รางวลั CST Distinguished Chemist Award 2018 สาขา เคมอี นนิ ทรีย จาก สมาคมเคมแี ห่งประเทศไทย ศาสตราจารย์ ดร.นงนุช เหมอื งสิน ภาควิชาเคมี คณะวทิ ยาศาสตร์ ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 249
รางวัล CST Award for Distinguished Contribution to Economic Advancement 2018 จาก สมาคมเคมีแหง่ ประเทศไทย ศาสตราจารย์ ดร.ศภุ ศร วนชิ เวชารุ่งเรอื ง ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ 250 ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
การศกึ ษา [1992] Ph.D., Miami University, USA [1987] B.Sc., Chulalongkorn University ประสบการณ์การทำ� งาน [2015 - present] Professor, Chulalongkorn University [2002 - 2015] Associate Professor, Chulalongkorn University [1999 - 2001] Assistant Professor, Chulalongkorn University [1995 - 1996] Post-Doctoral Fellowship, Professor Dr. John Roboz, Department of Neoplastic Disease, Mount Sinai School of Medicine, New York, New York, USA [1992 - 1998] Lecturer, Chulalongkorn University [1987 - 1992] Teaching Assistant at the Department of Chemistry, Miami University, Oxford, Ohio, USA หัวขอ้ งานวจิ ัยในปจั จุบัน Material Chemistry with emphasis on nanomedicine and advanced healthcare materials, and controlled release of aromatic components used in foods and beverages. ทุนการศึกษาและรางวัล [2015] Chula Research Scholar [2015] Thailand research Fund Excellent Research Award [2012] Thailand Rearch Fund Excellent Research Award [2011] Excellent Research Award from Chulalongkorn University ยกยอ่ งเชิดชูเกียรตบิ ุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 251
รางวลั CST Award for Distinguished Contribution to Chemical Education 2018 จาก สมาคมเคมีแห่งประเทศไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เสาวรกั ษ์ เฟอ่ื งสวัสดิ์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ 252 ยกยอ่ งเชิดชูเกียรติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
การศึกษา [1992] Ph.D., Miami University, USA [1987] B.Sc., Chulalongkorn University ประสบการณก์ ารทำ� งาน [2015 - present] Professor, Chulalongkorn University [2002 - 2015] Associate Professor, Chulalongkorn University [1999 - 2001] Assistant Professor, Chulalongkorn University [1995 - 1996] Post-Doctoral Fellowship, Professor Dr. John Roboz, Department of Neoplastic Disease, Mount Sinai School of Medicine, New York, New York, USA [1992 - 1998] Lecturer, Chulalongkorn University [1987 - 1992] Teaching Assistant at the Department of Chemistry, Miami University, Oxford, Ohio, USA หัวขอ้ งานวจิ ยั ในปัจจุบนั Material Chemistry with emphasis on nanomedicine and advanced healthcare materials, and controlled release of aromatic components used in foods and beverages. ทุนการศกึ ษาและรางวลั [2015] Chula Research Scholar [2015] Thailand research Fund Excellent Research Award [2012] Thailand Rearch Fund Excellent Research Award [2011] Excellent Research Award from Chulalongkorn University ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติบคุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 253
รางวลั ดุษฎบี ัณฑิตดเี ดน่ โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) ดเี ด่น ปี ๒๕๖๑ สาขา วทิ ยาศาสตรส์ าธารณสขุ จาก สำ� นักกองทนุ สนับสนุนการวจิ ยั (สกว.) รองศาสตราจารย์ ดร.สริ ิชยั อดิศกั ดว์ิ ัฒนา ภาควชิ าโภชนาการและการกำ� หนดอาหาร คณะสหเวชศาสตร์ 254 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
รองศาสตราจารย์ ดร.สริ ิชัย อดศิ ักดว์ิ ฒั นา สำ� เร็จการศึกษาวิทยาศาสตรดษุ ฎบี ัณฑติ สาขาวิชาเภสัชวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันท�ำงานสังกัดภาควิชาโภชนาการ และการก�ำหนดอาหาร คณะสหเวชศาสตร์ เคยได้รับนักวิจัยรุ่นเยาว์ กองทุนรัชดาภิเษก สมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจ�ำปี ๒๕๕๓ และรางวัลนักวิจัยดีเด่นมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ ร่วมกับ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ประจำ� ปี ๒๕๕๘ รองศาสตราจารย์ ดร.สิริชยั อดศิ ักดวิ์ ัฒนา เป็นผู้ทเ่ี คยรบั ทุนผชู้ ว่ ยวิจัย คปก. และยัง ท�ำงานวิจัยและพัฒนาอย่างต่อเนื่องหลังส�ำเร็จการศึกษา โดยมีผลงานวิจัยได้รับตีพิมพ์ เผยแพรผ่ ลงานในวารสารวิชาการนานาชาติคณุ ภาพสงู ที่ สกว. ยอมรบั ยกยอ่ งเชิดชูเกียรตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 255
รางวลั อาจารยด์ ีเด่นแห่งชาติ ปอมท. ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๒ สาขา สังคมศาสตร์ จาก ท่ีประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย (ปอมท.) รองศาสตราจารย์ ดร.ปณุ ณรัตน์ พชิ ญไพบลู ย ์ ภาควิชาศลิ ปะ ดนตรีและนาฏศลิ ปศ์ ึกษา คณะคณะครศุ าสตร์ 256 ยกย่องเชิดชเู กยี รตบิ ุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
รองศาสตราจารย์ ดร.ปุณณรัตน์ พิชญไพบูลย์ ส�ำเร็จการศึกษา ครุศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชา ศลิ ปศึกษา จาก จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ในปี พ.ศ.๒๕๒๕ ไดศ้ ึกษาต่อในระดับปรญิ ญาโทและเอก ในสาขาวิชาเดียวกัน จากมหาวิทยาลัยรัฐอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ท่านมีความเชี่ยวชาญ ดา้ นการสอนและวจิ ยั ในสาขาศลิ ปศกึ ษา ดา้ นการปลกู ฝงั และพฒั นาคณุ คา่ ความงาม มปี ระสบการณ์ สอนและงานวิจัยกว่า ๒๐ ปี ท่านวางแผนการสอนอย่างเป็นระบบ และแจ้งแผนการเรียนให้นิสิต ทราบอย่างชัดเจนเพ่ือนิสิตสามารถวางแผนการเรียนได้ตลอดภาคการศึกษา โดยจะทบทวน วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมและเน้ือหาในแต่ละครั้งท่ีจะสอน ปรับวิธีสอนให้เหมาะสม พยายาม กระตนุ้ นสิ ติ ให้แสวงหาความรแู้ ละประสบการณ์ควบคไู่ ปกบั สง่ิ ทส่ี อน ทา่ นจะเร่ิมตน้ ด้วยการใหน้ ิสิต ตระหนักตอ่ คุณค่าสงิ่ ที่เรยี น และมีตวั อยา่ งหรือกรณีศึกษามาประกอบการสอน สลบั กับค�ำถามเพอื่ ใหผ้ ้เู รียนคดิ ตาม รวมท้ังพยายามพานสิ ิตออกศกึ ษานอกสถานทีเ่ พื่อไดร้ บั ประสบการณ์ตรง ทา่ นยงั ได้เรียบเรียงต�ำราส�ำหรับรายวิชาที่ท่านสอน ได้แก่ จิตวิทยาศิลปะ : สุนทรียศาสตร์เชิงประจักษ์ (๒๕๖๑) และยังรวบรวมความรู้ไว้ในระบบจัดการเรียนรู้เพื่อให้นิสิตค้นคว้าด้วยตนเอง ในการสอน นิสิตบัณฑิตศึกษาท่านยังกระตุ้นให้นิสิตเขียนบทความวิชาการแล้วตีพิมพ์เผยแพร่ เพ่ือให้นิสิตมี ประสบการณ์ทางวิชาการ รวมทั้งให้โอกาสนิสิตมาร่วมวิจัยแล้วส่งผลงานเข้าประกวดในระดับชาติ และนานาชาติ ท่านใช้ศาสตร์และศิลป์ในการสอน ให้ก�ำลังใจ เตือน เสริม ซ่อม ท�ำซ้�ำ เม่ือพบ ขอ้ บกพรอ่ งหรือทำ� ส่ิงใดไมเ่ หมาะสม เพ่ือให้ศษิ ย์ทุกคนเปน็ คนดี และคนเกง่ ในด้านผลงานวิชาการ ทา่ นเปน็ หัวหน้าโครงการวจิ ัยเพื่อสร้างนวัตกรรมท่ีตอบโจทย์การศึกษา เพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยืน ด้วยการพัฒนาสีเกล็ดมุกส�ำหรับการสอนศิลปะท่ีให้ความปลอดภัยแก่ ผู้เรียนและผู้สอนท่ีลดความเสี่ยงต่อการได้รับแร่ไมก้าในสีมุกสังเคราะห์ อีกท้ังยังลดขยะปริมาณ มหาศาลจากโรงงานอุตสาหกรรมอาหารทะเล ผลงานวิจัยดังกล่าวได้รับรางวัลเหรียญทองจาก คณะกรรมการ Salon International Des Inventions Genève ในงานส่ิงประดิษฐ์นานาชาติ ครั้งท่ี ๔๒ ณ สมาพนั ธรัฐสวิส และรางวัลพิเศษ Republic of Korea Innovation Promotion Association (KIPA) ซ่ึงต่อมาได้ขยายผลไปสู่ การวิจัยการสอนเชิงพหุศาสตร์เพ่ือสร้างจิตส�ำนึกแก่ ผูเ้ รียนให้เกดิ ความตระหนักต่อส่ิงแวดลอ้ มที่ย่ังยนื และได้รับรางวลั Education for International Understanding Best Practice ประจำ� ปี ๒๐๑๔ จากสำ� นกั งาน Asia-Pacific Centre of Education for International Understanding (APCEIU) แหง่ UNESCO ซง่ึ ไดน้ ำ� ไปตีพมิ พใ์ นระดบั นานาชาติ ปัจจุบันท่านด�ำรงต�ำแหน่ง ประธานหลักสูตรครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาศิลปศึกษา ภาควิชา ศลิ ปะดนตรีและนาฏศิลปศ์ กึ ษา ยกย่องเชดิ ชูเกียรตบิ ุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 257
รางวลั อาจารย์ดีเดน่ แหง่ ชาติ ปอมท. ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๑ สาขา สังคมศาสตร์ จาก ทปี่ ระชมุ ประธานสภาอาจารยม์ หาวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย (ปอมท.) ศาสตราจารย์ ดร.สรุ ชาติ บ�ำรุงสขุ ภาควชิ าความสมั พันธ์ระหวา่ งประเทศ คณะรฐั ศาสตร์ 258 ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
๑. ประวตั ิสว่ นตัว ๑.๑ วนั เดอื น ปีเกดิ ๒๒ สิงหาคม ๒๔๙๘ ๑.๒ อายุ ๕๓ ปี ๔ เดือน ๑.๓ การศกึ ษาระดับอดุ มศึกษา (เรยี งจากวุฒิสงู สดุ ตามล�ำดับ) คณุ วฒุ ิ ปี พ.ศ. ที่จบ ชื่อสถานศกึ ษาและประเทศ ๑.๓.๑ Ph. D. (Political Science) ๒๕๔๒ Columbia University, USA. ๑.๓.๒ M. Phil. (Political Science) ๒๕๓๔ Columbia University, USA. ๑.๓.๓ MA. (Government) ๒๕๒๘ Cornell University, USA. ๑.๓.๔ รฐั ศาสตรบัณฑิต (ปกครอง) ๒๕๒๑ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ,ประเทศไทย ๒. ประวตั กิ ารรบั ราชการ ๒.๑ ปัจจุบันด�ำรงตำ� แหนง่ ศาสตราจารย์ ๒.๒ ไดร้ ับแต่งต้ังให้ด�ำรงตำ� แหนง่ อาจารย์ เมื่อวันท่ี ๒๒ เดอื น มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๙ ๒.๓ ได้รับการแต่งต้ังเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ในสาขาวิชารัฐศาสตร์ เม่ือวันท่ี ๑๒ เดือน พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๓๖ ๒.๔ ได้รบั การแตง่ ตัง้ เป็นรองศาสตราจารยใ์ นสาขาวิชารัฐศาสตร์ เม่อื วนั ที่ ๑๕ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๑ ๒.๕ ได้รับการแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์ ในสาขาวิชารัฐศาสตร์ เม่ือวันที่ ๒๑ เดือน มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๒ ๓. งานวจิ ัย งานวิจัยช่ือ “โครงการความม่ันคงศึกษา” ได้รับทุนสนับสนุนจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย (สกว.) • โครงการความมนั่ คงศกึ ษาระยะที่ ๑ (๒๕๔๘) เรือ่ ง การก่อการร้าย โครงการ ๖ เดือน (๑๐ กนั ยายน ๒๕๔๗ - ๙ มนี าคม ๒๕๔๘) • โครงการความมั่นคงศึกษาระยะท่ี ๒ (๒๕๔๙) เรื่อง รัฐกับสังคมมุสลิม โครงการ ๑ ปี (๑ มนี าคม ๒๕๔๙ - ๒๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๐) • โครงการความม่ันคงศึกษาระยะท่ี ๓ (๒๕๕๐) เรื่อง ความม่ันคงชายแดน โครงการ ๑ ปี (๑ มถิ นุ ายน ๒๕๕๐ - ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๑) [โครงการไดร้ บั รางวลั งานวจิ ยั ดเี ดน่ ของส�ำนกั งานกองทนุ สนบั สนุนการวิจยั (สกว.)] • โครงการความม่ันคงศึกษาระยะท่ี ๔ (๒๕๕๑) เร่ือง ความม่ันคงในภาคใต้ : ประวัติศาสตร์ กฎหมายและสังคม โครงการ ๑ ปี (๑ กนั ยายน ๒๕๕๑ - ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๒) ยกย่องเชดิ ชูเกียรติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 259
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เสาวรกั ษ์ เฟ่อื งสวสั ดิ์ ได้รับรางวัลครูวทิ ยาศาสตร์ดีเดน่ ระดบั อดุ มศกึ ษา ประจำ� ปี ๒๕๖๑ ของสมาคมวทิ ยาศาสตรแ์ หง่ ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ์ จากออกแบบการเรียนการสอนโดยกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ฝึกการวิเคราะห์ อภิปรายและสรุป เชือ่ มโยงความรู้ทางทฤษฎี โดยใช้ส่อื การสอน การเรยี นแบบมีส่วนร่วม เกมส์ ระบบจัดการ การเรียนรู้ (Learning Management System, LMS) ทง้ั moodle blackboard และ courseville รวมถึงเทคโนโลยีทางการศึกษาตา่ ง ๆ เช่น อุปกรณส์ ง่ สัญญาณและ mobile application มาใช้ในการเรยี นการสอนและกจิ กรรมตา่ ง ๆ อยา่ งต่อเนอ่ื ง อาทิ • Lab in a lecture: น�ำการทดลองสู่ห้องบรรยาย ฝึกวิเคราะห์และประมวลผล เช่น การผสมกอ้ นมอร์ตาร์เพอื่ ดผู ลขององค์ประกอบต่อความแขง็ แรง การท�ำ crystal ball จากนำ้� แขง็ แห้งในน้�ำทก่ี กั ไวใ้ นฟองสบู่ • Learning & sharing day: ใหก้ ลมุ่ ย่อยสรปุ เน้ือหาสน้ั ๆ เป็น mind map หรือ infographic มาน�ำเสนอเพือ่ น โดยใชท้ ฤษฎีการเรยี นรู้ของ Bloom วา่ การถ่ายทอดท�ำให้ คงความรู้ไวไ้ ด้ดที ี่สดุ ออกแบบกจิ กรรมการน�ำเสนอในช้นั เรียนขนาดใหญ่ (๒๐๐ คน) เพื่อ ใหเ้ กิดการเรยี นรู้พร้อมกนั ทงั้ ห้อง • Unique problems: ให้ผู้เรยี นสรา้ งแบบฝกึ หดั จากฉลากสินคา้ หรือสถานการณ์ที่ ก�ำหนด ได้แบบฝึกหัดท่ีหลากหลาย และบ่งบอกถึงระดับความเข้าใจในเนื้อหาของผู้เรียน ท�ำใหผ้ ้สู อนสามารถให้ความเห็นกลับเพอื่ การพฒั นาตนของศษิ ยไ์ ดแ้ ม่นย�ำ • Building leadership: สร้างภาวะผนู้ �ำ โดยออกแบบกิจกรรมกลมุ่ ให้สมาชกิ กลมุ่ ได้สลับกนั เปน็ ผนู้ �ำกล่มุ ผา่ นระบบ moodle • Semimicro lab: การสังเคราะห์สารในระดับมิลลิกรัมเพื่อลดการใช้สารเคมีและ ลดของเสีย • Tool variety: ใชร้ ะบบจัดการการศึกษา แอพพลเิ คชันหรือเว็บไซต์ทางการศกึ ษา ซง่ึ มจี ุดเดน่ และขอ้ จำ� กัดท่ีแตกต่างกันหลายชนดิ เช่น moodle courseville blackboard quizlet formative socrative quizizz crossword GoConqr google form เพ่อื กระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนเกิดการตนื่ ตวั และทบทวนความรู้ • Safety quiz via LMS: สรา้ งและดูแลระบบแบบทดสอบความปลอดภยั ทางเคมี ผ่านระบบจัดการการเรยี นการสอน moodle ในระดบั ภาควิชา และ blackboard ในระดบั มหาวทิ ยาลัย 260 ยกยอ่ งเชิดชเู กียรตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
รางวลั ครูวิทยาศาสตรด์ เี ดน่ ระดับอุดมศึกษา ประจ�ำปี ๒๕๖๑ จาก สมาควทิ ยาศาสตรแ์ หง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.เสาวรกั ษ์ เฟื่องสวสั ด์ิ ภาควชิ าเคมี คณะวิทยาศาสตร์ ยกย่องเชดิ ชเู กยี รติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 261
รางวัล สัตวแพทยต์ ัวอย่าง ประจ�ำปี ๒๕๖๑ สาขา สัตวแพทย์ตวั อยา่ งสายงานวชิ าการ จาก สตั วแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.อลงกร อมรศิลป ์ ภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสขุ คณะสตั วแพทยศาสตร์ 262 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.อลงกร อมรศิลป์ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในปี ๒๕๔๒ และระดบั หลงั ปรญิ ญาเอก ในปี ๒๕๔๕ จากนัน้ เริม่ งานดา้ นวิชาการและวิจัยที่ เกย่ี วขอ้ งกบั โรคอบุ ตั ใิ หมแ่ ละอบุ ตั ซิ ำ้� ในสตั ว์ ศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์ ดร.อลงกร อมรศลิ ป์ มีความเช่ียวชาญพิเศษในด้านระบาดวิทยาระดับโมเลกุลของเช้ือก่อโรคในสัตว์ ผลงานด้าน วิชาการที่มีการศึกษาวิจัยและพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ได้แก่ การศึกษาวิจัยเก่ียวกับโรคและเช้ือ ไวรสั ไขห้ วดั ใหญใ่ นสัตว์ เชน่ โรคไข้หวดั นก (Avian Influenza) โรคไขห้ วัดใหญ่สกุ ร (Swine Influenza) และโรคไขห้ วดั ใหญส่ ายพนั ธใ์ุ หม่ (Pandemic Influenza) โดยเฉพาะการถอดรหสั พนั ธุกรรมของเชอื้ ไวรสั การเฝ้าระวงั การเปลยี่ นแปลงและการกลายพนั ธ์ุของเชือ้ ไวรสั การติด เชื้อไวรัสในสัตว์ชนิดต่าง ๆ รวมท้ังการก่อโรคหรือพยาธิก�ำเนิดของเชื้อไวรัสในสัตว์ ซ่ึงเป็น ขอ้ มลู พนื้ ฐานทจี่ ำ� เปน็ ตอ่ การศกึ ษาวจิ ยั ตอ่ เนอ่ื งในเชงิ ลกึ อนื่ ๆ ตอ่ ไป นอกจากนี้ ศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.อลงกร อมรศิลป์ ยังมุ่งเน้นการพัฒนาเครือข่ายวิชาการด้านโรคอุบัติใหม่ ในสัตว์ และการพัฒนานักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ เพ่ือสร้างศักยภาพการเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ และอุบัติซ้�ำของประเทศไทย ปัจจุบัน ศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.อลงกร อมรศิลป์ มผี ลงานตีพิมพใ์ นวารสารวชิ าการระดับนานาชาติในฐานข้อมลู GenBank จำ� นวน ๘๐ เรอื่ ง (ในฐานข้อมูล Pubmed และ Scopus) มีการอ้างอิงจ�ำนวน ๒,๗๑๖ ครั้ง (๒,๕๒๖ without self citations) และมีค่า H-index เท่ากบั ๒๕ และเป็นอาจารยท์ ป่ี รึกษานิสิตระดบั ปริญญาโทและเอกจำ� นวน ๒๙ คน ปจั จุบนั จบการศึกษา ๑๗ คน (ป. โท ๑๓ คนและ ป. เอก ๔ คน) และกำ� ลังศึกษา ๑๒ คน (ป. โท ๕ คนและ ป. เอก ๗ คน) มโี ครงการวิจัยท่รี ับผดิ ชอบ เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย (เฉพาะหัวข้อท่ีเก่ียวข้องกับโรคและเชื้อไข้หวัดใหญ่ในสัตว์ระหว่าง ปี ๒๕๔๗-๒๕๖๑) จ�ำนวนมากกว่า ๒๔ โครงการรวมงบประมาณมากกว่า ๑๐๐ ล้านบาท ศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.อลงกร อมรศิลป์ ได้รับรางวัลหรือการประกาศเกียรติคุณ ท่เี กย่ี วข้องกบั งานวชิ าการวิชาชพี กล่าวคอื รางวัลเมธีวจิ ัยอาวุโส สกว. ประจำ� ปี ๒๕๖๐ และ ๒๕๕๗ จากสำ� นกั งานกองทนุ สนับสนนุ การวิจยั (สกว) รางวลั นักวจิ ยั ดีเด่นแหง่ ชาติ ประจำ� ปี ๒๕๕๘ จากส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และรางวัลผลงานวิจัยดีเย่ียม ประจ�ำปี ๒๕๕๕ จากสำ� นักงานคณะกรรมการวจิ ัยแหง่ ชาติ และรางวัลนักวิจัยดีเด่น กองทนุ รัชดาภเิ ษก สมโภช สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ประจ�ำปี ๒๕๕๔ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ รางวลั ผลงานวจิ ยั ดเี ดน่ ประเภทอาจารยแ์ ละนกั วจิ ยั รางวลั การวจิ ยั กองทนุ รชั ดาภเิ ษกสมโภช ประจำ� ปี ๒๕๔๘ จากจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ยกย่องเชดิ ชเู กยี รติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 263
รางวัล สัตวแพทยต์ ัวอย่าง ประจ�ำปี ๒๕๖๑ สาขา สตั วแพทยต์ ัวอยา่ งสายงานเผยแพรว่ ิชาชพี และบรกิ ารสังคม จาก สัตวแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ์ รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.สดุ สรร ศิริไวทยพงศ์ ภาควิชาสตู ศิ าสตร์ เธนเุ วชวทิ ยาและวิทยาการสืบพนั ธ์ุ คณะสัตวแพทยศาสตร์ 264 ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.สุดสรร ศิริไวทยพงศ์ สัตวแพทย์ตัวอย่าง สายงานเผยแพร่วิชาชีพและบริการสังคม สัตวแพทยศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยม) รุ่น ๔๘ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัย Utrecht ประเทศเนเธอร์แลนด์ อนุมตั บิ ตั รแสดงความร้คู วามช�ำนาญในการประกอบวิชาชพี การสัตวแพทย์ สาขาเวชศาสตร์ ระบบสืบพันธุ์ ปัจจุบันเป็นรองศาสตราจารย์ภาควิชาสูติศาสตร์เธนุเวชวิทยาและวิทยาการ สืบพันธ์ุ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั “เป็นตัวอย่างสตั วแพทยท์ ีด่ แี ละ ครจู ากหัวใจไปพรอ้ มพร้อมกนั ” อาจารย์สุดสรร มีความใฝ่ฝันอยากเป็นครู อยากสอนนิสิตให้เป็นสัตวแพทย์ที่ดี ของสังคม ไม่ใช่แค่มีความรู้แต่ต้องเป็น “สัตวแพทย์ท่ีสังคมต้องการ” เต็มท่ีกับงานสอนใน ห้องเรียน การฝึกงานบนคลินิค อาจารย์เป็นตัวอย่าง สร้างทักษะการเป็นหมอ พาตนเอง และนิสติ ออกไปรบั ใชส้ งั คม ช่วยคนด้อยโอกาส ท�ำจากจดุ เลก็ ๆ ดว้ ยจิตอาสา ตงั้ แตช่ มรม สัตวแพทย์อาสา ค่ายอนามยั ชุมชน โครงการสตั วแพทยจ์ ฬุ าอาสาเพอ่ื พฒั นาชนบท (สพช.) เป็นผู้ประสานงานเครือข่ายวิชาชีพสัตวแพทย์ช่วยน�้ำท่วม ท�ำโครงการเตรียมความพร้อม สัตวแพทย์ผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ท�ำงานบริหารคณะ เป็นขวัญใจนิสิต เป็น “พ่ีแก้ว” ทร่ี กั ของทกุ คน ผลงานมากมายและการทมุ่ เททง้ั กายใจ ทำ� ใหไ้ ดร้ บั รางวลั ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติ ดา้ นกิจการนิสติ ระดบั ดีเด่นจากจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัยถงึ ๒ คร้งั “การเป็นสัตวแพทย์ท่ีดี ต้องเร่ิมจากจิตใจที่เป็นหมอ เข้าใจสัตว์ สามารถน�ำทฤษฎีสู่ ภาคปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ส่วนหน้าที่ครูต้องปรับตัวเองให้เข้าใจ จริงใจกับเด็ก เรียนรู้เขา เรียนรู้เรา ก้าวไปด้วยกัน” อาจารย์เป็นหน่ึงในผู้เชี่ยวชาญด้านระบบสืบพันธ์สุนัขเป็น สัตวแพทย์ท่ีมีจิตสาธารณะเป็นสัตวแพทย์พูดถวายงานดูแลสุนัขทรงเล้ียงเป็นกรรมการ สมาคมวชิ าชีพได้รับรางวลั สตั วแพทย์ด้านสตั ว์เล้ยี งแห่งปี “รางวัลจรัลสบื แสง” จากสมาคม ผู้ประกอบการบ�ำบัดโรคสัตว์แห่งประเทศไทย รวมทั้งการเป็นประธานจัดงานประชุมเชิง วิชาการนานาชาติ “International Symposium of Veterinary Epidemiology and Economics ครัง้ ที่ ๑๕ (ISVEE 15) ท่ีประเทศไทยเปน็ เจ้าภาพ สตั วแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ขอยกยอ่ ง รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.สุดสรร ศิริไวทยพงศ์ เป็นสัตวแพทย์ตัวอย่าง สายงานเผยแพร่วิชาชีพ และบรกิ ารสงั คม ประจ�ำปี ๒๕๖๑ เพือ่ เปน็ เกยี รติสบื ไป ยกย่องเชดิ ชเู กยี รติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 265
ประวัติการทำ� งาน/ประสบการณ์ ๑. เร่มิ ท�ำงาน/รับราชการ เมือ่ วันท่ี ๖ เดือนตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ตำ� แหน่ง อาจารย์ สถานท่ที ำ� งาน ภาควชิ าศัลยศาสตร์ คณะทนั ตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ๒. ประสบการณก์ ารทำ� งานทีผ่ ่านมา ๒.๑ รองประธานราชวิทยาลัยทนั ตแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๕๙ ๒.๒ รองคณบดีฝ่ายวชิ าการ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ ๒.๓ ผอู้ �ำนวยการศนู ย์การศกึ ษาตอ่ เนอื่ งทนั ตแพทยสภา พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๘ ๒.๔ ประธานฝา่ ยวิชาการสมาคมทันตกรรมรากเทียม พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๕๖ ๒.๕ กรรมการสภาคณาจารย์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั พ.ศ. ๒๕๔๘ - ๒๕๕๐ ๒.๖ ผ้ชู ว่ ยเลขาธกิ ารและวิเทศสัมพันธ์ สมาคมศัลยศาสตร์ชอ่ งปากและแม็กซลิ โลเฟเชียล แหง่ ประเทศไทยฯ พ.ศ. ๒๕๔๘ - ๒๕๕๒ ๒.๗ เลขาธกิ ารสมาคมศัลยศาสตร์ช่องปากและแมก็ ซิลโลเฟเชยี ลแหง่ ประเทศไทยฯ พ.ศ. ๒๕๓๘ - ๒๕๓๙ ๒.๘ ประชาสมั พันธส์ มาคมศลั ยศาสตร์ชอ่ งปากและแมก็ ซลิ โลเฟเชียลแห่งประเทศไทยฯ พ.ศ. ๒๕๓๗ - ๒๕๓๘ ๓. ช่อื หนว่ ยงาน ปฏิบตั หิ น้าท/ี่ ปัจจุบันท�ำงาน ๓.๑ รองศาสตราจารย์ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะทนั ตแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณแ์ ห่ง ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๓ - ปัจจุบัน ๓.๒ ประธานราชวิทยาลัยทันตแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๙ - ปัจจุบนั ๓.๓ กรรมการองคก์ รผู้บรหิ ารคณะผบู้ ริหารคณะทนั ตแพทยศาสตรแ์ ห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๗ - ปจั จุบนั ๓.๔ กรรมการคณะกรรมการการศกึ ษาทนั ตแพทยศาสตร์ ทนั ตแพทยสภา พ.ศ. ๒๕๕๙ - ปจั จบุ นั ๓.๕ อนกุ รรมการด้านเครอื่ งสำ� อาง คณะกรรการอาหารและยาปจั จบุ นั พ.ศ. ๒๕๕๘ - ปจั จบุ ัน ๓.๖ กรรมการฝ่ายวชิ าการ ทันตแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถัมป์ พ.ศ. ๒๕๔๗ - ปจั จุบนั ๓.๗ กรรมการและเลขานกุ ารมูลนธิ ิ ศ. เช้อื โชติ สหงั สูต พ.ศ. ๒๕๔๘ - ปจั จุบนั ๓.๘ กรรมการมูลนธิ ิโรงพยาบาลคณะทันตแพทยศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๗ - ปจั จุบัน ๓.๙ กรรมการบริหารภาควิชาศลั ยศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๔๕ - ปจั จุบนั 266 ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
รางวลั ทนั ตแพทย์ผเู้ ป็นนักบริหารวิชาการ จาก ทันตแพทยสภา รองศาสตราจารย์ ทนั ตแพทย์ ดร.พรชยั จันศษิ ย์ยานนท์ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ ยกย่องเชดิ ชเู กียรติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 267
รางวลั M.R. Jisnuson Svasti Young Protein Scientist of Thailand Award จาก สมาคมโปรตนี แหง่ ประเทศไทย รองศาสตราจารย์ ดร.กลุ ยา สมบรู ณว์ วิ ฒั น์ ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ 268 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
รองศาสตราจารย์ ดร.กลุ ยา สมบรู ณว์ วิ ฒั น์ เกดิ เมอ่ื วนั ท่ี ๑๗ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๒๒ ทจี่ งั หวดั กรงุ เทพมหานคร จบการศกึ ษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้นจากโรงเรียนเมรอ่ี ิมมาคุเลตคอนแวนต์ จังหวดั ชลบรุ ี และเข้าเรียนระดบั มธั ยมศกึ ษา ปีท่ี ๔ และ ๕ ทโี่ รงเรียนอสั สัมชัญศรีราชา จังหวดั ชลบุรี และส�ำเรจ็ การศึกษาระดับมัธยมศกึ ษา ตอนปลายจากศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดชลบุรี ในระดับปริญญาตรี ส�ำเร็จการศึกษาสาขาชีวเคมี คณะวทิ ยาศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย (เกียรตินิยมอนั ดับ ๒) ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ ได้รับทุนโครงการ ปริญญาเอกกาญจนาภเิ ษก (คปก.) สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ัย (สกว.) เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก สาขาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ทัศนาขจร เป็น อาจารย์ทปี่ รกึ ษา และ Dr. Evelyne Bachère จาก Université de Montpellier 2 ประเทศฝรง่ั เศส เป็น อาจารย์ท่ีปรึกษาร่วม โดยท�ำการศึกษาวิจัยเปปไทด์ต้านจุลชีพแอนติลิพอโพลิแซกคาไรด์แฟกเตอร์ (Antilipopolysaccharide factor; ALF) จากกุ้งกุลาด�ำ เพื่อศึกษาการรูปแบบการแสดงออกในสภาวะที่ กุง้ ตดิ เชอ้ื แบคทีเรยี และฤทธข์ิ องในการตอ่ ต้านเช้ือจุลชีพกลุ่มต่าง ๆ รวมถงึ แบคทีเรียกอ่ โรคในกุ้ง ทง้ั นเี้ พื่อเปน็ คน้ หาสารออกฤทธิ์ทส่ี ามารถนำ� ไปใชแ้ กป้ ัญหาโรคติดเชอื้ ในกุ้ง ประวัตกิ ารท�ำงาน ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กุลยา สมบูรณ์วิวัฒน์ ได้บรรจุเข้าท�ำงานเป็นอาจารย์ที่ ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้ทุน Endeavour Research Fellowship จากรัฐบาลประเทศออสเตรเลีย ไปท�ำวิจัยหลังปริญญาเอกท่ี University of Melbourne กับ Professor Dr. Tony Purcell ทางด้านโปรติโอมิกส์ รองศาสตราจารย์ ดร.กุลยา ได้รับ การแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรองศาสตราจารย์ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ทางด้านงานวิจยั รองศาสตราจารย์ ดร.กุลยา โดยเข้าไดร้ ว่ มทมี วจิ ยั ของ ศาสตราจารย์ ดร.อญั ชลี ทัศนาขจร ศูนย์เช่ียวชาญเฉพาะทางด้านอณูชีววิทยาและจีโนมกุ้ง ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท�ำงานวิจัยเพื่อศึกษากลไกระดับโมเลกุลของการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันในกุ้ง โดยเน้นการศึกษาการท�ำงานของยีน miRNA และโปรตีน โดยใช้เทคนิคทางด้านทรานสคริปโตมิกส์ โปรตโิ อมกิ ส์ และอณูชวี วิทยา ผลงานวิจัยที่ส�ำคัญคือการค้นพบกลไกการออกฤทธิ์ของ ALF ต่อเช้ือก่อโรคในกุ้งท้ังกลุ่มแบคทีเรียและ ไวรัส โดยก้งุ มีกลไกการแสดงออกของยนี ALF ตอบสนองต่อการตดิ เช้ือแบคทีเรียและไวรัส โดยการควบคุมผา่ น วิถกี ารสง่ สญั ญาณ Toll และ Imd โปรตนี ALF มกี ลไกการออกฤทธ์ติ อ่ เชื้อแบคทเี รยี กอ่ โรคในกุ้งโดยเข้าท�ำลาย ทเี่ มมเบรนของเชอ้ื แบคทีเรยี เปน็ ผลให้เซลลแ์ บคทเี รียแตกในทส่ี ดุ ส�ำหรับกลไกการออกฤทธขิ์ อง ALF ต่อเชอื้ ไวรัสตัวแดงดวงขาว มีความแตกต่างกันโดยโปรตีน ALF จะเข้าจับกับโปรตีนโครงสร้างของเช้ือไวรัสตัวแดง ดวงขาวและทำ� ลายเชื้อไวรัสได้ จากงานวิจยั เกย่ี วกับโปรตีน ALF และพบความสามารถในการยับย้ังการตดิ เชอ้ื ไวรสั ตวั แดงดวงขาวและเชอ้ื แบคทเี่ รยี กอ่ โรคตายดว่ น ซงึ่ เปน็ เชอ้ื กอ่ โรคในกงุ้ ทที่ �ำใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ ผลผลติ ก้งุ มากทสี่ ุด น�ำไปสกู่ ารพฒั นาการนำ� โปรตนี ALF ไปประยกุ ต์ใช้ในฟารม์ กงุ้ เพือ่ แก้ปญั หาการตดิ เช้ือในกงุ้ ยกยอ่ งเชิดชูเกียรติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 269
รางวลั ผู้ใช้ภาษาไทยดเี ด่น เนื่องในวันภาษาไทยแหง่ ชาติ พุทธศักราช ๒๕๖๒ จาก กรมส่งเสรมิ วัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม รองศาสตราจารย์ ดร.ปรมนิ ท์ จารุวร ภาควชิ าภาษาไทย คณะอกั ษรศาสตร์ 270 ยกย่องเชดิ ชเู กียรติบคุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
รองศาสตราจารย์ ดร.ปรมินท์ จารุวร ปัจจุบันอายุ ๔๔ ปี เกิดเมื่อวันท่ี ๒๑ กรกฎาคม พทุ ธศักราช ๒๕๑๘ ส�ำเรจ็ การศึกษาปริญญาตรี อกั ษรศาสตรบัณฑติ (เกียรตนิ ยิ ม) จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ปริญญาโท อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาเอก อักษรศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาภาษาไทย จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั รองศาสตราจารย์ ดร.ปรมินท์ จารุวร ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งรองศาสตราจารย์ประจ�ำ ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผู้ท่ีมีผลงานด้านภาษาไทย โดดเด่นเป็นที่ประจักษ์ ได้ผลิตต�ำราด้านการใช้ภาษาไทยและมีผลงานทางวิชาการจ�ำนวนมาก เช่น นทิ านฝกึ การออกเสยี งภาษาไทย ชุดเณรนอ้ ยเกง่ ภาษา จากโครงการ “วจิ ัยและพฒั นาแบบ ฝึกอิเล็กทรอนิกส์เพื่อแก้ไขปัญหาการออกเสียงและการพูดภาษาไทยไม่ชัด” เป็นผู้สืบทอดและ เผยแพร่ความรู้ด้านวรรณศิลป์ด้วยการสร้างสรรค์ผลงานกวีนิพนธ์ในโอกาสต่าง ๆ นอกจากนี้ ยังมีผลงานด้านการเป็นบรรณาธิการและกองบรรณาธิการ การจัดท�ำกวีนิพนธ์รวมเล่มและ แผ่นบนั ทกึ เสียงการอ่านทำ� นองเสนาะใหแ้ กว่ ดั พระเชตุพนวมิ ลมงั คลาราม ตลอดจนเปน็ วทิ ยากร อบรมให้ความรู้เร่ืองกวีนิพนธ์ไทย การอ่านและการเขียนภาษาไทยมาอย่างต่อเน่ือง รวมทั้งเคย เปน็ กรรมการคัดเลือกรางวัลวรรณกรรมสรา้ งสรรคย์ อดเยีย่ มแห่งอาเซยี น (รางวัลซีไรต์) รองศาสตราจารย์ ดร.ปรมินท์ จารุวร ได้รับรางวัลวิจัยท้ังในระดับชาติและนานาชาติ ผลงานวิจัยท่ีได้รับรางวัล เช่น รางวัลผลงานวิจัยดีเด่น กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช พ.ศ. ๒๕๔๘ และรางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๔๙ สาขาสังคมวิทยา จากวิทยานิพนธ์เรื่อง ความขัดแย้งและการประนีประนอมในต�ำนานปรัมปราไทย รางวัลการเสนอผลงานวิจัยดีเย่ียม แบบบรรยาย ในการประชุมนักวิจัยรนุ่ ใหมพ่ บเมธีวิจัยอาวโุ ส สกว. ๒๕๕๒ จากผลงานวิจยั เรอ่ื ง พลวัตของการสวดอ่านวรรณกรรมเร่ืองพระมาลัย: การศึกษาเปรียบเทียบการสวดพระมาลัย ที่จังหวัดกาญจนบุรีและชลบุรี ต่อมาผลงานชิ้นน้ีได้ตีพิมพ์เป็นหนังสือช่ือ มาลัยศรัทธา : พลวัต ของการสวดพระมาลัยจากต่างสนามวิจัย นอกจากน้ียังเป็นผู้ท่ีได้รับรางวัลในสาขามนุษยศาสตร์ ทงั้ ทางดา้ นกจิ การนสิ ติ และโดยเฉพาะดา้ นการเรยี นการสอนและการวจิ ยั ซงึ่ ลว้ นเกย่ี วขอ้ งกบั ภาษา วรรณคดี และวฒั นธรรมไทย ทง้ั จากจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั และหนว่ ยงานภายนอก รองศาสตราจารย์ ดร.ปรมนิ ท์ จารวุ ร จงึ ไดร้ บั การยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตเิ ปน็ ผใู้ ชภ้ าษาไทยดเี ดน่ เน่ืองในวนั ภาษาไทยแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ยกย่องเชิดชเู กยี รตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 271
ประวัตกิ ารศกึ ษา ศลิ ปะศาสตรบัณฑิต (เกยี รตนิ ิยม) (การออกแบบภายใน) มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร พ.ศ. ๒๕๓๒ สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑติ (สถาปตั ยกรรม) จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๕ ผลงานทางวิชาการ/งานวจิ ัย พ.ศ. ๒๕๕๘ บญุ เสริม เปรมธาดา. รายงานวิจัยฉบบั สมบูรณ์ Sound Brick Arcasia Forum 2015:Design Research: Future of The past,. Architect Asia (Areasia), ๒๕๕๘. บทความวิจยั /บทความทางวิชาการ • บุญเสริม เปรมธาดา. Craft Architecture : Lizen fublishing ๒๐๑๔. • บุญเสริม เปรมธาดา. THE WINE AYUTTHAYA : A SENSE OF TOTALING สถาปัตย์นทิ รรศน์ นทิ รรศการเผย แพรผ่ ลงานออกแบบและสรา้ งสรรค์ ๒๕๖๐. • บุญเสรมิ เปรมธาดา. School of Architecture, Tsinghua University, Beijing, Chaina. หนา้ ๓๔๕. ๒๐๑๙. ผลงานออกแบบและงานสรา้ งสรรค์ • บุญเสริม เปรมธาดา. Chiang Mai Design week Art Installation ๒๐๑๖. • บุญเสรมิ เปรมธาดา. The Wine Aytthaya ๒๐๑๕. • บญุ เสรมิ เปรมธาดา. ออกแบบการปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมอาคาร “ศาลาราชการณุ ย์ พพิ ธิ ภณั ฑเ์ ฉลมิ พระเกยี ตสิ มเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมพระบรมราชินีนาถ” สภานติ กิ ารสภากาดไทย เขาล้าน จงั หวัดตราด ๒๕๕๘. • บุญเสรมิ เปรมธาดา. โครงการศึกษาและออกแบบ. • บญุ เสริม เปรมธาดา. นทิ รรศการ Architecture is life Aga khan Award for Architecture ณ Center of Fine Arts (BOZAR), Brussels,Begium คร้ังท่ี ๑. • บุญเสริม เปรมธาดา. ท่ีปรึกษาการด�ำเนินโครงการศูนย์การเรียนรู้การอนุรักษ์ป่าชายเลนสวางคนิวาส สภากาชาดไทย ระยะท่ี ๒. งานบรกิ ารวิชาการ • บุญเสริม เปรมธาดา. Ban Chang town Hall ๒๐๑๕ • บญุ เสริม เปรมธาดา. คณะกรรมการจารยาบรรณสภาสถาปนิก ๒๕๕๘ - ๒๕๖๑ • บุญเสรมิ เปรมธาดา. กรรมการตดั สินรางวลั PAM Student Award ๒๐๑๙, ๒๕๖๒ • บุญเสริม เปรมธาดา. วิทยากรบรรยาย The Malaysian Institute of Architects (PAM), Kuala Lumpur, Malaysian, ๒๕๖๒ • บุญเสริม เปรมธาดา. ที่ปรึกษาการด�ำเนินโครงการศูนย์การเรียนรู้การอนุรักษ์ป่าชายเลนสวางคนิวาส สภากาชาดไทย ระยะท่ี ๒, ๒๕๖๓ • บญุ เสริม เปรมธาดา. วิทยากรบรรยาย เรอ่ื ง โครงการ The Wine Ayudahaya, ๒๖ มถิ ุนายน ๒๕๖๒ • บญุ เสรมิ เปรมธาดา. วิทยากรบรรยายพเิ ศษ เรือ่ ง PATTANI DECODED/Architecture 272 ยกย่องเชดิ ชูเกียรติบคุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
รางวลั ศิลปาธร ประจ�ำปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ เร่ือง โครงการส่งเสริมยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติ ศิลปินรว่ มสมยั ดีเดน่ สาขา สถาปัตยกรรม จาก ส�ำนักงานศิลปวัฒนธรรมรว่ มสมัย (สศร.) ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ บญุ เสริม เปรมธาดา ภาควชิ าสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ ยกย่องเชดิ ชเู กียรตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 273
รางวลั สรุ ินทราชา ประจ�ำปี ๒๕๖๒ เร่ือง The Tale of Khun Chang Khun Phaen, Siam's Great Folk Epic of Love and War จาก สมาคมนกั แปลและล่ามแหง่ ประเทศไทย ศาสตราจารย์กติ ติคุณ ดร.ผาสุก พงษ์ไพจติ ร คณะเศรษฐศาสตร์ 274 ยกย่องเชิดชเู กียรติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ประวัตกิ ารศกึ ษา B.A. Economics (Hons), Monash University, Australia M.A. Economics, Monash University, Australia Ph.D Economics, University of Cambridge, U.K. ประวัติการทำ� งาน ๒๕๑๔ - ๒๕๔๙ อาจารยป์ ระจำ� คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ๒๕๔๙ เกษยี ณอายรุ าชการ ตำ� แหนง่ ศาสตราจารย์ ระดบั ๑๑ ๒๕๕๐ - ๒๕๕๒ ไดร้ ับแต่งตัง้ เปน็ ศาสตราภชิ าน ประจ�ำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒๕๕๕ ไดร้ ับแตง่ ตงั้ เป็นศาสตราจารย์กิตติคณุ (Emeritus Professor) ดา้ นเศรษฐศาสตร์ การเมอื ง จากจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ตุลาคม ๒๕๕๖ - กันยายน ๒๕๖๑ ได้รบั แตง่ ตั้งเป็นศาสตราจารย์วจิ ัย ที่มอี ายุเกิน ๖๐ ปี (A1) ประจ�ำจฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลยั พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑ - ปัจจบุ นั พนกั งานมหาวทิ ยาลยั ทม่ี อี ายเุ กนิ ๖๐ ปบี รบิ รู ณ์ (ศาสตราจารยว์ จิ ยั A1) ๒๕๕๙ คณะกรรมการจัดทำ� พจนานุกรมศัพทเ์ ศรษฐศาสตร์ ส�ำนกั งานราชบัณฑติ ยสภา ๒๕๖๐ - ๒๕๖๒ ภาคีสมาชกิ สำ� นักเศรษฐศาสตรแ์ ละการเมอื ง ส�ำนกั งานราชบณั ฑิตยสภา มถิ นุ ายน ๒๕๖๒ - พฤษภาคม ๒๕๖๔ หวั หนา้ โครงการวจิ ยั เรอ่ื ง “ระบบกำ� กบั ดแู ลทด่ี นิ เพอื่ การพฒั นา : ทางเลอื กการใชท้ ด่ี นิ และนโยบายที่ดนิ ใน ๒๐ ปีขา้ งหน้า” ได้รับทนุ สนับสนนุ จากสำ� นักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ฝ่ายชุมชนและสังคม ในวงเงิน ๕,๑๙๙,๑๓๐.- บาท รางวลั สรุ นิ ทราชา คอื รางวลั เกยี รตคิ ณุ ทสี่ มาคมนกั แปลและลา่ มแหง่ ประเทศไทย ตงั้ ขน้ึ เปน็ อนสุ รณ์ แด่ พระยาสุรินทราชา (นกยงู วเิ ศษกุล) หรือ“แมว่ ัน”ผูแ้ ปลนวนิยายเรอ่ื ง ความพยาบาท (Vendetta) เป็นรางวัลท่ีมอบแด่ นักแปลและล่าม ผู้มีผลงานดีเด่นเผยแพร่เป็นเวลานาน และสร้างคุณูปการแก่วง วรรณกรรม สังคมและประเทศชาติ ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ผาสกุ พงศ์ไพจิตร ได้รบั รางวัลสรุ นิ ทราชา ประจำ� ปี ๒๕๖๒ ผลงานแปลวรรณคดไี ทยเด่นเรือ่ ง ขนุ ช้างขนุ แผน เป็นภาษาอังกฤษ ชอ่ื The Tale of Khun Chang Khun Phaen, Siam's Great Folk Epic of Love and War โดยสมาคมนักแปลและ ล่ามแห่งประเทศไทย เม่อื วันท่ี ๒๗ เมษายน ๒๕๖๒ ยกย่องเชิดชูเกียรตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 275
ประวตั สิ ่วนตัว ตำ� แหน่งทางวชิ าการ ศาสตราจารย์ คณบดี คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ผูอ้ ำ� นวยการ โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ สภากาชาดไทย ประวัติการศกึ ษา ปที จ่ี บการศึกษา ๒๕๒๘ ๑. สถาบัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั วุฒทิ ไี่ ดร้ บั แพทยศาสตร์บณั ฑติ สาขาวิชาแพทยศาสตร์ ๒. สถาบัน Royal College of Physicians of ปที ่ีจบการศกึ ษา ๒๕๓๓ the United Kingdom วุฒิทไี่ ดร้ ับ MRCP (UK), MRCP (London) สาขาวชิ ากุมารเวชศาสตร์ ๓. สถาบนั แพทยสภา ปีทจ่ี บการศกึ ษา ๒๕๔๑ วฒุ ิท่ีได้รับ อนมุ ตั ิบตั รผู้เช่ยี วชาญกมุ ารเวชศาสตร์ สาขาวิชากมุ ารเวชศาสตร์ ๔. สถาบนั แพทยสภา ปีที่จบการศึกษา ๒๕๔๗ วุฒิที่ไดร้ ับ อนุมตั ิบตั รกุมารเวชศาสตร์สาขาต่อมไรท้ อ่ สาขาวิชากมุ ารเวชศาสตรต์ อ่ มไรท้ อ่ ๕. สถาบัน Royal College of Pediatrics and Child Health, UK วุฒิท่ีไดร้ บั MRCPCH สาขาวชิ ากุมารเวชศาสตร์ ด้านบริหาร ๑. คณบดี คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั และ ผู้อำ� นวยการโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ตั้งแต่ตลุ าคม ๒๕๕๘ - ปัจจุบนั ๒. ผชู้ ่วยเลขาธกิ าร ฝา่ ยการแพทย์ สภากาชาดไทย มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐ - ปจั จบุ นั ๓. President of Asia Pacific Pediatric Endocrinology (APPES) พ.ศ. ๒๕๕๙ - ปัจจุบนั ๔. หัวหนา้ ภาควชิ ากมุ ารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๕๘ ๕. ผ้ชู ว่ ยผู้อ�ำนวยการบริหารความเสี่ยง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔ ๖. ประธานชมรมคณาจารย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๕๗ ๗. เลขานกุ าร (Secretary General), Asia Pacific Pediatric Endocrine Society (APPES) พ.ศ. ๒๕๔๙ - ๒๕๕๗ ๘. ประธาน, Sub-committee, Global Inequity Group (GIG), Asia Pacific Pediatric Endocrine Society. พ.ศ. ๒๕๕๗ - ปัจจบุ นั ๙. Coordinator of international Communication Office of Pediatric Endocrine Societies (COPES) พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๕๔ ๑๐. ประธานการจัด Chula ASEAN Pediatrics Forum เพือ่ รองรับ ASEAN Economic Community (AEC), มิถนุ ายน ๒๕๕๖ ๑๑. ประธานการจัด Institute of Child Health (ICH), London and Chula Paediatrics Collaboration Meeting. ๑๑ - ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ๑๒. ประธานคณะกรรมการประชุมวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘ ๑๓. ประธานกรรมการบริหารความเสย่ี งในโรงพยาบาล โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ สภากาชาดไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔ ๑๔. ประธานกรรมการสทิ ธผิ ปู้ ว่ ยและจรยิ ธรรมองคก์ ร โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ สภากาชาดไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔ 276 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รติบคุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
รางวลั การบรหิ ารสคู่ วามเปน็ เลศิ ประจ�ำปี ๒๕๖๑ (Thailand Quality Class: TQC) จาก คณะกรรมการรางวัลคณุ ภาพแห่งชาติ ศาสตราจารย์ นายแพทยส์ ทุ ธพิ งศ์ วชั รสนิ ธุ ภาควชิ ากมุ าเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 277
รางวัล เหรยี ญดษุ ฎมี าลา เข็มศลิ ปวทิ ยา ประจ�ำปี ๒๕๖๑ สาขา แพทยศาสตร์ จาก สำ� นักนายกรัฐมนตรี ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทยอ์ ภิวฒั น์ มุทิรางกูร ภาควชิ ากายวิภาคศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ 278 ยกย่องเชดิ ชูเกยี รติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์ส�ำหรับพระราชทาน เป็นท่ีระลึกเพ่ือเป็นบ�ำเหน็จแก่ผู้ทรงคุณวุฒิ ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สร้างข้ึนในปี พ.ศ. ๒๔๒๕ เนื่องในโอกาส ครบรอบการสถาปนากรงุ เทพมหานครเปน็ ราชธานีครบ ๑๐๐ ปี โดยนับเป็นครั้งแรกที่ผ้มู ี ความรู้ความสามารถในศิลปวิทยาแขนงต่าง ๆ จะได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นพิเศษ อีกท้ังยังเป็นการสนองพระบรมราโชบายในการพัฒนาวิชาความรู้เพื่อปรับปรุงประเทศให้ เจรญิ ก้าวหน้าทดั เทียมนานาอารยประเทศ ส�ำหรบั หลกั เกณฑ์การพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยานั้น จะมหี ลกั อัน เขม้ งวดต่างจากเคร่อื งราชอิสริยาภรณอ์ นื่ ๆ คอื จะพระราชทานเฉพาะผู้มีฝมี อื อยา่ งเอกอุ อันเป็นคุณประโยชน์ต่อแผ่นดินที่ไม่มีผู้ใดท�ำได้เสมอหรือดีกว่า และนับเป็นท่ีน่าภาคภูมิใจ ย่ิงท่ี ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์อภิวัฒน์ มุทิรางกูร หัวหน้าภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เปน็ ผไู้ ดร้ บั พระราชทานเหรยี ญดษุ ฎมี าลา เขม็ ศลิ ปวทิ ยา สาขาแพทยศาสตร์ ประจำ� ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ เคล็ดลับวิธีในการท�ำงานวิจัยให้ประสบความส�ำเร็จ เราควรเห็นคุณค่าของส่ิงท่ีเราท�ำ คิดอยู่เสมอว่าส่ิงท่ีเราค้นคว้าวิจัยน้ันจะสร้างประโยชน์ให้แก่ผู้อื่น ต้องไม่ท้อถอยและมี ความมุ่งมั่นทุ่มเทแรงกายแรงใจที่จะท�ำให้ส�ำเร็จ ที่ส�ำคัญคือในการท�ำงานวิจัย เราไม่ควร จะทำ� เฉพาะสิ่งท่ีตนเองทำ� ได้เทา่ นัน้ แตค่ วรจะลองท�ำในส่งิ ท่ไี ม่เคยมีใครท�ำมากอ่ น เพราะ อาจจะน�ำไปสู่องคค์ วามร้ใู หม่และนวตั กรรมที่เกดิ ประโยชนแ์ กส่ งั คมโลกตอ่ ไปได้ ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 279
รางวลั โล่ประกาศเกียรติคุณอาจารยแ์ พทย์ดีเดน่ ในเชงิ คุณธรรมและจรยิ ธรรม ประจ�ำปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ จาก แพทยสภา รองศาสตราจารย์ นายแพทยศ์ กั นนั มะโนทัย ภาควิชาสตู ิศาสตร-์ นรเี วชวทิ ยา คณะแพทยศาสตร์ 280 ยกย่องเชดิ ชเู กียรตบิ ุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ศักนัน มะโนทัย ส�ำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา จากโรงเรยี นสาธิตจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ได้รบั ปริญญาแพทยศาสตรบณั ฑติ เกียรตนิ ิยม อันดับหน่ึง เหรียญทอง จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับวุฒิบัตรแสดงความรู้ความ ช�ำนาญฯ สาขาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา อนุมัติบัตรแสดงความรู้ความช�ำนาญฯ สาขา เวชศาสตรม์ ารดาและทารกในครรภ์ จากแพทยสภา และ Certificate in Reproductive Genetics จาก Baylor College of Medicine ประเทศสหรัฐอเมริกา รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ศักนัน มะโนทัย เข้ารับราชการเป็นอาจารย์ประจ�ำ ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ ปีพุทธศักราช ๒๕๓๘ ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และประธานคณะอนุกรรมการฝกึ อบรมและสอบสาขาสตู ศิ าสตร์ และนรีเวชวิทยา แพทยสภา ความภาคภูมใิ จสูงสดุ ในการเปน็ ครแู พทย์ คือการไดม้ ีสว่ นสำ� คญั ในการสรา้ งแพทย์ทีม่ ี คณุ ธรรม มคี วามรู้ความสามารถ สามารถดำ� รงตนในสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและมคี วามสขุ ท�ำประโยชน์ตอ่ สงั คมและประเทศชาติ ดังพระราชด�ำรสั ของพระราชบดิ าฯ งานที่ให้ความสำ� คญั อยา่ งยงิ่ ในฐานะอาจารยใ์ นภาควิชาฯ คือ การสอนใหน้ สิ ติ แพทย์ ดูแลผู้ป่วยอย่างเป็นองค์รวม การตรวจรายงานผู้ป่วยโดยละเอียด เพ่ือชี้ข้อบกพร่อง และ ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นิสิตแพทย์เป็นรายบุคคล เพ่ือให้นิสิตเข้าใจแนวทางการดูแลผู้ป่วย ทีถ่ ูกตอ้ ง ในบทบาทผู้บริหารการศึกษา มีความภาคภูมิใจที่เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาหลักสูตร และพัฒนากระบวนการเรียนการสอน เพื่อให้นิสิตสามารถพัฒนาศักยภาพของตนได้อย่าง เต็มที่ และได้มีส่วนร่วมประคับประคองนิสิตท่ีมีความเสี่ยงทางการศึกษา เพ่ือให้สามารถ ผ่านชว่ งเวลาทย่ี ากล�ำบาก และสามารถประสบความสำ� เรจ็ ในชวี ติ ตามแนวทางทเ่ี หมาะสม ของแตล่ ะคน ยกย่องเชดิ ชเู กยี รติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 281
รางวลั แพทยดเี ด่นของแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชปู ถัมภ์ ประจ�ำปี ๒๕๖๑ จาก แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ นจิ ศรี ชาญณรงค ์ ภาควิชาอายรุ ศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ 282 ยกย่องเชิดชูเกยี รตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงนจิ ศรี ชาญณรงค์ หวั หนา้ ศนู ย์ความเปน็ เลศิ ทางการแพทย์ ดา้ นโรคหลอดเลอื ดสมองแบบครบวงจร กลา่ ววา่ โรงพยาบาลและศนู ยฯ์ ไดจ้ ดั ตงั้ และพฒั นา ระบบประเมินผปู้ ่วยฉกุ เฉนิ ที่แผนก ER มากวา่ ๒๐ ปี เรยี กวา่ Stroke Fast Track ซึง่ จะ ประเมินผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองอุดตันที่เข้ามารับการรักษาให้ได้รับการตรวจวินิจฉัย อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เข้าถึงแพทย์ผู้เชี่ยวชาญและได้รับยาได้ อย่างทันท่วงที ด้วยการเร่งการวินิจฉัยสมองของผู้ป่วย ให้ยาละลายลิ่มเลือด และร่วมมือ ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดโดยทีมแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู นักกายภาพ พยาบาล และประสาท แพทย์ กระบวนการน้ีสามารถรักษาชีวิตของผู้ป่วย และลดความพิการได้เป็นอย่างดี ซึ่ง หลายโรงพยาบาลทั่วประเทศได้น�ำระบบน้ีไปใช้ในการรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ด้วยเชน่ เดยี วกนั ศนู ยค์ วามเปน็ เลศิ ทางการแพทยด์ า้ นโรคหลอดเลอื ดสมองแบบครบวงจรฯ ยงั ไดน้ ำ� เขา้ เทคโนโลยที ีเ่ รียกว่า Stroke Robot ซึง่ เป็นเครื่องมอื ที่สามารถตรวจรักษาและดูแลผปู้ ว่ ย ถึงเตียง แม้ว่าแพทย์ผู้เช่ียวชาญจะไม่ได้ประจ�ำอยู่ในโรงพยาบาล ณ เวลานั้น แต่สามารถ เห็นอาการของผู้ป่วยได้อย่างเรียลไทม์ อีกท้ังยังสามารถให้ค�ำปรึกษากับแพทย์ประจ�ำบ้าน และพยาบาล รวมไปถึงเห็นผลตรวจเลือดและผลเอ็กซเรย์ต่าง ๆ ของผู้ป่วยผ่านทาง Stroke Robot ได้อีกดว้ ย ย่ิงไปกว่าน้ันทางศนู ยฯ์ ยงั ใช้เทคโนโลยีข้นั สงู ในการรักษาผู้ป่วย อย่างทันท่วงที นั่นคือการรักษาผู้ป่วยด้วยการใช้อุปกรณ์ใส่เข้าไปในหลอดเลือดเพ่ือไปยัง สมองและดงึ ลากลมิ่ เลอื ดทอ่ี ดุ ตนั ออกมา ซงึ่ เปน็ การรกั ษาทจ่ี ำ� เปน็ ตอ้ งใชแ้ พทยผ์ เู้ ชยี่ วชาญ ทไี่ ด้รบั การฝึกมาเปน็ อยา่ งดี เพือ่ ให้การรกั ษาผ้ปู ่วยไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพสูงสุด ยกย่องเชดิ ชเู กยี รตบิ ุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 283
รางวลั ขา้ ราชการพลเรือนดเี ด่น ประจ�ำปี ๒๕๖๑ จาก กระทรวงศึกษาธกิ าร ผชู้ ่วยศาสตราจารยด์ ังกมล ณ ปอ้ มเพชร ภาควิชาศลิ ปการละคร คณะอักษรศาสตร์ 284 ยกย่องเชดิ ชูเกยี รติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ประวัติสว่ นตวั วัน เดือน ปีเกดิ วันท่ี ๑๔ มกราคม ๒๕๑๓ ประวตั ิการศกึ ษาระดบั อดุ มศึกษา คณุ วฒุ ิ ปี พ.ศ. ท่จี บ ชอ่ื สถานศึกษาและประเทศ • อ.บ. ศิลปะการละคร (เกียรตนิ ิยม) ๒๕๓๓ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประเทศไทย • M.F.A (theatre directing) ๒๕๔๓ City University of New York City at Brooklyn College, สหรัฐอเมรกิ า ประวตั กิ ารรบั ราชการ เรม่ิ รับราชการในจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั เมือ่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๓๖ ผลงาน ดา้ นวิชาการ บทความวิจัย (ภาษาไทย) • ดังกมล ณ ป้อมเพชร, “นิทราชาคริต : จากพระราชนิพนธ์ลิลิตสู่เวทีจุฬาฯ” เอกสาร proceeding น�ำเสนอในการประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เรือ่ ง “นทิ ราชาครติ ” จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , ๒๕๔๖. • ดังกมล ณ ป้อมเพชร, นพมาส แววหงส์, ฤทธิรงค์ จิวากานนท์,“อิ่มอร่อยไปกับอาหารหลากรส หลายชาติในหนงั ” ในชุดโครงการวิจัย “เรื่องกินเรอื่ งใหญ่ไทยและเทศ” คณะอกั ษรศาสตร์, ๒๕๔๗. • ดังกมล ณ ป้อมเพชร, “สุนทรีย์มีย่ีห้อ? : มองละครเวทีไทยร่วมสมัยในวัฒนธรรมบริโภค” เอกสารproceeding น�ำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติ “วัฒนธรรมบริโภค-บริโภควัฒนธรรม” ณ ศูนย์มานษุ ยวิทยาสริ นิ ธร, ๒๕๔๙. • ดังกมล ณ ป้อมเพชร, “ละครนอกคอก” เอกสารproceeding น�ำเสนอใน การประชุมวิชาการ ระดบั ชาติ “รือ้ เวทีวิจยั -สร้างวิจยั บนเวทลี ะคร” คณะอกั ษรศาสตร,์ ๒๕๕๐. ด้านงานวจิ ัย • ดังกมล ณ ปอ้ มเพชร, รายงานวิจัย “กะเทาะเปลือก(มหัศจรรย์ผจญภยั เจ้าชาย)หอย : กระบวนการ สร้างบทและการกำ� กับการแสดงละครเร่ือง มหัศจรรย์ผจญภัยเจ้าชายหอย” โครงการวิจัย “เรื่องเก่าเล่าใหม่” ในชดุ โครงการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ : สำ� นักงานกองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ัย, ๒๕๔๙. • โครงการ “ละครเพลงเรือ่ ง สยามมิสฉนั (Siam Mission)” ภายใตโ้ ครงการ “รำ� ลึก ๑๐๐ ปีวนั สวรรคต พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ” (งบประมาณจาก คณะกรรมการกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ (กทช.) ผ่านมูลนิธิมหาจักรีสริ นิ ธรเพอื่ คณะอกั ษรศาสตร์), ๒๕๕๕. • โครงการ “รามเกียรต์ิ : ก้าวหน้าจากรากแก้ว” งบประมาณจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), ๒๕๕๖. ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 285
รางวัล ชัยนาทนเรนทร ดา้ นนักการสาธารณสขุ ดีเดน่ ประเภทวิชาการ ประจ�ำปี ๒๕๖๑ จาก มลู นิธสิ มเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ศาสตราจารย์ นายแพทยส์ ุรศักดิ์ ฐานพี านิชสกลุ คณะวิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสขุ 286 ยกยอ่ งเชิดชูเกียรตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ศาสตราจารย์ นายแพทยส์ ุรศกั ด์ิ ฐานพี านิชสกุล ปจั จุบันดำ� รงต�ำแหน่ง ศาสตราจารย์ ระดับ ๑๑ อดีตผู้ช่วยอธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตคณบดีวิทยาลัย วทิ ยาศาสตรส์ าธารณสขุ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย เรม่ิ ท�ำการวจิ ยั ในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ โดย ท�ำการศกึ ษาดา้ นอนามยั เจรญิ พันธ์ุ โดยเน้นการวางแผนครอบครัว ระหว่างทีร่ ับราชการที่ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข โดยผลงานวิจัยเรื่องแรกท่ีตพี ิมพ์ คือ การตกไขค่ รงั้ แรก หลงั คลอดในมารดาท่ีไมใ่ ห้นมบตุ รในจฬุ าลงกรณ์เวชสาร ปที่ ่ี ๓๓ ฉบับท่ี ๓ เดือนมีนาคม ๒๕๓๒ ภายหลังจากน้นั กม็ ีผลงานวิจัย ด้านการวางแผนครอบครัวและคมุ ก�ำเนดิ อนามัย ส่ิงแวดลอ้ ม ตลอดจนอนามยั แมแ่ ละเด็กมาอยา่ งต่อเนื่องจนถงึ ปัจจุบัน มีผลงานวิจัยทไี่ ดร้ ับ การตพี ิมพ์ท้งั ภายในประเทศและตา่ งประเทศ เป็นจำ� นวนมากกวา่ ๒๐๐ เรื่อง โดยผลงาน วิจัยหลักเป็นด้านอนามัยเจริญพันธุ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาขาการวางแผนครอบครัว ซ่ึง ผลงานวิจัยต่าง ๆ ดังกล่าว โครงการวางแผนครอบครัวแห่งชาติ และองค์การอนามัยโลก ได้น�ำไปใช้อ้างอิงและขยายผลการด�ำเนินงานจนท�ำให้โครงการวางแผนครอบครัวแห่งชาติ ประสบความส�ำเร็จอย่างดีย่ิง และองค์การอนามัยโลกได้ให้ประเทศไทยป็นแบบอย่างของ ความส�ำเร็จในการวางแผนครอบครัว ผลงานดังกล่าวข้างต้น จึงได้รับการคัดเลือกให้รับ รางวัลพระราชทานชยั นาทนเรนทร ด้านนกั การสาธารณสขุ ดเี ด่น ประเภท วิชาการ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๑ ยกย่องเชดิ ชูเกียรติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 287
รางวัล เสาอโศกผนู้ �ำศลี ธรรม ประจ�ำปี ๒๕๖๒ สาขา วชิ าดนตรีศึกษา จาก สมาคมผู้ท�ำคุณประโยชนเ์ พ่ือพระพทุ ธศาสนาแห่งประเทศไทย ในพระสงั ฆราชปู ถัมป์และองค์กรพุทธ ๔๐ กว่าองคก์ ร ผชู้ ่วยศาสตราจารยพ์ งษ์ลดา ธรรมพทิ ักษ์กุล ภาควิชาศลิ ปะ ดนตรแี ละนาฏศิลปศ์ กึ ษา คณะครศุ าสตร์ 288 ยกย่องเชดิ ชเู กยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
การคัดเลือกผู้ท�ำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนารางวัลเสาอโศกผู้น�ำศีลธรรม เร่ิมในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ซึ่งเป็นปีแรกของการคัดเลือก โดยสมาคมผู้ท�ำคุณประโยชน์เพื่อ พระพุทธศาสนาแห่งประเทศไทย ร่วมกับศูนย์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาแห่งประเทศไทย ในพระสังฆราชูปถัมภ์ และส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ริเริ่มจัดท�ำโครงการ “เสาอโศกผู้น�ำศีลธรรม” ขึ้น เพื่อคัดเลือกบุคคลต้นแบบทางพระพุทธศาสนาที่ดีงาม ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการก�ำหนด เพ่ือประกาศเกียรติคุณยกย่อง ให้คนรุ่นหลังได้ ยึดถือเป็นแบบอย่างทด่ี ี โดยมวี ัตถุประสงค์เพอื่ คดั เลอื กบุคคลต้นแบบทางพระพุทธศาสนา ท้ังฝ่ายบรรพชิต และคฤหัสถ์ ที่เป็นผู้อุทิศตนท�ำงานเพื่อพระพุทธศาสนา ในสาขาต่าง ๆ ตามที่คณะกรรมการจะก�ำหนด เพ่ือประกาศเกียรติคุณ ยกย่องผู้ได้รับรางวัลเป็นบุคคล ตน้ แบบทางพระพทุ ธศาสนา ใหเ้ ปน็ เยยี่ งอยา่ งของพทุ ธศาสนกิ ชนไทย เพอื่ เปน็ ขวญั กำ� ลงั ใจ ใหก้ บั บคุ คลทไ่ี ดร้ บั การคดั เลอื กเปน็ ผอู้ ทุ ศิ ตนเพอื่ พระพทุ ธศาสนามาเปน็ ระยะเวลายาวนาน และต่อเน่ือง และเพ่ือเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ [๓] ยกย่องเชิดชเู กียรติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 289
รางวัล ความเป็นเลิศคุณภาพหนว่ ยศึกษาวิจัยความปลอดภัยของสารเคมีตามหลกั การ OECD GLP ด้านชวี สมมูล (DMSc Quality Award) สาขา คุณภาพหอ้ งปฏิบัตกิ าร จาก ส�ำนกั มาตรฐานหอ้ งปฏบิ ตั ิการ (สมป.) กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ รองศาสตราจารย์สพุ ชี า วิทยเลศิ ปัญญา ภาควชิ าเภสชั วิทยา คณะแพทยศาสตร์ 290 ยกย่องเชดิ ชูเกียรตบิ ุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ช่ือรางวัล “ความเป็นเลิศคุณภาพหน่วยศึกษาวิจัยความปลอดภัยของสารเคมีตาม หลักการ OECD GLP ด้านชีวสมมูล (DMSc Quality Award)” จากส�ำนักมาตรฐาน ห้องปฏิบัติการ (สมป.) กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เมื่อวันท่ี ๓ สงิ หาคม ๒๕๖๑ ห้องปฏิบัติการ Chula Pharmacokinetic Research Center เป็นห้องปฏิบัติการ ดำ� เนนิ งานบรกิ ารวจิ ยั ดา้ นการวเิ คราะหร์ ะดบั ยาเพอ่ื การศกึ ษาชวี สมมลู และเภสชั จลนศาสตร์ ของยา ซึ่งเป็นการศึกษาท่ีส�ำคัญเพ่ือการยืนยันคุณภาพของยาสามัญว่าเทียบเคียงกับ ยาต้นแบบหรือไม่ เปิดบริการต้ังแต่ปี ๒๕๔๕ และพัฒนามาอย่างต่อเน่อื งในการสร้างงาน วจิ ยั และงานบริการวิจัยทีม่ ีคุณคา่ อนั เปน็ พันธกิจหลักของคณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ปัจจัยหลักในการผลิตผลงานวจิ ัยทีม่ คี ณุ ค่า คอื คุณภาพของห้องปฏบิ ัติการ ดังน้ันห้องปฏิบัติการจึงจ�ำเป็นต้องใช้ระบบคุณภาพเป็นตัวก�ำกับและสนับสนุนการด�ำเนิน งานเพื่อให้เกิดมาตรฐานข้ึน มาตรฐานสากลท่ีทั่วโลกยอมรับคือ Good Laboratory Practice (GLP) ดังนน้ั บุคลากรของห้องปฏิบัตกิ ารจึงมเี ปา้ หมายทจี่ ะทำ� ให้หอ้ งปฏบิ ตั ิการ Chula Pharmacokinetic Research Center ได้รับการรับรองคุณภาพมาตรฐาน GLP เพื่อยกระดับความสามารถและการยอมรับในระดับสากล โดยองค์กรระดับประเทศท่ี สามารถให้การรบั รองมาตรฐาน GLP คอื สำ� นกั มาตรฐานห้องปฏบิ ตั ิการ กรมวทิ ยาศาสตร์ การแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ ยกย่องเชิดชูเกยี รติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 291
รางวลั เครือข่ายต้นแบบดเี อสไอประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๖๑ (ประเภทบุคคล) สาขา เครอื ข่ายต้นแบบด้านการต่อต้านการคา้ มนษุ ย์และการส่งเสรมิ และคมุ้ ครองสิทธสิ ตรแี ละสิทธเิ ดก็ จาก กรมสอบสวนคดพี ิเศษ กระทรวงยุตธิ รรม ดร.รัชดา ไชยคุปต ์ ภาควชิ าศูนย์วจิ ยั การย้ายถิน่ แห่งเอเชยี สถาบนั เอเชยี ศึกษา 292 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
กรมสอบสวนคดีพิเศษได้ให้ความส�ำคัญเร่ืองการเปิดโอกาสให้เครือข่ายท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และเครือข่ายต่างประเทศเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกัน ปราบปราม การสืบสวนสอบสวนคดีพิเศษ เพ่ือลดปัญหาอาชญากรรมคดีพิเศษ ซ่ึงมี แนวทางการพัฒนาเครือข่ายให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นโดยการเผยแพร่ความรู้ด้าน กฎหมายท่เี กีย่ วขอ้ งและเป็นภารกิจของกรมสอบสวนคดีพเิ ศษ รวมทง้ั การพัฒนาศักยภาพ ในการเฝ้าระวังอาชญากรรมคดพี เิ ศษ ดงั นั้น เพือ่ เปน็ การสร้างความเชอื่ มนั่ ใหก้ บั เครือขา่ ย ตน้ แบบดเี อสไอวา่ ผทู้ ที่ ำ� ความดี ยอ่ มมผี เู้ หน็ คณุ คา่ และขอใหเ้ ชอื่ มน่ั ศรทั ธาในการประพฤตดิ ี และตระหนักถึงการมีส่วนร่วมในการบริหารราชการของกรมสอบสวนคดีพิเศษของตน อันจะส่งผลให้เกิดการป้องกันและปราบปรามปัญหาอาชญากรรมให้ลดน้อยลง ตลอดจน เพ่ือกระตุ้นและสง่ เสรมิ บทบาทของภาคประชาชน และภาคีทางสังคมอ่ืน ๆ ใหต้ ระหนักถงึ บทบาทและการมีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม จึงได้จัดให้มี การมอบรางวลั ใหก้ บั เครอื ขา่ ยต้นแบบดเี อสไอ เพื่อเปน็ การยกย่องเชดิ ชู สรา้ งขวญั ก�ำลงั ใจ ให้กับเครอื ขา่ ยทใ่ี หค้ วามร่วมมือในการดำ� เนินการรว่ มกับกรมสอบสวนคดพี ิเศษ ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 293
รางวลั 2018 M.R. Jisnuson Svasti Young Protein Scientist of Thailand Award เร่ือง Biomolecular Structure and Function, Mechanisms of Drug action, Source of Microbial Resistance and Mechanistic Insights into Enzyme Catalysis จาก สมาคมโปรตีนแหง่ ประเทศไทย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธัญญดา ร่งุ โรจนม์ งคล ภาควิชาชีวเคมี คณะวทิ ยาศาสตร์ 294 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
งานในกลุ่มวิจัยมุ่งศึกษาการท�ำงานของสารชีวโมเลกุล โดยการจ�ำลองแบบโครงสร้าง สามมิติในคอมพิวเตอร์ เพื่อตอบค�ำถามหรืออธิบายสิ่งที่คนอื่นพบว่าเกิดอะไรขึ้น แต่ยัง ตอบค�ำถามไม่ได้ หรือตอบได้แตย่ งั ไม่ชัดเจน เชน่ รวู้ า่ การด้อื ยาเกิดจากการ mutation ท่ี โปรตีนของไวรัสในต�ำแหน่งไหน ท�ำไมยาถึงท�ำงานไม่ได้ ซ่ึงอาจจะเกิดจากหมู่ฟังก์ชันท่ีมี ขนาดสน้ั เกนิ ไป โมเลกุลมีขว้ั หรอื ไมม่ ขี ัว้ เกิดอะไรขึ้นกับโมเลกุล อะตอม ซึง่ องค์ความรู้ท่มี ี ความละเอียดในระดับอะตอมนี้ จะช่วยให้เข้าใจพฤติกรรมทางโมเลกุล เสถียรภาพ และ สมบตั เิ ชงิ พลศาสตรข์ องโครงสรา้ งโปรตนี หรอื สารชวี โมเลกลุ อนื่ ๆ ในดา้ นกลไกการกอ่ เกดิ โรคของไวรัส การออกฤทธิ์ของยา สาเหตุของการด้ือยา หรืออันตรกิริยาในระดับโมเลกุล ซงึ่ มปี ระโยชนแ์ ละมคี วามจำ� เปน็ ตอ่ ออกแบบยาแบบมงุ่ เปา้ ใหไ้ ดย้ าตวั ใหมท่ ม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ สูง และจ�ำเพาะต่อโปรตีนเป้าหมาย จะช่วยเพ่ิมโอกาสที่จะประสบความส�ำเร็จในการหา ยาตวั ใหม่ โดยมผี ลงานวจิ ัยทตี่ ีพิมพใ์ นวารสารวชิ าการระดับนานาชาติ จ�ำนวน ๑๑๖ ฉบบั มีการถกู นำ� ไปอา้ งองิ แลว้ ๑,๒๑๕ ครั้ง และ h-index 24 ยกย่องเชดิ ชเู กียรติบคุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 295
รางวลั Very Good Prize Presenter (Poster Presentation) เรอื่ ง Effects of Surface Diffusion Length on Steady-State Persistence Probabilities สาขา ฟสิ ิกส์ จาก สมาคมฟิสิกสไ์ ทย อาจารย์ ดร.รังสมิ า ชาญพนา ภาควชิ าฟิสิกส์ คณะวทิ ยาศาสตร์ 296 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรติบคุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
Abstract. The dependence of the steady-state persistence probabilities (PS) and exponents (θS) on surface diffusion length (l) for four discrete growth models is investigated. The persistence exponents which describe the decay of the persistence probabilities, the probabilities of the average of all initial height (h0), are increased as l is increased for all models. The results of one-dimensional Family ((1+1)-Family) and Das Sarma-Tamborenea ((1+1)-DT) models with kinetically rough film surface show the decrease of the growth exponent (b) with l The l >1 results preserve the relation b = max [1-θS+, 1-θS- ]. In contrast, b is observed to increase with l for the two- dimensional larger curvature ((2+1)-LC) and Wolf-Villain ((2+1)-WV) models with mounded morphology. Our results show that the b = max[1-θS+, 1-θS- ] relation is not valid in l >1 cases in models with mounded surfaces. The persistence probabilities of a specific value of initial height (PS (h0)) for l >1 are found to behave differently between mounded and kinetically rough models. ยกย่องเชิดชูเกยี รตบิ ุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 297
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สทิ ธิพร ภัทรดลิ กรัตน์ เร่มิ เขา้ ปฏบิ ตั งิ าน ณ ภาควิชาชวี วิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ใน เดือนกันยายน ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ และไดร้ บั อนมุ ตั ิใหต้ �ำรงตำ� แหนง่ ทางวิชาการ ระดบั ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ในเดือน มกราคม ๒๕๕๙ ในดา้ นงานวิจัย ดร.สิทธพิ ร ภัทรดิลกรตั น์ ได้ปฏิบตั ใิ นหน่วยวิจยั มาลาเรีย และศึกษาวิจัย เกี่ยวกับพันธุศาสตร์และโครงสร้างประชากรของเชื้อมาลาเรีย มีผลงานตีพิมพ์ในวารสาร วชิ าการระดับนานาชาติ ๒๘ เร่ือง และวารสารวิชาการระดบั ชาติ ๕ เรอื่ ง และไดร้ ับเชญิ ใหเ้ ปน็ วทิ ยากรบรรยายความรเู้ กย่ี วกบั โรคมาลาเรยี ในงานประชมุ ในระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ นอกจากนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิทธิพร ภัทรดิลกรัตน์ ยังได้ให้งานบริการวิชาการแก่ หนว่ ยงานภายนอก เชน่ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี อาทิ การปฏบิ ตั ิ หน้าที่เป็นประธานค่ายนักเรียน ในโครการส่งเสริมผู้มีความรู้ความสามารถพิเศษทางด้าน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.) ภาคฤดูรอ้ นประจำ� ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ ผ้ชู ว่ ยหวั หนา้ ทีมในการพานักเรียนไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ ณ ต่างประเทศ วิทยากรอบรมเข้มให้แก่ นักเรยี นในโครงการโอลมิ ปกิ วิชาการรว่ มกับ มูลนธิ ิ สอวน. ตลอดจนเปน็ อาจารยท์ ่ปี รึกษา พิเศษให้กับโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี (สควค.) ด้วยเหตุนี้จึงได้รับเลือกให้รับรางวัล โล่ประกาศเกียรติคุณผู้สร้างคุณ ประโยชน์และชอื่ เสยี งให้ สสวท. ประจำ� ปี ๒๕๖๑ 298 ยกย่องเชดิ ชเู กียรตบิ คุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 656
- 657
- 658
- 659
- 660
- 661
- 662
- 663
- 664
- 665
- 666
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 666
Pages: