Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือรางวัลยกย่องจุฬา 2562

หนังสือรางวัลยกย่องจุฬา 2562

Published by Research Chula, 2019-09-12 10:38:21

Description: หนังสือรางวัลยกย่องจุฬา 2562

Search

Read the Text Version

รางวัล Silver Medal Award และ Special Prize on stage from inventors and rationalizes เรื่อง Smart Paper Sensor for DNA Diagnosis of Infectious Diseases จาก Seoul Internation Invention Fair 2018 (SIIF 2018) ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล ดร.ปฤญจพร ทีงาม นางสาวสชุ านาถ บุญแก้ว ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 199

รองศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล จากภาควิชาวิศวกรรมส่ิงแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับรางวัลผลงานวิจัยส่ิงประดิษฐ์ ระดบั นานาชาติ “Silver Prize” ในงาน “Seoul International Invention Fair 2018 (SIIF 2018)” จดั ขนึ้ ในระหว่างวันที่ ๖-๙ ธนั วาคม ๒๕๖๑ ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี โดยสมาคม Korea Invention Promotion Association (KIPA) ซ่ึงเป็นเวทีประกวด ผลงานด้านนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ที่ส�ำคัญท่ีสุดแห่งหนึ่งของทวีปเอเชีย โดยมีผลงาน เข้าร่วมประกวดและน�ำเสนอกว่า ๖๐๐ ผลงาน ส�ำหรับผลงานวิจัยส่ิงประดิษฐ์ท่ีได้รับ รางวัลในคร้ังนี้ เป็นการน�ำเสนอผลงานวิจัยส่ิงประดิษฐ์เร่ือง “Innovative Ecobiofilter- Membrane Bioreactor Wastewater Recycling System” เปน็ การพฒั นาระบบบำ� บัด น้�ำเสียส�ำหรับอาคารสูงและสามารถน�ำน�้ำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยการท�ำงานของระบบถังปฏิกรณ์ชีวภาพเมมเบรนหรือระบบเอ็มบีอาร์ ร่วมกับตัวกลาง ชีวภาพแบบตัวกลางเซรามิกส์ท่ีมีรูพรุน สามารถใช้งานได้นานและเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม เพ่ือลดการใช้ตัวกลางพลาสติกซึ่งจะก่อให้เกิดปัญหาขยะพลาสติกสู่ส่ิงแวดล้อม โดย งานวจิ ยั นไ้ี ดร้ บั การพจิ ารณาคดั เลอื กและสนบั สนนุ จากสำ� นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ (วช.) ใหไ้ ปน�ำเสนอผลงานในคร้งั นี้ 200 ยกย่องเชดิ ชเู กยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รางวัล Silver Prize เรื่อง Innovative Ecobiofilter-Membrane Bioreactor Wastewater Recycling System จาก Seoul Internation Invention Fair 2018 (SIIF 2018) รองศาสตราจารย์ ดร.ชวลติ รตั นธรรมสกลุ ภาควิชาวศิ วกรรมสง่ิ แวดลอ้ ม คณะวิศวกรรมศาสตร์ ยกย่องเชิดชเู กียรติบคุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 201

รางวัล Gold Medal เร่อื ง Smart GamI & Smart Sensors : Mobile Laboratory for 21st Century Learners สาขา Educational Technology จาก The 4th International Invention Innovation Competition in Canada, iCAN 2019 รองศาสตราจารย์ ดร.ประกอบ กรณีกจิ รองศาสตราจารย์ ดร.จินตวรี ์ คลา้ ยสงั ข์ ภาควชิ าเทคโนโลยแี ละสอื่ สารการศึกษา คณะครศุ าสตร์ 202 ยกย่องเชิดชเู กียรตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

Smart GamI และ Smart Sensor เปน็ หอ้ งปฏบิ ัติการเคล่อื นที่ส�ำหรบั ผู้เรยี นในการ สร้างประสบการณ์ส�ำหรับการทดลองทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนได้ทุกเวลาทุกสถานที่ ซงึ่ พฒั นาขน้ึ บนพนื้ ฐานของการเรยี นแบบสบื สอบและแนวคดิ เกมเิ ฟเิ คชนั จงึ ชว่ ยสนบั สนนุ การเรียนเชิงรุกและเพ่ิมความสนุกในการเรียนให้แก่ผู้เรียน จึงส่งเสริมการคิดอย่างมี วิจารณญาณ การแก้ปัญหา ความคิดสร้างสรรค์ การท�ำงานร่วมกัน การส่ือสาร และ ความใฝ่รู้ให้แก่ผู้เรียน ทั้งนี้ปัจจุบันแอพลิเคชัน Smart GamI เปิดให้ดาวน์โหลดบน AppStrore และ PlayStore เรียบรอ้ ยแล้ว ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 203

iChat Smart เป็นนวัตกรรมอุปกรฺณ์เทคโนโลยสวมใส่เพื่อการติดตามการเรียนรู้ ด้วยแนวคิดเกมมิฟิเคชัน ท�ำหน้าท่ีเป็นผู้ช่วยเหลือส่วนตัวให้กับผู้เรียนในการเสริมสร้าง การเรยี นรโู้ ดยใช้ Chat Bot รว่ มกบั Smart Watch ในการตง้ั เปา้ หมาย (i-Set, i-Schedule, i-Follow) การตรวจสอบความกา้ วหนา้ ในการเรยี น (Learning Progress) และการแจง้ เตอื น อตั โนมตั ิ (Missions, Levels, Badges) iChat Smart ใช้ API Services ในการเชื่อมต่อกบั Open EdX ซงึ่ เปน็ MOOC Opensource Platform ท่ีนยิ มใชท้ ว่ั โลกรวมทงั้ ประเทศไทย (Thai MOOC) นวัตกรรนี้จะช่วยเสริมสร้างความมั่นใจ การเห็นคุณค่าในตนเอง และ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธใ์ิ ห้กับผู้เรียน 204 ยกย่องเชดิ ชเู กยี รตบิ ุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รางวลั Silver Medal เร่ือง iChat Smart: Gamification Wearable Tracking Tool for Digital Learners สาขา Educational Technology จาก The 4th International Invention Innovation Competition in Canada, iCAN 2019 รองศาสตราจารย์ ดร.จนิ ตวีร์ คลา้ ยสังข์ รองศาสตราจารย์ ดร.ประกอบ กรณีกิจ ภาควชิ าเทคโนโลยีและสอื่ สารการศึกษา คณะครุศาสตร์ ยกย่องเชดิ ชูเกียรติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 205

รางวัล Silver Medal เร่อื ง CU Deep Smart Tool Kit : Learning through the Lens of Creation สาขา Educational Technology จาก The 4th International Invention Innovation Competition in Canada, iCAN 2019 รองศาสตราจารย์ ดร.จนิ ตวรี ์ คลา้ ยสงั ข์ รองศาสตราจารย์ ดร.เนาวนติ ย์ สงคราม ภาควิชาเทคโนโลยีและสอื่ สารการศึกษา คณะครศุ าสตร์ 206 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตบิ ุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

CU Deep Smart Tool Kit เปน็ โมบายแอพลเิ คชนั และชดุ เลนส์และฟลิ เตอร์ท่เี อื้อให้ ผเู้ รยี นประถมศึกษาสำ� รวจสถานทต่ี า่ ง ๆ ในโลก และแชร์ส่งิ ท่ีค้นพบกับเพือ่ น ๆ ออนไลน์ CU Deep Smart Tool Kit จะช่วยเสริมสร้างทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ของผู้เรียนได้แก่ ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์ ด้าน ICT และด้านการสื่อสาร นวัตกรรมนี้ประกอบด้วย (๑) Smart Lens Set ส�ำหรับถ่ายภาพได้ในระยะใกล้ ไกล กว้าง และการท�ำฟิลเตอร์ เพมิ่ เติม และ (๒) iJourney แอพลเิ คชนั ท่ีผเู้ รียนสามารถใชเ้ ครอื่ งมือต่าง ๆ เพือ่ ถ่ายทอด จินตนาการของตนเองผ่านการสร้าง e-magazine และแชร์กับผู้อื่นได้อย่างไร้ข้อจ�ำกัดใน เรอ่ื งของเวลาและสถานที่ ยกย่องเชดิ ชูเกยี รตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 207

รางวัล Silver Medal เรอื่ ง Asper Chip: a Simple Bendable Lab on-a-paper Chip for a Rapid Detection of Aspergillus sp in Herbal and Food Products จาก International Invention and Innovation Show, INTARG Poland ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะศกั ด์ิ ชอุ่มพฤกษ์ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตร์ 208 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติบคุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

Postharvest herbal and food product contamination with mycotoxins and mycotoxin-producing fungi represents a potentially carcinogenic hazard. Aspergillus is a major cause of this issue. Available mold detection methods are PCR-based and rely heavily on laboratories; thus, they are unsuitable for on-site monitoring. AsperChip, a bendable, paper-based lab-on-a-chip was developed to rapidly detect toxigenic Aspergillus spp. DNA. The 3.0-4.0cm2chip is fabricated using paper with a simple plastic lamination process and has nucleic acid amplification and signal detection components. The Aspergillus assay specifically amplifies the aflatoxin biosynthesis gene, using isothermal DNA amplification; hybridization between target DNA and probes on blue silver nanoplates (AgNPls) yields colorimetric results. Positive results are indicated by the detection pad appearing blue due to dispersed blue AgNPls; negative results are indicated by the detection pad appearing colorless or pale yellow due to probe/target DNA hybridization and AgNPls aggregation. Assay completion requires less than 30 min, has a limit of detection (LOD) of 100 toxin gene copies, and has high specificity (94.47%) and sensitivity (100%). This AsperChip is low-cost, suitable for rapid-detection applications outside laboratory. Keywords: Lab-on-a-chip, Aspergillus assay ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 209

รางวัล The Nagai Award 2019 เร่ือง Factors Affecting Pharmacy Engagement and Pharmacy Customer Devotion in Community Pharmacy: A Structural Equation Modeling Approach สาขา Pharmacy Practice/ Social Administrative Pharmacy จาก The Nagai Foundation Tokyo รองศาสตราจารย์ เภสชั กรหญิง ร.ต.อ.หญงิ ดร.ฐณฏั ฐา กติ ติโสภี ภาควชิ าเภสัชศาสตรส์ ังคมและบริหาร คณะเภสชั ศาสตร์ 210 ยกยอ่ งเชิดชูเกียรตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

The Nagai Foundation Tokyo was founded on October 25, 1986 in commemoration of Prof. Tsuneji Nagai receiving the 1986 Hoest-Madsen Medal from FIP (International Pharmaceutical Federation) as the first for Japanese. The Japanese Ministry of Education, Culture, Sports, Science and Technology officially approved the Foundation as a government-licensed international one on January 28, 1994 and additionally as a specified non-profit organization for the benefit of the public on November 29, 1996 for the purpose of promoting international exchange in pharmacy and pharmaceutical sciences. Date of establishment approved: January 28, 1994 Competent authority: Cabinet of Japan ( from April, 2012) In order to achieve the purposes, the Foundation shall engage in the following undertakings: 1) Support of international joint or individual basic and applied research (Research Grant) 2) Support of sending abroad and inviting from oversees researchers, practitioners and students (Travel Grant) 3) Organizing and supporting international scientific conferences. (Conference Grant) 4) Rewarding individuals who have achieved notable success (International Award), and Grant for Special organizations (Award Grant) 5) Grant for future scientist and pharmacist( Pre-doctoral Fellowship, Grant for future scientist and practitioner) 6) Any other undertakings necessary for the achievement of the Foundation's purposes ยกย่องเชิดชูเกียรตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 211

รางวัล 2018 IUPAC Distinguished Contributions to Chemical Education Award จาก งานประชุมวชิ าการนานาชาติ “The 25th IUPAC International Conference on Chemical Education” ศาสตราจารย์ ดร.ศภุ วรรณ ตนั ตยานนท์ ภาควชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตร์ 212 ยกย่องเชดิ ชเู กยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

IUPAC มชี ือ่ เต็มว่า International Union of Pure and Applied Chemistry เป็น สหพันธ์ระหว่างประเทศซึ่งประกอบด้วยองค์กรที่เป็นตัวแทนของนักเคมีในแต่ละประเทศ ท่ัวโลก ไดม้ อบรางวัล IUPAC Distinguished Contributions to Chemical Education Award ให้แก่นักเคมีที่มีความมุ่งมั่นใช้ความรู้ทางเคมี ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการศึกษา ทางเคมีในวงกวา้ ง สำ� หรับผลงานทีท่ ำ� ให้ ศาสตราจารย์ ดร.ศุภวรรณ ตันตยานนท์ ไดร้ บั รางวัลนี้คือ การคิดค้นและประดิษฐ์ ชุดอุปกรณ์การทดลองทางเคมีอินทรีย์ ท่ีพร้อมใช้ได้ อย่างสะดวกและปลอดภัย ในสถานที่ใด ๆ ก็ได้ ถึงแม้ว่าจะไม่มีห้องปฏิบัตการมาตรฐาน ก็ตาม เรียกชื่อว่า Small-Lab Kit จนท�ำให้ UNESCO ขอให้น�ำผลงานไปเผยแพร่ โดยวาง บนเว็บไซต์ของ UNESCO ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ และได้รับเชิญให้ไปท�ำ workshop ใน ประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลก นอกจากนี้แล้วศาสตราจารย์ ดร.ศุภวรรณ ตันตยานนท์ ยังได้คิด กระบวนการสรา้ งครตู น้ แบบทสี่ ามารถสอนการทดลองเคมภี ายใตห้ ลกั การของการลดสเกล การทดลอง เรียกว่า Small Scale Chemistry ผนวกกับการใช้หลักการของ Green Chemistry ทำ� ใหค้ รใู นโรงเรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษา ทง้ั ในประเทศไทย และประเทศในภมู ภิ าค อาเซียน ตื่นตัวในการสอนการทดลองเคมีอย่างปลอดภัย ประหยัด สะดวก รวดเร็ว ใช้ พลังงานน้อย และมีของเสียเกิดข้ึนน้อยมาก ในกระบวนการดังกล่าว ได้มีการต่อยอด ความรู้และทักษะของครูต้นแบบ ซ่ึงจะเป็นก�ำลังส�ำคัญ ท่ีจะเผยแพร่เทคนิคการสอน การทดลองน้ตี อ่ ไปดว้ ย ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตบิ ุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 213

การประชุม Tetrahedron Symposium เป็นงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ เป็นเวทีให้อาจารย์ และนักวิจัยได้น�ำเสนอความก้าวหน้าทางด้านเคมีอินทรีย์ เคมีชีวภาพ และเคมที างยา ซงึ่ ในงานประชุมคร้ังที่ ๒๐ จดั ขึน้ ระหว่างวันที่ ๑๘ - ๒๑ มถิ ุนายน ๒๕๖๒ ณ โรงเเรม Swissotel Bangkok Ratchada กรงุ เทพมหานคร อาจารย์ ดร.ธนธรณ์ ขอทวีวัฒนา อาจารย์ประจ�ำภาควิชาเคมี สาขาเคมีอินทรีย์ ได้เข้าร่วมและน�ำเสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอร์ในหัวข้อเรื่อง “Diverted Total Synthesis and Structure-Activity Relationship Study of Potent Cytotoxic Analogues of Melodorinol” และได้รบั พิจารณาใหไ้ ด้รบั รางวัล Elsevier Best Poster Prize พร้อมเงนิ รางวลั ๒๐๐ เหรยี ญสหรฐั งานวิจัยดังกล่าวเป็นการพัฒนาสารชนิดใหม่เพ่ือท�ำหน้าที่เป็นยารักษาโรคมะเร็ง โดย ได้รับแรงบันดาลใจจาก melodorinol ซ่ึงเป็นสารกลุ่ม butenolide ที่พบในรากของ ตน้ ลำ� ดวน และเคยมรี ายงานวา่ การปรบั เปลย่ี นโครงสรา้ งของสารชนดิ นเี้ พยี งแคก่ ารเพมิ่ หมู่ แทนท่ีท่ีต�ำแหน่ง C-6 สามารถเพ่ิมฤทธิ์การยับย้ังเซลล์มะเร็งได้อย่างมีนัยยะส�ำคัญ ดังนั้น เพื่อศึกษาเพิ่มเติมว่าส่วนใดในโมเลกุลของสารนี้ท่ีส่งผลกระทบต่อฤทธิ์ดังกล่าว จึงได้ ออกแบบและสงั เคราะหอ์ นุพันธ์ของ melodorinol ชนิดใหม่ ๒๘ ชนดิ ทม่ี โี ครงสร้างแตก ต่างกนั ในหลาย ๆ ต�ำแหน่ง ทง้ั geometry ของพนั ธะค,ู่ stereochemistry ที่ C-6, และ หมแู่ ทนทีบ่ นต�ำแหนง่ ตา่ ง ๆ เชน่ C-3, C-6, และ C-7 จากนน้ั นำ� ไปทดสอบการยบั ยั้งเซลล์ มะเร็ง 5 ชนิด ได้แก่ มะเร็งผิวหนงั มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม และ มะเร็งปอด จากผล การทดสอบฤทธิก์ ารยังยั้งเซลล์มะเรง็ พบว่าอนพุ นั ธ์ทีม่ หี มโู่ บรมีนท่ีต�ำแหนง่ C-3 สามารถ เพม่ิ ฤทธิ์การยับยง้ั เซลลม์ ะเร็งทุกชนดิ ไดอ้ ย่างมาก โดยมีค่าการยับยั้งสูงกวา่ melodorinol ถงึ ๑๕ เทา่ และยังทำ� ให้ทราบวา่ หม่แู ทนที่ท่ตี ำ� แหน่ง C-7 มีความจำ� เป็นตอ่ การออกฤทธิ์ เป็นอย่างมาก ในทางกลับกัน การปรบั geometry ของพันธะคู่ และ stereochemistry ไมส่ ง่ ผลต่อฤทธิ์การยบั ยัง้ เซลล์มะเร็งเท่าใดนัก ท้งั น้ี งานวิจัยนเ้ี ป็นเพียงกา้ วเลก็ ๆ ในการ พฒั นายารักษาโรคมะเรง็ ชนดิ ใหม่ ยังคงตอ้ งมีการพฒั นาโครงสรา้ งของยาเพม่ิ เติมใหม้ ฤี ทธ์ิ ในการยับย้ังมะเร็งได้เพ่ิมขึ้น รวมถึงการศึกษาความเป็นพิษและกลไกการออกฤทธิ์ของ สารดงั กลา่ ว อย่างไรกต็ าม ความรู้ทไี่ ดจ้ ากงานวจิ ัยชิ้นนน้ี ่าจะเป็นประโยชน์ต่อการคน้ ควา้ และพัฒนายารกั ษาโรคมะเรง็ ทมี่ ีแรงบนั ดาลใจจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติตอ่ ไปในอนาคต 214 ยกย่องเชดิ ชเู กยี รติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รางวลั Elsevier Best Poster Prize เร่อื ง Diverted Total Synthesis and Structure-Activity Relationship Study of Potent Cytotoxic Analogues of Melodorinol จาก The 20th Tetrahedron Symposium อาจารย์ ดร.ธนธรณ์ ขอทววี ัฒนา ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ ยกย่องเชดิ ชเู กียรติบคุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 215

รางวัล Springer Award 2019 for the Best Paper Presented by an Early Career Scholar เร่อื ง Land Value Capture as a Funding Source for Public Transport: A Case Study of the Bangkok Metropolitan Region สาขา Regional Science จาก The 58th Annual Meetings of the Western Regional Science Association ณ เมอื งนาปา (Napa) รัฐแคลฟิ อร์เนีย (California) ประเทศสหรฐั อเมริกา อาจารย์ ดร.สธุ ี อนนั ตส์ ขุ สมศร ี ภาควิชาการวางแผนภาคและเมอื ง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 216 ยกย่องเชดิ ชเู กียรติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ดร.สธุ ี อนนั ตส์ ขุ สมศรี ไดร้ ับรางวลั Springer Award 2019 for the Best Paper Presented by an Early Career Scholar จากการน�ำเสนอผลงานวิจัยเร่ือง Land value capture as a funding source for public transport: A case study of the Bangkok metropolitan region ในการประชุมวิชาการ The 58th Annual Meetings of the Western Regional Science Association โดยงานวจิ ยั ดงั กลา่ วไดร้ บั เชญิ ใหต้ พี มิ พใ์ นวารสาร The Annals of Regional Science ซงึ่ เปน็ วารสารในฐานข้อมลู ISI และ Scopus อยูใ่ น Q1 ทางดา้ นสงั คมศาสตร์ (Social Science) บทคดั ย่อ Infrastructure investments have long been a key factor driver of economic and urban development of a country. These infrastructure investments usually require large amount of funds, but funding for infrastructure investment is often limited to catch up with increasing urban population. As a result, finding alternative funding for infrastructure investment is increasingly important. Land value capture is one of the mechanisms to fund infrastructure investment. In addition, infrastructures such as public transit not only enhance urban mobility and stimulate economic activities but also increase the value of adjacent lands. Landowners can enjoy the benefits from infrastructure improvement, through higher rents and increase transport connectivity, without paying back to the government who invests on such an infrastructure. Therefore, a lack of land value capture mechanism can lead to unequal distribution of benefits from the infrastructure investment. This research aims to assess the land value increment due to proximity to public transit, using Bangkok as a case study. The analysis employs hedonic regressions of low-rise residential real estate projects from 2009 to 2017 in the Bangkok Metropolitan Region. The results suggest that the proximity to mass transit stations, measured in distance to the nearest transit stations, correlates with land values of residential lands in real estate development projects in 2009 - 2017. The analysis also assesses the value that can be captured through a tax-based LVC mechanism around a mass transit station. Keywords: Land Value Capture, Infrastructure investment, Bangkok Metropolitan Region ยกย่องเชิดชูเกียรตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 217

รางวัล The Best Paper Award from The Hong Kong Educational Research Association (HKERA) เรื่อง The Evolution of Inequality in Thailand: Educational Policies Related to Equity, Access, and Diversity สาขา Education จาก The Hong Kong Educational Research Association (HKERA) รองศาสตราจารย์ ดร.ณฏั ฐภรณ์ หลาวทอง และ Prof. Dr.Gerald W. Fry (Visiting Scholar) ภาควิชาวิจัยและจติ วิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ 218 ยกย่องเชิดชเู กยี รติบคุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

The purpose of this paper is to assess the extent of variation in educational quality across provinces in Thailand, identify the major correlates of such regional disparities, suggest policies for reducing these disparities, and then discuss the broader global implications of our findings. Four theoretical/ conceptual frameworks guide this interdisciplinary study such as central place theory and fiscal neutrality. Mixed research methods are used. A reliable index for the quality of education for Thailand’s 77 provinces is developed. Great disparities are found in the quality of education among provinces. Correlation and regression analysis are used to identify the major factors influencing these disparities. The regression model has high explanatory power. Then the qualitative results help explain “the story behind the numbers”.Regional disparities in educational quality must be reduced so that all students (regardless of socioeconomic class and school location) have the opportunity for quality education and realise their full potential. ยกย่องเชิดชเู กยี รตบิ ุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 219

รางวลั Best Paper Award of the 2019 First International Symposium on Instrumentation, Control, Artificial Intelligence, and Robotics (ICA-SYMP 2019) เรือ่ ง Wheel Slip Angle Estimation of a Planar Mobile Platfor จาก Electrical Engineering/Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology Association of Thailand (ECTI Thailand) อาจารย์ ดร.รณพีร์ ชยั เชาวรัตน ์ ภาควชิ าสำ� นักบริหารหลักสูตรวศิ วกรรมนานาชาติ (ISE) คณะวศิ วกรรมศาสตร์ 220 ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

Wheeled mobile robots and simplified motion of an automobile on a flat surface are common applications of a planar mobile platform. Improving the quality of state variable feedback under the lack of global positioning is imperative for enhancing the motion control performance. This paper proposes an alternative method of wheel slip angle estimation requiring only on-board measurement. The kinematics-based analytical solution is derived so that the slip angle of any free-rolling wheel can be estimated from the measured information of the wheel rolling speed and steering angle, along with the yaw rate and the linear accelerations of the mobile platform. The complete estimation of state variables: traveling speed, sideslip and radius of curvature is obtained from kinematic relationships. An experimental prototype of planar mobile platform is modified from a scaled RWD vehicle with free-rolling front wheel. During extremely sliding random motion, the estimated wheel slip angle and state variables are validated with the motion captured data. This proposed estimation technique can be applied for motion control applications of wheeled mobile robots and automobiles. ยกย่องเชิดชูเกยี รตบิ ุคลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 221

รางวลั Outstanding Oral Presentation เรอื่ ง Docosahexaenoic Acid and Protein in Thai Srimp Paste from Thai Gulf จาก The International Bioscience Conference and Joint International PSU-UNS Bioscience Conference 2018, Krabi THAILAND ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ชมภูนชุ กลน่ิ วงษ ์ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ 222 ยกย่องเชดิ ชูเกยี รตบิ ุคลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

เปน็ รางวลั การนำ� เสนอผลงานวจิ ยั แบบปากเปลา่ ในการประชมุ วชิ าการระดบั นานาชาติ ชอื่ ผลงาน Outstanding Oral Presentation เรอื่ ง Docosahexaenoic Acid and Protein in Thai Shrimp Paste from Thai Gulf ประเภทบุคคล ในระดับนานาชาติ จาก The international Bioscience Conference and Joint International PSU-UNS Bioscience Conference 2018, Krabi Thailand โดยเนอ้ื หาของงานวจิ ยั มงุ่ เนน้ การพฒั นา วิธีการตรวจสอบคุณภาพของกะปิ ซ่ึงเป็นอาหารท่ีแสดงถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นในการน�ำ กุ้งเคยท่ีหาได้เฉพาะฤดูกาล มาถนอมอาหารด้วยสูตรพ้ืนบ้านเฉพาะถ่ิน ท�ำให้ได้คุณค่า ทางโภชนาการและปรมิ าณกรดไขมนั ชนิด docosahexaenoic acid มีปรมิ าณทแ่ี ตกต่าง กันไปตามวัตถุดิบและสูตรอาหาร โดยผลที่ได้จากงานวิจัยนี้จะสามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ เปน็ ขอ้ มลู พนื้ ฐานเพอ่ื นำ� ไปสกู่ ารประยกุ ตเ์ พอื่ ปรบั สตู รทเี่ หมาะสมในการผลติ กะปใิ หม้ คี ณุ คา่ ทางโภชนาการสูงขนึ้ ได้ ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 223

รางวลั Best Oral Presentation เรอ่ื ง Colorimetric Detection of Agricultural-Based Contaminants in Water Using Silver Nanoparticles Synthesized in the Presence of Tannic Acid Under UV Exposure สาขา Science and Technology จาก 3rd International Conference on Nanotechnology and Nanomaterials in Energy (ICNNE 2018) รองศาสตราจารย์ ดร.วมิ ลวรรณ พิมพ์พนั ธ ์ุ ภาควชิ าวัสดุศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตร์ 224 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรตบิ ุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

การศกึ ษา (ปี พ.ศ. ทจี่ บ/คณุ วฒุ ิ (สาขา)/สถานศึกษา) ๒๕๓๗ วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ เกยี รตนิ ิยมอันดบั ๑ (วัสดุศาสตร)์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒๕๔๒ Ph.D. (Polymer Science), The University of Akron, U.S.A. การท�ำงาน ๒๕๓๗ เขา้ รับราชการในต�ำแหน่งอาจารย์ประจ�ำภาควิชาวสั ดศุ าสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ ปจั จบุ นั ดำ� รงตำ� แหนง่ รองศาสตราจารย์ ระดับเช่ยี วชาญ ผลงานวิจัยเด่น ดา้ นพลาสติกทย่ี ่อยสลายทางชีวภาพ ทำ� ใหไ้ ด้รบั รางวลั “ทนุ วิจยั ลอรอี ลั ประเทศไทย เพอ่ื สตรใี นงาน วิทยาศาสตร์” จาก บรษิ ทั ลอรอี ัล ประเทศไทย จำ� กดั โดยการสนับสนนุ ของสำ� นักเลขาธกิ ารคณะกรรมการ แห่งชาติ ว่าด้วยการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรม แห่งสหประชาชาติ ปีท่ี ๔ พ.ศ. ๒๕๔๙ และ ได้รับรางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๔๙ จากมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในพระบรมราชูปถมั ภ์ รางวัลที่ไดร้ ับในคร้งั น้ี Best Oral Presentation ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ จากการนำ� เสนอผลงานวิจัย เรอื่ ง Colorimetric detection of agricultural-based contaminants in water using silver nanoparticles synthesized in the presence of tannic acid under UV exposure Abstract: The contamination of the chemicals used for agriculture especially in water is increasingly concerned. Therefore, the main objective of this research was to study the sensing ability to agricultural-based contaminants of silver nanoparticles synthesized using tannic acid as a reducing agent and a stabilizer at room temperature under UV exposure and acidic condition. While UV exposure times were varied from 15, 30, 45 to 60 minutes, pHs used were at 5 and 6. After adding these agricultural-based chemicals, the color changes of the silver nanoparticles colloids from yellow to yellowish green in the case of ammonia and to orange in the case of glyphosate and paraquat were observed by the naked-eyes. It was found that the same synthesis condition of pH 5 and UV exposure time of 15 minutes yielded silver nanoparticles that suitably detected each chemical. At this condition, the wavelength shifts in UV-visible spectra of the nanoparticles colloids mixed with ammonia, glyphosate and paraquat were as high as 117, 208 and 61 nm, respectively. Their absorbance intensities also increased with increasing the chemicals concentrations from 50 to 500 ppm. These results suggested the possibility of using this method for colorimetric detection of agricultural-based contaminants in water. ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 225

รางวลั Best Presentation Award เรื่อง Surface Modification of Cellulose Membranes from Water Hyacith with Sulfur Hexafluoride Plasma for Biomedical Applications สาขา ฟสิ ิกส์ จาก 11th International Symposium on Advanced Plasma Science and its Applications for Nitrides and Nanomaterials (ISPlasma 2019) และ 12th International Conference on Plasma-Nano Technology & Science (IC-PLANTS2019) ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.บุญโชติ เผา่ สวัสดย์ิ รรยง ภาควชิ าฟสิ ิกส์ คณะวทิ ยาศาสตร์ 226 ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

“Surface modification of cellulose membranes from water hyacinth with sulfur hexafluoride plasma for Biomedical Applications.” In this work, cellulose fibers prepared from water hyacinth was subjected to regenerating procedure with sodium hydroxide and thiourea followed by treatment with ammonium sulfate. The regenerated cellulose membranes (RCM) obtained possess higher porosity upto 80-90% and more evenly distributed pore sizes. Plasma of several gases has been used to modify the obtained membranes to improve their properties. It has been shown that surface treatment of sulfur hexafluoride plasma on chemically modified regenerated cellulose membranes resulted in a highly hydrophobic surface, an optimum cytotoxicity and an antibacterial properties through an increase in surface roughness and an incorporation of fluorine atoms. ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 227

รางวลั Presentation Award เรื่อง Barakol enhances GABAA currents in acutely dissociated rat hippocampal neurons สาขา Biopharmaceutical Sciences จาก 35th International Annual Meeting in Pharmaceutical Sciences (IAMPS35), March 8, 2019, Bangkok, Thailand รองศาสตราจารย์ เภสชั กร ดร.ธงชยั สุขเศวต ภาควิชาเภสัชวิทยาและสรรี วทิ ยา คณะเภสัชศาสตร์ 228 ยกย่องเชดิ ชูเกยี รติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รองศาสตราจารย์ เภสัชกร ดร.ธงชัย สุขเศวต จบการศึกษาเภสัชศาสตรบัณฑิต (พ.ศ. ๒๕๓๑) และเภสัชศาสตรม์ หาบัณฑิต (พ.ศ. ๒๕๓๘) จากจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั และจบปริญญาเอก สาขาเภสัชวิทยา (พ.ศ. ๒๕๔๒) จากมหาวิทยาลัยลอนดอน เข้ารับ ราชการในตำ� แหนง่ อาจารย์ ทภ่ี าควชิ าสรรี วทิ ยา คณะเภสชั ศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ในปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ได้รับต�ำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ ได้รับต�ำแหน่ง รองศาสตราจารย์ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ เคยเปน็ Visiting Scientist ท่ี National Institute for Physiological Sciences, Okazaki, Japan, ที่ Brain Science Institute, RIKEN, Wako, Japan และท่ี Department of Neuroscience, Graduate School of Medicine, Kyoto University, Japan และเคยไดร้ ับรางวัล Nagai Award Thailand for Science Research จาก Nagai Foundation Tokyo, Japan ในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ขอ้ มลู ผลงานวจิ ัยเด่น ผลงานวจิ ยั ช้ินนี้เป็นการศกึ ษากลไกการออกฤทธร์ิ ะดับเซลลข์ องสาร Barakol ทีส่ กัด จากใบข้ีเหล็ก (Cassia Siamea Lam.) ซ่ึงมีการใช้เป็นพืชสมุนไพรและใช้ทางการแพทย์ พื้นบ้านมาเป็นระยะเวลายาวนาน ซึ่งพบว่ามีฤทธิ์ต้านอาการวิตกกังวลและสงบประสาท แต่ก็ยังไม่ทราบกลไกแน่ชัด การศึกษาน้ีจึงท�ำการศึกษาผลของ Barakol ที่มีต่อตัวรับ GABAA ของเซลล์ประสาท Hippocampal Neurons โดยใช้เทคนิค Patch clamp ผลการศึกษาพบว่า สาร Barakol มีผลเสริมฤทธิ์ของสารสื่อประสาท GABA ท่ีออกฤทธิ์ ต่อตัวรับ GABAA โดยไม่ได้ผ่านจุดออกฤทธิ์ของสารพวก Benzodiazepine บนตัวรับ GABAA งานวิจัยชิ้นน้ีจึงเป็นข้อมูลกลไกการออกฤทธ์ิของสาร Barakol ที่อาจมีผลในการ ตา้ นอาการวติ กกงั วลและสงบประสาทได้ ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติบคุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 229

นบั เป็นผลงานช้ินแรกท่นี �ำ “MicroRNAs in Extracellular Vesicles” มาใช้ในการ ตรวจวินิจฉัยภาวะพร่องเอนไซม์จีซิกพีดี โดย extracellular vesicles เป็นเวซิเคิล ขนาดเล็กกว่า ๑ ไมครอนที่สร้างมาจากผนังเย่ือหุ้มเซลล์ขณะถูกกระตุ้นจากกระบวนการ ตายแบบ apoptosis การศกึ ษาวิจยั ก่อนหนา้ น้ีพบว่า extracellular vesicles มกี ารสรา้ ง มากข้ึนในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อภาวะเครียดจากปฏิกิริยาการเกิดออกซิเดชั่น (oxidative stress) เช่น ในผู้ท่ีมีภาวะพร่องเอนไซม์จีซิกพีดี และเป็นท่ีทราบโดยทั่วกันแล้วว่า extracellular vesicles สามารถบรรจุ microRNA คณะผู้วิจัยจึงสนใจว่า microRNA ท่ีอยู่ใน extracellular vesicles น้ันจะสามารถตรวจได้สูงขึ้นในตัวอย่างเลือดผู้ที่มีภาวะ พร่องเอนไซม์จีซิกพีดีหรือไม่ จากการใช้โปรแกรมทาง bioinformatics ในการท�ำนาย และเลือกชนดิ microRNA พบวา่ miRNA ชนดิ miR-16, miR-24, miR-138, miR-195 and miR-451 สามารถตรวจพบได้ในเม็ดเลือดแดง ผู้วิจัยจึงเลือกเป็น microRNA ท่ีจะ ท�ำการตรวจในตวั อยา่ งเลอื ดผู้ปว่ ยจีซิกพดี ีจำ� นวน ๑๑๐ ราย ด้วยอาศัยหลกั การ qRT-PCC จากการศึกษาวิจัยโดยใช้เทคนิคโฟลไซโตมิทรีพบว่า ในคนปกติ extracellular vesicles ตรวจพบไดใ้ นระดบั ตำ่� มาก ระดบั extracellular vesicles มปี รมิ าณเพมิ่ สงู ขน้ึ ในผทู้ ม่ี ภี าวะ พรอ่ งเอนไซมจ์ ซี กิ พดี อี ยา่ งมนี ยั สำ� คญั (median range 1051 (865-2532) /µl) โดยเฉพาะ ในผู้ป่วยท่ีมีระดับการพร่องเอนไซม์จีซิกพีดีชนิดรุนแรง (severe G6PD deficiency) (median range 2567 (1216-2532) /µl) ระดับความเขม้ ข้นของ extracellular vesicles สูงข้ึนสอดคล้องกับระดับของการพร่องเอนไซม์จีซิกพีดี โดยเวซิเคิลท่ีสูงข้ึนในผู้ท่ีมีภาวะ พร่องเอนไซม์จีซกิ พดี นี ้สี รา้ งมาจากเมด็ เลอื ดแดง (red cell derived microparticles) ถงึ รอ้ ยละ ๔๕ ตามด้วยเกลด็ เลือด (platelet derived microparticles) คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๓๐ และตรวจพบ miR-24 และ miR-138 สูงขึ้นในผู้ป่วยท่ีมีภาวะพร่องเอนไซม์จีซิกพีดี อยา่ งมนี ัยส�ำคัญทางสถติ เิ ม่อื เทียบกบั ในคนปกติ ดังนัน้ ผลการศกึ ษาในครั้งนช้ี ี้ใหเ้ ห็นความ สำ� คัญของ extracellular vesicles ท่ีบรรจุ miRNA ท่ีอาจพฒั นาไปเป็นตัวบง่ ชี้ทางชวี ภาพ ในการวินิจฉัยภาวะพรอ่ งเอนไซมจ์ ีซกิ พดี ีได้ 230 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รางวลั Best Poster Award เรอ่ื ง MicroRNAs in Extracellular Vesicles: Potential Biomarkers for G6PD Deficiency Diagnosis สาขา Hematology จาก The Japanese Society of Hematology ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรรถกร ปาละสวุ รรณ ภาควชิ าจุลทรรศนศ์ าสตร์คลนิ ิก คณะสหเวชศาสตร์ ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 231

รางวลั Best Poster Award เรื่อง Mobile Phone Based G6PD: a Novel Tool to Identify G6PD Deficiency สาขา Hematology จาก The Japanese Society of Hematology ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ดวงดาว ปาละสวุ รรณ ภาควิชาจลุ ทรรศน์ศาสตร์คลนิ ิก คณะสหเวชศาสตร์ 232 ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รตบิ ุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

“Mobile phone based G6PD” เป็นนวัตกรรมชิ้นแรกท่ีพัฒนาวิธีการตรวจวินิจฉัยภาวะ พร่องเอนไซม์จีซิกพีดีด้วยการใช้โทรศัพท์มือถือ เน่ืองจากภาวะพร่องเอนไซม์จีซิกพีดีเป็นโรคท่ีเก่ียวข้อง กับความผิดปกติของเอ็นไซม์ในเม็ดเลือดแดงท่ีพบมากท่ีสุด ท่ัวโลกจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรม โดยมีประชากรมากกว่า 400 ล้านคนทั่วโลกมภี าวะพร่องเอนไซมน์ ้ี โดยภาวะพร่องเอนไซมด์ ังกลา่ วอาจ สง่ ผลให้เกิดการแตกของเม็ดเลือดแดง เชน่ ทารกตวั เหลืองแรกคลอด ภาวะเม็ดเลอื ดแดงแตกเฉยี บพลนั และเมด็ เลือดแดงแตกเรอ้ื รัง เม่ือไดร้ บั สารกระตุ้น โดยเฉพาะสารอนมุ ูลอสิ ระ เช่น จากการรับประทาน ถั่วปากอา้ จากการตดิ เชือ้ โรคต่าง ๆ ซงึ่ จะท�ำใหเ้ ซลลเ์ ม็ดเลอื ดขาวหลั่งสารอนุมลู อสิ ระมากขึน้ เพ่ือมา ก�ำจัดเช้ือโรค หรือจากการได้รับยาในกลุ่มยาแก้ปวด ลดไข้ รวมถึงยาปฏิชีวนะบางชนิด และกลุ่มยา รกั ษาโรคมาลาเรีย เป็นต้น ซง่ึ โรคมาลาเรียเปน็ โรคตดิ เช้ือทพี่ บไดบ้ อ่ ยในประเทศไทยเช่นกนั และมักอยู่ ในภูมิภาคท่ีมีผู้มีภาวะพร่องเอ็นไซม์ชนิดนี้ด้วย ดังนั้นการตรวจวินิจฉัยภาวะพร่องเอนไซม์จีซิกพีดี ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง รวดเรว็ จงึ มคี วามสำ� คญั ตอ่ การรกั ษา เพราะหากใหย้ าซง่ึ มฤี ทธเิ์ ปน็ อนมุ ลู อสิ ระในปรมิ าณ ท่ีแรงเกนิ ไปอาจชกั น�ำใหเ้ มด็ เลอื ดแดงแตกทำ� ลายอยา่ งฉบั พลนั และเกิดภาวะแทรกซ้อนท่อี าจตามมาได้ ในปัจจุบันห้องปฏิบัติการทางเทคนิคการแพทย์ทั่วไปในประเทศไทยจะตรวจแต่วิธีในเชิงคุณภาพ (qualitative assay) และเป็นวิธีการคัดกรองเบื้องต้นเท่าน้ัน ซึ่งมีความไวต่�ำ และราคาสูง การตรวจ เชิงปริมาณจะมีเฉพาะในโรงพยาบาลขนาดใหญ่ และมีวิธีการเตรียมยุ่งยาก ใช้เวลาตรวจนานและ ราคาสูง ดังนั้นการวินิจฉัยท่ีต้องการความถูกต้อง สามารถรายงานในเชิงปริมาณได้ ประหยัด ใช้เวลา รวดเรว็ ทนั เวลาแม้วา่ จะอย่ใู นภมู ภิ าคทหี่ า่ งไกลหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทสี่ ามารถตรวจวนิ จิ ฉยั ได้จงึ เปน็ สง่ิ ส�ำคญั ในการช่วยชีวิตผู้ป่วยได้ คณะผู้วิจัยจึงพัฒนานวัตกรรมต่อยอดจากนวัตกรรมชุดตรวจ G6PD บนฐาน กระดาษของคณะผู้วิจัยซึ่งใช้หลักการเคลือบข้ีผึ้งบนกระดาษเพ่ือก่อให้เกิดช่องทางการไหลของสาร และใชป้ ฏิกริ ยิ าเคมกี อ่ ใหเ้ กดิ การลดลงของสี tetra-nitro blue tetrazolium (TNBT) เกิดสารประกอบ ฟอร์มาแซนข้ึนจึงสามารถวัดอัตราการท�ำงานของเอ็นไซม์ได้โดยน�ำมารายงานเชิงปริมาณด้วยการใช้ เทคโนโลยีบนโทรศพั ท์มือถือ (smart phone) ในการถ่ายภาพปฏกิ ิรยิ าทเ่ี กิดข้นึ โดยพบความสมั พนั ธ์ ของสที เ่ี กิดขึน้ จากอุปกรณ์การตรวจมาตรฐาน (biochemical assay) และการตรวจวัดจากมือถอื มีค่า r2=0.87 และ p<0.01 และมีค่าความสอดคล้อง Bland-Altman bias plot ดีมาก และยังสามารถ วดั ได้แมจ้ ะมี G6PD activity (detection limit) เทา่ กบั ๐ นอกจากน้นั ชดุ ตรวจนี้ยงั มี ราคาเพยี ง ๐.๑ เหรียญสหรัฐอเมริกา ซง่ึ มี ราคาตำ่� กวา่ ในทอ้ งตลาดมากกวา่ ๕๐ เทา่ และยังสามารถวิเคราะห์ในเชิงปริมาณได้ อกี ด้วย ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติบคุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 233

ปรรางะเวภัลรทะบดับุคชคาตลิ



รางวลั สภาวิจัยแห่งชาติ : นกั วิจยั ดีเด่นแห่งชาติ ประจ�ำปี ๒๕๖๒ สาขา เศรษฐศาสตร์ จาก สำ� นกั งานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) ศาสตราจารย์ ดร.วรเวศม์ สวุ รรณระดา คณะเศรษฐาสตร์ 236 ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ศาสตราจารย์ ดร.วรเวศม์ สวุ รรณระดา เกิดเม่ือวนั ที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๑๖ จบการศึกษา สงู สุดระดับปรญิ ญาเอก สาขาเศรษฐศาสตร์ จาก Osaka University ประเทศญ่ปี ุ่น ปจั จุบนั เปน็ อาจารย์ประจ�ำ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และยังด�ำรงต�ำแหน่งเป็นคณบดี คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และคณะกรรมการจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติด้านการ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ และ อ.ก.พ. วิสามัญเก่ียวกับการพัฒนาระบบ บรกิ ารเพอื่ รองรบั การเขา้ สสู่ งั คมสงู อายุ ในอดตี เคยดำ� รงตำ� แหนง่ คณบดวี ทิ ยาลยั ประากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูประบบเพ่ือรองรับสังคมสูงวัย สภาปฏริ ปู แห่งชาติ กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิในคณะกรรมการผู้สูงอายแุ หง่ ขาติ ผลงานวิจัยที่โดดเด่นเป็นผลงานด้านสังคมสูงวัยเชิงเศรษฐศาสตร์ที่ใช้วิธีการวิจัยเชิง เศรษฐศาสตร์ศึกษาเจาะลึกในประเด็นผลกระทบของการเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรต่อ เศรษฐกจิ สงั คม นโยบายบำ� นาญ นโยบายการดแู ลผสู้ งู วยั และระบบการเงนิ การคลงั ประเดน็ ตลาด แรงงานในยุคสังคมสูงวัย รวมถึงบ�ำนาญชุมชน และยังได้มีการสานต่องานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับ สังคมสูงวัย การวิเคราะห์สาเหตุของการเข้าสู่สังคมสูงวัยในประเด็นการมีบุตรน้อย ผลกระทบ เชงิ เศรษฐกิจและสังคมของการเข้าสสู่ งั คมสูงวยั และมาตรการเพ่ือรองรับสงั คมสูงวัยเนน้ ประเดน็ หลักประกันทางสังคมโดยภาครัฐเพ่ือผู้สูงวัย และประเด็นการเงินการคลังเพ่ือสร้างหลักประกัน ทางสงั คมสำ� หรบั รองรบั สงั คมสงู วยั รวมไปถงึ ประเดน็ การเกบ็ ภาษอี ากรและความยงั่ ยนื ทางการคลงั ภายใตส้ งั คมสงู วยั ศาสตราจารย์ ดร.วรเวศม์ สุวรรณระดา เป็นผู้ท่ีมีความคิดริเร่ิมและอุทิศตนอย่างต่อเน่ือง ในการใช้วิธีการวิจัยเชิงเศรษฐศาสตร์ศึกษาเจาะลึกในประเด็นด้านสังคมสูงวัย ผลงานวิจัยได้รับ การถ่ายทอดสู่สาธารณะในรูปแบบต่าง ๆ เพ่ือกระตุ้นการรับรู้และความเข้าใจของสังคมไทย เกี่ยวกับผลกระทบจากการเข้าสู่สังคมสูงวัยและการเตรียมการรองรับ ผลงานวิจัยมีข้อเสนอแนะ เชิงนโยบายโดยตรงเก่ียวกับมาตรการรองรับสังคมสูงวัยด้านระบบบ�ำนาญ เบี้ยยังชีพ การดูแล ระยะยาว และการท�ำงานของผู้สูงอายุถูกใช้ปัจจัยน�ำเข้าในท่ีประชุมของผู้ก�ำหนดนโยบาย ในหลายโอกาส เช่น อนุกรรมการพิจารณาศึกษาร่างพระราชบัญญัติกองทุนการออมแห่งชาติ และร่างพระราชบัญญัติบ�ำนาญแห่งชาติ คณะกรรมาธิการการเงินการคลัง วุฒิสภา คณะ กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพรบ.กองทุนการออมแห่งชาติ คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ คณะกรรมการปฏิรปู ระบบเพื่อรองรับสังคมสงู วยั สภาปฏิรปู แห่งชาติ ยกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 237

ศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์ ดร.เผดจ็ ธรรมรกั ษ์ เปน็ ผบู้ กุ เบกิ งานวจิ ยั ดา้ นสมรรถภาพ ทางระบบสืบพันธ์ุของสุกรและตงั้ ทิศทางของงานวจิ ัยทีเ่ ปน็ อัตลักษณ์เฉพาะตัว โดยเฉพาะ เป็นผู้วิจัยค้นคว้าด้านระบบสืบพันธุ์ของสุกรสาวทดแทนมากที่สุดในประเทศไทย ด้วย แนวคิดว่าสุกรสาวทดแทนจะเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในการผลิตสุกร หากเริ่มต้นไม่ดีแล้วผลท่ี ตามมาจะไม่สามารถได้ผลดีอย่างแน่นอน ดังน้ันงานวิจัยจึงเน้นท่ีสามารถประยุกต์ใช้ ในทางอุตสาหกรรมเลี้ยงสุกรของประเทศไทยได้ (Applied Clinical Research) (เช่น Tummaruk and Sang-Gassanee 2013; Tummaruk 2013; Pearodwong et al. 2016) ให้ความส�ำคัญกับการวิจัยเพื่อน�ำไปใช้ประโยชน์ได้จริง เน้นงานวิจัยท่ีเป็นประโยชน์กับ ประเทศชาติ ชมุ ชน และเกษตรกร ตัวอย่างท่เี ห็นชัด คือ การศกึ ษาแนวทางการจดั การสกุ ร สาวทดแทนอย่างมปี ระสิทธภิ าพ เพ่อื เพ่ิมผลผลติ ให้แกเ่ กษตร และลดการสูญเสียสุกรสาว เรว็ เกนิ ไป ท�ำใหไ้ ดร้ บั เชญิ เปน็ วทิ ยากรเพอื่ ใหค้ วามรแู้ ละฝกึ อบรมนกั วชิ าการและเกษตรกร เรอ่ื ง “การจดั การสุกรสาวทดแทนอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ” อยา่ งกวา้ งขวางทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศ นอกจากนี้ยังได้น�ำความรู้ที่ได้จากการวิจัย ไปถ่ายทอดแก่เกษตรกร รายย่อย ในภมู ิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย เพ่อื เพม่ิ องคค์ วามรใู้ นการบรหิ ารจัดการสุกร อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ลดตน้ ทนุ การผลติ เพมิ่ รายไดต้ อ่ ครวั เรอื น มกี ารวจิ ยั จำ� นวนมากทสี่ รา้ ง ความร่วมมือกับภาคเอกชนด้วยการวิจัยเพื่อศึกษาแนวทางการแก้ปัญหาท่ีถูกก�ำหนดโจทย์ โดยภาคเอกชน เช่น ศกึ ษาแนวทางการลดการสูญเสยี ลูกสุกรก่อนหย่านม (Nuntapaitoon and Tummaruk 2018) การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อภูมิคุ้มกันต่อโรคทางระบบ สืบพันธต์ุ า่ ง ๆ ในสกุ รสาวทดแทน (Tummaruk and Tantilertcharoen 2012) งานวจิ ยั ข้างต้นเป็นประโยชน์ต่อภาคอุตสาหกรรมเล้ียงสุกรที่ต้องมีการแข่งขันและต้องมีการผลิต สุกรที่มีคุณภาพ เพื่อเป็นการลดต้นทุนและสร้างผลก�ำไร และเป็นตัวอย่างของการวิจัยสู่ การน�ำไปใชใ้ นภาคอตุ สาหกรรมอย่างแทจ้ รงิ 238 ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รางวัล สภาวิจัยแหง่ ชาติ : นักวจิ ยั ดีเดน่ แห่งชาติ ประจ�ำปี ๒๕๖๒ สาขา เกษตรศาสตร์และชวี วทิ ยา จาก ส�ำนกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ (วช.) ศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.เผดจ็ ธรรมรักษ์ ภาควิชาสตู ศิ าสตร-์ เธนเุ วชวทิ ยา และวทิ ยาการสืบพันธุ์ คณะสตั วแพทยศาสตร์ ยกย่องเชิดชเู กียรติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 239

รางวัล นักวจิ ัยดเี ด่นแห่งชาติ ปี ๒๕๖๒ สาขา ปรัชญา จาก สำ� นกั งานคณะกรรมการวิจัยแหง่ ชาติ (วช.) รองศาสตราจารย์ ดร.อรรจน์ เศรษฐบุตร ภาควิชาสถาปตั ยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 240 ยกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ประวตั ิการศกึ ษา สถ.บ. (สถาปตั ยกรรมศาสตรบัณฑิต สถาปัตยกรรมศาสตร์) จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย วท.ม. (วิทยาศาสตรมหาบัณฑติ วทิ ยาศาสตร,์ เทคโนโลยีอาคาร) มหาวิทยาลยั โคลมั เบีย ปร.ด. (ปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑติ , สถาปัตยกรรม) มหาวทิ ยาลัยโตเกียว ประวตั กิ ารท�ำงาน • ตำ� แหนง่ อาจารย์ (ภาควชิ าสถาปตั ยกรรมศาสตร์ คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร)์ พ.ศ. ๒๕๔๖ • แตง่ ตัง้ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ (สาขาวชิ าสถาปัตยกรรมศาสตร)์ พ.ศ. ๒๕๔๘ • แต่งต้งั รองศาสตราจารย์ (สาขาวิชาสถาปตั ยกรรมศาสตร์) พ.ศ. ๒๕๕๗ ต�ำแหน่งอ่ืน ๆ • กรรมการภาควชิ าสถาปตั ยกรรมศาสตร์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ • ประธานกรรมการฝา่ ยวิชาการ วจิ ยั และประกันคุณภาพภาควชิ าสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย • กรรมการบริหารหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตคณะ สถาปตั ยกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั • กรรมการมลู นิธอิ าคารเขียวไทย • กรรมการรบั รองการลดหรอื หลกี เลย่ี งการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก สถาบนั สงิ่ แวดลอ้ มไทย • รองประธานและประธานอนุกรรมการฝา่ ยตา่ งประเทศ สถาบนั อาคารเขยี วไทย • กรรมการกองทนุ เพอ่ื ส่งเสรมิ การอนรุ กั ษพ์ ลังงาน กระทรวงพลังงาน • กรรมการจดั ฝกึ อบรมและจัดสอบใบอนญุ าตผู้ประเมนิ แบบอาคารอนุรกั ษ์พลงั งาน • สภาสถาปนกิ ร่วมกับสภาวิศวกร และกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลงั งาน สาขาความเชี่ยวชาญ • การออกแบบอาคารประหยัดพลังงาน อาคารเขียว • การบรหิ ารจัดการอาคารเขียว • การจัดการพลงั งานในอาคาร ยกย่องเชิดชเู กียรตบิ ุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 241

รางวัล ศาสตราจารย์วิจยั ดีเดน่ ประจ�ำปี ๒๕๖๒ เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพของหอยทากไทย: การวจิ ยั และพฒั นาจากการวเิ คราะหเ์ ชงิ ลกึ ทางววิ ฒั นาการไปสกู่ ารรงั สรรคธ์ รุ กิจจากฐานชีวภาพ สาขา ชีววทิ ยา จาก ส�ำนกั งานกองทุนสนับสนุนการวจิ ัย (สกว.) ศาสตราจารย์ ดร.สมศักด์ิ ปญั หา ภาควิชาชีววิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์ 242 ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ศาสตราจารย์ ดร.สมศักดิ์ ปญั หา ส�ำเรจ็ การศกึ ษาปริญญาเอกทางดา้ นสตั ววิทยาจาก Kyoto University ประเทศญปี่ นุ่ เมอื่ พ.ศ. ๒๕๓๑ ผไู้ ดร้ บั แรงบนั ดาลใจจากความมหศั จรรย์ ของหอยทาก รว่ มมอื กบั ลกู ศษิ ยแ์ ละเครอื ขา่ ยทงั้ ในและตา่ งประเทศจนพฒั นาความรพู้ นื้ ฐาน ทางอนกุ รมวธิ านและซสิ เทมาตคิ สใ์ นหอยทากไทยและภมู ภิ าคอาเซยี น จนนำ� ความรพู้ นื้ ฐาน ไปสูก่ ารประยุกตท์ างธุรกิจ ข้อมลู ผลงานวจิ ยั เดน่ คน้ พบหอยทากไทยมากกวา่ ๖๐๐ สปีชสี ์ และเปน็ ชนดิ ใหมข่ องโลกถึง ๑๒๕ สปชีส์ ตีพิมพ์ผลงานวิจัยในบทความวิจัยระดบั นานาชาติด้านหอยทากมากกวา่ ๑๐๐ เรื่อง จนได้ รับทุนวิจัยที่เป็นเกียรติยศได้แก่ เมธีวิจัยอาวุโส สกว. Darwin Initiative Fauna and Flora International (FFI) และ Thai-French Project ไดร้ บั รางวลั ผลงานวิจัยมากมายอาทิ TWAS for Young Scientist in Thailand และ รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ และผลงานวิจัยเด่น สกว. Top Ten Award for Species Exploration และ Gold Medal Award (2015) Seoul International Invention Fair และ 2016 Gold Medal in 44th International Exhibition of Innovations of Geneva น�ำผลงานวิจัยไปสู่การจดสิทธิบัตรและใช้ประโยชน์ในทางธุรกิจ ร่วมกับทีมวิจัยสร้าง บรษิ ทั SIAM SNAIL และผลติ ภัณฑ์ SNAIL8 และมีแนวทางพัฒนางานวจิ ยั เชงิ ใชป้ ระโยชน์ จากเมือหอยทากสายพันธุ์ไทยสู่ ผลิตภัณฑ์เวชส�ำอาง ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ภายใต้ทุนวจิ ัย “ศาสตราจารย์วจิ ัยดีเด่น สกว. ประจำ� ปี ๒๕๖๒” ซึ่งเป็นการสนับสนุนนักวิจัยอาวุโสที่มีผลงานวิจัยดีเด่นในสาขาวิชา และมีการส่ังสม องคค์ วามรทู้ พี่ ร้อมจะพัฒนาต่อยอดงานวจิ ัยใหเ้ กิดประโยชน์ในหลากหลายมติ ิ ยกย่องเชดิ ชเู กยี รติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 243

รางวัล เมธวี จิ ัยอาวุโส สกว. เร่ือง ความหลากหลายทางชวี ภาพของหอยทากไทย: การวจิ ัยและพฒั นาจากการวิเคราะห์เชิงลกึ ทางวิวัฒนาการไปสู่การรงั สรรคธ์ รุ กจิ จากฐานชีวภาพ สาขา เคมี จาก ส�ำนักงานกองทนุ สนบั สนุนการวิจัย (สกว.) ศาสตราจารย์ ดร.มงคล สวุ ัฒนาสนิ ิทธ ิ์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ 244 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรติบคุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

การศึกษา [1996] Ph.D. (Organic Chemistry), Iowa State University, USA [1991] B.Sc. (1st Hons)/Chemistry, Chulalongkorn University, THAILAND ประสบการณ์การท�ำงาน [2004 - present] Associate Professor, Department of Chemistry, Faculty of Science, Chulalongkorn University, Bangkok, THAILAND [1999 - 2004] Assistant Professor, Department of Chemistry, Faculty of Science, Chulalongkorn University, Bangkok, THAILAND [1997 - 1999] Lecturer, Department of Chemistry, Faculty of Science, Chulalongkorn University, Bangkok, THAILAND [1996 - 1997] Postdoctoral Associate, Center for Advanced Materials, University of Massachusetts Lowell, Lowell, Massachusetts, USA (Professor Daniel J. Sandman) หัวข้องานวิจยั ในปจั จบุ ัน Organic materials: We utlize skills and knowledge in organic synthesis, supramolecular chemistry and spectroscopy in developing of various π-conjugated materials for colorimetric and fluorescence sensing applicatons. The materials of our current interests are polydiacetylenes, phenylene - ethynylene and quinoline-metal complexes. ทนุ การศึกษาและรางวัล [2014] National Distinguished Researchers from Office of the National Research Council of Thailand (NRCT) [2010] Outstanding Research Work from Office of the National Research Council of Thailand (NRCT) [2009] The Wiley-CST Award for Outstanding Publication from Global publisher John Wiley & Sons Inc. [2008] SYNFACTS editorial board selection of the article “Topological Polymerization of tert- Butylcalix[4]arenes Containing Diynes” for its important insights [2002] National Young Scientist Award (Science and Technology Promotion Foundation under patronage of HM King Bhumipol) [2001] STA fellowship, National Institute of Advanced Industrial Science and Technology (AIST), Osaka, Japan; Research area: Enzymatic Hydrolysis of Chitin and Chitosan; Host: Dr. Sei-ichi Aiba [2000] ITIT fellowship, National Institute of Advanced Industrial Science and Technology (AIST), Osaka, Japan; Research area: Enzymatic Hydrolysis of Chitin and Chitosan; Host: Dr. Sei-ichi Aiba ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติบคุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 245

รางวลั แด่นกั ส�ำรวจผู้สร้างแรงบันดาลใจ Explorer Awards 2018 จาก National Geographic Magazine Thailand รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนชิ ย ์ ภาควิชาวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล คณะวทิ ยาศาสตร์ 246 ยกย่องเชิดชเู กยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

เป็นรางวัลท่ีมอบเพื่อเป็นเกียรติแก่นักส�ำรวจผู้สร้างแรงบันดาลใจ ท�ำงานด้วยรักและ ศรทั ธา มงุ่ สรา้ งสารค์ ผลงานทีส่ ่งเสรมิ การแสวงหาและการเรยี นรู้ไมร่ ู้จบ อนั เป็นธรรมชาติ ของมนษุ ย์ โดยไดร้ บั การคดั เลอื กจากการเปน็ นกั วทิ ยาศาสตรห์ ญงิ ไทยคนแรกทไี่ มเ่ พยี งแต่ รว่ มสำ� รวจวจิ ยั และดำ� น้�ำในแอนตารก์ ตกิ แล้ว ยงั เป็นหน่ึงในทีมนักวิทยาศาสตร์ไทยชุดแรก ที่ก�ำลังเดินทางมุ่งหน้าสู่มหาสมุทรอาร์กติกเพื่อส�ำรวจผลการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ และขยะพลาสติก จากความรักและความฝันในวัยเด็กที่หลงใหลในท้องทะเล เป็น แรงบันดาลใจและหลอ่ หลอมใหเ้ ลือกเสน้ ทางเดนิ สูก่ ารเปน็ นกั วิทยาศาสตร์ทางทะเล เรือ่ ง หนึ่งท่ีทุ่มเทท้ังแรงกายแรงใจศึกษาคือ “ปะการัง” ซ่ึงหน่ึงในน้ันคือการรับทุนวิจัยจาก สมาคมเนชน่ั แนล จโี อกราฟฟกิ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ทสี่ นบั สนนุ โครงการศกึ ษาผลกระทบ ท่มี ีต่อแนวปะการงั หลงั เหตกุ ารณ์ธรณพี บิ ัติภัยและคลน่ื ยกั ษส์ ึนามิเมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ยกย่องเชดิ ชูเกยี รตบิ ุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 247

Research Interest 1. Nanoparticles for Drug Development and Cosmetics 2. Biopolymers for Medicinal, Food, Cosmetic and Agricultural Applications 3. Encapsulation Technology 4. Structure-based design, synthesis, molecular modelling and biological activities evaluation of natural resources; 5. X-ray diffraction studies of active compounds from natural resources 6. Herb and Natural products for food supplementary and cosmetics. รางวัลผลงานวจิ ัย ๑. รางวัลผลงานวิจัย ระดับดีมาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ๒๕๖๐ - ๒๕๖๑ เร่อื ง “การออกแบบ การสังเคราะหแ์ ละการประเมนิ ฤทธ์ทิ างชวี ภาพของไคโตซานดดั แปร ที่มสี มบัติเกาะเยอ่ื เมอื กเพื่อเป็นตัวน�ำส่งยาทลี่ ะลายนำ�้ ได้นอ้ ย ๒. ไดร้ บั คดั เลอื กเขา้ หอเกยี รตยิ ศบณั ฑติ ผมู้ คี วามสามารถทางดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี (พสวท.) และรับเสื้อเกียรติยศจากรองนายกรัฐมนตรี พลอากาศเอกประจิน จัน่ ตอง ๓. รางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเภทศาสตราจารย์ ปี ๒๕๖๐ - ๒๕๖๑ ๔. รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ : รางวัลผลงานวิจัย ประจําปี ๒๕๕๔ ผลงานวิจัย เร่ือง “การพฒั นาวัสดุและอปุ กรณ์ต้นแบบสาํ หรบั กักเกบ็ กา๊ ซไฮโดรเจน” (Development of Hydrogen Storage Materials and a Hydrogen Storage Prototype) โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ปราโมช รังสรรคว์ ิจิตร ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.บุนยรัชต์ กติ ยิ านันท์ ดร.สันติ กลุ ประทปี ญั ญา และ รองศาสตราจารย์ ดร.นงนชุ เหมอื งสิน 248 ยกย่องเชิดชเู กยี รติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook