไดห้ ลกั ๆ 2 กลมุ่ คือ 1. ความรุนแรงจากการโดนกระทา 2. การอยู่ในสภาพแวดล้อมทีม่ ีแต่ความรนุ แรง สามารถนาข้อมลู มาจดั กลมุ่ แบบ 3 C ดังทแ่ี สดงไวใ้ นตาราง ตารางท่ี 1 เปรียบเทียบขอ้ สรปุ ประเดน็ จากเครอ่ื งมือ 3 C CONCEPT CODING CATEGORIZING ความรุนแรงจากการโดนกระทา นักเรียนตอ้ งประสบกบั ความ พอ่ ตแี ละไลใ่ ห้ไปอยกู่ ับยาย รนุ แรงจากการโดนทารา้ ยรา่ งกาย พอ่ เอาไม้แขวนเสื้อตี พอ่ เอามีดมากรีดแขน การขาดความรกั ความอบอุ่น พ่อเอาบุหรม่ี าจ้ี พ่อทารา้ ยเอาเหลก็ มาตี พอ่ เอาขวดทุบที่หัว พอ่ เอาขวดเบยี ร์ทุม่ ใส่ขา พ่อไล่กลบั บ้านไปอยูก่ บั แม่ พอ่ ไล่ใหไ้ ปอยู่กับยาย พอ่ และแม่มคี รอบครัวใหม่ การอยูใ่ นสภาพแวดลอ้ มท่มี แี ต่ การทะเลาะเบาะแว้งในครอบครวั พอ่ ทะเลาะกับแม่ ความรนุ แรง พ่อทะเลาะกับยายและน้าพ่อทะเลาะ กับยาย พฤตกิ รรมของพ่อ พอ่ กนิ เหล้า พอ่ หนตี ารวจ สรุปได้ว่า หากพิจารณาตามทฤษฎีของ Maslow นักเรียนคนนี้ไม่ได้รับการสนองตอบแม้แต่ในประเด็นแรก จากครอบครัวของตนเอง ในส่วนของ Bandura นักเรียนคนน้ีจะซึมซับสภาพท่ีไม่เรียบร้อยของครอบครัวเข้าไปใน ตัวตน และถูกส่งเข้าไปในวงจรแห่งความรุนแรงโดยครอบครัวของตนเอง จึงไม่แปลกท่ีสังคมไทยจะมี ผู้ท่ีเคยชินกับ ความรุนแรงเป็นจานวนมาก หน้า378

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ภาพทน่ี าเสนอตอ่ ไปนี้แสดงให้เหน็ ความสาคญั ของปจั จยั ครอบครัวกับพฒั นาการของเด็ก ครอบครัว พฤติกรรมของผใู้ หญ่ภายใน ครอบครวั ที่ใชค้ วามรุนแรง นกั เรยี นทีม่ พี ฤตกิ รรมการ ใชค้ วามรนุ แรง รูปภาพที่ 4 ภาพแสดงให้เหน็ ความสาคญั ของปัจจยั ครอบครวั กับพฒั นาการของเดก็ ที่มา : ผู้วจิ ยั ในประเด็นทีว่ า่ ครอบครวั ตามใจ ปุยู ่าดแู ลลกู หลานไม่ถกู ทาง ปลอ่ ยให้ใชเ้ วลากับเพื่อน ปญ๎ หาท่ีเกิดข้ึนอาจจะพอสรุป ได้ว่ามีความรุนแรงต่อสังคมน้อยกว่าการพ่อแม่เป็นตัวอย่างที่ไม่ดีโดยเฉพาะในเรื่องของความรุนแรง ลูก ๆ ที่ได้รับ ความรนุ แรงจะเติบโตเป็นผูใ้ หญ่กจ็ ะเป็นผูส้ รา้ งความรุนแรงในสงั คมเสียเอง ในกรณีศึกษาเร่ืองนี้ สามารถกล่าวได้ว่า พ่อเป็นสาเหตุของความรุนแรงภายในครอบครัว ผู้ใหญ่คนอื่น ๆ รวมทัง้ แม่กไ็ มส่ ามารถปกปอู งลกู ได้ พ่อมเี มยี ใหม่ ภาวะของเด็กคนน้ีจึงชัดเจนว่า เขาเองเป็นคนท่ีชอบใช้ความรุนแรง เพราะความรุนแรงค่อย ๆ ซึมเข้าไปในตัวตนและจิตใจของเขาทีละน้อย ๆ หน้า379

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) สรุป จากผลการศกึ ษา สถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัวนั้น พบว่า ยังคงมีป๎ญหายาเสพติด ป๎ญหาทางด้าน เยาวชน ป๎ญหาความขัดแย้งของครอบครัวระหว่างสามี-ภรรยา ป๎ญหาความขัดแย้งระหว่างญาติพี่น้อง ดังนั้น หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องควรมนี โยบายและมาตรการในการปูองกันและแกไ้ ขปญ๎ หาความรนุ แรงท่ีเกิดข้ึนภายในครอบครัว และสงั คม ดังกลา่ ว. ขอ้ เสนอแนะ 1. นานกั เรียนมาฟ้ืนฟูทางด้านจิตใจ โดยให้ไปอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีมีผู้ใหญ่ให้ความรัก และความอบอุ่น เพราะเขาไม่ควรใชช้ ีวิตอยกู่ ับครอบครวั ที่มีความขัดแย้งระหว่างสามี-ภรรยา 2. นานกั เรยี นมาทดสอบจนมน่ั ใจวา่ เดก็ คนนสี้ ามารถเอาชนะประสบการณ์ร้าย ๆ ได้และพร้อมท่ีจะใช้ชีวิต ไดอ้ ยา่ งปกตเิ หมือนกบั ครอบครัวอ่ืนทีไ่ ดค้ วามรกั และความอบอุ่น เอกสารอา้ งองิ มนัส สงู ประสิทธ์.ิ (2560, กนั ยายน). การแสดงออกทางความคิดของคนในแต่ละ ชัชวาลย์ ป๎ญญภายัตจิ ต.ิ (2557). ครอบครัวไม่ ยุคสมยั เหนียวแน่น ฐานชีวิตไม่ม่ันคง. สบื คน้ จาก ttp://www.thaihealth.or.th/Content/ พฤติกรรมของเดก็ /วัยรุ่นยุคนต้ี อ่ การแสดงออกทาง 23817-ครอบครวั ไม่เหนียวแน่%20 ความคิดที่ขอ้ จากัดตา่ งๆ ในอดตี มนี อ้ ยลง. ฐานชีวติ ไม่ม่นั คง.html งานนิทรรศการ UTOPIA: FEED YOUR THOUGHTS.ลานเอเทรียม 1 ศูนยก์ ารค้า ชายแดน เดชาฤทธ.ิ์ (2561)การศกึ ษา สยามเซ็นเตอร์, ประสบการณ์การทาผิดวนิ ัยของนกั เรยี น กรุงเทพฯ. ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จังหวัด ปทมุ ธานี. ไทยรัฐออนไลน์ (19 ธ.ค. 2562)ฆาตกรต่อเน่ือง สรุ างค์ โคว้ ตระกูล. (2550). จิตวทิ ยาการศกึ ษา. สืบค้นจาก กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณ์ https://www.thairath.co.th/news/society/1 มหาวิทยาลยั . 730106 Bandura, A. (1977). Social foundations of เดลนิ วิ ส์ (14 ก.ค. 2562) ลา่ แกง๊ โจท๋ มิฬดกั ตี thought and action: a social cognitive หน่มุ ดับ สบื ค้นจาก theory. Englewood Cliffs, NJ, USA: Prentice- Hall, Inc. https://www.dailynews.co.th/crime/720406 Lichtman, M. (2013). Qualitative Research หน้า380

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) in Education A user‖s Guide. society.go.th/main.php? Thousand Oaks, California SAGE filename=index Publications, Inc. Strauss, A., & Corbin, J. (1990). Basics of Maslow, A. H. (1987). Motivation and qualitative research: Grounded Personality (2nd ed.). New York: theory procedures and Harper & Row. techniques. Newbury Park, CA: Sage. Ministry of Social Development and Human Security.(2016) Data centers. Thai PBS News. (2560, 12 มิถุนายน). วัยรุ่น Violence against children. Women ซิง่ รถ จยย.ปดิ ถนนกวา่ 100 คนั จ. and violence in the family. นครสวรรค์. Thai PBS News. สืบคน้ จาก Retrieved From https://www.m- https://news.thaipbs.or.th/content/263367 หนา้ 381

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ประสทิ ธผิ ลของรูปแบบการเรียนการสอนแบบ AFTER Model เพอ่ื การเสรมิ สร้างทกั ษะการกากบั ตนเองและ ทักษะบรหิ ารจดั การชีวิตของเด็กปฐมวัยในจังหวดั บุรีรัมย์ The Effectiveness of Using The AFTER Model to Enhance Self-Regulation and Executive Functions of The Early Childhood Students in Buriram Province Thailand อดิศรบาลโสง วิทยาลัยนครราชสีมาจังหวัดนคราชสีมา E-mail [email protected] บทคัดยอ่ การวิจยั แบบกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงคเ์ พือ่ 1) ประยุกตร์ ูปแบบการเรยี นการสอนแบบ AFTER Model สาหรบั การจัดประสบการณก์ ารเรียนรใู้ นเด็กปฐมวยั 2) ศกึ ษาประสทิ ธผิ ลของรูปแบบการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ แบบ AFTER Model ในการเสริมสรา้ งทักษะการกากบั ตนเอง (Self-regulation) และทักษะสมอง EF (Executive Functions) สาหรับเด็กปฐมวัย โดยศกึ ษากลุ่มเดยี ววดั หลายคร้ังแบบอนุกรมเวลา ในเด็กชนั้ อนบุ าลปีท่ี 3 จานวน 30 คน เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ ได้แก่ แผนการจัดประสบการณ์การเรยี นร้สู าหรบั เดก็ ปฐมวยั วนั ละ 3 ชว่ั โมง เป็นระยะเวลา 20 สัปดาห์ เคร่อื งมือในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ไดแ้ ก่ แบบประเมินทกั ษะการกากับตนเองและทกั ษะบริหารจัดการชวี ติ ท่ี มคี ่า IOC ตง้ั แต่ 0.90-1.00 ค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟาของครอนบาค = .95 2) วิเคราะห์ขอ้ มูลดว้ ย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบีย่ งเบนมาตรฐาน และการทดสอบคา่ ที ผลการศึกษาวิจยั พบวา่ 1. การประยุกตร์ ปู แบบการเรียนการสอนแบบ AFTER Model เพือ่ การเสรมิ สรา้ งทกั ษะการกากบั ตนเอง และทกั ษะบรหิ ารจดั การชวี ิตในเดก็ ปฐมวัย ทาใหไ้ ดร้ ปู แบบการจดั ประสบการณ์การเรยี นรแู้ บบ AFTER Model สาหรับเดก็ ปฐมวยั 5 ขนั้ ตอน ได้แก่ 1) ข้นั สรา้ งความสนใจ(Attention) 2) ขัน้ คาดการณ์ลว่ งหน้า(Forethought) 3) ขน้ั วางแผนยุทธศาสตร(์ Tactic planning) 4) ขนั้ ปฏิบัตใิ หส้ าเร็จ(Execution) และ 5) ขัน้ สะท้อนผลงาน(Reflection) 2. รปู แบบการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรูแ้ บบ AFTER Model สาหรบั เดก็ ปฐมวัย มีประสทิ ธิผลดังน้ี 2.1 สามารถเสริมสรา้ งทักษะการกากบั ตนเองของกล่มุ ตัวอยา่ งใหม้ ีพฒั นาการสงู ขึ้น ร้อยละ 16.21 โดยค่าคะแนนเฉลี่ยหลงั การทดลองสูงกวา่ กอ่ นการทดลอง อย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ทิ ี่ระดบั .05 2.2 สามารถเสริมสร้างทักษะบริหารจัดการชีวิตของกลุ่มตัวอย่างให้มีพัฒนาการสูงข้ึน ร้อยละ 18.23โดยค่าคะแนนเฉลี่ยหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ. 05 คาสาคญั :การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้แบบ AFTER Model / การกากับตนเอง / การบรหิ ารจดั การชีวิต ABSTRACT หนา้ 382

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) This research was aimed to: 1) applying an Instructional Model which called AFTER Model to enhance Self-Regulation and Executive Functions of the early childhood students; and 2) study the effectiveness of the instructional Model which was developed. The study consisted of a Quasi- Experimental Design, which was conducted by a Single-group interrupted Time-series Design. The samples comprised of 30 kindergarten grade 3 students who were taught by the AFTER Model. The experimental instruments were the AFTER Model lesson plans with the sessions of the trail totaling 20 weeks, 3 hours a day for 1 semester. Self-Regulation Scales and Executive Functions Scales (SRS&EFS) with an IOC of 0.90-1.00, Cronbach's Alpha Co-efficient = .95 were utilized as instruments for data collecting. Percentage, mean, standard deviation and t-test were used as data analysis. The findings were as follows: 1. The AFTER Model which applied for the early childhood students is consists of 5 main components: 1) Attention 2) Forethought 3) Tactic Planning 4) Execution and 5) Reflection. 2. The AFTER Model for the early childhood students which had applied have the effectiveness as follows: 2.1 The enhancing of Self-Regulation found that mean scores post-test were 16.21 percent increasing, and higher than the mean scores pre-test at .05 level of significance. 2.2 The enhancing of Executive Functions found that mean scores post-test were 18.23 percent increasing, and higher than the mean scores pre-test at .05 level of significance. KEYWORDS: AFTER MODEL, SELF-REGULATION, EXECUTIVE FUNCTIONS บทนา มนุษย์มีความโดดเดน่ ตา่ งไปจากส่ิงมีชีวิตอ่ืนๆ อย่างมากมาย เนื่องจากมีความสามารถและทักษะในการคิด (Thinking)ที่ลึกซึ้ง(อดิศร บาลโสง, 2560) ด้วยสมอง(Brain)ที่มีประสิทธิภาพสูงกว่าและมีความสาคัญที่สุดใน วิวัฒนาการของมนุษย์ชาติ สมองมนุษย์ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก (MacLean, 1990) ได้แก่ 1) ส่วนสมอง สตั ว์เลอ้ื ยคลาน(Reptilian Brain, Reptilian complex) ส่วนนี้ควบคุมการทางานของระบบร่างกาย สัญชาตญาณเพื่อ การมชี วี ิตรอด 2) สมองสว่ นลมิ บิก(Limbic Brain, limbic system) ควบคุมด้านอารมณ์ และความทรงจาต่างๆ และ 3) สมองส่วนหน้า(Prefrontal Cortex, Neo-mammalian complex) ควบคุมด้านความสนใจ ความต้ังใจ การใช้ เหตผุ ล การวางแผนตา่ งๆ ตลอดจนการควบคมุ ตนเองให้ไปสคู่ วามสาเร็จ (Kral & MacLean, 1973) พัฒนาการของสมองส่วนหน้าน้ันเร่ิมต้ังแต่แรกเกิดจนถึงวัยผู้ใหญ่ ซึ่งสะท้อนถึงการพัฒนาทักษะการคิดและเชาว์ ป๎ญญาซึ่งได้รับอิทธิพลจากสภาพแวดล้อม เป็นทักษะสาคัญที่จะทาให้เด็กมีพัฒนาการด้านสังคมซ่ึงเรียกว่าทักษะ บริหารจัดการชีวิต(Executive Functions) หรือทักษะสมอง EF เด็กท่ีมีทักษะนี้ดีตามวัยจะสามารถควบคุมอารมณ์ ความตอ้ งการ ความอยากได้ สามารถยงั้ ใจได้ กากบั ตนเองใหม้ งุ่ มนั่ จดจ่อไปสู่ความสาเร็จได้ และเม่อื เข้าสู่วัยเรียนและ หน้า383

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) วัยรุ่น ทักษะสมอง EF จะย่ิงมีความสาคัญต่อความสาเร็จทางการเรียนมากข้ึน เนื่องจากต้องมีความรับผิดชอบต่อ ตัวเองมากข้ึน ในขณะท่ีมีส่ิงมาล่อใจมากมาย เด็กจึงต้องสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองในทุกเรื่องจึงจะประสบ ความสาเร็จได้(นวลจนั ทร์ จฑุ าภกั ดีกลุ , 2562) ทกั ษะบรหิ ารจดั การชีวิต(Executive Functions) ประกอบด้วยทกั ษะการย้งั คิดไตร่ตรอง(Inhibitory Control) ทักษะ ความจาใช้งาน(Working Memory) และทักษะการยืดหยุ่นความคิด(Shift/Cognitive Flexibility) เป็นกลุ่มทักษะที่ ชว่ ยให้บคุ คลคดิ กอ่ นลงมอื ทาเสมอ เป็นตน้ วา่ การสงบสตอิ ารมณแ์ ละยับยัง้ ชั่งใจ มีสมาธจิ ดจอ่ อยู่กบั การทางาน การใช้ เหตุผลในการตัดสินใจ การแก้ไขป๎ญหาอย่างยืดหยุ่น การจัดลาดับความสาคัญหรือเปลี่ยนแปลงความต้องการ หรือ แม้แตก่ ารมมี มุ มองใหมๆ่ ต่อส่ิงต่างๆรอบตัว เหล่านี้คือทักษะของการคิดอย่างมีวิจารณญาณ(Critical Thinking) เพ่ือ ช่วยให้บุคคลเหล่าน้ันประสบความสาเร็จหรือบรรลุเปูาหมายที่กาหนด(Diamond, A. & Daphne, S. L., 2016) ทักษะสมอง EF สามารถเสริมสร้างและพัฒนาได้ ด้วยการจัดประสบการณ์ใน 3 กลุ่มทักษะ ต่อไปน้ี 1) กลุ่มทักษะ พ้ืนฐาน(Basic Skills) 2) กลุ่มทักษะการกากับตนเอง(Self-Regulation) และ 3) กลุ่มทักษะปฏิบัติการให้สาเร็จ (Execution) (ประเสรฐิ ผลิตผลการพิมพ์, 2559) การกากับตนเอง(Self-regulation) เป็นความสามารถภายในท่ีควบคุมการแสดงพฤติกรรม และสมรรถนะในการ ทางานให้บรรลุจุดมุ่งหมายของบุคคล เป็นพื้นฐานของการเรียนรู้แบบกากับตนเอง(Self-regulated Learning) ซ่ึง ผู้เรยี นมีบทบาทสาคัญในการกาหนดเปาู หมาย การควบคุมการเรียนรู้ การสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้(Pintrich, 2000 cited in Arsal, 2009) ผู้เรียนท่มี ีการกากบั ของตนเองดีจะสามารถควบคมุ กระบวนการการเรียนรู้ ความคิด อารมณ์ ความรสู้ ึก และการแสดงออกที่เป็นผลดีต่อการเรียนรู้ (Boekaerts and Corno, 2005 cited in Arsal, 2009: 85) มี กระบวนการรู้คิด(Metacognitive process) ในการสร้างความเข้าใจ และมีการประเมินตนเองเพ่ือการวางแผนไปสู่ ความสาเร็จตอ่ ไป(Bembenutty, 2009: 562) การจัดประสบการณ์การเรยี นรูด้ ว้ ยรปู แบบการจัดการเรยี นการสอนแบบวางยุทธศาสตร์ชีวิต หรือ AFTER Model ซึ่ง พัฒนาโดยอาศัยทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิป๎ญญา(Social Cognitive Theory) และแนวคิดการวางแผน ยุทธศาสตร์ชีวิต(Strategic Life Planning) ประกอบด้วย 5 ข้ัน ดังนี้ 1) ขั้นสร้างความสนใจ (Attention Phase) 2) ขน้ั คาดการณ์ลว่ งหน้า (Forethought Phase) 3) ขั้นวางแผนยุทธศาสตร์ (Tactic planning Phase) 4) ขั้นปฏิบัติให้ สาเรจ็ (Execution Phase) 5) ขน้ั สะทอ้ นผลงาน (Reflection Phase) มวี ัตถปุ ระสงค์เพอ่ื เสริมสร้างการกากับตนเอง (Self-Regulation) และผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน(Learning Achievement) (อดศิ ร บาลโสง วลัย อศิ รางกูร ณ อยุธยา และอัมพร ม้าคนอง, 2557: 4) อดิศร บาลโสง วลัย อิศรางกูร ณ อยุธยา และอัมพร ม้าคนอง (2557) ได้ใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบ AFTER Model ในรายวชิ าสุขศึกษาระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น สปั ดาห์ละ 1 ช่ัวโมงติดต่อกัน 1 ภาคเรียน จานวน 20 สัปดาห์ พบวา่ คะแนนเฉล่ียของผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น และคะแนนเฉล่ียดา้ นการกากับตนเองหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการ ทดลองอยา่ งมีนยั สาคญั ท่รี ะดบั .05 เขาได้สรปุ วา่ การจดั การเรยี นการสอนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนแบบ AFTER Model สามารถเสริมสร้างการกากับตนเอง และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาสุขศึกษาของนักเรียนชั้น มธั ยมศึกษาตอนตน้ ได้จริง ทักษะบรหิ ารจดั การชวี ิตสามารถพัฒนาและเสรมิ สร้างใหเ้ กดิ ขน้ึ ได้ในทกุ ช่วงวัย โดยเฉพาะวัยทารกจนถึงก่อนวัยเรียน ด้วยหลักสูตรทีม่ กี ระบวนการจัดการเรียนรู้ หรือการจัดประสบการณ์ ที่เน้นการออกแบบเพื่อเสริมสร้างพัฒนาการท่ี หนา้ 384

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) สอดคล้องกับทักษะสมอง EF ในระยะเวลาท่ตี ่อเน่ืองอย่างเหมาะสม เราสามารถประเมินพัฒนาการของเด็กๆ ได้จาก การสงั เกตพฤติกรรมอย่างใกล้ชดิ โดยใชด้ ลุ ยพินิจของผูป้ กครองและครู อย่างไรก็ตามหลักสูตรการพัฒนาทักษะสมอง EF ควรจะไดร้ ับการส่งเสริมใหม้ กี ารใช้ตง้ั แตร่ ะดบั ปฐมวัยเป็นต้นไป (Bierman, et. al. 2008, Thorell, et. al. 2009, Diamond, Lee, 2011) การจัดประสบการณ์การเรยี นรเู้ พื่อเสริมสรา้ งการกากบั ตนเองและการบริหารจดั การชีวิตมีความสอดคล้องกับปรัชญา ของ หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560 ทีก่ ล่าววา่ “การศึกษาปฐมวัย เป็นการพัฒนาเด็กต้ังแต่แรกเกิดถึง 6 ปีบรบิ รู ณ์ อยา่ งเป็นองค์รวม บนพ้ืนฐานการอบรมเล้ียงดูและการส่งเสริม กระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติ และพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละคนให้เต็มตามศักยภาพ ภายใต้บริบทสังคมและวัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่ ด้วย ความรัก ความเอือ้ อาทร และความเข้าใจของทุกคน เพอ่ื สร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็ก พัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ ท่ีสมบูรณ์ เกิดคุณค่าต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ” (คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, 2560) การวิจยั ครง้ั นจี้ งึ มจี ดุ มงุ่ หมายเพื่อศกึ ษาและแสวงหารูปแบบการเรยี นการสอนแบบที่มีประสิทธิผลเหมาะสม ตอ่ การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างการกากบั ตนเองและทกั ษะบริหารจัดการชีวิตสาหรับเด็กปฐมวัย ซ่ึง เป็นพน้ื ฐานของการพัฒนาศักยภาพผู้เรยี นส่คู วามเปน็ มนษุ ยท์ ่ีสมบูรณ์ เพ่ือให้สามารถใช้ชีวิตสาหรับยุคศตวรรษท่ี 21 และเปน็ พลเมืองทมี่ คี ณุ ภาพของชาตใิ นอนาคตต่อไป คาถามการวิจัย 1. รูปแบบการเรียนการสอนแบบ AFTER Model สามารถประยุกต์สู่การจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาหรับเด็ก ปฐมวัยไดอ้ ยา่ งไร 2. การจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบ AFTER Model ในข้อ 1 จะสามารถเสริมสร้างการกากับตนเอง (Self- regulation) และทกั ษะบรหิ ารจดั การชวี ิต (Executive Functions) หรอื ทักษะสมอง EF ในเดก็ ปฐมวยั ไดห้ รอื ไม่ วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั 1. เพื่อประยุกต์รูปแบบการเรียนการสอนแบบ AFTER Model สาหรับการเสริมสร้างทักษะการกากับ ตนเอง และทักษะบริหารจดั การชีวติ ในเด็กปฐมวัย 2. เพ่ือศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนแบบ AFTER Model ต่อการ เสริมสร้างทกั ษะการกากับตนเองและทกั ษะบรหิ ารจดั การชวี ิต ในเด็กปฐมวยั สมมตฐิ านของการวจิ ยั รูปแบบการเรียนการสอนแบบ AFTER Model สามารถประยุกต์ให้เหมาะสมต่อการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ สาหรบั เด็กปฐมวัยได้ และสามารถเสริมสรา้ งทักษะการกากับตนเองและทกั ษะบรหิ ารจดั การชวี ิต ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) เด็กชั้นปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียนการสอนแบบ AFTER Model มีทักษะ การกากบั ตนเอง (Self-regulation) สูงขึ้นอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดบั .05 หนา้ 385

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 2) เดก็ ช้นั ปฐมวัยที่ได้รบั การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียนการสอนแบบ AFTER Model มีทักษะ บริหารจัดการชวี ิต (Executive Functions) หรอื ทักษะสมอง EF สูงข้ึนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถติ ิทรี่ ะดบั .05 ขอบเขตของการวิจยั การวจิ ยั คร้ังน้เี ป็นการวจิ ัยและพัฒนาเพื่อการประยุกต์รูปแบบการเรียนการสอนแบบ AFTER Model เพ่ือเสริมสร้าง ทักษะการกากับตนเอง(Self-regulation) และทักษะบริหารจัดการชีวิต(Executive Functions) สาหรับเด็กปฐมวัย ได้กาหนดขอบเขตการศึกษาวจิ ยั ดงั น้ี 1. ประชากรที่ใชใ้ นการศึกษาวิจัย ไดแ้ ก่ เด็กปฐมวัยในจังหวดั บรุ ีรมั ย์ทกุ สงั กัด 2. เคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษาวิจัย ประกอบด้วย 1) รูปแบบการเรียนการสอนแบบ AFTER Model ท่ีได้รับการ ประยุกต์แล้วจะดาเนินการทดลองใช้ในการวางแผน และจัดประสบการณ์การเรียนรู้ สาหรับเด็กช้ันปฐมวัย 2) แบบ ประเมนิ ทักษะการกากบั ตนเองและทกั ษะบริหารจัดการชวี ิต ตามการรบั รู้ของครหู รอื ผูส้ อน (SRS&EFS) 3. ตัวแปรที่ศกึ ษาครง้ั นี้ ประกอบดว้ ย 3.1 ตัวแปรต้น หรือตัวแปรจัดกระทา ได้แก่ รูปแบบการเรียนการสอนแบบ AFTER Model ท่ีผู้วิจัยได้ ประยุกตแ์ ละปรับให้เหมาะสมกับพฒั นาการเดก็ ชั้นปฐมวยั เพอื่ เปน็ มาตรฐานในการจดั ทาแผนการจัดประสบการณ์การ เรยี นร้แู บบ AFTER Model สาหรบั เดก็ ปฐมวยั 3.2 ตัวแปรตาม การวจิ ยั คร้งั น้ไี ดก้ ารศึกษาตัวแปรตาม 2 ตัวแปร ได้แก่ 3.2.1 การกากับตนเอง (Self-Regulation) หมายถึง ความสามารถของบุคคล ในการควบคุมการ แสดงพฤติกรรม และสมรรถนะในการทางานให้บรรลจุ ดุ มงุ่ หมาย สามารถวัดได้จากการรับรู้ความสามารถตนเองตาม คุณลักษณะได้แก่ 1) การกาหนดเปูาหมาย (Goals setting) 2) การวางแผนอย่างละเอียด (Elaboration) 3) การ จัดการทรัพยากร (Resources management) 4) ความต้ังใจและความพยายาม (Volitional & Effort) และ 5) การ ประเมินตนเอง (Self-reflection) (อดิศร บาลโสง และคณะ, 2557) สาหรับการศึกษาวิจัยในครั้งน้ีได้ปรับเพ่ือให้ เหมาะกับเดก็ ปฐมวัย จะศกึ ษาป๎จจยั การกากบั ตนเองทีส่ าคัญเพียง 3 ตัวแปร ได้แก่ 1) ความจดจ่อตั้งใจ (Focus and Attention) 2) การควบคุมอารมณ์ (Emotion Control) 3) การประเมินตนเอง (Self-Monitoring) (ประเสริฐ ผลติ ผลการพมิ พ์, 2559; Barkley, 2011) 3.2.2 ทักษะบริหารจัดการชีวิต (Executive Functions) หรือทักษะสมอง EF หมายถึง กระบวนการทางสมองระดับสูงทีส่ ่งผลต่อความสามารถในการใช้ชวี ิตประจาวันท่ีช่วยให้บคุ คลครองตนไปสู่ความสาเร็จ ตามเปูาหมาย โดยครูหรือผู้ปกครองสามารถสังเกตได้จากทักษะดังต่อไปนี้ (ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ , 2559; อภริ กั ษ์ ตาแมก่ ๋ง, 2562; Barkley, 2011) 1) ทักษะพื้นฐาน (Basic Skills) ประกอบด้วย 3 ทักษะ ได้แก่ 1) ความจาใช้งาน (Working Memory) 2) ความยงั้ คิดไตร่ตรอง (Inhibitory Control) และ 3) ความคดิ ยดื หยุ่น (Shift and Cognitive Flexibility) 2) ทักษะการกากับตนเอง (Self-Regulation) ประกอบด้วย 3 ทักษะ ได้แก่ 1) ความจดจ่อต้ังใจ (Focus and Attention) 2) การควบคมุ อารมณ์ (Emotion Control) และ 3) การประเมนิ ตนเอง (Self-Monitoring) 3) ทกั ษะการปฏบิ ัติใหส้ าเรจ็ (Execution) ประกอบด้วย 3 ทักษะ ได้แก่ 1) การจัดการวางแผน (Planning and Organizing) 2) การรเิ ร่ิมลงมือ (Initiating) และ 3) ความเพียรสเู่ ปาู หมาย (Goal-Directed Persistence) หน้า386

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) แนวคิดทฤษฎที ่เี กีย่ วขอ้ ง ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารที่เก่ียวข้องกับแนวทางการพัฒนาและประยุกต์การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ เพื่อ วิเคราะหแ์ ละสังเคราะห์เป็นหลักการและแนวทางของการศึกษาวจิ ัย ดังตอ่ ไปนี้ 1. รปู แบบการจัดการเรียนการสอนแบบ AFTER Model รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ AFTER Model พัฒนาจากพ้ืนฐานทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิป๎ญญา (Social Cognitive Theory) และแนวคิดการวางแผนยุทธศาสตร์ชีวิต(Strategic Life Planning) มีวัตถุประสงค์เพ่ือ เสริมสร้างการกากับตนเอง(Self-Regulation) และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน(Learning Achievement) ซึ่ง ประกอบด้วย ขั้นสอน 5 ข้ัน ได้แก่ 1) ข้ันสร้างความสนใจ (Attention Phase: A) 2) ขั้นคาดการณ์ล่วงหน้า (Forethought Phase: F) 3) ข้ันวางแผนยุทธศาสตร์ (Tactic planning Phase: T) 4) ข้ันปฏิบัติให้สาเร็จ (Execution Phase: E) 5) ขั้นสะท้อนผลงาน (Reflection Phase: R) (อดิศร บาลโสง วลัย อิศรางกูร ณ อยุธยา และอัมพร ม้าคนอง, 2557) 2. การกากับตนเอง (Self-regulation) การกากับตนเอง หมายถงึ ความสามารถในการควบคมุ พฤติกรรมของบุคคลในสภาวะปกติ เป็นตัวกาหนดบุคลิกภาพ สามารถเรียนรู้ เสริมสร้างและพัฒนาได้ บุคคลที่มีความสามารถกากับตนเองในระดับปกติ จะสามารถดาเนินชีวิตมี ปฏิสมั พนั ธ์ทางสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม (Bandura, 1989) สังเกตได้จากคุณลักษณะต่อไปนี้ 1) การกาหนดเปูาหมาย 2) การวางแผนอย่างรอบคอบ 3) การจัดการทรัพยากร 4) ความตั้งใจและความพยายาม 5) การประเมินตนเอง (อดิศร บาลโสง และคณะ, 2557) 3. ทกั ษะบริหารจดั การชวี ิต (Executive Functions) ทักษะบริหารจัดการชีวิต(Executive Functions) หมายถึง ความสามารถของบุคคลท่ีใช้ในการควบคุมความคิด (Cognitive) อารมณ์(Emotion) การกระทา(Action) ตลอดจนพฤติกรรม(Behavior) ท่ีมีทิศทาง(Direction) ไปสู่ ความสาเร็จ (Successes) ตามจุดมุ่งหมาย(Aim) หรือเปูาหมาย(Goal) ทักษะสมอง EF ประกอบกอบด้วย 3 ทักษะ หลัก และทักษะย่อยที่มีความสาคญั ดังต่อไปน้ี(ประเสรฐิ ผลิตผลการพิมพ์, 2559; อภิรักษ์ ตาแม่ก๋ง, 2562; Barkley, 2011) 1) กลุ่มทักษะพ้ืนฐาน (Basic Skills) ประกอบด้วย 3 ทักษะ ดังนี้ 1.1) ความจาใชง้ าน (Working Memory) 1.2) ความยั้งคดิ ไตร่ตรอง (Inhibitory Control) 1.3) ความคดิ ยดื หยนุ่ (Shift and Cognitive Flexibility) 2) กล่มุ ทกั ษะการกากับตนเอง (Self-Regulation) ประกอบด้วย 3 ทักษะ ดงั นี้ 2.1) ความจดจอ่ ต้งั ใจ (Focus and Attention) 2.2) การควบคมุ อารมณ์ (Emotion Control) 2.3) การประเมนิ ตนเอง (Self-Monitoring) 3) กลมุ่ ทักษะปฏบิ ัติการให้สาเร็จ(Execution) ประกอบด้วย 3 ทักษะ ดงั นี้ 3.1) การจดั การวางแผน (Planning and Organizing) หน้า387

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 3.2) การรเิ รม่ิ ลงมอื (Initiating) 3.3) ความเพียรสเู่ ปาู หมาย (Goal-Directed Persistence) จากการศึกษางานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วข้องสรปุ ได้วา่ ทักษะบริหารจัดการชีวิต สามารถพัฒนาและเสริมสร้างให้เกิดขึ้นได้ในทุก ช่วงวัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยทารกจนถึงก่อนวัยเรียน ด้วยระยะเวลาที่ต่อเน่ืองและประเมินพัฒนาการได้จากการ สังเกตพฤติกรรมโดยใช้ดุลยพินิจของผู้ปกครองและครู ดังนั้นการจัดระสบการณ์การเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะบริหาร จัดการชีวติ จงึ ควรได้รบั การสง่ เสรมิ ใหเ้ ริม่ ใช้ต้งั แต่ระดบั ปฐมวยั เปน็ ตน้ ไป วธิ ดี าเนินการวจิ ยั การทดลองใช้แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยรูปแบบ AFTER Model ได้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบ ผสมผสานรูปแบบ(Mixed Model Research) ระหว่างวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research) และวิธีวิจัยเชิง ปริมาณ(Quantitative Research) ใช้รูปแบบการวิจัยก่ึงแบบทดลอง(Quasi-Experimental Designs) แบบศึกษา กลุ่มเดียววัดหลายคร้ังแบบอนุกรมเวลา(Single-group interrupted Time-series Design) (Kerlinger & Lee, 2000; วรรณี แกมเกตุ, 2551: 141-145) เป็นกระบวนการหลัก ดังแผนภาพต่อไปนี้ E = O1 x O2 x O3 x O4 x O5 O6 กาหนดให้ O1 แทน การวัดตัวแปรก่อนการทดลองสัปดาห์ที่ 1 O2-5 แทน การวดั ตัวแปรระหวา่ งการทดลองสปั ดาห์ที่ 5, 10, 15, 20 ตามลาดบั O6 แทน การวัดตัวแปรหลงั การทดลองสปั ดาห์ที่ 25 X แทน ตวั แปรจัดกระทา (treatment variable): แผนการจดั ประสบการณ์การเรียนร้ตู ามรปู แบบ AFTER Model ท่พี ัฒนาข้ึน ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ประชากรของการวิจัยครั้งน้ีได้แก่นักเรียนชั้นอนุบาลปีท่ี 3 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยได้จากการคัดเลือกตาม ข้นั ตอนตอ่ ไปนี้ 1. เลือกโรงเรียนเปูาหมายแบบเจาะจง (Purposive sampling) ได้โรงเรียนอนุบาลศรทิพย์ อาเภอบ้านกรวด จังหวัด บุรีรัมย์ เป็นโรงเรียนเอกชน ประเภทสามัญศึกษา สังกัดสานักคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ ในเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 จากจานวนโรงเรียนทุกสังกัดท้ังหมด 234 โรงเรยี น ด้วยเหตผุ ลด้านความพร้อมของบคุ ลากรและความสะดวกในการเดนิ ทาง 2. เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบง่าย (Simple random sampling) โดยการสุ่มจากการจับฉลากเลือกช้ันเรียน คละระดับชัน้ อนบุ าล 1-3 ได้ชน้ั อนุบาล 3 แลว้ จงึ สมุ่ จับฉลากเลือกห้อง 1) สีน้าเงิน และ 2) ห้องสีชมพู ได้ห้องสีชมพู มีเด็กนักเรียนปฐมวัยกลุ่มทดลองจานวน 30 คน เพ่ือการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามรูปแบบ AFTER Model ที่ ผูว้ ิจัยไดป้ ระยกุ ตแ์ ละปรับใหเ้ หมาะสมกบั พัฒนาการของเดก็ ปฐมวยั หนา้ 388

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการวจิ ัย เคร่ืองมือในการวจิ ยั และพฒั นาครั้งน้ี มีท้ังหมด 3 รายการ ดังน้ี 1) แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนการสอนแบบ AFTER Model ประเมินคุณภาพโดย ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการจัดการเรียนการสอนสาขาปฐมวัย จานวน 3 ท่าน พบว่ามีค่า IOC ต้ังแต่ 0.80-1.00 จากน้ัน นาไปทดลองใช้กับเดก็ ชนั้ อนบุ าลปที ี่ 3 ท่ีมใิ ชก่ ลุ่มตัวอย่าง ที่โรงเรียนศรทิพย์วิจิตรป๎ญญา อาเภอประโคนชัย จังหวัด บรุ รี ัมย์ แล้วจงึ นาประเด็นทีพ่ บป๎ญหาอุปสรรคไปปรับปรุงแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพ่ือการนาไปใช้ในการ ทดลองกับกลมุ่ ตัวอยา่ งตอ่ ไป 2) แบบประเมินทักษะการกากับตนเองและทักษะบริหารจัดการชีวิต ตามการรับรู้ของครูหรือผู้สอน(SRS&EFS) ที่ ผูว้ ิจัยพฒั นาขนึ้ แบง่ เปน็ 3 ทกั ษะหลกั และ 9 ทกั ษะยอ่ ย โดยใช้มาตรวัดแบบรูบริกส์ (Rubrics score) ท่ีมีค่าคะแนน ตัง้ แต่ 0-4 คะแนน (Gredler & Garavalia, 2000) ประเมินและตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือโดยผู้เชี่ยวชาญด้าน จิตวิทยาการศึกษา ด้านการพัฒนาหลักสูตร และด้านการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน พบว่ามีค่า IOC ต้ังแต่ 0.90-1.00 จากนั้นนาไปทดลองใชก้ บั ครูผู้สอนปฐมวยั จานวน 3 ท่าน โรงเรียนศรทพิ ย์วจิ ิตรป๎ญญา อาเภอประโคนชัย จังหวดั บุรีรมั ย์ ได้คา่ สมั ประสิทธแ์ิ อลฟาของครอนบาค เทา่ กบั .95 การวิเคราะหข์ ้อมูล การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ในการวิจยั และพฒั นามี 2 ลักษณะ ดังน้ี 1. ข้อมูลเชิงปริมาณ การวิเคราะห์โดยสถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (M) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ทดสอบสมมติฐานโดยใชส้ ถติ เิ ชิงอ้างองิ ได้แก่ การทดสอบคา่ t (t-test for dependent samples (Paired t-test)) 2. ข้อมลู เชิงคณุ ภาพ วิเคราะหด์ ว้ ยวิธีการวิเคราะห์เนอ้ื หา (Content analysis) เพ่ืออธิบายลักษณะและความคิดเห็น ของกลมุ่ ตวั อยา่ ง ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล การศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนแบบ AFTER Model เพ่ือการเสริมสร้างทักษะการกากับตนเอง และทักษะบรหิ ารจัดการชีวิต ของเด็กปฐมวยั ในจงั หวดั บรุ รี ัมย์ ไดผ้ ลการวจิ ยั ทัง้ 2ระยะ ดงั ต่อไปนี้ ระยะที่ 1 การประยกุ ตร์ ูปแบบการเรียนการสอนแบบ AFTER Model เพ่ือให้เหมาะสมกับการจัดประสบการณ์ และการเรียนร้สู าหรับเดก็ ปฐมวยั การประยุกต์รปู แบบการจัดการเรียนการสอนแบบ AFTER Model ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพ่ือเสริมสร้างการกากับตนเอง และผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนกั เรียนมธั ยมศึกษาตอนต้น(อดิศร บาลโสง วลัย อิศรางกูร ณ อยุธยา และอัมพร มา้ คนอง, 2557: 15-21) ให้เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็กปฐมวัย โดยใช้ปรัชญาและหลักการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ด้วยการจัดทาเป็นตารางเปรียบเทียบตาม ขั้นตอนของ ตน้ ฉบับได้รูปแบบการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ AFTER Model ได้ดงั ต่อไปนี้ หนา้ 389

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ข้ันที่ 1 การสร้างความสนใจ (Attention) ความสนใจเป็นจุดเริ่มต้นท่ีทาให้บุคคลเกิดการเรียนรู้ เด็กๆมักสนใจ เหตุการณ์ทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั ตนเองและสง่ิ ใกล้ตวั ครูหรอื ผสู้ อนจะตอ้ งนาเร่อื งทีอ่ ยใู่ นความสนใจของเดก็ ๆท่เี ป็นเน้ือหาการ เรียนร้คู ร้งั นีม้ านาเข้าสบู่ ทเรียน ขั้นท่ี 2 การคาดการณ์ลว่ งหน้า (Forethought) ภายหลังนาเข้าสู่บทเรียนด้วยเรื่องท่ีเด็กๆ ให้ความสนใจจนเกิดภาพ จา และใชเ้ ปน็ อยา่ งต้นแบบ(Idols) ในขน้ั นเ้ี ด็กๆ จะเปน็ ผ้กู าหนดสง่ิ ทต่ี นเองตอ้ งการเรียนรไู้ วล้ ว่ งหนา้ โดยอาศัยข้อมูล ท่ีไดจ้ ากการเปรยี บเทียบความรู้ของตนเองกบั เกณฑ์ความร้ทู ่ีบทเรียนต้องการ ข้ันท่ี 3การวางแผนยุทธศาสตร์ (Tactic planning) เป็นการกาหนดวิธีการท่ีจะบรรลุเปูาหมายโดยใช้ต้นทุนต่าท่ีสุด เดก็ ๆ สามารถเห็นและเลือกช่องทางของการบรรลุเปูาหมาย โดยใช้ข้อมูลท่ีได้จากการวิเคราะห์ตนเองเข้ามาช่วยใน การกาหนดแผนยุทธศาสตร์การเรียนรู้ ขน้ั ที่ 4 การปฏิบัติการให้สาเร็จ (Execution) เปน็ การดาเนนิ ตามแผนยุทธศาสตร์ท่ีกาหนดไว้ เร่ิมต้นด้วยการประกาศ ความต้ังใจที่จะสาเร็จตามแผนต่อครูและเพ่ือนร่วมช้ันเรียน ครูหรือผู้สอนต้องเปิดโอกาสให้เด็กๆ ดาเนินการเรียนรู้ ตามที่พวกเขาวางแผนการเรยี นรไู้ ว้อยา่ งอิสระ ขั้นที่ 5การสะท้อนผลงาน (Reflection) เม่ือดาเนินการเรียนรู้ตามแผนยุทธศาสตร์แล้วเด็กๆ จะทบทวนตรวจสอบ และประเมินการเรยี นรขู้ องตนเองวา่ สาเร็จตามแผนหรือไมอ่ ย่างไร และจะปรับปรงุ แผนหรือการดาเนินการเรียนรู้ของ ตนในครง้ั ต่อไปอย่างไรบา้ ง ระยะท่ี 2 การทดลองใช้และประเมินประสิทธิผลรูปแบบการเรียนการสอนแบบ AFTER Model ท่ีได้รับการ ประยกุ ต์ใหเ้ หมาะสมกับการจัดประสบการณแ์ ละการเรียนรู้สาหรบั เดก็ ปฐมวัย ผวู้ ิจัยนาขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได้มาประมวลผลและวิเคราะห์ ได้ผลการวจิ ยั ดังตอ่ ไปน้ี 1. ผลการเก็บรวบรวมข้อมูลเพือ่ วดั ตัวแปรตาม ด้วยแบบประเมนิ ทกั ษะการกากับตนเองและทักษะบริหารจัดการชีวิต ตามการรับรู้ของครูหรอื ผสู้ อน (SRS&EFS) นามาเปรียบเทียบเพ่อื สงั เกตแนวโนม้ ความสามารถในการกากับตนเองของ กลมุ่ ตัวอยา่ ง ดงั ตาราง 1 และตาราง 2 ตาราง 1 ตารางแสดงระดับทกั ษะการกากับตนเอง เปรยี บเทยี บสปั ดาห์ท่ี 1 - 25 (n = 30) ตาราง 2 ตารางแสดงผลต่างคา่ คะแนนเฉลีย่ ของทกั ษะการกากบั ตนเอง เปรียบเทยี บสปั ดาหท์ ่ี 1 - 25 (n = 30) หน้า390

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ข้อมูลที่ปรากฏในตาราง 1 และ 2 แสดงใหเ้ ห็นวา่ คา่ คะแนนเฉลยี่ ทักษะการกากบั ตนเองของกลุม่ ตวั อย่างมีแนวโนม้ สูงข้นึ มากจากกอ่ นทดลองถึงระยะทดลองสปั ดาห์ท่ี 5 (เพิม่ ขึ้นรอ้ ยละ 6.38) จากสปั ดาหท์ ี่ 5 ถงึ สัปดาห์ท่ี 20 แนวโนม้ ไมแ่ น่นอนระยะหลงั การทดลองคือสปั ดาหท์ ่ี 25 มีแนวโน้มเพิ่มขน้ึ ในอัตราทลี่ ดลง(เพ่ิมขนึ้ ร้อยละ 0.26) อย่างไรกต็ าม เมอื่ เปรียบเทียบสัปดาห์ท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 25 พบว่ากลมุ่ ตัวอย่างมคี ะแนนเฉลยี่ ทักษะการกากบั ตนเองสงู ขนึ้ อยา่ งชัดเจน (เพิ่มขึ้นรอ้ ยละ 16.21) 2. ผลการเก็บรวบรวมข้อมูลเพอ่ื วัดตวั แปรตาม ด้วยแบบประเมนิ ทกั ษะการกากบั ตนเองและทกั ษะบริหารจัดการชวี ติ ตามการรบั รขู้ องครูหรอื ผู้สอน (SRS&EFS) นามาเปรยี บเทียบเพอ่ื สังเกตแนวโน้มทักษะบรหิ ารจัดการชีวิต หรอื ทกั ษะ สมอง EF ของกลุ่มตัวอยา่ ง ดงั ตาราง 3 และตาราง 4 ตาราง 3 ตารางแสดงระดบั ทักษะบริหารจดั การชวี ติ เปรยี บเทียบสปั ดาหท์ ่ี 1 - 25 (n = 30) ตาราง 4 ตารางแสดงผลต่างของทักษะบริหารจัดการชวี ิต เปรียบเทยี บสัปดาหท์ ี่ 1 - 25 (n = 30) ข้อมลู ที่ปรากฏในตาราง 3 และ 4 แสดงให้เห็นวา่ ค่าคะแนนเฉลย่ี ทักษะบริหารจัดการชีวิตของกลุ่มตัวอย่างมีแนวโน้ม สูงขึน้ มากจากก่อนทดลองถึงระยะทดลองสปั ดาห์ท่ี 5 (เพิ่มขน้ึ รอ้ ยละ 7.32) จากสัปดาห์ที่ 5 ถงึ สัปดาห์ท่ี 10, สัปดาห์ ที่ 10 ถึงสัปดาห์ท่ี 15, สัปดาห์ท่ี 15 ถงึ สปั ดาห์ท่ี 20 มแี นวโน้มเพ่มิ สูงข้ึนเพียงเล็กน้อยและไม่แน่นอน (ร้อยละ 5.86, 0.35, และ 1.04 ตามลาดับ) สว่ นระยะหลงั การทดลองคือสัปดาห์ที่ 25 มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนในอัตราท่ีลดลง(เพ่ิมข้ึนร้อย หน้า391


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook