รางวลั สภาวิจยั แห่งชาติ : รางวลั ผลงาน ประดษิ ฐ์คิดคน้ (ระดับดมี าก) เรือ่ ง กล้องจุลทรรศน์สมารต์ โฟน : หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเคลอื่ นท่บี นสมาร์ตโฟน (Smartphone Microscope: Mobile Laboratory on Smartphone) สาขา วิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ จาก สำ� นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ (วช.) ศาสตราจารย์ ดร.สนอง เอกสิทธิ์ ภาควชิ าเคมี คณะวิทยาศาสตร์ ยกย่องเชิดชูเกียรตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 349
รางวลั ผลงานประดษิ ฐค์ ดิ ค้น ประจ�ำปี ๒๕๖๒ ระดับดี เรือ่ ง อมิ มูโนเซ็นเซอร์ทางเคมไี ฟฟา้ สำ� หรับการตรวจวดั โปรตนี ที่ตอบสนองตอ่ การอักเสบ สาขา วทิ ยาศาสตรเ์ คมแี ละเภสชั จาก สำ� นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ (วช.) ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชยั ลภากลุ ดร.ปฤญจพร ทีงาม นางสาวสุชนาถ บุญแก้ว ภาควชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตร์ 350 ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
อิมมูโนเซนเซอร์ฐานกระดาษ (paper-based immunosensor) ส�ำหรับการตรวจวดั โปรตีนที่บ่งบอกความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจ (C-reactive protein) รว่ มกบั การตรวจวเิ คราะหท์ างเคมไี ฟฟา้ ซงึ่ ใชห้ ลกั การจบั กนั โดยตรงระหวา่ งสารชวี โมเลกลุ เซนเซอร์ฐานกระดาษถูกออกแบบเพ่ือผสมผสานการเตรียมเซนเซอร์และการตรวจวัด ใหอ้ ยู่ในอุปกรณ์ชิน้ เดยี ว มรี าคาถกู การใช้งานงา่ ย พกพาได้สะดวก มีความถกู ตอ้ งแม่นย�ำ สูง สามารถตรวจวดั ไดค้ รอบคลุมถึงระดับนาโนกรัมต่อมิลลลิ ติ ร เซนเซอรถ์ กู พัฒนามาเพ่อื ท่ีจะให้บุคลากรทางการแพทย์ หรือสถานพยาบาลที่ห่างไกล ได้ประเมินความเสี่ยงของ ประชาชนทวั่ ไป หรอื ผทู้ มี่ คี วามเสย่ี งตอ่ การเปน็ โรคหลอดเลอื ดและหวั ใจ นำ� ไปสกู่ ารตดิ ตาม การรักษาโรค หรือปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมเพื่อลดความเสย่ี งนั้นลง ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 351
รางวลั ผลงานประดิษฐค์ ดิ คน้ ประจ�ำปี ๒๕๖๒ ระดับดี เรอื่ ง เซน็ เซอรก์ ระดาษอัจฉรยิ ะสำ� หรบั ตรวจวินจิ ฉยั ดีเอ็นเอของโรคตดิ ตอ่ สาขา วิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช จาก สำ� นกั งานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากลุ ดร.ปฤญจพร ทงี าม นางสาวสุชนาถ บุญแก้ว ภาควชิ าเคมี คณะวิทยาศาสตร์ 352 ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติบคุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
เซน็ เซอร์กระดาษสำ� หรบั ตรวจวินิจฉัยดีเอ็นเอของโรคตดิ ตอ่ น้ี อาศยั หลกั การตรวจวดั เชงิ สี โดยใช้ acpcPNA เปน็ โพรบในการตรวจจบั ดเี อน็ เอเปา้ หมาย และเหนย่ี วนำ� ใหอ้ นภุ าค เงินขนาดนาโนเกิดการเปล่ียนแปลงสี ซ่ึงสามารถติดตามผลได้ด้วยตาเปล่าหรือการใช้ แอพลิเคช่ันในสมาร์ทโฟนในกรณีที่ต้องการทราบปริมาณดีเอ็นเอ โดยเซ็นเซอร์กระดาษนี้ ถูกออกแบบให้สามารถตรวจคัดกรองดีเอ็นเอของเช้ือไวรัสและแบคทีเรียซึ่งเป็นสาเหตุของ โรคเมอร์ส วัณโรคและโรคมะเรง็ ปากมดลูกได้พร้อมกัน เซ็นเซอรก์ ระดาษนีม้ คี วามโดดเดน่ ในแง่ของการใช้งานง่าย ให้ผลการวิเคราะห์ท่ีถูกต้องและรวดเร็ว อีกท้ังยังมีราคาไม่แพง จึงเหมาะในการเป็นอปุ กรณท์ างเลอื กสำ� หรบั การตรวจวัด ณ จุดดูแลผปู้ ่วย (POCT: Point- Of-Care Testing) ยกยอ่ งเชิดชเู กียรตบิ คุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 353
ในปัจจุบัน การใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ เป็นประเด็นส�ำคัญท่ีได้รับ การค�ำนึงเป็นล�ำดับต้น ๆ ระบบการจัดการพลังงานในอาคาร (BEMS) จะมีแนวโน้มที่มี บทบาทส�ำคัญในการเปล่ียนอาคารแบบด้ังเดิมให้กลายเป็น “อาคารอัจฉริยะ” (Smart Building) โดยสำ� หรบั อาคารขนาดใหญจ่ ะมกี ารตดิ ตง้ั BEMS อยใู่ นอาคาร สว่ นอาคารขนาด เล็กและขนาดกลางอาจท�ำการรวมอาคารเหล่าน้ีให้เป็นกลุ่มของอาคาร เพื่อให้ศูนย์กลาง (BEMS center) ประมวลผลและส่งคำ� สงั่ การจดั การการใชพ้ ลังงานของแต่ละอาคารใหก้ ับ กล่มุ อาคารเหล่าน้ี มเิ ตอรไ์ ฟฟา้ อจั ฉรยิ ะเปน็ หวั ใจหลกั ของเซน็ เซอรใ์ นระบบการจดั การพลงั งานในอาคาร อันเนื่องมาจากอาคารโดยท่ัวไปจะใช้ไฟฟ้าเป็นพลังงานหลักส�ำหรับอุปกรณ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้า ตา่ ง ๆ อาทเิ ชน่ คอมพิวเตอร์ ระบบปรับอากาศ และระบบแสงสว่าง เปน็ ตน้ โดยทว่ั ไปแลว้ พลังงานไฟฟา้ จะถูกวัดเปน็ ผมรวมของพลังงานที่ใช้ในอาคารนัน้ ๆ และมกี ารเก็บข้อมลู เป็น รายเดอื น ซงึ่ ยากตอ่ การบรหิ ารจดั การพลงั งาน ทำ� ใหเ้ ราไมส่ ามารถรไู้ ดเ้ ลยวา่ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ตา่ ง ๆ มกี ารใชพ้ ลงั งานเทา่ ไหร่ในแตล่ ะวัน มิเตอร์ไฟฟ้าท่ีประดิษฐ์ข้ึนมานี้จึงสามารถวัดพลังงานไฟฟ้าได้หลายวงจร มีรูปแบบ การสื่อสารกับระบบจัดการพลังงานด้วยมาตรฐานเปิด IEEE1888 ซ่ึงติดตั้งเข้ากับ ตู้จ่ายพลังงานไฟฟ้า (MDB) ภายในอาคาร เพ่ือวัดพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ในแต่วงจร และเก็บ ขอ้ มูลลงในฐานข้อมูลทกุ ๆ ๑ นาที ขอ้ มลู พลังงานไฟฟ้าท่ไี ดจ้ ะถกู น�ำไปวเิ คราะหถ์ ึงการใช้ พลังงานไฟฟ้าในแบบทันทีทันใด (Real Time) เป็นผลให้เกิดการบริหารจัดการพลังงาน ไฟฟ้าภายในอาคารอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพสูงสดุ โครงสร้างทางไฟฟ้า ระดบั บนของมเิ ตอร์ 354 ยกย่องเชิดชเู กียรติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
รางวัล ผลงานประดษิ ฐค์ ิดค้น ประจ�ำปี ๒๕๖๒ ระดบั ดี เร่อื ง มิเตอรไ์ ฟฟ้าอัจฉริยะทีว่ ดั ไดส้ ีส่ ิบแปดวงจร ส่ือสารตามมาตรฐาน IEEE1888 สง่ ขอ้ มลู ผ่านสาย UTP หรอื ไร้สาย แบบ LoRaWAN กนิ พลังงานต�่ำมาก สาขา วศิ วกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรม จาก สำ� นักงานคณะกรรมการวจิ ัยแหง่ ชาติ (วช.) ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วนั เฉลมิ โปรา และคณะ ภาควิชาวศิ วกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ ยกย่องเชดิ ชเู กยี รตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 355
รางวัล สภาวจิ ัยแหง่ ชาติ : ผลงานประดษิ ฐค์ ิดคน้ ประจ�ำปี 2562 รางวัลประกาศเกยี รตคิ ุณ เรอ่ื ง การล์ ิคอัพ กระเทียมไร้กล่นิ ทม่ี ปี ริมาณอัลลิอินสงู จาก สำ� นักงานคณะกรรมการวิจัยแหง่ ชาติ (วช.) ศาสตราจารย์ ดร.นงนชุ เหมืองสนิ และคณะ ภาควชิ าเคมี คณะวิทยาศาสตร์ 356 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ปัจจุบัน อาหารเสริมเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจ�ำวันของผู้คนจ�ำนวนมาก ซ่ึง กระเทียมเป็นหนึ่งในพืชสมุนไพรท่ีได้รับความนิยมสูง เพราะมีประโยชน์ต่อสุขภาพ และ เป็นส่วนประกอบของต�ำรายาไทย เน่ืองจากกระเทียมมีฤทธิ์ช่วยต้านจุลชีพ ต้านไวรัส ตา้ นมะเรง็ ลดนำ้� ตาลในเลือด ลดระดับไขมนั ลดการอกั เสบ ฯลฯ ดังน้ัน ศาสตราจารย์ ดร.นงนุช เหมืองสิน ดร.อุฬาริกา ลือสกุล และ ดร.ศักด์ิชัย หลักสี แห่งคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีแนวคิดท่ีจะสกัดและถนอม ปรมิ าณสารสำ� คญั ในกระเทยี ม เพอ่ื นำ� มาเปน็ อาหารเสรมิ เรยี กวา่ “การล์ คิ อพั ” ทม่ี ลี กั ษณะ เด่นคือ กระเทียมไร้กลิ่น ที่มีปริมาณอัลลิอินสูง กรณีกระเทียมมีกลิ่นลดลงจากการยับยั้ง การท�ำงานเอนไซม์อัลลิอิน ด้วยกระบวนการทรีตเม้นท์และได้ปริมาณสารอัลลิอินที่มี ปริมาณสูง พบว่ามีปริมาณอัลลิอินเท่ากับ ๘ - ๑๐ mg/g ประโยชน์ของสารอัลลิอิน ในกระเทียมจะให้ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระท่ีดี รวมถึงยังมีฤทธ์ิลดไขมัน ลดความดันโลหิตสูง อีกด้วย นอกจากนี้ อัลลิอินยังถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดได้เร็วกว่าอัลลิซินท่ีมักพบ ในผลิตภัณฑ์กระเทียมตามท้องตลาด หลังจากอัลลิอินถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดและไป ออกฤทธแิ์ ลว้ อลั ลิอินจะถูกขับออกจากรา่ งกายเรว็ กว่าอลั ลซิ นิ ยกย่องเชดิ ชูเกียรติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 357
รางวลั ผลงานประดษิ ฐ์คิดค้น ประจ�ำปี ๒๕๖๒ รางวลั ประกาศเกยี รตคิ ณุ เร่อื ง ระบบตรวจสอบและประมวลผลค่าดัชนีความขรุขระสากลและขอ้ มูลโครงสรา้ งพ้นื ฐาน จาก สำ� นกั งานคณะกรรมการวจิ ัยแห่งชาติ (วช.) รองศาสตราจารย์ ดร.ไพศาล สันติธรรมนนท์ ภาควิชาวศิ วกรรมส�ำรวจ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.วิศณุ ทรัพย์สมพล ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ 358 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรตบิ ุคลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
หน่วยงานภาครัฐ เช่น กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท รับผิดชอบการสร้างและบ�ำรุงรักษา ถนนร่วมกันกว่า ๑๐๐,๐๐๐ กิโลเมตร ซ่ึงการใช้แรงงานคนคอยตรวจวัดสภาพ และความเสียหาย ของถนนต้องใช้เวลาและค่าใช้จ่ายอย่างมาก อีกท้ังมาตรฐานการวัดความเสียหายท่ีได้จากผู้ตรวจวัด แต่ละคนมีความถูกต้องต่างกัน จึงจ�ำเป็นต้องมีอุปกรณ์ท่ีสามารถวัดความเสียหายของสภาพผิวถนน ที่เป็นมาตรฐานและเป็นที่ยอมรับ ซ่ึงค่าดัชนีความขรุขระสากลของผิวถนนเป็นตัวชี้วัดสภาพความ เสียหายที่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายและมีใช้เป็นข้อมูลประกอบในการจัดท�ำแผนงานบ�ำรุงรักษา ถนนในหลาย ๆ ประเทศ การพัฒนาเครื่องมือท่ีสามารถตรวจวัดสภาพผิวทางเพื่อให้ได้ดัชนีดังกล่าว จะสามารถช่วยลดเวลาและค่าใช้จ่ายให้แก่หน่วยงานทางถนนต่าง ๆ รวมทั้งเพ่ิมประสิทธิภาพในการบ�ำรุง รกั ษาสถาพทางให้อยใู่ นสภาพทีส่ มบูรณไ์ ด้ จึงเป็นทมี่ าของการพฒั นาระบบน ี้ ระบบตรวจสอบและประมวลผลค่าดัชนีความขรุขระสากลและข้อมูลโครงสร้างพ้ืนฐาน เกิดจาก การท�ำวจิ ัยร่วมกนั ระหวา่ ง กรมทางหลวงชนบท จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย และบริษทั อินฟรา พลัส จ�ำกดั โดยต้องการระบบส�ำรวจข้อมูลที่ไม่ต้องจัดซื้อระบบที่มีราคาสูงจากต่างประเทศ จึงได้เกิดการพัฒนาระบบ ส�ำรวจข้ึนโดยมีความ สามารถทัดเทียมกับอุปกรณ์ในต่างประเทศ พร้อมกับพัฒนาระบบให้รองรับอุปกรณ์ ทีจ่ ะเพ่ิมขึ้นในอนาคตได้ โดยปัจจุบันสามารถส�ำรวจ ค่าดัชนีความขรุขระสากล (IRI), บันทึกภาพทิวทัศน์เพื่อประเมินทรัพย์สิน เช่น ป้ายสัญลักษณ ์ จราจรต่าง ๆ โดยสามารถบันทกึ ไดท้ ั้งแบบปกตแิ ละแบบพาโนรามา, บนั ทกึ ภาพพน้ื ถนนดว้ ยกลอ้ งแบบเส้น (Line scan) เพอื่ ตรวจหารอยแตกบนพ้นื ผิวถนน, การวัดรศั มีความโคง้ ของถนนเพือ่ ตรวจสอบโค้งอันตราย คุณสมบัตแิ ละลกั ษณะเด่น • การพัฒนาเป็นการออกแบบใหม่เองทั้งระบบ • ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ประมวลผล ถูกออกแบบมาให้ยืดหยุ่นและรองรับการเพิ่มของอุปกรณ์ ต่าง ๆ เพื่อตอบโจทย์ เฉพาะตามความต้องการในประเทศ • สามารถหาอะไหล่ทดแทนได้ง่าย ไมผ่ ูกติดกบั ผู้ผลิตรายใดรายหนง่ึ • สามารถตดิ ต่อไดโ้ ดยตรงกับผ้พู ฒั นา ไมต่ อ้ งพ่งึ พาตา่ งประเทศ ชว่ ยใหม้ คี วามคลอ่ งตวั ในการบ�ำรงุ รักษา ประโยชน์ที่ไดร้ ับ (ในเชงิ ชมุ ชน สงั คม เชงิ พาณิชย์ เชงิ วชิ าการ หรือเชิงนโยบาย) ท�ำให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการบ�ำรุงรักษาผิวถนนสามารถเบิกงบไปบ�ำรุงรักษาได้อย่างเหมาะสม ทราบต�ำแหน่งที่มีความเสียหายและปริมาณงานที่ต้องท�ำ เน่ืองจากมีค่าดัชนีที่ได้มาตรฐานมายืนยันว่า สภาพทางสายใดที่อยู่ในเกณฑ์ต้องปรับปรุง ซึ่งเป็นคุโณปการอย่างใหญ่หลวงต่อผู้ใช้รถใช้ถนน ทั้งในด้าน ความสะดวกสบาย และความปลอดภัยต่อผู้ใช้ และปัจจุบันสามารถน�ำมาใช้เพื่อประเมินสภาพถนน ในการตรวจรบั งานการกอ่ สร้างถนนใหมว่ ่ามคี วามเรียบตามมาตรฐานหรือไม่ ยกย่องเชดิ ชูเกยี รตบิ ุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 359
รางวลั For Women in Science 2018 เร่ือง การศกึ ษาบทบาทของโปรตีน CAMSAP ตอ่ ความรุนแรงของเซลล์มะเร็งปอด สาขา วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ (Life sciences) จาก L’Oreal (Thailand)-UNESCO รองศาสตราจารย์ เภสชั กรหญิง ดร.วรษิ า พงศเ์ รขนานนท์ ภาควิชาเภสชั วทิ ยาและสรีรวิทยา คณะเภสชั ศาสตร์ 360 ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติบคุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
เป็นงานวิจัยเก่ียวกับการศึกษาชีววิทยาของเซลล์มะเร็งโดยสนใจเซลล์มะเร็งปอด เน่ืองจากมะเร็งปอดเป็นมะเร็งที่พบอันดับต้น ๆ ทั้งในประเทศไทยและท่ัวโลกซ่ึงมีอัตรา การเสยี ชวี ติ สงู ปจั จยั ทส่ี �ำคญั ทที่ ำ� ใหม้ ะเรง็ ปอดเปน็ สาเหตขุ องการเสยี ชวี ติ ของผปู ว่ ยมะเรง็ ได้เเก่ การแพร่กระจายของเซลล์มะเร็งและการดื้อต่อยาเคมีบ�ำบัด งานของดิฉันจึงสนใจ หากลไกของเซลล์มะเร็งปอดดังกล่าว โดยศึกษากลไกการท�ำงานของโปรตีน CAMSAPs ซึ่งเป็นโปรตีนท่ีเชื่อมต่อกับไมโครทูบูล เน่ืองจากไมโคทูบูลเป็นออร์แกเนลภายในเซลล์ นอกจากท�ำหน้าท่ีเป็นโครงร่างของเซลล์ ยังเก่ียวข้องกับการส่งถ่ายสัญญาณภายในเซลล์ เซลล์มะเร็งมีการท�ำงานของสัญญาณต่าง ๆ และการท�ำหน้าที่ของโปรตีน CAMSAPs ต่างไปจากเซลล์ปกติ งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยพ้ืนฐานด้านวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ เป็นการสร้างองคค์ วามรพู้ ื้นฐานใหม่ทางดา้ นชีววทิ ยาของเซลล์มะเร็ง หากเรามีความเข้าใจ พื้นฐานถึงกลไกระดับโมเลกุลของเซลล์มะเร็ง ก็จะสามารถน�ำไปสู่การหาโมเลกุลเป้าหมาย ของการออกฤทธิ์ของยาต้านมะเร็งได้ และน�ำไปสู่งานวิจัยต่อยอดในการค้นคว้าพัฒนา ยาต้านมะเรง็ ตอ่ ไป ยกย่องเชดิ ชูเกียรตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 361
รางวัล 2019 TRF-OHEC- Scopus Research Awards For New Schola ในสาขา Humanities & Social Sciences เร่ือง State-Community Property-Rights Sharing in Forests and Its Contributions to Environmental Outcomes: Evidence from Thailand’s Community Forestry ในวารสาร Journal of Development Economics (Vol. 138, pp. 261-273, May 2019) วารสารนานาชาตอิ นั ดับหนึ่ง (Top Field) ในสาขา Development Economics สาขา เศรษฐศาสตร์ จาก สำ� นักงานกองทนุ สนับสนุนการวิจยั (สกว.) ส�ำนกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา (สกอ.) สำ� นักพิมพ์ Elsevier ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธนั ยพร จันทร์กระจา่ ง คณะเศรษฐาสตร์ 362 ยกย่องเชิดชูเกยี รติบคุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
รางวัล 2019 TRF-OHEC- Scopus Research Awards For New Scholar ในสาขา Humanities & Social Sciences TRF-OHEC-Scopus Researcher Awards เปน็ รางวลั เชิดชูเกยี รตินกั วิจัยรนุ่ ใหม่ และนักวิจยั รุน่ กลางท่มี ผี ลงานวิจัยดเี ด่น ทีส่ นับสนุน โดยส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และส�ำนักพิมพ์ Elsevier ผู้จัดท�ำฐานข้อมูลวารสารวิชาการนานาชาติ Scopus เพื่อเป็น เกยี รตปิ ระวตั แิ กน่ กั วจิ ยั รนุ่ ใหมแ่ ละนกั วจิ ยั รนุ่ กลาง ทม่ี ผี ลงานจากโครงการวจิ ยั ทอ่ี ยรู่ ะหวา่ ง รับทุนของ สกว. หรือส้ินสุดโครงการแล้วไม่เกิน ๒ ปี อยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยมท้ังคุณภาพของ ผลงานวจิ ยั และผลกระทบตอ่ วงการวชิ าการและสงั คม เพอื่ ใหม้ กี ำ� ลงั ใจในการพฒั นางานวจิ ยั ท่ีมีคุณภาพสูงต่อไป และเป็นตัวอย่างท่ีดีแก่นักวิจัยผู้รับทุนในการพัฒนางานวิจัยที่ม ี คณุ ภาพสงู โดยรางวลั แบ่งออกเป็นสองรนุ่ รุ่นละ ๔ สาขา/รางวัล คือ Physical Sciences (Physics, Mathematics, Chemistry), Biological & Life Sciences (Including Biological Sciences, Agricultural Sciences, Health Sciences), Engineering & Multidisciplinary Technology (Including Chem. Eng.) แล้วก็ Humanities and Social Sciences โดยผลงานวิจัยดีเด่นของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธันยพร จันทร์กระจ่าง คือ State-Community Property-Rights Sharing in Forests and Its Contributions to Environmental Outcomes: Evidence from Thailand’s Community Forestry ในวารสาร Journal of Development Economics (Vol. 138, pp. 261-273, May 2019) ซึ่งเป็นวารสารนานาชาติอันดับหนึ่ง (top field) ในสาขา Development Economics ยกย่องเชิดชเู กยี รติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 363
รางวัล ผลงานวิจัยดีเด่น 2019 TRF-OHEC-Scopus Research Awards For Mid-career Scholar เรื่อง กลไกเชงิ โมเลกลุ ในการควบคมุ เซลลม์ ะเรง็ ตน้ กำ� เนดิ เพอื่ พฒั นาและการวจิ ยั ยารกั ษามะเรง็ จากสมนุ ไพร สาขา Biological & Life Sciences จาก สำ� นกั งานกองทุนสนบั สนนุ การวิจยั (สกว.) และส�ำนักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา (สกอ.) สำ� นักพิมพ์ Elsevier รองศาสตราจารย์ เภสชั กร ดร.ปติ ิ จันทร์วรโชต ิ ภาควิชาภาควิชาเภสัชวิทยาและสรรี วทิ ยา คณะเภสัชศาสตร์ 364 ยกย่องเชดิ ชูเกยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
การควบคมุ เซลล์มะเร็งตน้ กำ� เนิดเพอ่ื พัฒนายาจากกล้วยไม-้ ฟองนำ้� ทะเล The regulation of cancer stem cells for drug developing from orchids and sponges มะเร็งเป็นปัญหาทางสาธารณสุขส�ำคัญที่ก่อให้ความเสียหายอย่างรุนแรงทางด้านสุขภาพ สังคม และเศรษฐกิจ ซ่ึงส่งผลทั้งตัวผู้ป่วยรวมถึงครอบครัว สังคม และประเทศชาติ จึงมีความ จ�ำเป็นเร่งด่วนในการเข้าใจถึงกลไกระดับโมเลกุลเพื่อพัฒนาวิธีการป้องกันและวิธีการรักษาที่มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เซลล์มะเร็งต้นก�ำเนิดเป็นกลุ่มเซลล์ท่ีมีคุณสมบัติคล้ายเซลล์ต้นก�ำเนิด พบได้ในก้อนมะเร็งมีความส�ำคัญในการก่อโรคมะเร็ง การลุกลามและการแพร่กระจายของเซลล์ มะเรง็ การดอื้ ยาและการกลบั เปน็ ซำ้� ปจั จบุ นั องคค์ วามรทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั กลไกการควบคมุ ความเปน็ เซลล์มะเร็งตน้ กำ� เนิดยงั มจี �ำกัด จึงเป็นอุปสรรคส�ำคัญต่อการรักษามะเรง็ ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ รองศาสตราจารย์ เภสัชกร ดร.ปิติ จันทร์วรโชติ ภาควิชาเภสัชวิทยาและสรีรวิทยา คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้ศึกษากลไกและปัจจัยท่ีมีผลต่อการควบคุม จ�ำนวนและคุณสมบัติต่าง ๆ ของเซลล์มะเร็งต้นก�ำเนิด ซึ่งน�ำไปสู่การค้นพบกลไกและเป้าหมาย ของยารกั ษาโรคมะเรง็ ใหม่ ๆ ครอบคลมุ ไปถงึ การคน้ ควา้ พฒั นายาตา้ นมะเรง็ จากสารสำ� คญั ทแ่ี ยก ได้จากสมุนไพรไทย ซ่ึงมีฤทธิ์ยับย้ังเซลล์มะเร็งต้นก�ำเนิดและการแพร่กระจายของเซลล์มะเร็ง อนั จะสามารถพัฒนาไปสูก่ ารรักษาโรคมะเรง็ ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพมากข้นึ ภายใต้การสนับสนนุ ทนุ วิจัยจากฝ่ายวชิ าการ สกว. ยกย่องเชิดชูเกยี รติบคุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 365
รางวลั ชนะเลศิ Thailand Green Design Award ประเภทผลิตภณั ฑ์ท่ีชว่ ยยกระดับคณุ ภาพ การใชช้ วี ติ (Life Enhancement) เรอ่ื ง Slot (chalk it all) จาก สถาบนั ค้นควา้ และพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอตุ สาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรเทพ เลศิ เทวศริ ิ ภาควชิ าศิลปะ ดนตรแี ละนาฏศลิ ป์ศึกษา คณะครศุ าสตร์ 366 ยกย่องเชิดชเู กยี รตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
พรเทพ เลิศเทวศิริ ผลงานการออกแบบผลิตภัณฑ์ Slot (chalk it all) รางวัล ชนะเลิศ จากการประกวดผลิตภัณฑท์ ่ีเปน็ มติ รตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม Thailand Green Design Awards 2019 ผลงานประเภทที่ช่วยยกระดับคุณภาพการใช้ชีวิต (Life Enhancement) จัดโดย สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ บทสรปุ ผลงานออกแบบ Slot (chalk it all) สามารถให้เด็กปฐมวัยวาดภาพด้วย dustless chalk บนตัวของเล่นที่เป็นรูปร่าง ของสัตว์ตามจินตนาการของเด็ก ใช้วิธีการการประกอบโครงสร้างด้วย slot and latch taper lock .ใช้วธิ ีการประกอบพร้อมกัน ด้วย Taper lock และระบบลิน้ และรอ่ งรางลน้ิ ซึ่งไม่ต้องใช้ screw nail หรือ fastener จึงท�ำให้ต้นทุนต่�ำ และสะดวกในการผลิตด้วย Laser CNC ซึ่งมีความแม่นย�ำ และลดการใช้แรงงานและทักษะการท�ำงานของคนในการ ผลติ ชนิ้ งาน จึงสง่ ผลใหต้ ้นทนุ การผลิตต่ำ� แตม่ คี วามเที่ยง แมน่ ย�ำสงู สดุ ด้วยระบบการล๊อกโครงสร้างกล่อง เป็นระบบที่แปลกใหม่และมีความแข็งแรง และมี เอกลักษณ์ในการออกแบบ จึงด�ำเนินการจดอนุสิทธิบัตรการประดิษฐ์ เลขที่ค�ำขอ ๑๗๐๓๐๐๑๑๕๔ และสิทธิบัตรการออกแบบผลติ ภณั ฑแ์ ลว้ เลขท่คี �ำขอ ๑๙๐๒๐๐๐๗๒๗ นอกจากน้ีเด็กปฐมวัยยังสามารถตกแต่งพ้ืนผิวกระดาน โดยการวาด ระบายสีชอล์กลงบน ของเล่น เพราะพ้ืนผิวของเล่นท�ำ finishing ด้วยสีพ่นกระดานเขียวสามารถลบออก หรือ อาจใช้ ชอลก์ ไรผ้ นุ่ กไ็ ด้ เป็นการสนับสนุนแนวคดิ ของ waldolf ในการสง่ เสรมิ จินตนภาพ ของเด็กตามการรบั รูแ้ ละศักยภาพของพวกเขา ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 367
รางวัล ถว้ ยรางวัลพระราชทานสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประเภทผลิตภณั ฑน์ วตั กรรมจากขา้ วไทย ผลงานวิจยั นวตั กรรมท่ีไม่ใชอ่ าหาร เรอื่ ง ไบทบ์ สู เตอร์ : หน่งึ คำ� น้อย ร้อยความสำ� เรจ็ ในฟาร์ม สาขา Non-food product, Product concept จาก กรมการคา้ ตา่ งประเทศ กระทรวงพาณชิ ย์ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะศกั ดิ์ ชอุ่มพฤกษ์ ภาควชิ าพฤกษศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตร์ 368 ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
Piglet losses during early postnatal are a major concern in pig farm. Piglets are very vulnerable at birth and hypothermia. Crushing, starvation and chilling are usually identified as the main causes of death in a few days after birth. One of the main pre-disposing risk factors for piglet mortality is energy insufficiency. Colostrum provides energy essential for thermoregulation and to prevent hypothermia in piglets. The energy demand of piglets in the first day postnatal can be met through external energy and/or other nutrients supplement source. Consequently, energy supplementation is implement to provide energy to neonatal piglets as well as to improve their colostrum intake afterward. Energy supplement plays an essential role in piglet survival and reduces mortality rate. Thus, better quality of energy and other advantageous nutrients supplementations are required. In this invention, mixtures of energy and other nutrients source was formulated in supplemented bar, BiteBooster. BiteBooster is a unique and innovative supplements based on selective fatty acid, chitosan oligosaccharide (COS) and amino acids capturing in mesoporous materials. First, the releasing saturated fatty acid with medium chain molecules provide the main energy source. Second, the COS, a biomaterial derived from chitin, absorbing to intestinal epithelia without degradation, enhance crucial biological activities including intestinal epithelial function and immune function. Third, L-carnitine, involving in the oxidation of fatty acids, strenghtens fatty acid oxidation, releasing more energy for piglets to eat colostrum and survive. From the field trial, the results demonstrated that supplementation of BiteBooster in day 1 piglets had significantly decrease piglet mortality at day 4 after birth (from 5.1% to 2.3%) and at weaning (from 9.2% to 3.5%). If we calculated on the return on investment (ROI), BBooster supplementation has higher ROI than the control group 5 times. Keywords: Chitosan oligosaccharide, Energy supplement, Piglets, Survival ยกย่องเชดิ ชเู กยี รติบคุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 369
โครงการวจิ ยั เรอื่ ง “แนวทางการปฏริ ปู ภาษเี งนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดาและวเิ คราะหก์ ารกระจายรายไดข้ องผมู้ เี งนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ ” จุดเด่นของผลงานวิจัยนี้คือ นับเป็นคร้ังแรกที่สถาบันวิจัยนอกกระทรวงการคลังได้ใช้ข้อมูลปฐมภูมิจากแบบย่ืนภาษี ภ.ง.ด. ๙๐ และ ภ.ง.ด. ๙๑ ซ่งึ ได้รบั การอนเุ คราะหจ์ ากกรมสรรพากร เพ่ือน�ำมาประกอบการศึกษาให้เห็นภาพการทำ� งานของ ระบบภาษเี งนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดาอยา่ งแจม่ ชดั รวมทงั้ จดุ แขง็ จดุ ออ่ นของระบบ โดยเปรยี บเทยี บกบั แหลง่ ขอ้ มลู และประสบการณ์ ของประเทศอนื่ ผลการวิจัยมขี อ้ คน้ พบส�ำคญั ดงั ตอ่ ไปนี้ กรมสรรพากรประสบความสำ� เรจ็ สงู ในการบรหิ ารการจัดเกบ็ ภาษีเงินไดป้ ระเภทเงนิ เดือนประจำ� แตก่ ารเก็บภาษเี งนิ ได ้ ทเ่ี กิดจากทรพั ยส์ นิ และการประกอบธุรกิจของบุคคลธรรมดาน้ัน ยงั เกบ็ ได้ตำ�่ กวา่ ที่ควร ระบบภาษจี ึงยังไมเ่ ปน็ ธรรม ทงั้ น้ี การ จัดเก็บภาษีเงนิ ได้บคุ คลธรรมดามีรูปแบบท่ีหลายหลาก (multiple tax system) ยังขาดการจดั เก็บภาษีเงินได้จากหลายแหลง่ แบบบูรณาการ เพ่อื ค�ำนวณภาษี ในอัตราเดียวกนั ตามขัน้ เงนิ ไดส้ ุทธิ แตร่ ะบบของไทยเปน็ แบบแยกสว่ น จงึ เกดิ ความลกั ลน่ั ใน การคดิ คำ� นวณและการจัดเกบ็ ภาษีจากเงินไดป้ ระเภทตา่ ง ๆ การบรรเทาภาระภาษขี องบคุ คลธรรมดาโดยการยกเวน้ การหกั คา่ ใชจ้ า่ ย และการลดหยอ่ นเงนิ ไดท้ ม่ี หี ลากหลายรปู แบบ สง่ ผลใหร้ ายรบั ภาษลี ดต�่ำลงไป และมาตรการลดหยอ่ นต่าง ๆ ท่ีผา่ นมา ยงั เอ้ือประโยชน์ใหก้ ลมุ่ ตา่ ง ๆ ไมท่ ดั เทยี มกนั จงึ เปน็ อีกหนึ่งตัวชี้ของความไม่เป็นธรรมของระบบ PIT ในปัจจบุ นั ผเู้ สียภาษีจรงิ มีไมถ่ งึ รอ้ ยละ ๑๐ ของประชากรในวัยท�ำงาน ฃงึ่ ใน ด้านน้ีมีสองประเด็นที่ต้องพิจารณาและมีการปฏิรูปต่อไป หน่ึงคือจุดอ่อนอันเกิดจากกฎหมายและระเบียบ เช่น การยกเว้น รายได้ส�ำคัญบางประเภท การเก็บภาษีหัก ณ ท่ีจ่ายในอัตราต�่ำ และการหักค่าใช้จ่ายแบบเหมา สอง คือ การที่กลุ่มต่าง ๆ สามารถหลีกเล่ียงภาษอี ย่างกว้างขวาง รวมทงั้ การไมก่ รอกแบบภาษอี ยา่ งสนิ้ เชิงแมว้ า่ จะมีรายไดใ้ นระดบั ดี ระบบภาษี PIT ของไทยมีลกั ษณะก้าวหน้า (progressive) แต่ยงั ครอบคลุมเงินไดไ้ มค่ รบทกุ ประเภท ความก้าวหนา้ ของ ภาษีทก่ี ล่าวถงึ น้ี จงึ ไมไ่ ด้ลดความเหล่ือมล�้ำของทัง้ ประเทศมากนกั ประเทศทร่ี ายรบั PIT สงู มกั ใชร้ ะบบภาษแี บบบรู ณาการเปน็ หลกั และสว่ นมากมคี วามเสมอภาคดา้ นรายไดส้ ว่ นประเทศ สมาชิกอาเซียนมีระบบ PIT ท่ีใกล้เคียงกัน โดยประชาชนจ�ำนวนมากไม่ด้องเสีย PIT ระบบเป็นแบบแยกส่วน และภาษี PIT ที่จัดเก็บได้ต�่ำกว่าท่ีควร ประเทศที่มีรายรับ PIT สูงน้ัน อาศัยความร่วมมือของประชาชนส่วนใหญ่ท่ีเห็นประโยชน์และเช่ือว่า ระบบภาษีเปน็ ธรรม และหากการเมอื งและการบริหารภาครัฐไดไ้ ปถงึ จดุ นี้แลว้ จะเปน็ ประโยชน์อยา่ งมากต่อการพฒั นาสงั คม และเศรษฐกิจของประเทศ และท�ำให้สรรพากรสามารถตรวจสอบการรายงานรายได้ และด�ำเนินการลงโทษผู้ท่ีหลีกเล่ียงหรือ รายงานเท็จได้อย่างแน่นอน ภาวะโลกาภิวัตนท์ ำ� ให้บุคคลบางกลุม่ โยกย้ายไปรับเงนิ ได้ในประเทศอนื่ ๆ ทไ่ี ม่ต้องเสยี ภาษหี รอื เสยี นอ้ ย ประเทศใหญ่ ท่ัวโลกจึงได้ตกลงร่วมกันสร้างระบบเพื่อลดปัญหาดังกล่าวนี้ โดยการแลกเปล่ียนข้อมูลผู้เสียภาษี ภายใต้หลักการที่ว่า ผู้มีรายได้ควรเสียภาษี ณ ประเทศท่ีพ�ำนักอาศัย (tax residence) บนฐานรายได้ที่ได้รับท่ัวโลก (worldwide income) ประเทศไทยได้เข้าเปน็ สมาชิกลำ� ดับท่ี ๑๓๙ ของ Global Forum เพือ่ ด�ำเนินการในเร่ืองน้ตี ่อไป กรมสรรพากรไดด้ ำ� เนนิ การหลายเรือ่ งเพ่อื ใหร้ ะบบ PIT ของไทยมคี วามเป็นธรรมมากขน้ึ ในการพจิ ารณาระเบยี บและ ขอ้ ก�ำหนดต่างๆ เกี่ยวกับการหักค่าใช้จ่ายและคา่ ลดหยอ่ น กรมฯอาจใชแ้ บบจำ� ลอง (microsimulation model) เพอื่ ประเมิน ผลกระทบท่ีมีต่อเงินได้และพฤติกรรมของกลุ่มผู้เสียภาษีต่าง ๆ และจัดท�ำข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่รัฐบาลและประชาชน ในการเข้าใจทางเลือกด้านนโยบายภาษี การปรบั ระบบภาษเี งนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดาใหค้ รอบคลมุ ผทู้ ค่ี วรเขา้ มาในระบบและรายไดจ้ ากทรพั ยส์ นิ ทกุ ประเภทใหท้ วั่ ถงึ มากกวา่ ทเ่ี ปน็ อยเู่ พอื่ ความเปน็ ธรรมเปน็ เรอื่ งจำ� เปน็ โดยจะชว่ ยสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารยนิ ยอมเสยี ภาษี ไทยจะตอ้ งรว่ มมอื กบั ประเทศ ในกลมุ่ อาเซยี นและประเทศอนื่ ๆ ทว่ั โลก เพอ่ื เลยี่ งการแขง่ กนั ลดภาษี และเพอื่ ชว่ ยกนั ปรบั ปรงุ ระบบ PIT โดยการใชเ้ ทคโนโลยี เช่ือมระบบข้อมูลรายได้และรหัสผู้เสียภาษี เพื่อการค�ำนวณภาษี ณ ประเทศที่พ�ำนักอาศัยบนฐานรายได้ที่ผู้เสียภาษีได้รับ ทว่ั โลก การทก่ี รมสรรพากรใหค้ วามอนเุ คราะหข์ อ้ มลู ปฐมภมู ดิ า้ นภาษใี หแ้ กน่ กั วจิ ยั เปน็ เรอื่ งทดี่ ี ผลงานวจิ ยั เปน็ ประโยชนต์ อ่ การ ทำ� งานของกรมสรรพากร ตอ่ การเรยี นร้ขู องประชาชนท่วั ไปทจี่ ะไดร้ ับรถู้ งึ การท�ำงานส�ำคัญของกรมกรมฯ ได้เขา้ ใจระบบภาษี และมีความยนิ ยอมเสียภาษมี ากขึ้น จงึ ควรเปิดเผยข้อมูลตอ่ ไปอยา่ งต่อเนือ่ ง 370 ยกย่องเชดิ ชูเกยี รตบิ ุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
รางวลั ผลงานวจิ ยั ดเี ด่น ด้านสงั คมศาสตร์ ประจ�ำปี ๒๕๖๑ เรือ่ ง แนวทางการปฏริ ปู ภาษเี งนิ ได้ บคุ คลธรรมดา และวเิ คราะหก์ ารกระจาย รายไดข้ องผมู้ เี งนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ สาขา เศรษฐศาสตร์ จาก สมาคมสงั คมศาสตรแ์ ห่งประเทศไทย ศาสตราจารย์กิตตคิ ณุ ดร.ผาสกุ พงษ์ไพจติ ร คณะเศรษฐาสตร์ ยกย่องเชดิ ชเู กียรตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 371
รางวลั ชนะเลิศนวัตกรรม Start up เรอื่ ง ผลิตภัณฑน์ วตั กรรม ใบกะเพรา เดนทลั แคร์ (Bai Ka-Pow dental care) : เจลปรบั สภาพผิวฟัน ชว่ ยลดอาการเสียวฟนั จากฟนั สึก เนื่องจากการแปรงฟัน การทานอาหารและเครอ่ื งด่ืมทม่ี ีรสเปร๊ียว และจากการฟอกสีฟันทม่ี ากเกิน จาก Houston Technology Center (HTC ASIA) บริษทั เอสซีจีเคมคิ อลส์ จำ� กัด (SCG Chemicals), บรษิ ทั เคเอก๊ ซค์ อนซลั ตง้ิ เอนเตอรไ์ พรซ์ จำ� กดั (KCE) ภายใตม้ หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี สถาบันบณั ฑิตบรหิ ารธรุ กจิ ศศินทร์แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั , และศูนยค์ วามเปน็ เลิศ ดา้ นชีววิทยาศาสตร์ กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ในงาน SPRINT Batch 2 DEMO DAY ศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ ดร.พสุธา ธัญญะกจิ ไพศาล และคณะ หลักสูตรสหสาขาทันตชีววัสดศุ าสตร์ บัณฑิตวิทยาลยั 372 ยกย่องเชิดชเู กยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
เจลปรับสภาพผวิ ฟัน : ใบกะเพรา เดนทัลแคร์ (Bai Ka-Pow dental care) เป็น นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ทันตกรรมเพื่อตอบโจทย์ปัญหากลุ่มเป้าหมายวัยท�ำงานและผู้สูงอาย ุ ทม่ี อี าการเสยี วฟนั เนอื่ งจากการฟอกสฟี นั มากเกนิ จนผวิ ฟนั เปราะบาง การแปรงฟนั ทผี่ ดิ วธิ ี หรือรุนแรงจนคอฟันสึก ตะขอฟันปลอมขูดฟัน การทานอาหารหรือเคร่ืองด่ืมที่มีรสเปรี้ยว จัดเปน็ ระยะเวลานาน ทำ� ใหท้ อ่ เปดิ เน้ือฟัน (dentinal tubule) ทอ่ี ยู่ในเนอื้ ฟนั และมเี สน้ ประสาทอยู่ได้สัมผัสกับน้�ำลาย แบคทีเรีย รวมทั้งอาหารและเคร่ืองดื่มร้อนเย็นหรือเปร้ียว ในภาวะทรี่ บี เรง่ และเหตผุ ลบางประการทำ� ใหไ้ มส่ ามารถมาพบทนั ตแพทยเ์ พอื่ รบั การวนิ จิ ฉยั หรือรักษาได้ทันที หรือมีการสึกของผิวฟันที่น้อยและไม่เหมาะต่อการกรออุดฟัน อีกท้ัง อาการเสียวฟันอาจไม่รุนแรงและไม่ต่อเน่ือง ท�ำให้ผลิตภัณฑ์ที่ช่วยบรรเทาอาการเสียวฟัน จึงอาจตอบโจทย์ความต้องการน้ี โดยปัญหาดังกล่าวท�ำให้เกิดจากการวิจัยพัฒนาของ กลุ่ม 4Ds project ซึ่งเป็นความร่วมมือของคณาจารย์สายวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ การแพทย์ ได้แก่ คณะวิทยาศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ และคณะ ทนั ตแพทยศาสตร์ ภายใตก้ ารดแู ลของหลกั สตู รสหสาขาทนั ตชวี วสั ดศุ าสตร์ บณั ฑติ วทิ ยาลยั โดยพัฒนาต่อยอด จาก “เจลป้องกันการท�ำลายผิวฟันจากกรดคลอรีน ใบกะเพราสวิมมิ่ง แคร์ (Bai Ka-Pow swimming care)” ซึ่งทำ� ไวส้ �ำหรบั นักกีฬาว่ายน้�ำ นกั กีฬาระบำ� ใต้น�ำ้ นกั กฬี าโปโลนำ�้ และผชู้ นื่ ชอบการวา่ ยนำ�้ เพอื่ ออกกำ� ลงั กาย ทต่ี อ้ งสมั ผสั กบั กรดคลอรนี ทใ่ี ส่ ฆ่าเช้ือในสระว่ายน้�ำเป็นระยะเวลานานและติดต่อกัน ให้มีความเหมาะสมกับการใช้งานใน ภาวะดังกล่าว โดยพัฒนามาเป็น “ใบกะเพรา เดนทัลแคร์ (Bai Ka-Pow dental care)” สำ� หรบั ผสู้ นใจ สามารถคน้ หาขอ้ มูลเพิม่ เติมไดจ้ ากเฟสบุ๊ค bai ka-pow dental care หรือ bai ka-pow swimming care หรือโอสถศาลา คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย * ความไวและความรนุ แรงของอาการเสียวฟัน อาจแตกตา่ งกนั ในแตล่ ะบคุ คล ** การวนิ จิ ฉยั และการรกั ษาฟนั สกึ หรอื อาการเสยี วฟนั ขนึ้ อยกู่ บั ปจั จยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งและ อาจแตกต่างกันในแต่ละกรณี *** เมื่อเกิดอาการเสียวฟัน ควรปรึกษาทันตแพทย์ เพื่อรับค�ำแนะน�ำและการตรวจ วินิจฉยั ทีถ่ กู ต้อง ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติบคุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 373
รางวัล Honorable Research Award เรือ่ ง High carriage rate of third-generation cephalosporin-resistant Escherichia coli and Klebsiella pneumoniae in hospitalized dogs and environment in an intensive care unit (Poster presentation) จาก The Veterinary Practitioner Association of Thailand ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์ ดร.ภัทรรัฐ จันทร์ฉายทอง ภาควชิ าจุลชีววิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ 374 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
การศึกษาในครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาสุนัขท่ีเป็นพาหะของเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli และ Klebsiella pneumoniae ที่ด้ือยาปฏิชีวนะในกลุ่ม third- generation cephalosporins ในสุนัขในท่ีเป็นพาหะและสิ่งแวดล้อมในหน่วยสัตว์ป่วย วิกฤติโดยจากการศึกษาตัวอย่างอุจจาระในสุนัข ๕๐ ตัวพบว่า ๔๒ ตัว หรือเทียบเท่า ๘๔ เปอรเ์ ซ็นตเ์ ป็นพาหะของเชือ้ E. coli และ ๗ ตัว หรือเทียบเท่า ๑๔ เปอรเ์ ซ็นตเ์ ปน็ พาหะของเช้ือ K. pneumoniae โดยท�ำการเก็บตัวอย่างอุจจาระในสุนัขและสิ่งแวดล้อม อันได้แก่ กรง โต๊ะตรวจ และบริเวณที่สามารถสัมผัสด้วยมือ (hand-touch surface) พบวา่ มสี นุ ขั จำ� นวน ๔ ตวั จาก ๓๐ ตวั ทพี่ บวา่ มภี าวะการตดิ เชอื้ E. coli และ K. pneumoniae ท่ีด้ือต่อกลุ่มยา third-generation cephalosporins ท่ีระบบทางเดินปัสสาวะซ่ึงเป็น ผลมาจากการสวนท่อปัสสาวะ และยังพบการดื้อยาปฏิชีวนะอย่างน้อย ๓ กลุ่มจาก ทุกตัวอย่าง โดยท่ีพบยีน blaCTX-M ในตัวอย่างถึง ๓๗ ตัวอย่างจาก ๕๓ ตัวอย่าง และตวั อย่าง ๑๐ ตัวอย่างจาก ๒๐ ตวั อยา่ งจากสุนขั และสงิ่ แวดล้อมตามล�ำดบั ซง่ึ การแพร่ กระจายของเชื้อ E. coli และ K. pneumoniae ที่ด้ือตอ่ กลุ่มยากลุ่ม third-generation cephalosporins ในหน่วยสัตว์ป่วยวิกฤติน้ันเป็นปัจจัยเสี่ยงจากการปนเปื้อนท�ำให้เกิด การตดิ ต่อในสนุ ขั ทอี่ ยูใ่ นภายในโรงพยาบาล อีกทัง้ สนุ ขั ทอ่ี อกจากโรงพยาบาลแลว้ สามารถ แพร่กระจายเช้ือออกไปได้อีกด้วย ดังน้ันสัตวแพทย์ควรตระหนักถึงการใช้ยาต้านจุลชีพ การควบคมุ การตดิ เชอื้ และการรกั ษาสขุ ศาสตร์ เพอ่ื จำ� กดั การแพรก่ ระจายของเชอื้ ดอ้ื ยา ยกย่องเชิดชูเกยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 375
รางวัล JMTAT Research Highlight Award เร่ือง Effect of Quercetin on inhibition of Acute Myeloid Leukemia (AML) cells สาขา โลหติ วิทยา จาก สมาคมเทคนิคการแพทยแ์ ห่งประเทศไทยในพระอปุ ถัมภพ์ ระเจา้ วรวงศ์เธอ พระองค์เจา้ โสมสวล ี พระวรราชาทินดั ดามาตุ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุพันธติ รา ชาญประเสรฐิ ภาควชิ าจุลทรรศน์ศาสตรค์ ลนิ กิ คณะสหเวชศาสตร์ 376 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาบทบาทของเคอร์เซตินในการต้านเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาว ชนิดเฉียบพลันแบบมัยอีลอย (AML) พบว่า เคอร์เซตินซึ่งเป็นสารฟลาโวนอยด์มีฤทธ์ิ ในการยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวเพาะเล้ียงชนิด U937 และ มีฤทธ์ิ ในการเหน่ียวน�ำให้เกิดการลดลงร้อยละของการมีชีวิตรอดของเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาว นอกจากน้ียังพบวา่ การเพาะเล้ยี งเซลล์ดว้ ยเคอร์เซตินร่วมกับ 3-Methyladenine (3-MA) ซ่ึงเป็นสารยับยั้งกระบวนการออโตฟาจี (Autophagy) ส่งผลท�ำให้เกิดการเสริมฤทธ ิ์ ในการชักน�ำให้เกิดการลดลงของร้อยละของการมีชีวิตรอดของเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาว เพาะเล้ียงอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p < 0.001) เม่ือเทียบกับผลการทดลองในกลุ่มท ่ี บ่มเพาะกับการเคอร์เซตนิ ในภาวะทีไ่ มม่ ี 3-MA โดย 3-MA จะออกฤทธิผ์ า่ นทางการยับย้งั class III phosphatidylinositol 3-kinases (Class III PI3K) ซึ่งเปน็ โมเลกุลทีส่ �ำคัญในการ เกิดกระบวนการออโตฟาจี ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการยับยั้งกระบวนการออโตฟาจีอาจเป็น กลไกใหม่ที่เป็นอีกทางเลือกหน่ึงในการเพ่ิมประสิทธิภาพการต้านเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาว ได้ งานวจิ ยั นแี้ สดงถงึ องคค์ วามรใู้ หมเ่ กย่ี วกบั บทบาทของเคอรเ์ ซตนิ ในการยบั ยงั้ เซลลม์ ะเรง็ เมด็ เลอื ดขาวชนิดเฉียบพลนั แบบมยั อลี อยดโ์ ดยเฉพาะเมือ่ ใชร้ ว่ มกับสารยบั ยงั้ กระบวนการ ออโตฟาจซี ่ึงอาจพัฒนาและนำ� ไปใชใ้ นการร่วมรกั ษาโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวในอนาคต ยกยอ่ งเชิดชูเกียรติบคุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 377
รางวลั ชนะเลศิ อนั ดบั ๑ ประเภท Clinical research การน�ำเสนอผลงานวจิ ยั ประเภทโปสเตอร์ ในการประชมุ วิชาการประจ�ำปี ๒๕๖๒ ครัง้ ท่ี ๘ เรอื่ ง Effects of Cognitive Rehabilitation Train in Elderly with Mild Cognitive Impairment สาขา จิตเวชและประสาทวทิ ยา จาก สมาคมสมองเสอ่ื มแห่งประเทศไทย อาจารย์ นายแพทยด์ ารุจ อนวิ รรตนพงศ ์ ภาควิชาจติ เวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ 378 ยกย่องเชิดชเู กียรตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ประวตั กิ ารศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๓๙ โรงเรยี นสมถวลิ ราชด�ำริ พ.ศ. ๒๕๔๒ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ พ.ศ. ๒๕๔๕ โรงเรยี นเตรียมอดุ มศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๑ แพทยศาสตรบัณฑิต ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหดิ ล พ.ศ. ๒๕๕๗ วุฒบิ ตั รผเู้ ช่ยี วชาญสาขาจติ เวชศาสตร์ แพทยสภา ประกาศนยี บตั รบณั ฑติ ชน้ั สงู ทางวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย ์ สาขาจติ เวชศาสตร์ ท่ัวไป ประวตั กิ ารทำ� งาน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ แพทยป์ ระจ�ำโรงพยาบาลศูนยส์ รุ าษฎรธ์ านี พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๕๔ แพทย์ประจ�ำโรงพยาบาลทา่ ชนะ พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๖ แพทยป์ ระจ�ำบา้ น สาขาจติ เวชศาสตร์ โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๗ อาจารยพ์ เิ ศษและนกั วจิ ยั ฝา่ ยจติ เวชศาสตร์ โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๘ - ปัจจุบัน อาจารยแ์ พทยป์ ระจำ� สาขาจิตเวชศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ แพทย์ประจ�ำคลนิ กิ โรคสมองเสอ่ื ม โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ แพทย์ประจ�ำศูนยฝ์ ีกสมอง ตึกส.ธ. โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ ์ ข้อมลู ผลงานวิจยั เดน่ ๑. Effects of Cognitive Rehabilitation Training in Elderly with Mild Cognitive Impairment ข้อมลู รางวัล อาจารย์ นายแพทย์ดารุจ อนิวรรตนพงศ์ ได้รับรางวัลชนะเลิศ อันดับ ๑ ประเภท Clinical research การน�ำเสนอผลงานวิจัยประเภทโปสเตอร์ในการประชุมวิชาการ ประจ�ำปี ๒๕๖๒ ครั้งท่ี ๘ สมาคมสมองเสื่อมแห่งประเทศไทย ในวันท่ี ๗ มิถุนายน ๒๕๖๒ ยกย่องเชิดชเู กียรติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 379
รางวลั ผลงานวชิ าการโรคเลปโตไปโรสสิ ดีเดน่ เรอื่ ง การใหว้ ัคซีนชนดิ ซบั ยนู ิต LigAc รว่ มกบั แอดจแู วนท์ LMQ ทางกลา้ มเนอ้ื ป้องกันพยาธสิ ภาพท่ไี ต ของแฮมสเตอรท์ ่ีตดิ เชื้อเลปโตสไปราสายพนั ธุก์ อ่ โรค จาก ชมรมเลปโตสไปโรสิสแห่งประเทศไทย กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ รองศาสตราจารย์ ดร. แพทยห์ ญงิ กนิษฐา ภัทรกุล ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ 380 ยกย่องเชดิ ชูเกียรติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
รองศาสตราจารย์ ดร.แพทย์หญิงกนิษฐา ภัทรกุล มีความสนใจในการท�ำวิจัยในด้าน ต่าง ๆ เกี่ยวกับโรคเลปโตสไปโรซิสซ่ึงเป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คนท่ีพบมากที่สุดและเป็น ปัญหาสาธารณสุขที่ส�ำคัญของประเทศไทย ในปัจจุบันปัญหาหลักของโรคเลปโตสไปโรซิส คือ การวินิจฉัยโรคตั้งแต่ระยะเริ่มต้นและวัคซีนป้องกันโรคท่ีมีประสิทธิภาพในคน ดังนั้น การวิจัยจงึ มุ่งเนน้ ไปยังหัวขอ้ ดังต่อไปน้ี ๑. การพัฒนาการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สามารถใช้ ณ จุดดูแลผู้ป่วยเพื่อให้ วินจิ ฉยั ไดง้ ่ายและรวดเรว็ โดยไมต่ อ้ งอาศัยเครือ่ งมือข้นั สงู และราคาแพง : พตั นาชุดตรวจ โรคโดยใชอ้ นภุ าคทองคำ� นาโน และ biosensors ๒. การศึกษาพยาธิก�ำเนิดของโรคเลปโตสไปโรซิส: การค้นหาและศึกษาหน้าท่ีของ โปรตีนทผ่ี นังเซลล์ของเชื้อเลปโตสไปราซง่ึ อาจมีศักยภาพในการนำ� ไปผลิตเปน็ วัคซนี ๓. การพฒั นาวคั ซนี สำ� หรบั ปอ้ งกนั โรคเลปโตสไปโรซสิ และการทดสอบในสตั วท์ ดลอง แบบจ�ำลอง : ดีเอ็นเอวัคซีนและซับยูนิตวัคซีน (รีคอมบีแนนท์โปรตีน) โดยให้ร่วมกับ adjuvant ชนดิ ตา่ ง ๆ กลุ่มผู้วิจัยของเราเป็นความร่วมมือระหว่างนักวิจัยจากสถาบันทั้งในและต่างประเทศ ท่ีมคี วามเช่ยี วชาญในด้านต่าง ๆ เช่น แบคทเี รยี วทิ ยาทางการแพทย์ อณชู ีวโมเลกุล ชวี เคมี ภูมิคุ้มกันวิทยา พยาธิวิทยา วิศวกรรมปิโตรเคมี วิศวกรรมชีวเคมี และสัตวแพทยศาสตร์ เทคโนโลยีทีใ่ ช้ในโครงการวจิ ยั ต่าง ๆ มีหลากหลาย ได้แก่ การสกัดดีเอน็ เอและอาร์เอน็ เอ เทคนิค PCR และ real-time PCR การสร้างและสกัดรีคอมบีแนนท์โปรตีน การสร้าง และสกดั แอนตบิ อดี เทคนคิ ELISA การแยกและตรวจหาโปรตีนด้วยวธิ ี SDS-PAGE และ Western blot เทคนิคการแยกและนบั เซลล์ด้วยวิธี flow cytometry การตรวจวเิ คราะห์ โปรตีนด้วย proteomics และ mass spectrometry การศึกษาและดูแลสัตว์ทดลอง การสังเคราะห์อนภุ าคทองคำ� นาโนและการพัฒนา biosensor เปน็ ตน้ ยกย่องเชดิ ชเู กยี รตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 381
อกั ษรภาษาอาหรบั มีลักษณะเฉพาะตวั และมพี ฒั นาการมาอยา่ งยาวนาน บทความน้ี น�ำเสนอเนอื้ หาสาระส�ำคญั เกย่ี วกบั ลกั ษณะอกั ษรภาษาอาหรบั ทใ่ี ชก้ นั ในปจั จบุ นั โดยกลา่ ว ถึงความเป็นมาของตัวอักษรภาษาอาหรับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันโดยสังเขป บรรยาย ลกั ษณะอักษรภาษาอาหรบั ในด้านกายภาพทเ่ี ราสามารถสงั เกตเหน็ ได้ ระบบการเขียนทใ่ี ช้ กบั การเขยี นตัวอกั ษร สระ สัญลกั ษณแ์ ทนเสียง และตวั เลขอาหรับ นอกจากนยี้ งั กล่าวถึง การเขียนแบบต่าง ๆ และอักษรภาษาอาหรับที่ปรากฏเป็นฟอนต์คอมพิวเตอร์ การเข้าใจ ธรรมชาตขิ องอกั ษรภาษาอาหรบั จนสามารถเขยี นไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งถอื เปน็ สงิ่ สำ� คญั ตอ่ ผเู้ รยี น ภาษาอาหรบั ทุกคน 382 ยกยอ่ งเชิดชูเกียรตบิ ุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
รางวัล การน�ำเสนอผลงานวิชาการแบบ การบรรยายดีเดน่ เรอื่ ง ลักษณะเฉพาะของอกั ษรภาษาอาหรบั สาขา ภาษาอาหรับ จาก มหาวิทยาลัยฟาฏอนี อาจาย์ ดร.ทรงศักดิ์ หมดั สะและ ภาควิชาภาษาตะวนั ออก คณะอกั ษรศาสตร์ ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 383
รางวลั ปาฐกถาสดุ แสงวเิ ชยี ร ประจ�ำปี ๒๕๖๑ เรอ่ื ง วิวัฒนาการการแพทยแ์ ผนตะวนั ตกในสยาม (Evolution of Western Medicine in Siam) จาก คณะแพทยศาสตร์ศริ ิราชพยาบาล มหาวิทยาลยั มหดิ ล ศาสตราจารย์ นายแพทยส์ มรตั น์ จารุลักษณานนั ท ์ ภาควชิ าวิสญั ญวี ิทยา คณะแพทยศาสตร์ 384 ยกย่องเชิดชเู กียรตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
นบั เปน็ เรอ่ื งนา่ ยนิ ดอี ยา่ งยง่ิ ท่ี ศาสตราจารย์ นายแพทยส์ มรตั น์ จารลุ กั ษณานนั ท์ หวั หนา้ ภาควชิ าวสิ ญั ญวี ทิ ยา คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั และโรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ สภากาชาดไทย เปน็ ผไู้ ดร้ บั รางวลั “ปาฐกถา สุด แสงวิเชียร ประจำ� ปี พ.ศ. ๒๕๖๑” ซ่ึงพิธมี อบรางวัลจัดข้นึ ณ คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัย มหดิ ล เมอ่ื วนั พธุ ท่ี ๒๘ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ทผี่ า่ นมาสำ� หรบั รางวลั ปาฐกถา สดุ แสงวเิ ชยี ร ถอื เปน็ อกี หนงึ่ รางวลั อนั ทรงคณุ คา่ ของวงการแพทยไ์ ทย ทคี่ ณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาลจดั ขนึ้ และมอบอยา่ งตอ่ เนอ่ื งเปน็ ประจำ� ทกุ ปี ต้งั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๓ เป็นตน้ มา เพอื่ เป็นเกยี รติแก่ ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ุณ นายแพทย์สดุ แสงวิเชยี ร อดีตคณบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล และอดีตหัวหน้าภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปูชนียบุคคลส�ำคัญของวงการแพทย์ไทย และเพ่ือสรรหาผู้มีผลงานด้านการศึกษาค้นคว้าหรือ ปฏบิ ตั ิทางวิชาการดีเดน่ ในสาขาวชิ าทีก่ �ำหนด เชน่ วทิ ยาศาสตร์การแพทย์พ้นื ฐานพันธศุ าสตร์ โบราณชวี วิทยา และ ประวัตศิ าสตร์ เปน็ ต้น ผลงานของศาสตราจารย์ นายแพทย์สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ ที่คว้ารางวัลปาฐกถา สุด แสงวิเชียร ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๑ คือ ผลงานเร่ือง “วิวัฒนาการการแพทย์แผนตะวันตกในสยาม (Evolution of Western Medicine in Siam)” รอ้ ยเรยี งเรอ่ื งราวววิ ฒั นาการการแพทยแ์ ผนตะวนั ตกในประเทศไทยนบั ตง้ั แตส่ มยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา จวบจนปัจจุบัน ซ่ึงศาสตราจารย์ นายแพทย์สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ เล่าว่า ผลงานชิ้นน้ีเกิดขึ้นจากความรักและ ความสนใจ ในวิชาประวัติศาสตร์มาต้ังแต่คร้ังยังเป็นนิสิตแพทย์ ในระหว่างที่มุ่งม่ันศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ก็มีงาน อดิเรกคือการศึกษาประวัติศาสตร์ควบคู่ไปด้วย จนกระทั่งเกิดข้อสงสัยเกี่ยวกับประวัติศาสตร์การแพทย์บางช่วง บางตอน เชน่ หมอบรดั เลย์ (Dan Beach Bradley) แพทย์คนดงั ในสมัยตน้ กรุงรตั นโกสนิ ทร์เปน็ แพทยผ์ ทู้ �ำการผ่าตดั เป็นคร้ังแรกในประเทศไทยจริงหรือ ซึ่งจากการศึกษาค้นคว้าพบว่า แท้จริงแล้วมีบันทึกถึงการท�ำหัตถการผ่าตัดใน สยามมาตั้งแต่รัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยา จากความบังเอิญท่ีนายเรือโทเชอวาลิเอร์ เดอ ฟอร์แบ็ง (Chevalier de Forbin) นายทหารหนุ่มชาวฝร่ังเศสทเี่ ข้ามารับราชการในสยามได้ใช้วธิ เี ยบ็ ปากแผล บรเิ วณหนา้ ทอ้ ง เพอ่ื ชว่ ยชวี ิตคนถูกมีดแทงจนล�ำไส้ทะลักออกมาไดเ้ ป็นผลส�ำเร็จ เนื้อหาทบี่ รรยาย อาทิ โรงพยาบาล แผนตะวันตกในสมัยอยธุ ยา การแพทยแ์ ผนตะวนั ตกในสมัยรัตนโกสนิ ทร์ การผา่ ตดั การวางยาสลบครง้ั แรก กำ� เนิด โรงพยาบาลศริ ริ าช การสถาปนาจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั และวิวัฒนาการการสาธารณสุขไทยจนถงึ ยุคปัจจุบัน ศาสตราจารย์ นายแพทย์สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ กล่าวว่า การได้รับรางวัลปาฐกถา สุด แสงวิเชียร คร้ังน้ีถอื เปน็ ความภาคภูมิใจอยา่ งยิง่ หลังจากทอี่ ่านหนังสือ ศึกษาค้นคว้าและรวบรวมเกรด็ ประวัติศาสตร์การแพทย์ มาตลอดชวี ติ การเปน็ แพทยข์ องตนเอง ทำ� ใหส้ ามารถรวบรวมขอ้ มลู ทลี่ กึ ซง้ึ เกย่ี วกบั ความเปน็ มาของคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั และโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ถอื ไดว้ ่าเปน็ การแสดงความกตัญญกู ตเวทิตา ตอ่ สถาบันทีไ่ ดป้ ระสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้ รวมถึงเป็นการแสดงความเคารพตอ่ ศาสตราจารย์เกยี รติคุณ นายแพทย์ สุด แสงวิเชียร ครูแพทย์ผู้เป็นพหูสูต ที่นอกจากจะรอบรู้ด้านกายวิภาคศาสตร์แล้ว ท่านยังเชี่ยวชาญในด้าน ประวตั ิศาสตร์ โบราณคดีและสหสาขาวชิ าตา่ ง ๆ อีกด้วย เพราะประวัติศาสตร์คือรากฐานของปัจจุบัน ปาฐกถาเร่ือง “วิวัฒนาการการแพทย์แผนตะวันตกในสยาม” จึงเปน็ ทั้งบทสรุปและค�ำตอบวา่ ทำ� ไมการแพทยใ์ นประเทศไทยจึงกา้ วหนา้ ดงั เช่นทเ่ี ป็นในวันนี้ อีกทงั้ จะเปน็ บทเรยี น บทท�ำนายถึงทิศทางการแพทย์ต่อไปในอนาคตด้วย ศาสตราจารย์ นายแพทย์สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ กล่าว ทิง้ ทา้ ย ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รติบคุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 385
รางวลั Best Oral Presentation Award (Education) เรือ่ ง Candida Abicans WSS1 Homologue is required for DNA-Protein crosslink repair จาก การประชมุ วิชาการประจำ� ปีขององค์กรผบู้ รหิ ารคณะทนั ตแพทยศาสตรแ์ หง่ ประเทศไทย (อบทท.) ครง้ั ที่ ๑๖ รองศาสตราจารย์ ทันตแพทยห์ ญิง ดร.อรนาฎ มาตงั คสมบัต ิ ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะทันตแพทยศาสตร์ 386 ยกย่องเชิดชเู กียรตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
Candida albicans Wss1 Homologue Is Required For DNA-Protein Crosslink Repair Introduction: DNA-protein crosslinks (DPCs) is important DNA lesions that impede DNA replication and transcription. DPCs occur when proteins are covalently attached to DNA due to endogenous or exogenous agents, including enzyme trapping and aldehyde exposure. The repair of DPCs were believed to be carried out mainly by homologous recombination; until recently, a metalloprotease called Wss1 was discovered in Saccharomyces cerevisiae to be required for DPC repair. Candida albicans, an important opportunistic pathogen, likely contains a homologous enzyme. Objectives: To identify WSS1 homologue in Candida albicans (CaWSS1) and examine its function in DPC repair. Materials and Methods: The genome sequence of Candida albicans (SC5314) was searched to identify the homologue of WSS1. The gene was cloned into a centromeric yeast vector. Complementation assays were performed in S.cerevisiae strains lacking ScWSS1 and RAD52, a gene important for homologous recombination. Plasmids containing wild-type CaWSS1 and mutants generated by site-directed mutagenesis in the catalytic site, VIM, and SIM domains were transformed into S.cerevisiae wss1 | | | | rad52 | | | | strain. ScWSS1 was used as positive control and empty vector as negative control. The cultures were treated with formaldehyde to induce DPCs, and serial dilutions were spotted on solid media. Results: The open-reading-frame and domain structure of CaWSS1 were identified in silico. In complementation assays, wild-type CaWSS1 rescued the growth of S.cerevisiae wss1 | | | | rad52 | | | | strain upon formaldehyde exposure to the same level as ScWSS1. This indicates that CaWss1 is capable of repairing DPCs similarly to ScWss1. CaWss1 with mutations in the catalytic site, VIM and both SIM domains, but not a single SIM, failed to complement the function of ScWss1 upon formaldehyde exposure. Conclusion: Candida albicans contains a functional homologue of WSS1 which is required for the repair of DNA-protein crosslinks induced by formaldehyde exposure. The role of CaWss1 in the survival of C. albicans warrants further studies. KEYWORDS (5 words) Candida albicans, DNA-protein crosslinks, protease, Saccharomyces cerevisiae, WSS1 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตบิ ุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 387
รางวลั Best Oral persentation - Second Place (Educator Track) เร่ือง A Novel Design of a Mechanical Force Loading Apparatus for Cell Culture จาก การประชุมวชิ าการประจำ� ปขี ององค์กรผบู้ ริหารคณะทันตแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (อบทท.) ครง้ั ที่ ๑๖ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ทนั ตแพทย์หญงิ ดร.ชลิดา ล้มิ จีระจรัส (นาคเลขา) ภาควชิ าสรรี วทิ ยา คณะทนั ตแพทยศาสตร์ 388 ยกย่องเชดิ ชเู กียรติบคุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
A novel design of a mechanical force loading apparatus for cell culture Tooth diseases affect the quality of life in Thai populations. The biological mechanisms that maintain of the teeth in the jaw bone establish a dynamic equilibrium between bone resorption and apposition. Upon receiving mechanical load, bone and periodontium responded to the corresponding changes in their structures, metabolisms and activities. Many study approaches have developed drugs and methods to promote the proliferation of periodontium. As a result, the in vitro testing of the fundamental studies in molecular approach is crucial. Yet, there is limited available method to study the effect of mechanical force on to the cell. To be precise, there is no available computerized loading machine in cell culture scale available in Thailand. The purpose of this project was to design and develop a novel mechanical loading apparatus, which can be applied both in both constant and intermittent compressive manner. By this mean, the developed apparatus is supposed to simulate the masticatory action onto the periodontal cells. The developed apparatus will be controlled by computer and the applied force can be visualized in in real time via graphical user interface (GUI). This apparatus can also be used with other cells, such as bone, tendon and cartilage cells. The understanding on the responses could be applied for improving drugs and treatment modules in dentistry and finally improve the quality of life in Thai patients. (ค�ำส�ำคญั /keyword) mechanical apparatus, force, computerized, apparatus ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติบคุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 389
รางวัล รองชนะเลิศอันดับ ๑ การน�ำเสนอผลงานแบบบรรยาย (Oral Presentation) เรือ่ ง การใชเครือ่ งไมโครเวฟฆา เชื้ออาหารเลยี้ งเช้ือสําหรับเตรยี มเชอื้ เพอ่ื ใชในการเรียนการสอนปฏบิ ัตกิ าร สาขา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก เครอื ข่ายวิจยั และนวตั กรรมสำ� หรบั บคุ ลากรสายสนับสนุนในสถาบนั อดุ มศกึ ษา ท่ีประชมุ สภาขา้ ราชการ พนกั งาน และลูกจ้างมหาวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย (ปขมท.) นายวรี ะศกั ด์ิ จงเฟ่อื งปรญิ ญา ภาควิชาจลุ ชีววิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์ 390 ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
กระบวนการฆา่ เชอ้ื ในอาหารเลยี้ งเชอื้ ระดบั หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารในปจั จบุ นั ใชเ้ ครอื่ งนง่ึ ไอนำ�้ ความดันสงู ที่ ๑๒๑ องศาเซลเซียส ความดนั ๑๕ ปอนด์ต่อตารางน้ิว เปน็ เวลา ๑๕ นาที ซึง่ ใชเ้ วลาในการท�ำงานท้งั สนิ้ ประมาณ ๒ ช่วั โมง และสน้ิ เปลอื งพลงั งานไฟฟ้าจงึ ไมเ่ หมาะ ส�ำหรบั เตรยี มอาหารในปริมาณน้อย เคร่ืองไมโครเวฟเป็นอุปกรณ์ท่มี ีรายงานว่าสามารถใช้ ฆา่ จลุ นิ ทรยี ไ์ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และใชเ้ วลารวดเรว็ ดงั นน้ั งานวจิ ยั นจี้ งึ ไดท้ ดสอบใชเ้ ครอื่ ง ไมโครเวฟครัวเรือนในกระบวนการฆ่าเช้ือ การใช้เครื่องไมโครเวฟครัวเรือนขนาด ๑,๒๐๐ วัตต์เพื่อทำ� ใหอ้ าหารเลย้ี งเช้ือ nutrient broth ปริมาตร ๓๐๐ มิลลลิ ิตรปลอดเชื้อต้องใช้ เวลาฉายรังสไี มโครเวฟต่อเนือ่ งเป็นเวลา ๑๘๐ วนิ าทีหลงั เดอื ด เม่ือทดสอบอาหารเล้ียงเช้อื ที่ฆ่าเช้ือด้วยไมโครเวฟเพาะเช้ือ Escherichia coli สายพันธุ์ MSCU0349 และ Staphylococcus aureus สายพันธุ์ MSCU0353 พบว่าอัตราการเติบโต ลักษณะทาง กายภาพของเชื้อ ความสามารถในการใช้น�้ำตาลไม่ต่างกัน ความสามารถในการเจริญบน nutrient agar ของ Escherichia coli สายพันธุ์ MSCU0349 และ Staphylococcus aureus สายพันธุ์ MSCU0353 ท่ีฆ่าเชื้อด้วยเคร่ืองไมโครเวฟจะไม่ดีเท่าอาหารท่ีฆ่าเช้ือ ด้วยเครอื่ งนง่ึ ไอนำ้� ความดันสงู อย่างมีนยั สำ� คัญทางสถติ ิที่ 95% (p <0.05) จากการคำ� นวณ การใช้พลังงานไฟฟ้าพบว่าการฆ่าเชื้อด้วยเคร่ืองไมโครเวฟใช้พลังงานไฟฟ้าน้อยกว่า การฆา่ เชือ้ ด้วยเครื่องนง่ึ ไอนำ้� ความดันสงู ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 391
รางวัล ชนะเลศิ อันดับที่ ๑ การประกวดผลงานวจิ ยั ประเภท Poster Presentation Award) เร่อื ง Inadequte Phramacokinetic Parameters of Recommended Dose Intravenous Colistin in Pediatric Population จาก สมาคมโรคติดเชอ้ื ในเดก็ แห่งประเทศไทย ในการประชุมใหญ่สมาคมโรคติดเชือ้ ในเด็กแห่งประเทศไทย ประจ�ำปี ๒๕๖๒ อาจารย์ นายแพทยน์ พดล วัชระชยั สุรพล ภาควชิ าเภสชั วทิ ยา คณะแพทยศาสตร์ 392 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
หัวขอ้ วจิ ัยเรอื่ ง Inadequate Pharmacokinetic Parameters of Recommended Dose Intravenous Colistin in Pediatric Population ให้ความส�ำคญั ในด้านการดูแล ผู้ป่วยวิกฤติเด็กท่ีติดเช้ือดื้อยารุนแรง ซึ่งในปัจจุบันมียาเพียงไม่ก่ีชนิดท่ีใช้ในการรักษา แต่พบว่าขอ้ มลู ในเดก็ โดยเฉพาะขอ้ มลู ด้านเภสัชจลนศาสตรม์ นี ้อย ทำ� ให้ไม่สามารถแนะน�ำ ขนาดยาท่ีเหมาะสมได้ การวิจัยน้ีจึงช่วยเพิ่มข้อมูลท่ีจ�ำเป็นให้แก่แพทย์ผู้ดูแลรักษาผู้ป่วย กลุ่มดังกล่าว ให้สามารถให้ขนาดยาที่เหมาะได้ต้ังแต่การให้ยาคร้ังแรกเพื่อเพ่ิมโอกาส การรกั ษาสำ� เร็จในผปู้ ่วยกลุ่มน ้ี ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รตบิ ุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 393
รางวัล Outstanding Poster Presentation เร่อื ง A QM/MM Study on Cleavage Reaction for Viral Zika Virus NS2B/NS3 Serine Protease จาก The 13th International Symposium of the Protein Society of Thailand ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธญั ญดา รงุ่ โรจน์มงคล ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ 394 ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
โรคติดเช้ือไวรัสซกิ าเป็นปญั หาสาธารณสุขทสี่ ำ� คญั ท่ัวโลก จากขอ้ มลู ทางระบาดวทิ ยา แสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโยงของการติดเชื้อไวรัสกับความผิดปกติของระบบประสาท ท่ีเกิดข้ึนทั้งในเด็กแรกเกิดและผู้ใหญ่ อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันยังไม่มียาหรือวัคซีนท่ีใช ้ ป้องกันหรือควมคุมการติดเช้ือไวรัสซิกา เอนไซม์เอ็นเอสทูบี/เอ็นเอสทรีเซอรีนโปรทีเอสมี บทบาทส�ำคัญในการตัดพันธะเปปไทด์ระหว่างการจ�ำลองตัวของเชื้อไวรัส จากการศึกษา กลไกการเร่งปฏิกิริยาการตัดพันธะเปปไทด์ของเอนไซม์กับเปปไทด์ซับสเตรต (TGKRS) โดยอาศัยวิธีการจ�ำลองที่ผสมผสานระหว่างกลศาสตร์ควอนตัมและกลศาสตร์โมเลกุล ใช้ ระเบียบวธิ ี PM6/ff14SB พบวา่ ขน้ั ตอนการถา่ ยโอนโปรตอนจาก Ser135 ไปสู่ His51 และ ปฏิกิริยาการชนนิวคลีโอไฟล์บนตัวซับสเตรตด้วย Ser135 จัดเป็นปฏิกริยาด�ำเนินไปแบบ ต่อเนื่องพร้อมกันในคร้ังเดียว ซ่ึงผลการค�ำนวณแบบ QM/MM ในระดับทฤษฎีที่สูงขึ้น ยังคงสนับสนุนรูปแบบการเกิดปฎิกิริยาเคมีดังกล่าว ในปัจจุบันผู้วิจัยมีผลงานวิจัยท่ีตีพิมพ์ ในวารสารวชิ าการระดบั นานาชาตจิ ำ� นวน ๑๑๖ ฉบบั มกี ารถกู นำ� ไปอา้ งองิ แลว้ ๑,๒๑๕ ครง้ั และ h-index 24 ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 395
รางวัล รางวลั การน�ำเสนอผลงานโปสเตอร์ดีเด่น (Best poster presentation) เรอ่ื ง การมีอยู่ของกะท่างนำ้� ชนดิ Tylototriton verrucosus ในประเทศไทย จาก การประชุมวชิ าการ “การบรหิ ารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพแหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี ๕” BioD5 plus : “People + Utilization + Sustainability” จัดโดยส�ำนักงานพัฒนาวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยแี ห่งชาติ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ และ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี อาจารย์ ดร.ปรวีร์ พรหมโชต ิ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ 396 ยกย่องเชิดชเู กยี รติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
กะท่างนำ�้ สกุล Tylototriton เปน็ สัตว์สะเทินนำ้� สะเทนิ บกในอันดับ Urodela เพียง กลุ่มเดียวที่พบในประเทศไทย ในอดีตท่ีผ่านมาประเทศไทยมีรายงานพบกะท่างน้�ำ T. verrucosus ชนิดเดียวเท่านั้น แต่ในปัจจุบันมีรายงานการพบกะท่างน�้ำสี่ชนิด ได้แก่ T. verrucosus, T. uyenoi, T. anguliceps และ T. panhai พบตามแอ่งน�้ำ ใตโ้ ขดหิน หรือขอนไม้ บนเทือกเขาทางภาคเหนือ (T. uyenoi และ T. anguliceps) และภาค ตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนบน (T. panhai) ทส่ี งู จากระดบั นำ้� ทะเลปานกลาง ๑,๐๐๐ เมตร ข้ึนไป อยา่ งไรกต็ าม ข้อมูลการมอี ย่แู ละการกระจายตัวของ T. verrucosus ยงั คงคลุมเครือ จงึ นำ� ไปสกู่ ารศกึ ษาวจิ ยั ในครงั้ นี้ จากผลการศกึ ษาสณั ฐานและขอ้ มลู พนั ธกุ รรมเบอ้ื งตน้ จาก ตวั อยา่ งอา้ งองิ ของกะทา่ งนำ้� ทพ่ี บทด่ี อยชา้ ง จงั หวดั เชยี งราย พบวา่ มคี วามแตกตา่ งกบั ชนดิ T. uyenoi, T. anguliceps และ T. panhai และจากข้อมลู พนั ธกุ รรมพบวา่ กะท่างน�้ำนี ้ ถูกจัดอยู่ในกลุ่ม T. verrucosus ท่ีพบในต่างประเทศ ดังน้ันจากผลการศึกษาสามารถ ยนื ยนั ถึงการมีอยูข่ องกะท่างนำ�้ T. verrucosus ในประเทศไทยและมคี วามเปน็ ไปได้ทจ่ี ะ พบกะทา่ งน�ำ้ ชนดิ นใ้ี นพน้ื ท่อี ืน่ ๆ ของประเทศไทยอีกดว้ ย อย่างไรกต็ ามมคี วามจ�ำเปน็ ตอ้ ง ศกึ ษาสณั ฐานและขอ้ มลู ทางพนั ธกุ รรม รวมถงึ การกระจายตวั ของกะทา่ งน�้ำ T. verrucosus เพ่มิ เติม เพ่ือทีจ่ ะนำ� ขอ้ มูลทไี่ ดไ้ ปวางแผนเพื่อการอนรุ กั ษ์ตอ่ ไป ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 397
รางวัล การเสนอผลงานวิจยั ดเี ยี่ยมแบบโปสเตอร์ จากการท่ีมผี ลงานวิจยั จ�ำนวนมาก และโดดเดน่ ท่สี ดุ ของนักวิจัยทั้งประเทศ เร่อื ง การตีแผ่กระบวนการสร้างชอ่ งปากและฟนั ในระดับเซลลแ์ ละโมเลกลุ จากการศึกษาโรคกระดูก เจรญิ ผดิ ปกติ Elucidating normal molecular and cellular developmental processes of oro-dental structures through studies of skeletal dysplasias สาขา ชวี วิทยาช่องปาก และพนั ธุศาสตร์ จาก สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนุนการวิจยั (สกว.) และสำ� นกั งานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการ รองศาสตราจารย์ ทนั ตแพทยห์ ญงิ ดร.ฑณั ฑริรา พรทวที ศั น ์ ภาควชิ าสรีรวทิ ยา คณะทันตแพทยศาสตร์ 398 ยกย่องเชิดชเู กยี รติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 656
- 657
- 658
- 659
- 660
- 661
- 662
- 663
- 664
- 665
- 666
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 666
Pages: