Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือรางวัลยกย่องจุฬา 2562

หนังสือรางวัลยกย่องจุฬา 2562

Published by Research Chula, 2019-09-12 10:38:21

Description: หนังสือรางวัลยกย่องจุฬา 2562

Search

Read the Text Version

ขศมอาหสงาวตจทิรุฬายาภลาลชิ งาัยกนรณ์ ศาสตราจารยก์ ิตติคณุ วทิ ิต มันตาภรณ์ ศาสตราภชิ าน กองทุนเพอ่ื การบริหาร วชิ าการและการศึกษาของคณะนติ ิศาสตร์ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ (วาระท่ี ๖) ยกยอ่ งเชิดชูเกียรตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 99

ขศอาสงตจรฬุ าาภลิชงากนรณ์มหาวิทยาลยั รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ นภดล นพคณุ ศาสตราภิชาน กองทุนเพื่อการบริหารวชิ าการและการศึกษาของคณะแพทยศาสตร์ ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ (วาระที่ ๖) 100 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รองศาสตราจารยน์ ายแพทย์ นภดล นพคณุ ส�ำเรจ็ การศกึ ษาวฒุ บิ ตั รแสดงความรหู้ รอื ความ ช�ำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาตจวิทยา แพทยสภา และประกาศนียบัตรช้ันสูง สาขาอายุรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยด�ำรงต�ำแหน่ง External examiner for advanced master of Dermatology ของ National University of Malaysia, เป็นกรรมการ หลักสูตรอนุสาขาตจพยาธิวิทยา ราชวิทยาลัยพยาธิวิทยา, เป็นคณะอนุกรรมการคณะท�ำงาน ผู้เชี่ยวชาญแหง่ ชาตดิ า้ นการคดั เลอื กยา สาขาโรคผวิ หนงั ส�ำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสขุ , เปน็ ผทู้ รงคณุ วฒุ คิ ณะกรรมการเครอ่ื งส�ำอาง สำ� นกั งานคณะกรรมการอาหาร และยากระทรวงสาธารณสขุ , นายกสมาคมแพทยผ์ วิ หนังแห่งประเทศไทย ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเป็นอาจารย์พิเศษระดับมหาวิทยาลัย สอนแพทย์ประจ�ำบ้านและ แพทยป์ รญิ ญาโท ทางดา้ นตจพยาธิวิทยา ซึง่ เปน็ ทีต่ ้องการจากตา่ งประเทศทงั้ ในภูมภิ าคอาเซยี น ซ่ึงขาดแคลนการเรียนการสอนด้านตจพยาธิวิทยา, เปิดการฝึกอบรมแพทย์ประจ�ำบ้านต่อยอด อนุสาขาพยาธวิ ทิ ยา ซ่งึ ไดผ้ า่ นการตรวจประเมนิ จากคณะกรรมการฝึกอบรมฯ ของราชวิทยาลัย พยาธิแพทย์แล้ว, เป็นที่ปรึกษาและร่วมท�ำวิจัยในโครงการวิจัยเก่ียวกับโรคผิวหนัง แก่อาจารย์ อาวโุ ส แพทย์ประจ�ำบา้ นตอ่ ยอด สาขาตจพยาธวิ ทิ ยา และแพทย์ประจ�ำบา้ น สาขาวชิ าตจวทิ ยา และเป็นผู้จดั การโครงการพฒั นาระบบงานสารสนเทศโรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ ผลงานวิชาการบางส่วนในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๒ • เป็นทปี่ รกึ ษานายกสมาคมแพทย์ผิวหนงั แห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓ • เปน็ ผอู้ า่ น (reader and reviewer) รายงานการวจิ ยั หรอื บทความทางวชิ าการทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ของหน่วยงาน • เป็นอาจารยพ์ เ่ี ล้ยี งในการพฒั นาอาจารย์ร่นุ ใหม่ ๆ ผลงานวิจยั ท่ตี พี มิ พใ์ นชว่ งปี พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๒ ๑. Cost per responder of secikinumab versus current available biologics in patients with moderate to severe psoriasis in Thailand. ๒. Histologic features and immunohistochemistry assessment of immunoglobulin in urticarial vasculitis. ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติบคุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 101

ศขอาสงตจรุฬาาภลชิ งากนรณ์มหาวทิ ยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.ปัญญา จารศุ ิริ ศาสตราภิชาน เงนิ ทนุ ศาสตราภิชาน บรษิ ัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) กองทุนเพือ่ การวจิ ยั คณะวทิ ยาศาสตร์ ๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๓๑ กรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ (วาระที่ ๑) 102 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ศาสตราจารย์ ดร.ปญั ญา จารศุ ริ ิ ส�ำเรจ็ การศกึ ษาปริญญาเอก สาขาธรณีวิทยา จาก มหาวิทยาลัย Queen’s ประเทศคานาดา เคยด�ำรงต�ำแหน่งรองคณบดีและผู้ช่วยคณบดี คณะวิทยาศาสตร์ หัวหน้าภาควิชาธรณีวิทยา หัวหน้าหน่วยวิจัยธรณีวิทยาแผ่นดินไหว และธรณีแปรสัณฐาน และเป็นผู้บุกเบิกงานวิจัย ด้านแผ่นดินไหวและรอยเล่ือนมีพลัง ตลอดจนการผนั แปรเปลอื กโลกเมอื่ ไดร้ บั แรงกระทำ� มผี ลงานตพี มิ พร์ ะดบั ชาตแิ ละนานาชาติ มากกว่า ๑๐๐ ช้ิน ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๕๙ สาขา วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ ศษิ ยเ์ กา่ ดเี ดน่ จากชมรมนสิ ติ เกา่ ธรณวี ทิ ยา จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั พ.ศ. ๒๕๕๗, ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์ดีเด่น พ.ศ. ๒๕๕๘ และศิษย์เก่าดีเด่นภาควิชา ธรณีวิทยา พ.ศ. ๒๕๕๑ ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการทรัพยากรแร่ (ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๑) ผลงานทางวชิ าการบางส่วน ในช่วง พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑ • ตพี ิมพ์ผลงานนานาชาติ ๕ เร่อื ง • เปน็ ผตู้ รวจอา่ นผลงานวจิ ยั และบทความวจิ ยั ของวารสารตา่ งประเทศอยา่ งสมำ่� เสมอ • ใหค้ �ำปรึกษาดา้ นวชิ าการกบั สมาคมธรณีวทิ ยาแห่งประเทศไทย • เปน็ กรรมการค�ำศัพท์ธรณีวทิ ยา (น้�ำบาดาล) และปโิ ตรเคมีของราชบัณฑติ ยสภา • เปน็ พ่เี ล้ยี ง (mentor) ในการพฒั นาอาจารย์รุน่ ใหม่ • เป็นอาจารยพ์ เิ ศษทีภ่ าควชิ าวทิ ยาศาสตรพ์ ื้นพภิ พ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ และหลกั สูตรนานาชาติด้านการจดั การธรณพี บิ ตั ภิ ยั มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล • เปน็ อาจารย์ทปี่ รกึ ษานสิ ติ ปริญญาโท-เอก อยา่ งต่อเนือ่ ง ผลงานวจิ ยั ดเี ดน่ • รว่ มรับรางวัล Best Paper Award จาก Resource Geology Society ซ่ึงจดั ท่ี กรุงโตเกยี ว ประเทศญ่ปี ุ่น เมอื่ เดอื นสงิ หาคม ๒๕๖๒ ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 103

ขศอาสงตจรุฬาาภลิชงากนรณม์ หาวทิ ยาลยั ศาสตราจารย์กิตตคิ ุณ ดร.เปยี่ มสขุ พงษ์สวสั ดิ์ ศาสตราภชิ าน เงินทนุ ศาสตราภชิ านบริษทั ปตท. จำ� กัด (มหาชน) กองทนุ เพือ่ การวิจยั คณะวทิ ยาศาสตร์ ๑ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ (วาระที่ ๒) 104 ยกย่องเชดิ ชเู กียรตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.เปี่ยมสุข พงษ์สวัสด์ิ ได้รับแต่งต้ังจากสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยให้เป็น ศาสตราจารย์กิตติคุณ ประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๕๙ ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.เปี่ยมสุข พงษ์สวัสดิ์ ส�ำเร็จการ ศกึ ษาวทิ ยาศาสตรบ์ ณั ฑติ (เกยี รตนิ ยิ ม) จากจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ในปี พ.ศ. ๒๕๑๖ วทิ ยาศาสตรม์ หาบณั ฑติ ชวี เคมี จากมหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. ๒๕๑๘ และ Ph.D. (Biochemistry) จาก Virginia Polytechnic Institute & State University ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ไดเ้ ขา้ รบั ราชการเปน็ อาจารยป์ ระจำ� ภาควชิ าชวี เคมี คณะวทิ ยาศาสตร์ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๘ และไดด้ �ำรงต�ำแหน่งศาสตราจารยใ์ นปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.เปี่ยมสุข พงษ์สวัสด์ิ เป็นผู้มีบทบาทในการบริหารและพัฒนาการศึกษาวิจัย ดา้ นชวี เคมขี องประเทศไทยและภมู ภิ าค เปน็ หวั หนา้ ภาควชิ าชวี เคมี คณะวทิ ยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ๒ วาระ (๒๕๔๓ - ๒๕๔๗, ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔) เปน็ ประธานสาขาชีวเคมีและชีววทิ ยาโมเลกลุ (BMB Thailand) ๒ วาระ (๒๕๔๗ - ๒๕๕๐) และเป็นที่ปรึกษาสาขาฯ (๒๕๕๑ - ปัจจุบัน) มีผลงานคุมวิทยานิพนธ์ระดับ ปรญิ ญาเอกและปรญิ ญาโท รวม ๔๖ เร่ือง นักวจิ ัยหลงั ปริญญาเอก ๓ คน ผลงานตำ� รา ๒ เล่ม Book chapter ๒ บท และบทความวิจัยในวารสารนานาชาติ ๖๐ เรอ่ื ง อาจารยไ์ ดร้ บั รางวัลนักวทิ ยาศาสตร์อาวโุ สจากสมาคม วิทยาศาสตรฯ์ (๒๕๖๒) รางวลั อาจารยแ์ บบอยา่ ง (๒๕๕๗) สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากสภาคณาจารย์ จุฬาฯ รางวัลจุลมงกุฎ:เกียรติภูมิวิทยา ประเภทอาจารย์ต้นแบบ (๒๕๕๔) และอาจารย์ที่ปรึกษาดีเด่น ระดับ บัณฑิตศกึ ษา (๒๕๕๗) จากคณะวิทยาศาสตร์ เปน็ ผู้รบั ทุนหัวหนา้ โครงการกลมุ่ นวัตกรรมวชิ าการเชงิ บูรณาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อเนื่อง ๓ ปี (๒๕๕๕ - ๒๕๕๘) และหัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยแป้งและ ไซโคลเดกซท์ ริน ในด้านงานบรกิ ารวิชาการ เป็นผู้ทรงคณุ วุฒพิ จิ ารณาผลงาน เพือ่ กำ� หนดตำ� แหน่งทางวชิ าการ การใหท้ นุ วจิ ยั และรางวลั การประเมนิ ขอ้ เสนอโครงการ รายงาน และบทความวจิ ยั เปน็ อาจารยพ์ เี่ ลย้ี งใหอ้ าจารย์ ร่นุ ใหม่ เปน็ ประธานจดั งานประชมุ ระดบั ชาติและนานาชาติ ได้แก่ 1st BMB Thailand (2550), 13th FAOBMB Congress (2555) และ 7th Asian Cyclodextrin Conference (2556) นอกจากน้ี ยังเป็นผแู้ ทนประเทศไทย ในสมาพนั ธ์ไซโคลเดกซท์ รินแหง่ เอเชียและโอเชียนเนยี (๒๕๔๓ - ปจั จุบนั ) และได้เป็นกรรมการบริหารระดับสงู ของสมาพันธ์นักชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุลแห่งเอเชียและโอเชียนเนีย (FAOBMB) ในต�ำแหน่ง Fellowships Chair (๒๕๕๑ - ๒๕๕๖) และ Treasurer (๒๕๕๗ - ปัจจบุ ัน) ในดา้ นการบรหิ ารวชิ าการและพฒั นาวงการวทิ ยาศาสตรไ์ ทย ศาสตราจารยก์ ติ ตคิ ณุ ดร.เปย่ี มสขุ พงษส์ วสั ด์ิ มีผลงานหลายด้าน อาทิ เป็นรองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ (๒๕๓๘ - ๒๕๔๒) รองผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายบริหารวิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี (๒๕๓๒ - ๒๕๓๖) และได้อุทิศตนในการท�ำงานเพ่ือสังคมผ่าน สมาคมวิทยาศาสตรแ์ ห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภเ์ ปน็ ระยะเวลากว่า ๒๐ ปี (๒๕๓๗ - ปจั จบุ นั ) โดยได้ ด�ำรงต�ำแหนง่ ส�ำคัญ อาทิเช่น เลขาธกิ าร (๒๕๓๗ - ๒๕๓๘) อุปนายก (๒๕๓๙ - ๒๕๔๖) เหรัญญิก (๒๕๕๑ - ปัจจุบัน) ประธานการจัดประชุมวทท (๒๕๕๗ - ๒๕๖๐) และหัวหน้าบรรณาธิการวารสาร ScienceAsia เร่มิ ปี ๒๕๖๒ ศาสตราจารย์กิตตคิ ุณ ดร.เปย่ี มสุข พงษส์ วัสด์ิ เกษียณอายรุ าชการ เม่อื อายุ ๖๕ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ แต่ยงั ปฏิบัตภิ ารกิจอาจารยอ์ ยา่ งตอ่ เน่ือง ในต�ำแหนง่ ศาสตราจารยภ์ ิชานของคณะวทิ ยาศาสตร์ ในดา้ นงานวจิ ัย อาจารย์เป็นผู้เช่ียวชาญด้านเอนไซม์ เทคโนโลยี โดยเฉพาะเอนไซม์ดัดแปรคาร์โบไฮเดรตและการสังเคราะห์ ผลิตภัณฑ์ไซโคลเดกซ์ทรินรวมทั้งฟังก์ชันแนล ออลิโกแซ็กคาไรด์อ่ืน ๆ ซึ่งเป็นการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากภาค การเกษตรใหเ้ ป็นสารท่ีมคี ุณคา่ ทางเศรษฐกิจสูง ยกย่องเชดิ ชูเกยี รติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 105

ขศอาสงตจรฬุ าาภลิชงากนรณม์ หาวทิ ยาลัย ศาสตราจารย์กติ ตคิ ุณ ดร.ภัทรพรรณ ประศาสน์สารกิจ ศาสตราภชิ าน เงินทนุ ศาสตราภชิ าน บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) กองทุนเพื่อการวจิ ัย คณะวิทยาศาสตร์ ๑ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ (วาระท่ี ๒) 106 ยกย่องเชดิ ชูเกยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ศาสตราจารย์ ดร.ภัทรพรรณ ประศาสน์สารกิจ ส�ำเร็จการศึกษาปริญญาเอก สาขา Chemical Engineering จาก Kansas State University, U.S.A. เคยด�ำรงตำ� แหน่ง รองผู้อำ� นวยการวทิ ยาลยั ปิโตรเลยี ม และปโิ ตรเคมี พ.ศ. ๒๕๓๒ - ๒๕๓๖ หวั หนา้ ภาควชิ าเคมเี ทคนคิ คณะวทิ ยาศาสตร์ ๒ วาระ พ.ศ. ๒๕๓๙ - ๒๕๔๓ และ ๒๕๔๗ - ๒๕๕๐ มีผลงานวจิ ยั ด้านพอลิเมอรส์ ำ� คญั ไฮโดรซเิ นชันของยางธรรมชาติ กราฟตพ์ อลิเมอไรเซชัน ของยางธรรมชาติ น�ำไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติของอุตสาหกรรมพอลิเมอร์ในอนาคต ผลงานวิจัย ด้านเช้ือเพลิงท่ีส�ำคัญ คือ การแปรรูปชีวมวลเป็นเช้ือเพลิงเหลว การผลิตน�้ำมันชีวภาพจาก Supercritical Liquefaction ของชีวมวล เช่น ชานอ้อย ซังข้าวโพดและเปลอื กปาล์มน้�ำมัน และด�ำเนนิ การวจิ ัยดา้ นเช้อื เพลงิ ต่อเน่ืองสู่การวิจัยท่ีส�ำคัญ การผลิตไบโอดีเซลผ่านไฮโดรจิเนชันน้�ำมันปาล์มดิบและใช้แล้ว การก�ำจัดซัลเฟอร์ ในนำ�้ มนั ดเี ซลดว้ ยกระบวนการดดู ซบั ทำ� ใหม้ บี ทความวจิ ยั ตพี มิ พใ์ นวารสารระดบั นานาชาตใิ นฐานขอ้ มลู ทเี่ ปน็ ท่ี ยอมรับ ๑๑๖ เรอ่ื ง บทความวจิ ัยส่วนหนง่ึ มาจากทุนโครงการปรญิ ญาเอกกาญจนาภเิ ษก สกว. ดว้ ยความรว่ มมือ ด้านการวจิ ยั กบั Pennsylvania State University และ University of Waterloo (2540-2560) ผลติ ดษุ ฎี บัณฑิต ๑๗ คน ผลงานทางวชิ าการ บางสว่ น ในชว่ งปี พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๒ Tancharernrat, T, Rempel, GL, Prasassarakich, P. Preparation of styrene butadiene copolymer- KSahtatmhshmapiylwueidcamoranonbgnggr,eaa,KnnnR,aoe,tBcsiooKofnoromeriorzppivbuoeeomsrrivotKiaen,-ps,pNoNrv,ori,aamStPoidooranintfsegfaeod,srfCseFwan,era–tPaitCakrealoirc-smheba,tisimhcPsraa.eonrAteaoalmkllkliaimucclhliicsx,caitoauPtnatr.aleyLplsysi.ogtzCslhey.hdtmCeoamleitlqraeiEulzfniaeTngtofiaodsJcyna2tnyi0oat12nnh40de;o1s25fNi5;scR82o/f:5Srr21onB9:cmR30o-4-Sb3C-iO40Oin0022.. supercritical ethanol-water. Biomass Bioenergy 2015; 83: 460-466. Yoosuk, B, Wongsanga, T, Prasassarakich, P. CO2 and H2S binary sorption on polyamine modified fumed silica. Fuel 2016; 168: 47-55. Songsiri, N, Rempel, GL, Prasassarakich, P. Liquid-phase synthesis of isoprene from MTBE and formalin using cesium salts of silicotungstic acid. J Mol Catal A-Chem 2017; 439: 41-49. Tumnantong, D, Rempel, GL, Prasassarakich, P. Polyisoprene-silica nanoparticles synthesized via RAFT emulsifier-free emulsion polymerization using water-soluble initiators. Polymers 2017; 9: 637-644. Boreriboon, N, Jiang, X, Song, C, Prasassarakich, P. Fe-based bimetallic catalysts supported on YoosuTkiO, B2,foSrasneglgeacmtiv,eP,CWO2iehnygdkerot,geSn, aPtriaosnastsoahraykdircohc,aPrb. Honyds.rJodCeOo2xUytgileiznaattioionn2o0f1o8;le2i5c: 330-337. acid and palmitic acid to hydrocarbon-like biofuel over unsupported Ni-Mo and Co-Mo sulfide catalysts. Renew Energy 2019; 139, 1391-1399. Songsiri, N, Rempel, GL, Prasassarakich, P. Isoprene synthesis using- MIL101(Cr) encapsulated silicotungstic acid catalyst. Catalysis Letter 2019; 149: 2468-2481. ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 107

ขศอาสงตจรุฬาาภลิชงากนรณ์มหาวทิ ยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.สุพตั รา จนิ าวฒั น์ ศาสตราภิชาน เงินทุนศาสตราภชิ าน บริษัท ปตท. จ�ำกดั (มหาชน) กองทุนเพอื่ การวจิ ัย คณะวิทยาศาสตร์ ๑ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ (วาระท่ี ๒) 108 ยกยอ่ งเชิดชูเกียรติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ประวัตกิ ารศกึ ษา • B.Sc. (Chemical technology, Ceramic Technology), Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand, 1969. • Ph.D. (Mineral Science), University of Leeds, England ,1974, (Colombo Plan U.K.). • Post Doctorate Research (Cement Chemistry), Tokyo Institute of Technology, Japan, 1979, (UNESCO, Japan). • Visiting researcher (Biomaterials), QMWC, University of London, U.K., 1989, ( British Council). • Visiting researcher (Biomaterials), Materials and Structures Laboratory, Tokyo Institute of Technology, Yokohama, Japan, 1999 (TJTTP-OECF). • Visiting researcher (Biomaterials), Freiberg University, Germany, 2002, (DAAD). สาขาวิจัยที่สนใจ Cement chemistry, Bioceramics, Photocatalysts มีผลงาน ตีพิมพท์ ง้ั ในวารสารระดบั ชาตแิ ละระดับนานาชาตกิ วา่ ๗๐ ชิ้น ประวัติการทำ� งาน พ.ศ. ๒๕๑๗ - ๒๕๕๓ อาจารยป์ ระจำ� ภาควชิ าวสั ดศุ าสตร์ คณะวทิ ยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๕ ศาสตราภชิ าน เงนิ ทนุ ศาสตราภชิ าน บรษิ ทั ปตท. จำ� กดั (มหาชน) พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๒ ศาสตราภชิ าน เงนิ ทนุ ศาสตราภชิ าน บรษิ ทั ปตท. จำ� กดั (มหาชน) ปัจจุบัน : ผู้เชี่ยวชาญในการพิจารณาคัดเลือกและประเมินผลโครงการวิจัยที่ได้รับทุน สนบั สนนุ จากสวทช โปรแกรมเทคโนโลยฐี านการออกแบบและผลติ วัสดุ โปรแกรมเทคโนโลยฐี านการพฒั นาวสั ดุทางชวี ภาพฯ ยกย่องเชิดชเู กยี รติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 109

DofisCtihnugluailsohnegdkoPrrnofUensisvoerrsity Professor Takashi Hibiki Distinguished Professor Academic Administration and Education Fund of Faculty of Engineering June 1st, 2019 - May 31st, 2020 (Term 1) 110 ยกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

Prof. Takashi Hibiki received his BS in 1985 with the highest distinction and Ph. D. in 1990 from the Department of Chemical Engineering, Osaka University in Japan. He is currently a Professor Emeritus of Purdue University in the US. Prof. Hibiki also serves as a Guest Professor of Kyoto University and Osaka University in Japan and an adjunct professor of RMIT University in Australia and Xian Jiaotong University in China. Prof. Hibiki is known as an international expert of two-phase flow modeling and developed more than 100 constitutive equations for two-phase flow analysis. He has authored 260 journal papers and 193 conference papers, and one of his research papers is ranked as No.1 of most cited articles in the International Journal of Multiphase Flow. The total citations of his research articles are 12,609, and his h-index is 42, which is among the top in Nuclear Engineering. He is also known as the author of an internationally recognized two-phase flow textbook entitled Thermo-Fluid Dynamics of Two-Phase Flow. Due to his outstanding research activities, Prof. Hibiki was named as Osaka University Global Alumni Fellow in 2015 and American Nuclear Society Fellow in 2011 and received numerous awards internationally. Prof. Hibiki is also known as an outstanding educator and received 2017 Outstanding Engineering Graduate Student Mentor Award and 2012 Best Teacher Award, School of Nuclear Engineering, Purdue University. His former students serve as professors in universities worldwide including University of Illinois at Urbana-Champaign, USA; Missouri University of Science and Technology, USA; Hokkaido University, Japan; National Tsing Hua University, Taiwan; Chulalongkorn University, Thailand; South China University of Technology, China. ยกย่องเชดิ ชูเกยี รติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 111

ศขอาสงตจรฬุ าาภลชิ งากนรณ์มหาวิทยาลยั รองศาสตราจารยท์ วรี ัก เจรญิ สขุ ศาสตราภชิ าน เงนิ ทุนบริหารวชิ าการและการศกึ ษาศลิ ปกรรม กองทุนคณะศิลปกรรมศาสตร์ ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ (วาระที่ ๘) 112 ยกยอ่ งเชิดชูเกียรตบิ ุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รองศาสตราจารยท์ วรี กั เจรญิ สุข จบการศกึ ษา B. (Peinture) จาก École Nationale Supérieure des Beaux-Arts ปี ค.ศ. ๑๙๗๘ และ Diplôme de Decorateur (Peinture) École Nationale Supérieure des Arts Décoratifs ปี ค.ศ. ๑๙๘๐ ณ ประเทศฝรงั่ เศส ไดร้ บั รางวลั LeGuay-Lebraun อนั ดบั ๑ จากการประกวดภาพเขยี นท่ี Salon des artistes français, Grand Palais, Paris จาก I’Institut des Beaux-Arts ปี ค.ศ. ๑๙๗๙ เปน็ อาจารย์ ผู้บุกเบิกคณะศิลปกรรมศาสตร์ท่ียังเป็นเพียง “โครงการคณะศิลปกรรมศาสตร์” ในแผน พัฒนาระยะที่ ๔ : พ.ศ. ๒๕๒๐-๒๕๒๕ โดยรับผิดชอบการสอนด้านวาดภาพจิตรกรรม และเป็นผู้ริเร่ิมโครงการเขียนภาพนอกสถานที่ ณ เกาะสีชัง โดยได้จัดนิทรรศการแสดง ผลงานศลิ ปะเพอื่ หาทนุ การศกึ ษาและสรา้ งขวญั กำ� ลงั ใจแกน่ สิ ติ เปน็ ผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานวชิ า พ้นื ฐานกายวภิ าคห่นุ น่ัง ทวิ ทศั น์ วสั ดุ และกรรมวธิ ี จิตรกรรมฝาผนงั เปน็ อาจารย์ผสู้ อน ในรายวิชาสนุ ทรยี ศาสตร์ วจิ ัยนฤมิตศิลป์ รวมถงึ รายวิชาดา้ นพ้นื ฐาน ทฤษฎี และวิชาชพี ปฏบิ ตั ชิ น้ั สงู จำ� เปน็ ตอ้ งอาศยั ความเชย่ี วชาญเฉพาะทางหลายดา้ น โดยเฉพาะงานสรา้ งสรรค์ กระจกสี งานเขียนสปี ูนเปยี ก และงานประดบั กระเบ้อื งหนิ สี ด้วยกรรมวธิ ดี งั้ เดิม นอกจากน้ี ยงั เปน็ ผมู้ ากประสบการณ์ เปน็ ผสู้ ง่ั สมความรทู้ ง้ั ทางดา้ นเทคนคิ และทกั ษะ โดยได้รบั เลอื กใหเ้ ปน็ ผูเ้ ขียนภาพ ฝาผนัง ตกแตง่ ศาลาไทยในงาน Expo’ 80 ท่เี มอื งซกู ูบะ ประเทศญี่ปุ่น และได้สร้างสรรค์ภาพกระจกสีขนาดใหญ่ เพ่ือตกแต่งรอบโบสถ์ซางตาครู้ส ฟาติมา และเซนต์จอหน์ กรงุ เทพมหานคร นอกจากน้ี ยังได้รับเชญิ เข้าร่วมตกแต่งสถานที่ นิทรรศการส�ำคัญ ๆ ระดับชาติ อาทิ งานพิธีพระบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทราบรม ราชชนนี รวมถึงยังมีความสามารถในการสร้างเสริมทัศนคติเชิงบวกและเสริมสร้าง เจตนารมณ์ ในการทำ� งานร่วมกนั อย่างมีเอกภาพอันเปน็ คณุ ประโยชน์สำ� หรบั ทัง้ ผเู้ รยี นและ ผสู้ อน ด้านการออกแบบสร้างสรรค์งานศิลปะ ทง้ั ยงั เปน็ นักออกแบบอาชพี และนักวชิ าการ ทางดา้ นการออกแบบ ท่ีสำ� คญั อยา่ งยง่ิ คือ การเปน็ ตน้ แบบของครทู ่เี สียสละ มเี มตตา และคณุ ธรรม ได้รับ การยอมรับในระดับชาติ โดยได้รับเลือกให้เป็นกรรมการของสมาคมครูคาทอลิกแห่ง ประเทศไทย ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการราชบัณฑิตยสถาน จัดท�ำสารานุกรมค�ำศัพท์ ศิลปกรรม ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน ยกย่องเชดิ ชูเกียรตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 113

ขศอาสงตจรุฬาาภลิชงากนรณ์มหาวิทยาลยั รองศาสตราจารย์ปกรณ์ รอดช้างเผ่อื น ศาสตราภชิ าน เงนิ ทนุ บริหารวชิ าการและการศกึ ษาศลิ ปกรรม กองทุนคณะศิลปกรรมศาสตร์ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ (วาระท่ี ๘) 114 ยกย่องเชิดชูเกยี รติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รองศาสตราจารย์ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน ส�ำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยนาฏศิลป และ บริหารการศึกษา จากคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รับราชการในต�ำแหน่ง อาจารย์ ประจ�ำสาขาวิชาดุริยางคศิลป์ไทย ภาควิชาดุริยางคศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นเวลามากกว่า ๒๕ ปี รองศาสตราจารย์ปกรณ์ รอดช้างเผ่ือน มีผลงานสอนในรายวิชาหลักการประพันธ์ เพลงไทย เครื่องสายปีชวา ทั้งในหลักสูตระดับปริญญาบัณฑิตและมหาบัณฑิต มีผลงาน การแสดงทางดุริยางคศิลป์ไทยที่ปรากฏและแพร่หลายในสังคมดนตรีไทยอย่างต่อเน่ือง มีผลงานการบรรเลงดนตรีไทยท่ีส�ำคัญ ได้แก่ การร่วมบรรเลงจะเข้หน้าพระที่น่ังสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในงานการแสดงดนตรไี ทย ครอู าวโุ สชายแหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ รวมไปถงึ การควบคมุ นสิ ติ ในการบรรเลงดนตรไี ทย ๑๑๐ ปี คณุ ครลู ะเมยี ด จิตตเสวี วงเครื่องสายปีชวา วงเคร่ืองสายผสมออร์แกน การเดี่ยวจะเข้หมู่เพลงฉ่ิงตวง พระธาตอุ อกคางคกปากสระ นอกจากน้ี ยงั ไดร้ บั เชญิ เปน็ คณะกรรมการทปี่ รกึ ษากติ ตมิ ศกั ดิ์ การประกวดดนตรีไทย ระดับนักเรียนภาคตะวันออกชิงถ้วยพระราชทาน ครั้งท่ี ๓๔ จัดโดยสถาบันวิจัยวัฒนธรรมและศิลปะ วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา และการจัดต้ังชมรมพิณพม่าของคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อ เผยแพร่และจัดเตรียมการแสดงเทิดดพระเกียรติพิณพม่า เนื่องในวโรกาสสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ ๕ รอบในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ รวมไปถึงผลงานทางด้านการประพันธ์เพลงไทยที่ส�ำคัญ ได้แก่ การประพันธ์เพลงฟ้าน่าน เถา เพลงระบำ� ชมพูภคู า เพลงระบ�ำ สกุณานา่ น เปน็ ตน้ ยกย่องเชิดชูเกยี รติบคุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 115

ขศอาสงตจรุฬาาภลชิ งากนรณม์ หาวทิ ยาลยั รองศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์ ดร.สพุ ล เลอ่ื งยศลือชากลุ ศาสตราภชิ าน เงนิ ทุนบรษิ ัท ฟารม์ าเทค เอฟ.ซี. จ�ำกัด กองทุนเพ่อื การบริหารวิชาการและการศกึ ษาของคณะสัตวแพทยศาสตร์ ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๓๑ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ (วาระที่ ๔) 116 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.สุพล เลอื่ งยศลือชากลุ จบการศึกษา รับปรญิ ญา วท.บ. (เกียรตนิ ยิ ม) และ สพ.บ.(เกียรตินยิ ม) จาก จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย เร่ิมต้นรับราชการเป็นอาจารย์ประจ�ำสงั กัดกรมอาชีวศกึ ษาในปี พ.ศ. ๒๕๒๐ สอนทว่ี ทิ ยาลัยเกษตรกรรมชัยภูมิ อ.เมอื ง จ.ชยั ภมู ิ รับมอบหมายงานในฐานะหัวหนา้ คณะวิชาสตั วบาล ในปีร่งุ ขึน้ จึงได้โอนย้ายมาสังกัดในภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รับผิดชอบการเรียน การสอน การวจิ ยั และบรกิ ารทางวชิ าการในกลมุ่ สาขาอายรุ ศาสตรป์ ศสุ ตั ว์ ทำ� ตอ่ เนอื่ งเรอ่ื ยมากวา่ สามสบิ ปจี นมกี ารเปลย่ี น สถานภาพตวั บคุ คล และได้ส้นิ สดุ สญั ญาจา้ งในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ในต�ำแหนง่ ศาสตราภิชานด้านอายรุ ศาสตร์ปศุสตั ว์ปจั จุบัน รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.สุพล เลื่องยศลอื ชากุล ยงั คงมาปฏบิ ัติงานใหก้ ับคณะสตั วแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย เปน็ ประจำ� ทุกวัน ทำ� หนา้ ท่สี อน วิจยั และบรกิ ารวิชาการ ทั้งร่วมทำ� ภารกจิ -กจิ กรรมส�ำคญั ทางวิชาการของ ส่วนงานฯ โดยมิไดข้ าด รองศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์ ดร.สพุ ล เลอ่ื งยศลอื ชากลุ เปน็ ผทู้ ไ่ี ดร้ บั การยอมรบั ทงั้ ในระดบั ชาติ และนานาชาติ ทางด้านอายรุ ศาสตร์สกุ ร เป็นหนงึ่ ในผู้รว่ มบกุ เบิกงานการรักษาดา้ นอายุรกรรม และงานการเวชกรรมปอ้ งกันโรคติดเช้ือ ทสี่ �ำคัญ ๆ ของวงการเลีย้ งสุกรในประเทศไทย อกี ทง้ั เป็นผูท้ ีม่ ีความรอบรูด้ ้านการจัดการระบบสุขภาพฝูงสุกร การใช้ยา และวัคซีนในสุกร รวมท้ังปศุสัตว์ชนิดอ่ืน ๆ เช่น โค กระบือ ได้ทุ่มเทเวลาเพื่อการเรียการสอนนิสิต ทางคลินิกด้าน อายุรกรรมในสกุ ร รวมทั้งออกให้บรกิ ารวชิ าการ วิชาชีพ แกเ่ กษตรกรผู้เล้ียงสกุ รและปศสุ ตั วอ์ ่นื ท่วั ประเทศ ไม่วา่ จะเปน็ โครงการสัตวแพทย์อาสาพัฒนาชนบทของคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ โครงการสัตวแพทย์ พระราชทานในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิพระบรมราชินีนาถพระพันปีหลวง ท่ีทางกรมปศุสัตว์ ได้จัดกิจกรรมน�ำออกให้ บริการดา้ นสขุ ภาพสตั ว์แกป่ ระชาชนผู้เลีย้ งสตั วใ์ นชนบท ตลอดจนเขตทุรกันดารต่าง ๆ ทวั่ ประเทศมาเป็นเวลายาวนาน กวา่ ๑๐ ปี ในดา้ นการเรยี นการสอน รองศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์ ดร.สพุ ล เลอื่ งยศลอื ชากุล ไดอ้ ุทิศเวลาให้กับการเรยี น การสอนทั้งภาคทฤษฎีด้วยการบรรยายในห้องเรียน และทางภาคปฏิบัติทางคลินิกปศุสัตว์ด้วยการน�ำนิสิตออกร่วมงาน ภาคสนาม พาเข้าฝึกงานทางด้านคลินิกปฏิบัติ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในฟาร์มสุกรในทุกระดับการเล้ียง ได้เป็นต้นแบบของ การทำ� งานอยา่ งมีจติ วิญญาณของการเปน็ ครแู กอ่ าจารยร์ ่นุ ใหม่ ๆ และนสิ ิตของคณะสตั วแพทยศาสตร์ ในดา้ นการวิจัย และผลิตงานวชิ าการตน้ แบบ รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.สุพล เลอ่ื งยศลือชากลุ ไดเ้ ป็น ผู้ริเร่ิมแนวคิดการฉีดวัคซีนแบบโปรแกรมปูพรม (โดยปฏิทินก�ำหนด)ในสุกรซ่ึงเป็นการฉีดแบบครอบคลุมทั่วท้ังฝูง ในคราวเดยี วกนั (วันเดียวกัน) จึงท�ำใหก้ ารจัดการสขุ ภาพสกุ รมีประสทิ ธิผลป้องกนั โรคดมี ากยิง่ ๆ ขึน้ มคี วามสะดวกอยา่ ง มากในการลงมือปฏิบัติงานจริงในฟาร์ม ใช้เป็นวิธีส�ำหรับการป้องกันโรคสุกรหลาย ๆ โรคในการเลี้ยงทุกระดับการผลิต ของประเทศ ท�ำให้ผลของการฉีดวัคซีนมีประสิทธิภาพตามคุณลักษณะเฉพาะของชนิดวัคซีนมากยิ่งข้ึน ตลอดจนได้ท�ำ การศึกษา ค้นคว้า วิจัยด้านโรคสุกรท่ีสามารถน�ำมาใช้ปฏิบัติเห็นผลได้จริง นอกจากนี้ท่านยังได้สอนนิสิตในระดับ บัณฑิตศึกษาของภาควิชาฯ ทั้งที่เป็นนิสิตจากในประเทศและนิสิตต่างประเทศ อีกทั้งยังเป็นผู้ร่วมวิจัยในโครงการวิจัย โรคสุกร โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ โรคตดิ เชื้อสุกรทีส่ ำ� คญั ๆ ซึ่งเป็นคณุ ประโยชนต์ อ่ วงการผลติ สกุ รในประเทศไทยในเรอ่ื งการลด ความสญู เสยี จากเหตุสขุ ภาพ โรคตดิ เชื้อรา้ ยแรงตา่ ง ๆ นอกจากนี้ทา่ นยังเป็นผทู้ ่ีมคี วามรู้อยา่ งลกึ ซง้ึ ในเรือ่ งการประยกุ ต์ ใช้ และการผลิต-การจดั เตรียมเวชภณั ฑย์ า และวัคซนี สำ� หรบั สกุ รคนหนึ่งของประเทศไทย ในด้านงานบริการวิชาการและการสนับสนุนส่งเสริมการปศุสัตว์ รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.สุพล เลื่องยศลือชากุล ได้รับเชิญเป็นวิทยากรบรรยายความรู้ให้กับหลายหน่วยงาน รวมทั้งร่วมเป็นอนุกรรมการพิจารณา การขน้ึ ทะเบยี นอาหารสตั ว์ ของกรมปศสุ ตั ว์ มายาวนานหลายสิบปี ท่านไดร้ บั รางวลั สัตวแพทย์ตวั อย่าง สายงานเผยแพร่ วิชาชีพและบริการสังคม ของสัตวแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจ�ำปี ๒๕๕๑ ในขณะนี้เม่ือ ดินแดนในแถบภูมิภาคยุโรปได้ติดโรคระบาดร้ายแรงคือโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (ASF) ท้ังก�ำลังแพร่ลามเข้ามาทาง รสั เซยี -จนี และกลมุ่ ประเทศเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ จนถงึ ตน้ เดอื นสงิ หาคม ซง่ึ แนน่ อนทส่ี ดุ วา่ โรคนจี้ ะตอ้ งตดิ เขา้ สฝู่ งู สกุ ร จนสามารถสร้างความเสียหายได้อยา่ งใหญห่ ลวงมากทส่ี ดุ ต่ออตุ สาหกรรมการปศสุ ตั ว์ของไทย จงึ เป็นบทบาท และภาระ หน้าท่ีส�ำคัญยิ่งที่ต้องเร่งส่งสัญญาณบอกเหตุ การชี้น�ำจากกลุ่มคณาจารย์มหาวิทยาลัยออกไปสู่สาธารณะชน ผู้มีส่วน เก่ยี วขอ้ ง เพอื่ การสร้างแผนเผชญิ เหตุร้าย คดิ หาหนทางเพอ่ื ลดความเสียหายให้เหลอื น้อยทสี่ ดุ และท้งั ตอ้ งจัดสรา้ งแผน การฟ้ืนฟใู หก้ ารเลยี้ งกลับดขี ้นึ ดงั เดมิ โดยอาศยั หลักวิชา ความรอบรูท้ ุกดา้ นหลาย ๆ ศาสตร์มาสอดประสานร่วมกัน ยกยอ่ งเชิดชเู กียรตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 117

ศขอาสงตจรุฬาาภลชิ งากนรณ์มหาวทิ ยาลยั รองศาสตราจารยอ์ ัจฉรา ธวัชสนิ ศาสตราภิชาน เงินทุนบรษิ ัทจกั รมารต์ นิ อินเตอร์เนชันแนล จำ� กดั กองทุนเพอ่ื การบรหิ ารวิชาการและการศกึ ษาของคณะสตั วแพทยศาสตร์ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ (วาระที่ ๒) 118 ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รตบิ ุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รองศาสตราจารย์อัจฉรา ธวชั สนิ สำ� เร็จการศกึ ษาปรญิ ญาตรี คณะวทิ ยาศาสตร์ และ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วท.บ. (เทคนิคการแพทย์) และปริญญาโท มหาวิทยาลัยมหิดล วท.ม. (จุลชีววิทยา) ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นอาจารย์ประจ�ำภาควิชา อายรุ ศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ต้งั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ รองศาสตราจารย์อัจฉรา ธวัชสิน เป็นผู้มีความช�ำนาญในการเรียนการสอนด้าน ระบาดวิทยา มากว่า ๓๐ ปี และมีความเชี่ยวชาญในการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ โดยเฉพาะการตรวจโรคโลหิตจางชนิดติดต่อในม้า (Equine infectious anemia, EIA) และการตรวจสายพันธุ์ม้าแก่หน่วยงานราชการและเอกชนของท้ังประเทศ งานการตรวจ โรคโลหิตจางชนิดติดต่อในม้าน้ันได้รับการยอมรับให้เป็นห้องปฏิบัติการอ้างอิงของ ราชตฤณมัยสมาคมฯ และราชกรีฑาสโมสรในการตรวจม้าแข่ง ส่วนการตรวจสายพันธุ์ม้า น้ัน ห้องปฏิบัติการฯดังกล่าวได้เข้าร่วมการทดสอบ International Horse STR Typing Comparison Test ซง่ึ จดั โดย International Society for Animal Genetics ซึง่ เปน็ สมาคมนานาชาติ และผา่ นการทดสอบ จนไดร้ บั ประกาศนยี บตั รจากสมาคมฯ เปน็ หอ้ งปฎบิ ตั ิ การท่ีไดร้ ับการยอมรับในระดับนานาชาตอิ ย่างตอ่ เนอ่ื งมากวา่ ๒๐ ปี ในด้านการเรียนการสอนนั้น รองศาสตราจารย์อัจฉรา ธวัชสิน ได้ทุ่มเทให้กับ การเรียนการสอนท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติในรายวิชาด้านระบาดวิทยา อายุรศาสตร์ สัตว์ปีกของภาควิชาอายุรศาสตร์ อีกท้ังเป็นผู้ให้ค�ำปรึกษาให้กับฝ่ายวิชาการของคณะสัตว แพทยศาสตร์มาอย่างต่อเน่ือง ดูแล จัดการเรียนการสอนการสอบ และบัณฑิตวิทยาลัย ของคณะสตั วแพทยศาสตร์ นอกจากนยี้ งั ไดร้ บั รางวลั CEVA Best Teaching Award รางวลั ด้านการเรียนการสอนดีเด่นประจ�ำปี ๒๕๕๘ จากคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เล็งเห็นคุณค่าและ ความสามารถของรองศาสตราจารย์อัจฉรา ธวัชสิน ผู้ซ่ึงมีความรู้ความเชี่ยวชาญและ ประสบการณ์ในการสอน การวิจัย และการปฏิบัติงานทางห้องปฏิบัติการ มีความรักใน การสอนและการถ่ายทอดประสบการณ์ด้านการท�ำงานบริการวิชาการท่ีจะช่วยพัฒนางาน ด้านการเรียนการสอน บัณฑิตศึกษา ตลอดจนงานด้านการบริการวิชาการและการตรวจ วินิจฉัยในห้องปฏิบัติการของคณะสัตวแพทยศาสตร์อย่างต่อเนื่อง เพ่ือเป็นแหล่งความรู้ ท่ีส�ำคัญของประเทศชาติตอ่ ไป ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรตบิ ุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 119

ศขอาสงตจรฬุ าาภลชิ งากนรณ์มหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.นภาพร ชโยวรรณ ศาสตราภชิ าน กองทนุ วทิ ยาลยั ประชากรศาสตร์ ๑ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๓๑ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ (วาระที่ ๔) 120 ยกย่องเชดิ ชูเกยี รติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รองศาสตราจารย์ ดร.นภาพร ชโยวรรณ ส�ำเรจ็ การศกึ ษาปรญิ ญาเอก สาขา Sociology จาก The University of Michigan, U.S.A. เคยด�ำรงต�ำแหน่งรองผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยประชากรศาสตร์ และผู้อ�ำนวยการหลักสูตร การจดั อบรมของศนู ยเ์ ชย่ี วชาญเฉพาะทางระดบั นานาชาติ Asian Meta Center for Population and Sustainable Development Analysis เปน็ ผทู้ บ่ี กุ เบกิ งานวจิ ยั ดา้ นผสู้ งู อายใุ นประเทศไทยมาตงั้ แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๒๖ มผี ลงานตพี มิ พ์ ทั้งในวารสารระดับชาติและระดับนานาชาติกว่า ๑๐๐ ช้ิน ได้รับรางวัลงานวิจัยจากมูลนิธิอนุสรณ์ หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ และได้รับรางวัลผลงานวิจัยระดับดีเด่นแห่งชาติ ประจ�ำปี ๒๕๕๒ สาขาสังคมวิทยาของ สำ� นกั งานคณะกรรมการวจิ ัยแห่งชาติ ในโครงการสร้างระบบติดตามและประเมินผลแผนผู้สงู อายุแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๖๔) ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการกองทุนผู้สูงอายุแห่งชาติ รองประธานอนุกรรมการติดตามการด�ำเนินการ ตามนโยบายและแผนผ้สู ูงอายุแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๖๔) และกรรมการใน Advisory Board ของ วารสารนานาชาตทิ ่เี กี่ยวขอ้ งกับทางประชากรศาสตร์ ๒ วารสาร คอื Journal of Studies in Family Planning (ต้งั แตป่ ี ค.ศ. ๑๙๙๔ - ปัจจุบนั ) และAsian Population Studies Journal (ตงั้ แต่ปี ค.ศ. ๒๐๐๔ - ปัจจบุ ัน) ผลงานทางวชิ าการ บางสว่ น ในชว่ งปี พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๘ • เป็นทป่ี รึกษาโครงการบูรณาการสหศาสตร์เพ่อื รองรับสังคมสงู วยั • เป็นที่ปรึกษาโครงการจัดท�ำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร ระยะท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔) • เป็นที่ปรกึ ษาโครงการการประเมินผลแผนพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ผู้สงู อายกุ รุงเทพมหานคร ระยะท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๖๐) ระยะสิ้นสดุ แผน • เป็นนักวิจัยโครงการติดตามและประเมินผลแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๖๔) ระยะท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) • เปน็ ทป่ี รกึ ษาโครงการตดิ ตามและประเมนิ ผลแผนผสู้ งู อายแุ หง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๖๔) ระยะ ที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) ปที ี่ ๑ • เป็นทป่ี รกึ ษาโครงการการเปล่ยี นแปลงทางประชากรและความอยู่ดีมีสุขในบรบิ ทสงั คมสงู วัย • เปน็ ทป่ี รึกษา นักวจิ ยั และคณะท�ำงานในโครงการต่าง ๆ ดา้ นประชากรศาสตร์และสาขาทีเ่ ก่ียวขอ้ ง เชน่ โครงการเข้าใจสถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทยผ่านการศึกษาเปรียบเทียบกับเกาหลี พม่าและเวียดนาม และ โครงการจัดทำ� แผนพัฒนาคุณภาพชวี ิตผู้สงู อายุ กรุงเทพมหานคร ระยะท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๖๐) เป็นตน้ • เปน็ ผ้อู ่าน (reader and reviewer) รายงานการวจิ ัยหรือบทความทางวิชาการดา้ นประชากรศาสตรแ์ ละ สาขาทีเ่ ก่ียวขอ้ งของหนว่ ยงานตา่ งๆ • เปน็ อาจารยพ์ ่เี ล้ยี งในการพฒั นาอาจารยร์ นุ่ ใหม่ ผลงานวจิ ัยทต่ี พี มิ พใ์ นช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๖ ไดแ้ ก่ ๑) The Changing Well-Being of Thai Elderly ๒) The Changing Well-Being of Thai Elderly: A Summary Report และ ๓) รายงานสรุปการเปล่ียนแปลง สภาวะการอยู่ดมี ีสขุ ของผสู้ งู อายุไทย : ข้อมูลล่าสุดจาการส�ำรวจประชากรสงู อายุในประทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๔ ยกยอ่ งเชิดชูเกียรตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 121

ศขอาสงตจรฬุ าาภลิชงากนรณ์มหาวทิ ยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.นพิ นธ์ เทพวลั ย์ ศาสตราภิชาน กองทนุ วทิ ยาลยั ประชากรศาสตร์ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๓๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ (วาระท่ี ๔) 122 ยกยอ่ งเชิดชูเกียรติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รองศาสตราจารย์ ดร.นพิ นธ์ เทพวลั ย์ สำ� เรจ็ การศึกษาปรญิ ญาเอก สาขา Demography จาก University of Pennsylvania U.S.A. เคยดำ� รงตำ� แหนง่ ผอู้ ำ� นวยการสถาบนั ประชากรศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั Director Population Division, Population and Rural-Urban Development Division แหง่ United Nation-ESCAP มผี ลงานทางวชิ าการท่สี ำ� คญั อาทิ • เป็นผู้เขียนตารางทางประชากรศาสตร์เลม่ แรกของประเทศ • ร่วมจดั ทำ� พจนานุกรมศพั ทป์ ระชากรศาสตร์, ราชบัณฑิตยสถาน • เป็นที่ปรึกษาโครงการบูรณาการสหศาสตร์เพื่อรองรับสังคมสูงวัย พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔ ภายใตก้ ารสนับสนนุ ของโครงการสรา้ งเสรมิ พลังจฬุ าฯ กา้ วสศู่ ตวรรษที่ ๒ ระยะที่ ๒ • เป็นที่ปรึกษาและถ่ายทอดประสบการณ์การส�ำรวจระดับประเทศให้คณาจารย์ นักวิจัยและ นิสิตรุ่นต่าง ๆ ของวิทยาลัยประชากรศาสตร์และเครือข่ายคณาจารย์และนักวิจัย จากมหาวิทยาลัย เครือข่ายของโครงการการเปล่ียนแปลงทางประชากรและความอยู่ดีมีสุขในบริบทสังคมสูงวัย พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๑ ซึ่งเป็นโครงการภายใต้การสนบั สนนุ ของโครงการสร้างเสริมพลงั จุฬาฯ ก้าวสู่ศตวรรษ ที่ ๒ ระยะท่ี ๑ • เป็นท่ีปรึกษาโครงการจัดท�ำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ กรุงเทพมหานคร ระยะท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔) • เป็นท่ีปรึกษาโครงการติดตามและประเมินผลแผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ ๒ ระยะท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) ผลงานท่ีตีพมิ พ์ (บางส่วน) ๑. แผนกลยทุ ธด์ ้านการทำ� งานของผสู้ งู อายุ ระยะท่ี ๑ (พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓). มลู นธิ สิ ถาบันวิจยั และพัฒนาผสู้ ูงอายุไทย ส�ำนกั งานกองทุนสนับสนนุ การสรา้ งเสริมสุขภาพและวิทยาลยั ประชากรศาสตร์ จฬุ าฯ, ๒๕๕๙ ๒. นโยบายประชากรของประเทศไทยจากอดตี สอู่ นาคต. ๒๕๕๗. วทิ ยาลยั ประชากรศาสตร,์ ๒๕๕๗ ๓. การเปลย่ี นแปลงประชากรไทยในรอบ ๕๐ ปี. วทิ ยาลัยประชากรศาสตร์, ๒๕๕๙ ๔. Nibhon Debayalya et al. Monitoring and Evaluation on the Safe Motherhood Project. Bangkok: College of Population Studies. 2013. ๕. Nibhon Debayalya. Ageing Population: Situation and Policies in Thailand, paper presented at the Workshop on the Role of IPPF Member Association (MAs) in the Ageing Society, Tokyo 10-15 March ๒๐๑๓. ๖. Nibhon Debayalya (ed.). The Challenges of Population Transition in ASEAN. Bangkok: College of Population Studies. 2012. ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 123

ศขอาสงตจรฬุ าาภลิชงากนรณ์มหาวทิ ยาลัย รองศาสตราจารย์ เภสัชกร ดร.นจิ ศิริ เรืองรังษี ศาสตราภชิ าน กองทนุ วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรส์ าธารณสุข ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ (วาระท่ี ๕) 124 ยกย่องเชดิ ชเู กยี รติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รองศาสตราจารย์ เภสชั กร ดร.นจิ ศริ ิ เรอื งรงั ษี มคี วามเชย่ี วชาญดา้ นสมนุ ไพรไทย เภสชั กรรม ไทย อนุกรมวิธานพืช และพฤกษเคมี ในระดับแนวหน้าของประเทศไทยและในระดับนานาชาติ มีผลงานวิจัยเผยแพร่ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ๒๕๐ เรื่อง เป็นผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณา กล่นั กรองบทความวิจัยในวารสารวิชาการของสมาคมเคมแี ห่งสหรฐั อเมรกิ าและสมาคมเภสัชเวท แห่งสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ จนปัจจุบันเป็นบรรณาธิการไทยเภสัชสาร (พ.ศ. ๒๕๓๐ - ๒๕๓๑ และ พ.ศ. ๒๕๓๕ - ๒๕๓๖) และบรรณาธกิ ารวารสารวจิ ยั วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ (พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๕๔) ไดร้ บั รางวลั นกั วจิ ยั ดเี ดน่ ๘๐ ปี แหง่ การศกึ ษาเภสชั ศาสตรใ์ นประเทศไทย ในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ บทความวจิ ยั ไดร้ บั การอา้ งองิ สงู สดุ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยการจดั ของสมาคมเคมี แหง่ สหรัฐอเมริกา ได้รบั แตง่ ต้ังเปน็ กรรมการบรหิ ารส�ำนกั งานพัฒนาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) และเป็นผู้ทรงคุณวุฒิศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเวชส�ำอาง) (พ.ศ. ๒๕๕๖ ถึงปัจจุบัน) เป็นผู้เช่ียวชาญด้านสมุนไพรและเภสัชเวทของกระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ปัจจุบัน) เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการ และท่ีปรึกษาของกระทรวงสาธารณสุข ในด้านงานวิจัยพืชสมุนไพร การใช้สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน การคุ้มครองสมุนไพร การคุ้มครองต�ำรับยาและต�ำราการแพทย์แผนไทย ริเริ่มการเรียนการสอนและการวิจัยมาตรฐาน เครอ่ื งยาไทย และจดั ทำ� ข้อกำ� หนดทางเภสชั เวทของเคร่อื งยาไทยกว่า ๑๒๐ ชนิด รองศาสตราจารย์ เภสัชกร ดร.นิจศิริ เรืองรังษี ส�ำเร็จการศึกษาเภสัชศาสตรบัณฑิต และ เภสชั ศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าเภสชั เวท จากจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ในปี พ.ศ. ๒๕๑๗ และ พ.ศ. ๒๕๒๐ ตามล�ำดบั และสำ� เรจ็ การศกึ ษาเภสชั ศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าเภสชั เวท จากมหา วทิ ยาลัยชบิ ะ ประเทศญีป่ นุ่ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ รับราชการในจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย โดยเปน็ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาเภสชั เวท คณะเภสัชศาสตร์ ตง้ั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๗ จนเกษยี ณอายรุ าชการ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้รับแต่งต้ังเป็นรองผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ (พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๔๙) เป็นผู้อ�ำนวยการหลักสูตรสหสาขาวิชาวิจัยเพื่อการพัฒนาสุขภาพ (พ.ศ. ๒๕๔๘ - ๒๕๕๑) เป็นรองคณบดีวิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสขุ (พ.ศ. ๒๕๔๙ - ๒๕๕๓) และ เปน็ ทีป่ รกึ ษาวิทยาลัยวทิ ยาศาสตร์สาธารณสขุ ตง้ั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ท่านเป็นผู้ริเร่ิมการสอนและ การวิจัยในระดับบัณฑิตศึกษาด้านวิทยาศาสตร์สมุนไพรเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาการแพทย์ แผนไทยในหลกั สตู รวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ของวทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรส์ าธารณสขุ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย ยกย่องเชดิ ชูเกยี รตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 125

นายแพทย์ส�ำลี เปล่ียนบางช้าง อดีตผู้อ�ำนวยการภูมิภาคขององค์การอนามัยโลก เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ มีส�ำนักงานอยู่ท่ีกรุงนิวเดลฮี ประเทศอินเดีย เป็นคนไทยคนเดียวที่ได้ด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญนี้ ๒ สมัย เป็นเวลา ๑๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๔๗ - ๒๕๕๗) โดยการเสนอของรฐั บาลไทย และได้รบั การเลือกตงั้ โดยตรงจากประเทศภาคสี มาชิกในภูมภิ าค ในฐานะผู้อ�ำนวยการภูมิภาคฯ มีอ�ำนาจหน้าท่ีรับผิดชอบโดยตรงในการบริหารจัดการงานพัฒนาขององค์การอนามัยโลก ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ส่งเสริมและสนับสนุนโดยตรงต่อการพัฒนาการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศ ภาคสี มาชิก ภูมภิ าคนม้ี ีจ�ำนวนประชากรมากเป็นอันดับ ๒ ของภมู ิภาคทั้งหมด (๖ ภูมิภาค) ในองคก์ ารอนามัยโลก คอื มีประชากรมากกวา่ ๑.๕ พันลา้ นคน (หน่ึงในสามของประชากรโลก) เปน็ ภูมภิ าคทม่ี ีประเทศขนาดใหญ่ (ประชากรต้ังแต่ ๑๐๐ ล้านคนข้ึนไป) มากท่ีสุด คือ ๓ ประเทศ เป็นภูมิภาคที่มีประชากรยากจน และมีปัญหาในด้านสุขภาพมากที่สุด เม่อื เปรยี บเทียบกบั ภมู ภิ าคอ่นื ๆ นายแพทย์ส�ำลี เป็นก�ำลังส�ำคญั ขององค์การอนามัยโลกโดยเฉพาะงานพฒั นาก�ำลงั คน ด้านสาธารณสุข นายแพทย์ส�ำลี เปลี่ยนบางช้าง จบแพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) จากคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาบัณฑติ ทางสาธารณสขุ ศาสตรแ์ ละเวชศาสตร์เมืองร้อน (M.P.H. & T.M.) และสาธารณสุข ศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต (Dr. P.H.) จากมหาวิทยาลัยทูเลน ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ไดร้ บั ประกาศนียบัตรชั้นสงู ดา้ นการวางแผน งานสาธารณสุข จากมหาวทิ ยาลยั จอหน์ ฮอพคินส์ ประเทศสหรฐั อเมริกา ไดร้ ับรางวัลเหรยี ญทองจากการทำ� วิทยานิพนธ์ ดเี ดน่ ระดบั ปรญิ ญาเอก ของมหาวทิ ยาลยั ทเู ลน (พ.ศ. ๒๕๑๕) ประกาศนยี บตั รแพทยด์ เี ดน่ จากสมาคมแพทยแ์ หง่ ประเทศ สหรัฐอเมริกา (พ.ศ. ๒๕๑๓) เป็นสมาชิกเดลตา้ โอเมกา้ (ETA Chapter) ซึ่งเปน็ สมาคมของนักวิชาชีพดา้ นการสาธารณสุข ที่มีชื่อเสียงของเทศสหรัฐอเมริกา (พ.ศ. ๒๕๑๕) เป็นแพทย์ไทยคนแรกและยังเป็นคนเดียวที่ได้เป็น Diplomate of the American Board of Preventive Medicine สาขาสาธารณสุขศาสตร์ เป็นผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นเวชศาสตร์ปอ้ งกนั และ สงั คมของแพทยสภาประเทศไทยใน พ.ศ. ๒๕๒๒ รับราชการกับกระทรวงสาธารณสุข ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๐๘ จากการเป็นนายแพทย์โทในกองสุขภาพ กรมอนามัย ปฏิบัติงานที่โรงพยาบาลประจ�ำจังหวัดอุบลราชธานี ในฐานะแพทย์ฝึกหัด และสถานีอนามัยชั้นหน่ึง อ.อ�ำนาจเจริญ จ.อุบลราชธานี หน่วยปฏิบัติการพิเศษพลเรือน ทหาร ต�ำรวจ ใน อ.นาแก จ.นครพนม โรงพยาบาลบ�ำราศนราดูร จ.นนทบุรี และศูนยฝ์ กึ อบรมภาคกลางของกรมอนามยั ที่ จ.ชลบรุ ี จากนนั้ ด�ำรงตำ� แหนง่ นายแพทยเ์ อก ในกองฝกึ อบรม กรมการแพทย์และอนามัย ผอ.กองวิชาการ กรมการแพทย์ ต�ำแหน่งสุดท้ายก่อนไปปฏิบัติงานกับองค์การอนามัยโลก คือ ผู้อำ� นายการสำ� นักงานคณะกรรมการทป่ี รึกษาแหง่ ชาติเร่ืองการป้องกนั และควบคมุ โรค ของกระทรวงสาธารณสขุ ปฏิบัติงานที่องค์การอนามัยโลกเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๒๗ ถึงมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๓ ได้ด�ำรงต�ำแหน่ง รองผู้อำ� นวยการภมู ิภาค (Deputy Regional Director) และผูอ้ ำ� นวยการการบริหารแผนงาน (Director Programme Management) ขององคก์ ารอนามัยโลก สำ� นกั งานภูมภิ าคเอเซยี ตะวนั ออกเฉยี ง ได้ดำ� รงตำ� แหนง่ อ่นื ๆ อีก คือ เปน็ ที่ ปรึกษาด้านสาธารณสุขมูลฐาน เจ้าหน้าที่วางแผนงานอาวุโสระดับภูมิภาค และผู้อ�ำนวยการฝ่ายการป้องกันและควบคุม โรค นอกจากน้ันยังได้เป็นท่ีปรึกษาอาวุโสด้านการปฏิรูประบบบริหารงานและงบประมาณ ณ ส�ำนักงานใหญ่ของ องค์การอนามัยโลกท่ีกรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ เป็นท่ีปรึกษาอาวุโสด้านการต่างประเทศ ใหแ้ กก่ ระทรวงสาธารณสุข เปน็ ศาสตราภชิ านท่ปี รกึ ษาอาวโุ สด้านการพัฒนาระบบสุขภาพใหแ้ ก่วทิ ยาลยั การสาธารณสขุ แห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย จนกระท่งั เปน็ คณบดขี องวิทยาลยั ฯ แห่งนี้ ใน พ.ศ. ๒๕๔๔ ได้รับปริญญาเอกกิตติมศักดิ์ด้านสาธารณสุขศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิด มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ และปรญิ ญากติ มิ ศกั ดด์ิ า้ นวทิ ยาศาสตร-์ การแพทย์ จากรฐั บาลของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนเกาหลี ๒๕๕๗ เปน็ แพทยเ์ กยี รตยิ ศ ของแพทยสภา, มกราคม ๒๕๕๗ เปน็ ทปี่ รกึ ษาอาวโุ สวทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรส์ าธารณสขุ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ตลุ าคม ๒๕๕๗ เปน็ ศาสตราภิชาน วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรส์ าธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (๕ สมัย) - ปัจจุบัน 126 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ศขอาสงตจรุฬาาภลิชงากนรณม์ หาวทิ ยาลยั นายแพทยส์ �ำลี เปลี่ยนบางช้าง ศาสตราภิชาน กองทนุ วิทยาลยั วิทยาศาสตร์สาธารณสขุ ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ (วาระท่ี ๕) ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 127

DofisCtihnugluailsohnegdkoPrrnofUensisvoerrsity Associate Professor Dr.Ravi Aron Distinguished Professor under the Bangkok Bank Chair in Digital Disruption and Machine Learning Sasin School of Management 2019 August 1st, 2019 - July 31st, 2019 (Term 1) 128 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

Ravi Aron is an Associate Professor at Johns Hopkins University Carey Business School. He was the founding Academic Program Director of the school (2011 – 2016) and was also the founding Academic Program Director of the school’s Online MBA programs. He was an Alfred P. Sloan Industry Studies Fellow (2008 - 2009) and a Senior Fellow of the William and Phyllis Mack Center for Technological Innovation at the Wharton School at University of Pennsylvania (2007-2013). His research addresses elements of Technology Strategy, including applications of Machine Learning, valuing startups with business models based on Machine Learning & AI offerings. Dr. Aron received an MBA (PGDIM) from the Indian Institute of Management (Bangalore), specializing in Finance and Marketing. He received his M.Phil. and Ph.D. in Information Systems from the Leonard N. Stern School of Business at New York University and joined the faculty of The Wharton School (UPENN) in 1999. He was awarded the Herman E. Cross award for best doctoral dissertation and has won numerous teaching excellence awards at the Wharton School including the prestigious David Hauck award for teaching excellence. More recently he was awarded the Professor of The Year, by the first graduating cohort of the Johns Hopkins University Carey Business School (2012), and the Alumni Teaching Excellence Award in 2013. He also won the Dean’s Faculty Excellence Award in 2016, at the Johns Hopkins Carey Business School. He has consulted with several firms in the US, Singapore, Europe and Asia. He is an advisor to several startup firms that have Machine Learning-based business models and has done considerable work on valuing such startup firms. He has over eighteen years of experience in executive education working with senior executives in US, Europe and Asia. He has taught and facilitated many sessions on the topics of Technology Strategy, AI & Machine Learning, Analytics, Digital Business Transformation, and Digital Platform-Based Business Models. Participants of these sessions included senior executives from several corporations including Google, CHUBB (Group), ADP, IBM, Aviva, The Lincoln Financial Group, Minsheng Bank, China Merchants Bank (CMB), BBVA (Spain), DPWN (Germany), The Royal Bank of Scotland (RBS), and several other corporations in the US, Europe, and Asia. Dr. Aron’s area of expertise consists of Strategy and Technology, and he has done extensive research on Digital Disruption and Digital Transformation of Business. His research looks at emerging technological paradigms such as AI and Machine Learning and the emergent business models enabled by these technologies. He also studies how supervised and unsupervised learning paradigms (in machine learning algorithms) can be used optimally in health care and other knowledge-intensive domains such as financial services. Dr. Aron’s research has been published in leading research journals including Management Science, Information Systems Research, Journal of Management Information Systems, Journal of Operations Management, European Journal of Operations Research, and the Harvard Business Review. His research has also been covered in the press by publications such as The Wall Street Journal, The New York Times, The Economist, Time, Forbes, Fortune, and Business Week. Dr. Aron has also advised several governmental and policy making agencies in Singapore and India and has worked with the government of Mauritius. He has given talks on the strategic use of IT to achieve business transformation in several countries including the US, UK, India, Singapore, Chile, Peru, Spain, Thailand, Mauritius, South Korea, Philippines and Japan. He was an invited participant and a session chair at the World Economic Forum at Davos in 2005 and 2006. ยกย่องเชดิ ชเู กยี รตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 129

รปางรวะัลเรภะดทบั บนาคุ นคาชลาติ



รางวัล เครื่องราชอสิ รยิ าภรณ์อันวเิ ศษย่ิงแหง่ สหราชอานาจกั ร Knight Commander of the Most Excellent Order of the British Empire (KBE) จาก สถานทูตองั กฤษ ประจ�ำประเทศไทย ศาสตราจารยก์ ติ ตคิ ณุ วทิ ิต มนั ตาภรณ์ คณะนิตศิ าสตร์ 132 ยกย่องเชดิ ชเู กียรตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ศาสตราจารยก์ ติ ตคิ ณุ วทิ ติ มนั ตาภรณ์ เปน็ ศาสตราจารย์ คณะนติ ศิ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และนักกฎหมายผู้เช่ียวชาญในกฎหมายระหว่างประเทศ จบการศึกษา ระดับปริญญาตรี และปริญญาโท สาขานิติศาสตร์ จากมหาวิทยาลัย Oxford และส�ำเร็จ การศกึ ษา Barrister-at-law (เทยี บเทา่ เนตบิ ณั ทติ ไทย) จาก Middle Temple กรงุ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ ต่อมาได้รับทุนการศึกษาไปศึกษากฎหมายยุโรปท่ี Free University of Brussels ประเทศเบลเยี่ยม ท่านได้ด�ำรงต�ำแหน่งศาสตราจารย์ระดับ ๑๑ ประจ�ำ คณะนิตศิ าสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั โดยเริ่มเปน็ อาจารยเ์ ม่ือวันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๑ สงั กดั ภาควชิ ากฎหมายระหวา่ งประเทศ ไดส้ อนในรายวชิ า กฎหมายระหวา่ งประเทศ ตลอดจน กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ กฎหมายผู้ลี้ภัย กฎหมายสิทธิเด็ก กฎหมายสหภาพยุโรป และสมั มนากฎหมายระหว่างประเทศ เมอื่ วันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๖๒ เวลา ๑๒.๐๐ น. Brian Davidson เอกอัครราชทูต องั กฤษประจำ� ประเทศไทย เปน็ ประธานในพธิ รี บั พระราชทานเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณอ์ นั วเิ ศษ ย่ิงแห่งสหราชอาณาจักร Knight Commander of the Most Excellent Order of the British Empire (KBE) ณ สถานทูตอังกฤษ ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ซึ่งพระราชทานโดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธท่ี 2 แห่งสหราช อาณาจักร เพอ่ื เป็นเกยี รติและแสดงความยนิ ดีแก่ ศาสตราจารย์กิตติคุณ วิทติ มันตาภรณ์ ศาสตราภิชานประจ�ำคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในฐานะท่ีศาสตราจารย์ กิตติคุณ วิทิต มันตาภรณ์ เป็นผู้อุทิศตนด้านสิทธิมนุษยชนในเวทีระหว่างประเทศ มาโดยตลอด ยกย่องเชิดชเู กียรติบคุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 133

รางวลั Leader of Innovation for Outstanding achievements in the field of research of natural materials and sustainable development จาก The 11th edition of International Exhibition of Economic and Scientific Innovations, INTARG 2018 the instrument of application and commercialization of inventions and innovations “from Idea to Profit” ศาสตราจารย์ เภสชั กรหญิง ดร.พรอนงค์ อรา่ มวิทย์ ภาควชิ าเภสัชกรรมปฏิบตั ิ คณะเภสัชศาสตร์ 134 ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติบคุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ศาสตราจารย์ เภสชั กรหญงิ ดร.พรอนงค ์ อรา่ มวทิ ย์ เกดิ เมือ่ วันที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๓ ด้านการศึกษา จบการศึกษาช้ันมัธยมจากโรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์ และปริญญาตรี (เกียรตินิยม) จากคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ หลังจากน้ัน ได้ศึกษาต่อท่ี University of Illinois at Chicago ประเทศสหรัฐอเมริกา และ Doctor of Philosophy ณ University of Wisconsin-Madison ประเทศสหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ บรรจุเป็นอาจารย์ประจ�ำ ภาควิชาเภสัชกรรม คณะเภสชั ศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. ๒๕๓๖ และมีความเจริญก้าวหนา้ ในอาชพี การงานจนไดร้ ับต�ำแหน่ง ศาสตราจารย์ ระดับ ๑๑ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ด้านผลงานทางวิชาการ ศาสตราจารย์ เภสชั กรหญงิ ดร.พรอนงค์ อรา่ มวิทย์ มผี ลงานวจิ ยั ด้านสมุนไพรและวัสดุจากธรรมชาติเพ่ือใช้ทางการแพทย์ท่ีตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารทั้งระดับ นานาชาติและระดับชาติไม่ต่�ำกว่า ๑๒๐ บทความ แต่งบทความในต�ำราและหนังสือวิชาการ ทั้งในและตา่ งประเทศไมต่ ่�ำกว่า ๒๐ เลม่ จดสิทธิบตั รและอนสุ ทิ ธฺบตั รไมต่ ่�ำกวา่ ๒๐ ชิน้ อีกทง้ั ยังมีผลงานวิจัยที่สามารถพัฒนาเป็นผลงานนวัตกรรมและน�ำไปประยุกต์ใช้ในเชิงพาณิชย์ได้ ไม่ต่�ำกว่า ๘๐ ผลิตภัณฑ์ท่ีมีการจ�ำหน่ายทั่วโลกจนได้รับการยกย่องจากท้ังในและต่างประเทศ โดยได้รับรางวัลอันทรงเกียรติมากมายไม่ต�่ำกว่า ๘๐ รางวัล เช่น รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช จากสภาวิจัยแห่งชาติ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ รวมถึงได้รับ เครื่องอิสริยาภรณ์เหรียญตราช้ันสูงสุด (Grand officer) จากประเทศต่าง ๆ อันได้แก่ จาก สหภาพยุโรป จากประเทศฝร่ังเศส ประเทศเบลเย่ียม ประเทศสเปน ในฐานะนวัตกรรมดีเด่น นอกจากนีย้ งั ได้รบั เคร่อื งอสิ รยิ าภรณช์ น้ั สายสะพาย Ribbon of Honor จากประเทศเบลเย่ยี ม เป็นคนแรกของโลกอีกด้วย ด้านสังคม ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ ได้น�ำองค์ความรู้ท่ีได้จากงานวิจัย กระจายผ่านการอบรมและการร่วมจัดต้ังศูนย์การเรียนรู้ให้แก่ ชุมชนอย่างท่ัวถึงเพื่อเพ่ิมมูลค่าและสร้างอาชีพให้แก่เกษตรกรและผู้สนใจ เช่น ศูนย์การเรียนรู ้ ในชุมชนเรื่องการเล้ียงวุ้นมะพร้าว ซึ่งเป็นศูนย์อบรมกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดสมุทรสงคราม ที่สามารถน�ำน้�ำมะพร้าวแก่เหลือทิ้งมาพัฒนาเป็นแผ่นไบโอเซลลูโลสที่ใช้ในเครื่องส�ำอางและ การแพทย์ในปัจจุบัน นอกจากนี้ยังขยายการถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังพ้ืนที่อ่ืนในประเทศไทย เพื่อใหเ้ กิดการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื รวมถงึ ได้น�ำผลงานวิจัยด้านโปรตนี กาวไหมซึง่ เป็นวสั ดเุ หลือทงิ้ ทางการเกษตรมาเพิ่มมูลค่าจนสามารถพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ และสร้างรายได้เสริมให้แก่ เกษตรกรผู้ท�ำอาชีพเลี้ยงหม่อนไหมอีกด้วย โดยรางวัล Leader of Innovation เป็นรางวัล ที่มอบให้แก่นักวิจัยที่มีผลงานวิจัยดีเด่นอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงในแต่ละปีจะมีนักวิจัยเพียง ๑ คน จากแตล่ ะทวีปเทา่ น้ันที่จะไดร้ ับคัดเลอื กใหไ้ ด้รบั รางวลั อนั ทรงเกียรตินี้ ยกย่องเชดิ ชูเกียรตบิ ุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 135

รางวัล Royal Academy Dorfman Award เร่ือง งานออกแบบสถาบนั กนั ตนา, ร้าน The Wine Ayutthaya และ โครงการโลกของชา้ ง (Elephant World) ที่จงั หวัดสุรินทร์ จาก ราชบัณฑติ ยสถานดา้ นศลิ ปะแห่งสหราชอาณาจักร หรือ Royal Academy of Arts ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ บุญเสรมิ เปรมธาดา ภาควชิ าสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 136 ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ประวตั กิ ารศกึ ษา ศิลปะศาสตรบัณฑติ (เกยี รตินิยม) (การออกแบบภายใน) มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร พ.ศ. ๒๕๓๒ สถาปตั ยกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต (สถาปตั ยกรรม) จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั พ.ศ. ๒๕๔๕ ผลงานทางวชิ าการ/งานวิจยั พ.ศ. ๒๕๕๘ บญุ เสรมิ เปรมธาดา. รายงานวจิ ยั ฉบบั สมบรู ณ์ Sound Brick Arcasia Forum ๒๐๑๕: Design Research: Future of The past,. Architect Asia (Areasia), 2558. บทความวิจัย/บทความทางวชิ าการ • บุญเสรมิ เปรมธาดา. Craft Architecture: Lizen fublishing ๒๐๑๔. • บุญเสรมิ เปรมธาดา. THE WINE AYUTTHAYA: A SENSE OF TOTALING สถาปัตย์นทิ รรศน์ นิทรรศการ เผยแพรผ่ ลงานออกแบบและสรา้ งสรรค์ ๒๕๖๐. • บญุ เสริม เปรมธาดา. School of Architecture, Tsinghua University, Beijing, Chaina. หน้า ๓๔๕. ๒๐๑๙. ผลงานออกแบบและงานสรา้ งสรรค์ • บุญเสริม เปรมธาดา. Chiang Mai Design week Art Installation ๒๐๑๖. • บญุ เสริม เปรมธาดา. The Wine Aytthaya ๒๐๑๖. • บุญเสรมิ เปรมธาดา. ออกแบบการปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมอาคาร \"ศาลาราชการณุ ย์ พพิ ิภัณเฉลิมพระเกียตสิ มเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมพระบรมราชนิ ีนาถ สภานติ กิ ารสภากาดไทย เขาล้าน จังหวัดตราด ๒๕๕๘. • บุญเสริม เปรมธาดา. โครงการศกึ ษาและออกแบบ. • บุญเสริม เปรมธาดา. นิทรรศการ Architecture is life Aga khan Award for Architecture ณ Center of Fine Arts (BOZAR), Brussels,Begium ครงั้ ท่ี ๑. • บุญเสริม เปรมธาดา. ที่ปรึกษาการด�ำเนินโครงการศูนย์การเรียนรู้การอนุรักษ์ป่าชายเลนสวางคนิวาส สภากาชาดไทย ระยะที่ ๒. งานบริการวชิ าการ • บุญเสรมิ เปรมธาดา. Ban Chang town Hall ๒๐๑๕ • บุญเสรมิ เปรมธาดา. คณะกรรมการจารยาบรรณสภาสถาปนิก ๒๕๕๘ - ๒๕๖๑. • บุญเสริม เปรมธาดา. กรรมการตัดสินรางวัล PAM Student Award ๒๐๑๙. • บญุ เสริม เปรมธาดา. วิทยากรบรรยาย The Malaysian Institute of Architects (PAM), Kuala Lumpur, Malaysian, ๒๕๖๒. • บุญเสริม เปรมธาดา. ท่ีปรึกษาการด�ำเนินโครงการศูนย์การเรียนรู้การอนุรักษ์ป่าชายเลนสวางคนิวาส สภากาชาดไทย ระยะท่ี ๒, ๒๕๖๓. • บุญเสรมิ เปรมธาดา. วทิ ยากรบรรยาย เรอื่ ง โครงการ The Wine Ayudahaya, ๒๖ มิถนุ ายน ๒๕๖๒. • บุญเสรมิ เปรมธาดา. วิทยากรบรรยายพเิ ศษ เร่ือง PATTANI DECODED/Architecture ยกยอ่ งเชิดชูเกียรตบิ ุคลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 137

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรัตน์ โหราชัยกุล ส�ำเร็จการศึกษาระดับมหาบัณฑิตจาก London School of Economics and Political Science เข้าท�ำงานที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ๒๕๔๓ ในฐานะอาจารย์ประจ�ำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ ตั้งแต่ ปี ๒๕๔๓-๒๕๕๑ นอกจากงานสอนแล้ว ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรัตน์ โหราชัยกุล ยังต�ำรง ต�ำแหน่งด้านบรหิ ารตา่ ง ๆ รวมถงึ รองคณบดคี ณะรัฐศาสตร์ฝ่ายวิชาการ วิจยั และวิเทศสมั พนั ธ์ รองผู้อ�ำนวยการศูนย์ยุโรปศึกษา รองผู้อ�ำนวยการศูนย์ศึกษาการพัฒนาสังคม รองผู้อ�ำนวยการ หลกั สูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชายุโรปศึกษา นบั ตงั้ แต่ปี ๒๕๕๔ เปน็ ตน้ มา นอกจากจะ เปน็ อาจารยป์ ระจำ� ภาควชิ าความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ คณะรฐั ศาสตรแ์ ลว้ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ สุรัตน์ โหราชัยกุล ยังด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการศูนย์อินเดียศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ศอจ.) ดว้ ย ท้ังในฐานะอาจารย์ประจ�ำคณะรัฐศาสตร์ และผู้อ�ำนวยการ ศอจ. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สรุ ัตน์ โหราชัยกลุ ไดต้ ้งั ใจทำ� งานอยา่ งไมห่ ยดุ ยั้งโดยร่วมมอื กบั หน่วยงานต่าง ๆ ทง้ั ในและนอก รั้วจุฬาฯ มากกวา่ ๑๐๐ หนว่ ยงาน จนท�ำให้ ศอจ. เป็นศนู ย์อาณาบรเิ วณศึกษาดา้ นอินเดียทม่ี ี ชอื่ เสยี งโดง่ ดงั ทส่ี ดุ ในประเทศไทย และขณะนเ้ี รมิ่ เปน็ ทร่ี จู้ กั ในเอเชยี มากขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง กจิ กรรม ท้งั หมดท่ี ศอจ. จัดข้ึนลว้ นแต่เป็นประโยชนต์ ่อประชาคมในจฬุ าฯ และสงั คมโดยรวม ในชว่ งเวลา ๘ ปีเศษ ระหว่างการบริหารของผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรัตน์ โหราชัยกุล ศอจ. ได้สนับสนุนให ้ อาจารย์ นักวจิ ัย เจา้ หน้าท่ี และนิสิตจำ� นวนมากมีโอกาสเขา้ รว่ มกิจกรรมทางวิชาการในประเทศ อนิ เดยี นอกจากน้ี ศอจ. ยังไดส้ นับสนนุ ใหน้ ักวิชาการจฬุ าฯ ตีพิมพห์ นงั สอื จ�ำนวนหน่ึง หนังสือ สองเลม่ จากท้ังหมดไดร้ ับรางวัลชนะเลศิ และรางวัลดเี ดน่ ด้วย ผูช้ ่วยศาสตราจารย์สรุ ัตน์ โหราชยั กลุ เชีย่ วชาญด้านการต่างประเทศ โดยเฉพาะทเี่ ก่ยี วกบั ภมู ภิ าคเอเชยี ใต้ มผี ลงานทางวชิ าการทงั้ หมด ๑๐ ชนิ้ และมผี ลงานในลกั ษณะคอลมั นอ์ กี มากมาย เหตุผลท่ีไดร้ บั รางวัล กรรมการรางวัลมีมติเห็นชอบมอบรางวัลความเป็นเลิศทางนวัตกรรมความเป็นผู้น�ำ ระดับสากล ประจ�ำปี ๒๕๖๒ แด่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรัตน์ โหราชัยกุล เพราะตนได้พิสูจน ์ ให้เหน็ ผา่ นกิจกรรมทางวิชาการต่าง ๆ และผา่ นการทำ� งานอย่างใกลช้ ดิ กบั รัฐบาลไทยและรฐั บาล อินเดยี แล้วว่า เปน็ บคุ คลที่มภี าวะผู้นำ� ระหวา่ งประเทศท่ียอดเยี่ยม กิจกรรมที่ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุรัตน์ โหราชัยกุล ได้จัดข้ึน และการบรรยายในหัวข้อวิชาการต่างๆ ของผู้ช่วยศาสตราจารย ์ สุรัตน์ โหราชัยกุล ล้วนเป็นนวัตกรรมท่ีส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างไทย/อาเซียนกับอินเดียได้ อย่างสร้างสรรค์และยั่งยืนยิ่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรัตน์ โหราชัยกุล เป็นชาวไทยคนแรกท่ีได้รับ รางวัลนี้ 138 ยกย่องเชิดชเู กียรติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รางวัล International Leadership Innovation Excellence Award สาขา Historical Importance of our Relations, Economic Collaboration and International Solidarity จาก Citizens Integration Peace Institute ผู้ชว่ ยศาสตราจารยส์ ุรัตน์ โหราชยั กลุ ภาควิชาความสมั พันธร์ ะหวา่ งประเทศ คณะรัฐศาสตร์ ยกย่องเชิดชูเกยี รติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 139

นับต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๔ ถึงปัจจุบัน ได้ร่วมงานสนองพระราชด�ำริ ภายใต้โครงการอนุรักษ ์ พนั ธุกรรมพชื อันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (อพ.สธ.) ทำ� การศกึ ษาวจิ ยั ดา้ นความหลากหลายของทรพั ยากรทางทะเล โดยเฉพาะงานการเพาะขยายพนั ธป์ุ ะการงั โดยการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศเพื่อน�ำมาใช้ประโยชน์ในการฟื้นฟูทรัพยากรปะการัง ร่วมกับ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ กองทัพเรือ นอกจากนั้น ยังน�ำลูกพันธุ์ปะการังมาใช้ประโยชน์ อย่างต่อเน่ืองในงานวิจัยเชิงลึกด้านการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ (climate change) และอื่น ๆ ท้ังน้ี รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ เป็นหนึ่งในคณะนักวิทยาศาสตร์ไทยกลุ่มแรกที่ประสบ ความส�ำเรจ็ ในการเพาะขยายพนั ธ์ุปะการงั แบบอาศัยเพศ พ.ศ. ๒๕๕๒ เป็นนักวิทยาศาสตร์หญิงไทยคนแรกที่ได้รับการคัดเลือกให้ร่วมส�ำรวจทวีป แอนตาร์กติการ่วมกับคณะส�ำรวจทวีปแอนตาร์กติกแห่งญ่ีปุ่น รุ่นท่ี ๕๑ (JARE-51; 51st Japanese Antarctic Research Expedition) เพ่อื ศกึ ษาวิจัยการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศทมี่ ผี ลตอ่ ส่ิงมีชีวติ และสงิ่ แวดลอ้ มในทะเล นอกจากนยี้ งั เปน็ การสรา้ งฐานความรว่ มมอื ทางวชิ าการระหวา่ งนกั วทิ ยาศาสตร์ ญ่ีปนุ่ และไทยในการศกึ ษาวจิ ัย ณ ทวปี แอนตารกต์ ิก จวบจนปจั จบุ นั ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้รับโอกาสอีกคร้ังในการเดินทางไปคาบสมุทรแอนตาร์กติกร่วมกับ คณะส�ำรวจทวปี แอนตารก์ ติกแห่งจนี ร่นุ ท่ี ๓๐ (CHINARE 30; 30th Chinese National Antarctic Research Expedition) ภายใต้โครงการวิจัยขั้วโลกตามพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยสานต่อโครงการวิจัยด้านการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้น ความร่วมมือระหว่างนักวิทยาศาสตร์จีนและไทยในการศึกษาวิทยาศาสตร์ข้ัวโลก ทั้งยังเป็น นักวิทยาศาสตร์หญิงไทยคนแรกท่ีได้มีโอกาสด�ำน�้ำใต้ทะเลเพ่ือศึกษาบริเวณชายฝั่งทวีปแอนตาร์กติก (ขว้ั โลกใต้) พ.ศ. ๒๕๕๘ รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ เป็นหน่ึงในคณะบุกเบิกเพื่อหาแนวทาง การศึกษาวิจัยขั้วโลกเหนือ หรืออาร์กติก ภายใต้โครงการวิจัยข้ัวโลกตามพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นหนึ่งในนักวิทยาศาสตร์หญิงชายไทยคู่แรกท่ีด�ำน้�ำใต้ทะเลเพื่อ ศกึ ษาวิจยั ท่มี หาสมุทรอารก์ ตกิ (ขัว้ โลกเหนือ) จากการสำ� รวจขัว้ โลกเหนือของประเทศในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ซ่ึงถือว่าเป็นหน่ึงในนักวิทยศาสตร์ชาย-หญิงคู่แรกของเอเชียท่ีท�ำการด�ำน�้ำวิจัยทั้งท่ีอาร์กติกและ แอนตาร์กติก (ขั้วโลกเหนือ-ขัว้ โลกใต)้ จนกระท่ังได้รับรางวัลทูตแห่งมหาสมุทรเพ่ือความย่ังยืนแห่งภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ที่มอบให ้ เน่ืองในวันสิ่งแวดล้อมโลก (๔ มิถุนายน ๒๕๖๒) และ วันมหาสมุทรโลก (๘ มิถุนายน ๒๕๖๒) โดย ได้รับรางวัลในฐานะผู้ทุ่มเทและมีความโดดเด่นในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับข้ัวโลกเหนือและขั้วโลกใต ้ รวมถึงงานวิจัยด้านขยะทะเลและไมโครพลาสติกในห่วงโซ่อาหาร เพื่อน�ำความอุดมสมบูรณ์ของ ทรัพยากรกลับคืนสู่ท้องทะเลไทย ซึ่งเป็นโครงการความร่วมมือกับชุมชนและท้องถิ่น ท้ังนี้ นับเป็น นักวิทยาศาสตร์หญิงไทยคนแรกที่ได้รับเกียรติในการรับรางวัลนี้ ซึ่งถือเป็นการแสดงความสามารถ ให้เป็นทปี่ ระจกั ษ์หลังจากทำ� งานทางทะเลมาเปน็ ระยะเวลาเกอื บ ๒๐ ปี ในด้านการอนุรกั ษท์ ะเล 140 ยกย่องเชดิ ชูเกยี รติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รางวัล Sustainable Ocean Ambassador (ทูตแห่งมหาสมทุ รเพ่อื ความยัง่ ยนื แหง่ ภูมภิ าคเอเชยี แปซิฟิก) จาก องคก์ รสหประชาชาตเิ พ่ือมหาสมุทร และ AFMA-FAO Annex รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนชิ ย์ ภาควิชาวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล คณะวทิ ยาศาสตร์ ยกย่องเชิดชูเกียรตบิ คุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 141

รางวลั The Harold Johns Medal สาขา ฟสิ กิ สก์ ารแพทย์ (Medical Physics) จาก International Organization for Medical Physics (IOMP) รองศาสตราจารย์ ดร.อญั ชลี กฤษณจินดา ภาควชิ ารังสวี ทิ ยา คณะแพทย์ศาสตร์ 142 ยกย่องเชดิ ชูเกยี รตบิ ุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

The Harold Johns Medal เปน็ รางวัลท่ีมอบให้นกั วิทยาศาสตร์ผทู้ รงเกยี รตริ ะดับ นานาชาติท่ีท�ำคุณประโยชน์ด้านการเรียนการสอนสาขาฟิสิกส์การแพทย์ รางวัลนี้มอบให้ นกั ฟิสิกส์การแพทยใ์ นงาน World Congress on Medical Physics and Bio Medical Engineering ที่จัดขึ้นระหว่างวันท่ี ๓ - ๘ มิถุนายน ๒๕๖๑ ที่กรุงปราก ประเทศ สาธารณรัฐเช็ค และน�ำเสนอผลงานและกิจกรรมที่ส่งเสริมวิชาชีพในด้านความเป็นเลิศ ในการจัดการเรียนการสอนทางฟิสิกส์การแพทย์ และสนับสนุนในวงกว้างถึงระดับ นานาชาติ ยกย่องเชดิ ชูเกียรตบิ ุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 143

รางวลั International Fellowship Initiative, outstanding young scientist-academic cooperation สาขา โลกศาสตร-์ ธรณีวทิ ยา จาก The Belt & Road Center for Earth Environment Studies, Institute of Earth Environment, Chinese Academy of Sciences (CAS) ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สกลวรรณ ชาวไชย ภาควชิ าธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ 144 ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ข้อมลู ประวตั สิ ่วนตัว ๑. ชือ่ - นามสกลุ (ภาษาไทย) ดร.สกลวรรณ ชาวไชย ชื่อ - นามสกลุ (ภาษาอังกฤษ) Dr. Sakonvan Chawchai ๒. ตำ� แหนง่ ปจั จุบนั ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ๓. หน่วยงานและสถานทอ่ี ยทู่ ีต่ ิดต่อไดส้ ะดวก ภาควชิ าธรณวี ิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรงุ เทพมหานคร ๑๐๓๓๐ โทร. ๐-๒๒๑๘-๕๔๔๕, ๐-๒๒๑๘-๕๔๔๒-๓ โทรสาร ๐-๒๒๑๘-๕๔๖๔ มือถอื ๐๙-๖๑๖๑-๑๑๘๗ Email: [email protected] ๔. ประวตั กิ ารศกึ ษา ปรญิ ญาเอก Stockholm University, Sweden Geosciences ๒๕๕๗ ปริญญาโท University of Freiburg, Germany Geosciences ๒๕๕๓ ปรญิ ญาตร ี จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ธรณวี ิทยา ๒๕๔๙ สถาบนั Chinese Academy of Sciences (CAS) ไดค้ ัดเลอื กนักวจิ ยั ร่นุ เยาว์จาก ๑๙ ประเทศเข้าร่วมการฝึกอบรบในหัวข้อเร่ือง Climate and Environment Change on “The Belt and Road” และหลังจากการฝึกอบรบ ทางสถาบันได้คัดเลือกข้าพเจ้าเป็น ผู้ได้รับรางวัลยอดเย่ียมในการท�ำร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย ทั้งน้ีได้รับทุนไปท�ำวิจัย เปน็ เวลา ๒ เดอื น รว่ มกบั นกั วิจัยจากสถาบนั Institute of Earth Environment, Chinese Academy of Sciences (CAS) ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 145

ปรารงวะเัลภระทดผบั นลานงาชาานติ



รางวลั Gold Medal with the Congratulations of Jury เรือ่ ง A High Performance Zinc-Air Fuel Cell System จาก 47th International Exhibition of Inventions Geneva 2019 รองศาสตราจารย์ ดร.สุรเทพ เขียวหอม และคณะ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวศิ วกรรมศาสตร์ 148 ยกย่องเชิดชูเกียรตบิ คุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook