Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือรางวัลยกย่องจุฬา 2562

หนังสือรางวัลยกย่องจุฬา 2562

Published by Research Chula, 2019-09-12 10:38:21

Description: หนังสือรางวัลยกย่องจุฬา 2562

Search

Read the Text Version

รางวัล โลป่ ระกาศเกยี รตคิ ุณผูส้ ร้างคณุ ประโยชน์ และชื่อเสยี งให้ สสวท. จาก สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สสวท.) ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สทิ ธิพร ภทั รดลิ กรตั น์ ภาควิชาชวี วทิ ยา คณะวิทยาศาสตร์ ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 299

รองศาสตราจารย์ ดร.จิตรลดา อารีย์สันติชัย รองคณบดีวิจัย วิทยาลัยวิทยาศาสตร์ สาธารณสขุ จุฬาฯ เป็นหัวหนา้ ศูนยว์ ิจยั ยาเสพตดิ Drug Dependence Research Center (DDRC) หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยสุขภาพสังคมและส่ิงเสพติด the Health and Social Sciences and Addiction Research Unit (HSSRU) และผอู้ �ำนวยการบา้ นสขุ ภาพ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั จบการศกึ ษาปรญิ ญาเอก เกยี่ วกบั การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาสขุ ภาพและ ไดอ้ บรมท่ี WHOCC for the Prevention and Control of Alcohol and Drug Abuse, Curtin University, Perth, Australia. และที่ Department of Epidemiology, which is in both the College of Public Health and Professions and the College of Medicine, University of Florida (UF), U.S.A. รองศาสตราจารย์ ดร.จิตรลดา อารยี ส์ นั ตชิ ยั มคี วามเชย่ี วชาญ ดา้ นสารเสพติด บหุ ร่ี เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ เอช ไอ วี เอดส์ ในกลุ่มประชากรทั่วไป และกลุ่มประชากรเฉพาะ อาทิ กลุ่มผู้ใช้ยาเสพตดิ โดยวธิ ีฉีด กลุม่ ผทู้ ีต่ ดิ เชอื้ เอช ไอ วี เอดส์ กลุม่ ผูต้ อ้ งขัง กลุม่ ผู้ใชส้ าร เสพติดหลายชนิด (multiple drugs) ผลงานเชิงประจักษ์เก่ียวกับด้านส่งเสริมและแก้ไข ปัญหายาเสพติด และผลงานอ้างอิงระดับต่างประเทศ อาทิ งานวิจัยประมาณการ สารเสพติด งานวิจัยประเมินผลนโยบายการลดอันตรายจากการใช้สารเสพติด (Harm Reduction) ในกลุ่มผู้ใช้ยาเสพติดโดยวิธีฉีดทั่วประเทศ และยังมีงานวิจัยการลดอันตราย แบบใชช้ ุมชนมีส่วนร่วม โดยใช้ “Money Box” ซึง่ ทาง WHO SEARO ยกให้เป็นงานวจิ ัย ดีเด่นและเป็นแบบอย่างในการน�ำไปใช้จริง โดย WHO SEARO ได้นำ� ไปตีพิมพ์ในหนังสือ “Best practice project” ของ WHO และยังมีผลงานร่วมกับต่างประเทศอีกมากมาย อาทิ งานวิจัย Substance use and HIV risk among female and Kathoey sex workers in Bangkok แหลง่ ทุนจาก USA. และงานวิจยั Substance Abuse and HIV Prevention in Cambodia and Thailand แหล่งทุน NIH อกี ท้ังผลงานวจิ ัยเชิงประจักษ์ ท่ใี ช้ในการผลกั ดนั นโยบายในระดบั ประเทศ 300 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรตบิ ุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รางวัล บคุ คลทม่ี ผี ลงานระดับดเี ด่นด้านส่งเสรมิ การแก้ไขปญั หายาเสพติด ประจ�ำปี ๒๕๖๒ สาขา วชิ าการ ด้านส่งเสริมการแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ จาก ส�ำนักงานคณะกรรมการปอ้ งกันและ ปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) กระทรวงยตุ ิธรรม รองศาสตราจารย์ ดร.จิตรลดา อารียส์ นั ติชยั วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ยกย่องเชดิ ชเู กยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 301

รางวลั เกียรตบิ ตั ร ผู้ใหค้ วามรว่ มมอื และสนบั สนุนการแก้ไขปญั หาการท�ำการประมง ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไรก้ ารควบคมุ จาก ส�ำนกั นายกรฐั มนตรี ดร.กิตตศิ กั ด์ิ เจมิ สิทธิประเสริฐ กลมุ่ งานวจิ ยั และการเรยี นการสอน สถาบันวจิ ยั สังคม 302 ยกย่องเชดิ ชเู กยี รติบคุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

เน่ืองจากประเทศไทยได้รับการประกาศเตือน (ใบเหลือง) จากสหภาพยุโรป เม่ือปี ๒๕๕๘ ถึงการจัดให้มีมาตรการป้องกันยับย้ัง และขจัดการท�ำการประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม รัฐบาล โดยหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ จึงมีค�ำสั่งหัวหน้ารักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี ๑๐/๒๕๕๘ เร่ือง การแก้ไขปัญหาการท�ำ การประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม จัดต้ัง ศูนย์บัญชาการแก้ไข ปัญหาการทำ� ประมงผดิ กฎหมาย (ศปมผ.) ตอ่ มา ศปมผ. จึงมคี ำ� สั่ง ศปมผ. ที่ ๑๒/๒๕๕๙ เร่ือง แก้ไขค�ำส่ัง ศปมผ. ที่ ๙/๒๕๕๙ แต่งตั้ง นายกิตติศักดิ์ เจิมสิทธิประเสริฐ เป็นอนุกรรมการ ในคณะอนุกรรมการตรวจสอบย้อนกลับ นอกจากนั้น ระหว่างปี ๒๕๕๙-๒๕๖๐ นายกิตติศักด์ิ เจิมสิทธิประเสริฐ ยังเป็นนักวิจัย โครงการปรับปรุงแก้ไข พระราชก�ำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ โดย กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อ ประเทศไทยสามารถปลดใบเหลืองจากสหภาพ ยุโรปได้เป็นผลส�ำเร็จ จึงได้รับเกียรติบัตร ในฐานะเป็นผู้ให้ความร่วมมือและสนับสนุน การแก้ไขปัญหาการท�ำการประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม จนท�ำให้ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ส า ม า ร ถ ป ล ด ใ บ เ ห ลื อ ง จ า ก สหภาพยโุ รปไดเ้ ปน็ ผลสำ� เรจ็ จากนายกรฐั มนตรี (พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา) และเขม็ เกยี รตคิ ณุ จากการปฏิบัติงานแก้ไขปัญหาการท�ำการ ประมงผิดกฎหมายจาก อธิบดีกรมประมง (นายอดศิ ร พร้อมเทพ) ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 303

เนื่องจากประเทศไทยได้รับการประกาศเตือน (ใบเหลือง) จากสหภาพยุโรป เมื่อปี ๒๕๕๘ ถึงการจัดให้มีมาตรการป้องกันยับยั้ง และขจัดการท�ำการประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม รัฐบาล โดยหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ จึงมีค�ำส่ังหวั หนา้ รกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ท่ี ๑๐/๒๕๕๘ เรอื่ ง การแกไ้ ขปัญหาการท�ำการ ประมงผดิ กฎหมาย ขาดการรายงาน และไรก้ ารควบคุม จดั ตัง้ ศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหา การท�ำประมงผิดกฎหมาย (ศปมผ.) ต่อมา ศปมผ. จึงมคี ำ� สงั่ ศปมผ. ท่ี ๑๒/๒๕๕๙ เร่อื ง แก้ไขคำ� สัง่ ศปมผ. ที่ ๙/๒๕๕๙ แตง่ ตง้ั นายกติ ติศกั ดิ์ เจิมสิทธปิ ระเสรฐิ เป็นอนุกรรมการ ในคณะอนุกรรมการตรวจสอบย้อนกลับ นอกจากน้ัน ระหว่างปี ๒๕๕๙-๒๕๖๐ นายกิตติศักดิ์ เจิมสิทธิประเสริฐ ยังเป็นนักวิจัย โครงการปรับปรุงแก้ไขพระราชก�ำหนด การประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ โดย กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อประเทศไทย สามารถปลดใบเหลืองจากสหภาพยุโรปได้เป็นผลส�ำเร็จ จึงได้รับเกียรติบัตร ในฐานะเป็น ผู้ให้ความร่วมมือและสนับสนุนการแก้ไขปัญหาการท�ำการประมงผิดกฎหมาย ขาดการ รายงาน และไร้การควบคุม จนท�ำให้ประเทศไทยสามารถปลดใบเหลืองจากสหภาพยุโรป ได้เป็นผลส�ำเร็จ จากนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) และเข็มเกียรติคุณ จากการปฏิบัติงานแก้ไขปัญหาการท�ำการประมงผิดกฎหมายจาก อธิบดีกรมประมง (นายอดศิ ร พร้อมเทพ) 304 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รติบคุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รางวลั เข็มเกียรติคณุ จากการปฏบิ ัตงิ านแก้ไข ปัญหาการท�ำการประมงผดิ กฎหมาย จาก กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดร.กติ ติศักดิ์ เจมิ สิทธปิ ระเสริฐ กล่มุ งานวิจยั และการเรียนการสอน สถาบันวิจยั สังคม ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 305

ตามท่ี ประเทศไทยได้รับค�ำวินิจฉัยจากคณะกรรมาธิการยุโรปวันที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ว่าด้วยการแจ้งให้ประเทศท่ีสามรับทราบความเป็นไปได้ที่จะถูกระบุว่าเป็น ประเทศที่สามท่ีไม่ให้ความร่วมมือในการต่อต้านการท�ำประมงที่ผิดกฎหมายประมง ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (IUU) พรอ้ มดว้ ยใบเตือน (ใบเหลอื ง) น้นั ศาศตราจารย์ ดร.สุภางค์ จันทวานิช ได้ด�ำเนินการวิจัยเพ่ือสนับสนุนการด�ำเนินของ รัฐบาลในการแก้ไขปัญหาการท�ำประมง IUU มาโดยตลอด กระทั่งในท่ีสุด สหภาพยุโรป ไดป้ ระกาศปลดใบเหลอื งประมง IUU ของประเทศไทย เม่อื วันที่ ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ดว้ ยเหตนุ ้ี กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จงึ ไดก้ รณุ ามอบเขม็ เกยี รตคิ ณุ จาก การปฏบิ ัตงิ านแก้ไขปัญหา IUU ดังกลา่ ว 306 ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รางวัล เขม็ เกยี รตคิ ณุ จากการปฏิบตั ิงานแก้ไข ปัญหาการท�ำการประมงผิดกฎหมาย จาก กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศาสตราจารยก์ ติ ตคิ ณุ ดร.สภุ างค์ จนั ทวานชิ ภาควิชาศนู ย์วจิ ยั การย้ายถ่ินแหง่ เอเชีย สถาบนั เอเชียศึกษา ยกย่องเชิดชูเกยี รตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 307

รางวลั เกยี รตบิ ตั รเพื่อแสดงวา่ เปน็ ผู้ใหค้ วามร่วมมอื และสนับสนนุ การแก้ไขปัญหาการท�ำประมง ผดิ กฎหมาย ขาดการรายงาน และไรค้ วามควบคุมจนท�ำใหป้ ระเทศไทยสามารถปลดใบเหลอื ง จากสหภาพยุโรปได้เป็นผลส�ำเร็จ จาก สำ� นักนายกรัฐมนตรี ศาสตราจารยก์ ติ ตคิ ุณ ดร.สภุ างค์ จนั ทวานชิ ภาควชิ าศนู ย์วจิ ยั การยา้ ยถน่ิ แหง่ เอเชยี สถาบันเอเชียศกึ ษา 308 ยกย่องเชดิ ชูเกยี รติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ตามที่ประเทศไทยได้รับค�ำวินิจฉัยจากคณะกรรมาธิการยุโรปวันท่ี ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ว่าด้วยการแจ้งให้ประเทศท่ีสามรับทราบความเป็นไปได้ท่ีจะถูกระบุว่าเป็น ประเทศที่สามท่ีไม่ให้ความร่วมมือในการต่อต้านการท�ำประมงที่ผิดกฎหมายประมง ขาดการรายงาน และไร้การควบคมุ (IUU) พร้อมดว้ ยใบเตอื น (ใบเหลอื ง) นนั้ ศาศตราจารย์ ดร.สุภางค์ จันทวานิช ได้ด�ำเนินการวิจัยเพ่ือสนับสนุนการด�ำเนินของ รฐั บาลในการแกไ้ ขปญั หาการทำ� ประมง IUU มาโดยตลอด กระท่งั ในทส่ี ุด สหภาพยุโรปได้ ประกาศปลดใบเหลอื งประมง IUU ของประเทศไทย เม่ือวันท่ี ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ดว้ ยเหตุนี้ พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา นายกรฐั มนตรี จงึ ไดก้ รุณามอบเกียรตบิ ตั รใน ฐานะผปู้ ฏิบตั งิ านและผ้สู นบั สนนุ การทำ� งานแก้ไขปญั หา IUU ดังกลา่ ว ยกย่องเชิดชเู กียรตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 309

รางวัล ปราชญ์ชุมชน ประจ�ำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ “ดา้ นศิลปะการแทงหยวก” เร่อื ง ดา้ นศิลปะการแทงหยวก สาขา ศิลปะหตั ถกรรม จาก สถาบันการจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์ นายสมคิด คชาพงศ ์ ภาควชิ าศนู ย์เทคโนโลยีการศึกษาแพทยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ 310 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

นายสมคิด คชาพงษ์ ได้รับเชิญจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นวิทยากรสาธิตการแทง ในโครงการ งานอัตลักษณ์ภาษาศิลป์กับศิลปะ ศิลปิน บนถิ่นไทย ประจ�ำปี ๒๕๖๒ เม่ือวันพุธท่ี ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ท้ังนี้ภายในงานไดม้ กี ารประกวดแข่งขันแทงหยวกในกรอบแนวความคดิ “สรรคศ์ ลิ ป์ ถน่ิ พรบิ พรี สดดุ อี งคร์ าชนั ย”์ ณ ลานหนา้ อาคารสเุ มธ ตนั ตเิ วชกลุ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี จงั หวัดเพชรบุรี ต้งั แตเ่ วลา ๐๙.๐๐ - ๑๘.๐๐ น. ในงานน้ีนายสมคิด คชาพงษ์ ได้เข้าร่วมการแข่งขันแทงหยวก ประกอบการตกแต่ง พระบรมฉายาลักษณ์ พระบามสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ มหศรภูมิพลราชวรางกูร กิตสิ ิรสิ มบูรณ อดุลยเดช สยามมิทราธิเบศรราชวโรดม บรมนาถ บพิตร พระวชิรเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๑๐ ประกอบดว้ ยการแทงหยวกเครือ่ งสดท้ังหมด และสำ� เรจ็ ทนั ในเวลาท่ีคณะกรรมการกำ� หนดไว้ ในเวลา ๑๙.๐๐ น. เป็นเวลาที่คณะกรรมการได้ตัดสินผลงานประกวดแทงหยวก เครอ่ื งสดทงั้ หมด และผลงานทน่ี ายสมคดิ คชาพงษ์ ไดร้ บั รางวลั ท่ี 2 ในวนั ศกุ รท์ ่ี ๓๐ สงิ หาคม ๒๕๖๒ ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติบุคลากร คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจ�ำปี ๒๕๖๒ ณ ห้องโถงอเนกประสงค์ ชนั้ ๑ อาคารแพทยพฒั น์ “ไดร้ บั รางวัลปราชญ์ ชุมชน ประจำ� ปี ๒๕๖๒ ดา้ นศลิ ปะการแทงหยวก” ยกย่องเชดิ ชูเกยี รตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 311

การศกึ ษา Ph.D. สาขาวิศกรรมเคมี Texas A&M University, College Station, ประเทศสหรัฐอเมรกิ า M.S. สาขาวศิ กรรมเคม,ี University of Southern California, ประเทศสหรฐั อเมรกิ า B.S. สาขาเคมอี ุตสาหกรรม, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผลงานทางดา้ นวชิ าการและวจิ ัย • ได้รับการโปรดเกลา้ ฯ เปน็ ศาสตราจารย์ สาขา วิศวกรรมเคมี เมอ่ื ๒๘ มีนาคม ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ • มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีอยู่ในฐานข้อมูล ISI และ Scopus จ�ำนวน ๔๕ เรอื่ ง • เป็นเมธวี จิ ยั (Research Scholar) ของส�ำนักงานกองทนุ สนับสนนุ การวจิ ัย • ผู้แต่งหนังสือ เรื่อง “จากขยะสู่น้�ำมัน : เทคโนโลยีผลิตพลังงานทางเลือกที่ดูแลส่ิงแวดล้อม” สำ� นกั พิมพจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย • เปน็ หน่ึงในคณะแปลหนังสือ “ปฎิบตั กิ ารก้โู ลกรอ้ น (Our Choice)” ทีแ่ ตง่ โดยอดีตรองประธานาธิบดี Al Gore ของสหรัฐอเมรกิ า จัดพิมพ์โดยส�ำนักพมิ พ์มตชิ น พิมพใ์ นปี พ.ศ. ๒๕๕๒ รางวลั ทเ่ี คยไดร้ ับ • ไดร้ บั รางวลั เชดิ ชเู กยี รตอิ าจารยด์ า้ นการเรยี นการสอน ประจำ� ปี ๒๕๖๐ จาก จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั • ได้รับรางวัล PTIT Scholar Award ประจ�ำปี ๒๕๕๘ - ๒๕๕๙ จากสถาบันปิโตรเลียมแห่ง ประเทศไทย ในฐานะผู้ทำ� ประโยชนต์ ่ออตุ สาหกรรมปโิ ตรเลียมและปโิ ตรเคมีของประเทศไทย • ได้รับรางวัลผลงานวิจัยระดับดีเด่น สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจ�ำปี ๒๕๕๕ และ ๒๕๖๐ จากส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ • ไดร้ บั รางวลั หนงั สอื วชิ าการดเี ดน่ ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม จาก Toyota Thailand Foundation Award (TTF) จาก มลู นธิ ิโตโยต้าประเทศไทย และมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำ� ปี ๒๕๕๒ • ได้รับประกาศนียบตั รประกาศเกยี รติคุณในฐานะอาจารยท์ ่ปี รกึ ษา ท่ีวิทยานพิ นธข์ องนสิ ติ ในที่ปรึกษา ได้รับการคัดเลือกให้สนบั สนุนขอ้ มูลทางวิชาการให้แก่รัฐสภา ในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ผลงานเพอ่ื อุตสาหกรรมและสังคม • ทำ� งานวจิ ยั และบรหิ ารโครงการวจิ ยั ทไ่ี ดร้ บั ทนุ จากภาคอตุ สาหกรรมและภาครฐั ไมต่ ำ่� กวา่ ๒๒ โครงการ • เป็นผูท้ รงคุณวุฒิประเมินโครงการวจิ ยั ให้กบั หนว่ ยงานภาครฐั และเอกชนหลายองคก์ ร • เป็นทีป่ รกึ ษาโครงการฯ ของบริษัททางดา้ นปโิ ตรเลียมและปิโตรเคมี หลายบริษทั • เปน็ เจา้ ของและ Admin ดแู ล Facebook Page ทม่ี ชี อื่ วา่ “พลงั งานจากขยะ (Energy from Wastes)” • เป็นอาจารย์ประจ�ำหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ ของสถาบันพลังจิตตานุภาพ โดยพระธรรมมงคลญาณ สาขาคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ต้งั แต่ พ.ศ. ๒๕๕๖ 312 ยกย่องเชดิ ชูเกยี รติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รางวลั ศิษยเ์ กา่ ดเี ด่น ประจ�ำปี ๒๕๖๒ จาก โรงเรียนสาธิตมหาวทิ ยาลัยราชภฏั เทพสตรี ลพบรุ ี ศาสตราจารย์ ดร.ศริ ริ ัตน์ จิตการคา้ ภาควชิ าเทคโนโลยปี ิโตรเคมี วิทยาลัยปิโตรเลยี มและปิโตรเคมี ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตบิ ุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 313

รางวลั MUIC Outstanding Academic Alumni 2017 รางวลั ศษิ ย์เกา่ วิทยาลยั นานาชาตดิ เี ดน่ ดา้ นวชิ าการ ๒๕๖๑ จาก มหาวิทยาลยั มหดิ ล รองศาสตราจารย์ ดร.สภุ าวดี อร่ามวทิ ย ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา้ คณะวิศวกรรมศาสตร์ 314 ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

Assoc. Prof. Dr. Supavadee Aramvith, who received her B.S. Computer Science (1st Class Honors) degree in 1993, obtained her M.S. and Ph.D. degrees in Electrical Engineering from the University of Washington, Seattle, USA, in 1996 and 2001, respectively. She joined Chulalongkorn University in June 2001 and is currently an Associate Professor and the Head of the Digital Signal Processing Laboratory in the Department of Electrical Engineering. With her research specialization in video technology, she has successfully advised 6 Ph.D., 26 Master’s, and 32 Bachelor’s degree graduates. A prolific researcher, she published over 120 papers in international conference proceedings and journals along with four chapters in internationally published books. She has also a rich experience in project management, having served as project leader and former technical committee chair to the NBTC and the former MICT of Thailand. In addition, she is very active in the international arena with leadership positions in international networks such as the JICA Project for AUN/SEED-Net, and professional organizations such as IEEE, IEICE, APSIPA, and ITU. At present, she is a member of the IEEE Educational Activities Board (EAB) and chair of the IEEE EAB Pre-University Education Coordination Committee. Aside from leading the Educational Activities and Women in Engineering committees for IEEE Asia Pacific (Region 10) from 2011-2016, she also won several awards including the most recent, Sak Intania Award 2017, from the Dean of the Faculty of Engineering, Chulalongkorn University in June 2017. ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตบิ ุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 315

พลอากาศเอกประจนิ จนั่ ตอง รองนายกรฐั มนตรแี ละรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงยตุ ธิ รรม มอบเสอื้ เกยี รติยศแกบ่ ัณฑิต พสวท. ทไ่ี ด้รับคัดเลอื กเขา้ “DPST Hall of Fame” ในงาน พสวท. ขบั เคล่ือนเศรษฐกิจไทยด้วยงานวจิ ยั และนวตั กรรม ครง้ั ที่ ๓ โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.ชูกิจ ลิมปิจ�ำนงค์ ผู้อ�ำนวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ให้การต้อนรับและน�ำชมผลงานวิจัยและนวัตกรรมฝีมือบัณฑิตโครงการพัฒนา และส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.) งานน้ีจัดข้ึน เพื่อขับเคลื่อนและยกระดับผลงานวิจัยของบัณฑิต พสวท. สู่สาธารณชน ให้เป็นท่ีรู้จัก และถูกน�ำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมในวงกว้าง รวมทั้งให้งานวิจัยเหล่าน้ีมีส่วนใน การขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ ไทยและต่อยอดพฒั นายั่งยนื ณ โรงแรมเซน็ ทาราแกรนด์ เซน็ ทรัล พลาซา ลาดพรา้ ว กรงุ เทพฯ เม่ือวันท่ี ๘ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ 316 ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รางวัล ยกย่องเชดิ ชูเกียรตเิ ข้าสหู่ อเกยี รตยิ ศ พสวท. (Hall of Fame, DPST) ปี ๒๕๖๑ สาขา ชวี วทิ ยา จาก สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ศาสตราจารย์ ดร.จันทรเ์ พญ็ จนั ทร์เจา้ ภาควิชาชวี วทิ ยา คณะวิทยาศาสตร์ ยกย่องเชิดชูเกยี รติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 317

รางวัล ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติเขา้ สูห่ อเกยี รตยิ ศ พสวท. (Hall of Fame, DPST) ปี ๒๕๖๑ เร่ือง ผลึกศาสตรร์ งั สเี อกซข์ องสารทีม่ ีความสำ� คญั ทางชีวภาพ (X-ray Crystallography of Biologically Important Compounds) สาขา เคมี จาก สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) ศาสตราจารย์ ดร.ธรรมรตั น์ อารยี ์ ภาควิชาเคมี คณะคณะวทิ ยาศาสตร์ 318 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ข้อมลู ประวัตสิ ่วนตัว การทำ� งาน เกดิ วนั ท่ี ๓๐ มนี คม ๒๕๑๔ ทอ่ี ำ� เภอแกลง จงั หวดั ระยอง สำ� เรจ็ การศกึ ษามธั ยมปลายจากโรงเรยี นไตรมติ รวทิ ยาลยั กรุงเทพฯ ได้รับทุนการศึกษาต่อเนื่องภายใต้โครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี (พสวท.) โดยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เข้าศึกษาต่อท่ีคณะวิทยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัยในปี พ.ศ. ๒๕๓๓ ส�ำเรจ็ การศึกษาวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาเคมี ปี พ.ศ. ๒๕๓๗ วทิ ยาศาสตร มหาบณั ฑิต สาขาเคมีฟิสิกลั ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ และดุษฎบี ัณฑิต Dr. rer. nat. (Chemie) สาขาเคมี–ผลึกศาสตร์ ปี พ.ศ. ๒๕๔๓ จาก Freie Universität กรงุ เบอรล์ นิ ประเทศสหพนั ธ์สาธารณรฐั เยอรมนี ได้กลบั มาปฏิบัติราชการท่ีภาควชิ าเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ในสาขาเคมี เมื่อวันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ จากน้ันได้รับต�ำแหน่งรองศาสตราจารย์ เม่ือวันท่ี ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ และได้รับการโปรดเกล้าฯ ใหด้ �ำรงตำ� แหนง่ ศาสตราจารยร์ ะดับ A-2 เมอื่ วันท่ี ๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ข้อมลู ผลงานวิจยั เดน่ ศาสตราจารย์ ดร.ธรรมรตั น์ อารยี ์ เปน็ หนงึ่ ในผบู้ กุ เบกิ งานวจิ ยั ดา้ นผลกึ ศาสตรร์ งั สเี อกซ์ (X-ray crystallography) ในประเทศไทย ได้ริเริ่มการประยุกต์ผลึกศาสตร์รังสีเอกซ์ท้ังในห้องปฏิบัติการและในศูนย์วิจัยซินโครตรอนและนิวตรอน ช้ันน�ำในต่างประเทศ เพ่ือการศึกษาเชิงลึกระดับอะตอม เป็นผู้ที่มีระเบียบวินัยในการท�ำงานสูง ท�ำงานอย่างมุ่งม่ันและ จริงจัง ให้ความส�ำคัญกับงานวิจัยพ้ืนฐานเพ่ือความเข้าใจเชิงลึกระดับอะตอม (basic research for deep atomistic insights) ซงึ่ เปน็ รากฐานในการพฒั นาไปสกู่ ารประยกุ ตอ์ ยา่ งมฐี านคดิ มเี หตมุ ผี ลและมปี ระสทิ ธภิ าพ ตลอดระยะเวลากวา่ ๑๙ ปีท่ีทุ่มเทท�ำงานวิจัยด้านผลึกศาสตร์รังสีเอกซ์ของโมเลกุลขนาดเล็ก (small molecules) ซึ่งครอบคลุมชีวโมเลกุล เช่น ไซโคลเดกซ์ทริน สารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติและสารสังเคราะห์ รวมถึงสารเชิงซ้อนของโครงข่ายโลหะ–สารอินทรีย์ ได้ใช้ผลึกศาสตร์รังสีเอกซ์เป็นสะพานเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของสมบัติและโครงสร้างได้อย่างแท้จริง มีผลงานวิจัยเป็น ท่ีประจักษ์ ได้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติจ�ำนวนกว่า 90 บทความ (ผลึกศาสตร์รังสีเอกซ์เป็นเทคนิคการพิสูจน์ เอกลกั ษณ์เดียวท่ใี หโ้ ครงสรา้ ง ๓ มิติทีม่ คี วามถูกตอ้ งมากทีส่ ุด มลี ักษณะเฉพาะ มีหลายขั้นตอนและตอ้ งใชเ้ วลาเพ่ือทำ� ให้ งานเสร็จสมบูรณ์) ข้อมูลรางวัล หรือ เหตผุ ลที่ได้รับรางวลั เป็นบณั ฑิต พสวท. ท่ไี ดร้ บั การแต่งตง้ั ใหด้ ำ� รงต�ำแหนง่ ทางวิชาการเปน็ ศาสตราจารย์ ข้อมลู ของรางวัลน้ี การคดั เลือกบณั ฑิตพสวท.เพื่อจารึกชือ่ ใน DPST Hall of Fame จัดข้ึนเป็นครัง้ แรกในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยคัดเลือก จากบณั ฑิต พสวท. ทม่ี ีคุณธรรมและจริยธรรมสูง และได้รบั : รางวลั นกั วทิ ยาศาสตรด์ เี ดน่ หรอื รางวลั นกั เทคโนโลยดี เี ดน่ จากมลู นธิ สิ ง่ เสรมิ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี นพระบรม ราชปู ถัมภ์ หรือ รางวัลนกั วิจยั ดีเดน่ แห่งชาติ จากสภาวจิ ยั แห่งชาติ หรอื รางวัลวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากมลู นิธิโทเร ประเทศไทย หรอื รางวลั ราะดับนานาชาติ ซ่ึงเปน็ ที่ยอมรบั ระดับมาตรฐานสากล หรอื การแตง่ ต้งั ให้ดำ� รงตำ� แหนง่ ทางวชิ าการเป็นศาสตราจารย์ หรอื การแต่งต้งั ใหด้ ำ� รงตำ� แหนง่ ผู้บริหารระดบั สูงของมหาวทิ ยาลยั หรอื หน่วยงานเทยี บเทา่ นระดับกรมขึ้นไป เชน่ ต�ำแหน่งอธิการบดี รองอธกิ ารบดี ผอู้ ำ� นวยการ รองผู้อำ� นวยการ ต�ำแหนง่ คณบดี หรอื เทียบเทา่ ในมหาวทิ ยาลยั หรือในหนว่ ยงานของรัฐ ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 319

ข้อมลู รางวัล หรอื เหตผุ ลทไ่ี ดร้ ับรางวัล พลอากาศเอกประจนิ จนั่ ตอง รองนายกรฐั มนตรแี ละรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงยตุ ธิ รรม มอบเส้อื เกียรติยศแก่บัณฑิต พสวท. ทีไ่ ดร้ ับคัดเลือกเขา้ “DPST Hall of Fame” ในงาน พสวท. ขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ ไทยดว้ ยงานวจิ ัยและนวัตกรรม คร้งั ที่ ๓ โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.ชูกิจ ลิมปิจ�ำนงค์ ผู้อ�ำนวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ใหก้ ารตอ้ นรบั และนำ� ชมผลงานวจิ ยั และนวตั กรรมฝมี อื บณั ฑติ โครงการพฒั นาและ ส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.) งานนี้จัดข้ึนเพ่ือ ขับเคล่ือนและยกระดับผลงานวิจัยของ บัณฑิต พสวท. สู่สาธารณชน ให้เป็นที่รู้จักและ ถูกน�ำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมในวงกว้าง รวมท้ังให้งานวิจัยเหล่าน้ีมีส่วนในการ ขับเคล่ือนเศรษฐกิจไทยและต่อยอดพัฒนาย่ังยืน ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัล พลาซา ลาดพรา้ ว กรุงเทพฯ เม่อื วนั ท่ี ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ งาน “พสวท. ขับเคลื่อน เศรษฐกิจไทยด้วยงานวิจัยและนวตั กรรม” ครัง้ ที่ ๓ ณ โรงแรมเซน็ ทาราแกรนด์ เซน็ ทรลั พลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ 320 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รางวลั ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรตเิ ขา้ สหู่ อเกยี รตยิ ศ พสวท. (Hall of Fame, DPST) ปี ๒๕๖๑ สาขา ชวี วิทยา จาก สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สสวท.) ศาสตราจารย์ ดร.นงนุช เหมอื งสิน ภาควชิ าเคมี คณะวิทยาศาสตร์ ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 321

รางวลั สิงห์ด�ำสัมพันธ์ ประจ�ำปี ๒๕๖๒ (รางวัลศษิ ยเ์ ก่าดเี ด่น ประจ�ำปี ๒๕๖๒ สาขานักวชิ าการ) สาขา วิชาการ จาก สมาคมนสิ ติ เกา่ รฐั ศาสตรจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั รองศาสตราจารย์ ดร.เอก ตั้งทรพั ย์วัฒนา ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ 322 ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติบคุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ประวัติส่วนตวั วัน เดอื น ปีเกิด ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๐ อายุ ๕๐ ปี ๑๐ เดือน การศกึ ษาระดับอดุ มศึกษา (เรยี งจากวฒุ ิสูงสุดตามลำ� ดับ) • Ph.D. in Sociology ๒๕๔๓ University of Essex, U.K. • M.A. in Political Theory ๒๕๓๕ University of Essex, U.K. • รัฐศาสตร์บัณฑิต(การปกครอง) ๒๕๓๑ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, ประเทศไทย ได้รับการแต่งตั้งเป็นรองศาสตราจารย์ในสาขาวิชา รฐั ศาสตร์ เม่อื วนั ที่ ๘ เดอื นกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ตำ� แหนง่ อ่ืน ๆ • คณบดคี ณะรฐั ศาสตร์ จฬุ าฯ สองสมัย • กรรมการสภาจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประเภทหวั หน้าส่วนงานทเี่ ปน็ คณาจารย์ • กรรมการคณะกรรมการนโยบายบคุ ลากร สภาจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั • กรรมการคณะกรรมการอทุ ธรณ์รอ้ งทกุ ข์พนกั งานมหาวทิ าลัย สภาจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั • กรรมการคณะกรรมการอทุ ธรณร์ อ้ งทกุ ข์นิสติ สภาจฬุ าลงกรณม์ หาวิทาลยั • กรรมการคณะกรรมการบริหารบณั ฑติ วทิ ยาลยั จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั • กรรมการคณะกรรมการจดั ทำ� พจนานุกรมศพั ท์สงั คมวทิ ยา ราชบัณฑิตยสภา • อปุ นายกฝ่ายวิชาการสมาคมนสิ ติ เกา่ รฐั ศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั • ประธานกรรมการบรหิ ารคณะรัฐศาสตร์ • กรรมการทป่ี รกึ ษาสถาบันศกึ ษาความมั่นคงและนานาชาติ (ISIS-Thailand) • ประธานศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาสงั คม (CSDS) • ประธานหลักสตู ร MA. in International Development Studies • ประธานหลกั สตู ร MA. in Governance • กรรมการและเหรัญญกิ มูลนธิ ศิ าสตราจารย์เกษม อทุ ยานนิ หลักการและจุดมุ่งหมายในการสอนของขา้ พเจ้า การสอนไมใ่ ชก่ ารพดู ใหน้ สิ ติ /นกั ศกึ ษาฟงั และทอ่ งจำ� เหมอื นนกแกว้ นกขนุ ทอง แตก่ ารสอนนอกจากจะเปน็ การทำ� ให้ การนิสิต/นักศึกษาได้คิดเป็นท�ำเป็นโดยให้ภาพของหลักคิด หน่อความคิด หลักการ และเน้ือหาทฤษฎีและการประยุกต์ ส่ิงเหล่านี้ไปวิเคราะห์กรณีศึกษาแล้ว การสอนยังต้องเป็นการสร้างแรงบันดานใจเพ่ือให้นิสิตใฝ่รู้ ใฝ่ดี และก้าวไปสู่ การรับใชส้ ่วนร่วม ในอนาคตเมือ่ นสิ ติ /นกั ศึกษาจบการศึกษาไปแล้ว เกยี รตปิ ระวัต/ิ ผลงานโดดเดน่ เป็นทป่ี ระจกั ษ์ • ผลกั ดันใหก้ ารเรียนการสอนและการวิจัยสาขาตา่ ง ๆ ของคณะรัฐศาสตร์ ได้รบั การยอมรับในระดับโลก • สร้างความเป็นนานาชาติให้กบั คณะรฐั ศาสตร์ จุฬาฯ อย่างเปน็ รปู ธรรม • ประสานเชอ่ื มความสมั พนั ธ์ระหว่างคณะรฐั ศาสตร์ กับสมาคมนิสติ เกา่ รัฐศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ นสิ ิตเก่าฯ ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติบคุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 323

รางวลั ศษิ ย์เกา่ ดีเด่น ดา้ นบรกิ าร/วชิ าการ ประจ�ำปี ๒๕๖๒ สาขา วิชาการ จาก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ ศกั ด์ิ ตรีนยั ภาควชิ าพยาบาลศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ 324 ยกย่องเชิดชูเกยี รติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ตำ� แหน่ง ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ประจ�ำคณะพยาบาลศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย สถานทตี่ ิดตอ่ ต่อ คณะพยาบาลศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั อาคารบรมราชชนนีศรศี ตพรรต ช้นั ๑๑ วังใหม่ ปทุมวัน กรุงเทพ ๑๐๓๓๐ โทรศพั ท์ ๐๒-๒๑๘-๑๑๕๗ มอื ถอื ๐๘๑-๙๑๐-๗๐๗๗ e-mail : [email protected] การศกึ ษา พยาบาลศาสตรบณั ฑติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ (การพยาบาลเดก็ ) คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ปจั จบุ นั กำ� ลงั ศกึ ษาในหลกั สตู ร พยาบาลศาสตรดษุ ฏบี ณั ฑติ (นานาชาต)ิ คณะพยาบาลศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ประวตั ิการท�ำงาน พยาบาลประจำ� การ หอผปู้ ว่ ยวกิ ฤตอายรุ กรรม โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ เฉลมิ พระเกยี รติ (๒๕๔๓ - ๒๕๔๖) พยาบาลพิเศษ โรงพยาบาลภทั รธนบรุ ี (๒๕๔๔ - ๒๕๔๘) อาจารย์ กล่มุ วิชาการพยาบาลเดก็ และวยั รนุ่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (๒๕๔๗ - ๒๕๔๙) ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย (๒๕๕๐ - ปจั จุบนั ) Publication 1. Treenai, S., & Chaiyawat, W. (2006). Illness experience of adolescent patients with leukemia. Journal of Thai nursing council, 21(3), 48-60. 2. Treenai, S., & Sungthong, C.(2009). Clinical decision making of students nurses in pediatric nursing practice, Journal Nursing and Education, 2(3): 77-80 3. Treenai,S. (2014). The development of pediatric palliative care competencies of Master student nurses. International Journal for Human Caring, Volume 18, 3: 86. 4. Treenai, S., Chaiyawat, W. & Yunibhand, J. (2015). Realizing being a leukemic patient: the starting point of returning to the normality in Thai adolescents, Journal of Health Research, 29,1: 7-13. 5. Treenai,S. (2016). The meaning and performance of self-care by adolescents with leukemia. Journal of Health Research, 30,1: 18-27. ยกย่องเชิดชเู กยี รติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 325

รางวัล ศษิ ย์เกา่ ดเี ดน่ “Be All to All” แห่งคณะภคนิ เี ซนต์ปอล เดอ ชารต์ ร ประเทศไทย จาก คณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร ประเทศไทย ๑๒๐ ปีแหง่ พระพร วถิ แี ห่งชีวติ และพนั ธกิจ ศาสตราจารย์ เภสชั กรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ ภาควิชาเภสชั กรรมปฏบิ ัติ คณะเภสชั ศาสตร์ 326 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รางวัล Be All to All เป็นรางวัลที่มอบให้แก่ศิษย์เก่าดีเด่นจากผู้ส�ำเร็จการศึกษา จากสถานศึกษาในกลุ่มเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร ซ่ึงเป็นรางวัลที่จัดขึ้นเป็นครั้งแรกในรอบ ๑๒๐ ปี โดยรางวัลนี้เป็นสัญลักษณ์แห่งชีวิตและพันธกิจของผู้ที่ได้รับ ในความทุ่มเท เสยี สละ ซอื่ สตั ย์และอุทิศตน จนบังเกดิ ผลเปน็ ท่ีประจกั ษ์ในการเป็นทุกอยา่ งสำ� หรบั ทุกคน ผลแห่งชวี ติ ทด่ี นี ้นั คือชวี ติ ปกติธรรมดาทีร่ กั ษาจิตตารมณ์นไี้ ว้ ซึ่งพระเจา้ ทรงรับรู้ ผลทีเ่ กิด แกผ่ ูไ้ ดร้ ับ ยอ่ มเปน็ ความดที ีข่ ยายทวคี ูณอย่างกว้างขวาง ยกย่องเชิดชูเกียรตบิ ุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 327

ปรราะงเภวัลทรผะดลับชงาตาิ น



คณะนักวิจัยได้พัฒนาวิธีการสังเคราะห์โครงสร้างระดับไมโครเมตรของทองค�ำท่ีมี รูปร่างคล้ายหอยเม่นที่มีเข็มระดับนาโนเมตรเป็นส่วนประกอบ กระบวนการสังเคราะห์ แบบข้ันตอนเดียวที่พัฒนาข้ึนสามารถควบคุมขนาดและความยาวของเข็มระดับนาโนเมตร ได้อย่างแม่นย�ำ สารเคมีที่ใช้ในการสังเคราะห์ประกอบด้วยเกลือของโลหะทองค�ำ เกลือ ของโลหะเงิน ใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์เป็นตัวรีดิวซ์ เกลือของโลหะเงินท�ำหน้าท่ีเป็น สารควบคุมรูปร่าง อนุภาคท่ีสังเคราะห์ได้มีขนาด ๑๓๐ - ๑,๘๐๐ นาโนเมตร ความยาว ของเขม็ ๓๐ - ๗๐๐ นาโนเมตร ขนาดของเข็ม ๒๐ - ๕๐ นาโนเมตร หากไม่มกี ารเตมิ เกลือ ของโลหะเงินลงไปในระบบ ผลิตภัณฑ์ท่ีได้คืออนุภาคทองค�ำรูปร่างคล้ายทรงกลมขนาด ๒๐๐ - ๒,๐๐๐ นาโนเมตร ผลการศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด พบว่าอนุภาคทองค�ำท่ีมีรูปร่างคล้ายหอยเม่นโตมาจากอนุภาคทองค�ำระดับนาโนเมตรที่มี รูปร่างคล้ายดอกไม้ เกลือของโลหะเงินท่ีเติมลงไปท�ำหน้าท่ีปรับเปล่ียนรูปแบบการโตของ อนุภาคทองค�ำ โดยตกตะกอนเป็นเกลือซิลเวอร์คลอไรด์เกาะอยู่บนผิวของอนุภาคทองค�ำ ทำ� ใหก้ ารโตของอนภุ าคทองค�ำแบบเดนไดรทม์ กี ารเพม่ิ ความยาวของแกนกลางอยา่ งรวดเรว็ กลายเป็นรูปทรงเข็มระดับนาโนเมตร อนุภาคที่ได้แสดงสมบัติของการเป็นวัสดุรองรับเพ่ือ เพิ่มสัญญาณรามาณท่ีดี คณะนักวิจัยได้ทดลองใช้เป็นสารเติมแต่งเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพ ของโซลาเซลล์ พบว่าสามารถเพ่มิ ประสิทธิภาพของโซลาเซลล์ได้อยา่ งมนี ยั สำ� คญั 330 ยกย่องเชิดชเู กียรตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รางวัล สภาวิจยั แหง่ ชาติ : รางวัลผลงานวจิ ัย ประจ�ำปี ๒๕๖๒ ระดับดีเด่น เรื่อง โครงสรา้ งระดับนาโนเมตรที่ซับซ้อน และการประยุกต์ใช้งานด้านพลังงาน และเซ็นเซอร์ (Complex Nanostructures and Their Applications in Energy and Sensor) จาก สำ� นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ (วช.) ศาสตราจารย์ ดร.สนอง เอกสทิ ธิ์ และคณะ ภาควิชาเคมี คณะวทิ ยาศาสตร์ ยกย่องเชิดชเู กยี รติบคุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 331

การใช้พลังงานจากฟอสซิลก่อให้เกิดปัญหา เน่ืองจากเป็นพลังงานท่ีไม่ย่ังยืนและ ก่อผลกระทบทางดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม ดงั นน้ั จงึ มีความจ�ำเปน็ ในการหาแหล่งพลงั งานชนิดใหม่ ทม่ี คี วามยงั่ ยนื และไมม่ ผี ลตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม แหลง่ พลงั งานชนดิ นไ้ี ดม้ าจากสงิ่ มชี วี ติ ทส่ี งั เคราะห์ แสงได้ การศึกษาครั้งน้ีเป็นการประยุกต์ใช้จุลสาหร่ายเพ่ือ ผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ ๓ ชนิด คือ ไบโอไฮโดรเจน ไบโอดีเซล และไบโอเอทานอล จุลสาหร่ายท่ีใช้ ประกอบไปด้วย ๑ ชนดิ ของไซยาโนแบคทเี รยี (Synechocystis sp. PCC 6803) และ ๕ ชนดิ ของจลุ สาหรา่ ย สีเขียว (Tetraspora sp. CU2551, Botryococcus sp., Scenedesmus sp., Chlorella sp. และ Chlorella sp. CYB2) ในการผลติ ไบโอไฮโดรเจน ได้ทำ� การศึกษาผลของปจั จัย ต่าง ๆ ทางสรีรวิทยาและชีวเคมี รวมถึงการใช้เทคนิคทางด้านพันธุวิศวกรรม เพื่อเพ่ิม การผลิตไบโอไฮโดรเจน ในการผลิตไบโอดีเซล ได้ศึกษาปัจจัยทางด้านกายภาพ เช่น การใช้ ultrasound และการใช้รังสี UV เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพของกระบวนการ transesterification นอกจากน้ีได้มีการประยุกต์ใช้อนุภาคนาโนชนิดโลหะออกไซด์ในการ สกัดแยกไกลโคเจน และไขมันออกจากเซลล์ เพ่ือเปล่ียนสภาพให้เป็นไบโอเอทานอลและ ไบโอดเี ซล ตามล�ำดบั โดยสรุปพบว่า จลุ สาหรา่ ย Tetraspora sp. CU2551 มปี ระสิทธภิ าพ สูงส�ำหรบั การผลติ ไบโอไฮโดรเจน ซงึ่ สามารถผลติ ได้ ๑๒๐ μmol H2/L/h ภายใตส้ ภาวะ ท่ีเหมาะสม การใช้อนุภาคนาโนชนิดโลหะออกไซด์ชนิดใหม่ ๆ อาจน�ำไปสู่การผลิต เชื้อเพลิงชีวภาพท่ีมีประสิทธิภาพและยั่งยืนมากข้ึน นอกจากน้ัน วิธีการเพ่ือน�ำไปสู่กิจการ ทางด้านโรงกลั่นชีวภาพ โดยอาศัยกระบวนการการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพโดยจุลสาหร่าย พบวา่ สามารถผลิตไบโอดเี ซลและไบโอเอทานอลไปพร้อม ๆ กันในปรมิ าณสงู 332 ยกย่องเชิดชเู กียรติบคุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รางวลั สภาวจิ ยั แห่งชาติ : รางวัลผลงานวิจยั ประจ�ำปี ๒๕๖๒ ระดับดีมาก เรอื่ ง ศักยภาพของจุลสาหร่ายเพื่อใช้เป็น แหลง่ ผลติ เชื้อเพลิงชวี ภาพ จาก สำ� นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ (วช.) ศาสตราจารย์ ดร.อรัญ อินเจริญศักดิ์ ภาควชิ าชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ ยกย่องเชิดชเู กยี รติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 333

รางวัล สภาวิจยั แหง่ ชาติ : รางวัลผลงานวจิ ัย ประจ�ำปี ๒๕๖๒ ระดบั ดมี าก เรื่อง เส้นทางสู่ประชาธิปไตยที่ไมย่ ้อนกลบั : ปจั จัยเชิงสถาบันการเมืองกบั ประชาธิปไตยทต่ี ง้ั มัน่ เปรียบเทียบการเปลย่ี นผ่านทางการเมอื งในเกาหลใี ต้ อินโดนเี ซยี ชลิ ี อาร์เจนตินา ตนู เิ ซีย ไนจเี รยี ยูเครน และโปแลนด์ สาขา รฐั ศาสตร์และรฐั ประศาสนศาสตร์ จาก สำ� นกั งานคณะกรรมการวจิ ัยแห่งชาติ (วช.) รองศาสตราจารย์ ดร.สิรพิ รรณ นกสวน สวสั ดี ภาควชิ าการปกครอง คณะรฐั ศาสตร์ 334 ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ความโดดเด่นของงานวจิ ัย เป็นการศกึ ษาทั้งในมติ ิที่เปน็ ทฤษฎเี ชิงปทัสถาน (Normative theories) และในดา้ น ทเ่ี ปน็ ขอ้ เท็จจรงิ เชงิ ประจกั ษ ์ ด้วยวธิ ีการศึกษาเปรียบเทียบแบบ “ความแตกตา่ งมากทส่ี ุด เพือ่ อธิบายผลลพั ธ์รว่ มกัน” (Most-different method หรือ “Method of agreement”) โดยน�ำเสนอประสบการณ์ของ ๘ ประเทศ ใน ๔ ภูมิภาคของโลก ที่ผ่านประสบการณ ์ เปลย่ี นผ่านไปสูป่ ระชาธิปไตยในชว่ ง “คลนื่ ลูกที่สาม” การนำ� ไปใช้ประโยชน์ วิธีการศึกษาและผลการศึกษาเป็นประโยชน์ต่อแวดวงวิชาการด้านรัฐศาสตร์ เป็น ตัวอย่างให้ผู้อ่านได้เห็นวิธีการศึกษาเปรียบเทียบอย่างมีระบบ และมีกรอบแนวคิด ทฤษฎี เป็นตัวก�ำกับในการเลือกตัวแปรและข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา ในทางปฏิบัติ ประสบการณ ์ ในหลายประเทศ เป็นข้อคิดและประยุกต์ใช้ในการปฏิรูปการเมือง การแก้ไขรัฐธรรมนูญ การออกแบบสถาบันการเมือง และการเลือกต้ังในประเทศไทย ผลการศึกษาให้ข้อคิดถึง ปญั หาการขาดฉนั ทามตใิ นสงั คมไทยปจั จบุ นั กลา่ วคอื ฉนั ทามติ ทจี่ ำ� เปน็ สำ� หรบั การกา้ วไป ขา้ งหนา้ ดว้ ยกนั ของสงั คม ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งเปน็ ฉนั ทามตแิ บบสมบรู ณท์ ที่ กุ คน ทกุ ฝา่ ยเหน็ พอ้ ง สอดคลอ้ งตอ้ งกนั ในทกุ มติ ทิ กุ แงม่ มุ ของการปฏริ ปู การเมอื งอยา่ งทนั ทที นั ใด แตเ่ ปน็ หลกั การ ที่อ้างอิงแนวคดิ “ฉนั ทามตทิ ี่เหล่อื มซ้อน” (Overlapping consensus) ของ John Rawls ซึ่งเสนอว่า ด้วยการคิดอย่างมีเหตุผล จะส่งผลให้เกิดการยอมรับในหลักการบางประการ รว่ มกัน ยกย่องเชดิ ชเู กียรตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 335

รางวัล สภาวิจัยแห่งชาติ : รางวัลผลงานวจิ ยั ประจ�ำปี ๒๕๖๒ ระดบั ดี เรอ่ื ง ความหนดื เชยี ร์ในโฮโลกราฟีและทฤษฎยี งั ผลของการขนส่งในระบบท่ีไมม่ สี มมาตรการเล่ือนท่ี สาขา วทิ ยาศาสตร์กายภาพ จาก สำ� นกั งานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) รองศาสตราจารย์ ดร.ปิยบตุ ร บุรีค�ำ และ ณภัทร ภู่วฒุ กิ ุล ภาควชิ าฟิสิกส์ คณะวทิ ยาศาสตร์ 336 ยกย่องเชิดชูเกียรตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

Shear viscosity in holography and effective theory of transport without translational symmetry We study the shear viscosity in an effective hydrodynamic theory and holographic model where the translational symmetry is broken by massless scalar fields. We identify the shear viscosity, η, from the coefficient of the shear tensor in the modified constitutive relation, constructed from thermodynamic quantities, fluid velocity, and the scalar fields, which break the translational symmetry explicitly. Our construction of constitutive relation is inspired by those derived from the fluid/gravity correspondence in the weakly disordered limit m/T<<1. We show that the shear viscosity from the constitutive relation deviates from the one obtained from the usual expression, η★=-limω→0(1/ω)ImGTxyTxyR(ω,k=0), even at the leading order in disorder strength. In a simple holographic model with broken translational symmetry, we show that both η/s and η★/s violate the bound of the viscosity-entropy ratio for arbitrary disorder strength. ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 337

รางวลั สภาวจิ ยั แห่งชาติ : รางวัลผลงานวจิ ยั ประจ�ำปี ๒๕๖๒ ระดบั ดี เรือ่ ง การพฒั นาวัสดุเชงิ ประกอบระดบั นาโนเมตรพอลไิ ดแอเซทลิ ีน/ซิงก์ออกไซดเ์ พือ่ งานดา้ นการตรวจวดั สาขา สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสชั จาก สำ� นกั งานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) รองศาสตราจารย์ ดร.นิศานาถ ไตรผล ภาควชิ าวสั ดุศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตร์ 338 ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รตบิ ุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

งานวิจัยนี้ได้ค้นพบวิธีการใหม่ในการปรับปรุงสมบัติของพอลิไดแอเซทิลีนโดยการเติม อนุภาคระดับนาโนเมตรของซิงก์ออกไซด์เข้าไปในโครงสร้างของพอลิไดแอเซทิลีน เพ่ือให้ เกิดเป็นวัสดุเชิงประกอบพอลิไดแอเซทิลีน/ซิงก์ออกไซด์ที่มีสมบัติการเปล่ียนสีกับอุณหภูมิ เป็นแบบผันกลับได้ ในขณะที่พอลิไดแอเซทิลีนบริสุทธ์ิปกติเกิดการเปล่ียนสีแบบผันกลับ ไม่ได้ นอกจากน้ีวัสดุเชิงประกอบยังแสดงสมบัติการเปล่ียนสีได้ท้ังกับกรดและเบส ในตัวเดียวกัน จึงสามารถน�ำมาประยุกต์เป็นเซนเซอร์ในการตรวจวัดกรดและเบสอินทรีย ์ ได้หลากหลายชนิด การควบคุมสมบัติการเปล่ียนสีของวัสดุเชิงประกอบสามารถท�ำได ้ อย่างเป็นระบบโดยการปรับเปล่ียนความยาวของสายโซ่หลักและสายโซ่อัลคิลของ พอลิไดแอเซทิลีน วัสดุเชิงประกอบชนิดน้ีมีข้อดีคือ เตรียมได้ง่าย ราคาไม่แพง ผลิตได ้ ในปริมาณมาก เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการสังเคราะห์ทางเคมีเพื่อปรับเปล่ียนโครงสร้าง ที่ส�ำคัญคือมีสมบัติการเปลี่ยนสีที่สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่า และสามารถขึ้นรูป ได้หลากหลายรูปแบบเพ่ือความเหมาะสมในการใช้งาน จึงมีศักยภาพในการพัฒนาเข้าสู ่ การผลิตเพ่ือการใชง้ านจริง ยกย่องเชดิ ชเู กยี รติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 339

รางวลั สภาวจิ ัยแหง่ ชาติ : รางวัลผลงานวจิ ยั ประจ�ำปี ๒๕๖๒ ระดบั ดี เรอ่ื ง การใช้ฟงั กช์ ันนลั โคพอลเิ มอรบ์ รชั สำ� หรบั ประยุกต์ทางการตรวจวัดทางชวี ภาพและชวี การแพทย์ จาก สำ� นกั งานคณะกรรมการวจิ ัยแหง่ ชาติ (วช.) รองศาสตราจารย์ ดร.วรวีร์ โฮเว่น และคณะ ภาควิชาเคมี คณะวทิ ยาศาสตร์ 340 ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

การดัดแปรหมู่ฟังก์ชันของวัสดุด้วยสารชีวโมเลกุลมีความส�ำคัญต่อการพัฒนาวัสดุ ส�ำหรับการประยุกต์ทางเทคโนโลยีชีวภาพหลายด้านพอลิเมอร์เป็นวัสดุท่ีได้รับความสนใจ เน่ืองจากมีหมู่ฟังก์ชันที่หลากหลายตามชนิดของมอนอเมอร์ท่ีเลือกใช้ในการสังเคราะห์ นอกจากนี้ยังใช้ความหนาแน่นของหมู่ฟังก์ชันในการยึดติดกับสารชีวโมเลกุลต่อหน่วยพื้นที่ สงู กว่าโมเลกลุ ขนาดเลก็ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อปลายข้างหนึ่งยึดติดบนพื้นผิววัสดุในลักษณะพอลิเมอร์บรัช งานวิจัยนี้ได้ศึกษาการใช้โคพอลิเมอร์บรัชในงานทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพต่าง ๆ ได้แก่ อนภุ าคนาโนทองคำ� ทที่ ำ� ใหเ้ สถยี รดว้ ยพอลเิ มอรบ์ ทตี่ อบสนองตอ่ อณุ หภมู สิ ำ� หรบั การตรวจ วัดโปรตีน (a) พ้ืนผิวตรึงด้วยพอลิเมอร์บรัชที่สามารถท�ำให้เกิดอนุภาคนาโนทองค�ำข้ึน ภายในสามารถใช้ในการแยกและวิเคราะห์เพปไทด์ (b) โคพอลเิ มอร์บรัชตรงึ บนพนื้ ผิวทอง (c) หรือกระดาษ (d) ที่สามารถคอนจูเกตกับสารชีวโมเลกุลในขั้นตอนเดียวส�ำหรับการ วิเคราะห์ ดีเอ็นเอโคพอลิเมอร์ท่ีมีสมบัติตอบสนองต่ออุณหภูมิ เม่ือข้ึนรูปเป็นอนุภาคและ แผ่นเส้นใยแล้วแสดงศักยภาพในการพัฒนาเป็นพาหะในการควบคุมการน�ำส่งยา (e) และ โครงพยุงสามมติ สิ �ำหรบั งานทางดา้ นวศิ วกรรมเน้อื เย่อื (f) ตามล�ำดับ ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรตบิ คุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 341

รางวัล สภาวจิ ยั แหง่ ชาติ : รางวัลผลงานวจิ ยั ประจ�ำปี ๒๕๖๒ ระดับดี เรอื่ ง การผลติ เอทานอลและบิวทานอลจากครอสทรเิ ดียมจากแหล่งคารบ์ อนท่แี ตกตา่ งจากทว่ั ไป สาขา เกษตรศาสตร์และชีววิทยา จาก สำ� นักงานคณะกรรมการวจิ ัยแหง่ ชาติ (วช.) รองศาสตราจารย์ ดร.วรวฒุ ิ จฬุ าลกั ษณานุกลู และคณะ ภาควชิ าพฤกษศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตร์ 342 ยกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

เชื้อเพลิงชีวภาพประเภทเอทานอลและบิวทานอลมีบทบาทส�ำคัญในรูปแบบเช้ือเพลิง ทดแทนพลงั งานปโิ ตรเลยี ม ซงึ่ เปน็ ไบโอรไี ฟนเ์ นอรท่ี สี่ ามารถใชผ้ สมหรอื แทนนำ�้ มนั เชอ้ื เพลงิ ไดโ้ ดยตรง ในงานวจิ ยั ทมี่ คี วามรว่ มมอื ระหวา่ งภาคอตุ สาหกรรมและหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเชอ้ื เพลงิ ชวี ภาพดว้ ยตวั เรง่ ปฏกิ ริ ยิ าทางชวี ภาพ ภาควชิ าพฤกษศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เป็นโครงการท่ีมีการมุ่งเน้นพัฒนาสายพันธุ์จุลินทรีย์ท่ีมีความสามารถ ในการใช้สารตั้งต้นประเภทคาร์บอนชนิดใหม่ได้หลายชนิด โดยงานวิจัยมุ่งประเด็นสนใจ ไปที่การพัฒนาน�ำลิกโนเซลลูโลส ของเหลือจากการเกษตรและอุตสาหกรรมและแก๊ส คารบ์ อนไดออกไซด์ มาใชเ้ ปน็ สารตงั้ ตน้ ในการหมกั ดว้ ยจลุ นิ ทรยี เ์ พอื่ การผลติ เชอ้ื เพลงิ เหลว ชีวภาพด้วยจุลินทรีย์สายพันธุ์ท่ีมีการพัฒนาในประเทศร่วมกับกระบวนการใหม่ ปัจจุบัน สถานภาพของงานวิจัยสามารถพัฒนาเป็น prototype ต้นแบบในการขยายขนาดระดับ pilot scale ณ หอ้ งวิจัย สถาบันนวัตกรรม ปตท.จำ� กดั (มหาชน) ได้ส�ำเรจ็ ลุลว่ ง โดยเป็น งานวิจัยพัฒนาท่ีท�ำโดยนักวิจัยและพัฒนาในประเทศไทยทั้งหมดทุกส่วนของกระบวนการ และสามารถน�ำไปประยุกต์กับชีวมวลทางการเกษตร ของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม และแก๊สของเสียที่เกิดข้ึนจากกระบวนการทางปิโตรเคมี เป็นสารตั้งต้นผลิตเอทานอลและ บวิ ทานอล ภาพการผลติ เอทานอลและบวิ ทานอลดว้ ยแบคทเี รยี สกลุ คลอสทรเิ ดยี ม จากของเหลอื ทางการเกษตรและอตุ สาหกรรม ยกย่องเชิดชเู กยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 343

รางวัล สภาวจิ ยั แห่งชาติ : รางวลั ผลงานวจิ ยั ประจ�ำปี ๒๕๖๒ ระดบั ดี เรื่อง กลยุทธ์การสอื่ สารเพอ่ื การเตรยี มพร้อมสำ� หรบั การจัดการภยั พิบัตแิ ผน่ ดนิ ไหว (Communication Strategy for Earthquake Disaster Preparedness) สาขา เทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ จาก สำ� นักงานคณะกรรมการวิจัยแหง่ ช่ าติ (วช.) รองศาตราจารย์ ดร.พนม คลี่ฉายา ภาควชิ าการประชาสมั พันธ์ คณะนเิ ทศศาสตร์ 344 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ประวตั ิส่วนตัว ต�ำแหนง่ : หวั หนา้ ภาควชิ าการประชาสมั พนั ธ์ สถานทีท่ �ำงาน : ภาควชิ าการประชาสมั พนั ธ์ คณะนเิ ทศศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย โทรศพั ท์ ๐๒-๒๑๘-๒๑๖๑ โทรศพั ท์เคลอ่ื นท่ี ๐๘๙-๑๒๖-๐๐๐๗ โทรสาร ๐๒-๒๑๘-๒๑๓๐ e-mail: [email protected] ขอ้ มลู รางวลั หรือ เหตุผลท่ีได้รบั รางวัล รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ : รางวัลผลงานวิจัย ระดับดี ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ การวิจัยเร่ือง “กลยุทธ์การส่ือสารเพ่ือการเตรียมพร้อมส�ำหรับการจัดการภัยพิบัติแผ่นดิน ไหว (Communication Strategy for Earthquake Disaster Preparedness)” หมายเหตุ : หากได้รับรางวัลประเภทผลงาน ขอให้น�ำข้อมูลสรุป หรือบทคัดย่อใน เนื้อที่ข้างล่างนี้ ภัยพิบัติ “แผ่นดินไหว” ถือเป็นภัยที่สร้างความเสียหายอย่างมหาศาลและใกล้ตัว คนไทยมากขน้ึ งานวจิ ยั นไี้ ดศ้ กึ ษาการรบั รู้ ทศั นคติ พฤตกิ รรมตอ่ แผน่ ดนิ ไหวของประชาชน องคป์ ระกอบการสอ่ื สารในเหตกุ ารณแ์ ผ่นดนิ ไหว เพ่อื นำ� มาพัฒนาเป็น กลยทุ ธก์ ารส่ือสาร เพื่อการเตรียมพร้อมส�ำหรับการจัดการภัยพิบัติแผ่นดินไหว ท่ีสามารถบูรณาการเข้ากับ แผนการจัดการภัยพิบัติแผ่นดินไหวของประเทศได้ โดยเสนอกลยุทธ์การส่ือสารที่เป็น วงจรต่อเนอ่ื ง ๓ ระยะ ดังนี้ ๑) ระยะก่อนเกิดเหตุการณ์ เน้นการส่ือสารท้ังระดับชุมชน และระดับประเทศ ใช้ การสอ่ื สารสร้างเครือข่ายเตรียมความพร้อม รณรงค์ให้ความรู้ สรา้ งทศั นคติ และพฤตกิ รรม พรอ้ มรับมือกับแผ่นดินไหว ๒) ระยะเกิดเหตุการณ์ เน้นการรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉิน และปฏิบัติการช่วย เหลืออย่างทันทีทันใด ควบคุมมิให้เกิดการต่ืนตระหนก ด้วยการบริหารประเด็นข่าว และ การสอื่ สารระดมความช่วยเหลอื ในพ้นื ทีเ่ กิดเหตุ ๓) ระยะพ้ืนฟูและพัฒนาหลังเหตุการณ์ เน้นการฟื้นฟู ถ่ายทอดประสบการณ์ บทเรยี นเพือ่ เผชญิ กับภัยในอนาคต และผลกั ดนั นโยบายการจัดการภยั พบิ ตั ิ ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 345

รางวัล สภาวจิ ัยแห่งชาติ : รางวลั ผลงานวจิ ัย ประจ�ำปี ๒๕๖๒ ระดบั ดี เรอื่ ง การเฝ้าระวงั เชื้อดือ้ ยาในเชิงสุขภาพหนึง่ เดียวในภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ สาขา เกษตรศาสตรแ์ ละชีววิทยา จาก สำ� นักงานคณะกรรมการวิจยั แหง่ ชาติ (วช.) รองศาตราจารย์ สตั วแพทยหญิง ดร.รงุ่ ทิพย์ ชวนช่นื ภาควชิ าสตั วแพทยสาธารณสุข คณะสตั วแพทยศาสตร์ 346 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ผลงานวิจัยน้ีผลิตผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ จ�ำนวน ๑๒ เร่ือง รายงานผลงานวิจยั ที่พิมพเ์ ป็นเลม่ สำ� หรบั แหลง่ ทุนและเผยแพร่ จำ� นวน ๘ เรอ่ื ง น�ำเสนอ ในทป่ี ระชมุ วชิ าการจำ� นวน ๗ เร่ือง และไดร้ ับการอ้างองิ จ�ำนวน ๒๒๔ ครงั้ ผลงานวิจัยได้สร้างผลิตข้อมูลส�ำคัญและสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่สามารถตอบค�ำถาม และอธบิ ายอธบิ ายแหลง่ ทม่ี าและสถานการณข์ องเชอื้ ดอื้ ยา สง่ ทำ� ใหค้ ณะสตั วแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ได้รบั แตง่ ตง้ั เปน็ FAO Reference Centre for Antimicrobial Resistance for Asia and Pacific (อยู่ในข้ันตอนการแต่งต้ังจาก FAO Headquarter, Rome, Italy) มีบทบาทส�ำคัญในพัฒนาระบบการเฝ้าระวังเช้ือด้ือยาและสร้างห้อง ปฏิบัติการเช้ือด้ือยาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผลงานได้ถูกน�ำไปใช้ประโยชน ์ ท้ังในเชิงชุมชน สังคมและวิชาการ ได้แก่ การแก้ปัญหาเชื้อด้ือยาในประเทศไทยและ ภูมิภาคฯ ประกอบการพัฒนาร่างแนวทางการเฝ้าระวังเชื้อด้ือยาในแบคทีเรียที่แยกจาก สัตว์ท่ีเลี้ยงเพ่ือการบริโภคและผลิตภัณฑ์ ประกอบการประเมินระบบการเฝ้าระวังและ หอ้ งปฏบิ ตั ิการเชอื้ ดื้อยาแห่งชาตใิ นภมู ภิ าคฯ ให้คำ� ปรึกษาแกค่ ณะกรรมการและหน่วยงาน ที่เก่ียวข้องระดับชาติและนานาชาติ ได้มีข้อเสนอแนะส�ำหรับการวางนโยบาย พัฒนาและ แก้ไขปัญหาเช้อื ดือ้ ยาของประเทศดงั นี้ การแกป้ ญั หาเชื้อด้อื ยาตอ้ งเป็นแบบบรู ณาการและ ท�ำอยา่ งเป็นระบบ ตามหลกั การสขุ ภาพหนงึ่ เดียว โดยการใช้ยาตา้ นจลุ ชพี อย่างสมเหตุผล เป็นทางออกท่ีดีในการรักษาสมดุลระหว่างการใช้ยาต้านจุลชีพและเช้ือด้ือยา ควรม ี การศึกษาสารอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ยาต้านจุลชีพท่ีสามารถท�ำให้เกิดและแพร่กระจายเช้ือดื้อยา นอกจากน้ีผลงานวิจัยสามารถต่อยอดท้ังในเชิงสังคมและเชิงพาณิชย์ ได้แก่ การพัฒนา แผนแก้ปัญหาเชื้อด้ือยาแบบบูรณาการ การพัฒนาการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาระดับพันธุกรรม ด้วยเทคนิค Next generation sequencing การผลิตชุดตรวจเช้ือดื้อยาแบบรวดเร็ว การศึกษาสารทดแทนยาต้านจุลชีพในการเล้ียงสัตว์ และการศึกษาสารยับย้ังการถ่ายทอด ตวั ระบุการดือ้ ยา ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รติบคุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 347

กล้องจุลทรรศน์เป็นอุปกรณ์ส�ำคัญเพ่ือใช้ถ่ายภาพวัตถุขนาดเล็กที่ไม่สามารถมองเห็น ด้วยตามเปล่า อย่างไรก็ตามกล้องจุลทรรศน์แสงต้องน�ำเข้ามาจากต่างประเทศและมี ราคาแพง การดูแลรักษาซ่อมแซมมีค่าใช้จ่ายสูง ท�ำให้หน่วยงานและผู้คนในประเทศไทย ทต่ี อ้ งการใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศนไ์ มส่ ามารถเขา้ ถงึ เครอ่ื งมอื ได้ ทำ� ใหเ้ สยี โอกาสในดา้ นการศกึ ษา การเรียนรู้ การพัฒนางานวิจัย ไปจนถึงการเสียโอกาสทางธุรกิจ คณะนักวิจัยของหน่วย ปฏิบัติการวิจัยอุปกรณ์รับรู้ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักวิจัยจากบริษัท เลนส์ แอนด์ สมาร์ทคลาสรูม จ�ำกัด ได้ร่วมกันพัฒนาชุดอุปกรณ์ ส�ำหรบั ใชร้ ่วมกับกล้องของสมาร์ตโฟน สามารถเปล่ียนศกั ยภาพการถ่ายรูปของสมารต์ โฟน ให้เป็นกล้องจุลทรรศน์ดิจิตัลแบบพกพา เมื่อขยายเพิ่มด้วยฟังก์ชันดิจิตอลซูมจะท�ำให้ได้ ภาพถ่ายท่ีมีก�ำลังขยายสูงถึง ๕๐๐ เท่า ศักยภาพการบันทึกภาพไมโครสโคปด้วยก�ำลัง ขยายปานกลางในราคาท่ีจับต้องได้น้ี ตอบโจทย์วัตถุประสงค์ท่ีหลากหลายของบุคคล ท่ีต้องการข้อมูลจากภาพถ่ายไมโครสโคป ลดช่องว่างทางการศึกษา ส่งเสริมศักยภาพ ในการพฒั นาธุรกิจ และช่วยลดตน้ ทนุ การนำ� เข้ากลอ้ งจลุ ทรรศน์ การบันทกึ ภาพดว้ ยกล้อง จุลทรรศน์สมาร์ตโฟนสท�ำได้โดยใช้แอพพลิเคชันกล้องถ่ายรูปของสมาร์ตโฟน เพ่ือบันทึก ภาพในรูปแบบภาพนิ่ง วิดิโอ Slow-Motion Video และ Time-Lapse Video โดย ไม่จ�ำเป็นต้องซื้อซอฟท์แวร์เพิ่มเติม การใช้ประโยชน์ทางธุรกิจสามารถด�ำเนินการได้อย่าง เต็มประสิทธิภาพผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและฐานข้อมูลที่สามารถเข้าถึงได้ทุกท่ี ทกุ เวลา คณะนักวิจัยไดพ้ ฒั นาชุดอปุ กรณ์กลอ้ งจลุ ทรรศน์สมารต์ โฟนพร้อมกบั การทดสอบ ศักยภาพการท�ำงาน การพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเน่ืองท�ำให้ชุดอุปกรณ์กล้องจุลทรรศน ์ สมาร์ตโฟนมีความพรอ้ มเชิงพาณชิ ย์ โดยบริษัท เลนส์ แอนด์ สมารท์ คลาสรูม จำ� กดั เปน็ ผู้ผลิตและจัดจ�ำหน่าย โดยขอใช้สิทธิจากส�ำนักงานทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 348 ยกย่องเชิดชูเกยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook