Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ED-APHEIT 2020

ED-APHEIT 2020

Published by ED-APHEIT, 2020-04-06 04:37:45

Description: การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร
สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ
หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption”
ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.)

Keywords: ED-APHEIT 2020 ศึกษาศาสตร์ สสอท.

Search

Read the Text Version

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) situations that are difficult to remember. The ideas written in the teacher‖s journal were based on a personal observation of the researcher‖s classroom conditions. The validity of the instruments was measured by using the Indexed-Objective Congruence (IOC) method to look at the appropriateness of the language used, the coverage of the content and its relevancy. Three experts have validated the instruments with a score of 0.84, and any needed modifications were made after the trial data collection process. The reliability of the instrument process was done through a trial interview. Prior to the study, a trial group of 7 teachers were randomly asked with the 15-item semi-structured interview questions to gain insights of any misconceptions before using the interview questions as instrument for the study. A trial interview was also done to 3 fourth-year students to see whether the students have the enough knowledge about the topic and whether the questions were reliable and understandable enough to get concrete response from the participants. Adjustments were also made to ensure its reliability. Data Analysis A descriptive qualitative analysis was used to interpret the data recorded from the interviews and teacher‖s observation journal. This enables to detect and identify data and its association with other variables—to fully extract substantially the information being presented in this investigation. The analysis aimed to answer the questions made at the beginning of the study. Results The effects of teaching vowel phonograms have clearly demonstrated a visible evidence of alleviating oral reading skills Thai EFL learners in the university. The following findings were to answer the first research question “to investigate the effects of teaching vowel phonograms to improve the oral reading skills of fourth year EFL learners in a private university” from both the teacher‖s observation journal and the open-ended interview questions. 1) Teacher‖s observation journal Based on the teacher‖s observation journal, the effectiveness of teaching vowel phonogram was evident during and after the experimentation. This could be due to a gradual awareness of vowel phonograms during the instruction sessions and their learning expectations of finding ways in improve their oral reading skills. The experimental focus group has shown a หน้า192

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) promising change in their oral reading skills, their pronunciations, as well as their spelling skills; while the control group has little to none, although the instructor/researcher was also trying to give pronunciation practices. 2) Open-ended Interview questions Research results from the open-ended interview questions presented a vital evidence of the effectiveness of teaching vowel phonograms to improve oral reading skills of fourth-year EFL students in a private university. Aside from the importance of learning how to sound-out the vowel phonograms, the students found that this approach was able to help their oral reading skills improve. The participants also added that learning to sound-out words correctly in a manner where they would be understood is quite uplifting. The students also commented on having confidence with their spelling skills. The truthful interview responses of the volunteer participants have evidently demonstrated the effects of teaching vowel phonograms. Vowel phonogram instruction has helped not just the struggling or weaker students but it has also helped average to high level students on pronouncing words they have not encountered before. Students have also noted that their pronunciation has improved and their oral reading skills were better than before the teaching of the vowel phonograms. Some of the students stated that their confidence was boosted too. This gave the research a valuable outlook in pursuing oral reading skills of the students to change not just their oral reading skills but their attitude towards learning with confidence. The next findings were to answer the second research question “to find out whether learners‖ vowel phonograms awareness helped improve oral reading skills” from both the teacher‖s observation journal and the open-ended interview questions. The following outlines the details: 1) Teacher‖s observation journal Based on the teacher ‖s journal inputs regarding the students‖ vowel phonogram awareness, research results clearly showed that the teaching vowel phonograms to the experimental focus group has improved their oral reading skills, this is due to the increase of students‖ awareness on sounding-out the vowel phonograms correctly, this awareness was manifested through their midterm oral presentation project. The students were able to apply the vowel phonogram sounds in their presentations. Group interviews for teacher‖s observation journal หนา้ 193

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) could attest to the improvement on the learners‖ oral reading skills while the control group had shown a little to none in improving their oral reading skills. 2) Open-ended interview questions Vowel phonogram awareness was perceived by five students as a tool in improving oral reading skills of EFL learners. The students had detailed three main benefits that they had obtained when they acquired vowel phonogram awareness. Firstly, they had attested that their pronunciation and spelling skills have improved. At the beginning, most students were getting low spelling scores in class, but when they had learned of how vowel was sounded (single or multi- letter) they were able to get a firm understanding and put the letters into writing. Secondly, all five students found that this skill will help EFL learners read words that they haven‖t encountered. The participants also said that without mastering all the vowel sounds, they won‖t be able to sound the words correctly and read the words orally. Last but not the least, was one of the most important benefit of vowel phonogram awareness according to the students, communication skills. The student participants claimed that vowel phonogram awareness was a key for communication and understanding English more. Ability to communicate is what most learners aimed to fulfill. In conclusion, the study reveals that teaching vowel phonogram can help EFL students in cultivating their oral reading skills. The study also shows that there were still areas in EFL learning that need basic foundational skills instructions. Discussion This study observed the researcher‖s attempts to uncover the following: the oral reading problems of the fourth-year EFL students at a university; their basic foundational skills for reading; the teaching approaches that helped improved the skills of young adult EFL learners; the importance of foundational vowel phonograms instruction and its rules to improve their oral reading skills; and the need for the explicit teaching and understanding of phonemic blending, segmentation, isolation, and identity— using vowel phonograms—that are causal in helping EFL learners understand the logic of its sound which is made up of individual phoneme. Although the results came from only a few numbers of participants, but the study may have covered a very significant area in EFL that needs to be carefully investigated. The research also covered the importance of having vowel phonogram awareness in EFL learning. As proposed หนา้ 194

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) by the results, vowel phonogram awareness skill is very important learning the English language or in learning any other language. (Stuart, 1999) According to a research done by Vellutino et al. (1996), there is a high relationship between letter identification skills and success in beginning reading, which the researcher believed would help language learners improve their reading skills. Another research on early phonological awareness by Stuart (1999), acclaiming that the early concentration on teaching phoneme awareness and phonics can radically improve reading and spelling standards on second language learners. Moreover, studies conducted in the United States have proven that future reading achievement has colossal connection to the two strongest predictors for learners are phonemic awareness and comprehensiveness of the vocabulary (Stanovich, 1986; Juel, 1991; Wagner, Torgesen, & Rashotte, 1994). This study also agreed on Rauth & Stuart (2008) that phonemic awareness can be taught to struggling adult learners, just making sure of adjusting instructional intensity of the range, task, length and the type of response according to the levels of the students. This study also confirmed that sound recognition, as student participants have recognized can also be trained for improving both listening and speaking skills. In a study conducted by Stuart (1999), children who accelerated on their learning were because of their phonemic awareness and phonics skills, this has yielded significant results on the learners reading and writing skills. According to Lekwilai (2016), the study on using Reader‖s Theater to improve oral fluency of university students could promote positive effects on the students reading skills and collaboration skills. When students enjoyed performing and reading in front of other people, it is a sign of confidence. If basic oral reading such as good pronunciation was attained whatever methods educators used, active participation follows. This study confirmed that student participants have gained confidence mostly on their oral skills. Recommendations Most educators‖ goals are to impart learning that will bring about advancement and development for future generations. For future research, the researcher recommends to cover the following issues: หน้า195

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) - The need to bridge the gap of foundational knowledge in language learning needs to be addressed. - The future researchers may consider more studies regarding the correlation between pronunciation and vowel phonograms. - The different methodologies may be able to show more in learning attitude toward English. - The other teaching techniques and the role of the teacher in terms of teaching styles may be the option for future researchers to explore further. References Ministry of Education. (2017) Report on Education in Thailand. OEC EF. (2018). EF English Proficiency Index - A Publication. Retrieved from: comprehensive ranking of countries by http://www.onec.go.th/index.php/book English skills. [online] Available at: /BookView/1532. http://www.ef.edu/epi/ [Accessed 10 Oct 2018]. Moats, L. C. (1998). Teaching decoding. American Educator, 1-9 Retrieved from Eide, D. (2012). Uncovering the Logic of https://www.aft.org/sites/default/files/a English, A Common-Sense Approach to e_spring1998_teachingdecoding.pdf Reading, Spelling, and Literacy (2nd ed). USA: Pedia Learning Inc. OECD. (2018), Education at a Glance 2018: OECD Indicators, OECD Juel, C. (1988). Learning to read and write: A Publishing, longitudinal study of 54 children from Paris, https://doi.org/10.1787/eag-2018- first through fourth grades. Journal of en. Educational Psychology, 80(4), 437-447. Rauth, J., & Stuart, R., (2008). Sound http://dx.doi.org/10.1037/0022- Instruction: Phonemic Awareness in 0663.80.4.437 Kindergarten and First Grade. 5th Annual Reading First Conference. Lekwilai, P. (2016). Using Reader‖s Theater to Nashville. Tennessee. Develop Reading Frequency Among Thai EFL Learners. PASAA PARITAT. Vol. Ritchie, S.J., & Bates T.C. (2013). Enduring links 31, 163-188. from childhood mathematics and reading achievement to adult socioeconomic status. หน้า196

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) Psychological science. and Teacher Education, 8(4), 342-366. DOI:10.1177/0956797612466268 Waynesville, NC USA: Society for Stanovich, K. E. (1986). Mathew effects in Information Technology & Teacher Education. reading: Some consequences of Veilutino, F. R., Scanlon, D. M, Sipay, E., individual differences in the acquisition Small, S., Pratt, A.,Chen, R., & Denckla, of literacy. Reading Research M. (1996). Cognitive profiles of difficult Quarterly, 21(4), 360–407. Retrieved to remediate and readily remediated from: poor readers: Early intervention as a https://www.psychologytoday.com/file vehicle for distinguishing between s/u81/Stanovich__1986_.pdf cognitive and experiential deficits as Stuart, M. (1999). Getting ready for reading: basic causes of specific reading Early phoneme awareness and phonics disability. Journal of Educational teaching improves reading and spelling Psychology, 88, 601-638. in inner-city second language learners. Wagner, R. K., Torgesen, J. K., & Rashotte, C. British Journal of Educational A. (1994). Development of Reading- Psychology 69, 587–605 Related Phonological Processing Thieman, G. (2008). Using Technology as a Abilities: New Evidence of Bidirectional Tool for Learning and Developing 21st Causality from a Latent Variable Century Skills: An Examination of Longitudinal Study. Developmental Technology Use by Pre-Service Psychology 30, 73-87. Teachers with their K-12 Students. Contemporary Issues in Technology หน้า197

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) การพฒั นาหนว่ ยการเรยี นรู้ เรอ่ื ง Travel the world ด้วยการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ท่ีมผี ลต่อการร้เู รอื่ งภมู ศิ าสตรส์ าหรบั นกั เรยี นระดบั ช้ัน มัธยมศึกษาตอนตน้ โรงเรยี นสาธติ มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ปทมุ วัน The Development of the Learning unit “Travel the world” with Geographic Information Technology effecting on Geo-literacy for Junior high school students, Patumwan Demonstration school เฌอณรินทร์ วรรณรัตนางกรู ณภัสวรรก์ สภุ าแสน โรงเรียนสาธิตมหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ ปทุมวนั E-mail [email protected] บทคดั ยอ่ การวิจัยคร้ังน้ีมีความมุ่งหมายเพ่ือ 1) การพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ เร่ือง Travel the world ด้วยการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ที่มีผลต่อการรู้เร่ืองภูมิศาสตร์ สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน 2) ศึกษาผลของการใช้หน่วยการเรียนรู้ เร่ือง Travel the world ดว้ ยการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศทางภมู ิศาสตร์ ทมี่ ีผลตอ่ การรเู้ รื่องภูมิศาสตร์ ซึง่ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยนี้เป็น นกั เรยี นระดับช้นั มัธยมศึกษา ตอนต้น โรงเรยี นสาธิตมหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน ระดับช้ันละ 50 คน รวม เป็นจานวน 150 คน โดยการสุ่มอย่างง่ายขน้ั ตอนดาเนินการวิจัยมี 2 ระยะ ระยะที่ 1 การสร้างและพัฒนาหน่วยการ เรยี นรู้ ระยะที่ 2 การทดลองใช้หนว่ ยการเรียนรู้ เครือ่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย ไดแ้ ก่ 1) แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ 2) แผนการจัดการเรียนรู้ 3) แบบวัดการรู้เร่ืองภูมิศาสตร์ สถิติท่ีใช้ในการศึกษาข้อมูลได้แก่ ค่าเฉล่ีย และส่วน เบ่ียงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏดังน้ี 1. ผลการสารวจความคดิ เหน็ และสมั ภาษณเ์ กย่ี วกบั สภาพการจัดการเรียนรู้และความต้องการจาเป็นในการ พฒั นาหน่วยการเรยี นรู้ จากอาจารยก์ ลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และวชิ าการ พบวา่ ตอ้ งการใหม้ ีการพฒั นาหน่วยการเรียนรู้ Travel the world ด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทาง ภูมศิ าสตร์ ท่มี ผี ลตอ่ การรเู้ รอื่ งภมู ศิ าสตร์ อย่ใู นระดบั มาก 2. หน่วยการเรียนรู้ Travel the world ด้วยการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ท่ีมีผลต่อการรู้เร่ือง ภมู ิศาสตร์ ผเู้ ช่ยี วชาญมคี วามคิดเห็นว่ามีความเหมาะสมของโครงสร้าง ระยะเวลา รายละเอียดของหน่วยการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ และสามารถพฒั นาการรูเ้ รอื่ งภูมิศาสตร์ ผลการวจิ ยั ระยะท่ี 1 จงึ ไดห้ น่วยการเรียนรู้เรียนรู้ Travel the world ด้วยการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศทางภมู ิศาสตร์ ที่มีผลต่อการรู้เร่ืองภูมิศาสตร์ สาหรับจัดการเรียนรู้ในท้ัง 3 ระดบั ชั้น หน้า198

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 3. คะแนนการรูเ้ รอื่ งภมู ิศาสตร์ มคี า่ เฉล่ยี เท่ากบั 21.76 และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 3.67 4. การรู้เร่อื งภมู ศิ าสตร์ ของนกั เรียนหลังเรียนสงู กวา่ เกณฑร์ ้อยละ 65 อย่างมนี ัยสาคญั ทร่ี ะดบั .05 คาสาคญั :การพฒั นาหน่วยการเรียนรู้ การรู้เรอ่ื งภมู ศิ าสตร์ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์ ABSTRACT The purpose of this research were 1) to develop the learning unit “Travel the world” by using Geographic Information Technology effecting on Geo-literacy for Junior high school students, Patumwan Demonstration school 2) to study the effect of using the learning unit “Travel the world” by using Geographic Information Technology effecting on Geo-literacy for Junior high school students, Patumwan Demonstration school. The samples were 150 of Mathayomsuksa 1-3 students by simple random sampling. This research consisted of Phase 1;Creating and developing learning units and Phase 2;The trial of a learning unit. The research instruments were 1) questionnaire and interview form, 2) learning management plan, 3) Geo-literacy test. The statistics used in data analysis were percentage, mean, standard deviation and T-test. The research results are as follows 1. Survey results and interviews regarding learning management conditions and the need for learning unit development from Social Studies professors and The curriculum and academic administration committee found that they want to develop a learning unit by using Geographic Information Technology effecting on Geo-literacy at a high level. 2. The experts agree that the Learning unit “Travel the world” with Geographic Information Technology effecting on Geo-literacy is appropriate, in terms of structure, duration, details of the Learning unit, Learning activities and be able to improve Geo-literacy. 3. The result revealed that the mean of Geo-literacy scores is 21.76 and the standard deviation (S.D.) is 3.67 4. Geo-literacy of students after studying is higher than 65 percent criterion at .05 level of significant. KEYWORDS: The Development of the Learning unit, Geo-literacy, Geographic Information Technology หนา้ 199

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) บทนา จากการปรับปรุงหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) พบว่ามีการ ปรับปรุงตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์ในครั้งน้ี เป็นไปเพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามารถทางภูมิศาสตร์สอดคล้องกับ พฒั นาการตามช่วงวยั มีองค์ความรู้ท่ีเป็นสากล เพิ่มความสามารถ ทักษะ และกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ที่ชัดเจน ข้ึน โดย Edelson, D. (2011) ได้อธิบายไว้ว่า การรู้เรื่องทางภูมิศาสตร์ คือ ความสามารถในการใช้ความเข้าใจทาง ภูมิศาสตร์ และการใหเ้ หตุผลเชงิ ภมู ศิ าสตร์ เพ่ือนาไปสูก่ ารตดั สินใจอนั จะกอ่ ให้เกิดผลกระทบต่อโลก และมนุษย์ จาก ท่ีกล่าวมานั้น จึงทาให้เกิดการปรับปรุงสาระภูมิศาสตร์หลักสูตร ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 โดยมุ่งหวังให้ผู้เรียน เกิดทักษะ กระบวนการ และความสามารถทางภูมิศาสตร์ เพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ประกอบกัน (สานักวิชาการและ มาตรฐานการศึกษา. (2560) ประกอบด้วย 2 มาตรฐาน คือ มาตรฐาน ส 5.1 มุ่งเน้นการเข้าใจลักษณะทางกายภาพ ของโลกและความสมั พันธข์ องสรรพสงิ่ ซึ่งมผี ลต่อกันใชแ้ ผนท่ีและเครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และ สรุปข้อมูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพและมาตรฐาน ส 5.2 จะ เปน็ การมงุ่ เน้นใหเ้ ข้าใจปฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ งมนุษย์กับสงิ่ แวดลอ้ มทางกายภาพท่ีก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วิถีการดาเนิน ชีวิตมีจิตสานึก และมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืนซึ่งในการปรับปรุง มาตรฐาน และตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้ภมู ิศาสตร์ ของหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ครัง้ นพี้ บว่ามีการเนน้ ให้เกดิ การใชท้ กั ษะ และการคิดวเิ คราะหเ์ ปน็ หลัก และประกอบกับภมู ิศาสตร์น้ันเป็น ศาสตร์ทเี่ ป็นพลวัต จึงมกี ารเปลี่ยนแปลงอยตู่ ลอดเวลา การศึกษาด้านภูมิศาสตรจ์ ึงตอ้ งใช้ความรู้เชิงสหวิทยาการเพื่อ การขยายองค์ความรใู้ ห้ครอบคลมุ มิตใิ นการดาเนนิ ชีวิต การจัดการเรียนรู้สาระภูมิศาสตร์ เพ่ือพัฒนาการรู้เรื่องภูมิศาสตร์ ของผู้เรียนนั้น ต้องทาการพัฒนาทั้ง ความสามารถทางภูมิศาสตร์ (Geographical Abilities) อันประกอบด้วย 1) ความเข้าใจในระบบธรรมชาติ และ มนุษย์ ผ่านปฏิสัมพันธ์ 2) การให้เหตุผลทางภูมิศาสตร์ ผ่านการเช่ือมโยงระหว่างกัน 3) การตัดสินใจเชิงภูมิศาสตร์ อย่างเป็นระบบ ตามนยั รว่ มกบั การพฒั นากระบวนการทางภูมิศาสตร์ (Geographical Processes) อันประกอบด้วย 1) การตั้งคาถามเชงิ ภูมศิ าสตร์ 2) การรวบรวมข้อมูล 3) การจดั การข้อมูล 4) การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล 5) การ สรปุ เพือ่ ตอบคาถามและ ทกั ษะภูมศิ าสตร์ (Geographical Skills) อันประกอบด้วย 1) การสังเกต 2) การแปลความ ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ 3) การใช้เทคนิคและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ 4) การคิดเชิงพ้ืนท่ี 5) การคิดแบบองค์รวม 6) การใช้เทคโนโลยี 7) การใช้สถิติพื้นฐานโดยการพัฒนาการรู้เรื่องภูมิศาสตร์ นั้น จาเป็นต้องมีการพัฒนาทั้ง ความสามารถทางภูมิศาสตร์ (Geographical Abilities) กระบวนการทางภูมิศาสตร์ (Geographical Processes) และทักษะภูมิศาสตร์ (Geographical Skills) ร่วมกันซ่ึงจากประสบการณ์การสอนในสาระภูมิศาสตร์ระดับช้ัน มัธยมศกึ ษาตอนต้น พบป๎ญหาการขาดทกั ษะในการใชเ้ ครอ่ื งมือทางภูมศิ าสตรข์ องนักเรยี น เช่น ไม่รู้วิธีการอ่านแผนท่ี ไม่สามารถระบุที่ต้ัง และอาณาเขตของประเทศต่างๆ ได้ อีกทั้งยังขาดความรู้ด้านปฎิสัมพันธ์ทางภูมิศาสตร์ที่มีต่อ มนุษย์ จึงส่งผลต่อการตระหนักรู้ในป๎ญหาส่ิงแวดล้อม สอดคล้องกับ Edelson, D. (2011) ได้กล่าวไว้ในบทความ เร่ือง “Geographic Literacy in U.S. by 2025” ว่าวัยรุ่นอเมริกัน 1 ใน 3 ไม่สามารถบอกตาแหน่งท่ีตั้งของทวีปท่ี ตนอยู่ได้ หรือแม้กระท่ังระบุที่ตั้งของปุาเขตร้อนแอมะซอนได้ แต่ประเด็นสาคัญ คือ ชาวอเมริกันควรที่จะเข้าใจใน หนา้ 200

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ปฏิสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์ต่างๆ ในเชิงพื้นท่ี เพื่อสามารถวิเคราะห์ และพยากรณ์ผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนใน อนาคต ดว้ ยเหตผุ ลน้ีจงึ ได้ทาการวางแผน และตง้ั เปาู หมายเพือ่ พัฒนาการรู้ภูมศิ าสตร์ให้เปน็ สากล ผ้วู ิจัยในจงึ เลง็ เห็นวา่ การพัฒนาการรเู้ ร่ืองภมู ศิ าสตร์ นั้น นอกจากจะทาการพัฒนาหนว่ ยการเรยี นรู้แล้ว ยัง ต้องนาการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เข้ามาร่วมด้วย เพื่อให้เกิดประสิทธิผลที่ชัดเจนย่ิงข้ึน ตามท่ี Hilda et al. (2016) ได้ทาการสารวจเกี่ยวกับความสามารถในด้านการเขียนแผนที่ (Cartography) ของครูในระดับช้ัน ประถมศกึ ษา และมัธยมศกึ ษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภมู ิศาสตร์ พบวา่ รอ้ ยละ 75 ของผูต้ อบแบบสอบถาม เชอ่ื มน่ั วา่ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์จะช่วยผู้เรียนในการเรียนตามหลักสูตรได้ และกลุ่มผู้ตอบแบบส่วน ถามส่วนมากคิดว่าเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์เป็นส่ิงที่น่าสนใจ โดยผู้วิจัยมุ่งหวังว่าการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ Travel the world ร่วมกับใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศทางภมู ศิ าสตร์ จะสามารถพัฒนาการรูภ้ มู ศิ าสตร์ อันประกอบด้วย 1) ความเข้าใจในระบบธรรมชาติ และมนุษย์ ผ่านปฏิสัมพันธ์ 2) การให้เหตุผลทางภูมิศาสตร์ ผ่านการเช่ือมโยง ระหวา่ งกนั 3) การตัดสินใจเชงิ ภมู ศิ าสตรอ์ ย่างเป็นระบบตามนยั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ วตั ถปุ ระสงค์ 1. การพฒั นาหนว่ ยการเรยี นรู้ เรือ่ ง Travel the world ดว้ ยการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ท่ีมี ผลต่อการรู้เร่ืองภูมิศาสตร์ สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ ปทุมวัน 2. เพ่อื เปรยี บเทียบการรเู้ รื่องภมู ิศาสตรห์ ลงั เรยี นเทียบเกณฑ์ร้อยละ 65 ขอบเขตของการวจิ ัย ประชากรที่ใช้ในการวจิ ยั ประชากรทใ่ี ช้ในการวจิ ัยครงั้ นีเ้ ป็นนกั เรยี นระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนคริ นทรวโิ รฒ ปทมุ วัน ภาคปกติ จานวน 1,050 คน กลุ่มตวั อยา่ งทใ่ี ช้ในการวิจัย กลุม่ ตวั อย่างที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้เป็นนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรี นครนิ ทรวิโรฒ ปทมุ วัน ไดม้ าจากการสุ่มตวั อยา่ งแบบช้นั ภมู ิ (Stratified sampling) ก่อน จากน้ันทาการสุ่มตัวอย่าง แบบง่าย (Simple Random Sampling) เพอ่ื ใหไ้ ดน้ กั เรยี นระดับชน้ั ละ 50 คน รวม 150 คน ตวั แปรท่ใี ช้ในการวจิ ยั 1) ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) คือ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง Travel the world ด้วยการใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศทางภมู ศิ าสตร์ 2) ตัวแปรตาม (Dependent Variables) คือ การรเู้ รื่องภมู ิศาสตร์ วธิ ดี าเนินการวิจยั หน้า201

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) การพัฒนาการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง Travel the world ด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทาง ภมู ศิ าสตร์ ทีม่ ผี ลตอ่ การรู้เร่อื งภมู ศิ าสตร์ สาหรบั นักเรยี นระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนต้น โรงเรยี นสาธิตมหาวิทยาลัยศรี นครนิ ทรวโิ รฒ ปทมุ วันผ้วู จิ ัยได้ดาเนนิ การวจิ ยั โดยแบ่งออกเปน็ 2 ระยะ ระยะที่ 1 การพัฒนาหน่วยการเรยี นรู้และแผนการจัดการเรยี นรู้ 1. ศกึ ษาและวเิ คราะหข์ อ้ มูลพน้ื ฐาน ความต้องการจาเปน็ ในการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ 1.1 ศกึ ษาหลักสตู ร มาตรฐานและตวั ช้ีวดั และเอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ ง 1.2 ศึกษาความต้องการในการพัฒนาพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ เร่ือง Travel the world ด้วยการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ที่มีผลต่อการรู้เร่ืองภูมิศาสตร์ โดยใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ผู้ที่ เกยี่ วขอ้ ง ไดแ้ ก่ คณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและวิชาการ และคณะกรรมการงานหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนรู้ ฝาุ ยวชิ าการ จานวน 5 ทา่ น โดยผู้วิจัยสร้างและปรับปรุงแบบสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับความต้องการจาเป็นในการพัฒนา หน่วยการเรียนรู้จากแบบสอบถามและสัมภาษณ์ความคิดเห็นเก่ียวกับพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ เร่ือง Travel the world ด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ที่มีผลต่อการรู้เรื่องภูมิศาสตร์ จานวน 1 ฉบับ ซ่ึง แบบสอบถามมลี ักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดบั และคาถามปลายเปดิ 2. ออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้และสรา้ งหน่วยการเรยี นรู้ 2.1 นาข้อมูลท่ีได้จากการศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาวิเคราะห์เป็นข้อมูลเบ้ืองต้นในการพัฒนา หน่วยการเรยี นรู้ 2.2 นาผลการวเิ คราะหค์ วามตอ้ งการจาเปน็ ของผู้ทเ่ี กย่ี วข้องมาสรา้ งเปน็ หนว่ ยการเรยี นรู้ 2.2.1 ศกึ ษาหลักการจัดการเรยี นรู้สาระภมู ิศาสตร์ 2.2.2 กาหนดสาระการเรียนรู้ โดยนาทักษะและกระบวนการสาคัญของสาระภูมิศาสตร์มากาหนดกิจกรรม ในหนว่ ยการเรียนรู้ โดยนามาวเิ คราะหก์ จิ กรรมที่เสริมสร้างการรู้ภูมิศาสตร์ มารวบรวมและเรียบเรียงลาดับกิจกรรม พร้อมทัง้ กาหนดระยะเวลาทีเ่ หมาะสม 2.2.3 กาหนดจุดประสงค์ในการเรียนรู้ในแต่ละกิจกรรม เพ่ือให้แต่ละกิจกรรมสร้างให้ผู้เรียนเกิดการรู้ ภูมิศาสตร์ ตามทตี่ อ้ งการ 2.2.4 สรา้ งโครงสร้างการจัดการเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ ส่ือและแหล่งการ เรียนรู้ และการวัดและประเมนิ ผลทสี่ อดคลอ้ งกับสาระการเรียนรู้ และการรู้ภูมิศาสตร์ 3. สรา้ งแผนการจัดการเรียนรู้ ผู้วิจัยนาหน่วยการเรียนร้มู าสร้างแผนการจดั การเรียนรู้จานวน 16 คาบ โดยมีขั้นตอนการสร้างแผนการ จัดการเรยี นรู้ ดงั นี้ 3.1 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ จานวน 16 คาบ โดยสร้างแผนการจัดการ เรยี นร้ปู ระกอบดว้ ย โครงสร้างการจดั การเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ ส่ือและแหล่งการ เรียนรู้ การวัดและการประเมนิ ผล ทสี่ อดคลอ้ งกับสาระการเรยี นร้แู ละการรู้ภูมศิ าสตร์ หนา้ 202

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 3.2 นาหน่วยการเรยี นรู้ โครงสรา้ งหน่วยการเรยี นรู้และแผนการจดั การเรียนรู้ เสนอใหผ้ ู้เช่ยี วชาญที่มีความ เชีย่ วชาญดา้ นการจัดการเรียนรสู้ าระภมู ศิ าสตร์ จานวน 3 ทา่ น ตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหาความถูกต้องของ ภาษาท่ีใช้และกจิ กรรมการเรยี นรู้ 3.3 นาผลท่ีไดจ้ ากการตรวจไปแก้ไขปรบั ปรงุ หน่วยการเรยี นรู้ โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ รวมท้ังปรับปรุง แผนการจดั การเรียนรู้ เพอื่ ให้ได้แผนการจดั การเรียนรู้สาหรบั นาไปใช้กบั กลุ่มตวั อยา่ งต่อไป 4. ประเมนิ หนว่ ยการเรยี นร้แู ละแผนการจัดการเรียนรู้โดยผู้เช่ียวชาญด้านหลักสูตรและสาระภูมิศาสตร์ และปรับปรงุ หน่วยการเรยี นรู้ 4.1 ประเมินความเหมาะสมของหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ ด้านความเหมาะสมของ โครงสรา้ งหน่วยการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ 1) การจดั แบ่งเนอ้ื หาสาระของหน่วยการเรียนรู้ที่เน้นการรู้เร่ืองภูมิศาสตร์ 2) การ กาหนดระยะเวลาในการจัดการเรียนร้ทู ี่ใช้ในแตล่ ะหนว่ ย ความเหมาะสมกบั การสร้างและพัฒนาการร้เู ร่ืองภูมิศาสตร์ ด้านความเหมาะสมและความสอดคล้องของรายละเอียดของหน่วยการเรียนรู้ 1) ความเหมาะสมของกิจกรรมการ เรยี นรู้ 2) ความเหมาะสมของสือ่ และแหล่งการเรียนรู้ 3) ความเหมาะสมของระยะเวลาท่ีใช้ 4) การกาหนดกิจกรรม การเรยี นรู้มคี วามสอดคล้องกบั การร้เู รอ่ื งภมู ิศาสตร์ ท่ีพัฒนาขึน้ 4.2 ประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ ด้านความเหมาะสมและความสอดคล้องขององค์ประกอบต่าง ๆ ใน แผนการจัดการเรียนรู้ รายละเอียดของหน่วยการเรียนรู้ ด้านความเหมาะสมและความสอดคล้อง รายละเอียดของ หน่วยการเรียนรู้ 1) ความเหมาะสมของกจิ กรรมการเรยี นรู้ 2) ความเหมาะสมของสื่อการจัดการเรียนรู้และแหล่งการ เรยี นรู้ 3) ความเหมาะสมของระยะเวลาที่ใช้ 4) การกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการรู้เรื่องภูมิศาสตร์ ทพี่ ัฒนาขึ้น 4.3 ปรบั ปรุงหน่วยการเรียนรแู้ ละแผนการจดั การเรียนร้ตู ามคาแนะนาท่ีได้จากผู้เชีย่ วชาญ 4.4 นาหนว่ ยการเรียนรู้ไป Try Out กบั นักเรยี นทไี่ ม่ใช่กลมุ่ ทดลอง และนาส่ิงท่ีต้องปรับปรุงไปแก้ไขหน่วย การเรียนรู้ โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สื่อการเรียนรแู้ ละเวลาในการจดั การเรียนรู้ เพ่ือให้หน่วย การเรียนรู้มีความสมบูรณ์ขึน้ และนาไปใช้ทดลองตอ่ ไป ระยะท่ี 2 การทดลองใชห้ น่วยการเรยี นรู้ 1. เครอ่ื งมือในการวจิ ยั ได้แก่ แบบประเมินการรเู้ รือ่ งภูมศิ าสตร์ 2. ดาเนนิ การทดลองใชห้ น่วยการเรยี นรแู้ ละแผนการจดั การเรียนรู้ 2.1 ดาเนนิ การนาหน่วยการเรยี นรไู้ ปทดลองใช้ตามเนอื้ หาและกิจกรรมทีว่ างแผนไว้ โดยดาเนนิ การจัดการเรยี นรตู้ ามแผนการจัดการเรียนรู้ คร้ังละ 2 คาบ จานวน 8 สัปดาห์ รวมเป็น 16 คาบ โดยผูว้ ิจัยดาเนนิ การจัดการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง สงั เกตการร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ สังเกตพฤติกรรมและทักษะสาคัญ ของสาระภูมิศาสตร์ 2.2 ประเมินทักษะการปฏิบตั ิกจิ กรรม และประเมินการทากิจกรรมกลมุ่ 2.3 วดั การร้เู รอ่ื งภูมศิ าสตร์ ทดสอบหลงั การใชห้ นว่ ยการเรียนรู้เพ่อื วัดการร้เู ร่อื งภูมิศาสตร์ จานวน 30 ข้อ โดยผู้วิจัยเป็นผู้เก็บ รวบรวมข้อมลู ดว้ ยตนเอง 2.4 นาแบบวัดการร้เู รอ่ื งภูมศิ าสตร์ มาตรวจให้คะแนน หนา้ 203

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 3.วเิ คราะห์ขอ้ มลู การเปรียบเทียบการรู้เร่ืองภูมิศาสตร์ หลังเรียนเทียบกับเกณฑ์โดยนาคะแนนที่ได้จากแบบวัดการรู้เร่ือง ภูมศิ าสตร์ หลังเรียนด้วยหน่วยการเรยี นรู้ ตามแผนการจัดการเรียนรู้ทาการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยเทียบกับ เกณฑ์รอ้ ยละ 65 โดยใชส้ ถติ ทิ ดสอบ t – test for one sample ในการทดสอบ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ผลการวิจัยเรื่องการพัฒนาการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ เร่ือง Travel the world ด้วยการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศทางภมู ิศาสตร์ ที่มผี ลต่อการรเู้ รือ่ งภมู ิศาสตร์ สาหรบั นกั เรยี นระดับช้นั มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสาธิต มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ ปทมุ วัน ผู้วิจยั นาเสนอผลการวิจยั แบ่งออกเปน็ 2 ตอน ดังต่อไปน้ี ตอนท่ี 1 ผลการพฒั นาหนว่ ยการเรยี นรู้ 1.1 ผลการวิเคราะห์ความต้องการจาเป็นในการพฒั นาหนว่ ยการเรียนรู้ ผลการวเิ คราะหแ์ บบสอบถามความต้องการจาเป็นในการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้จากคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรและวิชาการและคณะกรรมการงานหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนรู้ ฝุายวิชาการ โรงเรียนสาธิต มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ปทุมวนั ดงั ตาราง ตาราง 1 ผลการสอบถามความคดิ เห็นเก่ียวกับความต้องการจาเป็นในการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง Travel the world ด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ที่มีผลต่อการรู้เรื่องภูมิศาสตร์ สาหรับนักเรียนระดับชั้น มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ ปทุมวัน รายการประเมิน คา่ เฉล่ีย S.D. แปลผล ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 4.80 .44 มากที่สุด 1. ควรพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ท่ีเน้นความเข้าใจในระบบธรรมชาติ และ 4.80 .44 มากที่สดุ มนุษย์ ผา่ นปฏสิ มั พนั ธ์ 2. หน่วยการเรียนรู้ควรมกี จิ กรรมเพ่ือสง่ เสริมการใหเ้ หตผุ ลทางภมู ศิ าสตร์ 4.80 .44 มากทสี่ ดุ ผ่านการเช่ือมโยงระหวา่ งกัน 3. หนว่ ยการเรียนรู้ควรมกี ิจกรรมเพ่ือส่งเสรมิ การตดั สินใจเชิงภมู ิศาสตร์ 4.80 .44 มากที่สุด อยา่ งเปน็ ระบบ ตามนัย ดา้ นส่อื /นวตั กรรม / แหลง่ การเรียนรู้ 4. หน่วยการเรียนรู้ควรมีสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการพัฒนา 4.80 .44 มากที่สุด ทกั ษะและความสามารถทางภมู ิศาสตร์ 5. ควรมสี อื่ ท่ีสง่ เสริมให้ผูเ้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ เขา้ ใจ สือ่ ความหมายได้ 4.80 .44 มากที่สดุ ชัดเจนและเป็นรูปธรรม 6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ประเภทดิจิทัลช่วยให้เกิดการเรียนรู้อย่างเป็น 4.80 .44 มากทีส่ ุด กระบวนการท่งี ่าย และรวดเร็ว หน้า204

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ดา้ นการวัดและการประเมินผล 4.40 .54 มาก 7. ควรมีเคร่ืองมือในการประเมินผลงาน ภาระงานหรือชิ้นงานที่สะท้อน 4.40 .54 มาก ตอ่ ทักษะและความสามารถทางภูมิศาสตร์ 4.40 .54 มาก 8. ควรมีเกณฑ์การประเมินด้วย Rubric ในการประเมนิ ผลงานภาระงาน หรือชิน้ งานทีส่ รา้ งขึน้ 9. ควรมีการวัดผลและประเมินผลอย่างหลากหลาย เช่น การเขียนสะท้อน การเรียนรู้ การทดสอบ แฟูมสะสมงาน ผลการปฏิบัติงาน การสังเกต พฤติกรรม และการสมั ภาษณเ์ ป็นต้น จากตาราง 1 ลักษณะของหน่วยการเรยี นร้ทู ก่ี ล่มุ เปูาหมายมคี วามคดิ เหน็ วา่ ตอ้ งการจาเปน็ ท่ตี ้องพฒั นาสรุป ได้ ดังนี้ ระดับมากที่สุด จานวน 6 ข้อ ได้แก่ 1) ควรพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ท่ีเน้นความเข้าใจในระบบธรรมชาติ และมนุษย์ ผ่านปฏิสัมพันธ์ 2)หน่วยการเรียนรู้ควรมีกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการให้เหตุผลทางภูมิศาสตร์ ผ่านการ เชื่อมโยงระหว่างกัน3) หน่วยการเรียนรคู้ วรมกี จิ กรรมเพ่ือส่งเสริมการตัดสินใจเชิงภูมิศาสตร์อย่างเป็นระบบ ตามนัย 4) หนว่ ยการเรยี นรู้ควรมสี ื่อและแหล่งเรียนรทู้ ีส่ อดคล้องกับการพัฒนาทกั ษะและความสามารถทางภูมิศาสตร์ 5) ควร มีส่ือท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เข้าใจ สื่อความหมายได้ชัดเจนและเป็นรูปธรรม 6) ส่ือและแหล่งการเรียนรู้ ประเภทดจิ ทิ ลั ชว่ ยให้เกดิ การเรยี นรู้อย่างเปน็ กระบวนการที่ง่าย และรวดเรว็ ระดับมาก จานวน 3 ขอ้ ได้แก่ 7) ควรมเี ครื่องมอื ในการประเมินผลงานภาระงานหรือช้ินงานท่ีสะท้อนต่อ ทกั ษะและความสามารถทางภมู ศิ าสตร8์ ) ควรมีเกณฑ์การประเมินด้วย Rubric ในการประเมินผลงานภาระงานหรือ ชิน้ งานท่ีสร้างขึ้น9) ควรมีการวัดผลและประเมินผลอย่างหลากหลาย เช่น การทดสอบ แฟูมสะสมงาน การสังเกต พฤตกิ รรม และการสมั ภาษณ์ เป็นตน้ ผลจากแบบสมั ภาษณ์ความคดิ เหน็ ของผูม้ สี ่วนเกี่ยวขอ้ งกับความตอ้ งการในการพฒั นาหน่วยการเรียนรู้ เร่ือง Travel the world ดว้ ยการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ท่ีมีผลต่อการรู้เร่ืองภูมิศาสตร์ สาหรับนักเรียน ระดับช้นั มธั ยมศึกษาตอนตน้ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ ปทมุ วัน ปรากฏวา่ 1. การจดั แบ่งเนอื้ หาสาระของหน่วยการเรียนร้มู คี วามเหมาะสมของโครงสรา้ งหนว่ ยการเรยี นรทู้ ไี่ ด้ออกแบบ ไว้ แตม่ ขี อ้ เสนอแนะคือ ควรเนน้ การใช้เครือ่ ง เพื่อเป็นการพฒั นาทักษะทางภูมิศาสตรใ์ หม้ ากขน้ึ 2. การกาหนดระยะเวลาในการจัดการเรียนรู้ท่ีใช้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้เหมาะสม และควรเป็นไปอย่าง ตอ่ เนื่อง 1.2 หนว่ ยการเรยี นรู้ 1.2.1 ผลการประเมินจากผ้เู ช่ียวชาญ มขี ้อคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะดา้ นต่าง ๆ โดยมีรายละเอยี ด ดังตอ่ ไปนี้ 1 ) ความเหมาะสมของโครงสรา้ งหน่วยการเรยี นรู้ 2 ) ความเหมาะสมและความสอดคล้องของรายละเอยี ดหน่วยการเรยี นรู้ 3 ) ความเหมาะสมและตวามสอดคลอ้ งขององค์ประกอบต่าง ๆ ในแผนการจัดการเรียนรู้ หน้า205

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ตาราง 2 ความคิดเห็นของผเู้ ชี่ยวชาญดา้ นความเหมาะสมของโครงสรา้ งหน่วยการเรียนรู้ ประเดน็ การประเมิน ความคดิ เห็นของผ้เู ชยี่ วชาญ 1. การจัดแบ่งเนื้อหาสาระของหน่วยการเรียนรู้ที่ ผ้เู ช่ียวชาญมคี วามคิดเห็นว่าการจัดแบง่ เนอ้ื หาสาระของหน่วยการ เน้นการพฒั นาการรเู้ ร่อื งภูมศิ าสตร์ เรียนรู้มีความเหมาะสมของโครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ท่ี ได้ ออกแบบไว้ แต่มีข้อเสนอแนะคือ ควรเน้นการใช้เครื่อง เพ่ือเป็น การพฒั นาทกั ษะทางภมู ศิ าสตรใ์ หม้ ากข้นึ 2. การกาหนดระยะเวลาในการจัดการเรียนรู้ท่ีใช้ใน ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นว่าการกาหนดระยะเวลาในการจัดการ แต่ละหน่วยย่อยเหมาะสมกับการสร้างและ เรียนรู้ที่ใช้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้เหมาะสม และควรเป็นไป พัฒนาการรู้เรือ่ งภมู ศิ าสตร์ อย่างต่อเนอื่ ง ตาราง 3 ความคิดเห็นของผู้เช่ียวชาญ ด้านความเหมาะสมและความสอดคล้องของรายละเอียดของหน่วยการ เรียนรู้ ประเดน็ การประเมนิ ความคดิ เห็นของผเู้ ช่ยี วชาญ 1.ความเหมาะสมของกจิ กรรมการเรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นว่ากิจกรรมการเรียนรู้ที่ออกแบบไว้มี ความเหมาะสม 2. ความเหมาะสมของส่อื และแหลง่ การเรยี นรู้ แหล่งการเรียนร้มู คี วามทนั สมัย แตค่ วรเชื่อมโยงให้เข้ากับป๎ญหาที่ พบในชวี ติ ประจาวนั ของนักเรยี นให้หลากหลายมากย่ิงขน้ึ 3. ความเหมาะสมของระยะเวลาทใี่ ช้ เวลาทีใ่ ชม้ คี วามเหมาะสม 4. การกาหนดกจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ีมีความ ผู้เช่ียวชาญมีความคิดเห็นว่ากิจกรรมการเรียนรู้ท่ีออกแบบไว้มี สอดคลอ้ งกับการรู้เร่อื งภมู ิศาสตร์ ความเหมาะสม ผลการประเมนิ ความเหมาะสมและความสอดคลอ้ งของโครงสร้างหนว่ ยการเรียนรแู้ ละแผนการจดั การเรียนรู้ ทีส่ ่งเสรมิ การรู้เรื่องภูมศิ าสตร์ จากผเู้ ชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ โดยการวิเคราะห์เน้ือหา พบว่า มีความเหมาะสม และความสอดคลอ้ งของโครงสร้างหน่วยการเรยี นรู้ มีความเหมาะสมและความสอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การเรยี นรู้ ระยะเวลาท่ีใช้ และแหล่งการเรียนรู้ มีความเหมาะสมและความสอดคล้องของกิจกรรมการเรียนรู้ ด้าน ความเหมาะสมและมคี วามสอดคล้องขององค์ประกอบต่าง ๆ ในแผนการจัดการเรียนรู้ รายละเอียดของหน่วยการ เรยี นรู้ และสามารถใช้พัฒนาการรูเ้ ร่อื งภมู ศิ าสตรข์ องนักเรยี นได้ ตอนที่ 2 ผลการทดลองใช้หน่วยการเรยี นรู้ ผลการเปรยี บเทียบการรู้เร่อื งภูมศิ าสตร์ ของนกั เรยี น หลังใชห้ น่วยการเรยี นรเู้ ทยี บกบั เกณฑ์ร้อยละ 65 ดัง ตาราง หน้า206

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ตาราง 3 การเปรียบเทียบการรเู้ รื่องภมู ิศาสตร์ ของนักเรยี น หลังใชห้ น่วยการเรียนรู้ เทียบเกณฑร์ อ้ ยละ 65 คะแนนเตม็ 30 คะแนน และ uo (65%) เท่ากบั 19.5 คะแนน) การทดสอบ n x S t 7.54 หลั ง ใ ช้ หน่ ว ย ก า ร 150 21.76 3.67 เรยี นรู้ * มีนัยสาคญั ทางสถติ ิท่รี ะดับ .05 จากตาราง 3การรูเ้ รอ่ื งภูมิศาสตร์ของนกั เรยี น หลังใช้หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง Travel the world ด้วยการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ พบว่า มีคะแนนเฉล่ียเลขคณิต 21.76 คะแนน ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 3.67 คะแนน คดิ เป็นร้อยละ 72.53 โดยสงู กว่าเกณฑร์ ้อยละ 65 อย่างมนี ัยสาคัญทางสถติ ิท่รี ะดบั .05 สรปุ ผลการวิจยั 1. ผลการสารวจความคิดเหน็ และสัมภาษณ์เกีย่ วกบั สภาพการจัดการเรยี นรู้และความต้องการจาเป็นในการ พัฒนาหนว่ ยการเรยี นรู้ จากอาจารยก์ ลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และคณะกรรมการบริหารหลกั สูตร และวิชาการ พบว่า ต้องการให้มีการพัฒนาพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ เร่ือง Travel the world ด้วยการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศทางภูมศิ าสตร์ ทีม่ ีผลตอ่ การรเู้ รื่องภูมิศาสตร์ อยูใ่ นระดบั มาก 2. พัฒนาหน่วยการเรียนรู้ เร่ือง Travel the world ด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ผเู้ ชย่ี วชาญมคี วามคดิ เหน็ วา่ มคี วามเหมาะสมของโครงสร้าง ระยะเวลา รายละเอียดของหน่วยการเรียนรู้กิจกรรมการ เรียนรู้ สอ่ื การจัดการเรยี นรู้ และสามารถพฒั นาการรเู้ รือ่ งภูมิศาสตร์ ผลการวิจัยระยะที่ 1 จึงได้หน่วยการเรียนรู้ เรอื่ ง Travel the world ด้วยการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศทางภมู ศิ าสตร์ ซงึ่ มีจานวน 16 คาบ 3. คะแนนการรู้เร่อื งภูมิศาสตร์ มีคา่ เฉลีย่ เทา่ กับ 21.76 คะแนน และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากบั 3.67 4. คะแนนการรูเ้ รอื่ งภูมิศาสตร์ ของนกั เรียนหลังเรียนสงู กวา่ เกณฑร์ ้อยละ 65 อย่างมนี ัยสาคญั ท่รี ะดบั .05 อภิปรายผล จากการศกึ ษาสร้างและพัฒนาการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ เร่ือง Travel the world ด้วยการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศทางภมู ิศาสตร์ ที่มผี ลตอ่ การรู้เรอ่ื งภูมศิ าสตร์ สาหรบั นกั เรยี นระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ปทมุ วัน สามารถอภิปรายผลการวิจยั ไดด้ ังนี้ การรเู้ ร่อื งภูมศิ าสตร์ ของนกั เรียนหลงั เรียนสงู กวา่ เกณฑ์รอ้ ยละ 65 อย่างมีนัยสาคัญท่ีระดับ .05 เนื่องจาก หน่วยการเรียนรู้เร่ือง Travel the world ด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ที่สร้างและพัฒนาข้ึนนั้น นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรม ตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ และได้รับการพัฒนาทักษะจากการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศทางภูมศิ าสตร์ สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของ Hilda et al. (2016) ที่ได้ทาการสารวจเกี่ยวกบั ความสามารถใน ด้านการเขียนแผนที่ (Cartography) ของครูในระดับช้ันประถมศึกษา และมัธยมศึกษา และการใช้เทคโนโลยี หน้า207

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) สารสนเทศภมู ิศาสตร์ พบว่า รอ้ ยละ 75 ของผตู้ อบแบบสอบถามเชื่อม่ันว่าการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์จะ ช่วยผู้เรยี นในการเรียนตามหลักสูตรได้ และกลุ่มผู้ตอบแบบส่วนถามส่วนมากคิดว่าเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ เป็นสิ่งที่น่าสนใจและงานวิจัยของ W S Utami (2561) ระบุไว้ว่าการพัฒนาการรู้ภูมิศาสตร์นั้น จาเป็นต้องอาศัย ทกั ษะทางภูมิศาสตร์ และการความรู้ทางภูมิศาสตรท์ ดี่ ี โดยสิ่งจาเป็นอกี 2 ประการ ที่ควรต้องรู้ คือ การรู้แผนที่ และ การรเู้ ท่าทันสื่อ จงึ จะสามารถพฒั นาการรูภ้ ูมศิ าสตรใ์ หด้ ีย่งิ ข้ึนได้ และงานวิจัยของโสภา ชัยพัฒน์ (2552) การพัฒนา บทเรียนคอมพวิ เตอรม์ ลั ตมิ ีเดยี เรอ่ื ง เคร่ืองมือหาขอ้ มูลในการแปลความหมายเชิง ภูมิศาสตร์ สาหรับนักเรียนชวงช้ัน ท่ี 3 พบว่าคุณภาพจากการประเมินบทเรียนของผู้เชี่ยวชาญด้านเน้ือหา พบว่า บทเรียน คอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย มี คุณภาพด้านเนื้อหาโดยรวม อยูในระดับดี และคุณภาพจากการประเมินบทเรียนของผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี การศึกษาพบว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียมีคุณภาพโดยรวม อยูในระดับดีและประสิทธิภาพของบทเรียน คอมพิวเตอร์ มัลติมีเดียร่ือง เครื่องมือหาข้อมูลในการแปลความหมายเชิง ภูมิศาสตร์สาหรับ นักเรียนช่วงชั้นท่ี 3 มี ประสิทธิ ภาพโดยรวมเป็น 88.10./87.80 ซึ่ง เป็นไปตามตามเกณฑ์ท่ีกาหนด และงานวิจัยของ แก้วใจ สุวรรณเวช (2559) ไดท้ าการวิจัยเพ่ือพัฒนารูปแบบการเรยี นการสอนเพอ่ื สง่ เสรมิ สมรรถนะการสอนภูมิศาสตร์ สาหรับนักศึกษา วิชาชีพครูสังคมศึกษา โดยระบุว่า รูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการสอนภูมิศาสตร์ สาหรับ นักศกึ ษาวิชาชพี ครสู งั คมศึกษา เรียกว่า PLPCPA Model เนน้ การเรยี นการสอนภูมิศาสตรอ์ ย่างเป็นระบบ การเรียนรู้ สู่การปฏิบตั ิ และการสร้างกระบวนการเรียนรู้ มีองค์ประกอบ คือ หลักการ วัตถุประสงค์ กระบวนการจัดการเรียน การสอน และปจ๎ จยั ทเ่ี อ้อื ตอ่ การเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วย 6 ข้ันตอน คือ ข้ันท่ี 1 การ เตรยี มความพรอ้ มเพอื่ การเรยี นรูภ้ ูมศิ าสตร์ ขัน้ ที่ 2 การเรียนร้จู ากสถานการณ์จริงหรือสื่อการสอนภูมิศาสตร์ ข้ันที่ 3 การวางแผนปฏบิ ตั ิการสบื คน้ และการใช้เครอ่ื งมือทางภูมศิ าสตร์ ขน้ั ที่ 4 การรวบรวมข้อมูลหรือการสารวจข้อมูลทาง ภูมิศาสตร์ ขั้นท่ี 5 การนาเสนอและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์ความรู้ภูมิศาสตร์ ขั้นที่ 6 การประยุกต์ใช้และ สร้างสรรคค์ วามร้ภู มู ศิ าสตร์ และผลการทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการสอนภูมิศาสตร์ สาหรับนักศึกษาวิชาชีพครูสังคมศึกษา พบว่าผลการเรียนรู้รายวิชาภูมิศาสตร์ประเทศไทยเชิงวิเคราะห์หลังเรี ยนสูง กว่าก่อนเรยี นอย่างมีนยั สาคญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดับ .05 ขอ้ เสนอแนะ จากการวิจัยคร้ังนี้ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะซึ่งอาจเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้และการศึกษาครั้งต่อไป ดังนี้ ขอ้ เสนอแนะทว่ั ไป 1. ครูควรอธิบายฝึกพ้ืนฐานในการใช้ทักษะทางภูมิศาสตร์ ควบคู่กับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทาง ภูมศิ าสตร์ อย่างสมา่ เสมอ 2. ครคู วรใชเ้ ทคนิคการตัง้ คาถามเข้ามาประกอบการสอนใหม้ าก ขอ้ เสนอแนะสาหรบั การทาวิจัยคร้ังตอ่ ไป 1. ควรจัดให้มกี ารสอนใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศทางภมู ิศาสตร์ เพ่อื ให้นกั เรียนไดเ้ กิดการฝึกฝน 2. ควรพัฒนาหน่วยการเรียนรใู้ นเนือ้ หาทห่ี ลากหลายมากข้ึน ประกอบกบั เน้นการใช้ทักษะเปน็ หลัก หน้า208

การประชุมวชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) เอกสารอ้างองิ แก้วใจ สวุ รรณเวช. (2558). การพฒั นารปู แบบการ Education. เข้าถึงเมือ่ 10 ตุลาคม 2561. เรียนการสอนเพอื่ ส่งเสริมสมรรถนะการ เข้าถงึ ได้จาก สอนภมู ศิ าสตร์ สาหรบั นกั ศกึ ษาวชิ าชีพครู http://www.esri.com/news/arcnews/s สงั คมศกึ ษา. Veridian E-Journal, pring09articles/geographic- Silpakorn University ปีที่ : 9 ฉบบั ท่ี : 2 literacy.html Hilda K. et al., (2016). Cartographic สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. (2560). Competence Of A Geography ตัวช้ีวัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง Teacher–Current State And สาระภมู ิศาสตร์ ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560 Perspective. 6th International กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา Conference on Cartography and GIS และวฒั นธรรม ตามหลกั สตู รแกนกลาง Proceedings, Vol. 1 and Vol. 2. เข้าถึง การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 เม่ือ10 ตุลาคม 2560. เข้าถึงได้จาก และแนวการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้. http://iccgis2016.cartography- สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั gis.com/6-iccgis-proceedings/ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร: กรุงเทพฯ W S Utami. Geography literacy can develop Geography skills for high school โสภา ชยั พฒั น์ (2552) การพฒั นาบทเรียน students: is it true?. The คอมพิวเตอร์มัลติมเี ดีย เรอ่ื ง เครอ่ื งมือหา Consortium of Asia-Pacific ขอ้ มลู ในการแปลความหมายเชงิ Education Universities ภมู ศิ าสตร์ สาหรับนกั เรยี นชวงชน้ั ที่ 3. (CAPEU).เขา้ ถงึ เม่ือ10 ตุลาคม 2560. สารนิพนธ์ปริญญาการศกึ ษามหาบณั ฑติ เขา้ ถงึ ได้จาก สาขาเทคโนโลยีการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยศรี http://iopscience.iop.org/article/10.10 นครินทรวโิ รฒ 88/1757-899X/296/1/012032/pdf Edelson, Daniel C. (2011). Geo- literacy. National Geographic หนา้ 209

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) การเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นวิชาสังคมศึกษา เรอ่ื งกฎหมายกบั ชีวิตของนกั เรยี นระดบั ช้นั มัธยมศึกษา ปที ี่ 3 โรงเรียนบา้ นนา “นายกพทิ ยากร” ที่สอนโดยใชห้ นงั สือเสรมิ ประสบการณก์ บั สอนแบบปกติ A Comparison of Academic Achievement in Social Studies on Law and Life of Matthayomsuksa Three Students in Banna \"NayokPitthayakon\" School By Using Supplementary Books and Traditional Teaching อรฤทยั ปานทอง มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง [email protected] บทคดั ยอ่ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพ่ือสร้างและหาประสิทธิภาพหนังสือเสริมประสบการณ์ เร่ือง กฎหมายกบั ชีวติ ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร” ให้มีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ 80/80 (2) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา เรื่องกฎหมายกับชีวิต ของนักเรียน ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร” ที่สอนโดยใช้หนังสือเสริมประสบการณ์กับสอนแบบ ปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้มาโดยการสุ่มแบบง่าย (Sample Random Sampling) ด้วยการจับสลาก ไดแ้ ก่ นักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3/1 จานวน 40 คนเป็นกลุ่มทดลอง สอนโดยใช้หนังสือเสริมประสบการณ์ และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/4 จานวน 40 คน สอนแบบปกติ เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยในคร้ังนี้ได้แก่ 1) หนังสือเสริม ประสบการณ์ เร่ือง กฎหมายกับชีวิต 2) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้โดยใช้หนังสือเสริมประสบการณ์ เร่ือง กฎหมายกับชีวิตและแผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ จานวน 8 แผน 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง กฎหมายกบั ชีวิต โดยใช้แบบแผน การทดลอง Randomized Group, Pretest-Posttest Design วิเคราะห์ ข้อมลู โดยใช้ ค่าเฉลย่ี ร้อยละ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที ( t-test independent ) ผลการวิจัยพบวา่ 1) หนงั สอื เสรมิ ประสบการณ์ เร่อื งกฎหมายกบั ชวี ติ ของนกั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร” มีค่าประสิทธิภาพเทา่ กบั 81.08/82.19 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนท่ีสอนโดยหนังสือเสริมประสบการณ์ เรื่องกฎหมายกับชีวิต ของนักเรียน ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรยี นบ้านนา“นายกพิทยากร” สงู กวา่ นักเรียนทีส่ อนแบบปกตอิ ย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ 0.5 คาสาคัญ: หนงั สือเสรมิ ประสบการณ์, การสอนโดยใช้หนังสือเสริมประสบการณ์, การสอนแบบปกติ, ผลสัมฤทธ์ิทางการ เรยี นวชิ าสังคมศึกษา ABSTRACT หน้า210

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) The purposes of this research were (1) to create and find the efficiency of A Book for Enhancing Experiences about law and life of mathayomsuksa three students in Banna \"Nayokpitthayakon\" School to be effective according to the criteria 80/80 (2) to compare the learning achievement in social studies Legal matters and life of matthayomsuksa 3 students in Banna \"Nayokpitthayakon\" School taught by using a book for enhancing experiences with Traditional teaching. The samples used in the research were obtained by using a random sample sampling with a lottery. The subjects were 40 mathayomsuksa 3 room 1 students in experimental group taught by using Supplementary books and the 40 mattayomsuksa 3 room 4 students taught by using the normal way. The research instruments were 1) supplementary books in law and life. 2) Lesson plans about law and life and 3) test of academic achievement about law and life using the Randomized Group, Pretest-Posttest Design. The data were analyzed by means, percentage, standard deviation and t-test independent. The results of the research revealed that 1) books for enhancing experiences about law and life had an efficiency equal to 81.08/ 82.19 and 2) The academic achievement of students taught by supplementary books about Law and life was higher than students who studied with normal teaching with statistically significant at the level of .05 KEYWORDS:books for enhancing experiences, Teaching by Using Supplementary Books, Traditiona teaching, Academic Achievement of Social Studies บทนา วชิ าสังคมศกึ ษาเป็นรายวชิ าหน่ึงที่มคี วามสาคญั อยา่ งยิ่ง ในการพฒั นาสมรรถนะของผู้เรียน ให้ผู้เรียนสามารถ เรียนรูแ้ ละดารงชีวิตอยใู่ นสงั คม และการอย่กู บั รว่ มกนั ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุข ตลอดจนนาความรู้ ความเข้าใจนั้นไป ปรบั ใชใ้ หเ้ ข้ากับสภาพสังคมท่ีแปรเปลี่ยนได้อย่างเหมาะสม สมดุล และย่ังยืน จุดหมายสาคัญของรายวิชาสังคมศึกษา สว่ นใหญน่ น้ั มงุ่ เน้นให้นกั เรียนมีทกั ษะตา่ ง ๆ เช่น ทักษะทางสงั คม ทักษะทางการคิด ทักษะทางการตัดสินใจ และทักษะ การแก้ปญ๎ หาในการดาเนินชวี ติ ของผเู้ รยี นใหส้ อดคลอ้ งกับความต้องการของสังคมในการสร้างพลเมืองดีของประเทศอัน เปน็ รากฐานของพลเมอื งโลกตอ่ ไป (วิภาพรรณ พนิ ลา.2560:3) ป๎จจุบันไดม้ ีการพัฒนาสื่อการเรยี นการสอนอย่างรวดเร็ว ตามกระแสของเทคโนโลยีหรอื ยุคโลกาภวิ ตั น์ ยุคการ อา่ นหนงั สือจากหน้าจอคอมพวิ เตอร์ หรือทเ่ี รียกกันว่าหนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ (e-book) กาลังไดร้ ับความนยิ มอย่างมากใน ต่างประเทศ เน่ืองจากการแพร่หลายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กท่ีสามารถพกพาไปได้สะดวก ถึงแม้ป๎จจุบันน้ี นับว่าสื่อสมัยใหม่จะรุกแดนเข้ามาในอาณาจักรของหนังสือ แต่อย่างไรก็ตามส่ือเทคโนโลยี ดังกล่าวก็มีข้อจากัดหลาย ประการสาหรับผู้ที่อยู่ในสังคมและสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกัน หนังสือจึงยังคงเป็นสื่อท่ีสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งในการ หน้า211

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) แสวงหาความรู้ เพราะหนังสือเป็นเครื่องมือที่สะดวกท่ีสุด สามารถหาอ่านได้ ทั่วไป ราคาถูกกว่าส่ือเทคโนโลยีสมัยใหม่ อกี ท้งั สอ่ื เหล่านั้นยังไมส่ ามารถทดแทนหนงั สอื ไดห้ มด (ร่นื ฤทัย สจั จพนั ธุ์, 2544: 21) หนังสือเสริมประสบการณ์ถือเป็นนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้อย่างหน่ึงของกระบวนการสอน ในชั้นเรียนที่ ม่งุ เนน้ การเสริมประสบการณใ์ ห้ผ้เู รยี นได้เขา้ ถงึ ความรไู้ ดอ้ ยา่ งลึกซง้ึ เพมิ่ เติม เพอื่ เสรมิ สร้างกระบวนการเรียนรู้และความ เขา้ ใจต่อเนื้อหาสาระทมี่ คี วามสลบั ซับซ้อนและมีความยงุ่ ยากมากยิ่งขึน้ ดังน้ัน หนังสอื เสรมิ ประสบการณ์จึงเป็นเครื่องมือ สาคญั ของผู้สอนทไ่ี ด้รวบรวมและเรียบเรียงถ่ายทอดใหก้ บั ผู้เรยี นไดอ้ ยา่ งถูกต้องและเหมาะสมด้วยกระบวนการพัฒนาให้ เกดิ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการจัดการเรียนการสอนในช้ันเรียนท่ีมีระยะเวลาอย่างจากัด การจัดการเรียนการ สอนท่ีใช้หนังสือเสริมประสบการณ์ จาเป็นต้องมีการเตรียมความพร้อมท้ังผู้สอนและผู้เรียนโดยเริ่มจากการศึกษาจาก ตัวช้วี ัดและมาตรฐานการเรียนรู้ตามระดับช่วงช้ันของนักเรียนและวิเคราะห์เน้ือหาท่ีเหมาะสมแก่การสร้างหนังสือเสริม ประสบการณ์พร้อมท้ังออกแบบหนังสือเสริมประสบการณ์ให้มีความเหมาะสมตามวัยของผู้เรียน นอกจากนี้ยังต้อง คานึงถึงเนือ้ หาสาระทม่ี ีการผสมผสานความรู้และเกร็ดความรู้ต่างๆที่มีอยู่ในหนังสือ โทรทัศน์ สื่อดิจิตอล ส่ือออนไลน์ท่ี ทันสมัยและเหมาะสมกับผู้เรียนในยุคศตวรรษที่ 21 พร้อมทั้งพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีด้านการสื่อสาร ด้านการ วเิ คราะหแ์ กไ้ ขจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ จากป๎ญหาดังกลา่ วผู้วิจยั สนใจเปรยี บเทียบการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง กฎหมายกับชีวิต สาหรับนักเรยี นระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร” โดยใช้หนังสือเสริม ประสบการณ์ เพื่อช่วยกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน และใหเ้ กดิ การเรียนรู้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพมากยิ่งขนึ้ วตั ถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพ่ือสร้างและหาประสิทธิภาพหนังสือเสริมประสบการณ์ เร่ืองกฎหมายกับชีวิต ของนักเรียนระดับช้ัน มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 โรงเรียนบ้านนา “นายกพทิ ยากร” ใหม้ ีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา เรื่องกฎหมายกับชีวิต ของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนบ้านนา “นายกพทิ ยากร” ท่ีสอนโดยใชห้ นงั สือเสรมิ ประสบการณ์กบั สอนแบบปกติ สมมติฐานการวิจยั 1. หนังสอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา เรื่อง กฎหมายกบั ชีวิต ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 มปี ระสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 2. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวิชาสงั คมศึกษา เรื่อง กฎหมายกับชีวิต ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ สอนโดยใชห้ นงั สือเสริมประสบการณผ์ ลสัมฤทธ์ิสูงกวา่ นกั เรยี นทส่ี อนแบบปกติ วิธีดาเนินการวิจัย ประชากร ประชากรท่ีใชใ้ นการศกึ ษาครงั้ นี้เปน็ นักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 โรงเรียนบา้ นนา “นายกพทิ ยากร” ภาค เรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 จานวน 5 ห้องเรียน จานวนนักเรียน 223 คน ซ่ึงนักเรียนมีคุณลักษณะและระดับ ความสามารถใกลเ้ คยี งกันทกุ หอ้ ง กลมุ่ ตัวอยา่ ง หน้า212

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร” ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 2 ห้องเรียน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Sample Random Sampling) จากห้องท้ังหมด 5 ห้อง แล้วกาหนดประเภทวิธีการสอนของกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีจับสลาก (Lottery Method) โดยนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3/1 จานวน 40 คน กลมุ่ ทดลอง และนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3/4 จานวน 40 คน กลุม่ ควบคมุ ตัวแปรทีใ่ ช้ในการวิจยั 1. ตัวแปรต้น การจดั การเรียนรวู้ ิชาสังคมศึกษา เรื่อง กฎหมายกับชีวิต ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทีส่ อนโดยใชห้ นงั สือเสริมประสบการณ์ และสอนแบบปกติ 2. ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชาสังคมศึกษา เร่ืองกฎหมายกับชีวิต ของนักเรียนระดับช้ัน มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 โรงเรยี นบ้านนา “นายกพิทยากร” เนือ้ หาทีใ่ ช้ในการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้เน้ือหาในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานพทุ ธศักราช 2551 เรอื่ ง กฎหมายกบั ชวี ติ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 สาระที่ 2 หน้าท่ี พลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาเนินชวี ิตในสงั คม ดงั นี้ เล่มท่ี 1 ความร้เู บ้อื งต้นเกย่ี วกับกฎหมาย เล่มท่ี 2 กฎหมายอาญา เกย่ี วกบั ความรับผิดทางอาญา เล่มที่ 3 กฎหมายอาญา ความผิดเก่ยี วกับทรพั ย์ เลม่ ที่ 4 กฎหมายอาญา ความผิดเกยี่ วกบั ชวี ติ และรา่ งกาย เลม่ ที่ 5 กฎหมายแพง่ เก่ียวกับบคุ คล เลม่ ที่ 6 การละเมดิ เลม่ ท่ี 7 กฎหมายเกี่ยวกับเอกเทศสญั ญา การจานา การกู้ยืม การเชา่ ทรพั ย์ เล่มที่ 8 กฎหมายเก่ยี วกบั เอกเทศสัญญา การเช่าซ้ือ การซอ้ื ขาย การจานอง การขายฝาก ระยะเวลาในการทดลอง ระยะเวลาในการศึกษาคร้ังนี้ ดาเนินการทดลองในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 เดือน สิงหาคม – กันยายน พ.ศ. 2562 ระยะเวลาในการดาเนนิ การทดลอง 8 คาบ คาบละ 50 นาที ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะได้รับ 1. ไดห้ นงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสังคมศกึ ษา เรื่อง กฎหมายกบั ชีวติ ท่ีมีประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 2. ไดท้ ราบผลการเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาสังคมศึกษา เรื่อง กฎหมายกับชีวิตที่สอนโดยใช้ หนงั สอื เสริมประสบการณแ์ ละสอนแบบปกติ 3. ได้นาไปเผยแพร่แก่เพอ่ื นครู การวจิ ยั ครั้งเปน็ ไดท้ าการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ซง่ึ มขี นั้ ตอนในการดาเนินการทดลอง ดังน้ี หน้า213

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 1. แบบแผนการทดลองการวิจัยคร้งั นผี้ ู้วิจยั ไดใ้ ช้แบบแผนการทดลองแบบ Randomized Control-Group Pretest-Posttest Design โดยกลุ่มหน่ึงเรียกว่า กลุ่มทดลอง ซึ่งสอนโดยใช้หนังสือเสริมประสบการณ์ เร่ือง กฎหมายกับชวี ิต อีกกลมุ่ หน่งึ เรียกวา่ กลมุ่ ควบคมุ ซ่ึงสอนแบบปกติ กลุ่ม สอบกอ่ น ทดลอง สอบหลัง E (R) O1 X O2 C (R) O1 -X O2 กาหนดให้ E (R) กลุม่ ทดลองที่สอนรโู้ ดยใช้หนงั สือเสรมิ ประสบการณ์ C (R) กล่มุ ควบคุมทีส่ อนแบบปกติ X สอนโดยใชห้ นงั สอื เสรมิ ประสบการณ์ -X สอนแบบปกติ O1 ทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre – test) O2 ทดสอบหลงั เรยี น (Post – test) 2. ขน้ั ตอนการทดลอง มดี งั น้ี 2.1 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าสงั คมศกึ ษา เรอื่ ง กฎหมายกบั ชีวติ ไปใช้ทดสอบ ก่อน เรียนกบั กลมุ่ ทดลองและกลุม่ ควบคมุ 2.2 นาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสอนโดยใช้หนังสือเสริมประสบการณ์ไปใช้กับกลุ่มทดลอง และนาแผนการ จดั การเรียนรู้แบบปกตไิ ปใชก้ ับกลุม่ ควบคุม 2.3 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา เรื่อง กฎหมายกับชีวิต ไปใช้ทดสอบหลัง เรียนกบั กลุม่ ทดลองและกลุ่มควบคมุ 2.4 ตรวจแบบฝึกหดั และแบบทดสอบ แลว้ นาขอ้ มูลท่ไี ด้ไปวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทางสถติ เิ พอ่ื ทดสอบสมมติฐาน วิธวี เิ คราะหข์ อ้ มลู ผู้วจิ ยั นาคะแนนท่ีได้จากการทดลองมาวเิ คราะห์โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป (Statistical Package Science : SPSS) โดยดาเนนิ การดังตอ่ ไปน้ี 1. ตรวจสอบคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ วิเคราะห์ความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา ดาเนินการโดยหาค่า ดัชนีความสอดคลอ้ ง (IOC) ของแผนการจัดการเรยี นรู้ 2. ตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา เรื่อง กฎหมายกับชีวิต วเิ คราะห์ความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา ดาเนินโดยหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) มีค่า0.67-1.00ข้ึนไป ความยากง่าย (p) มคี า่ .20 - .80 และค่าอานาจจาแนก (r) มคี า่ .20 – 1.0 และคา่ ความเช่อื ม่นั ของแบบทดสอบ โดยใช้สูตร KR – 20 มคี ่าเทา่ กบั 0.70ขึ้นไป หน้า214

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 3. ตรวจสอบคุณภาพของหนังสือเสริมประสบการณ์ เรื่อง กฎหมายกับชีวิต โดยหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) และ หาประสทิ ธิภาพ / (80/80) 4. ทดสอบสมมตฐิ านการวิจยั โดยใช้ แบบ t – test Independent การหาคา่ ประสทิ ธิภาพของหนังสอื เสริมประสบการณ์ การนาชุดการสอนไปทดลองใชต้ ามขนั้ ตอนที่กาหนดไว้ ชัยยงค์ พรหมวงศ์(2556) เพื่อนาข้อมูลมาปรับปรุง และนาไปทดลองใชจ้ ริง ประสิทธภิ าพของหนงั สอื เสริมประสบการณจ์ ะกาหนดเป็นเกณฑ์ท่ีผู้สอนคาดหมายว่าผู้เรียน จะเปล่ียนแปลงพฤติกรรมท่ีพึงพอใจ โดยถือว่าหนังสือเสริมประสบการณ์ที่มีประสิทธิภาพน้ันจะต้องเป็นไปตาม เกณฑ์มาตรฐานท่ีตั้งไว้ 80/80 หมายความว่า จานวนนักเรียนร้อยละ 80 ข้ึนไปมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่ต่ากว่า รอ้ ยละ 80 เกณฑ์ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 80/80 หมายถึง เกณฑ์ที่ใช้ในการกาหนดประสิทธิ ภาพของชุด กจิ กรรมการเรยี นรู้ 80 ตัวแรก (E1) หมายถึง ร้อยละของคะแนนเฉล่ียของกลุ่มตัวอย่างท้ังหมดจากการประเมินการปฏิบัติกิจกรรมตามชุด กจิ กรรมและการทาแบบทดสอบหลงั เรียนในแต่ละชุดกิจกรรม มากกว่าหรอื เทา่ กบั ร้อยละ 80 80 ตวั หลัง (E2) หมายถงึ รอ้ ยละของคะแนนเฉลี่ยนของกลมุ่ ตัวอย่างท้ังหมดจากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี น มากกว่าหรือเทา่ กับร้อยละ 80 มีขน้ั ตอนการหาประสิทธภิ าพ ดังน้ี 1. ทดสอบหาประสทิ ธภิ าพของชดุ กจิ กรรมกบั กลุ่มตัวอย่างท่ีเรียกว่า แบบรายบุคคล หรือ 1:1:1 หมายถึง ทดลองใช้ นวตั กรรมกับนักเรยี น 3 คน ที่ประกอบด้วย กลุ่มเก่ง กลุ่มปานกลางและกลุ่มอ่อน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างใดอย่าง หน่งึ ตามกระบวนการเลอื กกลมุ่ ตัวอยา่ งทางการวจิ ยั อยา่ งละ1คน แล้วคานวณหา E1 /E2 แลว้ นามาปรับปรุง 2. ทดสอบหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมกับกลุ่มตัวอย่างท่ีเรียกว่าแบบกลุ่มย่อย หรือ 3:3:3 หมายถึง ทดลองใช้ นวตั กรรมกับนักเรียนประมาณ 5-10 คน ที่ประกอบด้วย กลุ่มเก่ง กลุ่มปานกลางและกลุ่มอ่อน ได้มาโดยวิธีการสุ่ม อย่างใดอย่างหนึ่งตามกระบวนการเลือกกลุ่มตัวอย่างทางการวิจัย คละกันไปในจานวนเท่า ๆ กัน แล้วคานวณหา E1/E2 แล้วนามาปรบั ปรุง 3. ทดสอบหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมกับกลุ่มตัวอย่างกลุ่มใหญ่ที่เรียกว่าภาคสนาม หรือ 10:10:10 ห้องเรียน หมายถึง ทดลองใช้นวัตกรรมกบั นักเรยี น 1 หอ้ งเรียน จานวนนักเรียนตง้ั แต่ 30 คนขึน้ ไป แล้วคานวณหา E1/E2 แล้ว นาผลการวิเคราะห์เทยี บกับเกณฑ์ ถ้าต่ากว่าเกณฑไ์ ม่เกนิ ร้อยละ 2.5 ก็ยอมรับได้ ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู การวจิ ัยในครัง้ นผี้ วู้ ิจยั ได้วิเคราะห์ขอ้ มูลการวจิ ัย เร่ือง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาสังคม ศึกษา เรอื่ ง กฎหมายกับชีวิต ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร” ที่สอนโดยใช้ หนังสือเสริมประสบการณ์กับสอนแบบปกติ ซ่ึงดาเนินการวิจัย โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลตามลาดับขั้นตอนที่ นาเสนอดังตอ่ ไปนี้ หนา้ 215

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ตอนที่ 1 ผลการหาประสิทธภิ าพของหนงั สอื เสรมิ ประสบการณ์ เรื่อง กฎหมายกับชีวิต ของนักเรียนช้ัน มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ตอนท่ี 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา เร่ือง กฎหมายกับชีวิต ของ นกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ระหวา่ งนกั เรยี นท่ีได้รับการสอนโดยใช้หนังสือเสริมประสบการณ์ กับนักเรียนท่ีได้รับ การสอนแบบปกติ คะแนนหลงั เรียนหลังเรียน ซึ่งผวู้ ิจยั ได้ดาเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลและนาเสนอการวิเคราะห์ข้อมูล ดงั น้ี ตารางท่ี 1 ผลการวเิ คราะหป์ ระสทิ ธภิ าพของหนังสอื เสรมิ ประสบการณ์ เรอื่ งกฎหมายกบั ชีวิต สาหรบั นักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 คะแนนระหว่างเรยี น คะแนนทดสอบหลงั เรียน (40)คะแนน การทดลอง จานวนนักเรียน (32 คะแนน) คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ (E1) รายบคุ คล 3 31.67 79.17 คะแนนเฉลี่ย รอ้ ยละ (E2) กลุ่มย่อย 9 32.22 80.56 26.00 81.25 ภาคสนาม 30 32.43 81.08 26.11 81.60 26.30 82.19 จากตารางท่ี 1 ผลการหาประสิทธภิ าพของหนังสือเสรมิ ประสบการณ์ เร่อื ง กฎหมายกบั ชวี ิต ของนักเรียนระดับช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนบ้านนา“นายกพิทยากร” นครนายก ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างและไม่เคย เรียนเนื้อหาเรื่อง กฎหมายกับชีวิตมาก่อน ปรากฏผลการทดลอง ท้ัง 3 กลุ่ม ประกอบด้วย การทดลองรายบุคคล การทดลองกล่มุ ย่อยและการทดลองภาคสนาม ดังต่อไปน้ี แบบการทดลองรายบุคคล ปรากฏว่าประสิทธิภาพของหนังสือเสริมประสบการณ์ มีค่าเท่ากับ 79.17/81.25 แบบการทดลองกลุ่มยอ่ ย ปรากฏว่าประสทิ ธิภาพของหนังสอื เสรมิ ประสบการณ์ มีค่าเท่ากับ 80.56 / 81.60 และแบบการทดลองภาคสนาม ผลปรากฏว่าประสิทธิภาพของหนังสือเสริมประสบการณ์ มีค่าเท่ากับ 81.08 /82.19ซึ่งสงู กวา่ เกณฑ์ 80/80 ที่ผ้วู จิ ัยตง้ั เกณฑ์ไว้ ตารางท่ี 2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวชิ าสงั คมศกึ ษา เร่อื ง กฎหมายกบั ชวี ติ ของนกั เรียน ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ที่ไดร้ ับการสอนโดยใชห้ นังสือเสรมิ ประสบการณ์และการสอนแบบปกติ หลงั เรียน นักเรยี น จานวน ค่าเฉลย่ี สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน คา่ t Sig กลุ่มทดลอง 40 27.72 3.162 กลมุ่ ควบคมุ 40 18.90 14.118* .00 2.373 หนา้ 216

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) p < .05 จากตารางท่ี 2 การเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนวิชาสังคมศกึ ษา เรื่อง กฎหมายกบั ชีวิต ของ นักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 พบว่า นักเรียนกลมุ่ ทดลองมผี ลการทดสอบมคี ่าเฉลี่ยเทา่ กบั 27.72 คะแนน นักเรียนกลุ่มควบคมุ มีผลการทดสอบมคี ่าเฉล่ียเท่ากับ 18.90 คะแนน เมือ่ เปรยี บเทียบแลว้ ปรากฏวา่ นักเรียนกล่มุ ทดลองมคี า่ เฉลย่ี จากการทดสอบสูงกว่านักเรยี นกลุ่มควบคมุ เทา่ กบั 8.82 คะแนน และจากการทดสอบสถิติ t พบว่า ค่าเฉลยี่ การทดสอบระหว่างนกั เรยี นกลมุ่ ทดลองและนักเรียนกลมุ่ ควบคุมแตกต่างกนั อย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดบั .05 แสดงว่า นกั เรยี นท่สี อนโดยใช้หนังสอื เสรมิ ประสบการณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศกึ ษา เรือ่ ง กฎหมาย กบั ชีวติ สูงกว่านักเรียนทีส่ อนแบบปกติ สรุปผลการวจิ ยั ผลการวิจยั สามารถสรปุ ได้ ดงั น้ี 1. ผลการหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ด้วยหนังสือเสริมประสบการณ์ วิชาสังคมศึกษา เร่ือง กฎหมายกับชีวิต ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ เท่ากับ 81.08/82.19 แสดงวา่ หนงั สอื เสรมิ ประสบการณ์ เรอ่ื ง กฎหมายกับชีวิตมปี ระสทิ ธภิ าพทย่ี อมรบั ไดต้ ามสมมติฐานของ การวจิ ัย 2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนกั เรียนหลังเรยี นดว้ ยการสอนโดยใช้หนังสือเสริมประสบการณ์กับสอนปกติ ผลการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยท้ังสองกลุ่มของผู้เรียนกลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 27.72คะแนน กลุ่ม ควบคมุ มีคา่ เฉล่ียเทา่ กบั 18.90 คะแนน เมื่อเปรยี บเทียบแล้วมีความแตกต่างกันเท่ากับ 8.82 คะแนน ดังน้ันจากการ ทดสอบสถิติ t พบวา่ ค่าเฉล่ียระหว่างผเู้ รียนกลุม่ ทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่ง สอดคล้องกบั สมมตฐิ านของการวจิ ยั อภิปรายผล การวิจัยเรื่อง เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา เร่ือง กฎหมายกับชีวิต ของนักเรียน ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรยี นบ้านนา “นายกพิทยากร” ที่สอนโดยใช้หนังสือเสริมประสบการณ์กับสอนแบบ ปกติ ผู้วิจัยขออภิปรายผล ดงั ต่อไปน้ี 1. ประสทิ ธิภาพของหนังสอื เสริมประสบการณ์ เรื่อง กฎหมายกับชวี ติ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 3 พบวา่ หนังสอื เสริมประสบการณม์ ีประสทิ ธิภาพเทา่ กับ 81.08/82.19 ซ่งึ เป็นไปตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ 80/80 ที่กาหนดไว้ หมายความว่า นักเรยี นทาคะแนนระหว่างเรียนจากการทาแบบฝึกหัด ระหว่างเรียนเฉล่ียคิดเป็นร้อยละ 81.08และคะแนนจากการทดสอบหลังเรียน คิดเป็นร้อยละ 82.19 ท้ังน้ีเนื่องจากหนังสือเสริมประสบการณ์ เร่ือง กฎหมายกับชีวิต ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้สร้างตามข้ันตอนและกระบวนการ โดยการศึกษา หลักสูตรและเอกสารท่ีเกี่ยวข้องกับการสร้างหนังสือเสริมประสบการณ์ ผ่านการพิจารณา เพื่อปรับปรุงแก้ไขจาก ผเู้ ช่ยี วชาญแลว้ นามาปรับปรงุ แกไ้ ขให้ดีขึ้น หนังสือเสริมประสบการณ์ที่สร้างขึ้นมามีคาช้ีแจงสาหรับครู นักเรียน จึง หนา้ 217

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ทาให้เข้าใจง่าย ซ่ึงเนื้อหาในหนังสือเสริมประสบการณ์สร้างขึ้นจะเร่ิมจากง่ายไปยาก มีภาพประกอบท่ีสวยงาม รูปเลม่ นา่ สนใจ นกั เรียนจงึ มีความสนใจในขณะศึกษาหาความรู้ ซ่งึ สอดคล้องกับวิจัยของ Zhang Yuam (2559:40) ไดศ้ กึ ษาการสร้างหนงั สือเสรมิ ประสบการณ์ภาษาไทย เรือ่ งเทศกาลสาคัญของจีน พบว่าหนังสือเสริมประสบการณ์ที่ สร้างขนึ้ มปี ระสทิ ธิภาพ 81.01/81.33 สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของ วิเชยี ร บญุ เตีย่ ว (2553 : 31-33) ได้ดาเนินการสร้าง และหาประสิทธิภาพของหนังสือเสริมประสบการณ์การสอนวิชาคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยใช้นักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงแผนกวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคสตูล พบว่า ประสิทธิภาพการเรียน การสอนโดยใชห้ นงั สือเสรมิ ประสบการณส์ อนวชิ าคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีค่าเท่ากับ 83.00/81.93มีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ 80/80 และสอดคลอ้ งกบั งานวิจัยของ พัชราภรณ์ วงเวียน (2553 : 72 - 74) รายงานการพัฒนาหนังสือเสริม ประสบการณ์ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม เรือ่ ง พลเมืองดี ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน บา้ นสน อาเภอบวั เชด จงั หวัดสรุ ินทร์ พบว่า มคี ่าประสิทธภิ าพเทา่ กับ 92.14/90.48 ซงึ่ สงู กวา่ เกณฑ์ 80/80 2. ผลการเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนวิชาสังคมศึกษา เรื่องกฎหมายกับชีวิต ของนักเรียนระดับช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ที่สอนโดยใช้หนังสืออ่านเสริมประสบการณ์กับสอนแบบปกติ ผลการวิจัยพบว่า คะแนนเฉลี่ย ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ที่สอนแบบปกติ เท่ากับ 18.90 และคะแนนเฉล่ียผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนที่สอนโดยใช้ หนงั สอื เสริมประสบการณ์ เทา่ กับ 27.72 อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดบั .05 ซง่ึ เป็นไปตามสมมติฐานที่กาหนดไว้ ทั้งน้ีเน่ืองมาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กฎหมายกับชีวิต ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ท่ีสอนโดยใช้หนังสือ เสริมประสบการณ์จากหนังสือเสริมประสบการณ์ สูงกว่าที่สอนแบบปกติ เน่ืองจากแบบทดสอบในหนังสือ เสริม ประสบการณไ์ ด้ทาการวเิ คราะหแ์ ละใหผ้ ้เู ชี่ยวชาญจานวน 3 ทา่ นตรวจสอบและปรบั แก้ไขตามคาแนะนา และผ่าน การทดลองใช้กับกลุ่มท่ีไม่ใช่กลุ่มเปูาหมาย และมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้หนังสือเสริมประสบการณ์ ที่ผ่าน การตรวจสอบจากผู้เช่ียวชาญและผ่านการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ ซึ่งเป็นหนังสือเสริมประสบการณ์ ท่ีมี ประสิทธิภาพ และทง้ั น้ีผวู้ ิจัยได้ออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรใู้ ห้นักเรียนได้นาเสนอความรู้ ความเข้าใจผ่านการทางาน กล่มุ โดยคละเดก็ เกง่ ปานกลาง และอ่อน เปน็ สื่อพัฒนาทกั ษะการเรยี นร้ทู ่ีให้นกั เรยี นเกิดการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม มคี วามหลากหลาย สามารถนานักเรยี นสูก่ ารสรปุ ความคิดรวบยอดและหลกั การสาคัญของสาระการเรียนรู้ ข้อเสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้ 1. หนงั สือเสริมประสบการณ์ เรอ่ื ง กฎหมายกบั ชีวติ สรา้ งขึ้นเพ่ือใช้ในการจัดการเรียนการสอนซึ่งสามารถ ปรบั เปลีย่ นรูปแบบ นาการสอนท่ีมคี วามสอดคล้องกบั จุดประสงค์การเรียนรู้ แต่ยังคงมีความเหมาะสมของเน้ือหากับ ช่วงวยั ของผเู้ รียนรวมทั้งสือ่ ในการจัดการเรียนการสอนน้นั จะตอ้ งเหมาะสม และน่าสนใจ กระตนุ้ การอยากเรียนอยาก รขู้ องผู้เรียน 2. การจัดเนอื้ หาในแต่ละเลม่ ควรกะทดั รัด ไม่เยอะจนเกนิ มภี าพประกอบสอดคลอ้ งเหมาะสม 3. การทาแบบฝกึ หดั จะชว่ ยใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจเนอ้ื หาของบทเรยี นนัน้ ๆวา่ ต้องการสอนสงิ่ ใดให้กับผู้เรียน หน้า218

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 4. การสร้างหนังสือเสริมประสบการณ์ จะต้องคานึงถึงความสอดคล้องกับหลักสูตร เนื้อหาสาระที่สอนมี ความเหมาะสมมีความนา่ สนใจและสอดคลอ้ งกับแผนการจดั การเรยี นรู้ 5. หนงั สือเสรมิ ประสบการณ์ท่ีสร้างขึ้น มีความน่าสนใจ สีสันสวยงาม มีภาพประกอบที่ทาให้ผู้เรียนเข้าใจ มากข้นึ ทาให้ผู้เรยี นมคี วามอยากรอู้ ยากเรยี น เมอื่ ไดใ้ ช้หนังสือแล้ว สามารถกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดทักษะด้านการคิด วเิ คราะห์สามารถทาแบบทดสอบไดด้ ี ซึง่ หนังสอื เสรมิ ทกั ษะน้สี ามารถนาไปใช้ในแผนการจดั การเรยี นรู้ได้ดี ขอ้ เสนอแนะในการทาวิจยั คร้งั ต่อไป 1. ควรมีการพัฒนาหนังสือเสริมประสบการณ์ในสาระการเรียนรู้อื่น เช่น สาระภูมิศาสตร์ สาระ เศรษฐศาสตร์ เป็นต้น เพื่อให้มีเอกสารประกอบการเรียนที่มีความหลากหลายด้านเนื้อหา และเพ่ือให้นักเรียน สามารถนาไปศกึ ษาไดท้ ุกเวลา ทุกสถานที่ 2. ควรนาวิธีการสอนโดยใช้หนังสือเสริมประสบการณ์ใช้ในการเรียนรู้ร่วมกับวิธีการสอนอื่น ๆ เพ่ือให้เกิด ประโยชนต์ ่อการพัฒนาการเรียนการสอนในหลายรปู แบบ 3. สถานศึกษามงี บประมาณสนับสนุนการเผยแพร่งานวิจัยให้กับเพื่อนครูในโรงเรียนและโรงเรียนใกล้เคียง เพ่อื ใหง้ านวจิ ัยเกิดประโยชน์สงู สุด เอกสารอ้างอิง พสิ ณุ ฟองศร.ี (2549). การประเมนิ ทางการศกึ ษา : แนวคดิ สกู่ ารปฏบิ ตั ิ. พิมพค์ รั้งท่ี 2. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา กรงุ เทพฯ : เทียมฝุา. ขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. พัชราภรณว์ งเวยี น.(2553) .รายงานการพฒั นา กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพช์ มุ นมุ สหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย. หนังสือเสรมิ ประสบการณก์ ลุ่มสาระการ เรียนรสู้ งั คมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรมเรือ่ ง ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2556).การทดสอบ พลเมอื งดชี นั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรียน ประสทิ ธิภาพส่อื หรือชดุ การสอน. วารสาร บ้านสนอาเภอบัวเชด : จังหวัดสรุ นิ ทร์. ศลิ ปากรศกึ ษาศาสตร์วจิ ยั . วิเชียร บุญเตยี่ ว. (2553). การพฒั นาและหา บญุ ชม ศรสี ะอาด. (2556). วิธกี ารทางสถิตสิ าหรบั ประสิทธภิ าพหนังสือเสรมิ ประสบการณ์ การวิจัย เล่ม 1. (พิมพค์ รัง้ ท่ี 5). กรุงเทพฯ:สุ วชิ าการออกแบบ โปรแกรมใช้คอมพวิ เตอร์ วรี ยิ าสาส์น. ชว่ ยสอนสาหรบั นกั ศกึ ษา ระดบั ชั้น พระมหามนสั กิตฺตสิ าโร และคณะ (2561). หนงั สอื ประกาศนยี บตั ร วิชาชพี ปที ่ี 2. วทิ ยาลัยเทคนิคสตูล. เรยี นรายวชิ าสังคมศกึ ษา ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี รน่ื ฤทัย สจั จพันธ์ (2544). ศาสตรแ์ ละศปิ แ์ หง่ ที่ 3. กรุงเทพ: บรษิ ทั พัฒนาคณุ ภาพ วรรณคด.ี กรงุ เทพฯ: ประพนั ธส์ าส์น. วชิ าการ(พว.)จากัด พชิ ติ ฤทธิ์จรูญ. (2559).เทคนคิ การวิจัยเพื่อ หนา้ 219 พฒั นาการเรยี นรู้.กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั .

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) สรุ ศักด์ิ อมรรัตนศ์ ักด์ิ,บุญมี พันธ์ุไทย และ สมจิตรา ZHANG YUAN (2559). การสรา้ งหนงั สือเสริม เรืองศรี, (2557).ระเบยี บวธิ ีวจิ ยั ทางการ ประสบการณภ์ าษาไทย เรอ่ื งเทศกาลสาคญั ของจนี . ศกึ ษา.(พิมพค์ รงั้ ที่ 2). กรงุ เทพ: ศูนย์ส่งเสรมิ วทิ ยานพิ นธ์ศิลปะศาสตรม์ หาบณั ฑิต(ภาษาไทย). วิชาการ เชยี งใหม่: บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยราชภัฎ เชยี งใหม่. หนา้ 220

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) การเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาภาษาไทย เรือ่ ง คาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย ของนกั เรยี นช้ัน มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 โรงเรยี นเตรียมอดุ มศกึ ษาน้อมเกล้า ทเ่ี รยี นโดยใช้แบบฝกึ ทกั ษะกบั การเรียนแบบปกติ A Comparison of Thai Learning Achievement on Foreign Language used in Thai Language of Mathayomsuksa Three Students at Triamudomsuksanomklao Schoolby Using Skills Exercises and Traditional Teaching นางสาวลคั ณา สกุ แสง รศ.ดร.สริ ิพชั ร์ เจษฎาวิโรจน์ มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง E-mail [email protected] บทคดั ยอ่ การวจิ ัยในครั้งน้มี ีวัตถปุ ระสงค์ 1) เพือ่ สรา้ งและหาประสทิ ธิภาพแบบฝกึ ทักษะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 เร่ือง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 และ 2)เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา ภาษาไทย เรื่อง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะกับการเรียนแบบ ปกติกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย จานวน 2 ห้องเรียน ซ่ึงได้มาโดยการสุ่มแบบง่าย (Sample Random Sampling) โดยการจบั สลาก ไดแ้ ก่ นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3/1 จานวน 50 คน ท่ีเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ และนักเรียนช้ัน มธั ยมศึกษาปีที่ 3/4 จานวน 50 คน ใช้วิธีการเรียนแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แบบฝึกทักษะ วิชา ภาษาไทย เรือ่ ง คาภาษา ตา่ งประเทศในภาษาไทย 2) แผนการจัดการเรยี นรโู้ ดยใชแ้ บบฝึกทักษะและแผนการจัดการ เรียนรู้แบบปกติ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทยที่มีค่าความ เชอ่ื มัน่ ของแบบทดสอบท้งั ฉบับ เท่ากบั 0.89 โดยใช้แบบแผนการทดลอง (Randomized Group, Pretest-Posttest Design)วเิ คราะห์ข้อมูลโดยใช้ คา่ เฉลีย่ รอ้ ยละ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานและการทดสอบคา่ ที (t-test independent) ผลการวิจัยพบว่า 1) แบบฝกึ ทักษะ เร่ือง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทยมปี ระสทิ ธิภาพเท่ากบั 83.57/80.82 2) ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรยี นทเ่ี รยี นโดยใช้แบบฝึกทกั ษะ สูงกวา่ นกั เรียนท่ีเรยี นดว้ ยการเรียน แบบปกติ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05 Click here to enter text คาสาคญั :แบบฝึกทักษะ, การเรยี นโดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะ , การเรียนแบบปกติ , ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน หนา้ 221

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ABSTRACT The purposes of this research were 1) In order to create and find the efficiency of skill Exercise on foreign language words in Thai of mathayomsuksa three students at Triamudomsuksanomklao school to be effective according to the criteria 80/80 and 2) to compare the academic achievement of Thai language on foreign language words in Thai language of mathayomsuksa three students at Triamudomsuksanomklao school that studied by using skills Exercise and normal teaching. The samples used in the research were 2 classrooms, which were obtained by Simple Random Sampling and drawn by lottery. The 50 mathayomsuksa 3 room 1 students studied using skills exercise and the 50 mathayomsuksa 3 room 4 students using the normal teaching method. The research instrument used in the research were 1) Thai language skills exercise on foreign language words in Thai language 2) lesson plans about using skills exercise and normal lesson plans. 3) The learning achievement test on foreign language words in Thai with the reliability of the whole test equal to 0.89 using the Randomized Group and Pretest-Posttest Design. The data were analyzed by means of percentage, standard deviation and t-test independent. The results of the research revealed that 1) the skills exercise of foreign language words in Thai language has the efficiency equal to 83.57/ 80.82 2) The academic achievement of students learning by using skills exercise was higher than students who studied with normal teaching with statistically significant at the level of .05 KEYWORDS: Skill Exercise, Learning Using Skill Exercise, Normal Learning, learning achievement บทนา ประเทศไทยมกี ารติดต่อกับต่างประเทศมาช้านาน ผ่านด้านการค้า การเดินทาง การทูต ตลอดจนผ่านการ หยิบยืมวรรณคดีและวรรณกรรมต่างๆ ส่งผลให้มีการแลกเปลี่ยนทางภาษาซ่ึงเป็นเคร่ืองมือสาคัญที่ใช้ในการส่ือสาร เพื่อให้เกดิ ความเข้าใจท่ตี รงกันไม่วา่ จะเปน็ การแสดงความคิดความต้องการและความรู้สึกเมื่อภาษาเป็นวัฒนธรรมที่ จะถ่ายทอดกันได้ดีจึงทาให้ภาษาเกิดการปะปนกันขึ้นเป็นอย่างมากลักษณะของการปะปนกันนี้ย่อมทาให้เกิดการ เปล่ียนแปลงทางภาษาไปตามอิทธิพลของภาษาท่ียืมคามาใช้ภาษาท่ียืมภาษาอื่ นมาใช้ต้องมีวิธีการในการนามาใช้ ภาษาจงึ เป็นเคร่อื งมอื ในการติดต่อสือ่ สารของคนไทย ภาษาไทยเป็นวิชาพื้นฐานของการศึกษาทาให้ผู้เรียนเกิดความ เขา้ ใจในการเรยี นรวู้ ชิ าต่างๆและสามารถรับรู้ข่าวสารเพ่ือนาไปพัฒนาในการดาเนินชีวิตร่วมกันในสังคม ภาษาจึงมี ความสาคัญและควรมีการปลูกฝ๎งการเรียนรู้ตามทักษะการใช้ภาษาทั้งด้านการฟ๎งการพูดการเขียนภาษาเป็น วัฒนธรรมท่จี ะถ่ายทอดกนั ไดด้ จี งึ ทาใหภ้ าษาเกิดการปะปนกันขนึ้ เป็นอย่างมากลกั ษณะของการปะปนกันนี้ย่อมทาให้ เกิดกาเปล่ียนแปลงทางภาษาไปตามอิทธิพลของภาษาที่ยืมคามาใช้ในภาษาท่ียืมภาษาอื่นมาใช้ ต้องมีวิธีการในการ หนา้ 222

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) นามาใชเ้ ช่นการทับศพั ท์การบญั ญตั ศิ ัพทซ์ ้งึ มขี ้อดแี ละจากดั ผสู้ อนจึงควรสร้างบรรยากาศ จัดกิจกรรมการสอนต่าง ๆ ทีน่ า่ สนใจและสนกุ สนาน ท้ังนเี้ พอ่ื ปลูกฝง๎ ใหผ้ เู้ รยี นมีใจรักและ ความศรัทธาในวชิ าหลกั ภาษาไทย เกดิ การเรียนรู้อย่าง จริงจังและต่อเน่ือง ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ท่ีปรากฏในแบบเรียนภาษาไทยวิวิธภาษา ของสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ได้แก่ ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษาชวา ภาษามอญ ภาษาญี่ปุน ภาษามลายู และภาษาอาหรับ โดยรวบรวมคา และอธิบาย ความหมายของคาภาษาต่างประเทศท่ีปรากฏในภาษาไทย ความรู้ความจาความเข้าใจของนักเรียนอยู่ในระดับ ค่อนข้างตา่ นกั เรียนไมส่ ามารถรวู้ ่าคาใดเปน็ คาไทยแทห้ รอื คาใดเป็นคาภาษาต่างประเทศ มที ่มี าจากภาษาต่างประเทศ ใด และไมส่ ามารถอธิบายความหมายของคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทยได้วิไลศักด์ิ ก่ิงคา (2550: 227) ได้กล่าว ว่า เม่ือคาภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทยทาให้ลักษณะของภาษาไทยเปลี่ยนแปลงไปจากลักษณะ ดัง้ เดมิ เช่นทาใหม้ ีมากพยางคข์ ึ้นมคี าไวพจนม์ ากขน้ึ มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราโครงสรา้ งของภาษาไทยกลายลักษณะ ไปนอกจากน้ีในปจ๎ จุบนั ยงั มีการโต้แยง้ กันในเร่ืองคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทยเก่ียวกับการแก้ไขการเขียนคายืม ภาษาองั กฤษเพือ่ ดาเนินการจดั พิมพ์พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑิตยสถานพุทธศักราช 2554 กาญจนานาคสกุล (2555: 3) ได้กล่าววา่ ไดแ้ นะให้ใสเ่ ครื่องหมายวรรณยุกต์การใช้อักษรสูงหรือใช้หนาในคาท่ีไม่สามารถผันวรรณยุกต์ได้และได้ สารวจความคิดเห็นประชาชนเพ่ือจัดพิมพ์ในพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถานแต่เนื่องจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและ ประชาชนสว่ นใหญ่ไม่เห็นดว้ ยเนือ่ งจากประชาชนไดใ้ ช้มาเปน็ ระยะเวลานานแล้วหากเปลี่ยนแปลงจะมีผลต่อนักเรียน นักศึกษาข้าราชการและประชาชนท่วั ไปจึงยังไมแ่ ก้ไขคาภาษาองั กฤษในภาษาไทยในพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน กระทรวงศึกษาธิการ (2551 : 37) ได้กล่าวว่า ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรม อันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพและเสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเคร่ืองมือในการ ตดิ ตอ่ สอื่ สารเพ่อื สรา้ งความเข้าใจ และความสัมพนั ธ์ทดี่ ตี อ่ กัน ทาใหส้ ามารถประกอบกจิ ธุระ การงานและดาเนินชีวิต ร่วมกนั ในสงั คมประชาธิปไตยไดอ้ ยา่ งสันตสิ ุขและเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูล สารสนเทศต่าง ๆ เพอื่ พฒั นาความรู้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และสร้างสรรค์ ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงทาง สังคมและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทาง เศรษฐกจิ นอกจากน้ยี ังเปน็ สอื่ แสดงภูมิป๎ญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี สุนทรียภาพเป็นสมบัติล้าค่า ควรแก่การเรียนรู้ อนุรักษ์และสืบสานให้คงอยู่คู่ชาติไทยตลอดไป ด้วยความสาคัญดังกล่าว หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ได้กาหนดให้ภาษาไทยเป็นทักษะท่ีต้องฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ ภาษาเพ่ือการส่ือสาร การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพและเพ่ือนาไปใช้ในชีวิตจริง สังคมมีการเปลี่ย นแปลงจึงทาให้ ต้องยืมภาษาอื่นมาใชใ้ นภาษาไทยเปน็ จานวนมาก และมกี ารเปล่ียนแปลงในหลายๆด้านด้วยกัน เช่น การสร้างศัพท์ ใหม่มาใชท้ ้ังภาษาพูด ภาษาเขยี น โดยเฉพาะการชา้ คาการใช้สานวนภาษาท่ีไม่เหมาะสมจึงทาให้เกิดความสับสนใน การใช้ เรื่อง การเขียนสะกดคา ตัวการันต์ จึงไม่สามารถแยกได้ว่าคาใดเป็นคาภาษาต่างประเทศท่ียืมมาใช้ใน ภาษาไทย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเห็นความสาคัญ ของเร่ืองดังกล่าวจึงได้กาหนดสาระท่ี 4 หลักการใช้ภาษาไทยมาตรฐาน ท. 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลัก ภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิป๎ญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของ ชาติ ตวั ชวี้ ัด ม. 3/1 จาแนกและใช้คาภาษาต่างประเทศทใ่ี ชใ้ นภาษาไทย จัดกิจกรรมการสอนต่าง ๆ ท่ีน่าสนใจและ หนา้ 223

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) สนกุ สนาน ท้ังนี้เพื่อปลูกฝ๎งให้ผู้เรียนมีใจรักและ ความศรัทธาในวิชาหลักภาษาไทย เกิดการเรียนรู้อย่างจริงจังและ ต่อเนื่อง ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ที่ปรากฏในแบบเรียนภาษาไทยวิวิธภาษา ของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ได้แก่ ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษาญ่ปี ุน ภาษาชวาและภาษามลายู โดยรวบรวมคา และอธิบายความหมายของคาภาษาต่างประเทศที่ปรากฏใน ภาษาไทย ความรูค้ วามจาความเขา้ ใจของนักเรียนอยู่ในระดับค่อนข้างต่านักเรียนไม่สามารถรู้ว่าคาใดเป็นคาไทยแท้ หรือคาใดเป็นคาภาษาต่างประเทศ มีท่ีมาจากภาษาต่างประเทศใด และไม่สามารถอธิบายความหมายของคา ภาษาต่างประเทศในภาษาไทยได้ โดยเฉพาะอย่างย่ิง คาที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต และคาเขมรในภาษาไทย นกั เรยี นจะสบั สนมากและมักตอบผิด เม่ือครูถามหรือให้ทาแบบทดสอบ จึงแก้ป๎ญหาโดยการอธิบายทบทวนอีกครั้ง และใหท้ าแบบฝึกหดั หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยจะให้ ความสาคญั กบั หลกั ภาษาไทยมากในระดับหน่ึงจึงทดสอบจากคะแนนการทดสอบการศึกษาแห่งชาติข้ันพ้ืนฐาน (O- NET) ของนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งเป็นช่วงช้ันที่ผู้วิจัยทาการจัดการเรียนอยู่น้ันพบว่าเม่ือศึกษา คะแนนการทดสอบการศึกษาแห่งชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 วิชาภาษาไทยเฉพาะสาระการ เรียนรหู้ ลักภาษาไทยในปีการศึกษา 2558 ปกี ารศกึ ษา 2559 และปกี ารศึกษา 2560 สภาพปญ๎ หาทางดา้ นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้าพบว่าเม่ือศึกษา จากคะแนนการทดสอบการศึกษาแห่งชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 วิชาภาษาไทยเฉพาะสาระการ เรยี นรู้หลักภาษาไทยในปีการศึกษา 2559 มีผลค่าเฉล่ียของผลการทดสอบ 60.56 ปีการศึกษา 2560 มีผลค่าเฉลี่ยของผล การทดสอบ 65.72 และปีการศึกษา 2561 มีผลค่าเฉล่ียของผลการทดสอบ 74.67 ของนักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา น้อมเกลา้ พบวา่ มีคะแนนเฉลย่ี คอ่ นข้างระดับปานกลาง ลัดดา พลหาญ (2550: 29) กล่าวว่า จากการใช้แบบฝึกเป็นการฝึกทักษะใดทักษะหน่ึงด้วยวิธีการ หลากหลายรูปแบบทาให้เข้าใจบทเรียนง่ายขึ้น นอกจากนี้ยังทาให้ครูทราบความเข้าใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียน และหาแนวทางในการปรบั ปรงุ การเรยี นการสอนใหน้ ักเรยี นอย่างดีท่สี ุดตามความสามารถของแต่ละคน การฝึกจะทา ให้เด็กเกดิ ความเชือ่ มนั่ สามารถประเมนิ ผลงานของตนเองได้ตลอดจนฝึกให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่องานท่ีได้รับ มอบหมาย จากประโยชนแ์ ละความสาคญั ของแบบฝึก สามารถสรุปได้ว่า แบบฝึกมีความสาคัญและประโยชน์ท่ีจะช่วย พัฒนากระบวนการคิดและกระบวนการเรยี นร้ใู หเ้ กิดความชานาญ และความเชื่อมั่นของผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพและ หลากหลายมากข้ึนการสอนภาษาไทยให้บรรลุวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพน้ัน จาเป็นต้องฝึกทักษะต่าง ๆ ให้ สัมพันธก์ นั ท้ังการรบั เขา้ มา คอื การอ่านและการฟ๎งกับทักษะการถ่ายทอดออกไป คือ การพูดและการเขียน ในด้าน การเขียน ถือเป็นทักษะท่ียุ่งยากซับซ้อนและเป็นทักษะถ่ายทอดท่ีสาคัญต่อการส่ือสารอย่างย่ิงจากความสาคัญของ การฟ๎ง พูด อ่าน และเขียนในภาษาไทย จากสภาพและป๎ญหาดังกล่าว ผู้วิจัยจึงได้พัฒนาแบบฝึกทักษะช้ัน มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 เพื่อแก้ป๎ญหาและพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะในการฟ๎ง พูด อ่าน และเขียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ เรื่อง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย เพ่ือพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนอีกทางหนึ่งจากป๎ญหา ดงั กล่าว ครจู งึ ให้ความสาคัญการใชค้ าภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย และแกป้ ญ๎ หาข้อบกพรอ่ งดว้ ยการ ผลิตส่ือการ อ่านท่ีตรงกับระดับความสามารถ ความต้องการ และความสนใจของนักเรียนและครูมุ่งเน้นให้นักเรียน เรียนด้วย หนา้ 224

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ตนเอง เพราะชุดแบบฝึกทักษะจึงมีความจาเป็นและสาคัญสาหรับการเรียนการสอนในยุคป๎จจุบัน มาใช้ในการจัด กจิ กรรมการสอนภาษาไทยเรื่องคาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย เพือ่ พฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้ สงู ขนึ้ วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจัย 1. เพอ่ื สรา้ งและหาประสิทธิภาพแบบฝึกทกั ษะของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 เรอื่ ง คาภาษาตา่ งประเทศ ในภาษาไทย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพ่ือเปรยี บเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียน วิชา ภาษาไทย เรอ่ื ง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของ นกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรียนเตรยี มอดุ มศกึ ษาน้อมเกล้า ทเ่ี รียนโดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะกบั การเรยี นแบบปกติ สมมติฐานของการวจิ ยั .1แบบฝกึ ทักษะ วิชาภาษาไทย เรอ่ื ง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3มี ประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 .2ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา เรื่อง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปที ่ี3 ท่ีผลสมั ฤทธิ์สงู กวา่ นกั เรียนท่สี อนโดยการใช้แบบฝึกทักษะ วธิ ดี าเนินการวิจัย ประชากร ประชากรทใ่ี ช้ในการศึกษาครงั้ นี้เปน็ นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า ภาค เรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 4 ห้องเรียน จานวนนักเรียน 180 คนซ่ึงนักเรียนมีคุณลักษณะและระดับ ความสามารถใกลเ้ คียงกันทกุ หอ้ ง กลมุ่ ตัวอยา่ ง กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า ภาค เรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562 จานวน 2 หอ้ งเรยี น ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Sample Random Sampling) จาก ห้องทั้งหมด 4 ห้อง แล้วกาหนดประเภทวิธีการสอนของกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีจับฉลาก (Lottery Method) โดย นักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3/1 จานวน 50 คน กลุ่มทดลอง และนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3/4 จานวน 50 คน กลุ่มควบคุม ตวั แปรทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั 1. ตัวแปรต้นการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย เรื่อง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของนักเรียนช้ัน มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ทีเ่ รียนโดยใชแ้ บบฝึกทักษะและเรยี นแบบปกติ 2. ตัวแปรตามผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น วิชาภาษาไทย เรอ่ื ง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย นักเรียนชั้น มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 หน้า225

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) เนื้อหาทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั การวิจัยคร้ังนี้ ผู้วิจัยใช้เนื้อหาในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐานพทุ ธศกั ราช 2551 เรอ่ื ง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 สาระที่ 4 หลักการใช้ ภาษาไทย ดังน้ี 1. ลักษณะของคาไทยแท้ 2. ภาษาบาลใี นภาษาไทย 3. ภาษาสันสกฤตในภาษาไทย 4. ภาษาเขมรในภาษาไทย 5. ภาษาญป่ี นุ ในภาษาไทย 6. ภาษาจีนในภาษาไทย 7. ภาษาองั กฤษในภาษาไทย 8. ภาษาชวา – มลายู ในภาษาไทย ระยะเวลาในการทดลอง ระยะเวลาในการศึกษาครั้งนี้ ดาเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 เดือน สิงหาคม – กันยายน พ.ศ. 2562 ระยะเวลาในการดาเนนิ การทดลอง 8 คาบ คาบละ 50 นาที ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รับ 1. ได้หาประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 เร่ือง คาภาษาต่างประเทศใน ภาษาไทย โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษาน้อมเกล้า ให้มปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. ได้เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน วิชา ภาษาไทย เรื่อง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของ นกั เรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษานอ้ มเกล้า ท่ีเรยี นโดยใชแ้ บบฝึกทักษะกบั การเรยี นแบบปกติ 3. เพอ่ื นาแบบฝึกทักษะ วชิ า ภาษาไทย เรื่อง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา นอ้ มเกล้า ไปเผยแพรใ่ นการแสวงหาความรกู้ บั เพือ่ นครูผ้สู อน การวิจัยครง้ั เป็นได้ทาการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ซ่งึ มีขน้ั ตอนในการดาเนนิ การทดลอง ดังน้ี 1. แบบแผนการทดลองการวจิ ยั คร้งั นี้ผู้วจิ ยั ได้ใช้แบบแผนการทดลองแบบ Randomized Control-Group Pretest-Posttest Design โดยกลุ่มหนึ่งเรียกว่า กลุ่มทดลอง ซ่ึงเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ เร่ือง คา ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย อกี กลุ่มหนึง่ เรยี กวา่ กลุม่ ควบคมุ ซง่ึ เรียนโดยใช้การเรียนแบบปกติ กลุ่ม สอบก่อน ทดลอง สอบหลงั E (R) O1 X O2 C (R) O1 -X O2 กาหนดให้ E (R) กลุม่ ทดลองทีเ่ รยี นรโู้ ดยใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะ หน้า226

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวข้อ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) C (R) กล่มุ ควบคมุ ท่เี รยี นรูโ้ ดยวธิ ีการเรยี นแบบปกติ X วิธกี ารโดยใช้แบบฝึกทักษะ -X วธิ กี ารสอนแบบปกติ O1 ทดสอบก่อนเรียน (Pre – test) O2 ทดสอบหลงั เรียน (Post – test) 2. ข้นั ตอนการทดลอง มีดงั น้ี 2.1นาแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนวิชาภาษาไทย เร่ือง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ไป ใชท้ ดสอบก่อนเรยี นกบั กลมุ่ ทดลองและกล่มุ ควบคุม 2.2 นาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะไปใช้กับกลุ่มทดลอง และนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ ปกตไิ ปใช้กบั กล่มุ ควบคมุ 2.3 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการชาภาษาไทย เรื่อง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ไปใช้ ทดสอบหลังเรียนกบั กลมุ่ ทดลองและกลุ่มควบคมุ 2.4 ตรวจแบบฝึกทกั ษะและแบบทดสอบแล้วนาขอ้ มูลทไี่ ดไ้ ปวิเคราะห์ข้อมลู ทางสถติ ิเพอ่ื ทดสอบสมมติฐาน วธิ ีวิเคราะหข์ ้อมลู ผู้วจิ ยั นาคะแนนทไี่ ด้จากการทดลองมาวิเคราะหโ์ ดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป (Statistical Package Science : SPSS) โดยดาเนินการดังต่อไปนี้ 1. ตรวจสอบคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ วิเคราะห์ความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา ดาเนินการโดยหาค่า ดัชนคี วามสอดคลอ้ ง (IOC) ของแผนการจัดการเรียนรู้ 2. ตรวจสอบคณุ ภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นวิชาภาษาไทย เรื่อง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย วิเคราะห์ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ดาเนินโดยหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ความยากง่าย (p) และค่าอานาจจาแนก (r) และคา่ ความเช่อื มั่นของแบบทดสอบโดยใช้สูตร KR - 20 3. ตรวจสอบคุณภาพของแบบฝึกทักษะ เร่ือง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย โดยหาค่าดัชนีความ สอดคลอ้ ง (IOC) และ หาประสิทธภิ าพ / (80/80) 4. ทดสอบสมมติฐานการวจิ ัย โดยใช้ T – test for two samples แบบ T – test Independent ต้องใช้ t-test การหาคา่ ประสทิ ธิภาพของชดุ กิจกรรมแบบฝกึ ทักษะ การนาชุดการสอนไปทดลองใชต้ ามขน้ั ตอนท่ีกาหนดไว้ ชัยยงค์ พรหมวงศ์(2556) เพื่อนาข้อมูลมาปรับปรุง และนาไปทดลองใช้จรงิ ประสิทธภิ าพของชดุ การสอนจะกาหนดเปน็ เกณฑท์ ีผ่ ูส้ อนคาดหมายวา่ ผูเ้ รยี นจะเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมท่ีพึงพอใจ โดยถือว่าชุดการสอนท่ีมีประสิทธิภาพนั้นจะต้องเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานท่ีตั้งไว้ 80/80 หมายความวา่ จานวนนกั เรียนร้อยละ 80 ขน้ึ ไปมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนไม่ตา่ กวา่ ร้อยละ 80 หนา้ 227

การประชมุ วิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) เกณฑ์ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 80/80 หมายถึง เกณฑ์ที่ใช้ในการกาหนดประสิทธิภาพของชุด กจิ กรรมการเรยี นรู้ 80 ตัวแรก (E1) หมายถึง รอ้ ยละของคะแนนเฉลีย่ ของกลุ่มตวั อยา่ งทั้งหมดจากการประเมนิ การปฏิบัติกิจกรรมตาม ชดุ กจิ กรรมและการทาแบบทดสอบหลังเรยี นในแต่ละชุดกิจกรรม มากกว่าหรือเทา่ กบั ร้อยละ 80 80 ตวั หลัง (E2) หมายถึง รอ้ ยละของคะแนนเฉล่ยี นของกลุม่ ตัวอย่างทั้งหมดจากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี น มากกว่าหรือเทา่ กบั รอ้ ยละ 80 มีขน้ั ตอนการหาประสิทธิภาพ ดังนี้ 1. ทดสอบหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมกับกลุม่ ตวั อย่างท่ีเรียกว่า แบบรายบุคคล หรือ 1:1:1 หมายถึง ทดลองใช้ นวตั กรรมกับนกั เรียน 3 คน ที่ประกอบด้วย กลุ่มเก่ง กลุ่มปานกลางและกลุ่มอ่อน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างใดอย่าง หนึ่งตามกระบวนการเลือกกลุ่มตัวอยา่ งทางการวิจัย อย่างละ1คน แล้วคานวณหา E1 /E2 แลว้ นามาปรับปรงุ 2. ทดสอบหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมกับกลุ่มตัวอย่างท่ีเรียกว่าแบบกลุ่มย่อย หรือ 3:3:3 หมายถึง ทดลองใช้ นวตั กรรมกบั นักเรียนประมาณ 5-10 คน ท่ีประกอบด้วย กลุ่มเก่ง กลุ่มปานกลางและกลุ่มอ่อน ได้มาโดยวิธีการสุ่ม อย่างใดอย่างหนึ่งตามกระบวนการเลือกกลุ่มตัวอย่างทางการวิจัย คละกันไปในจานวนเท่า ๆ กัน แล้วคานวณหา E1/E2 แล้วนามาปรับปรงุ 3. ทดสอบหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมกับกลุ่มตัวอย่างกลุ่มใหญ่ท่ีเรียกว่าภาคสนาม หรือ 10:10:10 ห้องเรียน หมายถึง ทดลองใช้นวตั กรรมกบั นกั เรยี น 1 หอ้ งเรยี น จานวนนกั เรยี นตง้ั แต่ 30 คนขน้ึ ไป แล้วคานวณหา E1/E2 แล้ว นาผลการวิเคราะห์เทียบกบั เกณฑ์ ถา้ ต่ากว่าเกณฑ์ไม่เกนิ รอ้ ยละ 2.5 ก็ยอมรับได้ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู การวิจยั เรอื่ งการเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนวิชาภาษาไทย เร่ือง คาภาษาต่างประเทศใน ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะกับ การเรยี นแบบปกติ ในคร้งั น้ีผ้วู จิ ัยได้วเิ คราะห์ข้อมูลและนาเสนอผลการวจิ ยั ตามจุดมุ่งหมายของการวิจยั ดังนี้ 1. เพ่อื สร้างและหาประสทิ ธิภาพแบบฝึกทักษะของนักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 เร่ือง คาภาษาต่างประเทศ ในภาษาไทย โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษาน้อมเกล้า ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพ่อื เปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน วิชา ภาษาไทย เร่อื ง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของ นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษานอ้ มเกล้า ทเ่ี รยี นโดยใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะกบั การเรยี นแบบปกติ ซึ่งผูว้ จิ ยั ไดด้ าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลและนาเสนอการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ดงั น้ี การหาประสิทธภิ าพแบบฝกึ ทักษะ เรอื่ ง คาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทยของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปี ที่ 3 ให้มีประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 หนา้ 228

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ตาราง 1คา่ ประสิทธิภาพแบบฝึกทกั ษะเรือ่ ง คาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทยวิชา ภาษาไทย สาหรับนกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเตรยี มอุดมศึกษาน้อมเกลา้ ประสทิ ธิภาพของกระบวนการ ประสิทธภิ าพของผลลพั ธ์ (40)คะแนน การหาประสิทธิภาพ จานวน (40 คะแนน) นกั เรยี น คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ (E1) แบบรายบคุ คล คะแนน รอ้ ยละ (E2) แบบกล่มุ ย่อย 3 33.00 82.50 เฉล่ีย แบบภาคสนาม 9 33.56 83.90 30 33.57 83.57 32.67 81.67 32.00 80.00 32.33 80.82 จากตาราง 1 แสดงให้เห็นว่าผลการหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ เรื่อง คาภาษาต่างประเทศใน ภาษาไทย ของช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามลาดับขั้นตอนของการหาประสิทธิภาพท้ัง 3 ข้ันตอน พบว่าการหา ประสิทธิภาพข้ันที่ 1 (แบบรายบุคคล) มีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.50/81.67 ขั้นที่ 2 (แบบกลุ่มย่อย) มี ประสิทธิภาพเท่ากับ 83.90/80.00 และขั้นท่ี 3 (แบบภาคสนาม) มีประสิทธิภาพเท่ากับ 83.57/80.82 นั่นคือ ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ เรื่อง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 มี ประสิทธิภาพตามเกณฑท์ ่ตี งั้ ไว้ คอื 80/80 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรอ่ื ง คาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทยของนักเรยี นทเี่ รยี นโดย ใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะกบั การเรียนแบบปกติ เพอ่ื ใหเ้ หน็ วา่ นกั เรยี นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมไม่แตกตา่ งกัน ก่อนการทดลองผู้วจิ ยั จึงนาเสนอขอ้ มลู การ เปรียบเทยี บคะแนนกอ่ นเรยี นของกลมุ่ ทดลองและกลุ่มควบคมุ ดงั นี้ ตาราง 2 การเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรยี นของกลมุ่ ทดลองและกลุ่มควบคุม นักเรียน จานวน คา่ เฉลยี่ ส่วนเบี่ยงเบน ค่า t Sig มาตรฐาน -0.656 0.885 กล่มุ ทดลอง 50 13.54 2.644 กลมุ่ ควบคุม 50 13.18 2.841 p < .05 หนา้ 229

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) จากตาราง 2 พบวา่ นกั เรยี นกลมุ่ ทดลองและกล่มุ ควบคุมมคี ะแนนก่อนเรียนไม่แตกตา่ งกนั ดังน้ันจากการ ทดสอบสถติ ิ t พบว่า คา่ เฉล่ียระหวา่ งผูเ้ รียนกลุ่มทดลองและกล่มุ ควบคุมไม่แตกตา่ งกันอยา่ งไม่มีนยั สาคัญทางสถิตทิ ี่ ระดับ .05 ตาราง 3การเปรยี บเทียบคะแนนหลังเรียนของกลมุ่ ทดลองและกลุ่มควบคุม นักเรียน จานวน ค่าเฉล่ีย สว่ นเบยี่ งเบน ค่า t Sig มาตรฐาน -10.448 .00 กลุ่มทดลอง 50 30.72 2.564 กลุ่มควบคมุ 50 23.58 4.096 p < .05 จากตาราง 3 พบว่า นกั เรียนท่ีได้เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงกว่านักเรียนท่ีเรียน แบบปกติ ดังนน้ั จากการทดสอบสถิติ t พบว่า ค่าเฉลี่ยระหว่างผู้เรียนกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองแตกต่างกันอย่างมี นยั สาคัญทางสถติ ิที่ระดับ .05 สรุปผลการวจิ ยั 1. แบบฝึกทักษะ เรื่อง ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเตรียม อุดมศึกษาน้อมเกล้า มีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้โดยมีค่าเท่ากับ 83.57/80.82 แสดงว่าแบบฝึก ทักษะเรอ่ื ง ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย มีประสทิ ธิภาพท่ยี อมรบั ไดต้ ามสมมตฐิ านของการวจิ ัย 2. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นภาษาไทย เรือ่ ง ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 หลังเรียนดว้ ยแบบฝึกทักษะเร่ือง ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 30.72 คะแนน กลุ่มควบคมุ มีค่าเฉลยี่ เทา่ กบั 23.58 คะแนน เมือ่ เปรยี บเทียบแล้วมคี วามแตกต่างกันเท่ากับ 7.14 คะแนน ดังนั้นจาก การทดสอบสถิติ t พบว่า ค่าเฉลี่ยระหว่างผูเ้ รยี นกลุ่มทดลองสูงกวา่ กล่มุ ควบคมุ อย่างมนี ยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั สมมตฐิ านของการวจิ ยั อภิปรายผล ผลการวจิ ยั การเปรยี บเทียบผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นวิชาภาษาไทย เร่ือง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาน้อมเกลา้ ที่เรยี นโดยใช้แบบฝึกทักษะกบั เรยี นแบบปกติ อภปิ รายผลการวจิ ัย ดังตอ่ ไปนี้ 1. ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ เรื่อง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของนักเรียนชั้น มธั ยมศกึ ษาปีท่ี พบวา่ แบบฝกึ ทกั ษะมปี ระสิทธภิ าพเท่ากบั 383.57/80.82 มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด ที่กาหนดไว้ หมายความวา่ นักเรยี นทาคะแนนระหว่างเรียนจากการทาแบบฝึกหั 80/80ด ระหว่างเรียนเฉล่ียคิดเป็น หน้า230

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) รอ้ ยละ 83.57 และคะแนนจากการทดสอบหลงั เรยี น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80.82 ทั้งน้ีเนือ่ งจากแบบฝึกทักษะ เร่ือง คา ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ได้สร้างตามขั้นตอนและกระบวนการ โดย 3 การศึกษาหลักสูตรและเอกสารที่เก่ียวข้องกับการสร้างแบบฝึกทักษะ ผ่านการพิจารณา เพื่อปรับปรุงแก้ไขจาก ผเู้ ชย่ี วชาญแลว้ นามาปรับปรุงแก้ไขให้ดีข้ึน แบบฝึกทักษะท่ีสร้างข้ึนมามีคาชี้แจงสาหรับครู นักเรียน จึงทาให้เข้าใจ งา่ ย ซึง่ เน้ือหาในแบบฝกึ ทกั ษะสรา้ งข้นึ จะเริ่มจากงา่ ยไปยาก มภี าพประกอบที่สวยงาม รปู เลม่ น่าสนใจ นักเรียนจึงมี ความสนใจและเพลดิ เพลนิ ในขณะศกึ ษาหาความรู้ในขณะทาแบบฝกึ ทักษะ นอกจากนเ้ี นือ้ หาในแบบฝึกทักษะยงั มคี วามสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์การเรยี นรู้และตัวชี้วัดตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 เม่ือนาแบบฝึกทักษะไปทดลองจริงจึงทาให้แบบฝึกทักษะ เรื่อง คา ภาษาต่างประเทศในภาษาไทยมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ซึ่งสอดคล้องกับข้ันตอนการสร้างแบบฝึกทักษะ และการหาประสทิ ธิภาพตามแนวคิดของสอดคล้องกับ วรรณภา ไชยวรรณ 2549): 41 (ถึงประโยชน์ของแบบ ฝกึ ทักษะไว้ว่า แบบฝึกช่วยในการฝกึ หรอื เสรมิ ทักษะทางภาษา การใชภ้ าษาของนกั เรียนสามารถนามาฝึกซ้าทบทวน บทเรยี น และผูเ้ รยี นสามารถนาไปทบทวนด้วยตนเอง จดจาเนื้อหาได้คงทน มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษาไทย แบบ ฝกึ ถอื เปน็ อุปกรณก์ ารสอนอย่างหนึ่งซึง่ สามารถทดสอบความรู้ วัดผลการเรยี นหรือประเมินผลการเรียนก่อนและหลัง เรยี นไดเ้ ปน็ อย่างดี ทาใหค้ รทู ราบป๎ญหาข้อบกพร่องของผู้เรียนเฉพาะจุดได้ นักเรียนทราบความก้าวหน้าของตนเอง ครปู ระหยดั เวลา คา่ ใช้จ่ายและลดภาระได้มากสอดคล้องกับ สุดาพร ไชยะ )2552: 124) ซ่ึงกล่าวว่า หลักภาษาเป็น วิชาที่ยากและผู้เรียนอาจเรียนรู้ได้ช้า ผู้สอนจึงควรสร้างบรรยากาศ จัดกิจกรรมการสอนต่าง ๆ ที่น่าสนใจและ สนุกสนาน ท้ังนีเ้ พ่อื ปลกู ฝ๎งให้ผเู้ รียนมใี จรักและ ความศรัทธาในวชิ าหลักภาษาไทย 2. ผลการเปรียบเทียบผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนวชิ าภาษาไทย เรื่อง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของ นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 หลงั เรยี นด้วยแบบฝึกทักษะ เรอื่ ง คาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย พบว่านักเรียนที่ เรยี นโดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่านักเรียนท่ีเรียนแบบปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ทงั้ นีเ้ นอ่ื งจากเนื้อหาของแบบฝึกทักษะเรื่องคาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 เป็นไปตามลาดับขนั้ ตอนการเรียนรู้ เพ่ือให้นักเรียนเข้าใจและทาแบบฝึกได้ด้วยตนเองเพราะแบบฝึกทักษะสามารถ กระตนุ้ ความสนใจของนกั เรียน ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจยั ไปใช้ 1. การจดั การเรยี นรแู้ บบฝกึ ทกั ษะเป็นการจัดการเรียนรู้ทตี่ อบสนองการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนต่อการจัดกิจกรรม จึงต้องหลากหลาย และตอ้ งคานึงถึงการออกแบบกจิ กรรมและขนั้ ตอนการจัดกจิ กรรมอยา่ งยิ่งเพราะต้องให้สอดคล้อง กับกระบวนการพฒั นาผู้เรยี น ครผู สู้ อนจงึ ควรเตรียมตวั ใหพ้ ร้อม โดยการศึกษาข้อมูล และวางแผนการจัดการเรียนรู้ ให้เหมาะสมกับเนือ้ หาและผู้เรียน 2. ในขณะท่ีนักเรียนปฏิบัตกิ จิ กรรม นกั เรียนบางคนยังไม่เข้าใจเก่ียวกับการเรียนโดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะใน ช่วงแรก ๆ ผ้สู อนควรอธบิ ายขัน้ ตอนการเรียนการสอนโดยใช้ชดุ กิจกรรมใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจกอ่ นการดาเนินกจิ กรรม 3. การจดั การเรยี นรู้โดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะนั้น เป็นการเรียนในลักษณะท่ีนักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง ควร ให้นกั เรยี นระลกึ เสมอวา่ ในบางครง้ั นักเรียนไมส่ ามารถทาถูกตอ้ งได้ ถา้ กิจกรรมใดหรือกิจกรรมบางส่วนของกิจกรรม หน้า231

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) มีป๎ญหา นักเรียนควรซักถามผู้สอนว่ากระบวนการแก้ป๎ญหาที่ดาเนินการทานั้นถูกต้องหรือไม่ เพื่อท่ีจะทาให้ กิจกรรมที่นกั เรยี นปฏิบตั นิ ้นั ไม่ผดิ พลาดและไมต่ อ้ งเสียเวลามาแกไ้ ขกระบวนการและผลการเรียนรภู้ ายหลัง ข้อเสนอแนะในการทาวจิ ัยคร้งั ต่อไป 1. ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบผลการจัดการเรียนรู้ในสาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย ในเร่ืองอื่นๆ เช่น เรอ่ื งชนดิ ของคา การสร้างคา ประโยคในภาษาไทยวา่ สูงข้ึนหรือไมเ่ ม่ือใชแ้ บบฝึกทกั ษะ 2. ควรมกี ารศึกษาเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ใช้แบบฝึกทักษะในสาระการเรียนรู้แกนกลาง วชิ าภาษาไทยอื่น ๆ เช่น สาระที่ 1 การอ่าน สาระท่ี 2 การเขียน สาระท่ี 3 การฟ๎งการดูและการพูด และสาระที่ 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม 3. ควรศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย ในการใช้ส่ืออ่ืนๆ โดยปรับเปลี่ยนการใช้สื่อในการ เปรียบเทียบเพื่อเกดิ ความรูใ้ นการใช้สอื่ ทีห่ ลากหลาย เอกสารอ้างอิง บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยราชภฏั ราช นครินทร์. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสตู รแกนกลาง วรรณภา ไชยวรรณ. (2549). การพฒั นาแผนการ การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานพทุ ธศกั ราช 2551. อ่านภาษาไทย เรื่อง อกั ษรควบและอกั ษรนา ชน้ั กรงุ เทพฯ : โรงพิมพช์ มุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตร ประถมศึกษา แหง่ ประเทศไทย. ปีที่ 3. การศกึ ษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม. กาญจนานาคสกลุ . (2555). ระบบเสียงภาษาไทย. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. พิมพค์ รง้ั ที่ 4. กรุงเทพฯ : โครงการตาราคณะ วไิ ลศักดิ์ กง่ิ คา. (2550).ภาษาตา่ งประเทศใน ภาษาไทย. กรุงเทพ ฯ : ภาควชิ าภาษาไทย อกั ษรศาสตรจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ชยั ยงค์ พรหมวงศ์. (2556).การทดสอบ คณะนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. สุดาพร ไชยะ. (2552). การจัดการเรียนการสอน ประสิทธภิ าพสอื่ หรอื ชดุ การสอน. วารสาร วิชาภาษาไทย. พิมพค์ ร้งั ที่ 4. ฉะเชงิ เทรา: ศลิ ปากรศึกษาศาสตร์วิจยั . คณะครศุ าสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎราช ลดั ดาพลหาญ. (2550). การสร้างแบบฝกึ ทกั ษะการ นครินทร.์ เขยี นเชงิ สร้างสรรค์ในรายวชิ าภาษาไทย สาหรับนกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3. วทิ ยานพิ นธป์ ริญญาครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน หน้า232

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ปัจจยั ทส่ี ง่ ผลการตัดสินใจเลอื กเข้าศกึ ษาตอ่ ระดับปริญญาตรี สาขาสตั วศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร Determining Factors in Making decision to Studying in Animal Science Program, Silpakorn University จารุณี เกษรพกิ ลุ และ สุรวฒั น์ ชลอสันตสิ กุล คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร E-mail [email protected] บทคัดยอ่ การวิจัยนี้วัตถปุ ระสงค์เพื่อศึกษาป๎จจัยท่ีมีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สาขาสัตว ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรของนักศึกษาใหม่ นักศึกษาป๎จจุบัน และศิษย์เก่าและเพื่อนาผลการศึกษามาปรับปรุง และพัฒนาหลกั สูตร รวมท้งั การประชาสัมพันธห์ ลกั สตู รให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น จากการศึกษาพบว่านักศึกษาที่เข้า มาเรียนสาขาสัตวศาสตรเ์ ปน็ เพศหญิงมากขึน้ นกั ศกึ ษาอาศยั อยู่ในภาคตะวันตกมากท่สี ุด รองลงมาคอื ภาคกลาง และ กรงุ เทพมหานคร มนี ักศึกษาอาศัยอยเู่ ทา่ ๆ กัน ปจ๎ จัยด้านภาพลกั ษณ์ ด้านหลักสูตร และด้านเหตุผลส่วนตัว มีผลต่อ การตดั สินใจเลือกเข้าศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี สาขาสตั วศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับปานกลาง ปานกลาง และน้อยตามลาดับสภาพแวดล้อมของมหาวิทยาลัยมีผลสาคัญต่อภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ของทั้ง 3 กลุ่มตัวอย่างหลักสูตรสัตวศาสตร์มีระบบรับนักเรียนแบบโควตา หรือรับตรง เป็นป๎จจัยท่ีสาคัญที่ทา ให้นักศึกษา ตดั สนิ ใจเข้าศึกษา สาขาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ท้ัง 3 กลมุ่ ตัวอยา่ งและ ปจ๎ จัยดา้ นเหตผุ ลส่วนตัวท่ีส่งผลให้ เลอื กเขา้ ศกึ ษาตอ่ สงู ที่สดุ คอื “หลกั สูตรสตั วศาสตรต์ รงตามความต้องการของนกั เรียน” เหมือนกนั ทัง้ 3 กลุม่ ตวั อยา่ ง คาสาคัญ:การตัดสินใจเลือกเขา้ ศึกษาตอ่ ปริญญาตรี สาขาสตั วศาสตร์ ABSTRACT The purpose of this research is to study the factors affecting the decision to study the bachelor's degree in Animal Science, Silpakorn University of new students, current students and alumni students, and was used the results to improve and develop the curriculum including public relations for courses to be more effective. From the study, it was found that more students who entered to study in the animal science department were female. Most students lived in the western region, followed by the central region and Bangkok. The factors affecting the students‖ decision to study were image factors, curriculum factors, and personal reasons that affect the decision, the averages values were in the medium, medium, and low levels respectively. The หนา้ 233

การประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) university environment had an impact on the image factors of the university in all three groups. The Animal Science program has a quota or direct admission system, which was an important factor for students to decide to study in all 3 groups. Personal reasoning factors that result in the highest selection was the \"Animal Science Program meets the needs of students\" were the same in all 3 groups. KEYWORDS: Making decision to Studying, Bachelor degree, Animal Science program. บทนา ในปี พ.ศ. 2540 มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากรมีนโยบายในการขยายโอกาสทางการศึกษาไปยังจังหวัดใกล้เคียงกับ ท่ีต้ังมหาวทิ ยาลยั เดิม (วังท่าพระ กรุงเทพมหานคร และพระราชวังสนามจันทร์ นครปฐม) ซึ่งในขณะน้ันได้รับอนุมัติ จากคณะรัฐมนตรีให้จัดตั้งวิทยาเขตใหม่ที่ราชบุรี ต่อมาในปี พ.ศ. 2542 ศาสตราจารย์ ดร.ตรึงใจ บูรณสมภพ อธกิ ารบดใี นขณะนนั้ ไดข้ ออนุมตั ิจากคณะรัฐมนตรีในการยา้ ยวิทยาเขตใหม่ไปที่ หมู่ที่ 1 หมู่บ้านไร่ใหม่พัฒนา ต.สาม พระยา อ.ชะอา จ.เพชรบุรี และมีแผนในการจัดต้ังคณะสัตวศาสตร์และอุตสาหกรรมการเกษตรขึ้นเป็นคณะแรก เนื่องจากพิจารณาเห็นวา่ พน้ื ท่ีโดยรอบมปี ระชากรที่ประกอบอาชพี เกษตรกรรมเป็นหลัก มหาวิทยาลัยจะได้ให้บริการ ได้โดยตรง และจากการประชุมสภามหาวิทยาลัยศิลปากร คร้ังที่ 1/2544 เม่ือวันที่ 10 มกราคม 2544 ได้อนุมัติ โครงการจัดตั้งคณะสัตวศาสตร์และอุตสาหกรรมการเกษตร พร้อมท้ังให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้ง ดร.สุภสร ชโยวรรณ เป็นผู้อานวยการโครงการจัดต้ัง คณะสัตวศาสตร์และอุตสาหกรรมการเกษตร ต่อมาคณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรมไดท้ ักท้วงวา่ ชื่อ “อตุ สาหกรรมการเกษตร” ของโครงการฯ จะซา้ ซ้อนกบั การสอนของภาควิชาเทคโนโลยี อาหาร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ซ่ึงสภามหาวิทยาลัยในการประชุมครั้งที่ 2/2544 เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2544 จึง ได้อนุมัตใิ ห้เปล่ียนชือ่ จากโครงการจดั ตั้งคณะสัตวศาสตร์และอุตสาหกรรมการเกษตร เป็น “โครงการจัดตั้งคณะสัตว ศาสตร์และเทคโนโลยกี ารเกษตร” และอนุมตั ิหลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ (สัตวศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการเกษตร) ข้ึน เป็นหลักสตู รแรกของคณะวชิ า Digital Disruption หรอื Disruptive Technology คาว่า Disrupt แปลตรงตวั คือ \"การหยุดชะงัก\" ซึ่งมักถูก ใช้ในบริบทของการ \"ปฏิรูป\" หรือทาอะไรก็ตามเพ่ือให้เกิดการพัฒนาส่ิงใหม่ๆ โดยมักจะถูกโยงเข้าสู่เร่ืองของ เทคโนโลยีอยู่เสมอ ลักษณะของ Disruption จะเป็นการ “แทนท่ี” สิ่งท่ีมีอยู่เดิมด้วยสิ่งใหม่ ก่อให้เกิดเป็นความ ต้องการใหม่ขน้ึ มาและความต้องการใหม่น้ีได้แทนท่ีส่ิงเดิมท่ีมีอยู่โดย \"ทันที\" ซ่ึงแตกต่างจากการ \"ปรับเปล่ียน\" หรือ Transformation ที่จะเน้นการพัฒนาจากความต้องการเดิมหรือการต่อยอดจากส่ิงเดิมท่ีมีอยู่อย่างค่อยเป็นค่อยไป (ธิติ ธรี ะเธยี ร, 2563) คณะสตั วศาสตรฯ์ จัดต้งั ขึน้ โดยมจี ุดมุง่ หมายหลกั คือ เป็นแหล่งค้นคว้า วิจัย และพัฒนาความรู้ ในสาขาที่เก่ียวข้อง ประกอบกับการนาเอาเทคโนโลยีแผนใหม่ที่เหมาะสม มาใช้และถ่ายทอดความรู้อย่างมี ประสิทธิภาพ เพื่อผลิตบัณฑิตให้เป็นผู้เพียบพร้อมด้วยสติป๎ญญา ความรอบรู้ ความเชี่ยวชาญ ความรับผิดชอบ และ หน้า234

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) คณุ ธรรมจริยธรรมอันดีงาม เพอื่ ความก้าวหนา้ ของบุคคล สงั คม และประเทศชาติ ดังนั้น จงึ จาเปน็ ต้องมีการปรับตัวให้ ทันต่อการเปล่ียนแปลงเหล่าน้ี โดยการค้นหาจุดเด่นท่ีจะนามาต่อยอดจุดเด่น และปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร รวมทง้ั การประชาสมั พนั ธห์ ลกั สตู รใหม้ ีประสทิ ธิภาพมากขน้ึ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือศึกษาป๎จจัยทีม่ ีผลต่อการตัดสินใจเลอื กเข้าศกึ ษาตอ่ ระดับปริญญาตรี สาขาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากรของนกั ศกึ ษาใหม่ นักศึกษาป๎จจบุ ัน และศษิ ย์เก่า 2. เพ่อื นาผลการศกึ ษามาปรับปรุงและพฒั นาหลกั สูตร รวมท้งั การประชาสัมพันธ์หลักสูตรให้มีประสิทธิภาพ มากข้นึ สมมตฐิ านการวจิ ยั ป๎จจัยสว่ นบคุ คล ไดแ้ ก่ เพศ จังหวดั ทอ่ี าศัย ป๎จจัยด้านภาพลักษณ์ ด้านหลักสูตร และด้านเหตุผลส่วนตัว มี ผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สาขาสัตวศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร วธิ ดี าเนนิ การวิจยั การศกึ ษาในคร้งั นี้เป็นการศกึ ษาเชงิ ปรมิ าณ โดยมีระเบยี บวธิ วี จิ ยั ดังน้ี ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง โดยใช้กลุ่มตัวอย่างที่มีความสมัครใจที่จะตอบแบบสอบถาม โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์เพ่ือให้ผู้สมัครใจ สามารถเข้าไปตอบคาถามได้ โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 3 กลุ่มได้แก่ กลุ่มท่ี 1 นักศึกษาใหม่ท่ีเข้าศึกษาในปี การศึกษา 2562 กลุ่มที่ 2 นักศึกษาที่กาลังศึกษาอยู่ในระดับช้ันปีท่ี 2 ข้ึนไป (เข้าศึกษาในปีการศึกษา 2561 ข้ึนไป) และกลมุ่ ท่ี 3 ศษิ ย์เก่าทจ่ี บการศึกษาไปแลว้ เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการศกึ ษา โดยใชแ้ บบสอบถาม โดยผู้วจิ ยั ได้สร้างจากการค้นคว้าจากเอกสารงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง (ดัดแปลงจาก ณัชชา สุวรรณวงศ์, 2560) โดยแบง่ ออกเป็น 3 ส่วนดังนี้ ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลทวั่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ และจังหวัดทีอ่ าศัย ส่วนท่ี 2 ป๎จจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สาขาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร ได้แก่ ป๎จจัยด้านภาพลักษณ์ ด้านหลักสูตร และด้านเหตุผลส่วนตัว แบบสอบถามส่วนน้ีเป็นแบบ Linkert scale โดยมีมาตราส่วน 5 ระดบั คะแนน ดงั น้ี ระดับมากทีส่ ดุ 5 คะแนน หนา้ 235

การประชมุ วชิ าการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คดั สรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) ระดับมาก 4 คะแนน ระดับปานกลาง 3 คะแนน ระดบั นอ้ ย 2 คะแนน ระดบั น้อยทส่ี ดุ 1 คะแนน สว่ นท่ี 3 ข้อเสนอแนะอื่น ๆ โดยส่วนน้ีเป็นคาถามปลายเปิดเพ่ือให้ผู้ตอบแบบสอบถามสามารถแสดงความ คิดเหน็ ต่าง ๆ ได้ การเก็บรวบรวมข้อมลู ผู้วิจยั ไดเ้ ปิดให้ผู้สมัครใจตอบแบบสอบถามเป็นเวลา 1 สัปดาห์ ตั้งแต่ 28 มิถุนายน 2562 ถึง 4 กรกฎาคม 2562 จงึ ปิดระบบการตอบแบบสอบถาม โดยไดผ้ ูเ้ ข้ามาตอบแบบสอบถามดังน้ี กลมุ่ ที่ 1 นักศึกษาใหม่ท่ีเข้าศึกษาในปี การศึกษา 2562 จานวน 62 คนกลุม่ ท่ี 2 นักศึกษาท่กี าลังศกึ ษาอยู่ในระดบั ชัน้ ปีท่ี 2 ขนึ้ ไป จานวน 37 คน และ กลุ่ม ที่ 3 ศิษย์เก่าทีจ่ บการศกึ ษาไปแลว้ จานวน 64 คนรวมท้ังสิน้ 163 คน การวิเคราะห์ขอ้ มลู วเิ คราะห์ขอ้ มูล ส่วนท่ี 1 ข้อมลู ทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยการแจกแจงความถี่ (Frequency) และค่า ร้อยละ (Percentage) วิเคราะห์ข้อมูล ส่วนท่ี 2 ป๎จจัยท่ีส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สาขาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยการหาค่าเฉลี่ย (mean) และนามาเทียบเกณฑ์การแปลผลช่วงชั้นดังนี้ (พรรณพนชั จนั หา และอัจฉรยิ า ปราบอรพิ ่าย, 2558 อา้ งใน เสรี สงิ ห์โงน และ สาลินี จันทร์เจริญ, 2561) 4.21 – 5.00 หมายถึง มผี ลตอ่ การตดั สินใจในระดบั มากทส่ี ุด 3.41 – 4.20 หมายถึง มผี ลตอ่ การตัดสนิ ใจในระดับมาก 2.61 – 3.40 หมายถึง มผี ลต่อการตัดสินใจในระดบั ปานกลาง 1.81 – 2.60 หมายถึง มผี ลต่อการตัดสินใจในระดับนอ้ ย 1.00 – 1.80 หมายถึง มีผลต่อการตดั สินใจในระดบั นอ้ ยท่ีสดุ การแปลความหมายของสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (ชูศรี วงศ์รัตนะ, 2544 อ้างใน ณัชชา สุวรรณวงศ์, 2560) ดงั น้ี สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน 0.000 – 0.999 หมายถึง มกี ารกระจายของข้อมูลไม่แตกต่างกนั มาก สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 1.000 ขน้ึ ไป หมายถงึ มีการกระจายของข้อมูลแตกต่างกันมาก ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ส่วนที่ 1ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ท่ัวไป เพศของนกั ศึกษาท่ีเข้ามาตอบแบบสอบถาม กลมุ่ ท่ี 1 นกั ศกึ ษาใหม่ เป็นนกั ศึกษาเพศหญิงมากท่สี ุด จานวน 53 คน คิดเปน็ ร้อยละ 85.48 เพศชาย 9 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 14.52 กลุ่มท่ี 2 นักศกึ ษาทีก่ าลังศกึ ษาอย่เู ปน็ เพศหญิง จานวน 13 คน คดิ เป็น รอ้ ยละ 35.14 เพศชาย 15 คน คิดเปน็ ร้อยละ 40.54 ส่วนกลุ่มท่ี 3 ศษิ ย์เกา่ ทีเ่ ข้ามาตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิง 42 คน คิดเป็นรอ้ ยละ หน้า236

การประชุมวิชาการ และเผยแพรผ่ ลงานวิจัยคัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดบั ชาติ หัวขอ้ การศกึ ษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) 65.63 เพศชาย 16 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 25.00 ดังแสดงในแผนภมู ิ ทั้งน้ีแสดงใหเ้ ห็นวา่ นักศกึ ษาทเี่ ขา้ มาเรียนสาขาสตั ว ศาสตร์มีแนวโนม้ เป็นเพศหญิงมากข้ึน จงั หวดั ทอี่ าศัยของนักศกึ ษาทีเ่ ข้ามาตอบแบบสอบถาม โดยการแบ่งประเทศไทยออกเป็นภาคตา่ ง ๆ 6 ภาค ตามเกณฑ์ดา้ นภูมศิ าสตร์ พบว่า มนี กั ศกึ ษาอาศยั อยใู่ น ภาคตะวันตกมากที่สุด รอ้ ยละ 39.26 รองลงมาคือ ภาคกลาง และกรงุ เทพมหานคร มีนักศกึ ษาอาศัยอยู่เท่า ๆ กนั คิด เปน็ ร้อยละ 23.31 ดังแสดงในตารางท่ี 1 โดย กลุม่ ท่ี 1 นกั ศึกษาใหม่ ปกี ารศึกษา 2562 อาศยั อยูใ่ นจังหวัดราชบุรี มากทส่ี ดุ 12 คน รองลงมาคอื กรงุ เทพมหานคร 10 คน และ กาญจนบุรี 9 คน กลุม่ ท่ี 2 นกั ศกึ ษาที่กาลงั ศึกษาอยู่ อาศัยอย่ใู นกรุงเทพมหานคร และ จังหวัดราชบุรี มากท่ีสุด จังหวดั ละ 8 คนเท่ากัน รองลงมาคือ เพชรบุรี 6 คน ส่วนกลมุ่ ท่ี 3 ศิษย์เก่า อาศัยอยูใ่ น กรงุ เทพมหานครมากท่ีสดุ 20 คน รองลงมาคือ จงั หวัดกาญจนบรุ ี และ เพชรบุรี จงั หวัดละ 8 คน เท่ากนั ดังแสดงใน ตารางท่ี 2 ตารางท่ี 1 แสดงจานวนนักศกึ ษาท่ีตอบแบบสอบถามที่อาศัยอยูใ่ นภาคตา่ ง ๆ ท่ีแบ่งตามเกณฑ์ภูมศิ าสตร์ ภาค/ประเภท นกั ศึกษาใหม่ กาลังศกึ ษา ศษิ ย์เกา่ รวม ภาคเหนือ 0 0 0 0 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 1 0 2 3 ภาคกลาง 16 6 16 38 ภาคตะวนั ออก 3 1 3 7 ภาคตะวันตก 27 17 20 64 ภาคใต้ 4 4 3 11 กรงุ เทพมหานคร 10 8 20 38 หน้า237

ไมร่ ะบุ การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หวั ขอ้ การศึกษายคุ “Digital Disruption” รวม ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) 1 1 02 62 37 64 163 ตารางท่ี 2 แสดงจานวนนกั ศกึ ษาทต่ี อบแบบสอบถามท่ีอาศัยอยู่ในจงั หวดั ตา่ ง ๆ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ นกั ศกึ ษาใหม่ กาลังศึกษา ศษิ ยเ์ ก่า รวม ขอนแก่น บุรีรัมย์ 0 0 1 1 สกลนคร 1 0 0 1 ภาคกลางและกรงุ เทพมหานคร 0 0 1 1 กรงุ เทพ กาแพงเพชร 10 8 20 38 ชัยนาท 0 0 2 2 นครปฐม 1 0 0 1 นครสวรรค์ 1 2 4 7 นนทบุรี 0 1 0 1 ปทุมธานี 3 1 3 7 พระนครศรีอยุธยา 1 1 0 2 ลพบรุ ี 1 0 1 2 สมทุ รปราการ 1 0 1 2 สมทุ รสาคร 1 0 0 1 สงิ ห์บุรี 3 1 2 6 สพุ รรณบุรี 1 0 0 1 สระบรุ ี 3 0 1 4 ภาคตะวนั ออก 0 0 2 2 ฉะเชงิ เทรา ชลบุรี 2 0 0 2 ตราด 0 1 0 1 ปราจนี บุรี 0 0 1 1 ระยอง 0 0 1 1 ภาคตะวนั ตก 1 0 1 2 กาญจนบรุ ี ประจวบครี ีขนั ธ์ 9 2 8 19 0 0 1 1 หน้า238

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ยั คดั สรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หวั ขอ้ การศกึ ษายุค “Digital Disruption” ในวนั ท่ี 1-2 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนกุ รรมการสาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) เพชรบรุ ี นกั ศึกษาใหม่ กาลังศึกษา ศิษยเ์ ก่า รวม ราชบรุ ี 6 7 8 21 ภาคใต้ 12 8 3 23 กระบี่ ตรงั 0 1 01 พงั งา 0 0 11 พทั ลงุ 1 0 01 ภเู ก็ต 0 1 01 ระนอง 0 0 11 สงขลา 1 0 01 สุราษฎรธ์ านี 1 2 14 1 0 01 ไมร่ ะบุ 1 1 02 ส่วนที่ 2 ปจ๎ จัยท่สี ง่ ผลต่อการตัดสนิ ใจเลอื กเข้าศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศลิ ปากร จากการศึกษาพบวา่ ปจ๎ จัยดา้ นภาพลักษณ์ ด้านหลักสูตร และด้านเหตุผลส่วนตวั มผี ลต่อการตดั สินใจเลือก เข้าศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี สาขาสตั วศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร มคี ่าเฉลี่ยอยใู่ นระดบั ปานกลาง ปานกลาง และ นอ้ ยตามลาดบั ดงั แสดงในตารางที่ 3 ตารางท่ี 3 แสดงภาพรวมป๎จจยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ การตัดสนิ ใจเลือกเข้าศกึ ษาระดับปริญญาตรี สาขาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร ปจ๎ จัยทส่ี ่งผลตอ่ การตัดสนิ ใจ รวม เลือก mean SD ระดบั 2.818737 0.27 ปานกลาง ภาพลกั ษณข์ องมหาวทิ ยาลัยฯ 2.72059 0.13 ปานกลาง หลกั สูตร 1.828043 0.379881 นอ้ ย เหตผุ ลสว่ นตัว หน้า239

การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยคดั สรร สาขาวิชาศกึ ษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวข้อ การศึกษายคุ “Digital Disruption” ในวนั ที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า จดั โดย คณะอนุกรรมการสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) โดยเม่ือแยกออกเป็นกลมุ่ แต่ละกล่มุ พบวา่ ป๎จจัยดา้ นภาพลักษณ์ ดา้ นหลกั สตู ร และด้านเหตผุ ลส่วนตัว มีผล ตอ่ การตัดสินใจเลือกเขา้ ศกึ ษาของกลมุ่ ท่ี 1 นักศกึ ษาใหม่ มคี า่ เฉลีย่ อยู่ในระดับ มาก มาก และน้อยตามลาดับ ส่วน กลมุ่ ท่ี 2 นักศกึ ษาที่กาลังศกึ ษาอยู่ ป๎จจัยด้านภาพลกั ษณ์ ดา้ นหลักสตู ร และดา้ นเหตผุ ลสว่ นตัว มผี ลตอ่ การตัดสินใจ เลือกเข้าศกึ ษา มคี ่าเฉล่ียอยู่ในระดบั นอ้ ย น้อยทส่ี ุด และนอ้ ยทีส่ ุด ตามลาดับ และในกลุ่มท่ี 3 ศษิ ยเ์ ก่าท่เี ขา้ มาตอบ แบบสอบถาม ปจ๎ จยั ด้านภาพลกั ษณ์ ด้านหลักสูตร และดา้ นเหตผุ ลส่วนตัว มีผลตอ่ การตัดสินใจเลือกเข้าศึกษา มี ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง ปานกลาง และนอ้ ยทสี่ ุด ตามลาดบั ดังแสดงในตารางที่ 4 ตารางที่ 4 แสดงภาพรวมปจ๎ จยั ทีส่ ง่ ผลต่อการตดั สนิ ใจเลือกเขา้ ศกึ ษาระดับปริญญาตรี สาขาสัตวศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร แยกเปน็ กลุ่ม ปจ๎ จยั ท่สี ง่ ผลตอ่ การตดั สนิ ใจ นกั ศึกษาใหม่ กาลงั ศกึ ษา ศษิ ยเ์ ก่า เลอื ก mean SD ระดับ mean SD ระดบั mean SD ระดับ ภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลยั ฯ หลกั สตู ร 3.85 1.09 มาก 1.86 0.30 น้อย 2.74 1.28 ปานกลาง เหตผุ ลสว่ นตวั 3.78 0.82 มาก 1.71 0.12 น้อยทสี่ ดุ 2.67 1.39 ปานกลาง 2.28 1.27 นอ้ ย 1.46 0.13 นอ้ ยที่สุด 1.74 0.97 นอ้ ยที่สดุ ในด้านภาพลกั ษณ์ของมหาวิทยาลัย เมือ่ เรียงลาดบั คะแนนเฉลีย่ สงู สุด 3 ลาดับแรก ดังแสดงในตารางที่ 5พบ ดงั น้ี กล่มุ ท่ี 1 นกั ศึกษาใหม่ มปี จ๎ จัยด้านภาพลกั ษณ์ที่สง่ ผลให้เลอื กเข้าศึกษาต่อเรียงลาดับ ดังน้ี 1. “ศิลปากรมีคณาจารย์เกง่ และมีความรูเ้ ช่ียวชาญ” และ “ศลิ ปากรมสี ภาพแวดลอ้ มสวยงามและร่มรืน่ ” 2. “ศิลปากรมีอุปกรณก์ ารเรยี นการสอนท่ีมคี วามพรอ้ ม” 3. “ศลิ ปากรมคี วามโดดเด่นด้านการเรยี นการสอน” กลุ่มที่ 2 นักศกึ ษาทีก่ าลงั ศกึ ษาอยู่ มีปจ๎ จยั ดา้ นภาพลกั ษณท์ ส่ี ง่ ผลให้เลอื กเข้าศึกษาตอ่ เรยี งลาดบั ดังน้ี 1. “ศิลปากรเปน็ มหาวิทยาลัยของรฐั ท่มี ีชอื่ เสยี ง” 2. “ศลิ ปากรมีสภาพแวดล้อมสวยงามและร่มรนื่ ” 3. “ศิลปากรมคี ณาจารย์เกง่ และมคี วามรเู้ ชีย่ วชาญ” กลุ่มที่ 3 ศษิ ย์เก่าทจ่ี บการศกึ ษาไปแล้ว มีปจ๎ จัยด้านภาพลักษณ์ทสี่ ง่ ผลใหเ้ ลือกเขา้ ศึกษาตอ่ เรียงลาดับ ดังน้ี 1. “ศลิ ปากรเป็นมหาวทิ ยาลัยของรัฐที่มีช่อื เสียง” 2. “ศลิ ปากรมสี ภาพแวดลอ้ มสวยงามและรม่ รื่น” 3. “จบการศกึ ษาจากศิลปากรแล้วได้รบั การยอมรับจากตลาดแรงงาน” หนา้ 240

การประชมุ วิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร สาขาวชิ าศึกษาศาสตรร์ ะดับชาติ หัวขอ้ การศึกษายุค “Digital Disruption” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า จัดโดย คณะอนกุ รรมการสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ สมาคมสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (สสอท.) ตารางที่ 5แสดงปจ๎ จัยดา้ นภาพลกั ษณ์ของมหาวิทยาลยั ท่สี ่งผลตอ่ การตดั สนิ ใจเลอื กเข้าศกึ ษา ระดบั ปริญญาตรี สาขาสัตวศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร แยกเป็นกลมุ่ ปจ๎ จยั ที่สง่ ผลตอ่ การตดั สนิ ใจ นกั ศึกษาใหม่ กาลังศกึ ษา ศษิ ย์เก่า mean SD ระดบั เลอื ก 3.43 1.25 มาก 2.71 1.33 ปานกลาง ภาพลกั ษณ์ของมหาวทิ ยาลยั ฯ mean SD ระดับ mean SD ระดับ 2.38 0.99 นอ้ ย 2.63 1.18 ปานกลาง 1 ศิลปากรเป็นมหาวทิ ยาลัย 3.76 1.00 มาก 2.65 0.82 ปาน 2.75 1.43 ปานกลาง ของรฐั และมชี ือ่ เสยี ง กลาง 2.40 1.17 น้อย 2.56 1.16 นอ้ ย 2 ศลิ ปากรมีหลากหลาย 3.61 0.86 มาก 1.78 1.08 น้อย 3.10 1.55 ปานกลาง สาขาวชิ าใหเ้ ลือกเรยี น ทสี่ ดุ 2.60 1.33 นอ้ ย 3 ศลิ ปากรมคี วามโดดเด่นดา้ น 3.56 0.74 มาก 1.57 0.87 น้อย 2.81 1.42 ปานกลาง เทคโนโลยี ท่สี ุด 2.74 1.28 ปานกลาง 4 ศิลปากรมีความโดดเด่นดา้ น 3.82 0.80 มาก 1.86 0.98 น้อย การเรยี นการสอน 5 ศลิ ปากรมคี ณาจารยเ์ ก่งและ 4.58 3.76 มาก 1.89 1.15 น้อย มคี วามร้เู ชี่ยวชาญ ท่ีสุด 6 ศิลปากรมีห้องเรยี นและ 3.74 0.70 มาก 1.78 1.06 นอ้ ยท่ี ห้องปฏบิ ตั กิ ารทีท่ นั สมัย สด 7 ศลิ ปากรมีอปุ กรณก์ ารเรยี น 3.95 0.73 มาก 1.68 1.13 นอ้ ย การสอนทม่ี คี วามพร้อม ที่สุด 8 ศิลปากรมสี ภาพแวดลอ้ ม 4.58 0.59 มาก 2.00 1.15 น้อย สวยงามและร่มร่ืน ที่สุด 9 ศิลปากรเขา้ งา่ ย จบยาก 3.11 1.04 มาก 1.70 1.27 นอ้ ย ทส่ี ดุ 10 จบการศกึ ษาจากศลิ ปากร 3.82 0.69 มาก 1.73 1.22 น้อย แล้วไดร้ บั การยอมรบั จาก ทส่ี ุด ตลาดแรงงาน รวม 3.85 1.09 มาก 1.86 0.30 น้อย ในด้านหลักสูตร เม่ือเรยี งลาดับคะแนนเฉล่ียสูงสดุ 3 ลาดบั แรก ดังแสดงในตารางที่ 6 พบดงั นี้ กลมุ่ ที่ 1 นกั ศกึ ษาใหม่ มีปจ๎ จยั ดา้ นหลกั สตู รที่สง่ ผลใหเ้ ลือกเข้าศึกษาตอ่ เรยี งลาดับ ดงั น้ี 1. “หลักสูตรสัตวศาสตรเ์ ปน็ สาขาวิชาชีพ” 2. “หลักสูตรสตั วศาสตร์มีระบบรบั นักเรยี นแบบโควตา หรือรับตรง” 3. “หลักสตู รสตั วศาสตร์มีทุนสนบั สนนุ การศกึ ษา” หนา้ 241


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook