Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือรางวัลยกย่องจุฬา 2562

หนังสือรางวัลยกย่องจุฬา 2562

Published by Research Chula, 2019-09-12 10:38:21

Description: หนังสือรางวัลยกย่องจุฬา 2562

Search

Read the Text Version

ศาสตราจารย์ ดร.อนวุ ฒั น์ ศริ วิ ฒั น์ เกดิ เม่อื วันท่ี ๖ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๙๘ เข้ารบั การ ศึกษาระดับอนุบาล ถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ท่ีโรงเรียนจิตรลดา จากน้ันได้ศึกษาต่อ ในระดับเกรด ๑๑-๑๒ ที่ Philips Academy เมืองแอนโดเวอร์ มลรัฐแมสแซตซูแซทต์ สหรัฐอเมรกิ า และได้ส�ำเรจ็ การศกึ ษาในระดับปริญญาตรี (พ.ศ. ๒๕๒๐) ปริญญาโท (พ.ศ. ๒๕๒๑) และปรญิ ญาเอก (พ.ศ. ๒๕๒๖) ในสาขาวิศวกรรมเครือ่ งกล ท่ี Cornell University มลรฐั นวิ ยอรค์ สหรฐั อเมริกา นอกจากนี้ได้เป็นนกั วิจยั หลังปริญญาเอกท่ีภาควิชาวศิ วกรรม เคมี Johns Hopkins University พ.ศ. ๒๕๒๖ - ๒๕๒๘ ระหว่างการศึกษาได้รับทุน Teaching Assistantship จาก Cornell University (พ.ศ. ๒๕๒๑) ทนุ Research Graduate Assistantships จาก US National Science Foundation (พ.ศ. ๒๕๒๒ - ๒๕๒๖) และทุน Post Doctoral Fellowships จาก มหาวทิ ยาลยั Johns Hopkins University พ.ศ. ๒๕๒๖ - ๒๕๒๘ ได้รบั รางวัล Research Project Award จาก US National Science Foundation (พ.ศ. ๒๕๓๑ - ๒๕๓๓) รางวลั Quality Research Award จากจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั (พ.ศ. ๒๕๔๖) รางวลั TRF Senior Research Scholar จากส�ำนกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การวิจัย (พ.ศ. ๒๕๕๕ และ ๒๕๕๘) และรางวัล Distinguished Researcher Award จากสํานักงานการวิจยั แหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๕๙) งานวิจยั ทเ่ี ชย่ี วชาญ ได้แก่ Conductive and Electroactive Polymers; Rheology, Stability, Transition and Turbulance of Complex Fluids; Gas Sensors, Actuators, Drug Delivery System, Ion-exchange Membrane ยกย่องเชดิ ชูเกยี รติบคุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 49

ผศาทู้ สี่ไตดรร้ าบั จกาารรยโป์ รระดดเับกลA้า-ฯ2ให้ดำ� รงต�ำแหนง่ ศาสตราจารย์ ดร.เอมอชั ฌา วัฒนบุรานนท์ ภาควิชาหลักสตู รและการสอน คณะครศุ าสตร์ โทรศพั ท์ ๐๘-๑๖๕๘-๐๗๓๑ E-mail: [email protected] 50 ยกย่องเชดิ ชเู กยี รติบคุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ศาสตราจารย์ ดร.เอมอัชฌา วฒั นบุรานนท์ เกดิ เม่อื วันท่ี ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๘ สำ� เร็จการศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนปลายจาก โรงเรยี นปราจณิ ราษฎรอำ� รงุ จงั หวดั ปราจนี บรุ ี เขา้ ศกึ ษาตอ่ ในคณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ในปี พ.ศ. ๒๕๑๖ จนส�ำเรจ็ การศึกษา ครศุ าสตรบณั ฑิต (เกียรตินยิ ม) สาขา สุขศึกษา ในปี พ.ศ. ๒๕๒๐ หลังจากส�ำเร็จการศึกษาได้เข้ารับราชการในต�ำแหน่งนักวิชาการสุขศึกษา กองส่งเสริมสาธารณสุข ส�ำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร จากนั้นได้โอนย้ายไปปฏิบัติราชการท่ี กองส่งเสรมิ พลศกึ ษาและสขุ ภาพ กรมพลศึกษา ในปี พ.ศ. ๒๕๒๒ และในปีเดยี วกันไดร้ บั คดั เลือกเปน็ ผู้แทนประเทศไทยเข้าร่วมโครงการเรือเยาวชนเอเชียอาคเนย์ (Ship for Southeast Asian and Japanese Youth Program) ต่อมาได้เข้าศึกษาต่อจนส�ำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาสุขศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ในปีถัดมานั้นได้รับทุน เพ่อื ศึกษาปริญญาเอกจนสำ� เรจ็ การศึกษา Ed.D.สาขา School and Community Health Education จาก Oregon State University ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ในปี พ.ศ. ๒๕๓๒ และได้กลบั มาปฏบิ ตั ิราชการ ที่กองส่งเสริมพลศึกษาและสุขภาพ กรมพลศึกษาระยะหนึ่ง แล้วโอนย้ายมารับต�ำแหน่งอาจารย ์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้รับการแต่งตั้งเป็น ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ เมื่อวนั ท่ี ๒๘ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ จากน้ันได้รบั การแตง่ ตั้งเป็นรองศาสตราจารย์ เม่ือวันที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๗ และได้รบั การโปรดเกลา้ ฯ ใหด้ ำ� รงตำ� แหน่งศาสตราจารย์ในสาขา วิชาสขุ ศกึ ษา ตั้งแต่วันท่ี ๒๗ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ศาสตราจารย์ ดร.เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์ ได้รับการยอมรับทางด้านวิชาการและการวิจัย มีผลงานทางวิชาการ หนังสือและต�ำรา เช่น หลักการทางสุขศึกษา สวัสดิศึกษา นอกจากนี้หนังสือ “มรณศึกษา” (Death Education) นับว่าเป็นหนังสือที่ได้เขียนและเรียบเรียงข้ึนเป็นเล่มแรกใน ประเทศไทย ได้ริเรมิ่ การสอนวิชามรณศึกษาและวชิ าการตายอยา่ งมคี ณุ ภาพ (Beautiful Death) ข้นึ ใน ระดบั อดุ มศกึ ษา และทำ� การวจิ ยั สรา้ งและพฒั นารปู แบบการจดั การเรยี นรรู้ ปู แบบใหมช่ อื่ “โมเดลเลฟิ ” (LOVE Model) ซง่ึ ประกอบด้วย Learning : L (ขั้นเรยี นร)ู้ Openness : O (ขน้ั เปดิ ใจ) Value : V (ขั้นเห็นคุณค่า) และ Excellence : E (ขั้นเห็นคุณงามความดี) ท้ังนี้เพื่อสร้างเสริมความเป็นมนุษย์ ท่ีสมบูรณ์ให้กับผู้เรียนในด้านความดี (รักษาศีลห้า) ความจริง (ธรรมชาติของชีวิตที่พึงปฏิบัติได้) และความรปู้ ฏิบตั ิ (การรู้และการปฏบิ ตั ิ) เป็นประโยชนแ์ ก่นิสิตนักศกึ ษา ครู อาจารย์ บุคลากรทางการ ศึกษาในการจัดการเรียนรู้ในเนื้อหาวิชาสุขศึกษา มรณศึกษา เพศศึกษา สวัสดิศึกษา ฯลฯ นอกจากน้ี ยงั เคยดำ� รงตำ� แหนง่ บรหิ ารหลายตำ� แหนง่ เชน่ รองคณบดฝี า่ ยวางแผนและพฒั นา สำ� นกั วชิ าวทิ ยาศาสตร์ การกีฬา หัวหน้าภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ และได้รับเชิญให้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการ คณะท�ำงานท้ังในและนอกมหาวิทยาลัย เช่น ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข สภากาชาดไทย สถาบนั การพลศึกษา ส�ำนักงานกองทนุ สนับสนุนการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รตบิ ุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 51

ผศา้ทู ส่ีไตดร้ราบั จกาารรยโป์ Aรด-2เกลา้ ฯ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง ศาสตราจารย์ ดร. ทนั ตแพทยธ์ นภมู ิ โอสถานนท์ ภาควิชากายวภิ าคศาสตร์ คณะทนั ตแพทยศาสตร์ โทรศัพท์ ๐-๒๒๑๘-๘๘๘๕ E-mail: [email protected] 52 ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

เกิดวันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๓ ส�ำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียน เบญจมราชรังสฤษฎิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา เข้าศึกษาต่อในคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ไดป้ ริญญาทันตแพทยศาสตร์บณั ฑติ เกียรตินยิ มอันดบั สอง ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ หลังจากน้ันได้รับการบรรจุเป็นอาจารย์ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร ์ ในปีเดียวกัน ต่อมาได้รับพระราชทุนมูลนิธิอานันทมหิดล แผนกวิชาทันตแพทยศาสตร์ ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๔๗ เพื่อศึกษาต่อระดับปริญญาเอกสาขาชีววิทยาช่องปาก ณ มหาวิทยาลัยวอชิงตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมที ีป่ รึกษาร่วมระหวา่ งคณะทนั ตแพทยศาสตร์ และคณะวศิ วกรรมศาสตร์ สาขาชวี วศิ วกรรมศาสตร์ จบการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอกในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ และกลบั มาปฏิบตั ิงานที่ คณะทันตแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเข้าอบรมระยะสั้นการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ เซลล์ต้นก�ำเนิดอินดิวซ์พลูริโพเทน ณ มหาวิทยาลัยโอซาก้า ประเทศญี่ปุ่น ได้รับการแต่งต้ังเป็น ผู้ชว่ ยศาตราจารย์ ระดบั A4 สาขาชีววทิ ยาชอ่ งปาก เมื่อวนั ท่ี ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ จากน้นั ได้รับแต่งตั้งต�ำแหน่งรองศาสตราจารย์ ระดับ A3 วันท่ี ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ และได้รับ โปรดเกลา้ ฯ ใหด้ ำ� รงต�ำแหน่งศาสตราจารย์ระดบั A2 เมือ่ วนั ท่ี ๒๐ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ศาสตราจารย์ ดร. ทันตแพทย์ธนภูมิ โอสถานนท์ ได้รับการยอมรับทางด้านวิชาการและ การวิจัย ได้รับรางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติอาจารย์ด้านการเรียนการสอน กองทุนกาญจนาภิเษก เฉลมิ พระเกยี รติ และเปน็ ผทู้ รงคณุ วฒุ แิ ตง่ ตง้ั โดยทนั ตแพทยสภาในคณะกรรมการบรหิ ารศนู ยป์ ระเมนิ และรบั รองความรคู้ วามสามารถในการประกอบวชิ าชพี ทนั ตกรรม และเปน็ ประธานคณะอนกุ รรมการ พัฒนาและทป่ี รึกษาคณะอนกุ รรมการพจิ ารณา acceptable index ขอ้ สอบภาควิทยาศาสตร์แพทย์ และทนั ตแพทยพ์ น้ื ฐาน ในการวดั ความรกู้ ารประกอบวชิ าชพี ทนั ตกรรม ศาสตราจารย์ ดร. ทนั ตแพทย์ ธนภูมิ โอสถานนท์ พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้สื่อออนไลน์ส�ำหรับนิสิตทันตแพทย ์ ในการทบทวนและศึกษาด้วยตนเอง ประยุกต์ใชก้ ารสื่อสารสองทางส�ำหรบั การเรยี นการสอน และใช้ ข้อสอบการประเมินแบบ case-based ในการเรียนการสอนชัน้ พรีคลินิก ศาสตราจารย์ ดร. ทันตแพทย์ธนภูมิ โอสถานนท์ ท�ำการศึกษาวิจัยเก่ียวกับการทดแทนและ ฟื้นฟูทางทันตกรรม โดยการใช้เซลล์ต้นก�ำเนิดและวิศวกรรมเนื้อเยื่อ ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้อ�ำนวยการ ศูนย์วิจัยชีววิทยาช่องปาก คณะทันตแพทยศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๖๒ มีผลงานตีพิมพ์ในวารสาร วิชาการระดับนานาชาติท่ีอยู่ในล�ำดับต้นของสาขาและมีการอ้างอิงของผลงานกว่า ๖๐๐ รายการ ได้รับเชิญเป็นผู้พิจารณาบทความวิจัยก่อนการตีพิมพ์และบรรณาธิการรับเชิญในวารสารวิชาการ ระดับนานาชาติ รวมถึงเป็นท่ีปรึกษาโครงการวิจัยนิสิตท้ังระดับปริญญาบัณฑิตและบัณฑิตศึกษา ที่ไดร้ ับรางวัลระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ ยกย่องเชดิ ชูเกยี รตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 53

เป็นนักเรียนเข็มทองจากโรงเรียนเขมะสิริอนุสรณ์ และติดบอร์ดนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายทไ่ี ดค้ ะแนนสงู สดุ ๑ ใน ๑๐๐ ทวั่ ประเทศ จากโรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษาสายศลิ ปภ์ าษา จบคณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เอกสาขาภาษาองั กฤษ เรยี นภาษาตา่ งประเทศอนื่ ๓ ภาษา คือ ภาษาฝรั่งเศส เยอรมัน และจีน และได้รับรางวัลผู้เรียนภาษาเยอรมันดีเด่นจาก สถาบันเกอเต้ จบการศึกษาระดับปริญญาโทจาก University of Arizona ในสาขา Speech Communication and Personnel Management เข้ารับราชการเป็นอาจารย์ประจ�ำภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง (Speech Communication and Performing Arts) คณะนเิ ทศศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ต้ังแต ่ วันท่ี ๓ พฤษภาคม ๒๕๒๕ รวมเวลารบั ราชการก่อนเกษียณ ๓๔ ปี ๕ เดือน ขณะเปน็ อาจารย ์ เคยได้รับเลือกให้ศึกษาต่อประทศญ่ีปุ่นด้วยทุนจาก Keio University แต่ด้วยความจ�ำเป็นบาง ประการจงึ ไปศึกษาตอ่ ในประเทศสหรัฐอเมริกาแทน ใน University of Oklahoma (Norman) และย้ายไป University of Kansas ในเวลาต่อมา โดยเน้นหนักทาง Organizational Communication และ Intercultural Communication ตลอดระยะเวลาทส่ี อนไดผ้ ลติ ต�ำรา และหนังสือทางวิชาการ รวมท้ังบทความต่าง ๆ ทางวาทวทิ ยาและนเิ ทศศาสตรโ์ ดยรวมกว่า ๓๐ ช้ินงาน ร่วมก่อต้ังโครงการอาศรมทางความคิดทางนิเทศศาสตร์ เป็นบรรณาธิการวารสาร นิเทศศาสตร์ และท�ำงานวิจัยทางวิชาการเกือบ 20 เรื่อง ซ่ึงรวมถึงงานวิจัยร่วมกับต่างประเทศ ๒ ช้ิน โดยเน้นหนักทางด้านการส่ือสารระหว่างวัฒนธรรม (Intercultural Communication) และได้รับรางวัลบทความงานวิจัยดีเด่น ประเภทกลุ่มโปสเตอร์ จาก The 3rd Annual PSU Phuket International Conference 2014. นอกเหนือจากการท�ำงานวิชาการของคณะฯ ได้ท�ำงานวิจัย เป็นวิทยากร และกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ รวมถึงท่ีปรึกษาและกรรมการวิทยานิพนธ์ให้แก่มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ท้ังภาครัฐ และเอกชน อาทิ ธรรมศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ มหิดล เกษตรศาสตร์ สุโขทัยธรรมาธิราช บูรพา หอการค้าไทย กรุงเทพ ABAC ธุรกิจบัณฑิตย์ เกริก สยาม และ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั ตา่ ง ๆ รวมถงึ หนว่ ยงานราชการและรฐั วสิ าหกจิ อาทิ สภาทปี่ รกึ ษาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข องค์การส่งเสริมการท่องเท่ียว โรงเรียนเสนาธิการ ทหารบก กรมประชาสัมพันธ์ การบินไทย ฯลฯ ตลอดจนได้รับแต่งตั้งให้เป็นกรรมการสภา ของมหาวิทยาลัยธรุ กจิ บณั ฑิตย์ช่วงระหว่างปี ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐ 54 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตบิ ุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ผทู้ ี่ไดร้ บั การโปรดเกลา้ ฯ ใศหาด้ ส�ำตรรงาตจำ� าแรหยน์ รง่ ะดบั A2 ศาสตราจารยก์ ติ ตคิ ณุ เมตตา ววิ ฒั นานกุ ลู ภาควชิ าวาทวิทยาและส่อื สารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ โทรศพั ท์ - E-mail: [email protected] ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 55

ศาสตราจารย์รุ่งนภา พิตรปรีชา เกิดวันที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๐ ส�ำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย จากโรงเรียนราชินี กรุงเทพมหานคร ก่อนเข้าศึกษาต่อท่ีคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๘ และส�ำเร็จการศึกษาปริญญาตรีนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาประชาสัมพันธ์ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๑ ต่อมาได้ส�ำเร็จศึกษา ระดบั ปรญิ ญาโท ในสาขา Corporate and Political Communication ท่ี Fairfield University ประเทศสหรัฐอเมรกิ า ในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ ได้บรรจุเปน็ อาจารย์ประจ�ำสาขาวชิ านเิ ทศศาสตร์ มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช ไดร้ ับการแตง่ ตั้ง เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ในสาขานิเทศศาสตร์ เม่ือวันที่ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๒ จากนั้นได้รับการแต่งต้ังเป็น รองศาสตราจารย์ ระดบั ๙ ในสาขานเิ ทศศาสตร์เมื่อวนั ที่ ๑๗ กนั ยายน ๒๕๓๕ และได้รบั โปรดเกล้าฯ ให้ดำ� รงต�ำแหนง่ ศาสตราจารยใ์ นสาขาวิชานิเทศศาสตร์ เม่ือวันท่ี ๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๐ ศาสตราจารย์รุ่งนภา พิตรปรีชา ได้รับการยอมรับทั้งด้านวิชาการและวิจัยด้านการสื่อสารประชาสัมพันธ์และ การโฆษณาควบคู่ไปกับด้านการสื่อสารองค์กร หนังสือและต�ำราท่ีได้รับการตีพิมพ์ เช่น ประมวลสาระชุดวิชา การวิจัย การสอ่ื สาร หน่วยท่ี ๑๒ “การเขยี นขอ้ เสนอโครงการวิจัย รายงานการวจิ ัยและการตพี ิมพ์เผยแพร่” เอกสารการสอนชุด วชิ า กลยทุ ธข์ องการประชาสมั พนั ธห์ นว่ ยท ี่ ๗ “กลยทุ ธก์ ารจดั การประเดน็ ปญั หาทางการประชาสมั พนั ธแ์ ละภาวะวกิ ฤต” หนงั สือ “พลงั แห่งการประชาสัมพันธ”์ เป็นอาทิ รายงานการวจิ ยั หลายโครงการ เชน่ การศึกษาภาพลักษณเ์ พอื่ จัดท�ำแผน แม่บทการประชาสัมพันธ์ในหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน เช่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ส�ำนักงานปรมาณูเพ่ือสันติ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย เป็นต้น โครงการประเมินผลการประชาสัมพันธ์ของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ เชน่ คณะกรรมการ กจิ การโทรคมนาคมแห่งขาติ (กทช) กรมขนสง่ ทางบก และบรษิ ทั ผลิตไฟฟา้ จ�ำกดั (มหาชน) เป็นต้น โครงการรณรงคแ์ ละ แก้ไขปัญหาโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โดยใช้กระบวนการตลาดเชิงสังคม ซ่ึงเป็นโครงการที่ร่วมมือกับ สำ� นกั งานโรคเอดส์ วณั โรค และโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ เพอ่ื สรา้ งแนวคดิ การดำ� เนนิ งานและวางแผนการประชาสมั พนั ธ์ ขององค์กร นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยตัวชีวัดความมีชื่อเสียงของธุรกิจในประเทศไทย เพื่อสร้างตัวช้ีวัดท่ีสามารถใช้วัด ความมีชื่อเสียงขององค์กรในด้านต่าง ๆ และวิจัยเรื่องแนวทางการก�ำหนดกรอบจริยธรรมการโน้มน้าวใจในการ ประชาสมั พนั ธ์ ซงึ่ เปน็ โครงการทไ่ี ดร้ บั ทนุ จากคณะนเิ ทศศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั กลา่ วไดว้ า่ ผลงานทง้ั ดา้ นหนงั สอื ต�ำรา และงานวิจยั ได้ถกู น�ำไปใชอ้ ้างอิงท้งั ในด้านวิชาการจนเป็นท่ยี อมรับในวงวิชาการอย่างกวา้ งขวาง และยิง่ ไปกว่าน้ัน ในดา้ นวชิ าชีพกถ็ ูกนำ� ไปใชอ้ ้างองิ เพอื่ สร้างกรอบในการสื่อสารใหอ้ งค์กรของตนเอง ศาสตราจารยร์ ุ่งนภา พิตรปรีชา ได้รับเชญิ เปน็ คณะกรรมการก�ำกบั มาตรฐานวชิ าการ สาขาวิชาโฆษณา และสาขา วิชาสื่อสารการตลาดดจิ ทิ ลั มหาวทิ ยาลัยรงั สติ คณะกรรมการประเมินผลงานวชิ าการของสถาบนั ตา่ ง ๆ กล่าวคือ ผู้ทรง คุณวุฒิเพ่ือประเมินบทความทางวิชาการ “วารสารการจัดการ” มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย “วารสารมหาวิทยาลัย ศิลปากร” มหาวิทยาลัยศลิ ปากร “วารสารนเิ ทศศาสตร์” สาขาวชิ านิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช คณะ กรรมการปรบั ปรงุ ชดุ วชิ า”หลกั การโฆษณาและการประชาสมั พนั ธ”์ ชดุ วชิ า”สอ่ื โฆษณา” สาขานเิ ทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช คณะกรรมการประชาสัมพันธ์ สถาบันพระปกเกล้า คณะกรรมการตัดสินรางวัล Energy Award กรมอนรุ กั ษพ์ ลงั านและพลงั งานทดแทน อนกุ รรมการพจิ ารณารางวลั สอ่ื ทมี่ ผี ลงานดเี ดน่ สนบั สนนุ ปอ้ งกนั และปราบปราม การทุจริตหรือรางวัลช่อสะอาด นอกจากน้ียังเป็นบรรณาธิการหนังสือ”Religion, Media and Marketing in a Complex Society บรรณาธกิ ารวารสารการโฆษณาและการประชาสมั พนั ธ์ คณะนเิ ทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และวารสาร Communication and Media in Asia Pacific คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตลอด ระยะเวลารบั ราชการศาสตราจารยร์ งุ่ นภา พติ รปรชี า ไดด้ ำ� รงตำ� แหนง่ หวั หนา้ ภาควชิ าการประชาสมั พนั ธ์ คณะนเิ ทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ๒๕๕๑ - ๒๕๕๙ รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐ - ๒๕๔๖ และ พ.ศ. ๒๕๕๙ - ปัจจุบัน และได้รับรางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๐ สาขา เทคโนโลยสี ารสนเทศและนเิ ทศศาสตร์ ระดบั ดี เรอ่ื ง “แนวทางการกำ� หนดกรอบจรยิ ธรรมการโนม้ นา้ วใจการประชาสมั พนั ธ์ ประจ�ำปี ๒๕๖๐ 56 ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ผทู้ ี่ไดร้ ับการโปรดเกล้าฯ ใหด้ �ำรงตำ� แหนง่ ศาสตราจารย์ ระดบั A-2 ศาสตราจารยร์ งุ่ นภา พิตรปรชี า ภาควชิ า - คณะนิเทศศาสตร์ โทรศัพท์ ๐๖-๓๒๑๘-๕๖๕๙ E-mail: [email protected] ยกยอ่ งเชิดชูเกียรตบิ คุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 57

ผศาู้ทส่ีไตดรร้ าบั จกาารรยโป์ รระดดเับกลAา้ -ฯ2ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์เผด็จ สริ ิยะเสถียร ภาควชิ าปรสติ วิทยา คณะแพทยศาสตร์ โทรศพั ท์ ๐-๒๒๕๖-๔๓๘๗ E-mail: [email protected] 58 ยกยอ่ งเชิดชูเกียรติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

เกิดวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๐๘ ส�ำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย จากโรงเรียนอ�ำนวยศิลป์ จังหวัดกรุงเทพมหานคร จากน้ันเข้าศึกษาต่อในคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ได้ปริญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขา เกษตรศาสตร์ ปี พ.ศ. ๒๕๓๑ และเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. ๒๕๓๑ และจบปริญญาแพทยศาสตร์ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ไดร้ บั การ บรรจุเป็นอาจารย์ภาควชิ าปรสิตวทิ ยา ในปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ ได้เข้าศกึ ษา หลักสูตรประกาศนียบัตรอายุรศาสตร์เขตร้อนและสุขวิทยา คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล และส�ำเร็จการศึกษาในปีเดียวกัน ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ได้รับทุน เรียนต่อระดับปริญญาเอกสาขาอณูชีววิทยา ณ Liverpool School of Tropical Medicine มหาวิทยาลัยลิเวอร์พลู สหราชอณาจกั ร และจบปรญิ ญาเอกในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ ได้กลับมาปฏิบัติราชการที่คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการแต่งตั้ง เปน็ ผู้ชว่ ยศาสตราจารยใ์ นสาขาปรสิตวทิ ยา เมือ่ วนั ท่ี ๔ กรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ จากนั้น ได้รับต�ำแหน่งรองศาสตราจารย์วันท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ และได้รับการโปรดเกล้าฯ ใหด้ �ำรงต�ำแหน่งศาสตราจารย์ระดับ A2 เมือ่ วนั ที่ ๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์เผด็จ สริ ิยะเสถียร ไดร้ ับการยอมรับทางดา้ นวชิ าการ และการวิจัย ทางด้านการปรสิตวิทยาทางการแพทย์ ท�ำการโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะ โดยเฉพาะโรคลิชมาเนียซึ่งเป็นโรคอุบัติใหม่ของประเทศไทย หนังสือที่ได้รับการตีพิมพ์ เช่น โรคลิชมาเนีย และริ้นฝอยทรายแมลงพาหะในประเทศไทย นอกจากน้ียังมีผลงาน วชิ าการท่ีตีพิมพใ์ นวารสารวชิ าการระดบั นานาชาติ และผลงานการวจิ ัยได้นำ� ไปประยกุ ต์ใช้ การควบคมุ โรคที่มแี มลงเป็นพาหะ เชน่ ไขเ้ ลอื ดออก ชคิ นุ กันยา ซิกา และลิชมาเนยี ยกยอ่ งเชิดชเู กียรตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 59

ศผา้ทู ส่ีไตดรร้ าบั จกาารรยโป์ รระดดเบักลA้า-ฯ2ใหด้ ำ� รงต�ำแหนง่ ศาสตราจารย์ แพทยห์ ญงิ สปุ ราณี นริ ตุ ตศิ าสน์ ภาควชิ าวสิ ัญญวี ทิ ยา คณะแพทยศาสตร์ โทรศัพท์ ๐๘-๙๖๙๘-๔๕๖๘ E-mail: [email protected] 60 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตบิ ุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงสุปราณี นิรุตติศาสน์ จบการศึกษาปริญญาตรี ในปี พ.ศ. ๒๕๒๓ การศึกษาปริญญาโท ในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ และในปี พ.ศ. ๒๕๒๖ และจบ Doctoral Degree (วิสัญญีวิทยา) ในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ได้รับการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งต้ังให้ ดำ� รงตำ� แหน่งศาสตราจารยใ์ นสาขาวสิ ัญญวี ทิ ยาตั้งแต่วันท่ี ๒๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 61

ผ้ทู ่ีไดร้ บั การโปรดเกลา้ ฯ ใหด้ ำ� รงต�ำแหนง่ ศาสตราจารย์ ระดับ ๑๐ ศาสตราจารย์ ดร.จันทรเ์ พญ็ จนั ทร์เจ้า ภาควชิ าชวี วทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตร์ โทรศัพท์ ๐-๒๒๑๘-๕๓๖๙ E-mail: [email protected] 62 ยกย่องเชดิ ชเู กยี รติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

เกดิ วนั ที่ ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๓ ชว่ งปี พ.ศ. ๒๕๒๕ - ๒๕๓๑ ศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษา ท่ีโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้รับรางวัลผู้มีผลการเรียนดีเด่น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียน ช่วงปี พ.ศ. ๒๕๓๑ - ๒๕๓๕ ศึกษาระดับ ปริญญาตรี ได้รับวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาชีววิทยา (เกียรตินิยมอันดับสอง) จากคณะ วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้วยทุนพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.) และได้รับรางวัลการศึกษายอดเยี่ยมข้ันวิทยา ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา ทุนมูลนิธิศาสตราจารย์ ดร.แถบ นีละนิธิ ช่วงปี พ.ศ. ๒๕๓๗ - ๒๕๔๒ ไดร้ บั M.S. และ Ph.D. สาขาชวี วทิ ยา จาก Virginia Polytechnic Institute and State University ประเทศสหรัฐอเมริกา ด้วยทุนรัฐบาลไทยเพ่ือศึกษาต่อในระดับ ต่างประเทศ (ทุน ก.พ.) และได้รับทุน Teaching Assistantship จากทางมหาวิทยาลัย หลังจบการศึกษาได้เข้ารับราชการบรรจุเป็นอาจารย์ประจ�ำภาควิชาชีววิทยา คณะ วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างท�ำงานได้รับ Research Fellowship เพื่อไปท�ำวิจัย ณ National Institute of Livestock and Grassland Science เมือง Tsukuba และ Hokkaido University เมอื ง Sapporo ประเทศญี่ปุ่น จนกระทงั่ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ด�ำรงต�ำแหน่งศาสตราจารย์ และได้รับเชิดชูเกียรติเข้าสู ่ หอเกยี รติยศ พสวท. (Hall of Fame, DPST) เปน็ อาจารยท์ ่ีปรึกษาหลักดแู ลวิทยานิพนธ์ และ Senior project โดยมีนิสิตระดับดุษฎีบัณฑิตและมหาบัณฑิตท่ีจบการศึกษาแล้ว จ�ำนวน ๒๔ คน มนี สิ ติ ระดบั บัณฑติ ท่จี บการศกึ ษาแล้ว ๕๔ คน เป็นอาจารยท์ ี่ปรึกษาหลัก ดูแล Internship ใหก้ บั นิสติ แลกเปล่ียนจากตา่ งประเทศ เชน่ University of Liverpool, Osaka University, Institute Technology Sepuluh Nopember เป็นต้น และเป็น เลขานกุ ารในคณะกรรมการโครงการ Asian Science Camp ไทย ของมลู นธิ สิ ง่ เสรมิ โอลมิ ปกิ วิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจา้ ฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครินทร์ (สอวน.) ยกย่องเชดิ ชูเกียรติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 63

ศผา้ทู สี่ไตดร้ราบั จกาารรยโป์ รระดดเบักล๑า้ ฯ๐ให้ดำ� รงต�ำแหนง่ ศาสตราจารย์ ดร.ประณฐั โพธยิ ะราช ภาควชิ าวัสดศุ าสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ โทรศัพท์ ๐-๒๒๑๘-๕๕๔๔-๖ E-mail: [email protected] 64 ยกยอ่ งเชิดชูเกียรตบิ ุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

เกิดเม่ือวนั ที่ ๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ สำ� เรจ็ การศึกษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ก่อนเข้าศึกษาต่อในคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. ๒๕๓๒ ได้รับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ ๒) สาขาวิชาวัสดศุ าสตร์ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๖ และในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ เขา้ รับราชการในต�ำแหนง่ เจ้าหน้าที่วิจัย สังกัดสถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อนโอนย้าย มาบรรจุในตำ� แหนง่ อาจารย์ สังกดั คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ในปถี ดั มา จากน้ันได้รับทุนกระทรวงวิทยาศาสตร์เพ่ือไปศึกษาต่อระดับปริญญาเอก ณ University of Manchester Institute of Technology (UMIST) (ปัจจุบันคือ The University of Manchester) สหราชอาณาจักร และส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกในสาขาวิชา Textiles เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๔๓ แล้วกลับมาปฏิบัติราชการที่ภาควิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั จนได้รบั การแตง่ ต้ังเปน็ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยใ์ น สาขาวิชาวัสดุศาสตร์ เมื่อวันที่ ๒๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ จากนั้นได้รับต�ำแหน่ง รองศาสตราจารย์ เม่อื วนั ท่ี ๒๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ และได้รับการโปรดเกลา้ ฯ ให้ดำ� รง ต�ำแหน่งศาสตราจารย์ เม่ือวันที่ ๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ท้ังนี้ตั้งแต่วันท่ี ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ จากการปฏิบัติหน้าที่ด้านการเรียนการสอนทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และ ปรญิ ญาเอกอย่างต่อเน่อื ง ท�ำใหศ้ าสตราจารย์ ดร.ประณัฐ โพธยิ ะราช สามารถสรา้ งผลงาน ทางวิชาการเป็นจ�ำนวนมาก มีผลงานวิจัยท่ีเผยแพร่ปรากฏในฐานข้อมูล Scopus กว่า ๖๐ เร่อื ง โดยมีค่า H-index = ๑๗ เปน็ หวั หนา้ ศูนย์เชย่ี วชาญเฉพาะทางดา้ นสิ่งทอ กองทนุ รัชดาภิเษกสมโภช นอกจากน้ียังปฏิบัติหน้าท่ีด้านการบริการวิชาการให้กับวงการวิชาการ ระดบั ชาติ อาทิ กรรมการสมาคมวจิ ยั วัสดุ กรรมการสมาคมวทิ ยาศาสตรแ์ ห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประธานฝ่ายวิชาการการจัดประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ด้านการบริหารเคยด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญอาทิ ผู้ช่วยคณบด ี ฝ่ายกิจการนิสิต คณะวิทยาศาสตร์ ผู้ช่วยอธิการบดี (ปฏิบัติงานร่วมกับรองอธิการบดี ด้านวิชาการ) รองผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ หัวหน้าภาควิชาวัสดุศาสตร ์ คณะวทิ ยาศาสตร์ และปจั จุบันดำ� รงต�ำแหนง่ ผ้อู ำ� นวยการสถาบันวิจยั โลหะและวสั ดุ ยกย่องเชดิ ชเู กยี รติบคุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 65

ศผาู้ทสี่ไตดรร้ าบั จกาารรยโป์ รระดดเับกล๑า้ ฯ๐ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง ศาสตราจารย์ ดร.พรเทพ สมพรพิสุทธิ์ ภาควชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตร์ โทรศัพท์ ๐-๒๒๑๘-๗๖๐๔ E-mail: [email protected] 66 ยกย่องเชดิ ชูเกยี รติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

เกิดวันที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๑ ส�ำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย จังหวัดกรงุ เทพ กอ่ นเข้าศึกษาตอ่ ในคณะวทิ ยาศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัยในปี พ.ศ. ๒๕๓๐ ไดป้ ริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเคมี ปี พ.ศ. ๒๕๓๔ จบปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ด้านเคมีเชิงฟิสิกส์จาก สถาบันเดียวกันในปี พ.ศ. ๒๕๓๖ และจบปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ไดร้ บั การบรรจเุ ปน็ อาจารยภ์ าควชิ าเคมใี นปี พ.ศ. ๒๕๔๐ จากนนั้ ไดร้ บั การแตง่ ตงั้ เปน็ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ในสาขาวิชาเคม ี เม่อื วนั ที่ ๑ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๒ ตอ่ มาได้ลาเพอ่ื ทำ� วิจัยเก่ียวกบั การศึกษาโครงสร้าง ของเมมเบรนโปรตีนไออนแชนนัลด้วยเทคนิคอีพีอาร์ ในต�ำแหน่ง Postdoctoral Research Associate ท่ี Department of Molecular Physiology and Biological Physics มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย ประเทศ สหรฐั อเมริกา ในปี พ.ศ. ๒๕๔๒ - ๒๕๔๔ ไดก้ ลบั มาปฏบิ ัตริ าชการที่คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั จากน้ันได้รับต�ำแหน่งรองศาสตราจารย์ เม่ือวันท่ี ๑ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๔๘ และได้ลาเพื่อท�ำวิจัยอีกคร้ัง ในต�ำแหน่ง Visiting Research Professor ที่ Institute for Biophysical Dynamics มหาวิทยาลัยชิคาโก ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ - ๒๕๕๐ และได้รับการโปรดเกล้าฯให้ด�ำรงต�ำแหน่งศาสตราจารย์ ระดับ ๑๐ เม่ือวันที่ ๑๗ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ศาสตราจารย์ ดร.พรเทพ สมพรพิสุทธิ์ เป็นหนึ่งในนักวิจัยในประเทศไทยท่ีริเริ่มใช้ วางรากฐานและ พัฒนาเทคนิคทางเคมีคอมพิวเตอร์เพ่ือศึกษาวิจัยเกี่ยวกับโครงสร้างและการท�ำงานของโปรตีน โดยเฉพาะ เป็นผู้บุกเบิกงานวิจัยที่เก่ียวกับไอออนแชนนัลซึ่งเป็นโปรตีนที่ท�ำหน้าที่ขนส่งไอออนผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ผลิต ผลงานวิจัยพื้นฐานที่มีคุณภาพสูงและเป็นท่ียอมรับของประชาคมนักวิจัยในสาขาที่เก่ียวข้อง งานวิจัยมีความ โดดเด่นในด้านการศึกษาโครงสร้างของไอออนแชนนัลและการพัฒนากระบวนวิธีเพ่ือศึกษาโครงสร้างสามมิต ิ ของโปรตนี ในสภาวะทไ่ี มส่ ามารถตรวจวดั ดว้ ยเทคนคิ x-ray crystallography หรอื NMR ได้ โดยดำ� เนนิ งานวจิ ยั พื้นฐานที่อาศัยหลักการและทฤษฎีทางเคมีเชิงฟิสิกส์และคณิตศาสตร์เพื่อเสนอโมเดลหรือแบบจ�ำลองโครงสร้าง สามมิติของโมเลกุล ท�ำให้เข้าใจกลไกการท�ำงานในระดับโมเลกุลของไอออนแชนนัลได้อย่างลึกซ้ึง ผลงานวิจัย เกย่ี วกบั ไอออนแชนนลั ทผ่ี า่ นมามงุ่ เสาะแสวงหาความรใู้ หม่ หรอื เพอ่ื เพมิ่ พนู ความรใู้ หล้ กึ ซงื้ และสมบรู ณใ์ นประเดน็ ส�ำคัญเก่ียวกับกลไกการท�ำงานของไอออนแชนนัล การค้นพบน�ำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ใหม่ในระดับสากล เป็นประโยชน์ในทางชวี วทิ ยาและทางการแพทย์ และเป็นพืน้ ฐานในการพัฒนาต่อยอดหรอื การคน้ พบส่ิงใหม่ ๆ อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ดงั ทไี่ ดแ้ สดงใหเ้ หน็ เปน็ ทป่ี ระจกั ษจ์ ากผลงานตพี มิ พจ์ ำ� นวนหลายบทความในวารสารทมี่ คี ณุ ภาพ สงู เช่น Nature, Nature Structure & Molecular Biology, Nature Communication, Proceedings of The National Academy of Sciences of The United States of America เป็นต้น และจ�ำนวนครั้ง ในการอ้างองิ ผลงาน ศาสตราจารย์ ดร.พรเทพ สมพรพิสุทธ์ิ ได้วางระบบและสร้างรากฐานในงานวิจัยด้านการออกแบบเชิง โมเลกุลและการจ�ำลองระบบชีวโมเลกุล ผลิตบุคคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถในด้านวิชาการและการวิจัย สามารถทำ� งานวิจยั ทีม่ ผี ลกระทบสูงด้านวชิ าการ ประยกุ ตแ์ ละสร้างเทคโนโลยใี หม่ ๆ ได้เอง เปน็ การยกระดับ คุณภาพการศึกษาของประเทศ เกิดเครือข่ายภายในกลุ่มเคมีคอมพิวเตอร์ท่ีมีความแข็งแกร่งและเป็นที่ยอมรับ ในต่างประเทศ สร้างการเช่ือมโยงและความร่วมมือระหว่างนักวิจัยทั้งในประเทศและระดับนานาชาติ ซ่ึงเป็น การเพิม่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขันในระดบั ประเทศ ยกยอ่ งเชิดชเู กียรตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 67

ผศาู้ทสี่ไตดรร้ าับจกาารรยโป์ รระดดเบักล๑้าฯ๐ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง ศาสตราจารย์ ดร.อลสิ า วงั ใน ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ โทรศัพท์ ๐-๒๒๑๘-๕๔๓๐ E-mail: [email protected] 68 ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

เกิดวันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ ส�ำเร็จการศึกษาระดับประถมและมัธยมศึกษา จากโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ก่อนเข้าศึกษาต่อในคณะวิทยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ในปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ไดป้ รญิ ญาวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาเทคโนโลยที าง อาหาร แขนงวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ ปี พ.ศ. ๒๕๓๕ และจบปริญญาวิทยาศาสตร มหาบัณฑติ สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ จากสถาบันเดียวกนั ในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ได้รับการบรรจเุ ป็น อาจารยภ์ าควชิ าชีวเคมีในปี ๒๕๓๘ ต่อมาไดร้ บั ทนุ เรียนต่อปรญิ ญาเอกสาขา Biochemistry ท่ี Department of Biochemistry & Biophysics, Oregon State University ประเทศ สหรัฐอเมรกิ า ดว้ ยทนุ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย จบปริญญาเอกในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ และกลบั มา ปฏิบัติราชการท่ีคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการแต่งต้ังเป็นผู้ช่วย ศาสตราจารยใ์ นสาขาวิชาชีวเคมี เมอื่ วันท่ี ๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๗ จากนน้ั ไดร้ บั ตำ� แหนง่ รองศาสตราจารย์วันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ และได้รบั การโปรดเกล้าฯ ใหด้ �ำรงตำ� แหน่ง ศาสตราจารย์ระดบั ๑๐ ในสาขาชวี เคมี เม่ือวนั ที่ ๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ศาสตราจารย์ ดร.อลิสา วังใน มีความเชี่ยวชาญการวิจัยในด้านเทคโนโลยีชีวภาพ สง่ิ แวดลอ้ ม โดยทำ� งานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั กลไกทางชวี เคมี ชวี วทิ ยาโมเลกลุ และพนั ธวุ ศิ วกรรม ของการเปลี่ยนรูปสารอินทรีย์ต่าง ๆ โดยเฉพาะสารกลุ่มแอโรมาติกไฮโดรคาร์บอนโดยใช ้ ตวั เร่งปฏกิ ิรยิ าชวี ภาพทัง้ เซลล์แบคทีเรียและเอนไซม์ ได้รบั รางวลั นกั วิจยั ร่นุ เยาว์ (ปี ๒๕๕๐) และรุ่นกลาง (สาขาชีวภาพ) (ปี ๒๕๕๕) ของคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปัจจุบัน เป็นหัวหน้าหน่วยปฏิบัติการตัวเร่งชีวภาพและเทคโนโลยีชีวภาพส่ิงแวดล้อม คณะวทิ ยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย และหัวหนา้ โปรแกรมวจิ ยั ของศูนย์ความเป็นเลิศ ด้านการจัดการสารและของเสียอนั ตราย จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย มผี ลงานตพี ิมพ์ในวารสาร วชิ าการตา่ ง ๆ มากกว่า ๖๐ เรือ่ ง ผลงานหนงั สอื ๒ เล่ม ชอ่ื การบำ� บัดสารมลพษิ ทางชีวภาพ (BIOREMEDIATION) และเอนไซม์ในวิถีย่อยสลายสารมลพิษ (Enzymes in Pollutant Biodegradation pathway) ผลงานยน่ื ขอสทิ ธบิ ตั รและอนสุ ทิ ธบิ ตั ร (ไทย) ๑๒ เรอื่ ง มโี ครงการ วิจัยร่วมอุตสาหกรรมท้ังในประเทศไทยและต่างประเทศมากกว่า ๑๕ โครงการ มีผลส�ำเร็จ ของงานวิจัยที่ถูกน�ำไปใช้ในอุตสาหกรรม พัฒนานวัตกรรมท่ีมีการต่อยอดเชิงพาณิชย์ และมี การถ่ายทอดความรูส้ ชู่ มุ ชนในภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรตบิ คุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 69

ผศาทู้ สี่ไตดร้ราับจกาารรยโป์ รระดดเับกล๑า้ ฯ๐ให้ดำ� รงต�ำแหนง่ ศาสตราจารย์ ดร.อรทัย ชวาลภาฤทธิ์ ภาควิชาวศิ วกรรมสิ่งแวดลอ้ ม คณะวิศวกรรมศาสตร์ โทรศพั ท์ ๐-๒๒๑๘-๖๖๗๐ E-mail: [email protected] 70 ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รตบิ ุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

เกดิ วันที่ ๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๓ ศึกษาในคณะวทิ ยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ในปี พ.ศ. ๒๕๒๑ ไดป้ รญิ ญาวิทยาศาสตร์บณั ฑติ สาขาสัตววทิ ยา ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ และจบปริญญาวิทยาศาสตรม์ หา บณั ฑติ จากมหาวทิ ยาลัยมหิดล ในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ท�ำงานเปน็ อาจารย์คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย รังสิต ในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ และได้รับการบรรจุปฏิบัติราชการเป็นอาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร ์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. ๒๕๓๓ ต่อมาได้รบั ทนุ ศกึ ษษต่อปริญญาเอกสาขา Environmental Science มหาวทิ ยาลัย Wageningen ประเทศเนเธอร์แลนด์ จบปรญิ ญาเอกในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ไดร้ บั การแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ในสาขาวิศวกรรมส่ิงแวดล้อมเมื่อวันท่ี ๑ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ จากน้ันได้รับต�ำแหน่งรองศาสตราจารย์วันท่ี ๒๐ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ และได้รับ การโปรดเกลา้ ฯ ให้ดำ� รงต�ำแหน่งศาสตราจารยร์ ะดับ ๑๐/A-2 เมอ่ื วันท่ี ๑๗ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ศาสตราจารย์ ดร.อรทัย ชวาลภาฤทธิ์ได้รับการยอมรับทางด้านวิชาการและการวิจัยท้ังทางด้าน การจัดการส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืนส�ำหรับโรงงานอุตสาหกรรมและการจัดการน้�ำเสีย หนังสือและต�ำรา ที่ได้รับการตีพิมพ์ดังเช่น คู่มือวิเคราะห์คุณภาพน�้ำเสีย MRV ระบบการลดกาซเรือนกระจกในภาค อุตสาหกรรม ข้อเสนอต่อการบริหารจัดการทรัพยากรทางคุณภาพสิ่งแวดล้อมด้านคุณภาพน�้ำ และ การจัดการของเสียอุตสาหกรรมอย่างย่ังยืน และได้ท�ำผลงานวิจัยเกี่ยวกับการจัดการของเสียโรงงาน อุตสาหกรรม กลยุทธ์การจัดการส่ิงแวดล้อมโรงงานอุตสาหกรรมตามมาตรฐานสากลให้มีกระบวนการ ผลิตที่ย่ังยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การพัฒนาการของเครื่องมือการจัดการของเสียเพ่ือมุ่งสู่ เป้าหมายอุตสาหกรรมย่ังยืน ได้แก่ เทคโนโลยีสะอาด ประสิทธิภาพเชิงเศรษฐนิเวศ หลักการ 3Rs การคดิ อยา่ งเปน็ ระบบ (life cycle thinking) การประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั การเศรษฐกจิ หมนุ เวยี น รวมทงั้ โครงการ ลดก๊าซเรือนกระจกจากจากอาคารและโรงงานอุตสาหกรรม โดยน�ำประสบการณ์ผลงานวิจัยที่ท�ำจริง ในโรงงานอุตสาหกรรมและองค์กรต่าง ๆ มาเขียนบทความวิชาการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับ นานาชาตเิ ปน็ ที่ยอมรับจากนักวจิ ัยทงั้ ในประเทศและต่างประเทศจ�ำนวนมาก ศาสตราจารย์ ดร.อรทยั ชวาลภาฤทธ์ิ เปน็ หวั หนา้ หน่วยปฏิบตั กิ ารวจิ ัยการจัดการสง่ิ แวดล้อมเชิง อุตสาหกรรมอย่างย่ังยืน คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธานคลัสเตอร์วิจัย การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและการจัดการภัยพิบัติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการสภา มหาวทิ ยาลยั ผทู้ รงคณุ วฒุ ขิ องสถาบนั วทิ ยสิรเิ มธี และเปน็ คณะท�ำงานในการจดั ท�ำกฎระเบยี บมาตรฐาน ของหนว่ ยงานภาครฐั ตา่ ง ๆ ชว่ งระยะเวลาการรบั ราชกา รศาสตราจารย ์ ดร.อรทยั ชวาลภาฤทธไิ์ ดท้ ำ� งาน สอนและวิจยั จนมีผลงานวจิ ัยจำ� นวนมาก โดยมีความร่วมมือในการวิจัยและผลิตบัณฑิตระดับปริญญาโทและปริญญษเอกท้ังจากภาครัฐ และเอกชน ดงั เช่น Wageningen University สถาบนั วิจัยวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหง่ ประเทศไทย โครงการปรญิ ญาเอกกาญจนาภเิ ษก (คปก.) และไดร้ บั ทนุ การสนบั สนนุ การวจิ ยั ดา้ นการจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม โรงงานอุตสาหกรรมทง้ั จากภาครัฐและเอกชนอย่างตอ่ เนื่อง ยกย่องเชดิ ชเู กียรติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 71

ศผาทู้ ส่ีไตดร้ราับจกาารรยโป์ รระดดเับกล๑้าฯ๐ใหด้ ำ� รงต�ำแหนง่ ศาสตราจารย์ ดร.กอบบุญ หลอ่ ทองค�ำ ภาควชิ าวิศวกรรมโลหการ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ โทรศัพท์ ๐-๒๒๑๘-๖๙๓๘ E-mail: [email protected] 72 ยกยอ่ งเชิดชูเกียรติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ศาสตราจารย์ ดร.กอบบญุ หลอ่ ทองคำ� เกิดวันท่ี ๑ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๐๓ ทจ่ี งั หวัดสพุ รรณบรุ ี ส�ำเร็จมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย จังหวัดสุพรรณบุรี ศึกษาระดับ ปริญญาตรีสาขาเคมี ที่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี ปริญญาโทสาขาวิศวกรรมเคม ี ทางตัวเร่งปฏิกริ ยิ า ท่ีจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั และปริญญาเอกสาขาวิศวกรรมวัสดุการกดั กร่อน ของเหล็กกล้าไร้สนิมดูเพล็กซ์ ท่ีมหาวิทยาลัยกองทัพเยอรมัน เมืองฮัมบูร์ก ประเทศสหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมัน ด้วยทุนจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังจากส�ำเร็จการศึกษารับราชการเป็น อาจารย์ที่ ภาควชิ าวิศวกรรมโลหการ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่าง รับราชการได้ร่วมงานกับส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ให้การสนับสนุนทุนแก่ นักศึกษา ปรญิ ญาตรีท�ำวจิ ัยรว่ มกับภาคอตุ สาหกรรม ร่วมกบั Hanoi University Technology ประเทศ เวยี ดนาม Slovak University of Technology in Bratislava ประเทศสโลวาเกยี Trier University of Applied Science และ GSI Gesellschaft für Schweißtechnik International mbH Niederlassung SLV München ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน รับทุนการอบรม International Welding Engineer ตามหลกั สตู รของ International Institute of Welding ร่วมกับคณาจารย์และนักวิจัยจากภาควิชาวิศวกรรมโลหการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ Hanoi University Technology โดยการสนบั สนนุ ของ European Union ในแผนงาน Asia Link Program ไดร้ บั รางวลั นกั โลหวทิ ยาดเี ดน่ ปี ๒๕๕๕ รกั ษาการและดำ� รงตำ� แหนง่ นายกสมาคม การกัดกรอ่ นโลหะและวสั ดไุ ทย ตัง้ แต่ปี ๒๕๕๘ เปน็ ประธานรว่ มกับผ้อู ำ� นวยการศูนยเ์ ทคโนโลยี โลหะและวัสดุแห่งชาติ จัดการประชุมวิชาการ Thailand Corrosion and Prevention Conference (TCPC) ๒๐๑๕, ๒๐๑๗, ๒๐๑๙ และการประชมุ วิชาการ Asia Pacific Corrosion Control Conference (APCCC) ๒๐๑๘ โดยเน้นการประชมุ วิชาการร่วมกบั ภาคอุตสาหกรรม หลังส�ำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยกองทัพเยอรมัน เมืองฮัมบูร์ก ศาสตราจารย์ ดร.กอบบุญ หล่อทองค�ำ ได้รับทุนให้กลับไปท�ำงานวิจัยที่มหาวิทยาลัยกองทัพเยอรมันอีกครั้ง ท�ำงานวิจัยร่วมกับ Federal Institute for Materials Research and Testing (BAM) ท่ ี กรุงเบอร์ลินอย่างสม่�ำเสมอ เคยได้รับทุนจาก Japan Key Technology Center ท�ำงานวิจัย รว่ มกบั Kawasaki Steel Corporation เมือง Chiba และทนุ Hitachi Fellowship ทำ� งานวจิ ัย ร่วมกบั ห้องปฏบิ ัตกิ ารวจิ ยั ศาสตราจารย์ ดร.Tadashi Maki มหาวทิ ยาลัยเกยี วโต ประเทศญีป่ ่นุ ความสนใจทางวชิ าการและงานวจิ ยั คอื การกดั กรอ่ นของโลหะ การเชอ่ื มโลหะ การพฒั นาเหลก็ กลา้ ไรส้ นมิ ต�ำราทไี่ ด้รบั การตพี ิมพ์ คือ เหล็กกลา้ ไรส้ นมิ ยกย่องเชิดชเู กยี รตบิ ุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 73

ผศาู้ทสี่ไตดรร้ าบั จกาารรยโป์ รระดดเับกลA้า-ฯ2ใหด้ ำ� รงต�ำแหนง่ ศาสตราจารย์ ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล ภาควิชาวศิ วกรรมสง่ิ แวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ โทรศพั ท์ ๐-๒๒๑๘-๖๖๖๗ E-mail: [email protected] 74 ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

เกิดวนั ท่ี ๖ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๒๐ สำ� เรจ็ การศกึ ษามัธยมศกึ ษาตอนปลายจากสวนกุหลาบวิทยาลยั กรงุ เทพมหานคร ก่อนเข้าศึกษาต่อในคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ได้ปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวศิ วกรรมสง่ิ แวดลอ้ ม ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ใบประกาศวศิ วกรรมชน้ั สงู (Diplôme d’ingénieur) สาขาวชิ าวศิ วกรรมสง่ิ แวดลอ้ ม และใบประกาศการศกึ ษาดา้ นงานวจิ ยั (Diplôme d’Etude Approfondie DEA) สถาบนั INSA Toulouse และ Laboratoire d’Ingénierie des Procédés de l’Environnement ภาควชิ า Génie des Procédés Industriels (Industrial Processes Engineering) สถาบัน INSA-Toulouse ประเทศฝร่งั เศส ปี ๒๕๔๘ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ไดร้ บั การบรรจเุ ปน็ อาจารยป์ ระจ�ำ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการแต่งต้ังเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม เมื่อวันท่ี ๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓ จากน้ันได้รับต�ำแหน่งรองศาสตราจารย์วันท่ี ๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ และได้รับการโปรดเกล้าฯให้ด�ำรงต�ำแหน่งศาสตราจารย์ เมื่อวันท่ี ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ปจั จบุ ันด�ำรงต�ำแหนง่ รองคณบดี ดา้ นยุทธศาสตรน์ วตั กรรม คณะวศิ วกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.พิสุทธ์ิ เพียรมนกุล ได้รับการยอมรับทางด้านวิชาการและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องทางด้านส่ิงแวดล้อม โดยมีความเชี่ยวชาญในเร่ือง ระบบหน่วยกระบวนการในงานวิศวกรรมส่ิงแวดล้อม ระบบบ�ำบัดทางกายภาพและเคมีส�ำหรับ การบ�ำบัดน้�ำเสียปนเปื้อนน้�ำมัน ระบบบ�ำบัดน้�ำเสีย ระบบการเติมอากาศและไล่อากาศ ระบบบ�ำบัดอากาศและสารอินทรีย์ ระเหยงา่ ย การออกแบบระบบทอ่ ภายในอาคาร โดยมีหนงั สอื และตำ� ราทไ่ี ด้รับการตพี ิมพ์ เช่น หนงั สอื “Oil Spill ความจริง..... ทย่ี ังไม่จบ” หนงั สือ “สงิ่ แวดลอ้ มเมอื ง” เร่ืองปญั หามลพิษสิง่ แวดล้อมในเมืองด้านตา่ ง ๆ หนังสือ “พ้ืนฐานกระบวนการถา่ ยเท มวลและการแยกทางกายภาพในงานวิศวกรรมส่ิงแวดล้อม ได้รับเชิญเป็นคณะกรรมการจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้าง การเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม วาระ ๕ ปี (๒๕๖๐ - ๒๕๖๕) นอกจากน้ียังเป็นวิศวกรสิ่งแวดล้อมและ ผู้เช่ียวชาญในโครงการบริการวิชาการให้ภาครัฐและเอกชน นักวิชาการร่วมเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อม ในภาวะนำ�้ ท่วมใหญ่ และภาวะน้�ำมนั รว่ั ไหลลงส่ทู ะเล, อาจารย์พเิ ศษ (ผทู้ รงคุณวฒุ ปิ ระจำ� กลมุ่ งานวิชาการ) หลกั สตู รพัฒนา สัมพันธ์ผู้บริหารระดับสูง, สถาบันจิตวิทยาความมั่นคง, สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ และกองบัญชาการกองทัพไทย, ผู้ด�ำเนินรายการวิทยุด้านวิศวกรรมและสิ่งแวดล้อม และคอลัมนิสต์ประจ�ำวารสาร, คณะกรรมการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย และวิทยากรผูเ้ ชีย่ วชาญบรรยายพเิ ศษตามหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ผลงานบรกิ ารวิชาการ อาทิเช่น โครงการสร้างความเข้มข้นในการเฝ้าระวังเพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษจากโรงงานในพ้ืนที่ที่มีความเปราะบาง ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม โครงการศึกษาแนวทางการปรับโครงสร้างค่านำ้� ประปา การประปาสว่ นภมู ภิ าค ชุดกิจกรรม เรื่องโอโซนเร่ืองของเรา (Ozone our zone) ท่ีประกอบไปด้วย ๖ กิจกรรมย่อย ร่วมกับธนาคารโลก กรมโรงงานอุตสาหกรรม ธนาคารออมสิน ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๑ โครงการพัฒนาศักยภาพนักบริหารระดับสูงด้านการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ร่วมกับกรมส่งเสริมคุณภาพ สง่ิ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม ชดุ กจิ กรรม Envi Mission วฒั นธรรมรกั ษน์ ำ้� รว่ มกบั บรษิ ทั ส.นภา (ประเทศไทย) จำ� กดั และสถานวี ทิ ยแุ หง่ จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย ประกอบดว้ ยกิจกรรมค่ายวฒั นธรรมรักษน์ �้ำ และเกมกระดาน Water Journey รางวลั ทไี่ ด้รับ รางวัล “ศักดอ์ิ นิ ทาเนีย” ดา้ นนกั เขยี นตำ� รา/หนังสือ ประจำ� ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ เข้ารับรางวัลเชิดชูเกียรติด้านสิ่งแวดล้อม เนื่องในวันส่ิงแวดล้อมโลก ประจ�ำปี ๒๕๖๒ จัดโดยกรมส่งเสริมสุขภาพ สิ่งแวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 75

ผศาทู้ สี่ไตดรร้ าับจกาารรยโป์ รระดดเบักลAา้ -ฯ2ให้ดำ� รงต�ำแหนง่ ศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ สงิ หถนดั กิจ ภาควชิ าวศิ วกรรมเคร่อื งกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ โทรศพั ท์ ๐-๒๒๑๘-๖๕๙๕ E-mail: [email protected] 76 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

เกิดวันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ ส�ำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนวัดลานบุญ จังหวัดกรุงเทพฯ และระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ก่อนเข้าศึกษาต่อในคณะ วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. ๒๕๓๒ และได้ปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวศิ วกรรมเครอ่ื งกล ในปี พ.ศ. ๒๕๓๖ เขา้ รบั ราชการในตำ� แหนง่ อาจารยส์ งั กดั ภาควชิ าวศิ วกรรมเครอ่ื งกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย เมื่อวนั ที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ตอ่ มาไดร้ ับทนุ รัฐบาล กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีไปศกึ ษาตอ่ ที่ University of Washington เมือง Seattle ประเทศ สหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ จนกระทั้งจบการศึกษาระดับปริญญาเอกในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ และกลับมา ปฏิบัติหน้าที่ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปีเดียวกัน ได้รับการแต่งตั้งเป็น ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยใ์ นสาขาวชิ าวศิ วกรรมเครอื่ งกล เมอื่ วนั ท่ี ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๖ จากนนั้ ไดร้ บั ตำ� แหนง่ รองศาสตราจารย์วนั ท่ี ๑๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ และได้รับการโปรดเกลา้ ฯให้ดำ� รงตำ� แหน่งศาสตราจารย์ ในสาขาวชิ าวิศวกรรมเครอ่ื งกลเมอ่ื วนั ท่ี ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ สิงหถนัดกิจ มีงานวิจัยที่เป็นท่ียอมรับในวงวิชาการวิศวกรรมเครื่องกล งานวิจัยส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับกลศาสตร์ของวัสดุคอมโพสิตและพฤติกรรมทางกลของโครงสร้างคอมโพสิต โดยใชร้ ะเบยี บวิธี semi-analytical numerical method รวมท้งั การศกึ ษาโดยการทดลอง มผี ลงานการ เขียนหนังสือจ�ำนวน ๓ เล่มคือกลศาสตร์ของวัสดุ กลศาสตร์ของวัสดุคอมโพสิต และการเขียนทางเทคนิค (Technical Writing) ในสาขาวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ โดยหนังสือกลศาสตร์ของวัสดุใช้เป็น หนงั สอื หลกั ในรายวชิ ากลศาสตรข์ องวสั ดขุ องหลาย ๆ สถาบนั การศกึ ษา ศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ สงิ หถนดั กจิ เปน็ Editorial Board ของวารสาร Composite Materials and Engineering และดำ� รงตำ� แหนง่ หวั หนา้ ภาควชิ าวศิ วกรรมเครือ่ งกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ตัง้ แตว่ นั ท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้รับการยอมรับทางด้านวิชาการและการวิจัยทั้งทางด้านการศึกษาควบคู่กับด้านเด็กและเยาวชน หนังสือและต�ำราที่ได้รับการตีพิมพ์ดังเช่น การสอนจริยศึกษาในระดับประถมศึกษา หลักสูตรและการสอน ระดับประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร เมืองสีเทาของเด็กและเยาวชน หนังสือชุด สิทธิเด็ก พัฒนาการเด็ก ค่มู อื ทอ้ งถน่ิ ฯลฯ รายงานการวิจัยเพ่ือแก้ไขปัญหาเด็กและเยาวชนหลายโครงการ คอื แผนยุทธศาสตรก์ าร แกไ้ ขปญั หาเดก็ เรร่ อ่ น การวิจยั ศกั ยภาพทอ้ งถ่ินในการพัฒนาและคุ้มครองเดก็ และเยาวชน โครงการศึกษา พลงั สขุ ภาวะของครอบครวั ผมู้ รี ายไดน้ อ้ ย รายงายสภาวการณเ์ ดก็ และเยาวชน กรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล นบั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ - ๒๕๕๒ การพฒั นารูปแบบสภาเด็กและเยาวชนในประเทศไทย และอ่นื ๆ โครงการ วิจัยดังกล่าวเป็นความต้องการของรัฐบาลที่น�ำไปใช้ก�ำหนดนโยบายเพ่ือแก้ไขเด็กด้อยโอกาสกลุ่มต่าง ๆ องค์การ UNICEF การสร้างความเข้มแข็งชุมชน และส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อก�ำหนดดัชนีบ่งช้ีสภาวการณ์ของเด็กและเยาวชนในแต่ละปี กล่าวได้ว่าผลงานท้ังด้านหนังสือ ต�ำรา และงานวิจัยได้ถูกน�ำไปใช้อ้างอิง การก�ำหนดนโยบายและกระจายข่าวผ่านสื่อมวลชนหลายแขนง อยา่ งกว้างขวางและเปน็ ทย่ี อมรบั ทางวิชาการ ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 77

ศผา้ทู ส่ีไตดรร้ าบั จกาารรยโป์ รระดดเบักลA้า-ฯ2ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง ศาสตราจารย์ ดร.สพุ จน์ เตชวรสนิ สกลุ ภาควชิ าวศิ วกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ โทรศัพท์ ๐-๒๒๑๘-๖๕๗๖ E-mail: [email protected] 78 ยกย่องเชดิ ชูเกียรติบคุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ศาสตราจารย์ ดร.สุพจน์ เตชวรสินสกุล ปัจจุบันรับต�ำแหน่งคณบดี คณะวศิ วกรรมศาสตร์ จบการศึกษา B.Eng. Chulalongkorn University, Thailand ในปี พ.ศ. ๒๕๓๐ การศึกษา M.Eng. University of Tokyo, Japan ในปี พ.ศ. ๒๕๓๒ และ D.Eng. (Civil Eng.), Univ. of Tokyo ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ ไดร้ บั การโปรดเกลา้ โปรคกระหมอ่ ม แต่ต้ังให้ด�ำรงต�ำแหน่งศาสตราจารย์ในสาขาวิศวกรรมโยธา ตั้งแต่วันท่ี 1 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ยกย่องเชดิ ชูเกยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 79

ศผาู้ทส่ีไตดรร้ าับจกาารรยโป์ รระดดเบักลA้า-ฯ2ใหด้ ำ� รงต�ำแหนง่ ศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ ไกรพรศักดิ์ ภาควชิ า - คณะเศรษฐศาสตร์ โทรศพั ท์ ๐-๒๒๑๘-๖๒๓๘ E-mail: [email protected] 80 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตบิ ุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ ไกรพรศักดิ์ จบการศึกษา ปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ (เศรษฐนิติและเศรษฐศาสตร์การเงิน) ในปี พ.ศ. ๒๕๒๓ ปริญญาโทที่ Australian National University (Economics of Development) ในปี พ.ศ. ๒๕๓๔ และปริญญาเอกที่ Australian National University (Economics) ในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ได้รับการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งต้ังให้ด�ำรงต�ำแหน่งศาสตราจารย์ในสาขาวิชา เศรษฐศาสตร์ ตัง้ แต่วันท่ี ๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ ไกรพรศักด์ิ เป็นที่ปรึกษากรรมการบริหารหลักสูตร เศรษฐศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต เป็นประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรศิลปศาสตร มหาบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) สาขาเศรษฐศาสตร์สาขาระหว่างประเทศและการเงิน ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต ประธานคณะกรรมการ ศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ บรรณาธิการ วารสาทเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและ สงั คมแหง่ ชาติ ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตบิ ุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 81

ศผาู้ทส่ีไตดรร้ าับจกาารรยโป์ รระดดเบักลA้า-ฯ2ใหด้ ำ� รงต�ำแหนง่ ศาสตราจารย์ ดร.จามรี อาระยานมิ ิตสกุล คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ โทรศพั ท์ ๐๘-๑๘๕๔-๗๙๐๒ E-mail: [email protected] 82 ยกย่องเชดิ ชเู กียรติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ศาสตราจารย์จามรี อาระยานิมิตสกุล จบปริญญาตรี สถ.บ. (จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั ) ในปี พ.ศ. ๒๕๒๑ จบปริญญาโทท่ี M.L.A. (University of Michigan) ในปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ได้รับการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งต้ังให้ด�ำรงต�ำแหน่งศาสตราจารย์ใน สาขาภมู ิสถาปัตยกรรม ตั้งแต่วนั ท่ี ๒๘ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ศาสตราจารยจ์ ามรี อาระยานมิ ติ สกลุ เปน็ หวั หนา้ โครงการศกึ ษาแนวทางการออกแบบ ปรับปรงุ ภมู ิทศั น์ทางหลวง โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬา เสนอ กรมทางหลวง ในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ และในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ หัวหน้าโครงการ การศึกษาเส้นทางชมทิวทัศน์ โดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬา เสนอกรมทางหลวงชนบท ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจ�ำ ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคย ด�ำรงต�ำแหน่งรองคณบดี ฝ่ายบริการวิชาการของคณะกรรมการสภาสถาปนิก ชุดที่ ๔ ในสาขาภูมิสถาปัตยกรรม จามรี มีผลงานวิจัยและงานแต่งหนังสือเก่ียวข้องกับภาควิชา ภูมสิ ถาปัตยกรรมหลายเล่ม ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 83

ศผาู้ทส่ีไตดรร้ าับจกาารรยโป์ รระดดเับกลA้า-ฯ2ใหด้ ำ� รงต�ำแหน่ง ศาสตราจารย์ นาวาโทไตรวฒั น์ วริ ยศริ ิ ภาควชิ าสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ โทรศัพท์ ๐-๒๒๑๘-๔๓๓๓ E-mail: [email protected] 84 ยกย่องเชดิ ชเู กยี รติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

เกิดวันที่ ๒๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๐ ส�ำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียน เทพศริ นิ ทร์ กอ่ นเขา้ ศกึ ษาตอ่ ในคณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั และ ไดป้ รญิ ญา สถาปตั ยกรรมศาสตรบณั ฑติ ปี พ.ศ. ๒๕๒๓ และเรมิ่ เขา้ รบั ราชการในตำ� แหนง่ นายชา่ งแผนกออกแบบ อาคาร สงั กัดกองออกแบบ กรมช่างโยธาทหารเรอื (ชย.ทร.) กระทรวงกลาโหม เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ต่อมาได้มาศึกษาต่อจนจบปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ ไดร้ บั การบรรจเุ ปน็ อาจารยภ์ าควชิ าสถาปตั ยกรรมศาสตร์ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ และไดร้ ับการแตง่ ตง้ั เป็นผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ เม่ือวันที่ ๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๒ จากน้ันได้รับต�ำแหน่งรองศาสตราจารย์วันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ได้รับใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมสาขาสถาปัตยกรรมหลัก ระดับวุฒิสถาปนิก เคยด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการควบคุมวิชาชีพสถาปัตยกรรม (กส.) กระทรวงมหาดไทย กรรมการสภาสถาปนิก เป็น กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิให้กับหน่วยงานต่าง ๆ อาทิเช่น โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ส�ำนักบริหารทรัพย์สินในกระทรวงการต่างประเทศ และได้รับการโปรดเกล้าฯให้ด�ำรงต�ำแหน่ง ศาสตราจารย์ระดับ A-2 เม่ือวันท่ี ๓๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด ท่ีได้รับชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ เม่ือวันท่ี ๕ ธันวาคม ๒๕๕๖ ชั้นรองประถมาภรณ์ช้างเผือก เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๑ อีกทั้งยังได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณอาจารย์แบบอย่าง สภาคณาจารย์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ปี ๒๕๕๙ และรางวลั บคุ ลากรดเี ดน่ ปี ๒๕๕๐ ดว้ ย ศาสตราจารย์ นาวาโท ไตรวัฒน์ วิรยศิริ ได้เขียนหนังสือและต�ำราท่ีได้รับการตีพิมพ์ ดังเช่น “การออกแบบและเขียนแบบก่อสร้างอาคารเบื้องต้น ร่วมกับผู้ช่วยศาสตราจารย์สุริยน ศริ ธิ รรมปติ ”ิ “การออกแบบสเตเดยี ม สำ� นกั พมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ๒๕๕๘” “การจดั การ สถาปัตยกรรม (ARCHITECTURAL MANANGEMENT”) “อาคารเฉลิมราชสุดากีฬาสถาน (CU SPORTS COMPLEX”) ศาสตราจารย์ นาวาโท ไตรวัฒน์ วิรยศิริ เคยเป็นกรรมการควบคุมวิชาชีพสถาปัตยกรรม และกรรมการสภาสถาปนกิ และเป็นกรรมการดา้ นการออกแบบ การควบคุมงานและการกอ่ สร้างให้ กบั หน่วยงานอื่น ๆ อาทิเชน่ โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์, วทิ ยาลัยพยาบาล สภากาชาดไทย, กระทรวง การต่างประเทศ, ส�ำนักงานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ (ปปข.) ส�ำนกั งบประมาณ, ส�ำนักนายกรัฐมนตรี ฯลฯและเป็นผู้ริเริ่มการจัดท�ำโครงการปริญญาตรีต่อเนื่อง ปรญิ ญาโท สาขาสถาปตั ยกรรม (๕+๑) ส�ำหรบั นสิ ติ สถาปัตยกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั เข้าโปรแกรมเรียนต่อปริญญาโทได้ต้ังแต่ ปี ๔ - ปี ๕ ของหลักสูตรปริญญาตรี ท�ำให้นิสิตจุฬาฯ สนใจศึกษาต่อตามหลักสูตรน้ีจนจบปริญญาโท สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปน็ จำ� นวนมาก ตงั้ แตป่ ี ๒๕๕๔ จนถงึ ปจั จบุ นั สามารถผลติ งานวจิ ยั วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาโททมี่ คี ณุ ภาพ ไดเ้ ปน็ จำ� นวนมาก น�ำไปใช้ประโยชนท์ างวชิ าการและวิชาชพี ตอ่ ไป ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 85

ศาสตราจารย์ ดร. เภสัชกรหญิงจงจิตร อังคทะวานิช จบการศึกษาปริญญาตรีด้าน เภสัชศาสตร์ จากคณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล ปริญญาโทดา้ นโภชนศาสตร์ จาก สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล และปริญญาเอกด้านชีวเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ได้รับการประเมินแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งศาสตราจารย์ ในสาขาวิชาอาหาร และโภชนาการ ต้ังแตว่ ันที่ ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ศาสตราจารย์ ดร. เภสชั หญงิ จงจติ ร องั คทะวานชิ ไดร้ ับวุฒบิ ัตรความเช่ียวชาญด้าน โภชนศาสตรค์ ลินิกของสหรัฐอเมริกา (American Board Certified Nutrition Support Clinician, CNSC) การรับรองวชิ าชีพนักก�ำหนดอาหารแห่งประเทศไทย (CDT) Diploma in Clinical Nutrition (ESPEN) ศาสตราจารย์ สาขาอาหารและโภชนาการ เปน็ อาจารย์ ด้านโภชนาการมาเป็นเวลา ๓๘ ปี สอนท่ีคณะสหเวชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล เปน็ เวลา ๒๔ ปี ภาควิชาโภชนาการและการก�ำหนดอาหาร คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เป็นเวลา ๑๔ ปี จนกระท่ังเกษียณอายุราชการ เมื่อตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้รับการรับรองวิชาชีพนักก�ำหนดอาหารแห่งประเทศไทย อดีตตัวแทนประเทศไทย ด้านขอ้ มลู ความปลอดภยั อาหารระหว่างประเทศ INFOSAN Thailand Focal Point และ ได้รับการยกย่องเป็นศิษย์เก่าดีเด่นบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ประจ�ำปี ๒๕๖๐ ประเภทบูรณาการท่ัวไป โดยสมาคมศิษย์เก่าบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับ มอบโลแ่ ละคำ� ประกาศเกยี รตคิ ณุ ในงานประชุมใหญส่ ามัญประจ�ำปี ๒๕๖๐ เมอื่ วันเสาร์ที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๑ เวลา ๑๕.๓๐ น. ณ โรงแรมรอยลั รเิ วอร์ กรงุ เทพมหานคร 86 ยกยอ่ งเชิดชูเกียรตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ผู้ที่ไดร้ บั การโปรดเกล้าฯ ศใหาด้ ส�ำตรรงาตจ�ำาแรหยน์ ร่งะดบั ๑๐ ศาสตราจารย์ ดร. เภสัชหญิงจงจิตร อังคทะวานชิ ภาควิชาโภชนาการและการก�ำหนดอาหาร คณะสหเวชศาสตร์ โทรศัพท์ ๐-๒๒๑๘-๑๐๙๙ ตอ่ ๑๐๓ E-mail: [email protected] ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 87

ศผาู้ทสี่ไตดร้ราบั จกาารรยโป์ รระดดเบักลA้า-ฯ2ใหด้ ำ� รงต�ำแหน่ง ศาสตราจารย์ ดร.กิง่ กาญจน์ เทพกาญจนา ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอกั ษรศาสตร์ โทรศัพท์ ๐-๒๒๑๘-๔๖๙๐ E-mail: [email protected] 88 ยกย่องเชดิ ชูเกยี รติบคุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

เกดิ วนั ท่ี ๒๙ มถิ นุ ายน พ.ศ ๒๕๐๒ สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายจากโรงเรยี น เตรยี มอดุ มศกึ ษา กอ่ นเขา้ ศกึ ษาตอ่ ในคณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ในปี พ.ศ. ๒๕๒๐ ไดร้ บั ปรญิ ญาอกั ษรศาสตรบณั ฑติ เกยี รตนิ ยิ มอนั ดบั หนงึ่ เอกวชิ าภาษาองั กฤษ โทวชิ าภาษาฝรงั่ เศส ปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทสาขาวิชาภาษาศาสตร์ (Linguistics) จาก University of Michigan ประเทศสหรฐั อเมรกิ าในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ หลงั จากน้ันได้ศกึ ษาตอ่ ระดบั ปริญญาเอกสาขาวิชาภาษาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยเดียวกันและส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญา เอกในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ และในปีเดียวกนั ไดร้ บั การบรรจุเปน็ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เม่อื วันท่ี ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๙ ไดร้ บั การแต่ง ตัง้ เปน็ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ในสาขาวิชาภาษาศาสตร์ เมอ่ื วันที่ ๓๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๕ จาก นน้ั ไดร้ บั การแตง่ ตงั้ ตำ� แหนง่ รองศาสตราจารย์ วนั ที่ ๒๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๕ และไดร้ บั การโปรด เกลา้ ฯ ให้ดำ� รงตำ� แหนง่ ศาสตราจารยร์ ะดับ A-2 เมอื่ วนั ที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ศาสตราจารย์ ดร.ก่ิงกาญจน์ เทพกาญจนาได้รับการยอมรับด้านการวิชาการและการวิจัย ในสาขาวิชาวากยสัมพันธ์และอรรถศาสตร์ เป็นผู้บุกเบิกการสอนและการวิจัยด้านภาษาศาสตร์ ปริชาน (cognitive linguistics) ในประเทศไทย ศาสตราจารย์ ดร.กิ่งกาญจน์ เทพกาญจนาไดท้ ำ� วจิ ยั ในสาขาวชิ าภาษาศาสตรป์ รชิ านและภาษาศาสตรเ์ ปรยี บเทยี บระหวา่ งภาษาไทยและภาษาจนี ได้ตีพิมพ์บทความทางวิชาการเป็นจ�ำนวนมากในวารสารระดับนานาชาติและในหนังสือรวม บทความทต่ี พี มิ พใ์ นสำ� นกั พมิ พต์ า่ งประเทศ และไดต้ พี มิ พห์ นงั สอื เรอื่ ง “กระบวนการกลายเปน็ รปู ไวยากรณ”์ ซึง่ เป็นหนงั สือในหัวขอ้ นี้เล่มแรกทเี่ ขยี นเป็นภาษาไทย นอกจากนัน้ ยังเป็นหวั หน้าชดุ โครงการวจิ ัยขนาดใหญ่ ๒ ชุดโครงการ ไดแ้ ก่ โครงการศนู ย์ความเปน็ เลิศทางวิชาการดา้ นภาษา ภาษาศาสตร์ และวรรณคดี ซ่งึ เป็นโครงการในแผนพฒั นาวชิ าการจุฬาฯ ๑๐๐ ปี และคลัสเตอร์ โครงการวิจัยความม่ันคงของมนุษย์ในโครงการมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ นอกจากน้ัน ยังได้รับ เชิญให้ไปสอนที่ต่างประเทศและเป็นองค์ปาฐกรับเชิญในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หลายครัง้ ในด้านบริหาร ศาสตราจารย์ ดร.กิ่งกาญจน์ เทพกาญจนา ได้ด�ำรงต�ำแหน่งหัวหน้าหน่วย ปฏิบัติการวิจัยทางภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ระหว่างปี ๒๕๔๐ - ๒๕๔๓ ด�ำรงต�ำแหน่ง หัวหน้าภาควิชาภาษาศาสตร์ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๔๗ - ๒๕๕๑ ด�ำรงต�ำแหน่งรองคณบดีคณะ อกั ษรศาสตรร์ บั ผดิ ชอบดา้ นการสง่ เสรมิ ผลงานวชิ าการระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๕ และดำ� รง ตำ� แหนง่ คณบดีคณะอักษรศาสตร์ระหว่างปี ๒๕๕๘ - ๒๕๖๒ ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 89

เกิดเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ ส�ำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายจาก โรงเรียนสาธติ มหาวทิ ยาลยั รามคำ� แหง กอ่ นเข้า ศกึ ษาตอ่ ในคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั ในปี พ.ศ. ๒๕๓๒ สำ� เรจ็ การศกึ ษาวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ เคมเี ทคนคิ (เกยี รตนิ ยิ ม) ในปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ก่อนได้เข้าศึกษาต่อท่ี วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย สาขาเทคโนโลยีปิโตรเคมี (หลักสตู รนานาชาต)ิ ในปีเดยี วกัน และไดร้ บั การ บรรจุเป็นอาจารย์ประจ�ำวิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี ต้ังแต่วันที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๘ จากน้ันได้ลาศึกษาต่อระดับปริญญาเอก ในสาขา Chemical Engineering ที่ University of Oklahoma ประเทศสหรัฐอเมริกา ด้วยทุนสว่ นตัว ในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ และ กลับเข้ารับราชการต่อหลังจากจบการศึกษา ในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ ได้รับการแต่งต้ังเป็น ผู้ช่วยศาสตราจารยใ์ นสาขาวศิ วกรรมเคมี เม่ือวนั ท่ี ๒๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๖ ได้ลาเพอื่ ท�ำงานวจิ ยั โดยทนุ Postdoctoral Fellowships จาก Japan Society for Promotion of Science เพ่อื ท�ำวจิ ัยท่ี Nara Institute of Science and Technology ประเทศญ่ีปุ่น ช่วงปี พ.ศ. ๒๕๔๘ - ๒๕๔๙ จากนั้นได้รับต�ำแหน่งรองศาสตราจารย์วันท่ี ๒๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ และได้รับการโปรดเกล้าฯให้ด�ำรงต�ำแหน่งศาสตราจารย์ระดับ A-2 ต้ังแต่ วนั ที่ ๒๔ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ศาสตราจารย์ ดร.บนุ ยรชั ต์ กิติยานันท์ เคยดำ� รงต�ำแหน่งผ้ชู ่วยคณบดี และรองคณบดี วทิ ยาลัยปโิ ตรเลยี มและปิโตรเคมี เคยปน็ กรรมการบริหารประเภทผู้แทนคณาจารย์ประจ�ำ และเคยด�ำรงต�ำแหน่งผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านปิโตรเลียม ปิโตรเคมี และวัสดุ อีกทั้งได้รับเชิญเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต่าง ๆ เช่น กรรมการ ของสภาวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน กรรมการวิชาการ สถาบันการอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก กรรมการวิชาการรายสาขา คณะที่ ๒๘ ส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม นอกจากนี้ยังได้แต่งต้ังเป็นกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ทั้งระดับปริญญาโท และปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เป็นผู้ประเมินโครงการวิจัย ประเมินบทความ วิชาการในวารสารวิชาการนานาชาติ เป็นอาจารย์ พิเศษ และเป็น Plenary Speaker และ Invited Speaker ในการประชมุ วิชาการนานาชาติดว้ ย 90 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ศผใาหู้ทสด้ี่ไตด�ำรรร้ งาบั จตกา�ำารแรยหโป์นรร่งะดดเับกลAา้ -ฯ2 ศาสตราจารย์ ดร.บนุ ยรชั ต์ กติ ิยานันท์ วทิ ยาลยั ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี โทรศัพท์ ๐-๒๒๑๘-๔๑%% E-mail: [email protected] ยกย่องเชิดชเู กยี รติบคุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 91

ศปารสะกตาศรเกายี ภรตชิ ิคาุณน



ศขอาสงตจรฬุ าาภลชิ งากนรณม์ หาวิทยาลัย ศาสตราจารย์กิตตคิ ณุ ดร.นงลกั ษณ์ วิรัชชัย ศาสตราภชิ าน กองทุนคณะจิตวิทยา ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๓๑ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ (วาระท่ี ๕) 94 ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติบคุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.นงลักษณ์ วิรัชชัย ส�ำเร็จการศึกษาปริญญาเอก สาขา Education จาก The University ศาสตราจารยก์ ติ ตคิ ุณ ดร.นงลักษณ์ วริ ชั ชยั ส�ำเรจ็ การศึกษาระดับปริญญาดษุ ฏีบัณฑติ สาขาวิชาการศกึ ษา จาก The University of Chicago, U.S.A. เคยดำ� รงตำ� แหนง่ รองคณบดบี ณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมติ ร และหวั หน้าภาควิชาวิจยั การศกึ ษา คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ทำ� หนา้ ทส่ี อนในรายวิชา สถิตวิ ิเคราะหข์ ั้นสูง และการสังเคราะห์งานวิจัย ท้งั ในฐานะอาจารย์ประจ�ำหลักสตู ร และอาจารยพ์ เิ ศษในและนอก มหาวทิ ยาลยั เปน็ คนรนุ่ แรกทน่ี �ำเรอิ่ ง “วธิ กี ารวเิ คราะหข์ อ้ มลู ดว้ ยโมเดลลสิ เรล หรอื โมเดลสมการโครงสรา้ ง ((LISREL or Structural Equation Model=SEM) มาใช้ประโยชน์ในการวจิ ยั เพ่อื ศึกษาความสัมพนั ธเ์ ชงิ สาเหตุ และน�ำเรือ่ ง การวเิ คราะห์อภมิ าน (meta-analysis) มาใชใ้ นการสังเคราะหง์ านวิจัยทางการศึกษา ตำ� ราช่อื “โมเดลลิสเรล : สถติ ิ วิเคราะห์ส�ำหรับการวิจัย” “การวิเคราะห์อภิมาน” และ “สถิติชวนใช้” เป็นต�ำราที่เขียนจากผลงานการศึกษา ค้นคว้าและวิจัยท่ีมีเน้ือหาสาระสมบูรณ์เป็นที่รู้จักกันดีในวงวิชาการศึกษา ช่วยให้นิสิตบัณฑิตศึกษาและนักวิจัย มีความรู้ สามารถใช้สถิติวิเคราะห์ข้ันสูงได้ถูกต้องดีข้ึน และสังเคราะห์สรุปสาระจากงานวิจัยได้ผลการสังเคราะห์ ที่เป็นประโยชนต่อการก�ำหนดนโยบายมากข้ึน นอกจากนี้มีผลงานวิจัยท่ีมีคุณค่าในนามคณะกรรมการสภาวิจัย แหง่ ชาติ (วช.) สาขาการศกึ ษา เรอ่ื ง ‘แผนน�ำทางวจิ ยั การศึกษา, ๒๕๕๓-๒๕๖๒ และมีผลงานวจิ ัยตพี ิมพ์ในวารสาร ระดบั ชาติและนานาชาติกวา่ ๖๐ เรอื่ ง เกยี รตปิ ระวัติ อาจารย์ได้รบั พระราชทานประกาศนยี บัตร และเข็มวทิ ยฐานะนภยาธิปัตย์ จากพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ โดยการเสนอของสถาบันวิชาการทหารอากาศช้ันสูง กองบัญชาการทหารสูงสุด (พ.ศ. ๒๕๔๑) ในฐานะอาจารยพ์ เิ ศษดา้ นระเบยี บวธิ วี จิ ยั ในหลกั สตู รการทพั อากาศ ของวทิ ยาลยั การทพั อากาศ (วทอ.) ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฏีมาลา เข็มศิลปวิทยา สาขาการศึกษา ประจ�ำปี ๒๕๕๘ จากสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาการศึกษา ประจ�ำปี ๒๕๕๖ จากสภาวิจัย แห่งชาติ ประกาศเกยี รตคิ ณุ และเข็มท่ีระลกึ “เสมาคณุ ูปการ” รางวลั ผู้ทำ� คุณประโยชน์ให้แกก่ ระทรวงศึกษาธิการ ประจำ� ปี ๒๕๕๓ รางวัลโล่ประกาศเกยี รตคิ ณุ อาจารย์แบบอย่างทางด้านการสอนและจรยิ ธรรม ของสภาคณาจารย์ ประจำ� ปกี ารศึกษา ๒๕๔๙ และรางวลั ยกย่องเชิดชเู กียรติอาจารยด์ เี ดน่ ระดับมหาวิทยาลยั สาขาสงั คมศาสตรแ์ ละ มนุษยศาสตร์ กองทนุ รัชดาภเิ ษกสมโภช จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจ�ำปี ๒๕๔๖ ผลงานทางวิชาการ (บางส่วน) กรรมการพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน (กพพ.) (๒๕๔๔ - ๒๕๔๗) และระดับอุดมศึกษา (กพอ.) (๒๕๔๗ - ๒๕๕๐) ในสังกัด สมศ. อนุกรรมการสาขาการศึกษา ส�ำนกั งานคณะกรรมการวจิ ัยแหง่ ชาติ (๒๕๔๗ - ๒๕๖๐) กรรมการแห่งชาตเิ พือ่ การวจิ ัยและพฒั นาระบบพฤติกรรม ไทย (คพท.) ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (๒๕๔๙-ปัจจุบัน) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลข้อเสนอ การวิจยั ของหนว่ ยงานภาครัฐสาขาการศกึ ษา ทเี่ สนอของบประมาณ ตามมติคณะรฐั มนตรี (๒๕๕๔-๒๕๖๐) ผลงานวิจัยที่พิมพ์เผยแพร่ (บางส่วน) ความเป็นครูและธรรมิกมหาราชา: การวิเคราะห์พระราชกรณียกิจ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั (๒๕๔๙); การประเมนิ อภมิ านและการวิเคราะห์อภมิ าน : รายงานผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา (๒๕๕๑), การวิจัยสถาบันเพ่ือก�ำหนดนโยบายจากแนวโน้มของโลก และสภาพ ปัจจุบัน ของการจัดการศึกษาหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (๒๕๕๓). การพัฒนาระบบ บรหิ ารจดั การงานวิจัยการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนา Roadmap : การผลิตและการใช้ประโยชน์งานวจิ ยั การศกึ ษา. และแผน น�ำทางวิจยั การศกึ ษา ๒๕๕๓ - ๒๕๖๒ (๒๕๕๔) Development of the classroom climate measurement model (2015) ยกย่องเชดิ ชเู กียรตบิ คุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 95

ขศอาสงตจรฬุ าาภลิชงากนรณม์ หาวทิ ยาลยั ศาสตราจารยพ์ ิเศษธงทอง จันทรางศุ ศาสตราภิชาน กองทนุ เพอื่ การบริหารวชิ าการและการศึกษาของคณะนิตศิ าสตร์ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ (วาระท่ี ๔) 96 ยกย่องเชิดชเู กียรติบคุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ศาสตราจารย์พิเศษธงทอง จันทรางศุ เป็นครูและนักวิชาการด้านกฎหมายท่ีมีความ สนใจและความเช่ียวชาญเป็นพิเศษในด้านประวัติศาสตร์กฎหมาย การใช้ภาษากฎหมาย การร่างกฎหมายและกระบวนการทางนติ ิบญั ญัติ ได้ท�ำหนา้ ทเ่ี ป็นผบู้ รรยายวิชาท่เี กย่ี วข้อง กบั เรอ่ื งตา่ ง ๆ ขา้ งตน้ ทงั้ ในคณะนติ ศิ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั และอกี หลายสถาบนั มานานกว่าสามสิบปี มีผลงานทางวิชาการท้ังท่ีเป็นต�ำรา หนังสือ และบทความเผยแพร่ ในวงวิชาการเสมอมา นอกจากน้ัน ศาสตราจารย์พิเศษธงทอง จันทรางศุ ยังมีทักษะและประสบการณ์ ที่ได้รับการยกย่องในฐานะผู้ที่สามารถน�ำความรู้ทางวิชาการไปประยุกต์กับภาคปฏิบัติ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี เปน็ เหตใุ หไ้ ดร้ บั ความวางใจจากราชการและหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ใหป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี ส�ำคัญ ทั้งที่เป็นต�ำแหน่งประจ�ำและหน้าที่เฉพาะกิจตลอดมา เช่น เป็นรองปลัดกระทรวง ยตุ ธิ รรม เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ปลดั ส�ำนกั นายกรฐั มนตรี และสมาชกิ สภารา่ งรฐั ธรรมนญู ตลอดจนได้รับพระบรมราชโองการแต่งต้ังให้เป็นกรรมการกฤษฎีกา ตั้งแต่พุทธศักราช ๒๕๔๐ มาจนกระทงั่ ปัจจุบนั ศาสตราจารย์พิเศษธงทอง จันทรางศุ ส�ำเร็จการศึกษาวิชากฎหมายจากสถาบัน การศึกษาทัง้ ในและนอกประเทศ ท้ังยังไดร้ บั พระราชทานประกาศนียบัตรจากสำ� นักอบรม กฎหมายแหง่ เนตบิ ณั ฑติ ไทย ไดเ้ รมิ่ ตน้ ชวี ติ ราชการเมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๒๓ ดว้ ยการเปน็ อาจารย์ กฎหมายแหง่ คณะนติ ศิ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เพอื่ นำ� ความรทู้ ไ่ี ดส้ งั่ สมมาถา่ ยทอด ใหแ้ กน่ สิ ติ และนกั ศกึ ษาในหลายสถาบนั จนเปน็ ทยี่ อมรบั และไวว้ างใจใหด้ ำ� รงตำ� แหนง่ คณบดี คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อมาเม่ือได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าโปรด กระหมอ่ มใหด้ ำ� รงต�ำแหนง่ รองปลัดกระทรวงยตุ ธิ รรม และต�ำแหน่งทางการอ่นื ๆ อกี เปน็ ล�ำดับ ก็มิได้ละทิ้งงานสอนหนังสือ ยังคงสละเวลาไปปฏิบัติหน้าที่อาจารย์สอนในคณะ นติ ศิ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั มาโดยตลอดจนทกุ วนั นี้ สภาจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั จงึ ได้เสนอชอื่ ขอพระราชทานแตง่ ตงั้ เป็นศาสตราจารยพ์ เิ ศษ เมอ่ื พุทธศักราช ๒๕๕๓ และ ดำ� รงต�ำแหน่งอปุ นายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั อย่ใู นปัจจุบัน ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 97

ศาสตราจารย์กิตติคุณ วิทิต มันตาภรณ์ เป็นศาสตราภิชาน ประจ�ำคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และนักกฎหมายผู้เชี่ยวชาญในกฎหมายระหว่างประเทศ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี และปรญิ ญาโท สาขานติ ศิ าสตร์ จากมหาวทิ ยาลยั Oxford และสำ� เรจ็ การศกึ ษา Barrister-at-law (เทยี บ เท่าเนติบัณทิตไทย) จาก Middle Temple กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ต่อมาได้รับทุนการศึกษา ไปศึกษากฎหมายยุโรปที่ Free University of Brussels ประเทศเบลเยี่ยม ท่านได้ด�ำรงต�ำแหน่ง ศาสตราจารยร์ ะดับ ๑๑ ประจ�ำคณะนติ ิศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั โดยเริ่มเป็นอาจารย์เมอื่ วันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๑ สังกดั ภาควชิ ากฎหมายระหวา่ งประเทศ ไดส้ อนในรายวชิ า กฎหมายระหวา่ ง ประเทศ ตลอดจน กฎหมายสิทธมิ นุษยชนระหว่างประเทศ กฎหมายผู้ลี้ภัย กฎหมายสทิ ธเิ ด็ก กฎหมาย สหภาพยโุ รป และสมั มนากฎหมายระหวา่ งประเทศ นอกจากงานสอนหนังสือภายในมหาวิทยาลัย ท่านยังได้ด�ำรงต�ำแหน่งในองค์การสหประชาชาติ อาทิ ผูร้ ายงานพิเศษ (United Nations Special Rapporteur) ว่าดว้ ยการขายเด็ก การค้าประเวณีเดก็ และสอื่ อนาจารทเ่ี กย่ี วกบั เดก็ แหง่ สหประชาชาติ พ.ศ. ๒๕๓๓ - ๒๕๓๗ ผรู้ ายงานพเิ ศษวา่ ดว้ ยสถานการณ์ สิทธิมนุษยชนในเกาหลีเหนือ พ.ศ. ๒๕๔๗ - ๒๕๕๓ ประธานคณะกรรมการสืบสวนหาข้อเท็จจริง (United Nations Commission of Inquiry) เกยี่ วกบั สถานการณก์ ารละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชนในไอวอรโี คสต์ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ กรรมการในคณะกรรมการสบื สวนหาข้อเท็จจรงิ เกีย่ วกับสถานการณ์การละเมิดสทิ ธิ มนุษยชนในประเทศซีเรีย พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ และยังเป็นผู้เช่ียวชาญอิสระ (United Nations Independent Expert) ว่าด้วยการคุ้มครองจากความรุนแรงและการเลือกประติบัติเนื่องด้วยเหตุ แห่งเพศวิถีและอัตลักษณ์ทางเพศ (Sexual Orientation and Gender Identity) ซึ่งปฏิบัติหน้าท่ี ตั้งแตเ่ ดอื นพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙ จนถึงปจั จบุ นั นอกจากน้ีท่านยงั ไดเ้ ปน็ กรรมการในคณะกรรมการ ผชู้ ำ� นาญดา้ นการอนุวตั ิการให้เป็นไปตามอนุสัญญาและคำ� แนะน�ำ ขององค์การแรงงานระหวา่ งประเทศ ศาสตราจารยก์ ติ ตคิ ณุ วทิ ติ มนั ตาภรณ์ ไดร้ างวลั ตา่ ง ๆ รางวลั นกั วจิ ยั ดเี ดน่ แหง่ ชาติ สาขานติ ศิ าสตร์ จากส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๗ รางวัลบุคลากรดีเด่นประเภทความสามารถ ทางวชิ าการ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๓๙ รางวัลผลงานวิจัย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จากจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั พ.ศ. ๒๕๔๕ ฯลฯ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ รางวัลดา้ นการศึกษา และสง่ เสรมิ ความรดู้ ้านสทิ ธมิ นษุ ยชนจากองคก์ ารยเู นสโก (UNESCO Human Rights Education Prize) อันมาจากการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการมากมาย ไมว่ า่ จะเปน็ ผลงานหนงั สือ บทความทางวิชาการ ตลอดการตพี มิ พบ์ ทความในหนงั สือพิมพอ์ ย่างต่อเนื่อง งานเขยี นเลม่ ลา่ สดุ คอื ‘The Core Human Rights Treaties and Thailand’ ส�ำนกั พมิ พ์ Brill | Nijhoff, Leiden/Boston, ๒๐๑๖. ซ่ึงได้มอบลิขสทิ ธิ์ใหแ้ ก่ คณะนติ ิศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั เพื่ออุทิศ ให้กับจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัยเนื่องในโอกาสครบรอบ ๑๐๐ ปแี หง่ การสถาปนามหาวทิ ยาลัย 98 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook