สถานทีต่ ดิ ตอ่ ภาควิชาเภสชั วิทยาและสรีรวิทยา คณะเภสัชศาสตร์ โทรศัพท์ ๐-๒๒๑๘-๘๓๒๕ โทรสาร ๐-๒๒๑๘-๘๓๒๔ E-mail: [email protected] ยกยอ่ งเชิดชูเกียรตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 599
รางวัลผลงานวจิ ัยดีเด่น นิสิตมหาบัณฑิต ผลงานวิจยั เร่ือง การพัฒนาเทคนคิ Allele specific-recombinase polymerase amplification เพือ่ ใช้ในการตรวจวนิ ิจฉยั เชอื้ Mycobacterium tuberculosis ทีด่ ้ือตอ่ ยา Rifampicin และ Isoniazid Development of Allele Specific-Recombinase Polymerase Amplification for Detection of Rifampicin and Isoniazid Resistant Mycobacterium Tuberculosis โดย นางสาวนันทติ า สงิ หพ์ นมชยั อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาหลกั ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปาหนนั รัฐวงศ์จริ กุล ภาควชิ าเวชศาสตร์การธนาคารเลอื ดและจุลชีววทิ ยาคลนิ ิก คณะสหเวชศาสตร์ แหล่งทุนทไ่ี ด้รับ ทุน ๙๐ ปี จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ทุนมหาวทิ ยาลยั แห่งชาติ คลสั เตอร์สุขภาพ ประจ�ำปี ๒๕๕๙ ทนุ สนบั สนนุ นิสิตระดบั ปริญญาเอกและโทไปทำ� วจิ ัยในต่างประเทศ 600 ยกย่องเชดิ ชูเกียรตบิ คุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ผลงานวจิ ัยโดยสรุป วัณโรคเป็นโรคติดเชื้อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขส�ำคัญระดับโลก โดยมีเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis เป็นสาเหตุของการติดเช้ือ การเกิดวัณโรคด้ือยาหลาย ขนาน (Multidrug-resistant Tuberculosis: MDR-TB) ซึ่งเกดิ จากเช้ือ M. tuberculosis ด้ือต่อยาต้านวัณโรคท่ีมีประสิทธิภาพสูงสุดในการรักษา ๒ ชนิด ได้แก่ ยา Rifampicin และยา Isoniazid เป็นอุปสรรคทสี่ ำ� คญั ในการควบคุมการแพรร่ ะบาดของวัณโรค โดยพบ การกลายพันธุข์ องยีน rpoB และยนี katG และยีน inhA เป็นกลไกหลกั ที่ส่งผลให้เชือ้ ดอื้ ตอ่ ยา Rifampicin และยา Isoniazid ตามลำ� ดบั งานวิจัยนี้ได้ศึกษารูปแบบการกลายพันธุ์ของยีน rpoB ซ่ึงสัมพันธ์กับการด้ือต่อยา Rifampicin ยีน katG และยีน inhA ซึ่งสัมพันธ์กับการดื้อต่อยา Isoniazid ด้วยเทคนิค Sanger DNA sequencing ผลการวเิ คราะหล์ ำ� ดบั เบสของเชอ้ื จำ� นวนทงั้ สนิ้ ๒๐๐ สายพนั ธ์ุ ประกอบไปด้วยเช้ือ M. tuberculosis ทเ่ี พาะแยกไดจ้ ากสิง่ ส่งตรวจในประเทศไทยจำ� นวน ๑๕๐ สายพันธุ์ และประเทศญี่ปุ่น ๕๐ สายพันธุ์ พบว่าต�ำแหน่งที่เกิดการกลายพันธุ์ ซึ่งสมั พันธก์ บั การดอ้ื ต่อยา Rifampicin สงู ท่สี ดุ ได้แก่ โคดอน ๕๓๑ โคดอน ๕๒๖ และ โคดอน ๕๑๖ ของยีน rpoB ตามล�ำดับ ขณะท่ีการด้ือต่อยา Isoniazid พบว่ามีการ กลายพันธุ์ที่ต�ำแหน่งโคดอน ๓๑๕ ของยีน katG และล�ำดับเบสที่ ๑๕ เหนือยีน inhA ได้มากที่สุดตามล�ำดับ โดยพบเชื้อท่ีเป็น MDR-TB สายพันธุ์ประเทศไทยจ�ำนวน ๒๖ สายพนั ธ์ุ และสายพนั ธป์ุ ระเทศญ่ปี นุ่ จำ� นวน ๒๘ สายพนั ธตุ์ ามล�ำดับ และได้ทำ� การพฒั นา เทคนิค Allele specific-recombinase polymerase amplification with SYBR Green I (AS-RPAS) สำ� หรับตรวจหาการกลายพันธข์ุ องยนี rpoB ทีต่ ำ� แหนง่ โคดอน ๕๑๖ โคดอน ๕๒๖ และโคดอน ๕๓๑ และยีน katG ท่ตี ำ� แหน่งโคดอน ๓๑๕ และที่ต�ำแหน่งล�ำดับเบส ท่ี ๑๕ เหนือยนี inhA ของเชือ้ M. tuberculosis โดยอาศยั การเพ่ิมปริมาณสารพันธกุ รรม ภายใตอ้ ุณหภมู คิ งที่ ด้วยปฏกิ ริ ยิ า Recombinase polymerase amplification รว่ มกับ Allele specific primer (AS-RPA) ทีไ่ ดร้ ับการออกแบบใหจ้ �ำเพาะต่อบรเิ วณยนี rpoB ที่ ตำ� แหนง่ โคดอน ๕๑๖ โคดอน ๕๒๖ และโคดอน ๕๓๑ และยนี katG ท่ีตำ� แหน่งโคดอน ๓๑๕ นอกจากน้ี primer ดังกล่าวได้ท�ำการออกแบบให้จับได้อย่างจ�ำเพาะกับล�ำดับเบส ยกย่องเชิดชเู กยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 601
ของเชอ้ื M. tuberculosis ทไ่ี มม่ กี ารกลายพนั ธเ์ุ ทา่ นน้ั จากนน้ั ไดท้ ำ� การทดสอบอา่ นผลของ ปฏกิ ิริยาดว้ ยตาเปลา่ ภายหลังการเติมสี SYBR Green I (AS-RPAS) ซ่งึ ใช้ระยะเวลาในการ ทำ� ปฏิกริ ิยารวมทง้ั สนิ้ ไมเ่ กนิ ๔๐ นาที เมือ่ น�ำเทคนิค AS-RPAS มาทดสอบกับเช้ือจ�ำนวน ท้งั สนิ้ ๑๔๒ สายพันธ์ุ พบว่ามีความไวและความจำ� เพาะในการตรวจวินิจฉยั การกลายพันธุ์ ท่ตี ำ� แหนง่ โคดอน ๕๑๖ โคดอน ๕๒๖ และโคดอน ๕๓๑ ของยนี rpoB และโคดอน ๓๑๕ ของยีน katG เท่ากับ ๑๐๐ เปอรเ์ ซน็ ต์ เมอ่ื เปรียบเทียบกับวิธกี ารหาลำ� ดับเบส ในขณะท่ี ความเขม้ ขน้ นอ้ ยทสี่ ดุ ของดเี อน็ เอตน้ แบบทเ่ี ทคนคิ AS-RPAS สามารถวนิ จิ ฉยั การกลายพนั ธ์ุ ไดม้ คี า่ เทา่ กบั ๕ นาโนกรมั และพบวา่ เทคนคิ ทพ่ี ฒั นาขนึ้ ไมท่ ำ� ปฏกิ ริ ยิ าขา้ มกบั เชอื้ แบคทเี รยี สายพนั ธอ์ุ น่ื สง่ิ ท่ีดเี ด่นของงานวจิ ยั วิทยานิพนธ์น้ีไดพ้ ัฒนาเทคนคิ ทางอณูชีววทิ ยา คือ เทคนิค AS-RPAS ซง่ึ สามารถนำ� ไป ป ระยุกต์ใช้ในการตรวจจ�ำแนกเชื้อ M. tuberculosis (ดังบทความวิจัยตีพิมพ์ในวารสาร J ournal of Clinical Laboratory Analysis) และสามารถใช้ในการทดสอบความไวต่อ ยาหลกั ทใี่ ชใ้ นการตา้ นวณั โรค ๒ ชนดิ ไดแ้ ก่ ยา Rifampicin และยา Isoniazid ได้ โดยตรวจ วินิจฉัยการกลายพันธุ์แบบต�ำแหน่งเดียวของยีน rpoB โคดอน ๕๑๖ โคดอน ๕๒๖ และ โคดอน ๕๓๑ และยีน katG โคดอน ๓๑๕ ซง่ึ เป็นตำ� แหน่งหลักทส่ี ง่ ผลให้เกิดการดื้อตอ่ ยา R ifampicin และยา Isoniazid ตามล�ำดับ ท้ังน้ีเทคนิคดังกล่าว ไม่จ�ำเป็นต้องอาศัย เครื่องมือที่มรี าคาแพง หรือมีความจ�ำเพาะ สามารถทำ� การทดสอบไดอ้ ย่างรวดเรว็ ขัน้ ตอน ใ นการทดสอบไม่ยุ่งยากซับซ้อน สามารถอ่านและแปลผลได้ง่ายด้วยตาเปล่า ภายในเวลา ๔๐ นาที มคี วามไว และความจำ� เพาะในการทดสอบ เทยี บเท่ากับเทคนิคทางอณูชีววิทยา 602 ยกย่องเชดิ ชเู กียรติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
อืน่ ๆ เทคนคิ ทีพ่ ฒั นาขึ้นน้ี ไม่จำ� เปน็ ต้อง อ าศัยเครื่องเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรม ( Thermocycler) หรือเคร่ืองทดสอบ Agarose gel electrophoresis จงึ สามารถ น�ำไปประยุกต์ใช้งานได้จริงในห้องปฏิบัติ การขนาดเล็ก หรือสามารถพัฒนาเพื่อใช ้ ในงานภาคสนาม ส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับการ รักษาที่เหมาะสมอย่างทันท่วงทีและมี ประสทิ ธภิ าพ ซงึ่ จะช่วยในการควบคุม หรือลดปริมาณของผปู้ ว่ ยวณั โรค ลดอัตราการรักษา ลม้ เหลว อตั ราการเสยี ชีวติ และช่วยป้องกัน ควบคมุ ไม่ให้เกดิ วณั โรคดือ้ ยาหลายขนานได้ งานวิจัยดังกล่าวได้ถูกน�ำไปพัฒนาต่อยอดเชิงนวัตกรรมในการผลิตชุดทดสอบวัณโรค แบบอ่านผลด้วยตาเปล่า ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากส�ำนักนวัตกรรมแห่งชาติ และขณะนี้ ผู้วิจัยอยู่ในระหว่างการย่ืนขอจดอนุสิทธิบัตร Primer ท่ีได้ออกแบบขึ้นเพ่ือใช้ส�ำหรับ วินจิ ฉยั กลายพันธุข์ องยีน rpoB ทต่ี �ำแหน่งโคดอน ๕๑๖ โคดอน ๕๒๖ และโคดอน ๕๓๑ ซึ่งสัมพันธ์กับการดื้อยา Rifampicin และยีน katG ที่ต�ำแหน่งโคดอน ๓๑๕ ด้วยเทคนิค AS-RPAS สำ� หรับพฒั นานวัตกรรมชดุ ถดั ไปในการผลติ ชุดทดสอบวัณโรคด้ือยาแบบอา่ นผล ด้วยตาเปลา่ สถานท่ีตดิ ตอ่ ภาควชิ า เวชศาสตร์การธนาคารเลือด และจลุ ชวี วทิ ยาคลนิ ิก คณะสหเวชศาสตร์ โทรศพั ท์ ๐-๒๒๑๘-๑๐๘๔ E -mail: [email protected] ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 603
รางวลั ผลงานวจิ ยั ดเี ดน่ นสิ ติ มหาบณั ฑิต ผลงานวจิ ยั เรื่อง การตรงึ โอพีเอ็นบนพอลิอะคริลิกแอซิดบรชั ทกี่ ราฟตบ์ นผิวเพือ่ สง่ เสริมการยดึ ตดิ และการเจริญของเซลลส์ รา้ งกระดูก OPN Immobilization on Surface-grafted Poly(acrylic acid) Brushes to Promote Osteoblast Adhesion and Proliferation โดย นางสาวพณิฎฐา ด�ำสง่ แสง อาจารยท์ ปี่ รึกษาหลัก รองศาสตราจารย์ ดร.วรวีร์ โฮเวน่ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ แหล่งทุนทไ่ี ดร้ บั สำ� นักงานกองทุนสนบั สนุนการวิจยั และโครงการพัฒนาก�ำลังคนด้านวิทยาศาสตร์ (ทนุ เรยี นดวี ทิ ยาศาสตรแ์ ห่งประเทศไทย) 604 ยกย่องเชิดชเู กียรตบิ ุคลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ผลงานวิจยั โดยสรปุ ออสทโิ อพอนตินหรอื โอพีเอ็น (osteopontin; OPN) เปน็ โปรตีนทม่ี ีฤทธ์ทิ างชวี ภาพ กบั เซลล์หลายชนิด โดยเฉพาะอย่างยงิ่ เซลลก์ ระดกู มีรายงานการวิจัยแสดงใหเ้ ห็นวา่ OPN ส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ การสร้างกระดกู ใหม่และกระต้นุ การเกดิ bone mineralization OPN ทีม่ ี จ�ำ หน่ายทางการค้าในปัจจุบันสกัดได้จากกระดูกของสัตว์เล้ียงลูกด้วยนมหรือนม ซึ่งเป็น กระบวนการหลายขน้ั ตอนและได้เปอรเ์ ซน็ ต์ผลผลติ ตำ�่ ทำ� ใหม้ รี าคาสูง จึงยากแกก่ ารน�ำมา OPN มาพัฒนาเป็นวสั ดทุ างการแพทย์ทง้ั ที่มีศกั ยภาพ อยา่ งไรกต็ ามเมือ่ ไมน่ านมานม้ี งี าน วิจัยแสดงให้เห็นว่าสามารถผลิต OPN ได้ในปริมาณมากด้วยราคาที่ถูกกว่าท่ีมีจ�ำหน่าย ทางการค้า โดยอาศัยการผลิตจากตน้ ยาสบู (Nicotiana benthamiana) โดยเรียก OPN ท่ี ผลิตได้ว่า plant-derived recombinant human OPN (p-rhOPN) ซ่ึงแสดงโครงสรา้ ง และ สมบตั ทิ างชวี ภาพทเี่ ทยี บเทา่ กบั OPN ทางการคา้ เมอ่ื นำ� ไปเคลอื บในหลมุ เลยี้ งเซลล์ งานวจิ ยั นเ้ี ปน็ การศกึ ษาหาวธิ กี ารตรงึ p-rhOPN บนวสั ดใุ หม้ เี สถยี รภาพมากกวา่ การเคลอื บ ด้วยแรงกายภาพ โดยการสรา้ งพนั ธะทางเคมรี ะหวา่ ง p-rhOPN กบั พอลิเมอร์ซึง่ ในท่นี คี้ ือ พอลิแอคริลิกแอซิด ท่ีตรึงในลักษณะพอลิเมอร์บรัชบนแผ่นกระจกซึ่งใช้เป็นแบบจ�ำลอง จากการตรวจวัดด้วย ELISA assay พบวา่ การใชพ้ อลเิ มอร์ทมี่ ีหน่วยซ้ำ� ในการเกิดปฏิกริ ิยา เคมีเป็นจ�ำนวนมากท�ำให้สามารถตรึง p-rhOPN ได้ในปริมาณมากกว่าการตรึงบนวัสดุ โดย ตรง ไม่หลุดออกได้ง่ายหากเทียบกับการเคลือบ ที่ส�ำคัญการตรึงด้วยวิธีท่ีพัฒนาขึ้น ยัง คงรักษาสมบัติทางชีวภาพของ p-rhOPN เอาไว้ได้ ในส่วนการส่งเสริมการยึดเกาะ (adhesion) และการแปรสภาพ (differentiation) ไปเปน็ เซลลก์ ระดกู จากการตรวจตดิ ตาม การแสดงออกของยนี ส�ำคญั ไดแ้ ก่ Collagen 1 (Col 1), Osterix (Osx) และ Runt-related tra nscription factor 2 (Runx2) ผลจากงานวิจัยนี้แสดงให้เห็นศักยภาพในการน�ำ p-rhOPN ไปประยกุ ตใ์ ชท้ างด้านวศิ วกรรมเนื้อเย่ือกระดูกต่อไป ยกย่องเชิดชูเกียรติบคุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 605
สิง่ ทดี่ ีเด่นของงานวจิ ัย อง ค์ความรู้ท่ีได้จากงานวิจัยน้ีเป็นผลจากการศึกษาแบบบูรณาการระหว่างศาสตร ์ หลา ยแขนง ได้แก่ เคมีพอลิเมอร์ เภสัชศาสตร์ และชีวการแพทย์ ท�ำให้ได้ผลงานวิจัยท่ีมี ควา มครบถ้วนสมบูรณ์ สามารถตีพิมพ์ผลงานในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ม ี มาต รฐานสูง นอกจากนี้ผลจากการศึกษาวิจัยยังท�ำให้ได้ข้อมูลพื้นฐานและสภาวะการตรึง p-r hOPN ซึ่งเป็นโปรตีนที่ผลิตได้ในปริมาณมากด้วยราคาท่ีถูกกว่าที่มีจ�ำหน่ายทางการค้า ทั้ งยังมีสมบัติส่งเสริมการยึดเกาะ (adhesion) และการแปรสภาพ (differentiation) ไปเป็นเซลลก์ ระดูก เหมาะสมสำ� หรบั ประยุกต์ใช้กับวสั ดอุ ืน่ เชน่ bacterial cellulose ทีม่ ี 606 ยกย่องเชดิ ชเู กยี รตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
เป้ าหมายจะพัฒนาไปใช้เป็นแผ่นก้ันเนื้อเย่ือ (Guided Tissue Regeneration (GTR) mem brane) ซ่ึงเป็นวัสดุทางการแพทย์ที่มีมูลค่าทางการค้าต่อไป นอกจากน้ียังน�ำไปสู่ การยน่ื จดสทิ ธบิ ตั ร ๑ เรอื่ ง และผลงานวจิ ยั ทอ่ี ยรู่ ะหวา่ งการพจิ ารณาเพอื่ ตพี มิ พโ์ ดยวารสาร วชิ าการระดับนานาชาตอิ ีก ๑ ฉบบั สถานที่ตดิ ตอ่ ภาควชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตร์ โทรศพั ท์ ๐๘-๙๘๑๐-๓๕๑๕ โทรสาร - E-mail: [email protected] ยกย่องเชิดชูเกยี รตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 607
รางวัลผลงานวจิ ัยดเี ดน่ นิสติ มหาบัณฑติ ผลงานวจิ ัยเรือ่ ง การระบุยีนและเมแทบอไลต์ท่เี กีย่ วข้องกับการสกุ ของผลทเุ รยี น Identification of Genes and Metabolites Involved Indurian Durio Zibethinus Fruit Ripening โดย นางสาวพิณณพรรษ ป่นิ ศร อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาหลัก รองศาสตราจารย์ ดร.ศภุ อรรจ ศริ กิ ันทรมาศ ภาควชิ าชีวเคมี คณะวทิ ยาศาสตร์ แหลง่ ทนุ ทีไ่ ด้รบั ทนุ ๙๐ ปี จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย กองทนุ รชั ดาภเิ ษกสมโภช สำ� นกั งานการวิจยั แหง่ ชาติ มูลนธิ ิพระบรมราชานุสรณพ์ ระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หวั ฯ 608 ยกย่องเชิดชเู กียรติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ผลงานวจิ ยั โดยสรุป ทุเรียน (Durio zibethinus M.) เป็นผลไม้เศรษฐกิจท่ีส�ำคัญท่ีสร้างสารประกอบ ระเหยกลุ่มซัลเฟอร์ ช่วงการสุก แต่อย่างไรก็ตาม มีการศึกษาไม่มากนักเกี่ยวกับซัลเฟอร์ เมแทบอลิซึม ซึ่งมีความส�ำคัญในผลทุเรียน ในการศึกษาน้ี ได้บูรณาการเมแทบอโลมิกส์ โดยใช้ CE-TOF/MS รว่ มกบั ทรานสครปิ โตมกิ สโ์ ดย de novo RNA-sequencing เพอื่ ศกึ ษา การเปลยี่ นแปลงเมแทบอลซิ มึ ของซลั เฟอรแ์ ละองคป์ ระกอบทางเคมที เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั คณุ ภาพ ของผลทุเรยี น จากผลการทดลองพบว่า ในช่วงการสกุ ของผลทุเรียน การแสดงออกของยีน ท่ีเกี่ยวข้องกับซัลเฟอร์เมแทบอลิซึมสอดคล้องกับปริมาณท่ีลดลงของซัลเฟตไอออนใน เนอื้ เยอ่ื รกและการเพม่ิ ขนึ้ ของเมแทบอไลตท์ เี่ กยี่ วขอ้ งกบั ซลั เฟอรเ์ มแทบอลซิ มึ ในเนอื้ ทเุ รยี น เป็นท่ีน่าสังเกตว่า เน้ือผลทุเรียนสะสมแกมมา-กลูตามิลซิสเทอีนและกลูตาไธโอนซ่ึงเป็น สารต้านอนุมูลอิสระในปริมาณสูง จากการวิเคราะห์การแสดงออกของยีนท่ีเก่ียวข้องกับ วัฏจักรของแกมมา-กลูตามิลด้วย real-time RT-qPCR พบว่า ซัลเฟอร์จะถูกเก็บสะสม ยกยอ่ งเชิดชเู กียรตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 609
ในรูปของแกมมา-กลูตามิลซิสเทอีน นอกจากน้ันยังพบระดับการสะสมซิสเทอีนและลิวซีน และระดับการแสดงออกของยีนสรา้ งพอลกิ าแลกทูโรเนสและ ACC ออกซิเดส ซ่งึ สง่ ผลตอ่ ความแตกตา่ งระหว่างทเุ รยี นพันธ์หุ มอนทองและชะนี การค้นพบเหล่าน้ีใหข้ ้อมูลที่มคี ณุ คา่ ซ่ึงเป็นจุดเร่ิมต้นในการน�ำไปสู่การปรับปรุงคุณภาพของผลทุเรียนผ่านการปรับปรุงพันธุ์พืช เชิงโมเลกลุ สงิ่ ที่ดเี ด่นของงานวิจัย วทิ ยานพิ นธน์ ศ้ี กึ ษาเกยี่ วกบั เมแทบอไลตแ์ ละยนี ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั รสชาติ กลน่ิ และการสกุ ของผลทเุ รยี น โดยเฉพาะเมแทบอไลตท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั รสชาติ ไดแ้ ก่ กรดอะมโิ นและกรดอนิ ทรยี ์ ต่าง ๆ และเมแทบอไลต์ที่มีฤทธ์ิต้านอนุมูลอิสระ ได้แก่ แกมมา-กลูตามิลซิสเทอีนและกลู ตาไธโอน สารท้ังสองชนิดนี้ยังเกี่ยวข้องกับการเพ่ิมความเข้มข้นของรสชาติอีกด้วย และยัง พบวา่ มกี ารสะสมแกมมา-กลตู ามลิ ซสิ เทอนี และกลตู าไธโอนในเนอื้ ทเุ รยี นในปรมิ าณทสี่ งู กวา่ ผลไม้ชนิดอ่ืน ๆ นอกจากน้ันยังสามารถระบุเมแทบอไลต์และยีนที่เกี่ยวข้องกับซัลเฟอร์เม แทบอลิซึม ซึ่งเมแทบอลิซึมน้ีเก่ียวข้องกับการสร้างกลิ่นซัลเฟอร์ของทุเรียนท�ำให้ทุเรียนมี เอกลักษณ์ที่โดดเด่น แตกต่างจากผลไม้ชนิดอื่น และยังพบว่าทุเรียนพันธุ์ชะนีมีการสะสม ซิสเทอีน ซึ่งเป็นสารตั้งต้นในการสร้างกล่ินซัลเฟอร์มากกว่าพันธุ์หมอนทอง สอดคล้องกับ ทเุ รียนพนั ธ์ุชะนที ่มี กี ลน่ิ แรงกว่าพนั ธุ์หมอนทอง ข้อมูลตา่ ง ๆ เหลา่ นี้ยงั ไม่เคยมีการรายงาน มาก่อน ซ่ึงเป็นข้อมูลทางชีวภาพที่สามารถเพิ่มมูลค่าของทุเรียนได้ นอกจากน้ี ยีนและ เมแทบอไลต์ในซัลเฟอร์ เมแทบอลิซึมก็ยังไม่พบการรายงานในผลไม้อ่ืน ๆ มาก่อนเช่นกัน การค้นพบยีนและเมแทบอไลต์ท่ีเกี่ยวข้องกับคุณภาพของทุเรียน เช่น รสชาติ กล่ิน หรือ แม้แต่กระบวนการสุกของผลทุเรียน จะเป็นข้อมูลท่ีส�ำคัญต่อการวิจัยและจะน�ำไปสู ่ การพัฒนาเคร่ืองหมายโมเลกุลเพื่อช่วยในการปรับปรุงพันธุ์หรือปรับปรุงคุณภาพของผล หลังการเก็บเกี่ยวและท�ำให้ทุเรียนซ่ึงเป็นผลไม้เศรษฐกิจที่ส�ำคัญของไทย มีคุณภาพและ เปน็ ที่ต้องการของผูบ้ ริโภคท้ังในและนอกประเทศ 610 ยกย่องเชิดชูเกยี รติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
การค้นพบในเรื่องที่น่าสนใจเหล่านี้ ท�ำให้ส่วนหน่ึงของวิทยานิพนธ์น้ีได้รับการตีพิมพ์ เผยแพรใ่ นวารสารระดบั นานาชาตริ ะดบั Tier I Food Chemistry ในหวั ขอ้ เรอ่ื ง Metabolic variation in the pulps of two durian cultivars: unraveling the metabolites that contribute to the flavor และได้รับการตพี ิมพ์ proceedings ในหัวขอ้ เร่อื ง Dynamic expression of sulfate transporter genes in durian flesh during fruit ripening นอกจากนน้ั สว่ นหนึง่ ของงานวิจัยน้ยี ังได้รับการเผยแพรล่ งในวารสารเคหการเกษตร ฉบบั เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งเป็นการถ่ายทอดความรู้จากงานวิจัยในห้องปฏิบัติการสู่ เกษตรกรและบคุ คลทว่ั ไป เปน็ การใหข้ อ้ มลู ทเ่ี ปน็ ประโยชนก์ บั ผทู้ สี่ นใจรวมทง้ั ผทู้ ชี่ นื่ ชอบใน การบรโิ ภคทเุ รยี นอีกดว้ ย สถานท่ีตดิ ต่อ หนว่ ยปฏิบัติการวจิ ยั พืชผลในระดบั โมเลกุล ภาควชิ าชีวเคมี คณะวทิ ยาศาสตร์ โทรศพั ท์ ๐-๒๒๑๘-๕๔๓๒ E-mail: [email protected] ยกย่องเชดิ ชูเกียรตบิ ุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 611
รางวัลผลงานวจิ ยั ดเี ด่น นิสติ มหาบัณฑติ ผลงานวจิ ัยเร่อื ง ผลกระทบจากระนาบผลกึ ของซเี รยี ทมี่ ตี อ่ ความสามารถในการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมขี องตวั เรง่ ปฏิกริ ยิ าทองบนซีเรียในปฏกิ ริ ยิ าออกซิเดชันแบบเลือกเกิดของคารบ์ อนมอนอกไซด์ Crystal-Plane Effect of Ceria on the Activity of Au/CeO2 for Preferential CO Oxidation โดย นายไมค์ คาร์ลตันเบริด์ อาจารยท์ ปี่ รึกษาหลัก ศาสตราจารย์ ดร.อาภาณี เหลืองนฤมติ ชัย วิทยาลยั ปิโตรเลียมและปโิ ตรเคมี แหลง่ ทนุ ทไี่ ดร้ ับ กองทนุ รชั ดาภเิ ษกสมโภช จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั และโครงการเครอื ขา่ ยพนั ธมติ ร มหาวิทยาลัยเพอื่ การวจิ ยั (Research University Network: RUN) ประจำ� ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ 612 ยกย่องเชิดชเู กยี รติบคุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ผลงานวิจัยโดยสรปุ ไฮโดรเจนนบั ไดว้ า่ เปน็ แหลง่ พลงั งานหลกั สำ� หรบั เซลลเ์ ชอ้ื เพลงิ ในการผลติ กระแสไฟฟา้ อย่างไรก็ตามประสิทธิภาพของขั้วแอโนดของเซลล์เชื้อเพลิงสามารถถูกท�ำลายได้ เมื่อมี ปรมิ าณก๊าซคารบ์ อนมอนอกไซดเ์ พียงเลก็ น้อยในกระแสไฮโดรเจน ซีเรยี (CeO2) นับวา่ เปน็ ตัวรองรบั ท่นี า่ สนใจสำ� หรบั หลาย ๆ ปฏกิ ิริยา รวมไปถงึ ปฏิกิริยาออกซิเดชนั แบบเลือกเกดิ ของคาร์บอนมอนอกไซด์ เนื่องจากคุณสมบัติเฉพาะตัว ลักษณะรูปร่างของซีเรียถือได้ว่า เป็นหนึ่งในตัวแปรส�ำคัญท่ีส่งผลกระทบต่อคุณบัติต่าง ๆ อาทิเช่น ระนาบที่สามารถเกิด ปฏกิ ริ ยิ า พน้ื ทผ่ี วิ สมั ผสั และความสามารถในการกกั เกบ็ ออกซเิ จน รวมไปถงึ การกระจายตวั ของโลหะในตัวเร่งปฏิกิริยา ตัวเร่งปฏิกิริยาทองนับว่าเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาท่ีมีศักยภาพใน ปฏิกิริยาออกซิเดชันแบบเลือกเกิดของคาร์บอนมอนอกไซด์ ในงานวิจัยน้ีได้ท�ำการศึกษา ผลกระทบจากกระบวนการเตรียมตัวรองรับซีเรียด้วยความร้อนหรือไฮโดรเทอร์มอล โดย ตัวแปรได้แก่ ผลกระทบของระยะเวลาในการไฮโดรเทอร์มอล อุณหภูมิท่ีใช้ในการไฮโดร เทอรม์ อล และความเขม้ ขน้ ของสารละลายเบสของโซเดยี มไฮดรอกไซดแ์ ละโซเดยี มฟอสเฟต ทม่ี ตี อ่ รปู ร่างของซเี รีย และนำ� ทง้ั ตัวรองรับซเี รียที่เตรียมไดแ้ ละตัวเร่งปฏิกิริยาทองบนซเี รีย ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติบคุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 613
มาศึกษาความว่องไวในการท�ำปฏิกิริยาออกซิเดชันแบบเลือกเกิดของคาร์บอนมอนอกไซด์ เพือ่ หาความสัมพันธ์ของระนาบของผลกึ ซีเรียตอ่ ความสามารถในการเกดิ ปฏิกริ ยิ า สงิ่ ท่ดี ีเดน่ ของงานวจิ ัย ตัวเร่งปฏิกิริยาทองบนตัวรองรับซีเรียรูปทรงแท่ง มีความว่องไวในการท�ำปฏิกิริยา ออกซเิ ดชนั แบบเลอื กเกดิ ของคารบ์ อนมอนอกไซดโ์ ดยกสามารถเปลยี่ นคารบ์ อนมอนอกไซด์ เปน็ คารบ์ อนไดออกไซดไ์ ด้ถึงรอ้ ยละ ๙๗.๙ ณ อุณหภมู ิ ๓๐°C ซงึ่ ถือไดว้ ่ามีประสิทธิภาพ ในการเกิดปฏิกิริยาที่สูงมาก สามารถน�ำไปต่อยอดเพื่อประยุกต์ใช้ในระดับอุตสาหกรรม ต่อไป เน่ืองจากมีประสิทธิภาพของตัวเรง่ ปฏกิ ริ ยิ าที่สงู 614 ยกยอ่ งเชิดชูเกียรติบคุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
สถานท่ตี ิดต่อ เทคโนโลยปี โิ ตรเคมี วิทยาลัยปิโตรเลยี มและปิโตรเคมี โทรศัพท์ ๐๘-๗๗๓๒-๘๕๔๙ โทรสาร - E-mail: [email protected] ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 615
รางวลั ผลงานวิจยั ดเี ด่น ด้านการน�ำไปใช้ประโยชน์ตอ่ สังคม สาขา มนุษยศาสตร์ ผลงานวจิ ยั เร่ือง การเทยี บคะแนนขอ้ สอบ CU-TEP กบั กรอบมาตรฐานอา้ งองิ สากลยุโรป (CEFR) โดย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จริ ดา วุฑฒยากร สถาบันภาษา จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย 616 ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติบคุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ประวัตพิ อสงั เขป ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จิรดา วุฑฒยากรจบการศึกษาระดบั มัธยมศึกษาจากโรงเรียนสุรนารีวทิ ยา จงั หวัดนครราชสีมา และศึกษาเลา่ เรียนในระดับอดุ มศึกษา ดังน้ี ค.บ. (เกียรตนิ ิยม) คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ค.ม. (วจิ ัยการศกึ ษา) คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั หลงั จากนน้ั ไดร้ บั ทนุ ทบวงมหาวทิ ยาลยั ตามความตอ้ งการของมหาวทิ ยาลยั แมโ่ จใ้ หไ้ ปศกึ ษาตอ่ ณ ประเทศสหนฐั อเมริกา ดงั นี้ M.A. (Linguistics), University of Delaware, Delaware (พ.ศ. ๒๕๓๗) M.S. (Sociolinguistics), Georgetown University, Washington DC (พ.ศ. ๒๕๔๐) Ph.D. (Applied Linguistics), University of Pittsburgh, Pennsylvania (พ.ศ. ๒๕๔๓) กลบั มารับราชการที่มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ จงั หวดั เชยี งใหม่ จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๕๗ หลงั จากนน้ั ไดย้ ้าย มาทำ� งานท่สี ถาบันภาษา จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จริ ดา วฑุ ฒยากร มคี วามสนใจเรอ่ื งการวดั และประเมนิ ผลทางภาษา นโยบาย การศึกษาและการวิจัยเชิงปริมาณ เคยได้รับรางวัลนักวิจัยรุ่นกลางผู้มีผลงานดีเด่นละต่อเนื่องสาขา สังคมศาสตรแ์ ละมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ (ปี พ.ศ. ๒๕๕๓) นอกจากนี้ยังด�ำรงต�ำแหน่งรองนายกสมาคมการวัดและประเมินผลทางภาษาแห่งเอเซีย Asian Association of Language Assessment (AALA) ผลงานวิจัยเรอื่ ง Mapping the CU-TEP to the Common European Framework of Reference (CEFR) โดยสรุป องคป์ ระกอบในการวจิ ยั ๑. ขอ้ สอบ CU-TEP Chulalongkorn University Test of English Proficiency เป็นขอ้ สอบ วดั ความสามารถในการใชภ้ าษาองั กฤษ จดั ทำ� โดยคณาจารยส์ ถาบนั ภาษาทม่ี คี วามรคู้ วามเชย่ี วชาญภาษา องั กฤษ ขอ้ สอบนเี้ ปน็ ทยี่ อมรบั ของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทงั้ ภายในและภายนอกจฬุ าฯ นยิ มใชอ้ ยา่ งแพรห่ ลาย มากกว่า ๓๐ ปี ๒. นโยบายกรอบมาตรฐานอ้างอิงสากลของยุโรป (Common European Framework of Reference หรือ CEFR) ท่ีกระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้เป็นแนวทางในการเรียนการสอนและการ ทดสอบภาษาอังกฤษต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๓. วธิ วี ทิ ยาการวิจัย Standard Setting ทท่ี ำ� การเทยี บผลคะแนนสอบ CU-TEP (องคป์ ระกอบ ที่ ๑) กบั กรอบมาตรฐาน CEFR (องคป์ ระกอบที่ ๒) โดยใช้ขอ้ สอบ CU-TEP (จ�ำนวน ๑๒๐ ขอ้ ) ซ่ึงผา่ น ยกย่องเชดิ ชูเกียรตบิ คุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 617
การใช้แล้วจากศูนย์ทดสอบทางวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและน�ำมาปรับปรุงคุณภาพบางข้อ น�ำไปทดลองใช้อีกครั้งพร้อมกับวิเคราะห์คุณภาพข้อสอบรายข้อ หลังจากนั้นให้ผู้เชี่ยวชาญจ�ำนวน ๑๓ คน (อาจารย์ประจำ� สถาบนั ภาษา) (หญงิ ๑๒ คน ชาย ๑ คน) ท่มี ปี ระสบการณส์ อนภาษาองั กฤษโดย เฉลีย่ ๑๗ ปี และมวี ุฒิการศึกษาระดบั ปรญิ ญาโทและเอกในสาขาภาษาองั กฤษและสาขาท่เี กีย่ วขอ้ งกับ การสอนภาษาองั กฤษพจิ ารณาขอ้ สอบทลี่ ะขอ้ ดว้ ยวธิ กี าร Yes/No Angoff เปรยี บเทยี บกบั กรอบมาตรฐาน อา้ งองิ สากลของยุโรป ในระดบั A2, B1, B2, และ C1 ระดบั ละ ๓ รอบ แล้วคำ� นวนหาคา่ เฉลีย่ ของจ�ำนวน ข้อทต่ี อ้ งตอบถูกในแตล่ ะระดับ ผลการวิจยั คะแนนขอ้ สอบ CU-TEP เทียบกบั CEFR ในแต่ละระดับได้ผล ดงั น้ี คะแนน CEFR Level (จ�ำนวนข้อทตี่ อบถกู จาก ๑๒๐ ขอ้ ) ๑๔ - ๓๔ A2 ๓๕ - ๖๙ B1 ๗๐ - ๙๘ B2 ๙๙ - ๑๒๐ C1 งานวิจัยนี้นอกจากจะสนองนโยบายในการใช้กรอบมาตรฐาน CEFR ตามประกาศของกระทรวง ศกึ ษาธิการแล้ว ยังเปน็ การยกระดับขอ้ สอบนใี้ ห้มมี าตรฐานมากยงิ่ ขนึ้ เพราะสามารถรายงานผลคะแนน การสอบ CU-TEP ตามกรอบมาตรฐานนี้ ทำ� ให้คะแนนทีไ่ ด้มคี วามหมายและเป็นทเ่ี ข้าใจตรงกนั เป็นการ วิจัยบุกเบิกครั้งแรกท่มี ีการเปรยี บเทียบคะแนนข้อสอบ CU-TEP กับกรอบมาตรฐาน CEFR อา้ งอิง Wudthayagorn, J. (2018). Mapping the CU-TEP to the Common European Framework of Reference (CEFR). LEARN Journal, 11(2), 163-182. (TCI 1, ASEAN Citation Index (ACI), SCOPUS) 618 ยกย่องเชิดชูเกียรตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
การเผยแพรผ่ ลงานวิจัย งานวจิ ยั เรอื่ งการเทยี บคะแนนขอ้ สอบ CU-TEP กบั กรอบมาตรฐานอา้ งองิ สากลยโุ รป (CEFR) ทำ� ให้ ทราบวา่ คะแนนทสี่ อบไดม้ คี วามหมายอยา่ งไรเมอ่ื เทยี บกบั กรอบมาตรฐานนี้ ซง่ึ กรอบมาตรฐานนกี้ ระทรวง ศึกษาธิการได้น�ำมาใช้เป็นนโยบายในการจัดการเรียนการสอนตลอดจนการทดสอบภาษาอังกฤษใน ประเทศไทยตั้งแตป่ ี พ.ศ. ๒๕๕๗ และทนั ทีท่งี านวจิ ยั เสร็จสิน้ ส�ำนกั งานคณะกรรมการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดท้ ำ� หนงั สอื เวยี นที่ ศธ ๐๔๐๑๐/ว๑๐๗๘ ลงวนั ที่ ๒๙ มนี าคม ๒๕๖๐ ไปยงั ผอู้ ำ� นวย การสำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาทกุ เขตในประเทศไทย เพอื่ ใหใ้ ชผ้ ลงานวจิ ยั นี้ (สบื คน้ ไดท้ ่ี http://english. obec.go.th/english/2013/index.php/th/2012-08-08-10-26-5/193-cu-tep-cefr) นอกจากนศี้ นู ยท์ ดสอบทางการศกึ ษา จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั กน็ ำ� ผลงานวจิ ยั นไ้ี ปใชด้ ว้ ย โดยการ ประกาศไว้ในเว็บไซต์ของศูนย์ทดสอบ (สืบค้นได้ที่ http://www.atc.chula.ac.th/pdf2017/Score_ CEFR.pdf งานวิจัยนี้เป็นความส�ำเร็จของคณาจารย์สถาบันภาษาท่ีได้จัดท�ำข้อสอบ CU-TEP มาเป็นเวลา ต่อเนอ่ื งยาวนานหลายสิบปี เปน็ การตระหนักร้ถู งึ ความส�ำคญั ในการยกระดับมาตรฐานข้อสอบ CU-TEP ของศูนย์ทดสอบทางวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นวิสัยทัศน์ของศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยท่ีให้ทุนวิจัยเป็นการส่งเสริมและให้ก�ำลังใจกับผู้วิจัยและคณาจารย์สถาบัน ภาษาโดยส�ำนักบริหารวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นการแสดงจุดยืนทางวิชาการของจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั ทส่ี นบั สนนุ และผลกั ดนั ใหอ้ าจารยท์ กุ คนไดท้ ำ� งานวชิ าการอยา่ งเตม็ ศกั ยภาพเพอื่ นำ� ผลงาน วจิ ัยไปใชใ้ ห้เปน็ ประโยชนต์ อ่ สงั คม สมดง่ั เปน็ Pillars of the Kingdom สถานทตี่ ดิ ตอ่ สถาบันภาษา จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย โทรศพั ท์ ๐-๒๒๑๘-๖๐๖๙ โทรสาร ๐-๒๒๑๘-๖๑๑๑ E-mail: [email protected] ยกยอ่ งเชิดชูเกียรติบคุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 619
รางวลั บุคลากรสายปฏบิ ตั กิ าร “คนดี ศรีจุฬาฯ”
รางวัลยกย่องเชิดชูเกยี รติบคุ ลากร น�้ำหน่งึ มงุ่ ม่นั สายปฏบิ ัติการ “คนดี ศรจี ุฬาฯ” ประเภทบคุ คล ใจเดียวกัน ความเปน็ เลิศ กลุ่มบริหารจัดการระดับต้น ชเู ชดิ เคพิดือ่ แสลังะคทม�ำ ประเภท หัวหน้ากลมุ่ ภารกจิ หรือเทียบเทา่ คณุ ธรรม นางสาวเพญ็ ศรี ใจบาน ทผี่โดลดงเาดน่น ตำ� แหน่ง เจา้ หน้าที่บรกิ ารการศึกษา (วิชาการศกึ ษา) P๗ ตำ� แหนง่ บรหิ าร หัวหนา้ กลมุ่ ภารกจิ ดา้ นงานวจิ ยั และบริการวชิ าการ ผูอ้ �ำนวยการศูนยบ์ รรณสารสนเทศ หน่วยงาน คณะเศรษฐศาสตร์ เร่มิ ปฏิบตั ิงานในจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ ๒๓ มิถนุ ายน ๒๕๒๓ 622 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ผลงานทโ่ี ดดเดน่ • การขอเปิดหลักสูตรระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก (หลักสูตรนานาชาติ) หลายหลักสตู ร • การปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาตรี ปริญญาโทท้ังหลักสูตรภาษาไทยและหลักสูตร นานาชาติหลายหลักสตู ร • การประเมินผลการเรียนการสอนอาจารย์โดยนิสิตระดับปริญญาตรีทุกระดับและทุกชั้นปี ในยุคแรก ๆ และเป็นวิทยากรแนะน�ำวิธีการใชร้ ะบบ CU-CAS ให้แกเ่ จา้ หนา้ ทหี่ ลกั สูตรต่าง ๆ • การประกันคุณภาพตามตวั ชว้ี ดั คุณภาพภายในและภายนอกในยคุ แรก ๆ • การจัดพิมพ์ตำ� ราเพ่อื ประกอบการเรยี นการสอนของคณาจารยค์ ณะฯ • การก�ำกับดูแลการบริหารการเงินและโครงการวิจัยตามข้อบังคับจุฬาฯ ว่าด้วยการบริหาร โครงการวจิ ัยใหแ้ ก่คณาจารย์ของคณะฯ • จัดท�ำคู่มือขั้นตอนการบริหารโครงการวิจัยเพื่อสามารถให้บริการได้ถูกต้องตามกฎ ระเบียบ และข้อบังคับด้านงานวจิ ัย • ประสานงานการจัดประชมุ วิชาการระดับท่ัวไป ระดบั ชาติ และระดบั นานาชาติ • ประสานงานการสัมมนาทางวิชาการ การบรรยายพิเศษ การจัดปาฐกถาพิเศษ การจัดเสวนา ทางวิชาการ • ประสานงานการจัดทำ� MOU ดา้ นวิชาการและวจิ ยั กบั หน่วยงาน/สถาบันตา่ ง ๆ • การผลิตวารสาร Chulalongkorn Journal of Economics ซ่ึงปัจจุบันเปล่ียนช่ือเป็น Southeast Asian Journal of Economics (SAJE) จนล่าสดุ วารสารฯ ได้รับการบรรจุเขา้ เป็นวารสาร ระดบั นานาชาติในฐานข้อมูล Scopus แล้ว คตพิ จนท์ ย่ี ดึ ถอื ในการปฏบิ ัตงิ านและการปฏิบตั ิตน “มงุ่ มนั่ และตงั้ ใจปฏบิ ตั ใิ นงานในความรบั ผดิ ชอบอยา่ งเตม็ กำ� ลงั และปฏบิ ตั งิ านทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ใหส้ ำ� เรจ็ ลลุ ว่ งตามทไ่ี ดร้ ับความไว้วางใจ และพร้อมเรยี นรู้สิง่ ใหม่ ๆ เฉกเช่นนำ�้ ท่ียังไมเ่ ตม็ แกว้ ” ปณิธานความดที จ่ี ะปฏิบัตติ ่อไป “จะช่วยเหลือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยหรือสังคมหากมีโอกาส เพ่ือตอบแทนบุญคุณแผ่นดินไทย ตามกำ� ลงั ความสามารถท่ีมอี ย”ู่ ยกย่องเชิดชเู กียรติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 623
รางวัลยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติบคุ ลากร นำ�้ หนึง่ ความมุ่งเปม็น่ันเลศิ สายปฏิบัตกิ าร “คนดี ศรจี ุฬาฯ” ประเภทบุคคล ใจเดียวกัน กล่มุ ปฏบิ ัตกิ ารและวิชาชพี ทีป่ ฏิบตั ใิ นต�ำแหน่งตา่ ง ๆ คณุ ชเูธชรดิ รม คดิ และท�ำ ระดับปริญญาตรีขน้ึ ไป เพอ่ื สังคม นายวิสทุ ธิ์ นวลชน่ื ตำ� แหนง่ นักวจิ ัย P๗ ผลงาน ต�ำแหน่งบริหาร - ท่ีโดดเด่น หนว่ ยงาน ศนู ย์วจิ ยั และพัฒนาเทคโนโลยกี ารผลิตปศุสตั ว์ คณะสตั วแพทยศาสตร์ เริ่มปฏิบตั งิ านในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๓๒ 624 ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ผลงานทีโ่ ดดเดน่ ปี ๒๕๕๔ การคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์โคนม และกระบือนมที่ให้ผลผลิตน้�ำนมสูง โดยใช้เทคนิคพีซีอาร์ ปี ๒๕๖๐ การใช้ใบหม่อนเป็นพืชอาหารสัตว์สําหรับ เกษตรกร ปี ๒๕๖๑ การจัดฝึกอบรมเกษตรกรเรื่องการใช้ใบหม่อนเป็นพืช อาหารสัตว์ คติพจน์ทยี่ ดึ ถอื ในการปฏบิ ตั ิงานและการปฏบิ ตั ิตน การทํางานเพ่อื ความสําเรจ็ ทด่ี แี ละย่ังยืนกว่าจะตอ้ งประกอบไปด้วย ๑. การเข้าใจเป้าหมายของงาน ความเหมาะสมของผู้ร่วมงาน ใส่ใจในงาน และ ร่วมใจทํางานกบั เพื่อนรว่ มงาน ๒. การให้ใจ คอยใหก้ าํ ลงั ใจตัวเราเองและเพื่อนร่วมงาน ๓. ความจริงใจ จําเปน็ จะตอ้ งมคี วามจรงิ ใจตอ่ ตนเองและเพ่ือนร่วมงาน เพอื่ ให้งาน ประสบผลสาํ เร็จ ปณิธานความดีทจี่ ะปฏบิ ตั ติ อ่ ไป “คิดดี พดู ดี ทําดี ชีวติ จะมสี ุข” ยกยอ่ งเชิดชเู กียรตบิ คุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 625
ผลงานท่โี ดดเด่น (ย้อนหลัง ๓ ปี) ปี ๒๕๕๙ ไดร้ บั มอบหมายใหเ้ ปน็ Curriculum Quality Management Representative (MDCU C-QMR) ของคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ปี ๒๕๖๐ ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน (SOP) สำ� หรับการดาเนนิ งานหลกั สูตร ปี ๒๕๖๑ เล่มหลกั สตู รประกาศนยี บัตรบัณฑติ ชั้นสงู ทางวทิ ยาศาสตร์การแพทย์คลินิก (หลกั สตู รใหม่ พ.ศ. ๒๕๖๑) หรอื หลกั สตู ร Combo คตพิ จนท์ ่ยี ดึ ถือในการปฏิบัติงานและการปฏบิ ัติตน รู้จักตนเอง โดยเรียนรู้จุดอ่อนและจุดแข็งของตนเอง ท�ำความเข้าใจกับงานท่ีท�ำให้ ลกึ ซงึ้ ฝกึ มองในมมุ มองทแ่ี ตกตา่ งออกไป ยอมรบั ขอ้ ผดิ พลาด คำ� ตชิ ม และการเปลยี่ นแปลง เพ่ือปรบั ปรงุ แกไ้ ขให้การทางานมปี ระสทิ ธิภาพมากยิง่ ขึน้ วางแผนการท�ำงานอย่างเป็นระบบ คิดอย่างรอบคอบ มีการจัดท�ำ Checklist และ Check back ของงาน คาดการณ์ปัญหาหรือข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นในงานท่ีท�ำ เพ่ือหาวิธีการป้องกันและแนวทางการแก้ไขไว้ล่วงหน้า ส่งผลให้ประสบความสาเร็จในการ ท�ำงานไดร้ วดเร็วขนึ้ ให้โอกาสตนเองได้ลองท�ำสิ่งใหม่ ๆ อย่าปฏิเสธโอกาสที่จะได้ทดสอบความสามารถ ของตนเอง หากคณุ ไมย่ อมลองทำ� ในสงิ่ ทไี่ มค่ นุ้ เคย คณุ จะไมร่ จู้ กั ขอ้ ผดิ พลาด และไมส่ ามารถ พัฒนาของตนเองจนสรา้ งผลงานทดี่ ที ีส่ ุดได้ สร้างแรงบันดาลใจให้ตนเอง โดยการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ อยู่เสมอทั้งในเรื่องท่ีเก่ียวกับ งานโดยตรงและสงิ่ อื่ นๆ ทีส่ นใจเปน็ พิเศษจากแหล่งเรยี นร้ทู ีด่ ี รวมถงึ การสังเกตสง่ิ ต่าง ๆ รอบตวั เพือ่ พัฒนางานใหท้ นั สมยั และล้าหน้าไปไกล สรา้ ง Team Works ทด่ี ี โดยเปดิ โอกาสใหเ้ พอ่ื นรว่ มงานแสดงความคดิ เหน็ แลกเปลย่ี น ประสบการณ์ตา่ ง ๆ รว่ มกนั ยอมรับฟงั คาวจิ ารณ์และนามาพัฒนางานใหส้ าเร็จลลุ ่วงไปได้ ด้วยดี ปณธิ านความดที ่ีจะปฏิบัตติ ่อไป “…จะรกั ษาไวซ้ ง่ึ ความดี ปฏบิ ตั หิ นา้ ทด่ี ว้ ยความตง้ั ใจ มงุ่ มน่ั ใหบ้ รกิ ารดว้ ยไมตรจี ติ …” 626 ยกยอ่ งเชิดชูเกียรตบิ ุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
รางวัลยกย่องเชดิ ชูเกยี รติบุคลากร นำ้� หน่งึ ความมุง่ เปมน็น่ั เลศิ สายปฏิบัตกิ าร “คนดี ศรีจุฬาฯ” ประเภทบุคคล ใจเดยี วกัน กลุ่มปฏบิ ัติการและวิชาชีพทป่ี ฏิบตั ใิ นตำ� แหน่งตา่ ง ๆ คณุ ชเูธชรดิ รม คิดและท�ำ ระดบั ปรญิ ญาตรีขึน้ ไป บคุ ลากรสายปฏิบตั ิการตำ� แหน่งอนื่ ๆ เพ่อื สังคม ทีม่ อี ายุการปฏิบัตงิ าน ๓ ปี ข้ึนไป นางสาวอภิญญา บตุ รลี้ ผลงาน ตำ� แหน่ง เจา้ หนา้ ทสี่ านักงาน P๗ งานบรกิ ารการศึกษา ท่ีโดดเด่น หน่วยงาน ฝ่ายบณั ฑิตศึกษา คณะแพทยศาสตร์ เร่ิมปฏบิ ตั งิ านในจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๓ ยกย่องเชดิ ชูเกยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 627
ผลงานทโ่ี ดดเด่น ๑) รางวลั โปสเตอรด์ เี ดน่ การนำ� เสนอผลงานแบบโปสเตอร์ ดา้ น Pharmaceutical Chemistry and Natural Products เรอ่ื ง “Xanthones and biphenyls from Garcinia schomburgkiana wood and their cytotoxicity” ในการประชุมวชิ าการ The 29th Annual Research Conference in Pharmaceutical Sciences ระหวา่ งวนั ท่ี ๖ - ๗ ธนั วาคม ๒๕๕๕ จัดโดย คณะเภสชั ศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ๒) รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั ๑ การน�ำเสนอผลงานแบบโปสเตอร์ กลมุ่ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เร่ือง “ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งของสารสกัดชะมวง” ในการประชุม วชิ าการวิจัยระดับชาติสำ� หรบั บุคลากรสายสนับสนนุ วิชาการในสถาบนั อดุ มศึกษา คร้งั ที่ ๙ จามจุรีวิชาการ ระหว่างวันที่ ๓๐ มีนาคม - ๑ เมษายน ๒๕๖๐ จัดโดย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ๓) รางวัลชมเชย การน�ำเสนอผลงานแบบโปสเตอร์ กลุ่มมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ เร่ือง “การส�ำรวจความพึงพอใจของนิสิตต่อวิชาพืชมีประโยชน์” ใน การประชุมวิชาการวิจัยระดับชาติส�ำหรับบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการในสถาบัน อุดมศกึ ษา ครัง้ ที่ 9 จามจรุ วี ชิ าการ ระหวา่ งวันท่ี ๓๐ มนี าคม - ๑ เมษายน ๒๕๖๐ จดั โดย จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ๔) รางวัลชมเชย การน�ำเสนอผลงานแบบโปสเตอร์ กลุ่มการพัฒนาระบบงาน ห้องปฏิบัติการ เร่ือง “การจัดการฐานข้อมูลครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์ด้วยระบบบาร์โค้ด” ใน การประชุมวิชาการศูนย์ประสานงานเครือข่ายบุคลากรสายสนับสนุน คณะเภสัชศาสตร์ แห่งประเทศไทย (ศคภท.) ระหวา่ งวันที่ ๖ - ๘ ธันวาคม ๒๕๖๐ จดั โดย คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร คติพจนท์ ี่ยึดถือในการปฏบิ ตั ิงานและการปฏิบตั ติ น “การยอมรบั สิง่ ใหม่ ๆ และกา้ วให้ทันการเปลย่ี นแปลงรอบ ๆ ตวั ” ปณิธานความดที ี่จะปฏิบตั ติ อ่ ไป “การเรมิ่ ลงมอื ท�ำ เปน็ จดุ เริม่ ตน้ ความสำ� เรจ็ ” 628 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
รางวลั ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตบิ ุคลากร น�ำ้ หน่ึง ความมงุ่ เปมน็น่ั เลศิ สายปฏบิ ัติการ “คนดี ศรจี ฬุ าฯ” ประเภทบคุ คล ใจเดยี วกนั กลมุ่ ปฏบิ ัตกิ ารและวชิ าชีพที่ปฏบิ ตั ใิ นต�ำแหน่งตา่ ง ๆ คณุ ชูเธชรดิ รม คดิ และท�ำ ระดบั ปริญญาตรขี ้นึ ไป บคุ ลากรสายปฏบิ ัติการตำ� แหนง่ อน่ื ๆ เพ่ือสังคม ทีม่ ีอายุการปฏบิ ัตงิ าน ๓ ปี ขึน้ ไป นายชตุ โิ ชติ ปทั มดลิ ก ผลงาน ตำ� แหน่ง เจา้ หน้าที่บริการวิทยาศาสตร์ (วิทยาศาสตร)์ ทโ่ี ดดเดน่ หนว่ ยงาน คณะเภสัชศาสตร์ เริม่ ปฏบิ ัติงานในจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๓๘ ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรติบคุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 629
รางวลั ยกยอ่ งเชิดชูเกียรติบุคลากร ใจนเด�ำ้ หียนวึง่กนั มุ่งมน่ั สายปฏบิ ัตกิ าร “คนดี ศรจี ฬุ าฯ” ประเภทบคุ คล ความเป็นเลิศ กล่มุ ปฏิบัตกิ ารและวิชาชพี ที่ปฏิบตั ใิ นต�ำแหนง่ ต่าง ๆ ชเู ชิด คดิ และท�ำ ระดบั ปรญิ ญาตรีข้ึนไป บคุ ลากรสายปฏิบตั กิ ารตำ� แหนง่ อ่ืน ๆ คณุ ธรรม เพ่อื สงั คม ทมี่ อี ายุการปฏิบัตงิ าน ๓ ปี ขึ้นไป นางสาวภัทริน วงศบ์ างโพ ผลงาน ต�ำแหนง่ เจ้าหนา้ ท่บี ริการการศึกษา P๗ ที่โดดเด่น หนว่ ยงาน คณะเศรษฐศาสตร์ เร่ิมปฏิบตั ิงานในจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๘ 630 ยกย่องเชดิ ชูเกยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ผลงานทีโ่ ดดเด่น (ย้อนหลงั ๓ ป)ี ในด้านการท�ำงานปี ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑ • โครงการความร่วมมือทางวิชาการในระดับนานาชาติเพ่ือสร้างความเข้มแข็งทาง วิชาการไทย–ญ่ปี ุ่น • โครงการศึกษาดงู านและส่งเสรมิ กจิ กรรมแลกเปล่ียนทางวัฒนธรรมไทย - ญี่ปนุ่ • โครงการ Joint Student Symposium กบั มหาวทิ ยาลัยในประเทศญปี่ ่นุ • โครงการ Econ Chula Expo 2017 • โครงการแข่งขนั “เศรษฐศาสตร์เพชรยอดมงกุฎ” ในระดบั อดุ มศึกษา • โครงการแข่งขนั ตอบปัญหาเศรษฐศาสตร์ และเสนอบทความวจิ ยั เศรษฐศาสตร์ ประจำ� ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ • การท�ำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั กับ ธนาคารกรงุ ศรอี ยุธยา จำ� กดั (มหาชน) และบริษัทในเครอื ในการด้านการเป็นตัวแทนนกั กีฬาจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั การแขง่ ขันกีฬาเทเบิลเทนนสิ บคุ ลากรสำ� นักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา ปี ๒๕๕๙ ชนะเลศิ ประเภททมี หญงิ , หญิงคู่ รองชนะเลศิ อันดับ ๒ ประเภทคู่ผสม การแขง่ ขนั เทเบลิ เทนนิสกีฬาบุคลากร สกอ. ครัง้ ที่ ๓๕ ราชมงคลธญั บรุ เี กมส ์ ปี ๒๕๖๐ ชนะเลศิ ประเภททีมหญิง, รองชนะเลศิ ประเภทหญิงคู่ การแขง่ ขันเทเบลิ เทนนสิ กฬี าบุคลากร สกอ. ครง้ั ที่ ๓๖ พะเยาเกมส์ ปี ๒๕๖๑ ชนะเลิศ ประเภททีมหญิง, รองชนะเลิศ ประเภทหญงิ คู่ คตพิ จนท์ ี่ยึดถอื ในการปฏิบัตงิ านและการปฏิบัตติ น “คิดบวกอยเู่ สมอ เพราะทัศนคติท่ีดีจะนำ� ไปสคู่ วามคิดทดี่ ี และความคดิ ท่ีดกี ็จะนำ� ไป สกู่ ารกระท�ำทดี่ ี และเมอื่ การกระท�ำดี ผลของการกระท�ำทไี่ ดก้ ม็ กั จะดีไปดว้ ยเช่นกนั ” ปณธิ านความดีท่จี ะปฏบิ ัตติ ่อไป “เปน็ คนดีเและคนเก่ง” ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 631
รางวลั ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตบิ คุ ลากร นำ�้ หน่ึง ความมุง่ เปมน็น่ั เลศิ สายปฏบิ ัติการ “คนดี ศรจี ุฬาฯ” ประเภทบคุ คล ใจเดยี วกัน กลมุ่ ปฏิบัตกิ ารและวชิ าชีพทีป่ ฏบิ ตั ใิ นต�ำแหน่งตา่ ง ๆ คุณชเูธชริดรม คิดและท�ำ ระดบั ปรญิ ญาตรีขึ้นไป บคุ ลากรสายปฏิบัติการต�ำแหน่งอ่ืน ๆ เพ่ือสงั คม ท่ีมีอายกุ ารปฏิบัติงาน ๓ ปี ข้นึ ไป ผลงาน นางสาวจนั ทร์เพ็ญ สวุ ิมลธรี ะบุตร ทโี่ ดดเด่น ต�ำแหน่ง เจา้ หน้าทีบ่ รกิ ารวทิ ยาศาสตร์ (ชำ� นาญการ) P๕ หน่วยงาน ภาควิชาสตู ศิ าสตร์-เธนเุ วชวทิ ยาฯ คณะสตั วแพทยศาสตร์ เริ่มปฏบิ ตั ิงานในจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ๒๕ สงิ หาคม ๒๕๓๗ 632 ยกย่องเชดิ ชูเกยี รตบิ ุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ผลงานที่โดดเด่น (ย้อนหลัง ๓ ปี) ปี ๒๕๕๙ คู่มือปฏิบัติการวิธีตรวจวิเคราะห์ฮอรโ์ มนในสตั วป์ า่ ปี ๒๕๖๐ รางวัลชนะเลิศ โครงการ Green Laboratory ของคณะสตั วแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั รางวัล TM INNOVATION AWARD 2017 รางวลั นักวจิ ยั ดเี ด่นดา้ นสัตวแพทยศาสตร์ (สายสนับสนนุ ) รางวลั ฟ้าหมน่ คนดี “Elanco Best Research Award” ปี ๒๕๖๑ รางวลั บคุ คลากรด้านการสอนสตั วแพทย์ดเี ด่น (สายสนบั สนนุ ) รางวลั ฟ้าหม่นคนดี “Ceva Best Teaching Award” คติพจน์ท่ียดึ ถือในการปฏิบตั งิ านและการปฏบิ ตั ติ น ทำ� งานอยา่ งสดุ ความสามารถ ยดึ มน่ั ในคณุ ธรรม มนี ำ้� ใจตอ่ เพอ่ื นรว่ มงาน ใหค้ วามเคารพ ต่อผบู้ ังคบั บญั ชา ดูแลและเอาใจใสต่ ่อนิสติ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ปณธิ านความดที จี่ ะปฏิบัติต่อไป “ท�ำดที ่ีสดุ ท�ำสุดชวี ิต” ยกย่องเชดิ ชูเกียรติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 633
รางวัลยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรตบิ คุ ลากร นำ้� หนงึ่ ความมงุ่ เปมน็่ันเลศิ สายปฏบิ ตั ิการ “คนดี ศรีจฬุ าฯ” ประเภทบุคคล ใจเดยี วกัน กลมุ่ ปฏิบัติการและวิชาชพี ทีป่ ฏบิ ตั ิในต�ำแหนง่ ตา่ ง ๆ คณุ ชเูธชรดิ รม คิดและท�ำ ระดบั ปรญิ ญาตรขี น้ึ ไป บคุ ลากรสายปฏิบตั กิ ารต�ำแหน่งอื่น ๆ เพอ่ื สังคม ทม่ี ีอายุการปฏบิ ัติงาน ๓ ปี ขึ้นไป นางสาวพมิ พ์นภา อมฤตวรชัย ผลงาน ต�ำแหนง่ เจา้ หนา้ ทบี่ รกิ ารสารสนเทศ ระดับ P๗ ทโี่ ดดเดน่ หน่วยงาน สำ� นักงานวิทยทรพั ยากร เรม่ิ ปฏบิ ตั งิ านในจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๙ 634 ยกย่องเชิดชเู กียรติบคุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ผลงานที่โดดเดน่ (ย้อนหลงั ๓ ป)ี ปี ๒๕๕๙ วิทยากรดา้ นเทคนิคการจดั การสารสนเทศเฉพาะทาง หวั ขอ้ “การจดั ท�ำและ การให้บริการสาระสังเขปและดรรชนี” ให้แก่นิสิตนักศึกษาทั้งภายในและ ภายนอกจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ปี ๒๕๖๐ พัฒนาคลังข้อมูลสารสนเทศดิจิทัลจากเอกสารไมโครฟิล์มชุดข้อมูลช่วง สงครามเย็นของศูนยส์ ารสนเทศประเทศไทยและประชาคมอาเซียน (ช่ือเดิม ศนู ยเ์ อกสารประเทศไทย) แบบ Open Access (http://eresource.car.chula. ac.th/) ปี ๒๕๖๑ การเจรจาประสานงานลงนามความร่วมมือจัดตั้งมุมสารสนเทศไต้หวันและ จีนศึกษา ระหว่าง หอสมุดกลางแห่งชาติของไต้หวัน (National Central Library, Republic Of China (Taiwan) : NCL) และ ส�ำนกั งานวทิ ยทรพั ยากร จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั พรอ้ มจดั บรรยาย และนทิ รรศการ การรเิ รมิ่ โครงการ เสวนาวิชาการประจ�ำปี “OAR ASEAN Plus Talk” การจัดท�ำ E-Book รวม ปาฐกฐาของดร. สรุ นิ ทร์ พศิ สวุ รรณ “Dr. Surin@Chula” การยา้ ยมมุ ทรพั ยากร สารสนเทศเก่ียวกับอินเดียศึกษา “จุฬาฯ ภารัตคดีสถาน” (Indian Corner, CU) และปรบั ปรงุ แก้ปัญหาการใหบ้ ริการ คติพจนท์ ีย่ ึดถือในการปฏิบัตงิ านและการปฏิบัตติ น “เราจ�ำต้องก้าวไปข้างหนา้ เสมอ ยิง่ ก้าวไปไดไ้ กลเพยี งใดก็ย่งิ ดี เราตอ้ งไม่ถอยหลงั เลย เป็นอันขาด แม้แต่หยุดอยู่กับท่ีก็ไม่ได้ เพราะการหยุดก็เสมอด้วยการถอยหลัง” พระราช ดำ� รัสพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยหู่ วั พระราชทานเมอ่ื ๒๗ ธันวาคม ๒๔๕๖ ปณธิ านความดที ่ีจะปฏบิ ัตติ อ่ ไป “พยายามท�ำวันนี้ให้ดที ่ีสดุ เพอื่ วันพรุ่งนจ้ี ะได้ไมเ่ สียใจท่ีไมไ่ ดพ้ ยายาม” ยกย่องเชิดชเู กยี รติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 635
รางวัลยกย่องเชดิ ชเู กียรติบคุ ลากร นำ�้ หน่งึ มุ่งมนั่ สายปฏบิ ตั ิการ “คนดี ศรจี ุฬาฯ” ประเภทบคุ คล ใจเดยี วกนั ความเป็นเลศิ กลมุ่ ปฏบิ ตั ิการและวชิ าชพี ท่ปี ฏบิ ัตใิ นต�ำแหน่งตา่ ง ๆ ชูเชดิ เคพิด่ือแสลังะคทม�ำ ระดับปริญญาตรีขึ้นไป บุคลากรสายปฏบิ ัติการตำ� แหน่งอน่ื ๆ คณุ ธรรม ทีม่ อี ายกุ ารปฏิบัติงานตง้ั แต่ ๑ ปี แตไ่ ม่ถึง ๓ ปี ทผี่โดลดงเาดน่น นายสตั วแพทย์สุทธโิ ชค กลุ ตรยั ลกั ษณ์ ต�ำแหน่ง สัตวแพทย์ P๗ ตำ� แหนง่ บริหาร หวั หนา้ หน่วย Information Technology (IT) แผนกประชาสมั พนั ธ์ และประกันคุณภาพ หนว่ ยงาน โรงพยาบาลสัตวเ์ ลก็ คณะสตั วแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั เริม่ ปฏิบตั ิงานในจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙ 636 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตบิ ุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ผลงานทโ่ี ดดเดน่ (ย้อนหลงั ๓ ปี) ปี ๒๕๕๙ หวั หนา้ คลินิกอายุรศาสตร์ทางเลือก (ฝังเข็ม) ประจำ� โรงพยาบาลสัตว์เล็ก คณะสัตวแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ปี ๒๕๖๐ หวั หนา้ ฝา่ ย Information Technology (IT) แผนกประชาสมั พนั ธ์ และประกนั คณุ ภาพ ของโรงพยาบาลสตั ว์เลก็ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ๒๕๖๑ ควบคมุ ดแู ลระบบโปรแกรมบรหิ ารจดั การโรงพยาบาลในชือ่ วา่ CU-HIS และ ดูแลระบบเรยี กคิวในโรงพยาบาล (QMATIC) คตพิ จนท์ ี่ยดึ ถอื ในการปฏิบัตงิ านและการปฏบิ ัตติ น ปฏิบัติหน้าที่ตามท่ีได้รับมอบหมายให้เรียบร้อย และครบถ้วนท่ีสุด โดยมุ่งเน้นท่ี ผลประโยชน์ของที่ทำ� งาน (โรงพยาบาลสตั ว์เลก็ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั เปน็ สำ� คัญ มคี วามสามคั คี และสมั พันธท์ ีด่ ีต่อเพื่อนร่วมงาน เนอื่ งจากสถานทีท่ ำ� งานจะมแี บง่ เป็น ส่วนยอ่ ย ๆ หลายสว่ น ท�ำให้การตดิ ต่อส่อื สารมคี วามส�ำคัญย่งิ เพอื่ ให้เกดิ ประโยชนส์ งู สุด แกต่ ัวสัตว์ปว่ ยท่ีเขา้ มารบั บริการ และแกโ่ รงพยาบาลเอง มีความเมตตากรุณาต่อสัตว์ป่วยท่ีเข้ามารับบริการ เพื่อให้สัตว์ป่วยได้รับการรักษา พยาบาลทด่ี ที ่ีสุด และเกดิ ความประทับใจแก่เจ้าของสตั วป์ ่วยด้วยเช่นกนั ปณิธานความดีทจ่ี ะปฏิบตั ิต่อไป “เออ้ื เฟอ้ื เพ่อื นร่วมงาน และปฏบิ ัติหนา้ ที่ของเราให้ดที สี่ ุด” ยกย่องเชิดชเู กียรติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 637
รางวลั ยกย่องเชดิ ชูเกยี รตบิ คุ ลากร น�ำ้ หนงึ่ ความมุ่งเปม็นน่ั เลศิ สายปฏบิ ตั กิ าร “คนดี ศรีจุฬาฯ” ประเภทบุคคล ใจเดยี วกนั กลมุ่ ปฏิบตั กิ ารและวิชาชพี ทป่ี ฏิบัติในต�ำแหนง่ ต่าง ๆ ชูเชิด เคพิดื่อแสลงั ะคทม�ำ ระดบั ต�่ำกว่าปริญญาตรี คุณธรรม นายวิฑูรย์ พนู เพ็ชร์ ต�ำแหนง่ เจา้ หนา้ สำ� นักงาน (ธุรการ) P๘ ทผโี่ ดลดงเาดน่น หนว่ ยงาน ภาควชิ าจลุ ชีววทิ ยา คณะแพทยศาสตร์ เรม่ิ ปฏบิ ตั งิ านในจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๖ 638 ยกย่องเชิดชเู กียรตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ผลงานทีโ่ ดดเดน่ (ย้อนหลงั ๓ ปี) ปี ๒๕๕๙ แนวทางปฏิบตั กิ ารตรวจสอบความถกู ตอ้ งของส่ิงสง่ ตรวจของห้องปฏบิ ัตกิ าร ปี ๒๕๖๐ แนวทางปฏบิ ตั ดิ า้ นการจำ� แนกประเภทของสงิ่ สง่ ตรวจ ระหวา่ งหนว่ ยงานภายใน และผูร้ ับบรกิ ารหนว่ ยงานภายนอกให้แก่เจา้ หน้าท่ีในหน่วยงาน ปี ๒๕๖๑ แนวทางการลดขนั้ ตอนในการปฏบิ ตั งิ านใหร้ วดเรว็ มปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ และ ผู้รับบรกิ ารภายนอก ไดร้ ับความสะดวกเม่อื มาติดต่อหนว่ ยงาน คตพิ จน์ทีย่ ดึ ถอื ในการปฏบิ ัติงานและการปฏบิ ัติตน ก�ำหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงาน โดยการให้ความร่วมมือ และมีส่วนร่วมในฐานะ สมาชิกของทีมได้อย่างดีเยี่ยม สามารถเติมเต็มในส่วนที่เพื่อนร่วมทีมขาดหายไป คอย ช่วยเหลือให้งานของเพ่ือน และทีมส�ำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ท่ีได้รับมอบหมาย ใหเ้ กียรติ และเคารพต่อผบู้ งั คบั บญั ชา รวมทงั้ เจ้าหนา้ ที่และเพอื่ นร่วมทมี คอยใหค้ �ำปรกึ ษา ข้อเสนอแนะ และแนวทางแกไ้ ขปญั หาตา่ ง ๆ ทีเ่ กดิ ขน้ึ เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัตงิ าน และการปฏบิ ตั ิตน ให้ความเปน็ กนั เอง เข้าถึงได้ จริงใจ ซ่อื ตรง ใหค้ วามรว่ มมือ เพ่ือให้ผล การปฏิบัติมีประสิทธิภาพมากที่สุด สร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้องค์กร ด้วยการเป็นผู้ประสาน งานของแผนก กบั หนว่ ยงานภายในและภายนอก ปณิธานความดีท่จี ะปฏบิ ตั ิตอ่ ไป “ใหค้ วามเคารพ รบั ผิดชอบ ทุ่มเท ท�ำงานเปน็ ทีม พฒั นาตนเองตอ่ ไป” ยกย่องเชดิ ชูเกยี รติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 639
ผลงานท่ีโดดเด่น (ย้อนหลงั ๓ ป)ี ปี ๒๕๕๙ กจิ กรรมพัฒนางาน คณะวศิ วกรรมศาสตร์ เรื่อง การพัฒนากระบวนการจดั ทำ� เลม่ หลักสตู รฉบับภาษาอังกฤษ (Bulletin) ของคณะวิศวฯ จุฬาฯ ปี ๒๕๖๐ กจิ กรรมพฒั นางาน คณะวศิ วกรรมศาสตร์ เรอื่ ง การลดความลา่ ชา้ ของขนั้ ตอน แจก - รับคนื อปุ กรณ์ Clicker ปี ๒๕๖๑ การเขยี นบทความทางวิชาการ เร่อื ง Preparing Electronic Materials for a Blinded Student โดยนำ� เสนอในการประชมุ วิชาการระดับนานาชาติ eLFA 2019 ณ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั คตพิ จนท์ ี่ยดึ ถอื ในการปฏบิ ัตงิ านและการปฏบิ ตั ติ น ก�ำหนดเป้าหมายในการพัฒนางาน เพื่อให้งานท่ีได้รับมอบหมายแล้วเสร็จ ถูกต้อง ตามระยะเวลาท่กี ำ� หนด ใหเ้ กียรติและเคารพตอ่ ผู้บงั คับบัญชา และเพือ่ นรว่ มงาน ให้ความเปน็ กันเอง จริงใน และปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั ฝา่ ยตา่ ง ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ ง ปณิธานความดีทจ่ี ะปฏบิ ัติตอ่ ไป “ท�ำหน้าท่ีของตนเองใหด้ ที ่ีสดุ เตม็ ก�ำลงั ความสามารถ” 640 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
รางวลั ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติบคุ ลากร น�้ำหนง่ึ มงุ่ มนั่ สายปฏิบตั กิ าร “คนดี ศรจี ฬุ าฯ” ประเภทบุคคล ใจเดียวกนั ความเปน็ เลิศ กลมุ่ ปฏิบัตกิ ารและวชิ าชีพท่ีปฏิบัติในต�ำแหน่งต่าง ๆ ชเู ชิด เคพดิ ือ่ แสลังะคทม�ำ ระดบั ตำ�่ กวา่ ปริญญาตรี คณุ ธรรม นายธนกฤต สนิ เปรม ทผ่ีโดลดงเาดน่น ตำ� แหนง่ เจา้ หนา้ สำ� นกั งาน (ธรุ การ) P๘ หนว่ ยงาน ภารกจิ บูรณาการการศกึ ษา ฝา่ ยวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ เร่ิมปฏบิ ตั ิงานในจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ๑ ธนั วาคม ๒๕๕๒ ยกย่องเชิดชเู กียรติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 641
ผลงานที่โดดเด่น (ย้อนหลงั ๓ ป)ี ปี ๒๕๕๙ ทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ ผชู้ ว่ ยนกั วจิ ยั เพอ่ื ใหโ้ ครงการวจิ ยั ตา่ ง ๆ ของหนว่ ยงานสำ� เรจ็ ตาม แผนงานทวี่ ่างไว้ ปี ๒๕๖๐ ท�ำหนา้ ท่ีร่วมศกึ ษาแนวทาง และวิธกี ารใหม่ ๆ สำ� หรบั การท�ำงานวจิ ัยให้บรรลุ เป้าหมายและผลสำ� เร็จของงานทีท่ �ำ ปี ๒๕๖๑ ท�ำหนา้ ที่ชว่ ยงานถ่ายทอดเทคโนโลยที ี่เกิดจากงานวจิ ยั สภู่ าคเกษตรกร คตพิ จน์ทย่ี ึดถอื ในการปฏบิ ัตงิ านและการปฏิบตั ิตน รับผิดชอบงานวิจัยท่ีได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชาของโครงการวิจัยที่มีข้ึนที่ หน่วยงาน และใหเ้ กยี รติและเคารพผบู้ งั คบั บัญชาตามระดับช้นั เสมอมา ท�ำงานทุกด้านด้วยความเต็มใต ไม่เกียงงาน งานใดที่สามารถท�ำให้ได้ก็จะช่วยท�ำให้ ส�ำเรจ็ ลุลว่ ง โดยเฉพาะงานส่วนรวม ตง้ั ใจท�ำหนา้ ที่ทกุ อยา่ งให้ดีทสี่ ุด เพื่อผลผลติ และความ ส�ำเร็จของหนว่ ยงาน ปณธิ านความดที ่ีจะปฏบิ ตั ิต่อไป “ขยนั อดทน ซ่อื สัตย์ รหุ้ น้าท”ี่ 642 ยกย่องเชิดชเู กียรตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
รางวัลยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติบคุ ลากร น้�ำหนงึ่ มงุ่ มนั่ สายปฏิบตั ิการ “คนดี ศรีจุฬาฯ” ประเภทบคุ คล ใจเดยี วกนั ความเปน็ เลิศ กลุม่ ปฏิบัติการและวิชาชีพท่ปี ฏิบัติในต�ำแหน่งต่าง ๆ ชูเชดิ เคพดิ ือ่ แสลังะคทม�ำ ระดับตำ�่ กว่าปริญญาตรี คุณธรรม นายสงั วร อย่สู วา่ ง ต�ำแหน่ง เจ้าหน้าที่บริการวทิ ยาศาสตร์ (วิทยาศาสตร)์ P๘ ทผโี่ ดลดงเาดนน่ หนว่ ยงาน ศนู ยว์ จิ ยั และพัฒนาเทคโนโลยกี ารผลติ ปศสุ ตั ว์ คณะสตั วแพทยศาสตร์ เริม่ ปฏบิ ตั ิงานในจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๒๙ ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 643
รางวลั ยกย่องเชดิ ชูเกียรติบุคลากร น�้ำหนึ่ง ความมงุ่ เปมน็นั่ เลิศ สายปฏิบตั กิ าร “คนดี ศรีจุฬาฯ” ประเภทบคุ คล ใจเดียวกนั กลุ่มปฏบิ ัตกิ ารและวชิ าชีพทป่ี ฏิบัติในตำ� แหน่งตา่ ง ๆ ชเู ชดิ เคพิดอ่ื แสลงั ะคทม�ำ ระดบั ต�ำ่ กวา่ ปริญญาตรี คุณธรรม นายธนู สายสนิท ตำ� แหน่ง ช่างเทคนคิ ช�ำนาญงาน ทผ่ีโดลดงเาดน่น ตำ� แหนง่ บริหาร บรกิ ารจัดการอาคารหอประชุมจุฬาลงกรณ์ฯ หน่วยงาน ส�ำนกั บรหิ ารระบบกายภาพ เรม่ิ ปฏบิ ตั งิ านในจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ๑ เมษายน ๒๕๓๕ 644 ยกย่องเชดิ ชเู กยี รติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ผลงานท่โี ดดเดน่ (ย้อนหลงั ๓ ปี) ปี ๒๕๕๙ จดั สถานทเ่ี ตรียมตอ้ นรับขบวนปนั่ เพอื่ พอ่ ปี ๒๕๖๐ จดั สถานที่เตรยี มการงาน “เขียนงานหรือวิถีศิลปากร” ครง้ั ท่ี ๑๓ ปี ๒๕๖๑ จัดสถานที่เตรยี มการ ปาฐกถาพเิ ศษ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา คตพิ จน์ท่ียดึ ถอื ในการปฏบิ ัตงิ านและการปฏบิ ตั ติ น “ท�ำวันนี้ให้ดีท่ีสุด” เมื่อได้นรับมอบหมายภารกิจใด ๆ ก็ท�ำให้เต็มท่ีและดีท่ีสุด เพ่ือ บรรลุเปา้ หมายของงานท่กี ำ� หนดไว้ ปณิธานความดีที่จะปฏิบัตติ ่อไป “อนาคตที่ดีคอื ผลของวนั นี้” ยกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 645
ผลงานทโ่ี ดดเดน่ (ย้อนหลงั ๓ ปี) ปี ๒๕๖๐ เปน็ คณะทำ� งานการดำ� เนนิ งานเพอื่ ขบั เคลอื่ นการลดการใชก้ ระดาษจากการใช้ ระบบ Less paper ในคณะเภสชั ศาสตร์ ปี ๒๕๖๑ เป็นคณะท�ำงานสื่อสารองค์กรและการประชาสัมพันธ์ของคณะเภสัชศาสตร์ เพ่ือสื่อสาร สร้างความเข้าใจอันดี และมีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างองค์กร เจ้าหนา้ ท่ี และบคุ คลทั่วไป เป็นคณะท�ำงานโครงการ Pharmcy cu zero waste สนองนโยบายของ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ให้คณาจารย์ บุคลากร และนิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ตระหนักถงึ ความสำ� คญั ของกาลดขยะพลาสตกิ คติพจน์ทยี่ ดึ ถือในการปฏิบตั งิ านและการปฏบิ ัติตน ดิฉนั ได้ตง้ั ปณิธานว่า เมือ่ ได้กา้ วเขา้ มาเปน็ บุคลากรของคณะเภสชั ศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั เราตอ้ งมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ทที่ ไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ทำ� งานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ และประสิทธผิ ล แม้เราจะเปน็ เพียงสว่ นเลก็ ๆ ในมหาวิทยาลัย ขอเพยี งแคเ่ ราทำ� งานตาม หน้าทีใ่ หด้ ี มีการพฒั นาเพม่ิ พูนความรู้ และความสามารถของตนเองอยเู่ สมอ มีจรยิ ธรรมใน การท�ำงานและด�ำเนนิ ชีวิต สรา้ งผลงานเป็นทป่ี ระจักษใ์ ห้กบั คณะเภสชั ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั ต่อไป ปณธิ านความดีท่ีจะปฏิบตั ติ อ่ ไป “อดีตผา่ นไปแลว้ อนาคตยังมาไม่ถงี ทำ� ปัจจบุ ันให้ดีทส่ี ุด” 646 ยกย่องเชิดชูเกยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
รางวัลยกย่องเชิดชูเกยี รตบิ คุ ลากร ใจนเด้ำ� หียนวึง่กนั มงุ่ มนั่ สายปฏิบตั กิ าร “คนดี ศรีจฬุ าฯ” ประเภทบคุ คล ความเปน็ เลิศ กลุม่ บริการ ชเู ชดิ คิดและท�ำ นางจินดา กระแสรล์ ม คณุ ธรรม เพอื่ สังคม ต�ำแหน่ง พนกั งานรับโทรศัพท์ หน่วยงาน คณะเภสชั ศาสตร์ ผลงาน เริม่ ปฏบิ ัติงานในจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ๑๗ ตลุ าคม ๒๕๓๗ ที่โดดเดน่ ยกย่องเชดิ ชเู กียรตบิ ุคลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 647
รางวลั ยกย่องเชดิ ชเู กยี รติบุคลากร ใจนเด�้ำหียนวงึ่กนั ความมุ่งเปม็นนั่ เลศิ สายปฏิบัตกิ าร “คนดี ศรีจุฬาฯ” ประเภทบุคคล ชเู ชดิ คดิ และท�ำ กลมุ่ บริการ คุณธรรม เพื่อสังคม นางวรศิ รา รุมดอน ตำ� แหนง่ พนักงานสถานที่ บ.๒ ผลงาน ตำ� แหน่งบรหิ าร - ทโ่ี ดดเดน่ หน่วยงาน ภารกิจบริหารและธุรการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ เร่มิ ปฏิบัติงานในจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๓๙ 648 ยกย่องเชดิ ชูเกียรตบิ ุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 656
- 657
- 658
- 659
- 660
- 661
- 662
- 663
- 664
- 665
- 666
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 666
Pages: