Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือรางวัลยกย่องจุฬา 2562

หนังสือรางวัลยกย่องจุฬา 2562

Published by Research Chula, 2019-09-12 10:38:21

Description: หนังสือรางวัลยกย่องจุฬา 2562

Search

Read the Text Version

ผลงานวิจัยโดยสรุป การพัฒนาชุดอักษรโรมันเพื่อเสริมทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอาหรับของผู้เรียน ชาวไทย มวี ตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื ๑. พฒั นาชุดอกั ษรโรมันสำ� หรับใชใ้ นการเรียนการสอนภาษาอาหรับ ๒. วเิ คราะห์ผลการอ่านออกเสียงภาษาอาหรบั ของผ้เู รยี นหลังใชช้ ุดอักษรโรมนั ที่ได้รบั การพฒั นา การวจิ ัยแบง่ ออกเปน็ ๒ ระยะ คอื การพฒั นาชุดอักษรโรมัน และการทดลองใช้กับผเู้ รยี น ในระยะแรกเป็นการพัฒนาชุดอักษรโรมัน ผู้วิจัยได้ศึกษาข้อมูลเชิงเอกสารเพื่อวิเคราะห์ ลกั ษณะและการใช้ชดุ อกั ษรโรมนั ของ IPA, BGN/PCGN, UNGEGN, ALA-LC, EI, Wehr, EALL, BS, DIN, ISO 223, ISO 223-2, ArabTeX, SAS, BATR, Royal Society และ Chat พบวา่ ชดุ อกั ษรโรมนั แตล่ ะแบบนนั้ พฒั นาขนึ้ มาโดยมวี ตั ถปุ ระสงคก์ ารใชท้ ต่ี า่ งกนั มลี กั ษณะแตกตา่ งกนั ไปตามพน้ื ฐานทางภาษาของผพู้ ฒั นา ชดุ อกั ษรโรมนั แตล่ ะแบบมกี ารใชอ้ กั ษรรว่ มกนั ถงึ ๑๓ อกั ษร ไดแ้ ก่ b, t, d, r, z, s, f, q, k, l, m, n, h ส่วนอกั ษรอน่ื ๆ มีการปรบั ปรงุ ดัดแปลงให้แตกต่างไป จากอักษรพนื้ ฐาน โดยการเพ่มิ สทั สัญลักษณเ์ ขา้ ไป ก�ำหนดเป็นอักษรพมิ พเ์ ล็ก-พิมพ์ใหญ่ และใช้ อกั ษรทีม่ ลี กั ษณะทางสัทศาสตรท์ ีใ่ กลเ้ คียงกนั การถอดคำ� ภาษาอาหรับเป็นอักษรโรมนั ของแต่ละ ส�ำนักส่วนใหญ่เป็นการทับศัพท์ (transliteration) มีเพียง IPA เท่านั้นที่เป็นการถอดเสียง (transcription) หลังจากน้ัน ผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ เจาะจง (purposive sampling) จากผู้เรียนภาษาอาหรับระดับต้นท่ีสามารถอ่านภาษาอังกฤษ หรือภาษาที่ใช้อักษรโรมันเป็นตัวเขียนได้ ซ่ึงประกอบไปด้วยผู้เรียนในระดับมหาวิทยาลัย และ ผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษา จ�ำนวน ๕๐๔ คน ใช้แบบสอบถามเพื่อหาอักษรโรมันท่ีใช้แทนเสียง พยญั ชนะในตำ� แหนง่ ตน้ พยางคแ์ ละทา้ ยพยางคร์ วมทง้ั เสยี งสระ โดยจดั ลำ� ดบั คำ� ทมี่ เี สยี งคลา้ ยกนั ให้อยู่ใกล้กัน ผู้วิจัยเปิดไฟล์เสียงเจ้าของภาษาขณะท�ำแบบสอบถาม ผู้เรียนส่วนใหญ่เลือก อักษรที่มีลักษณะใกล้เคียงกับอักษรท่ีใช้สะกดค�ำในภาษาอังกฤษ ซ่ึงเป็นอักษรท่ีเรียบง่าย ไม่มี สัทสัญลักษณ์เป็นส่วนประกอบ ผู้วิจัยน�ำผลจากแบบสอบถามไปทดสอบทางสถิติเพื่อหาความ สมั พนั ธโ์ ดยใชส้ ถติ นิ อนพารามเิ ตอร์ (Nonparametric Statistics) ทดสอบไค-สแควร์ (Chi-square test) โดยมีระดับนัยส�ำคัญท่ี .๐๑ ผลปรากฏว่าตวั เลอื กท่ไี ด้รบั เลอื กมากทส่ี ดุ ของแต่ละเสียงนั้นมี คะแนนแตกตา่ งจากตวั เลอื กอนื่ ๆ เมอ่ื ไดข้ อ้ มลู จากข้นั ตอนนแี้ ล้ว ผู้วจิ ัยไดก้ �ำหนดชดุ อกั ษรโรมัน โดยอิงจากผลแบบสอบถามเป็นหลัก และมีการปรับการใช้อักษรและสัญลักษณ์แทนเสียง /ʔ/ โดยไม่มกี ารกำ� หนดอักษรแทนเสยี ง /ʔ/ ในตำ� แหนง่ ต้น และใช้สญั ลกั ษณ์ ’ ในตำ� แหน่งท้าย สว่ น ยกย่องเชดิ ชเู กยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 549

อักษรอน่ื ๆ ทใ่ี ชแ้ ทนตง้ั แต่อักษร ‫ ب‬ถงึ อักษร ‫ ي‬มดี ังนี้ /b/ = b, /t/ = t, /θ/ = th, /d͡ ʒ/ = j, /ħ/ = H, /x/ = kh, /d/ = d, /ð/ = dz, /r/ = r, /z/ = z, /s/ = s, /ʃ/ = sh, /sˤ/ = S, / dˤ/ = D, /tˤ/ = T, /ðˤ/ = Dz, /ʕ/ = A, /ɣ/ = gh, /f/ = f, /q/ = q, /k/ = k, /l/ = l, /m/ = m, /n/ = n, /h/ = h, /w/ = w, /j/ = y เสียงสระไดแ้ ก่ /a/ = a, /a:/ = aa, /i/ = i, /i:/ = ee, /u/ = u, /u:/ = oo ลำ� ดับตอ่ ไปเปน็ การทดสอบประสิทธภิ าพของชุดอกั ษรโรมนั ในการ แทนเสยี งภาษาอาหรับ โดยใชอ้ ักษรโรมนั เขียนคำ� ภาษาอาหรบั และให้ผู้ท�ำแบบทดสอบเขียนค�ำ ตอบเป็นอักษรอาหรับ ผู้วิจัยได้เลือกกลุ่มตัวอย่างที่สามารถอ่านและเขียนภาษาอาหรับได้ มี ประสบการณ์เรียนภาษาอาหรับมาแล้วไม่ต่�ำกว่า ๒ ปี จากผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาและ มหาวิทยาลยั จำ� นวน ๔๒ คน การทดสอบเริ่มจากคำ� ระดบั ๑ พยางค์ ผู้ท�ำแบบทดสอบสามารถ ตอบคำ� ถามไดถ้ กู ต้องอยู่ในเกณฑ์ดีเยย่ี ม โดยมีคะแนนเฉลย่ี มากกวา่ รอ้ ยละ ๙๐ หลังจากนั้นจึง ท�ำการทดสอบประสิทธิภาพในระดับค�ำที่มากกว่า ๑ พยางค์ ผู้วิจัยใช้ค�ำประดิษฐ์ที่ไม่มีอยู่ใน พจนานุกรมเป็นค�ำทดสอบ ในครั้งแรกผู้ท�ำแบบทดสอบตอบถูกเพียงร้อยละ ๖๖ แต่หลังจาก ปรับปรุงรูปแบบการใช้ชุดอักษรแล้ว การทดสอบในครั้งที่ ๒ ผู้ทดสอบสามารถตอบได้ถูกต้อง มากกว่ารอ้ ยละ ๘๐ เมื่อชดุ อักษรโรมันผ่านการทดสอบแล้ว ผู้วจิ ัยก็ไดก้ ำ� หนดระเบยี บวิธกี ารใช้ แล้วน�ำเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ ๗ คน ประกอบไปด้วยชาวไทยและชาวอาหรับ เพื่อพิจารณาความ เหมาะสม และรับรองความถกู ต้อง ระยะท่ีสอง เปน็ การนำ� ชดุ อักษรโรมนั ที่พฒั นาเสรจ็ แลว้ ไปทดลองใชก้ ับผเู้ รยี นภาษาอาหรับ ระดบั ต้น กล่มุ ตัวอย่างท่ใี ชเ้ ปน็ นิสิตจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัยท่เี รยี นรายวิชาสนทนาภาษาอาหรบั ๑ จ�ำนวน ๒๙ คน โดยแบง่ กลมุ่ ตัวอย่างออกเป็น ๒ กล่มุ กล่มุ ละ ๑๔ คน และ ๑๕ คน ตามลำ� ดบั ผู้วิจัยได้ด�ำเนินการวิจัยเชิงทดลอง มีการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนเป็นระยะ เก็บข้อมูล และเปรยี บเทยี บผลการอา่ นออกเสยี งของทงั้ สองกลมุ่ โดยทดสอบการอา่ นออกเสยี งภาษาอาหรบั กอ่ นเรยี น ๑ คร้งั และหลังเรียน ๔ คร้ัง เป็นระยะเวลา ๕ สปั ดาห์ ค�ำที่ใช้ทดสอบในแตล่ ะคร้งั ประกอบไปดว้ ยคำ� ท่เี รียนในคาบเรียน คำ� ที่อยูใ่ นเน้ือหาแต่ยังไมไ่ ดเ้ รยี น และค�ำท่ีอยูน่ อกเนอื้ หา ผู้วิจัยท�ำการบันทึกเสียงขณะทดสอบ และส่งไฟล์เสียงให้ผู้เช่ียวชาญ ๓ ท่านตรวจสอบความ ถูกต้องในการออกเสียง น�ำผลที่ได้ไปวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยผลการเรียนในแต่ละคร้ังของ แต่ละกลุ่มโดยใช้สถิติ t-test ผลของการศึกษาในระยะท่ีสองนี้พบว่าการน�ำอักษรโรมันไปใช้ใน การเรยี นการสอนภาษาอาหรบั ระดบั ตน้ มสี ว่ นชว่ ยในการพฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเสยี งของผเู้ รยี น 550 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ท่ีไมม่ ีพน้ื ฐานมาก่อนอย่างเห็นไดช้ ัด ผเู้ รียนสามารถอ่านคำ� ภาษาอาหรบั ได้มากกวา่ ออกเสียงได้ ถกู ตอ้ งมากกวา่ และใชเ้ วลาในการเรยี นรนู้ อ้ ยกวา่ กลมุ่ ทไ่ี มไ่ ดใ้ ชช้ ดุ อกั ษรโรมนั ในการเรยี นการสอน สง่ิ ทด่ี เี ดน่ ของงานวิจัย งานวจิ ัยเรื่อง “การพฒั นาชุดอักษรโรมนั เพ่ือเสริมทกั ษะการอ่านออกเสียงภาษาอาหรบั ของ ผ้เู รียนชาวไทย” เปน็ การศกึ ษาดา้ นภาษาศาสตร์ ภาษาอาหรับ และศึกษาศาสตร์ มีลักษณะเป็น งานวิจัยและพัฒนาที่ต่อเน่ืองด้วยการวิจัยในช้ันเรียน ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและ เชงิ ปรมิ าณ มกี ระบวนการศกึ ษา การทดสอบ การตรวจสอบ และการรบั รองหลายข้นั ตอน จนได้ มาซ่ึงความรู้ทีน่ ำ� ไปสกู่ ารสร้างนวตั กรรมดา้ นการเรียนการสอน ชุดอกั ษรโรมันน้ใี ชไ้ ดด้ กี บั หนังสือ เรยี นภาษาอาหรบั ระดบั ตน้ และแบบเรยี นเร็ว ปัจจุบันนำ� ไปใชเ้ ปน็ คำ� อ่านภาษาอาหรับในเอกสาร ประกอบการเรียนการสอนท่ีใช้สอนนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบุคคลภายนอก ใช้กับ หลกั สตู รออนไลน์ CHULA MOOC และยงั นำ� ไปใช้ในสถาบนั อืน่ ๆ ท่ีสอนภาษาอาหรบั ซ่ึงกไ็ ด้รับ การตอบรับเป็นอย่างดี ท�ำให้การเรียนการสอนภาษาอาหรับเป็นเร่ืองท่ีง่ายข้ึน ชุดอักษรโรมันน ี้ มิได้จ�ำกัดการใช้กับคนไทยเท่านั้น แต่ยังสามารถน�ำไปใช้กับชาวต่างชาติได้อีกด้วย เนื่องจากมี ลกั ษณะเรยี บงา่ ย การสะกดคำ� ทใี่ กลเ้ คยี งกบั ภาษาองั กฤษซง่ึ เปน็ ภาษาสากล ชดุ อกั ษรโรมนั นผ้ี า่ น การพิสูจน์แล้วว่าช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการเรียนการสอนภาษาอาหรับได้เป็นอย่างดี นับเป็น สิ่งส�ำคัญท่ีน�ำพาการเรียนการสอนภาษาอาหรับก้าวเข้าสู่ศตวรรษใหม่ไปพร้อมกับจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ผู้วิจัยจึงได้ตั้งชื่อชุดอักษรโรมันระบบใหม่น้ีว่า Chula ๑๐๐ เพื่อเป็นเกียรติแก่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย เนอ่ื งในโอกาสครบรอบ ๑๐๐ ปแี หง่ การสถาปนา สถานที่ตดิ ตอ่ ภาควิชาภาษาตะวนั ออก คณะอักษรศาสตร์ โทรศัพท์ ๐-๒๒๑๘-๔๗๓๙ โทรสาร ๐-๒๒๑๘-๔๗๔๐ E-mail: [email protected] ยกย่องเชดิ ชเู กียรติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 551

รางวัลผลงานวิจยั ดีเดน่ นสิ ติ ดุษฎีบัณฑิต ผลงานวจิ ยั เรื่อง การพฒั นาอปุ กรณแ์ บบงา่ ยใช้ ณ จดุ ดแู ลผปู้ ว่ ย สำ� หรบั ตรวจคดั กรองการตดิ เชอ้ื แบคทเี รยี และกล่มุ ของสารช้บี ่งการอกั เสบ Development of Simple Devices for Point-of-Care Screening of Bacterial Infection and Inflammatory Markers โดย ดร.จุฬาลกั ษณ์ นอ้ ยพว่ ง อาจารย์ทป่ี รกึ ษาหลกั ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วนิดา หลายวฒั นไพศาล ภาควชิ าเคมคี ลนิ ิก คณะสหเวชศาสตร์ แหลง่ ทนุ ท่ไี ดร้ ับ โครงการปรญิ ญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) ทุน ๙๐ ปี จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั กองทนุ รชั ดาภเิ ษกสมโภช ทุนวิจัยจากเงินทนุ วจิ ยั กองทนุ คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 552 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ผลงานวจิ ยั โดยสรปุ ในประเทศก�ำลังพัฒนา อุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์ฐานกระดาษมีประโยชน์อย่างมาก สำ� หรบั ใชเ้ พม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการวนิ จิ ฉยั ทางการแพทย์ วทิ ยานพิ นธฉ์ บบั นเี้ นน้ การประยกุ ต์ ใช้อุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์ฐานกระดาษส�ำหรับตรวจหาสารชีวเคมีและเชื้อก่อโรค จากสาร คัดหล่ังในร่างกายมนุษย์ซ่ึงได้แก่ น้�ำลาย ปัสสาวะ อุปกรณ์ดังกล่าวมีประโยชน์ส�ำหรับใช้ ตรวจคัดกรองในผู้ป่วย โดยเฉพาะในพ้ืนที่ห่างไกลท่ีขาดแคลนอุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์ทาง หอ้ งปฎบิ ตั ิการที่ทันสมยั งานวจิ ยั นแี้ บง่ ออกเปน็ สามสว่ นหลกั คอื ส่วนแรกเป็นการศึกษา ผลกระทบของความหนืดบนอุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์ฐานกระดาษ ส�ำหรับวัดค่าพีเอซและ ไนไตรท์ ในนำ�้ ลายมนษุ ย์ โดยผลการศกึ ษาเบอ้ื งตน้ พบวา่ ความหนดื ของนำ้� ลายทแ่ี ตกตา่ งกนั มีผลต่อการสร้างกราฟมาตรฐานในการตรวจไนไตร์ทอย่างมีนัยส�ำคัญ และกราฟที่สร้าง ได้มีความคงตัวหลังจากเติมบัฟเฟอร์เพื่อชะไนไตร์ท ค่าไนไตร์ทที่วัดได้ในน้�ำลายเทียมที่มี ช่วงความหนืด ๑.๘๗ ถึง ๕.๑๐ มลิ ลปิ าสคาลต่อวินาที มีความสอดคล้องกบั ค่าท่ีวัดไดโ้ ดย วธิ ีมาตรฐานจากเคร่ืองสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ (p=0.8484, paired t-test, n=20) นอกจาก นี้ค่าพีเอซที่วัดได้จากน้�ำลายท่ีมีความหนืดแตกต่างกันยังสอดคล้องกับค่าพีเอซที่วัดได ้ จากเครอื่ งพเี อซมเิ ตอร์ อปุ กรณช์ นิ้ นมี้ ปี ระโยชนส์ ำ� หรบั ใชใ้ นการตรวจคดั กรองความผดิ ปกติ ในช่องปากได้ และการเพ่ิมขั้นตอนการชะด้วยบัฟเฟอร์สามารถช่วยลดความคลาดเคลื่อน ของผลการตรวจวิเคราะห์ที่เกิดจากความหนืดที่แตกต่างกันของน�้ำลายมนุษย์ ส่วนที่สอง เป็นการพัฒนาอุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์ฐานกระดาษส�ำหรับวัดเอนไซม์เอสเทอเรสจาก เม็ดเลือดขาวเชิงปริมาณ โดยวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของสารปฏิกิริยาท่ีเกิดขึ้น เส้นผ่าน ศูนย์กลางที่วัดได้แปรผันโดยตรงกับความเข้มข้นของเอนไซม์ดังกล่าวและมีช่วงค่าเอนไซม์ ทว่ี ดั ได้อยูใ่ นชว่ ง ๐.๔ ถึง ๘ มลิ ลิยูนิตต่อมลิ ลลิ ิตร ซง่ึ มคี วามตา่ งกันถึง ๒๐ เทา่ และช่วง ดังกล่าวสอดคล้องกับช่วงค่าที่ใช้ในการวินิจฉัยทางคลินิก เมื่อน�ำอุปกรณ์ที่พัฒนาได้มาใช้ วิเคราะห์ปริมาณเอนไซม์ในปัสสาวะ พบว่าเส้นผ่านศูนย์กลางท่ีวัดได้จากตัวอย่างปัสสาวะ และเอนไซมม์ าตรฐานไมแ่ ตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สำ� คญั และยงั สอดคลอ้ งกบั การอา่ นคา่ โดยใช้ แถบตรวจมาตรฐาน นอกจากนี้วิธีท่ีพัฒนาขึ้นยังสามารถลดการรบกวนจากสีของปัสสาวะ ท่ีส่งผลต่อการวัดโดยการเทียบสี ส่วนสุดท้ายเป็นการพัฒนาอุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์ฐาน ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 553

กระดาษส�ำหรับตรวจหาไนไตร์ทและเพาะเชื้อแบคทีเรียท่ีมีต้นทุนต�่ำและเคล่ือนย้ายได้ง่าย ค่าช่วงไนไตร์ทท่ีวัดได้โดยใช้อุปกรณ์ดังกล่าวอยู่ในช่วง ๐ ถึง ๑.๖ มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร (R2=0.989) และจำ� แนกเชือ้ ชนดิ เอสเชอรเิ ชียโคไล จากการสรา้ งเอนไซมเ์ บตา้ กลูคูโรนิเดส ท่จี �ำเพาะกับซับสเตรท 5-bromo-4-chloro-3-indolyl-ß-D-glucuronide sodium salt ด้วยหลักการดังกล่าวจ�ำนวนเช้ือแบคทีเรียท่ีนับได้อยู่ ในช่วง ๑๐๔ ถึง ๑๐๗ โคโลนีต่อ มิลลิลิตรและเม่ือทดสอบกับตัวอย่างปัสสาวะพบว่าอุปกรณ์ดังกล่าวมีความจ�ำพาะในการ จ�ำแนกเช้ือชนิดเอสเชอริเชียโคไลออกจากเชื้อแบคทีเรียชนิดอื่นท่ีสามารถก่อให้เกิดโรค ในระบบทางเดินปัสสาวะได้ อุปกรณ์ช้ินน้ีมีประโยชน์ส�ำหรับใช้ในการตรวจคัดกรองการ ติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ ซึ่งการติดเชื้อในระบบดังกล่าวพบได้เป็นอันดับต้น ๆ ที่ ท�ำให้ก่อให้เกิดความเจ็บป่วยและสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาโรค อีกทั้งการใช้อุปกรณ ์ ตรวจวิเคราะห์ดังกล่าวจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการคัดกรองโรคและการเลือกยา ปฏชิ ีวนะในการรกั ษาไดเ้ ป็นอยา่ งดี สิ่งที่ดเี ดน่ ของงานวจิ ยั งานวิจัยน้ีเน้นการประยุกต์ใช้อุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์ฐานกระดาษ ส�ำหรับตรวจหา สารชีวเคมีและเช้ือก่อโรค จากสารคัดหลง่ั ในร่างกายมนุษย์ซึ่งได้แก่ น้ำ� ลาย ปัสสาวะ การใช้ ตัวอย่างดังกล่าวช่วยลดการบาดเจ็บ จากการเจาะเลือดได้ การใช้อุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์ ส�ำหรับตรวจในน�้ำลายนั้นสามารถช่วยในการตรวจคัดกรองการอักเสบและความผิดปกต ิ ในช่องปากได้ ส�ำหรับอุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์ในตัวอย่างปัสสาวะท้ังในส่วนของการตรวจ ปรมิ าณไนไตรท์ , การตรวจเอนไซมเ์ อสเทอเรสจากเมด็ เลอื ดขาว, การเพาะและจ�ำแนกเชื้อ แบคทเี รียท่กี ่อโรคในระบบทางเดนิ ปสั สาวะ มีประโยชน์สำ� หรับใชใ้ นการตรวจคัดกรองการ ติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะได้เป็นอย่างดีโดยเฉพาะในบ้านพักคนชราหรือในพื้นท่ี ชนบทท่ีห่างไกล นอกจากน้ีอุปกรณ์ที่พัฒนาข้ึนท้ัง ๓ ชิ้นมีโอกาสที่จะต่อยอดเพื่อน�ำไป ผลิตและใช้ในเชิงพานิชย์ได้ จากที่กล่าวมาข้างต้นอุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์ที่พัฒนาข้ึนน้ัน มี ประโยชน์อย่างมากส�ำหรับประเทศก�ำลังพัฒนา เนื่องจากสามารถใช้ตรวจภาคสนามได้, รายงานผลการทดสอบได้รวดเร็ว, มีต้นทุนในการผลิตต�่ำและวัสดุท่ีใช้ยังส่งผลกระทบต่อ 554 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรตบิ ุคลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ส่ิงแวดล้อมน้อย โดยงานวิจัยบางส่วนในวิทยานิพนธ์ได้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับ นานาชาตทิ มี่ มี าตรฐานและไดร้ บั การยอมรบั ซง่ึ ไดแ้ ก่ วารสาร Theranostics และ Scientific Reports เปน็ ที่เรียบรอ้ ย สถานทีต่ ดิ ตอ่ ภาควิชาเคมีคลินิก คณะสหเวชศาสตร์ โทรศพั ท์ ๐๙-๐๙๗๒-๑๕๗๒ โทรสาร ๐-๒๒๑๘-๑๐๘๒ E-mail: [email protected] ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 555

รางวัลผลงานวิจัยดเี ด่น นสิ ิตดษุ ฎบี ัณฑิต ผลงานวิจัยเร่ือง กลไกของสารสกดั สมุนไพรไทยในการออกฤทธ์ติ า้ นความเปน็ พิษของกลตู าเมต ต่อเซลลป์ ระสาท Mechanisms of Thai Medicinal Plant Extracts on The Attenuation of Glutamate-Mediated Neurotoxicity โดย อาจารย์ ดร.อญั ชลี ประสารสขุ ลาภ อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาหลัก ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เทวิน เทนค�ำเนาว์ ภาควิชาเคมีคลนิ ิก คณะสหเวชศาสตร์ แหลง่ ทนุ ทไี่ ด้รับ (๑) ทุนโครงการพฒั นามหาวทิ ยาลยั วิจัยแหง่ ชาติ ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๗ (๒) ทุน ๙๐ ปี จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย (๓) ทุนอดุ หนุนการศกึ ษาระดับบัณฑติ ศึกษาจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพอื่ เฉลิมฉลองวโรกาสท่ี พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัวทรงเจรญิ พระชนมายคุ รบ ๗๒ พรรษา (๔) ทนุ สนบั สนนุ นิสิตระดับปริญญาเอกและโทไปทำ� วจิ ัยในต่างประเทศ จาก ทนุ เสรมิ รากฐานการวิจยั กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช และบณั ฑิตวทิ ยาลยั จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 556 ยกย่องเชิดชเู กยี รตบิ ุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ผลงานวจิ ัยโดยสรปุ อตั ราการเกดิ ของโรคในกลมุ่ โรคทเี่ กดิ ความเสอื่ มทางระบบประสาท โดยเฉพาะโรคอลั ไซเมอร์นั้นมีแนวโน้มที่เพ่ิมสูงมากข้ึนเรื่อยๆ ซึ่งปัจจัยหนึ่งน้ันมาจากการเพ่ิมจ�ำนวนของ ประชากรสงู อายทุ ว่ั โลก อยา่ งไรกต็ าม ปจั จบุ นั ยงั ไมม่ วี ธิ กี ารรกั ษาใหห้ ายขาดจากโรคในกลมุ่ น้ไี ด้ การรักษาด้วยสมนุ ไพรอาจเปน็ หนึ่งในการแพทยท์ างเลือกท่มี ปี ระสทิ ธิภาพสำ� หรบั โรค ท่ีเกดิ จากความเสื่อมของระบบประสาท ซ่ึงประเทศไทยนั้นอุดมไปดว้ ยทรพั ยากรธรรมชาติ รวมถึงพืชสมุนไพรนานาชนิดที่ยังไม่ได้รับการศึกษาถึงประโยชน์อย่างชัดเจน รายงานก่อน หน้าน้ีพบว่าความผิดปกติของระบบสารส่ือประสาทกลูตาเมตเกี่ยวข้องกับการเกิดพยาธิ สภาพของโรค โดยภาวะท่ีปริมาณกลตู าเมตภายนอกเซลล์สูงมากผดิ ปกตินน้ั สามารถน�ำไป สกู่ ารตายของเซลลป์ ระสาทได้ ดงั นนั้ การศกึ ษาในครง้ั น้ี จงึ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ศกึ ษาฤทธแิ์ ละ กลไกการออกฤทธข์ิ องสารสกดั หยาบจากสมนุ ไพรในการปกปอ้ งการตายของเซลลป์ ระสาท จากภาวะเครยี ดออกซเิ ดชันทีถ่ กู เหนีย่ วน�ำด้วยกลูตาเมต ซ่ึงภาวะดังกล่าวเป็นปัจจยั สำ� คัญ ต่อการลดจ�ำนวนลงของเซลล์ประสาท รวมถึงเพื่อประเมินฤทธ์ิต้านความชราของสารสกัด ดว้ ย โดยคณะผวู้ จิ ยั ไดเ้ ลอื กศกึ ษาพชื สมนุ ไพรไทยจำ� นวน ๕ ชนดิ คอื ยอ ผกั ปยู่ า่ หญา้ หวาน เหงอื กปลาหมอ และขอ่ ย และไดท้ ำ� การประเมนิ ฤทธขิ์ องสารสกดั หยาบจากพชื สมนุ ไพรไทย ในการต้านภาวะเครียดออกซิเดชันและปกป้องการตายของเซลล์จากพิษกลูตาเมต ด้วย เทคนคิ การตรวจวัดดูความมีชีวติ ของเซลล์ การตายของเซลล์แบบอะพอพโทซิส และระดับ ของอนูมลู อสิ ระ ในเซลลป์ ระสาทชนิด HT-22 ซง่ึ เปน็ เซลล์แบบจำ� ลองสำ� หรบั การทดสอบ ภาวะความเปน็ พิษกลตู าเมต อีกทัง้ ไดท้ ำ� การศึกษากลไกการออกฤทธโ์ิ ดยการวิเคราะห์การ แสดงออกของยีนที่สนใจในระดับอาร์เอ็นเอและโปรตีนด้วยการทดสอบอิมมูโนฟลูออเรส เซนต์ เทคนิคเวสเทิร์นบลอท และเทคนิคการท�ำปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรสเรียลไทม์แบบ ถอดรหสั ยอ้ นกลบั ทำ� การประเมนิ ฤทธติ์ า้ นความชราดว้ ยการทดสอบอายขุ ยั ของหนอนพยาธิ ตัวกลม C. elegans รวมถึงท�ำการวิเคราะห์สารพฤกษเคมีและการสกัดแยกย่อยสารสกัด หยาบโดยใชก้ รดหรอื เบส เพอ่ื ตรวจสอบถงึ คณุ ลกั ษณะของสารออกฤทธสิ์ ำ� คญั ในพชื สมนุ ไพร ผลการศกึ ษาพบวา่ เหงอื กปลาหมอและข่อยสามารถออกฤทธไิ์ ดด้ ที สี่ ุดจากสมุนไพรทัง้ หมด 5 ชนดิ โดยสารสกดั หยาบเอทานอลจากใบเหงอื กปลาหมอและขอ่ ยสามารถลดการตายของ ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รตบิ คุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 557

เซลลป์ ระสาทจากพษิ กลตู าเมตไดต้ ามความเขม้ ขน้ ของสารทเ่ี พม่ิ ขนึ้ อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ิ โดยพบว่าสารสกัดนั้นไปยับยั้งที่การตายของเซลล์แบบอะพอพโตซิสซ่ึงถูกชักน�ำโดย ตัวกระตุ้นอะพอพโตซิส AIF นอกจากนี้ สารสกัดทั้งสองยังสามารถไปลดการเกิด อนุมูลอิสระภายในเซลล์ที่เกิดจากการเหน่ียวน�ำของกลูตาเมต และยังเพ่ิมการแสดงออก ในระดับอาร์เอ็นเอและโปรตีนของยีนทรานสคริปชันแฟคเตอร์ Nrf2 รวมถึงยีนต้าน อนุมูลอิสระต่าง ๆ ท่ีอยู่ภายใต้การควบคุมของ Nrf2 ได้อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ อีกท้ัง สารสกดั จากใบข่อยยังสามารถเพม่ิ อายุขัยของหนอนพยาธิ C. elegans ได้ด้วย คณะผู้วิจัย พบว่า สารพฤกษเคมีส�ำคัญท่ีคาดว่าน่าจะออกฤทธิ์ปกป้องเซลล์ในการศึกษาครั้งน้ี คือ สาร verbascoside ในใบเหงือกปลาหมอและสาร carnosic acid ในใบข่อย อยา่ งไรกด็ ี เม่ือท�ำได้การสกัดแยกย่อยสารสกัดหยาบเอทานอลจากใบข่อยตามความเป็นกลาง กรด และเบสของสารพฤกษเคมี พบว่าสารสกัดย่อยที่เป็นกลางสามารถออกฤทธ์ิในการปกป้อง เซลล์จากพิษกลูตาเมตได้ดีท่ีสุด ในขณะท่ีสารสกัดย่อยท่ีเป็นกรดสามารถออกฤทธิ์ต้าน อนมุ ลู อสิ ระไดด้ ที ส่ี ดุ นอกจากนยี้ งั พบวา่ ในสารสกดั ยอ่ ยทเ่ี ปน็ กลางและกรดมสี ารพฤกษเคมี อย่างน้อย ๑ ชนิดที่มีฤทธ์ิต้านเอนไซม์อะเซทิลโคลินเอสเตอเรสได้ จากผลการศึกษา ท้ังหมดคณะผู้วิจัยสรุปว่า สารสกัดหยาบเอทานอลจากใบเหงือกปลาหมอและข่อยมีฤทธ์ิ ทั้งในการปกป้องเซลล์ประสาทและการต้านความชรา และเป็นแหล่งของสารส�ำคัญซึ่งอาจ น�ำมาพัฒนาเป็นยาทางเลือกใหม่ในการรักษากลุ่มโรคที่เกิดความเส่ือมทางระบบประสาท ตอ่ ไปได้ในอนาคต ส่ิงทด่ี เี ดน่ ของงานวิจยั (๑) ผลงานวจิ ยั จากวทิ ยานพิ นธฉ์ บบั นมี้ ปี ระโยชนใ์ นเชงิ วชิ าการ โดยไดร้ บั การตพี มิ พ์ เผยแพรแ่ บบบทความวจิ ยั ในวารสารระดบั นานาชาติ Tier1 จ�ำนวน ๓ บทความ และแบบ บทความปรทิ ศั นใ์ นวารสารระดับนานาชาติ Q1 จ�ำนวน ๑ บทความ (๒) ผลงานวิจัยจากวิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นงานวิจัยพื้นฐานท่ีมีศักยภาพสูงสามารถ ตอ่ ยอดเพอ่ื นำ� ไปใชป้ ระโยชน์ในเชงิ พาณชิ ย์ได้ โดยเป็นการเพ่มิ มูลค่าให้กบั พืชสมนุ ไพรไทย 558 ยกย่องเชดิ ชูเกยี รติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

(๓) ผลงานวิทยานพิ นธ์น้ี เปน็ รากฐานใหม้ ีการก่อตั้งห้องปฎิบตั กิ ารวิจยั C. elegans ข้นึ เปน็ ครง้ั แรกในจฬุ าฯ ซง่ึ กำ� ลงั จะพฒั นาสู่ศนู ยอ์ ้างองิ ในอนาคต (๔) มีการค้นพบองค์ความรู้ใหม่ท่ีนอกเหนือจากวัตถุประสงค์หลักในการท�ำวิจัยเพ่ือ วิทยานิพนธ์น้ีด้วย คือ การค้นพบว่าสารสกัดย่อยส่วนท่ีเป็นกรดซ่ึงแยกได้จากสารสกัด ใบข่อยน้ันมีฤทธิ์ต้านแบคทีเรียได้ดี โดยเป็นการทดลองร่วมกับ Associate Professor Dr. Alison Ung ณ University of Technology Sydney ประเทศออสเตรเลยี ซงึ่ การ ค้นพบน้ี นอกเหนอื จากท่ีได้นำ� องคค์ วามร้ไู ปสู่การตพี มิ พ์แลว้ ยังสรา้ งโอกาสในการต่อยอด เป็นผลติ ภัณฑ์เวชสำ� อางจากธรรมชาติทม่ี ีคณุ สมบตั ทิ ้ังตา้ นอนมุ ูลอสิ ระและยบั ยง้ั แบคทีเรีย ไดด้ ี สถานท่ตี ดิ ตอ่ วิทยาลัยวิทยาศาสตรส์ าธารณสขุ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั โทรศัพท ์ 02-218-8048 โทรสาร 02-253-2395 E-mail: [email protected], [email protected] ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติบคุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 559

รางวัลผลงานวจิ ยั ดีเดน่ นสิ ิตดุษฎบี ัณฑิต ผลงานวจิ ยั เรื่อง ฤทธิ์ต้านมะเร็งของอนุพนั ธแ์ มนโซโนนจตี อ่ เซลลม์ ะเร็งปอดชนดิ ไม่ใชเ่ ซลล์เลก็ ของมนษุ ย:์ การศึกษาทางคอมพิวเตอร์และกลไกการออกฤทธิ์ Anticancer Activity of Mansonone G Derivatives Against Human Non-Small Cell Lung Cancer: Computational and Mechanistic Study โดย ดร.ภาณุพงศ์ มหาลาภบุตร อาจารย์ทป่ี รึกษาหลัก ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธญั ญดา ร่งุ โรจนม์ งคล ภาควชิ าชีวเคม ี คณะวทิ ยาศาสตร์ แหลง่ ทุนท่ไี ด้รบั สำ� นักงานกองทนุ สนับสนนุ การวิจัย 560 ยกยอ่ งเชิดชูเกียรตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ผลงานวิจัยโดยสรุป Epidermal growth factor receptor (EGFR) และ DNA topoisomerase II (Topo II) เป็นเอนไซม์เป้าหมายหลักส�ำหรับการรักษามะเร็งปอดชนิดไม่ใช่เซลล์เล็ก เนอื่ งจากเอนไซมท์ ง้ั สองมคี วามสำ� คญั ในวถิ สี ญั ญาณทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การเจรญิ ของเซลลม์ ะเรง็ งานวิจัยนี้ได้ศึกษาฤทธ์ิต้านมะเร็งท้ังทางทฤษฎีและการทดลองของสารแมนโซโนนจี (MG) และอนุพันธ์ ต่อวิถีสัญญาณท่ีถูกควบคุมด้วยโปรตีน EGFR และ Topo II ในเซลลม์ ะเรง็ ปอด ชนดิ ไม่ใชเ่ ซลล์เลก็ ของมนุษย์ ทั้งชนดิ ท่ีไมม่ ีการกลายพนั ธข์ุ อง EGFR (A549) และชนิดท่ีมี การกลายพันธขุ์ อง EGFR (H1975) ผลการคัดกรองค่าความเปน็ พิษต่อเซลล์มะเร็งในหลอด ทดลองพบว่า สารบวิ ท๊อกซ่ีแมนโซโนนจี (MG3) มฤี ทธิ์ต้านมะเร็งตอ่ เซลลม์ ะเรง็ ปอดชนิดท่ี มกี ารกลายพนั ธ์ุ (H1975, IC50 4.21 μM) ไดด้ ีกว่าชนดิ ท่ไี ม่มกี ารกลายพนั ธ์ุ (A549, IC50 8.54 μM) และสาร MG3 มีความเป็นพษิ ทน่ี อ้ ยตอ่ เซลล์ปกติ (IC50 21.16 μM) ผลการทำ� western blot และ flow cytometry พบว่า สาร MG3 เหนยี่ วนำ� ใหเ้ ซลลม์ ะเรง็ ปอดเกิด การตายแบบอะพอพโทซิสท่ีถูกควบคุมด้วยเอนไซม์ caspase โดยผ่านทางการยับย้ัง (๑) phosphorylation ของ STAT3 และ Akt และ (๒) ผ่านการกระตุ้น phosphorylation ของ Erk ขณะท่ีผลการค�ำนวณทางเคมีคอมพิวเตอร์ระหว่างสารแมนโซโนนกับ Topo II ATPase domain พบว่าสารอนุพนั ธเุ์ อสเทอรแ์ มนโซโนนจี ๑๔ (MG14) มคี วามสามารถใน การจับกับเอนไซม์ดงั กล่าวสูงทส่ี ุด นอกจากนีส้ าร MG14 สามารถเหนีย่ วนำ� ให้เกิด closed conformation ของ Topo II ที่กรดอะมิโนเรสซิดิวส์ ๑๔๗ - ๑๕๑ นอกจากนี้การเกิด สารประกอบเชงิ ซ้อนอนิ คลชู นั ระหวา่ งสารแมนโซโนนกบั บตี าไซโคลเดกทรินซ์ (ßCD) โดย เฉพาะอยา่ งย่ิงอนพุ นั ธช์ นิด 2,6-dimethy-ßCD สามารถเพิม่ คา่ การละลายน้�ำ ความเสถียร การแยกของอแี นนชโิ อเมอร์ และฤทธต์ิ า้ นมะเรง็ ของสารแมนโซโนน ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 561

สิ่งทด่ี ีเด่นของงานวจิ ยั ๑. งานวิจัยนี้ได้ค้นพบสารออกฤทธ์ิท่ีมีศักยภาพสูงในการต่อต้านมะเร็ง ได้แก่ MG3 และ MG14 ซึ่งเป็นสารอนุพันธ์ของแมนโซโนนจี ท่ีสกัดได้จากแก่นไม้ของต้น จนั ทรช์ ะมดในประเทศไทย • สาร MG3 มีค่าความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งปอดที่มากกว่ายาเคมีบ�ำบัดที่ใช้ รักษาในปัจจุบัน (cisplatin) ถึง ๔ - ๙ เท่า และมีค่าความเป็นพิษที่น้อยต่อเซลล์ปกติ (selectivity index ในชว่ ง ๒.๔๘ - ๕.๐๓) • สาร MG14 สามารถยับย้ังเอนไซม์ DNA topoisomerase II ได้ดีกว่า ตัวยับยั้งแบบแข่งขัน (competitive inhibitor) ที่ใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ salvicine และ 1,4-benzoquinone • การใช้เทคนคิ ßCD inclusion complexation สามารถเพ่ิมค่าการละลาย นำ�้ และฤทธ์ติ า้ นมะเร็งของสารแมนโซโนนจีได้อยา่ งชัดเจน โดยสรุปแล้ว การทดลองท่ีได้จากงานวิจัยนี้สามารถน�ำไปพัฒนาต่อยอดสาร MG3 และ MG14 เพื่อใช้เป็นยารักษามะเร็งที่มีประสิทธิภาพดีกว่ายาที่ใช้ปัจจุบัน และ/หรือ สามารถใชเ้ ป็นโครงสร้างต้นแบบในการออกแบบยาต้านมะเร็งชนดิ ใหม่ ๆ โดยอาศัยข้อมูล ทางโครงสรา้ งในระดบั อะตอม (atomistic details) ทไ่ี ดจ้ ากการคำ� นวณทางเคมคี อมพวิ เตอร์ 562 ยกย่องเชิดชูเกยี รตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

อีกทั้งงานวิจัยนี้ยังเป็นการเพ่ิมมูลค่า สารจากธรรมชาติที่พบได้ในประเทศไทยอีกด้วย นอกจากน้ี การพัฒนาความสามารถในการละลายน้�ำของสารออกฤทธิ์ โดยการท�ำ encapsulation กับสารแมนโซโนนจี และ ß-cyclodextrins เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน ต้านมะเรง็ และ/หรอื ใช้เป็น drug carrier สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ไดจ้ ริงในเชงิ เภสัชวิทยา ๒. ผลงานวจิ ยั จากวทิ ยานพิ นธด์ งั กลา่ วไดเ้ ผยแพรล่ งในวารสารทไ่ี ดร้ บั การยอมรบั ใน ระดบั นานาชาติดังนี้ ๒.๑ Cancers เป็นวารสารนานาชาติที่มีค่า Impact factor ที่สูง (๕.๓๒๖) และจัดอยู่ใน tier 1 (#๒๖/๓๒๑) ในหมวดหมู่ Medicine: Oncology (อ้างอิงจาก Scopus data ปี ๒๐๑๘) ๒.๒ Journal of Molecular Liquids เปน็ วารสารนานาชาติท่ีมคี า่ Impact factor ท่ีสูง (๔.๕๑๓) และจัดอยู่ใน tier 1 ถึง 3 หมวดหมู่ได้แก่ (๑) Physics and Astronomy: Condensed Matter Physics (#๒๘/๓๙๗) (๒) Chemistry: Spectroscopy (#๕/๖๙) (๓) Material Science: Material Chemistry (#๒๒/๒๗๑) (อา้ งองิ จาก Scopus data ปี ๒๐๑๘) ๒.๓ Journal of Molecular Graphics and Modelling เปน็ วารสารนานาชาติ ทไี่ ดร้ ับการยอมรบั ในด้าน Computational Biology (Impact factor = ๑.๘๘๕) และ จัดอยู่ใน Q2 ในหมวดหมู่ของ Computer Science: Computer Graphics and Computer-Aided Design และ Material Science: Materials Chemistry (อ้างอิง จาก Scopus data ปี ๒๐๑๘) สถานท่ตี ดิ ต่อ ภาควิชาชวี เคมี คณะวิทยาศาสตร์ โทรศพั ท์ ๐๘-๑๙๕๖-๗๘๖๙ โทรสาร - E-mail: [email protected] ยกย่องเชดิ ชูเกยี รติบคุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 563

รางวัลผลงานวิจัยดเี ดน่ นิสิตดษุ ฎีบัณฑิต ผลงานวจิ ยั เร่อื ง ลักษณะสมบัตเิ ชงิ หน้าท่ีของฮตี ช็อกโปรตีนในการตอบสนองตอ่ ความเครยี ด ในกงุ้ ขาวแปซิฟกิ Penaeus vannamei และอาร์ทเี มีย Artemia franciscana Functional Characterization of Heat Shock Proteins During Stress Response in Pacific White Shrimp Penaeus Vannamei and Brine Shrimp Artemia Franciscana โดย ดร.วิศรตุ จนั ทร์ปรงุ อาจารย์ทปี่ รึกษาหลัก ศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ทัศนาขจร ภาควชิ าชวี เคม ี คณะวทิ ยาศาสตร์ แหลง่ ทุนที่ไดร้ ับ โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) ทนุ ๙๐ ปี จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย กองทุนรชั ดาภเิ ษกสมโภช 564 ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรตบิ คุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ผลงานวจิ ยั โดยสรปุ กลุ่มอาการตับและตับอ่อนตายเฉียบพลันที่เกิดจากการติดเช้ือแบคทีเรียวิบริโอพาราฮีโมไล ติคัสสายพันธุ์ท่ีมีพลาสมิดท่ีสามารถสร้างท็อกซินได้เป็นสาเหตุส�ำคัญในการเกิดการตายจ�ำนวน มากในฟาร์มเล้ียงกุ้งขาวทั่วทวีปเอเชีย ในงานวิจัยน้ีพบว่าการกระตุ้นกุ้งด้วยความร้อนที่ไม่ตาย แบบตอ่ เนื่อง (จาก ๒๘ °C ไปยงั ๓๘ °C ครัง้ ละ ๕ นาที ซ�้ำเป็นเวลา ๗ วัน) สามารถปอ้ งกันการ ตดิ เชอ้ื แบคทเี รยี วิบรโิ อพาราฮโี มไลตคิ สั ได้ โดยมอี ตั ราการรอดมากกวา่ ๕๐% ในขณะกลมุ่ ทไี่ มไ่ ด้ ถูกกระตุ้นด้วยความร้อนมีอัตราการรอดเพียง ๒๐% ผลการศึกษาการแสดงออกของยีนพบว่ามี การแสดงออกท่เี พิ่มมากข้นึ ของยีนฮีตช็อกโปรตนี ๗๐ และ ๙๐ และยนี ในระบบภมู ิคมุ้ กนั ไดแ้ ก่ LvproPO1 และ LvCrustin1 ในกงุ้ ที่กระตุน้ ดว้ ยความรอ้ น และเมอื่ ท�ำการยบั ยง้ั การแสดงออก ของยีนฮีตช็อกโปรตีน ๗๐ และ ๙๐ พบว่าความสามารถในการทนต่อการติดเช้ือวิบริโอพารา ฮีโมไลติคัสซ่ึงก่อให้เกิดโรคลด น้อยลงและยังส่งผลให้แอคติวิต้ีของระบบโพรฟีนอลออกซิเดส ท่ีผลิตมาฆ่าเช้ือแบคทีเรียลดลงอีกด้วย ในการศึกษาหน้าท่ีของโปรตีนฮีตช็อกโปรตีน ๗๐ ผล การทดลองพบว่าการกระตนุ้ กงุ้ ด้วยความรอ้ นสามารถกระต้นุ การผลติ โปรตีนฮตี ช็อกโปรตนี ๗๐ ในเม็ดเลือดกุ้งเพิ่มมากขึ้นเมื่อเทียบกับกลุ่มท่ีไม่ถูกกระตุ้นด้วยความร้อนและเม่ือฉีดโปรตีน รีคอมบิแนนท์ ๗๐ เข้าสู่ตัวกุ้ง พบว่ายีนในระบบภูมิคุ้มกันของกุ้งหลายตัวมีการแสดงออกเพิ่ม มากขนึ้ และยงั เพมิ่ การตา้ นทานของกงุ้ ตอ่ การตดิ เชอ้ื แบคทเี รยี ได้ โดยกงุ้ มอี ตั ราการรอดเมอื่ ตดิ เชอ้ื เพม่ิ จาก ๒๐% ในกล่มุ ควบคุมเป็นมากกว่า ๗๕% ในกล่มุ ที่ฉดี ด้วยรีคอมบิแนนทโ์ ปรตีน แสดง ให้เห็นว่าฮีตช็อกโปรตีน ๗๐ ท�ำหน้าท่ีส�ำคัญในการตอบสนองต่อการติดเชื้อแบคทีเรียโดยการ กระตุ้นการท�ำงานในระบบภูมิคุ้มกันของกุ้ง นอกจากน้ียังได้ใช้ข้อมูลล�ำดับนิวคลีโอไทด์จากฐาน ขอ้ มลู จโี นมของ Artemia franciscana ในการศกึ ษาและระบุ ลำ� ดบั นวิ คลโี อไทด์ ลำ� ดบั กรดอะมโิ น และ แผนภูมคิ วามสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของยีนในกลุ่มฮตี ช็อกโปรตนี ๗๐ พบวา่ จากฐานขอ้ มูลฯ สามารถระบุยีนที่แตกตา่ งกนั ของยนี ใหมใ่ นกล่มุ ฮีตชอ็ กโปรตีน ๗๐ ได้จำ� นวน ๔ ยนี ซ่งึ ประกอบ ไปดว้ ย Heat shock cognate 70 (HSC70) Heat shock 70 kDa cognate 5 (HSC70-5) Heat shock 70 kDa cognate 3 (HSC70-3) หรอื BIP หรอื GRP78 และ Hypoxia up-regulated protein 1 (HYOU1) และเม่อื ศึกษาการแสดงออกของกล่มุ ยีนฮีตชอ็ กโปรตีน ๗๐ ในตัวอย่างอาร์ ทเี มยี ทถี่ กู คดั เลอื กสายพนั ธใ์ุ หส้ ามารถทนตอ่ ความรอ้ นไดใ้ นระยะวยั รนุ่ พบวา่ ระดบั การแสดงออก ของยีน HSP70 และ HSC70 มีการแสดงออกที่สูงข้ึนอย่างมีนัยส�ำคัญในอาร์ทีเมียกลุ่มท่ีถูก คัดเลือกสายพันธุ์ฯ เทียบกับกลุ่มที่เล้ียงในสภาวะปกติ ยิ่งไปกว่าน้ันเมื่อกระตุ้นอาร์ทีเมียระยะ ยกย่องเชิดชเู กยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 565

นอเพลียสดว้ ยความรอ้ นแบบไมต่ าย พบว่ายีน HSP70 HSC70 และ HSC70-5 มกี ารแสดงออก เพิ่มมากข้ึนอย่างมีนัยส�ำคัญเม่ืออาร์ทีเมียท่ีถูกคัดเลือกสายพันธุ์ฯ และถูกกระตุ้นด้วยความร้อน เทียบกับอาร์ทีเมียที่ถูกคัดเลือกสายพันธุ์แต่ไม่ถูกกระตุ้นด้วยความร้อน มากไปกว่านี้ได้ท�ำการ คน้ หาความแตกตา่ งของนวิ คลโี อไทดเ์ พยี งลำ� ดบั เดยี วในยนี HSP70 และ HSC70 พบวา่ ยนี HSC70 มีความแตกตา่ งของนิวคลโี อไทดต์ ำ� แหนง่ เดียวทต่ี ำ� แหนง่ ๑๗๑ (C171A; N57K) ซ่ึงเป็นตำ� แหน่ง บนบริเวณโดเมน ATP-binding และมีความเปน็ ไปได้ทีจ่ ะเกยี่ วข้องกับการเพม่ิ ความต้านทานตอ่ ความร้อน และจากการศกึ ษาลกั ษณะฟีโนไทปใ์ นยสี ต์ Saccharomyces cerevisiae ยนื ยนั ได้วา่ ยสี ตท์ มี่ พี ลาสมดิ HSC70-N57K สามารถทนตอ่ อณุ หภมู สิ งู ไดม้ ากกวา่ ยสี ตท์ ม่ี พี ลาสมดิ HSC70-WT และสบื เนอ่ื งจากการทล่ี กั ษณะจโี นไทป์ N57K สามารถพบไดใ้ นอารท์ เี มยี ทถี่ กู คดั เลอื กสายพนั ธใ์ุ ห้ ทนความร้อนมากกว่ากลุ่มท่ีไม่ถูกคัดเลือกสายพันธุ์ ท�ำให้จีโนไทป์ดังกล่าวสามารถใช้ในการคัด เลอื กสายพนั ธ์อุ ารท์ ีเมียให้ทนต่อความร้อนตอ่ ไปได้ สิ่งทดี่ เี ดน่ ของงานวิจัย ๑. การประยกุ ต์ใช้จรงิ ในอตุ สาหกรรมการเพาะเลี้ยงกงุ้ งานวิจัยในวิทยานิพนธ์นี้ได้ค้นพบสภาวะการกระตุ้นกุ้งด้วยความร้อนท่ีท�ำให้กุ้งทนต่อการ ติดเชอ้ื แบคทเี รยี วิบรโิ อพาราฮีโมไลตคิ ัสสายพนั ธ์ทุ ี่มกี ารสรา้ งโปรตีนสารพษิ (VPAHPND) ซง่ึ เปน็ เช้ือก่อโรคท่ีส�ำคัญในกุ้งท�ำให้ผลผลิตกุ้งลดลงมากกว่า ๕๐% โดยการกระตุ้นด้วยความร้อนท่ีค้น พบสามารถนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพฒั นาสายพนั ธก์ุ งุ้ ใหม้ คี วามแขง็ แรงและทนตอ่ การเกดิ โรคและ ยังสามารถประยุกต์ใช้เพื่อเตรียมลูกกุ้งให้แข็งแรงโดยการอนุบาลลูกกุ้งด้วยการกระตุ้นด้วยความ รอ้ น กอ่ นการเพาะเลยี้ งในบอ่ ดนิ นอกจากนยี้ งั คน้ พบ ความแตกตา่ งของลำ� ดบั นวิ คลโี อไทดต์ ำ� แหนง่ เดยี ว (SNP) ในอาร์ทเี มียทที่ นความรอ้ นและต้านการตดิ เช้อื แบคทีเรีย ซึง่ SNP ที่คน้ พบสามารถ น�ำไปประยุกต์ใช้ในการติดตามสายพันธุ์กุ้งท่ีทนและไม่ทนโรคได้ด้วยเคร่ืองหมายดีเอ็นเอ และ ขั้นตอนในการคน้ หา SNP ในอาร์ทีเมยี สามารถนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการคน้ หาเครอ่ื งหมายดีเอ็นเอ ในสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ได้เช่นกุ้ง ซ่ึงเป็นสัตว์เศรษฐกิจของประเทศไทยได้ ซึ่งการค้นพบเครื่องหมาย ดเี อน็ เอนอี้ ยใู่ นข้ันตอนการจดสิทธิบตั ร งานวิจัยนี้ยังเป็นต้นแบบในการตรวจสอบสุขภาพกุ้ง โดยเปรียบเทียบระดับการแสดงออก ของยีนในระบบภูมิคุ้มกันกุ้ง ซึ่งมีบริษัทเอกชนได้สนใจเข้ามารับบริการตรวจสอบ ได้แก่ บริษัท INVE Aquaculture ประเทศเบลเยยี ม บรษิ ทั เจรญิ โภคภณั ฑอ์ าหาร และ National Aquaculture 566 ยกย่องเชดิ ชเู กยี รติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

Group ประเทศซาอุดิอาระเบยี โดยได้ทำ� การตรวจสอบการแสดงออกของยนี ในระบบภมู คิ มุ กนั ของกงุ้ เช่น กลมุ่ ยนี ท่ีอยใู่ นวิถี Toll วถิ ี IMD และระบบ Phenoloxidase และฮตี ช็อกโปรตีน เป็นตน้ ๒. ดา้ นวชิ าการ งานวจิ ยั ในวทิ ยานพิ นธน์ ส้ี ามารถอธบิ ายความสมั พนั ธข์ องฮตี ชอ็ กโปรตนี ๗๐ กบั การกระตนุ้ ระบบภูมิคุ้มกันในกุ้งซึ่งยังไม่มีการศึกษากลไกการท�ำงานของโปรตีนตัวน้ีในระบบภูมิคุ้มกันกุ้ง มากนัก งานวิจัยนี้ช่วยตอบค�ำถามว่าการกระตุ้นด้วยความร้อนท่ีค้นพบสามารถช่วยให้กุ้งทนต่อ การติดเชื้อ VPAHPND ได้ โดยไปกระต้นุ ภมู ิคุ้มกนั หลกั ของกุ้ง คอื วถิ สี ง่ สัญญาณ Toll และ IMD ท่ีเก่ียวข้องกับการสังเคราะห์เปปไทด์ต้านจุลชีพ และระบบโพรฟีนอลออกซิเดสที่สร้างเมลานิน เพือ่ ตรวจจับเชื้อโรค นอกจากน้ีไดค้ น้ พบกลมุ่ ยนี ฮีตชอ็ กโปรตนี ๗๐ ในอาร์ทีเมียซ่ึงเปน็ ส่งิ มีชวี ิต ตน้ แบบของสตั วใ์ นกลมุ่ ครสั เตเชยี น ทำ� ใหเ้ ขา้ ใจการทำ� งานของยนี ในกลมุ่ ฮตี ชอ็ กโปรตนี ๗๐ อยา่ ง ละเอียดเพิ่มมากขึ้น และยังได้อธิบายความส�ำคัญของยีนฮีตช็อกโปรตีนในการเพิ่มความสามารถ ในการทนต่อความร้อนในอาร์ทีเมียท่ีถูกคัดเลือกสายพันธุ์ด้วยความร้อนโดยอธิบายถึงโดเมนที่ ส�ำคญั และตำ� แหน่งเปปไทดท์ มี่ ผี ลตอ่ การทนต่อการทนต่อความรอ้ นในอาร์ทีเมยี งานวิจัยทง้ั หมด ในวิทยานิพนธ์นไ้ี ด้นำ� เสนอในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ ๓ ครัง้ และระดับนานาชาติ ๔ ครง้ั ได้ รับการตอบรับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีได้รับการยอมรับ จ�ำนวน ๓ ฉบับ และอยใู่ นระหวา่ งเตรยี มตน้ ฉบบั สำ� หรบั สง่ ตพี มิ พ์ จำ� นวน ๒ ฉบับ สถานท่ีตดิ ต่อ ศูนย์เชย่ี วชาญเฉพาะทางดา้ นอณชู ีววทิ ยา และจีโนมกุง้ ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ โทรศพั ท์ ๐-๒๒๑๘-๕๔๑๔ E-mail: [email protected] ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 567

รางวลั ผลงานวจิ ยั ดีเด่น นิสิตดษุ ฎีบัณฑิต ผลงานวิจัยเรือ่ ง เซนเซอรเ์ คมไี ฟฟา้ สำ� หรบั การตรวจวดั ฮวิ แมนแพปพลิ โลมาไวรสั ดเี อน็ เอ ซ-ี รแี อคทฟี โปรตนี และสีผสมอาหาร Electrochemical Chemical Sensors for Human Papillomavirus DNA, C-Reactive Protein and Food Colorants Detections โดย ดร.ศกั ดิด์ า จ�ำปาสา อาจารย์ท่ีปรกึ ษาหลัก ศาสตราจารย ์ ดร.อรวรรณ ชยั ลภากุล ภาควิชาเคม ี คณะวิทยาศาสตร์ แหลง่ ทนุ ทไี่ ด้รับ ทนุ ๙๐ ปี จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย กองทุนรัชดาภเิ ษกสมโภช ทุนเมธีวจิ ัยอาวุโส สกว. 568 ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติบคุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ผลงานวิจัยโดยสรปุ งานวิจัยน้ีมุ่งเน้นพัฒนาเซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าเพ่ือการตรวจวัดสารบ่งช้ีทางชีวภาพ ด้านการแพทย์และสีผสมอาหารในเครื่องดื่ม เซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าเพ่ือใช้ในการตรวจวัด สารบ่งช้ีทางชีวภาพด้านการแพทย์ ประกอบไปด้วย เซนเซอร์ในการตรวจวัดดีเอ็นเอของ ไวรัสเอชพีวีความเส่ียงสูง ชนิด ๑๖ และ ๑๘ ซึ่งเป็นตัวบ่งช้ีความเส่ียงของการเกิดมะเร็ง ปากมดลูก งานวิจัยน้ีใช้โพรบพิโรลิดินิลเพปไทด์นิวคลีอิกแอซิดท่ีมีความจ�ำเพาะเจาะจง สงู ตอ่ การจบั กบั ดเี อน็ เอของไวรสั เปา้ หมาย เมอ่ื มดี เี อน็ เอเปา้ หมาย สญั ญาณทต่ี รวจวดั ไดจ้ ะ มีค่าท่ีสูงขึ้นตามปริมาณของไวรัสที่มีอยู่ ซึ่งมีค่าความเป็นเส้นตรงอยู่ในช่วง ๐.๑ - ๑๐๐ นาโนโมลาร์ คา่ ขดี จำ� กดั ต�่ำสดุ ของการตรวจวัดเท่ากบั 40 และ 60 พโิ คโมลาร์ ส�ำหรับไวรสั เอชพีวีชนิด ๑๖ และ ๑๘ ตามล�ำดับ งานวิจัยน้ีประสบผลส�ำเร็จในการตรวจวัดดีเอ็นเอ ของไวรัสท้ัง ๒ ชนิดจากตัวอย่างจริง ส่วนงานวิจัยต่อมา เป็นการสร้างอิมมูโนเซนเซอร ์ ทางเคมีไฟฟ้ารูปแบบแซนวิซเพื่อใช้ในการตรวจวัดซี-รีแอคทีฟโปรตีนซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ความ เสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ ตัวติดตามทางเคมีไฟฟ้าท่ีใช้ในงานวิจัยใน คือแอนทราควิโนน ยกยอ่ งเชิดชเู กียรตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 569

ซ่ึงเราได้น�ำมาต่อยอดในงานวิจัยนี้ เน่ืองจากให้สัญญาณทางเคมีไฟฟ้าที่สูงและสามารถติด ฉลากลงบนแอนตบิ อดไ้ี ดง้ า่ ย จากการทดลองพบวา่ สญั ญาณทางเคมไี ฟฟา้ ทต่ี รวจวดั ไดม้ คี า่ สงู ขน้ึ ตามความเข้มข้นของโปรตนี ท่มี อี ยู่ และมีค่าความเป็นเสน้ ตรงอยู่ในช่วง ๐.๐๑ - ๑๕๐ ไมโครกรมั ตอ่ มลิ ลลิ ติ ร มคี า่ ขดี จำ� กดั ตำ่� สดุ ของการตรวจวดั อยทู่ ่ี ๑.๕๐ นาโนกรมั ตอ่ มลิ ลลิ ติ ร เซนเซอร์ท่ีพัฒนาข้ึนประสบผลส�ำเร็จในการตรวจวัดซี-รีแอคทีฟโปรตีนในตัวอย่างจริง พร้อมให้ผลเป็นที่น่าพอใจเมื่อเปรียบเทียบกับตัวอย่างท่ีได้รับการรับรอง ในส่วนสุดท้าย เป็นการพัฒนาเซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าเพื่อใช้ในการตรวจวัดสีผสมอาหารสังเคราะห์ ได้แก่ ซนั เซตเยล็ โลวแ์ ละตารต์ ราซนี ขว้ั ไฟฟา้ ทใ่ี ชใ้ นการตรวจวดั คอื ขวั้ ไฟฟา้ แบบพมิ พส์ กรนี ราคา ถกู ซง่ึ ถกู ดดั แปรดว้ ยกราฟนี ออกไซดเ์ พอื่ เพม่ิ คา่ ขดี จำ� กดั ของการตรวจวดั จากผลการทดลอง พบว่า ขั้วไฟฟ้าที่ถูกดัดแปรผิวหน้าด้วยกราฟีนให้สัญญาณการตอบสนองท่ีสูงขึ้นเมื่อเทียบ กับขั้วที่ไม่ผ่านการดัดแปร ค่าความเป็นเส้นตรงของการตรวจวัดอยู่ในช่วง ๐.๐๑ - ๒๐ ไมโครโมลาร์ และ ๐.๐๒ - ๒๐ ไมโครโมลาร์ ค่าขีดจ�ำกัดต�่ำสุดของการตรวจวัดเท่ากับ ๐.๐๕ และ ๔.๕ นาโนโมลาร์ สำ� หรับซนั เซตเยล็ โลว์และตาร์ตราซนี ตามล�ำดบั เซนเซอร์ ทางเคมีไฟฟ้าท้ังหมดที่พัฒนาข้ึนมีความว่องไวและความจ�ำเพาะเจาะจงต่อการตรวจวัด พร้อมทั้งราคาถูกและสามารถพกพาได้ ดังนั้นเซนเซอร์ท่ีพัฒนาขึ้นจึงสามารถน�ำไปใช้เป็น อีกหน่ึงเซนเซอร์ทางเลือกท่ีจะน�ำไปตรวจวิเคราะห์สารกลุ่มเป้าหมายไม่ว่าจะเป็นสารทาง ด้านเภสัชกรรม สง่ิ แวดลอ้ ม เป็นต้น สง่ิ ทด่ี เี ด่นของงานวจิ ยั สิง่ ท่ีดเี ดน่ ในงานวจิ ยั น้ีสามารถจำ� แนกเป็นข้อ ๆ ได้ดังตอ่ ไปนี้ ๑. งานวิจัยที่พัฒนาข้ึนมาได้สร้างองค์ความรู้ใหม่ให้กับแวดวงวิชาการในสาขา ตัวเองที่สามารถน�ำไปต่อยอดและพัฒนาต่อได้ เน่ืองจากเป็นงานวิจัยต้นแบบที่มีการน�ำ โพรบชีวภาพสังเคราะห์ มาใช้ร่วมกับการตรวจวัดทางเคมีไฟฟ้า นอกจากนี้ยังได้มีการ ประยุกต์ใช้ตัวโมเลกุลที่ให้สัญญาณทางเคมีไฟฟ้าใหม่ ๆ วัสดุน�ำไฟฟ้าชนิดใหม่ มาร่วมใช้ ในงานวิจัยเพอ่ื ใหง้ านวิจัยมีคณุ ภาพสูง 570 ยกย่องเชิดชูเกยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

๒. ผลงานวจิ ยั สามารถตพี มิ พ์ในวารสาร international ทอี่ ยู่ในระดับแนวหนา้ ของ สาขางานวิจัยทท่ี ำ� อยู่ ได้แก่ Sensors and Actuators B: Chemical (Tier1), Talanta 2 publications (Quartile 1) ๓. งานวิจยั ท่ีพัฒนาขนึ้ มาสามารถนำ� ไปใชเ้ ปน็ อีกเทคนิคหน่ึงทางเลอื กทมี่ ีโอกาสใน การพัฒนาไปสเู่ ชงิ พานิชยไ์ ด้สงู เน่อื งจากมีราคาถกู และว่องไวต่อการตรวจวดั สถานที่ติดต่อ สถาบันวิจยั เทคโนโลยีชวี ภาพ และวศิ วกรรมพันธศุ าสตร์ โทรศัพท์ ๐๘-๓๓๕๕-๗๙๔๓ E-mail: [email protected] ยกย่องเชิดชูเกยี รตบิ ุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 571

รางวัลผลงานวิจยั ดีเด่น นิสิตดษุ ฎีบณั ฑิต ผลงานวิจยั เร่ือง การพฒั นาการทดสอบแบบปรบั เหมาะแบบหลายขน้ั ตอนดว้ ยคอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื วดั สมรรถนะ ความรู้วิชาชพี พหมุ ติ ิของครชู า่ งอุตสาหกรรม Development of Multi-Stage Computerized Adaptive Testing for Measuring Multidimensional Knowledge Competency of Vocational Technical Teachers โดย ดร.สุกญั ญา บุญศรี อาจารย์ทป่ี รึกษาหลัก รองศาสตราจารย ์ ดร.กมลวรรณ ตงั ธนกานนท์ ภาควิชาวจิ ยั และจิตวทิ ยาการศึกษา คณะครศุ าสตร์ แหล่งทุนท่ไี ดร้ บั ทนุ ๙๐ ปี จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช 572 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ผลงานวิจัยโดยสรปุ ๑. โมเดลสมรรถนะความรู้วิชาชีพครูช่างอุตสาหกรรมของนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์ อุตสาหกรรมมี ๒ มติ ิ ไดแ้ ก่ มติ ิความรู้วชิ าชีพครูมี ๗ ตวั ชี้วัด ไดแ้ ก่ ๑) ความเปน็ ครคู ณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ๒) ปรชั ญาการศกึ ษา ภาษาและวัฒนธรรม ๓) จิตวทิ ยาสำ� หรับครู ๔) หลักสูตร การจัดการเรียนรู้ และการจัดการช้ันเรียน ๕) การวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ ๖) นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษา และ ๗) การวัดและประเมินผลการเรียนร้แู ละ การประกนั คุณภาพการศึกษา และมติ คิ วามร้วู ิชาชพี พื้นฐานช่างอุตสาหกรรม มี ๕ ตัวช้ีวดั ไดแ้ ก่ ๑) ความรู้เกย่ี วกบั งานอาชีพ ๒) คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพอ่ื งานอาชพี ๓) เขยี นแบบเทคนิค เบอื้ งตน้ ๔) วัสดงุ านชา่ งอุตสาหกรรม และ ๕) งานฝึกฝีมอื ๒. คุณภาพของโมเดลแบบพหุมติ ใิ นแบบวดั ทั้ง ๔ ฉบบั มีค่า G2 และคา่ AIC น้อยทีส่ ดุ เม่ือ เทยี บกับโมเดลเอกมติ ิ และโมเดลเอกมติ แิ ยกตามมติ ิ ส่วนด้านความเที่ยงแบบ EAP ในมิติความรู้ วิชาชีพครูแบบวัดฉบบั ที่ ๓ มคี ่าสูงสดุ รองลงมาคอื ฉบับที่ ๑ ฉบับท่ี ๒ และฉบบั ที่ ๔ (.๘๓๕, . ๗๙๗, .๗๙๔ และ .๗๕๕) เช่นเดียวกับมิติความรู้วิชาชีพช่างพื้นฐานอุตสาหกรรมโดยมีค่า EAP เท่ากบั .๘๑๕, .๘๐๗, .๖๙๖ และ .๖๙๔ และคณุ ภาพข้อสอบรายขอ้ ของแบบวดั แตล่ ะฉบบั มีคา่ OUTFIT MNSQ และ INFIT MNSQ อยใู่ นเกณฑ์ท่ีกำ� หนด จ�ำนวนทงั้ สน้ิ ๓๙๗ ขอ้ ๓. คลังข้อสอบมีข้อสอบความรู้วิชาชีพครูจ�ำนวน ๒๓๔ ข้อ (ร้อยละ ๕๘.๙๔) แบ่งเป็น โมดุลระดับงา่ ย ๔๒ ขอ้ ปานกลาง ๑๔๘ ข้อ และยาก ๔๔ ข้อ และมิตคิ วามรวู้ ชิ าชพี ช่างพ้นื ฐาน อุตสาหกรรมจ�ำนวน ๑๖๓ ข้อ (ร้อยละ ๔๑.๐๖) แบ่งเป็นโมดุลระดับง่าย ๒๘ ข้อ ปานกลาง ๑๐๗ ข้อ และยาก ๒๘ ขอ้ ๔. การพัฒนาโปรแกรมการทดสอบ แบง่ เปน็ ๔ ขั้นตอน ไดแ้ ก่ ๑) จดุ เรมิ่ ต้นการทดสอบ ๒) การประมาณคา่ ความสามารถและการคัดเลอื กข้อสอบ ๓) เกณฑ์การยตุ ิการทดสอบ และ ๔) การรายงานผลการทดสอบ โดยผลการทดสอบพบว่านักศึกษาส่วนใหญ่สอบได้คะแนนมาตรฐาน เฉลย่ี มติ คิ วามรวู้ ชิ าชพี ครู ๔๙.๘๕ คะแนน และมติ คิ วามรวู้ ชิ าชพี พนื้ ฐานชา่ งอตุ สาหกรรม ๕๐.๐๐ คะแนน รวมทั้งมคี วามพงึ พอใจตอ่ การใชโ้ ปรแกรมในภาพรวมอยูใ่ นระดบั มากทสี่ ดุ (M = ๔.๖๖, SD = .๕๗) ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 573

สง่ิ ทีด่ ีเด่นของงานวิจยั ๑. ได้แบบวัดสมรรถนะความรู้วิชาชีพพหุมิติของครูช่างอุตสาหกรรมแบบพหุมิติที่ม ี ความเทย่ี งตรงสงู และประมาณค่าความสามารถของผู้สอบได้สอดคล้องกับความสามารถทีแ่ ท้จรงิ ของผู้สอบ รวมท้ังได้คลังข้อสอบวัดสมรรถนะความรู้วิชาชีพครูช่างอุตสาหกรรม ซ่ึงสามารถน�ำ ขอ้ สอบในคลงั นไี้ ปใชส้ ำ� หรบั ทดสอบเพอื่ วดั สมรรถนะความรวู้ ชิ าชพี พหมุ ติ ขิ องครชู า่ งอตุ สาหกรรม โดยนำ� ไปใช้กับนักศกึ ษาหลักสตู รครุศาสตรอุตสาหกรรมบณั ฑิตในชน้ั ปีที่ ๔ หรอื ๕ ทีก่ ำ� ลังจะฝกึ หรือหลังจากฝึกประสบการณ์วิชาชีพแล้ว เพื่อให้นักศึกษาได้ประเมินสมรรถนะของตนเองว่ามี ความสามารถอยู่ในระดบั ใด ยังขาดความรู้ในเรอื่ งใดบ้าง ๒. ได้โปรแกรมการทดสอบแบบปรับเหมาะแบบหลายขั้นตอนด้วยคอมพิวเตอร์ท่ีวัด สมรรถนะความรู้วิชาชีพพหุมิติของครูช่างอุตสาหกรรม ซ่ึงนักศึกษาสามารถน�ำผลการประเมินที่ ไดจ้ ากการทดสอบดว้ ยโปรแกรมนไี้ ปใชเ้ ปน็ สารสนเทศ ทำ� ใหท้ ราบวา่ นกั ศกึ ษามสี มรรถนะความรู้ วชิ าชพี ครชู า่ งอตุ สาหกรรมอยใู่ นระดบั ใด และควรพฒั นาสมรรถนะในมติ ใิ ดบา้ ง โดยพจิ ารณาจาก ผลการประเมนิ ทไี่ ดจ้ ากการทดสอบ ซง่ึ รายงานผลการประเมนิ นน้ั จะระบรุ ะดบั ความสามารถของ นกั ศกึ ษาในแตล่ ะมติ ิ (ความรวู้ ชิ าชพี ครู และความรวู้ ชิ าชพี พนื้ ฐานชา่ งอตุ สาหกรรม) วา่ อยใู่ นระดบั ดี/ผา่ น/ไม่ผา่ น นอกจากนี้ยงั สามารถระบผุ ลการประเมินของนักศึกษาวา่ ทำ� ขอ้ สอบในแต่ละตัวชี้ วดั ได้จ�ำนวนก่ีข้อ โดยข้อมลู สว่ นน้ีนักศึกษาสามารถนำ� ผลการประเมนิ ทีไ่ ด้ไปพฒั นาหรอื ปรับปรุง แกไ้ ข เพื่อใหน้ ักศึกษามีสมรรถนะความรใู้ นด้านนั้นเพม่ิ มากขน้ึ ไดใ้ นแตล่ ะปกี ารศกึ ษา นอกจากน้ี ผู้สอนยังใช้ผลการประเมินน้ีเพื่อเป็นการทวนสอบหลักสูตรด้วยว่านักศึกษามีความรอบรู้ตาม หลกั สตู รมากนอ้ ยเพยี งใด ควรสง่ เสรมิ นกั ศกึ ษาในหลกั สตู รเรอ่ื งใดบา้ ง โดยสามารถพฒั นาสง่ เสรมิ นกั ศกึ ษาไดท้ งั้ แบบรายบคุ คลหรอื เปน็ กลมุ่ ตามความสามารถ เพอื่ ใหก้ ระบวนการจดั การเรยี นการ สอนประสบความส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร นอกจากน้ีหากผลการประเมินพบว่า นกั ศกึ ษาในหลกั สตู รสว่ นใหญม่ ผี ลการประเมนิ ทไ่ี มผ่ า่ นในมติ ใิ ด ผสู้ อนสามารถนำ� ผลการประเมนิ ไปใช้เป็นสารสนเทศเพอื่ พัฒนาปรับปรุงผเู้ รยี นในหลกั สตู รได้ ๓. ช่วยให้กระบวนการทดสอบสมรรถนะความรู้วิชาชีพพหุมิติของครูช่างอุตสาหกรรมมี ประสิทธิภาพ ท้ังในเร่ืองของความเท่ียง ความตรง และความแม่นย�ำในการประมาณค่าความ สามารถท่ีแท้จริงของผู้สอบได้ดีกว่าการทดสอบแบบประเพณีนิยม และการทดสอบแบบเอกมิติ โดยใช้เวลาในการทดสอบและจ�ำนวนข้อสอบน้อยกว่า อีกทั้งการทดสอบแบบปรับเหมาะด้วย คอมพวิ เตอร์ยังสามารถท�ำการทดสอบได้ทกุ ท่ี ทุกเวลาท่ีต้องการ 574 ยกย่องเชิดชูเกยี รติบุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

๔. เป็นแนวทางศึกษาวิธีการพัฒนา เงือ่ นไขอ่ืน ๆ ท่ีนำ� มาใช้กบั การทดสอบแบบปรบั เหมาะพหุมิติด้วยคอมพิวเตอร์ต่อไป เช่น การ สร้างคลงั ขอ้ สอบ การคัดเลอื กขอ้ สอบข้อเร่มิ ต้น การประมาณค่าความสามารถของผู้สอบ และ เกณฑ์การยุติการทดสอบ เป็นตน้ ๕. เป็นต้นแบบในการพัฒนาโมเดล ส�ำหรับวัดสมรรถนะวิชาชีพพหุมิติของครูช่าง อุตสาหกรรมท่ีเฉพาะเจาะจงโดยวัดลงไปใน รายวิชาชีพเฉพาะ เช่น ครชู ่างยนต์ ครชู า่ งไฟฟา้ ครชู า่ งอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ครชู า่ งคอมพวิ เตอร์ ครชู า่ ง อตุ สาหการ ครชู า่ งโยธา เปน็ ตน้ ซง่ึ จะสอดคลอ้ ง กับความต้องการของสาขาวิชาทม่ี ีความเฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น ๖. เป็นแนวทางในการพัฒนาการทดสอบแบบปรับเหมาะพหุมิติด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อวัด สมรรถนะความรู้ในวิชาชพี ของคณะอ่ืน ๆ เชน่ วศิ วกรรมศาสตร์ ศิลปกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ เป็นตน้ ๗. การทดสอบแบบปรับเหมาะแบบหลายข้ันตอนด้วยคอมพิวเตอร์ท่ีวัดสมรรถนะความรู้ วิชาชีพพหุมิติของครูช่างอุตสาหกรรมนี้ สามารถใช้ประเมินสมรรถนะความรู้วิชาชีพครูช่าง อตุ สาหกรรมของครูประจำ� การท่ีสอนอยใู่ นสถาบนั การศกึ ษาด้านอาชีวศกึ ษาไดเ้ ชน่ เดียวกนั เพอื่ ใชส้ ำ� หรบั การพัฒนาตนเองของครปู ระจำ� การ สถานที่ติดต่อ ภาควิชาการศึกษา คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี โทรศพั ท ์ ๐-๒๕๔๙-๓๒๑๔ โทรสาร ๐-๒๕๔๙-๓๒๐๗ E-mail: [email protected] ยกย่องเชิดชเู กียรติบคุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 575

รางวัลผลงานวิจัยดเี ดน่ นิสติ ดุษฎีบณั ฑติ ผลงานวิจัยเรอ่ื ง การพฒั นาโมเดลความสัมพนั ธ์เชิงสาเหตขุ องทกั ษะทางสงั คมในเดก็ หูหนวก โดยมีความสามารถในการเขา้ ใจความคดิ ของผูอ้ ื่นเปน็ ตวั แปรสง่ ผา่ น A Development of the Causal Relationship Model of Social Skills in Deaf Children with Theory of Mind as a Mediator โดย ดร.ปริญญา สริ ิอัตตะกลุ อาจารย์ทป่ี รึกษาหลกั ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พรรณระพี สทุ ธวิ รรณ คณะจติ วทิ ยา แหลง่ ทุนที่ไดร้ ับ - 576 ยกย่องเชิดชูเกยี รติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ผลงานวิจัยโดยสรุป การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนา และตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดล ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของทักษะทางสังคมในเด็กหูหนวกโดยมีความสามารถในการเข้าใจ ความคิดของผู้อ่ืนเป็นตัวแปรส่งผ่านที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยตัวอย่าง ในการวิจัยครั้งน้ี คือ เด็กหูหนวกท่ีได้ยินเสียงในระดับของเสียงตั้งแต่ ๙๐ เดซิเบลข้ึนไป และศึกษาอยู่ในชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๓ - ๖ ในโรงเรียนโสตศกึ ษา ๗ โรงเรียน รวมจำ� นวน ท้ังส้ิน ๒๐๐ คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยรายละเอียดดังต่อไปน้ี ๑) แบบ สอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของเด็ก เป็นการสอบถามข้อมูลจากครูประจ�ำช้ัน ประกอบด้วย ระดับการสูญเสียการได้ยิน อายุ จ�ำนวนพี่น้อง และการมีพ่อแม่หูหนวก หรือพ่อแม่ท่ัวไป ๒) การทดสอบความสามารถในการเข้าใจความคิดของผู้อ่ืน ๓) แบบวัดความเข้าใจ ความรู้สึกผู้อ่ืน ๔) แบบทดสอบทักษะการใช้ภาษามือ ๕) แบบวัดความผูกพันกับผู้เลี้ยงดู และ ๖) แบบวดั ทกั ษะทางสงั คม สำ� หรบั การนำ� เครอ่ื งมอื ทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั ไปใชก้ บั เดก็ หหู นวก ในคร้ังน้ี ผู้วิจัยให้ล่ามภาษามือไทยท่ีมีความเช่ียวชาญในภาษามือไทย จ�ำนวน ๒ คน เป็นผู้แปลใหเ้ ด็กหหู นวกไดเ้ ข้าใจการส่อื สารระหวา่ งผู้วจิ ัยกับเดก็ โดยก่อนการเก็บรวบรวม ข้อมูลผู้วิจัยจะสร้างความเข้าใจในการใช้เคร่ืองมือดังกล่าวให้กับล่ามภาษามือไทย เพื่อให้ เกิดความเข้าใจที่ตรงกันมากที่สุด วิเคราะห์ข้อมูลเบ้ืองต้นด้วยสถิติบรรยาย และวิเคราะห์ เพ่ือตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของทักษะทางสังคมใน เด็กหูหนวกโดยมีความสามารถในการเข้าใจความคิดของผู้อ่ืนเป็นตัวแปรส่งผ่านด้วยการ วิเคราะหโ์ มเดลสมการโครงสร้าง ความสามารถในการเขา้ ใจความคดิ ของผอู้ นื่ เปน็ ตวั แปรสง่ ผา่ นระหวา่ งการเขา้ ใจความ รู้สึกผู้อื่นกับทักษะทางสังคม หรือการเข้าใจความรู้สึกผู้อ่ืนมีอิทธิพลทางอ้อมต่อทักษะทาง สังคมผ่านความสามารถในการเข้าใจความคิดของผู้อ่ืนมากท่ีสุด อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .๐๑ รองลงมา ความสามารถในการเข้าใจความคิดของผู้อื่น เป็นตัวแปรส่งผ่าน ระหว่างความผูกพันกับผู้เลี้ยงดูกับทักษะทางสังคม หรือความผูกพันกับผู้เลี้ยงดูมีอิทธิพล ทางออ้ มตอ่ ทกั ษะทางสงั คมผา่ นความสามารถในการเขา้ ใจความคดิ ของผอู้ นื่ อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ิท่ีระดบั .๐๑ และความสามารถในการเขา้ ใจความคดิ ของผูอ้ นื่ เป็นตวั แปรส่งผ่าน ยกยอ่ งเชิดชเู กียรตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 577

ระหว่างทักษะการใช้ภาษามือกับทักษะทางสังคม หรือทักษะการใช้ภาษามือมีอิทธิพลทาง อ้อมต่อทักษะทางสังคมผ่านความสามารถในการเข้าใจความคิดของผู้อื่น อย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .๐๑ ส่วนความสามารถในการเข้าใจความคิดของผู้อื่น ไม่เป็นตัวแปร ส่งผ่านระหว่างอายุกับทักษะทางสังคม หรืออายุไม่มีอิทธิพลทางอ้อมต่อทักษะทางสังคม ผ่านความสามารถในการเขา้ ใจความคิดของผ้อู ื่น ตัวแปรทุกตัวร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของทักษะทางสังคมได้ร้อยละ ๓๒.๐๐ และตวั แปรทกุ ตวั รว่ มกนั อธบิ ายความแปรปรวนของความสามารถในการเขา้ ใจความคดิ ของ ผู้อ่ืน ได้ร้อยละ ๒๗.๐๐ และเมื่อพิจารณาถึงเส้นอิทธิพลทางตรงท่ีมีต่อทักษะทางสังคม พบว่า ความสามารถในการเขา้ ใจความคดิ ของผอู้ น่ื มอี ทิ ธิพลทางตรงมากทสี่ ดุ จึงสามารถ สรปุ ไดว้ ่าความสามารถในการเข้าใจความคิดของผอู้ น่ื ทำ� หน้าทเี่ ปน็ ตัวแปรสง่ ผา่ นในโมเดล ความสัมพันธเ์ ชงิ สาเหตขุ องทักษะทางสงั คมในเดก็ หหู นวก ส่งิ ทด่ี ีเด่นของงานวจิ ัย ๑. งานวิจัยน้ีเป็นงานวิจัยชิ้นแรกของประเทศไทยที่ท�ำการศึกษาความสามารถ ในการเขา้ ใจความคดิ ของผอู้ น่ื ในเดก็ หหู นวก ซ่ึงตอ้ งใชค้ วามพยามในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู อย่างย่ิง โดยการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยอาศัยความเข้าใจระหว่างผู้วิจัยกับล่ามภาษามือ ในการสอื่ สาร ๒. งานวจิ ยั น้ีเป็นงานวิจยั เรือ่ งแรก ๆ ของประเทศไทยท่ีท�ำการศกึ ษาความสามารถ ในการเขา้ ใจความคดิ ของผอู้ น่ื ซงึ่ แสดงใหเ้ หน็ วา่ เปน็ งานวจิ ยั ชนิ้ แนวหนา้ ของวงการการศกึ ษา จิตวิทยาพัฒนาในเด็กส�ำหรบั ประเทศไทย ๓. เครอ่ื งมอื ทผ่ี วู้ จิ ยั ใชส้ ำ� หรบั การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ครง้ั นเี้ ปน็ เครอ่ื งมอื ทผ่ี วู้ จิ ยั พฒั นา ขนึ้ เอง ซึ่งสามารถเปน็ เคร่ืองมอื ต้นแบบสำ� หรบั นกั วิจยั ทสี่ นใจท่ีจะเกบ็ ข้อมูลในเดก็ หูหนวก ตอ่ ไปได้ ๔. งานวจิ ยั นเี้ กบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากเดก็ หหู นวกจำ� นวนมาก ซงึ่ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความ พยามยามของนกั วจิ ยั ทตี่ อ้ งการขอ้ มลู ทจ่ี ะเปน็ ตวั แทนของประชากรเดก็ หหู นวกในประเทศ ท�ำให้ขอ้ มลู ท่ีไดร้ บั มคี วามสำ� คัญส�ำหรบั การพัฒนาเปน็ นโยบายตอ่ ไป 578 ยกย่องเชดิ ชเู กียรติบคุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

๕. จากผลการวิจัยจะพบว่าความสามารถในการเข้าใจความคิดของผู้อื่นของเด็ก หูหนวกล่าช้ากว่าเด็กทั่วไป ซ่ึงท�ำให้ส่งผลต่อทักษะทางสังคม การปรับตัว และการใช้ชีวิต ในภายภาคหน้าของผู้ท่ีมคี วามบกพร่องทางการไดย้ ิน ดงั นั้น พ่อแม่ ผู้ปกครอง และสถาบนั การศึกษาควรให้ความส�ำคัญ และตระหนักถึงเรื่องน้ีควบคู่ไปกับการส่งเสริมอาชีพในผู้ท่ีมี ความบกพร่องทางการได้ยินด้วย จึงแสดงให้เห็นว่างานวิจัยนี้สามารถประยุกต์ใช้ด้วยการ สร้างโปรแกรมการพัฒนาความสามารถในการเข้าใจความคิดของผู้อื่นในโรงเรียนโสตศึกษา ซึง่ จะท�ำใหเ้ ด็กหูหนวกมที ักษะทางสงั คมเพิ่มมากขน้ึ และจะท�ำใหพ้ วกเขาเป็นประชากรทีม่ ี คณุ ภาพในสังคมตอ่ ไป สถานที่ติดตอ่ คณะจิตวทิ ยา โทรศพั ท์ ๐๙-๒๔๒๙-๒๕๑๖ โทรสาร - E-mail: [email protected] ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 579

รางวัลผลงานวจิ ยั ดเี ด่น นสิ ิตดุษฎีบณั ฑิต ผลงานวจิ ยั เร่ือง มองผ่านตา “มาเฟียรสั เซีย”: การวเิ คราะห์รูปแบบองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ ในบริบทสังคมไทย From The Perspective of “Russian Mafia”: An Analysis of Transnational Organized Crime in Thai Social Context โดย ดร.แสงโสม กออุดม อาจารยท์ ป่ี รึกษาหลกั ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุมนทิพย์ จิตสว่าง ภาควชิ าสังคมวิทยาและมานุษยวทิ ยา คณะรัฐศาสตร์ แหลง่ ทุนท่ไี ด้รับ ทนุ ส่วนตวั 580 ยกย่องเชดิ ชเู กยี รติบคุ ลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ผลงานวจิ ัยโดยสรปุ ผลงานวจิ ยั เรอ่ื ง มองผา่ นตา “มาเฟยี รสั เซยี ”: การวเิ คราะหร์ ปู แบบองคก์ รอาชญากรรม ขา้ มชาติ ในบรบิ ทสังคมไทย มวี ตั ถปุ ระสงค์ในการศึกษาเพอ่ื ศกึ ษาพฤตกิ รรมและรูปแบบ การประกอบอาชญากรรมของมาเฟยี รสั เซยี ในประเทศไทย ตลอดจนมลู เหตจุ งู ใจและทศั นะ หรือมุมมองของมาเฟียรัสเซียด้านบริบทสังคมไทยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้ามาประกอบ อาชญากรรม อันจะน�ำไปสู่การเสนอแนวทางในการป้องกันปราบปรามและแก้ไขปัญหา การเข้ามาประกอบอาชญากรรมของมาเฟียรัสเซีย โดยใช้วิธีการในการด�ำเนินการวิจัย คือ การวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก เจ้าหน้าที่ต�ำรวจ เจ้าหน้าท่ีต�ำรวจตรวจคนเข้าเมือง เจ้าหน้าที่ต�ำรวจสากลและผู้ต้องขัง เชื้อชาตริ สั เซีย ผลการศกึ ษา พบวา่ กลมุ่ ผกู้ ระทำ� ผดิ มาเฟยี รสั เซยี มพี ฤตกิ รรมและรปู แบบการประกอบ อาชญากรรม ได้แก่ การปลอมแปลงและคัดลอกข้อมูลด้วยการสกิมม่ิงบัตรอิเล็กทรอนิกส์ การค้าและลักลอบจำ� หน่ายยาเสพติด การลักลอบนำ� หญงิ สาวจากประเทศยโุ รปตะวันออก เขา้ มาคา้ ประเวณี การประกอบธุรกิจการพนนั และการฟอกเงนิ ซง่ึ กอ่ ให้เกิดรายได้จ�ำนวน มหาศาลแก่องค์กรอาชญากรรมมาเฟียรสั เซีย ทัง้ น้ี มลู เหตุจูงใจที่ทำ� ใหม้ าเฟยี รสั เซียเขา้ มา กระท�ำผิดในประเทศไทย ได้แก่ ความต้องการเงินหรือผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ การไม่ เกรงกลัวต่อบทลงโทษ ความกดดันที่เกิดขึ้นจากสภาพปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม ในประเทศรัสเซียและผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจทมี่ ีความทบั ซ้อนของประเทศไทย อย่างไรก็ตาม ทัศนะหรือมุมมองทางบริบทสังคมไทยด้านสภาพแวดล้อม วัฒนธรรม ระบบการบริหาร สภาพทางภูมิศาสตร์ และระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยส่งผลต่อ กระบวนการตระหนักรู้ของมาเฟียรัสเซีย อันน�ำมาสู่การตัดสินใจประกอบอาชญากรรมใน ประเทศไทย ซ่ึงแนวทางสำ� หรับข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ไดแ้ ก่ ก�ำหนดนโยบายในการจัด ท�ำฐานข้อมูลการข้ึนบัญชีด�ำ (Blacklist) ของอาชญากรสัญชาติรัสเซีย การพัฒนาระบบ ฐานขอ้ มลู คนเขา้ เมอื งดว้ ยการบรู ณาการฐานขอ้ มลู ระหวา่ งหนว่ ยงานในกระบวนการยตุ ธิ รรม สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างประเทศและการเช่ือมโยงระบบฐานข้อมูลที่เก่ียวข้อง กับองค์กรอาชญากรรมข้ามชาตมิ าเฟียรัสเซีย เป็นต้น ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 581

สงิ่ ทดี่ ีเด่นของงานวิจัย ผลงานวจิ ยั เรอื่ ง “มองผา่ นตา “มาเฟยี รสั เซยี ”: การวเิ คราะหร์ ปู แบบองคก์ รอาชญากรรม ข้ามชาติในบริบทสังคมไทย” นับว่าเป็นประเด็นส�ำคัญของประเทศไทยและประเทศ ต่าง ๆ ท่ัวโลกที่ได้ให้การตระหนักถึงภัยจากองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ เน่ืองจาก ในปัจจุบันองค์มาเฟียรัสเซียได้เข้ามาประกอบอาชญากรรมในรูปแบบต่าง ๆ อันมีรูปแบบ การใช้ความรุนแรงและวิธีการที่ซับซ้อนมากย่ิงข้ึน ตลอดจนส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคมและความม่ันคงในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ท้ังน้ี ผลงานวิจัยฉบับดังกล่าว ไดใ้ ชว้ ธิ กี ารศกึ ษาโดยการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากการสมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ บคุ ลากรในกระบวนการ ยุติธรรม ได้แก่ ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมือง ต�ำรวจภูธรจังหวัด ภเู กต็ ตรวจคนเขา้ เมอื งจงั หวดั ชลบรุ ี ตรวจคนเขา้ เมอื งจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี ตรวจคนเขา้ เมอื ง จังหวัดภูเก็ต และกรมราชทัณฑ์ รวมท้ังผู้ต้องขังเช้ือชาติรัสเซียในเรือนจ�ำกลางบางขวาง เรอื นจำ� กลางคลองเปรม และเรอื นจำ� กลางชลบรุ ี ดว้ ยวธิ กี ารสมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ กบั กลมุ่ ตวั อยา่ ง โดยการใช้ภาษารัสเซียในการสื่อสารระหว่างผู้วิจัยและผู้ต้องขังเชื้อชาติรัสเซีย ด้วยวิธีการ ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั เชอื้ ชาตริ สั เซยี ถา่ ยทอดเรอื่ งราวและประสบการณใ์ นชวี ติ ทไ่ี ดร้ บั ผา่ นการพรรณนา หรือการบอกเล่าเร่ืองราวให้แก่ผู้วิจัย เพ่ือทราบทัศนะหรือมุมมองของกลุ่มตัวอย่างต่อการ เขา้ มาประกอบอาชญากรรมในประเทศไทย การเกบ็ ขอ้ มลู ดว้ ยวธิ กี ารดงั กลา่ วนำ� มาซงึ่ ขอ้ มลู รายละเอียดด้านพฤติกรรมการประกอบอาชญากรรม ตลอดจนทัศนะหรือมุมมองที่มีต่อ สภาพสังคมไทย ประกอบกับอาศัยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ การคัดกรองความจริง และ การคดั กรองกลมุ่ ตวั อยา่ งทเ่ี ปน็ หนง่ึ ในสมาชกิ องคก์ รอาชญากรรมขา้ มชาตมิ าเฟยี รสั เซยี รวม ทงั้ อาศยั ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ จากเจา้ หนา้ ทรี่ ฐั และเอกสารทางราชการประกอบการวเิ คราะหแ์ ละ สังเคราะหข์ อ้ มูล ขอ้ คน้ พบทไี่ ดร้ บั จากผลงานวจิ ยั สามารถพฒั นาไปสอู่ งคค์ วามรทู้ างทฤษฎอี าชญาวทิ ยา ในมุมมองใหม่ท่ีมิใช่จ�ำกัดอยู่แต่เพียงการพิจารณาถึงมูลเหตุจูงใจ พฤติกรรมการกระท�ำผิด และรูปแบบการประกอบอาชญากรรมในการอธิบายปรากฏการณ์หรือสาเหตุของการ ประกอบอาชญากรรมเท่าน้นั แต่มีการพัฒนาไปสู่การใหค้ วามส�ำคญั และให้การตระหนกั ถงึ ประเด็นด้านการรับรู้ (Perception) ทัศนะหรือมุมมองของมาเฟียรัสเซียในมิติทางบริบท 582 ยกย่องเชิดชูเกียรติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

สงั คมไทยเปน็ องคป์ ระกอบสำ� คญั ในการวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะหก์ ระบวนการตดั สนิ ใจเขา้ มา ประกอบอาชญากรรมในประเทศไทย ทั้งนี้ ผลงานวิจัยดังกล่าวสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ ทางวิชาการให้แก่แวดวงการศึกษาในสาขาวิชาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการศึกษาในประเด็นด้านองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ ตลอดจนข้อเสนอแนะเชิง นโยบายและเชิงปฏิบัติที่ได้รับจากผลงานวิจัยดังกล่าว สามารถพัฒนาไปสู่การก�ำหนดหรือ วางแนวปฏิบัติท่ีเกี่ยวข้องกับแนวทางในการแก้ไขปัญหาการเข้ามาประกอบอาชญากรรม ขององค์กรอาชญากรรมข้ามชาติได้อย่างเป็นรูปธรรมแก่หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม ตอ่ ไป สถานท่ีติดตอ่ ภาควชิ าสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยา คณะรฐั ศาสตร์ โทรศัพท์ ๐-๒๒๑๘-๗๒๙๙ โทรสาร ๐-๒๒๑๘-๗๓๐๐ E-mail: [email protected] ยกย่องเชดิ ชูเกียรติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 583

รางวัลผลงานวจิ ยั ดเี ดน่ นสิ ิตดษุ ฎบี ณั ฑติ ผลงานวิจยั เรื่อง การพฒั นารปู แบบการเรียนการสอนโดยบรู ณาการแนวคดิ การแกป้ ัญหาดว้ ยสารสนเทศ การเสรมิ การเรียนรู้ และ Z TO A เพอื่ สรา้ งผลงานสรา้ งสรรค ์ Development of An Instructional Model by Integrating Information Problem Solving, Scaffolding and Z to A Approach for Creative Product Development โดย ดร.ธิดารตั น์ ตันนริ ัตร์ อาจารยท์ ่ีปรกึ ษาหลัก รองศาสตราจารย์ ดร.เนาวนติ ย์ สงคราม ภาควิชาเทคโนโลยีและส่ือสารการศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ แหล่งทนุ ท่ไี ดร้ ับ สำ� นกั งานการวิจัยแหง่ ชาต ิ (วช.) 584 ยกย่องเชิดชเู กียรตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ผลงานวจิ ยั โดยสรุป ๑. นสิ ิต นกั ศึกษาครุศาสตร์/ศกึ ษาศาสตร์ ระดับปริญญาบณั ฑติ จำ� นวน ๕๕๗ คน มีความต้องการจ�ำเป็นในการท�ำความเข้าใจข้ันตอนการขอรับความคุ้มครองสิทธิบัตร ในลำ� ดบั ความตอ้ งการมากทสี่ ดุ (PNI Modified =0.495) รองลงมาคอื มคี วามตอ้ งการจำ� เปน็ ในการเขยี นอธบิ ายผลงานทส่ี รา้ งขนึ้ เพอ่ื รา่ งคำ� ขอรบั สทิ ธบิ ตั รได้ (PNI Modified = ๐.๔๗๖) ๒. รูปแบบการเรียนการสอนโดยบูรณาการแนวคิดการแก้ปัญหาด้วยสารสนเทศ การเสริมการเรียนรู้ และ Z TO A เพ่ือสร้างผลงานสร้างสรรค์และยื่นขอสิทธิบัตร เป็น การเรยี นแบบผสมผสาน มี ๖ องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ ๑) เนอ้ื หาการเรยี นรู้ ๒) กลยทุ ธก์ ารเรยี น การสอน ๓) บทบาทของอาจารย์ผู้สอน ๔) คณุ ลกั ษณะของผู้เรียน ๕) สอ่ื การเรียนการสอน และ ๖) การประเมนิ ผล ขนั้ ตอนการเรียนการสอน มี ๖ ขัน้ ตอน ได้แก่ ๑) เกริน่ นำ� และให้ ความรู้ ๒) ก�ำหนดปัญหาดว้ ยสารสนเทศ ๓) ค้นหาข้อมลู ๔) พจิ ารณาขอ้ มลู ๕) นำ� ขอ้ มูล ไปใช้ในการสร้างผลงานสร้างสรรค์ และ ๖) ร่างและย่ืนเอกสารประกอบการขอรับสิทธิ บัตร ๓. หลังจากการใช้รูปแบบการเรียน การสอนฯ ผเู้ รยี นสรา้ งผลงานสรา้ งสรรคแ์ ละ ยนื่ คำ� ขอสทิ ธบิ ตั ร คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๘๔.๖๒ อย่ ู ในระดับมากท่สี ุด และเป็นไปตามสมมติฐาน การวิจัยทีก่ ำ� หนดไว้ ๔. ผลการประเมนิ และรบั รองรปู แบบ การเรียนการสอนฯ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่า เฉลยี่ เทา่ กบั ๔.๘๐ อยใู่ นระดบั เหมาะสมมาก ท่สี ุด ยกย่องเชดิ ชเู กยี รตบิ ุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 585

สิ่งท่ีดเี ดน่ ของงานวิจัย ผูว้ จิ ยั มีผลงานบางส่วนที่ร่วมกันทำ� ขนึ้ ไดส้ ทิ ธิบัตรแล้ว ได้แก่ เลขท่ีสทิ ธบิ ัตร ๖๗๑๖๗ และ ๖๗๑๖๘ รวมทั้งสนับสนุนในการร่างค�ำขอสิทธิบัตรให้กับภาควิชาเทคโนโลยีและ สอ่ื สารการศกึ ษา และภาควชิ าศลิ ปะ ดนตรแี ละนาฏศลิ ปศ์ กึ ษา คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั ด้วย จงึ เป็นแรงบนั ดาลใจในการทำ� วทิ ยานิพนธ์ฉบบั นี้ ผลงานวิจัยที่ส�ำคัญประการหน่ึงคือได้รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการแก้ ปัญหาด้วยสารสนเทศ เพื่อสร้างผลงานสร้างสรรค์และย่ืนค�ำขอรับสิทธิบัตรของนิสิต นักศึกษาครศุ าสตร์/ศึกษาศาสตร์ ระดบั ปริญญาบณั ฑติ ซึ่งเปน็ ประโยชน์กับอาจารย์ทสี่ อน เกี่ยวกับการสร้างนวัตกรรม การสร้างผลงานสร้างสรรค์สามารถน�ำไปใช้/ปรับประยุกต์ 586 ยกยอ่ งเชิดชูเกียรติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ในการสอนได้ เพ่ือให้การน�ำไปใช้เกิดการเผยแพร่หลาย ผู้วิจัยจึงน�ำเสนอส่วนหนึ่งของ วิทยานิพนธ์เผยแพร่ในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติและตีพิมพ์ลงในวารสารระดับชาติ TCI กลุ่ม ๑ รวมถึงเม่ือเข้ามาท�ำงานในต�ำแหน่งอาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ เจ้าพระยา ผู้วิจัยน�ำส่วนหนึ่งของรูปแบบการเรียนการสอนมาใช้ในการส่งเสริมให้นักศึกษา สร้างส่ือการเรียนการสอน รวมท้ังสนับสนุนให้เพ่ือนอาจารย์ในมหาวิทยาลัยประยุกต์น�ำ รูปแบบการเรียนการสอนน้ีมาใช้ ท�ำให้นิสิต นักศึกษาสามารถสร้างผลงานสร้างสรรค์ได ้ มคี วามรเู้ บอื้ งตน้ เกยี่ วกบั สทิ ธบิ ตั ร และเรยี นรวู้ ธิ กี ารขอรบั ความคมุ้ ครองทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา ประเภทสทิ ธบิ ตั ร สถานทต่ี ิดตอ่ ภาควชิ าเทคโนโลยแี ละส่ือสารการศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ โทรศพั ท์ ๐-๒๒๑๘-๒๕๖๕ ต่อ ๔๑๒๑ โทรสาร ๐-๒๒๑๘-๒๕๖๕ E-mail: [email protected] ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รตบิ คุ ลากรแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 587

รางวัลผลงานวจิ ยั ดีเดน่ นิสติ ดุษฎีบัณฑิต ผลงานวจิ ยั เรือ่ ง เพลงตับ “พณิ ทกุ ขนโิ รธคามนิ ีปฏปิ ทา” A Musical Suite: Pin-Dukkhanirodhagaminipatipada โดย ดร.วราภรณ์ เชดิ ชู อาจารยท์ ปี่ รึกษาหลกั รองศาสตราจารย์ ดร.ข�ำคม พรประสทิ ธิ์ ภาควชิ าดุริยางคศลิ ป์ไทย คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ แหลง่ ทุนท่ีได้รบั สำ� นกั งานการวิจัยแหง่ ชาต ิ (วช.) (ทนุ อุดหนุนการวจิ ัย แผนพฒั นาศกั ยภาพบัณฑติ วิจยั รุ่นใหม่ ประจ�ำปี ๒๕๖๑ ระดบั ปริญญาเอก) 588 ยกย่องเชิดชูเกยี รติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ผลงานวิจัยโดยสรปุ การวิจัยสร้างสรรค์เพลงตับ “พิณทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” เป็นการศึกษาข้อมูลดนตรีพิณ ตามแนวคิดทางพุทธศาสนา อันน�ำมาสู่การสร้างสรรค์เพลงไทยจากแนวคิดแห่งการปฏิบัติที่น�ำไปสู่ การดับทุกข์ “ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ด้วยกระบวนการตีความจากข้อมูลเอกสาร หลักฐานและ การสมั ภาษณผ์ เู้ ชย่ี วชาญทงั้ ในดา้ นศาสนา ปรชั ญาและดนตรี จนไดข้ อ้ สรปุ แบง่ ออกเปน็ 3 สว่ นคอื ขอ้ มลู เชิงปรัชญา ข้อมูลเชิงศาสนาและข้อมูลเชิงดนตรีท่ีสามารถอธิบายเช่ือมโยงปรากฏการณ์หลักธรรมทาง สายกลางได้เป็นอยา่ งด ี ผลการวิจัยพบว่า พิณสามสายแห่งหลักธรรมทางสายกลางจัดเป็นพุทธวิธีการสอนที่ใช้คุณสมบัติ ทางดนตรี “พณิ ” เปน็ สอ่ื ในการอธบิ ายหลกั ธรรมค�ำสอนของสายทง้ั สามลกั ษณะคอื ความตงึ ความหยอ่ น และความพอดี อันเป็นความรูท้ ่ีพระองค์ทรงเปรียบเทยี บเพือ่ น�ำไปสกู่ ารปฏบิ ัตทิ เ่ี ป็นกลาง ขอ้ มูลดนตรี พิณสามารถสรุปออกเป็น ๓ นัยคือ (๑) พิณในทางพุทธศาสนาจัดเป็นสัญลักษณ์แห่งการก่อให้เกิด ปัญญา ความเข้าใจความสัจจริง (๒) พิณในทางความเช่ือมีลักษณะเป็นสัญลักษณ์แห่งเทพคนธรรพ์ ที่สามารถแสดงอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ได้ (๓) พิณในทางดนตรีเป็นลักษณะท่ีแสดงถึงคุณค่า ความงาม ความไพเราะ ความรน่ื รมย์ โดยข้อมูลดนตรีพิณตามแนวคิดทางศาสนาจากวรรณกรรมพระพุทธศาสนา อันประกอบด้วยการ คน้ ควา้ จากพระไตรปฎิ กฉบบั บาลอี กั ษรไทยและพระไตรปฎิ กภาษาไทยฉบบั มหาจฬุ าลงกรณร์ าชวทิ ยาลยั จำ� นวน ๔๕ เล่ม ผลการศกึ ษาพบว่า ขอ้ มูลดนตรีพิณในพระไตรปิฎกปรากฏข้อมูล ๓ ด้านคือ (๑) ด้าน ความหมาย พิณมีนัยแห่งหลักธรรมค�ำสอนโดยอุปมาจากสายและเสียงของพิณเปรียบด่ังความเพียร ความพยายาม ความซ่ือสัตย์ ความเสียสละ ความลุ่มหลงและแสดงสถานะของผู้มีบุญบารมี (๒) ด้าน ลักษณะของพณิ ปรากฏรูปแบบฮารป์ ลิวท์และโบว์ ซง่ึ เปน็ กลมุ่ เคร่อื งดนตรที ่มี ใี ช้ในยุคหลังพระเวทหรอื ยุคท่ีเกิดพุทธศาสนาขึ้นแล้ว (๓) ด้านบทบาทหน้าที่พบว่าพิณสามารถเป็นเครื่องท�ำท�ำนองและเครื่อง ทำ� เสยี งโดรนใชป้ ระกอบการขับรอ้ ง ส่วนการศึกษาหลักฐานและเอกสารโบราณแห่งอารยธรรมอินเดียดั้งเดิมสู่อารยธรรมสยาม ผลการศกึ ษาพบวา่ ในยุคกำ� เนิดพทุ ธศาสนาปรากฏชื่อเครอื่ งดนตรี “กระจับปี่” ข้ึนแล้ว ซึง่ เป็นเครื่อง ดนตรปี ระเภทลิวท์ มีสายจ�ำนวน ๓ - ๕ สาย และดว้ ยการแพร่กระจายอทิ ธิพลทางศาสนาจากเอเชยี ใต้ สเู่ อเชียตะวันออกเฉยี งใต้ ดังนนั้ เครอ่ื งดนตรีพิณ “กระจบั ป”ี่ จงึ ปรากฏในหลายพ้นื ทแี่ ละมีความแตก ตา่ งกันออกไป ทัง้ ในด้านการใช้งานและรปู ร่างลักษณะ แต่สิ่งทีย่ งั แสดงถึงร่องรอยเดยี วกันคือ รากศพั ท์ ของค�ำทีใ่ ชใ้ นวฒั นธรรมการเรียกชอ่ื เคร่ืองดนตรี ดังนั้น กระจับป่ที ีป่ รากฏอยู่ในวฒั นธรรมของไทย จดั อยู่ในประเภทพิณคอยาว เรียกชื่อตามแบบพิณลิวท์ที่ปรากฏในยุคหลังพระเวท ถึงแม้จะมีลักษณะเป็น พณิ คอยาวตามรูปแบบพณิ ท่ีปรากฏในยคุ กลางของอินเดียก็ตาม ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติบคุ ลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 589

ด้านผลงานการประพันธ์เพลงในครั้งน้ี ผู้วิจัยใช้กระบวนการประพันธ์เพลงตามหลักการประพันธ์ เพลงไทยในประเภทเพลงตับเรื่อง โดยมีท�ำนองตน้ รากทมี่ าจากบทสวดบาลจี �ำนวน ๔ บท ประกอบด้วย บทนอบน้อมนมสั การพระพทุ ธเจ้า บทธมั มจักกปั ปวตั นสตู ร บทสรรเสริญพระพุทธคุณท�ำนองสรภญั ญะ และบทไตรสรณคมน์ และรวมถึงท�ำนองต้นรากท่ีมาจากฉันท์ในคัมภีร์วุตโตทัยจ�ำนวน ๑๑ ฉันท์ ประกอบด้วย สทั ทุลวิกกีฬิตฉันท์ ๑๙ อินทรวงศฉนั ท์ ๑๒ มโนสมั มฉันท์ ๑๐ สาลินฉี นั ท์ ๑๑ อุปฏั ฐติ า ฉันท์ ๑๑ วาณนิ ีฉนั ท์ ๑๖ วชิ ชุมาลาฉนั ท์ ๘ จติ รปทาฉันท์ ๘ ประภทั ทกฉนั ท์ ๑๕ กมลฉันท์ ๑๒ และ สัทธราฉันท์ ๒๑ อันเป็นฉันทลัษณ์ที่มีความหมายสอดคล้องกับเรื่องราวและแนวคิดหลักของการ สร้างสรรค์แห่งเร่ืองราวทางสายกลาง แบ่งท�ำนองออกเป็น ๓ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ พุทธคุณ จ�ำนวน ๓ เพลง คือ เพลงพระผเู้ ปน็ เจา้ เพลงเหลา่ อินทรเทพและเพลงเสพปุถชุ น ส่วนท่ี ๒ ธรรมคณุ จ�ำนวน ๓ เพลง คือ เพลงอันตา เพลงทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เพลงอินทร์พิณจ�ำแลง และส่วนที่ ๓ สังฆคุณ จ�ำนวน ๑ เพลงคือ เพลงไตรสรณา ลักษณะพิเศษของเพลงตับเร่ืองชุดนี้คือ นอกจากการประพันธ์ ท�ำนองขึ้นใหม่โดยใช้แนวคิดจากฉันทลักษณ์ของบทสวดบาลี ฉันทลักษณ์ประเภทฉันท์แล้ว ยังใช้ แนวคิดเสียงโดรน (drone) เพ่ือต้องการส่ือถึงลักษณะดนตรีท่ีปรากฏในยุคพุทธศาสนา โดยผู้วิจัยจึง สรา้ งสรรค์ท�ำนองในลกั ษณะการประสานเสียงแบบแนวนอน ด้วยวธิ กี ารแบง่ ผ้บู รรเลงออกเปน็ ๓ กลมุ่ เพื่อบรรเลง ๓ ท�ำนองที่แตกต่างกัน ในลักษณะท่ียังคงเสียงลูกตกเดียวกัน ถึงแม้ว่าการใช้แนวคิดเสียง โดรนในเพลงไทยดงั กลา่ ว ยงั มขี อ้ จำ� กดั ในการนำ� เสนอ อาจดว้ ยลกั ษณะของทำ� นองเพลง ซงึ่ เปน็ ในลกั ษณะ เพลงไทยและรูปแบบการบรรเลงด้วยเครื่องดนตรีไทยก็ตาม อันเป็นวัฒนธรรมดนตรีท่ีมีความเฉพาะ แตกต่างกันกับวัฒนธรรมดนตรีอินเดีย แต่รูปแบบการน�ำเสนอและการบรรเลงดังกล่าว ยังสามารถสื่อ อรรถรสไดใ้ กลเ้ คยี งกบั แนวคดิ เสยี งโดรนมากทส่ี ดุ รวมถงึ การใชก้ ารประสานเสยี งแนวนอน การใชค้ ำ� รอ้ ง บาลีตามบทสวด การประพันธ์จังหวะหน้าทับใหม่ ตลอดจนการสอดแทรกและรักษานัยแห่งหลักธรรม ในพทุ ธศาสนาของทำ� นองตน้ รากอย่างเคร่งครดั สงิ่ ที่ดีเดน่ ของงานวิจยั โดยผลงานการสร้างสรรค์น้ีถือเป็นผลงานประพันธ์เพลงไทยชิ้นแรกที่เป็นลักษณะการสาธยาย ธรรมะเรอื่ งทางสายกลาง อนั เปน็ หวั ใจสำ� คญั ของการปฏบิ ตั ไิ ปสคู่ วามพน้ ทกุ ข์ ดงั นนั้ ผลงานการประพนั ธ์ นจ้ี ึงมีแนวคิด กระบวนการและลักษณะท�ำนองที่เป็นเอกภาพ (unity) ดว้ ยการใช้ศิลปะดนตรใี นการช่วย ส่งเสริมมิติธรรมะให้เกิดพลังธรรมะแก่ผู้รับฟัง อันจะสามารถสะท้อนถึงความสงบและความหมายแห่ง หลกั ธรรม ดงั เชน่ พุทธวธิ ีการสอนแหง่ องค์พระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าในการอปุ มาอุปไมยเรื่องพณิ เพื่อให้เกิด ความเข้าใจในหลักธรรมต่าง ๆ ได้ชัดเจนย่ิงข้ึน อีกท้ัง การวิจัยน้ีเป็นการสร้างสรรค์ข้ึนจากผลการวิจัย ดนตรีในยุคก�ำเนิดพุทธศาสนา ซ่ึงยังไม่ปรากฏผลการศึกษาด้านนี้มาก่อน นอกจากน้ี การวิจัยเร่ืองราว 590 ยกยอ่ งเชิดชูเกียรติบุคลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ดนตรีพณิ ตามแนวคดิ แหง่ พทุ ธศาสนาน้ีเป็นการเปิดมมุ มองและพรมแดนท่เี ช่อื มโยงระหว่างศิลปะดนตรี กบั พุทธศาสนา อันกอ่ ให้เกิดขอ้ มลู เชงิ ลึกทางด้านดนตรีท่ีเอ้ือต่อการศึกษาทางพุทธศาสตร์ โดยผลการวิจัยสามารถพัฒนาองค์ความรู้ด้านการประพันธ์เพลงไทย โดยท�ำให้การประพันธ์เพลง แบบอิสระ ให้มีกระบวนการเป็นระบบตลอดจนการประยุกต์ใช้ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องให้สัมพันธ์กับแนวคิด รวมทั้งผลของการวิจัยจัดเป็นองค์ความรู้และข้อมูลใหม่ทางวัฒนธรรมดนตรีที่เป็นต้นแบบและเป็น แนวทางการสร้างสรรค์ในดนตรีไทย ด้วยกระบวนการสร้างปรากฏการณ์ใหม่ในท�ำนองเพลงไทย เพื่อ สง่ เสรมิ มุมมองเชิงความคิดสรา้ งสรรค์ใหก้ บั วงวิชาการและสังคมไทย การวิจัยน้ีท�ำการศึกษาข้อมูลดนตรีพิณเชิงลึกที่ครอบคลุมพระไตรปิฎกฉบับบาลีอักษรไทยและ พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จ�ำนวน ๔๕ เล่ม จนน�ำมาสู่การตีความและ การอธิบายข้อมูลทางดนตรีท่ีปรากฏในพุทธศาสนา โดยพบข้อสรุปเชิงประจักษ์ของดนตรีพิณที่กล่าวถึง ในพระไตรปิฎก ซึ่งโดยท่ัวไปมักเข้าใจในแง่ของความเชื่อเหนือความเป็นจริงหรือเป็นเพียงคติเท่านั้น แตข่ อ้ เทจ็ จรงิ แล้ว พิณนั้นมรี ปู พรรณ สันฐานจรงิ สามารถระบอุ ายทุ ี่ปรากฏข้ึนไมน่ อ้ ยกว่าศตวรรษท่ี ๔ ในวัฒนธรรมอินเดียโบราณเป็นต้นมาและมีความสัมพันธ์กับกระจับปี่ในวงมโหรีราชส�ำนักไทยโบราณ รวมถึงการปรากฏเครือ่ งดนตรพี ิณในลกั ษณะเดยี วกนั ของภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ผลการวิจยั นยี้ งั ไดร้ บั ความสนใจในวงวชิ าการดนตรที ้งั ในระดับชาติและระดับนานาชาติ ดังที่ไดร้ ับ การตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการระดับชาติ และการคัดเลือกให้น�ำเสนอในการประชุมสมาคม สภาดนตรโี ลก ครง้ั ท่ี ๔๕ (The 45th International Council for Traditional Music World Conference (ICTM)) สถานที่ติดต่อ ภาควชิ าดนตรี คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร โทรศพั ท์ ๐-๕๕๙๖-๒๑๔๑, ๐๙-๕๙๕๐-๑๐๗๘ โทรสาร ๐-๕๕๙๖-๒๐๐๐ E-mail: [email protected] ยกย่องเชิดชเู กียรติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 591

รางวัลผลงานวิจัยดีเด่น นิสิตดุษฎีบัณฑติ ผลงานวจิ ัยเรอ่ื ง นวตั กรรมการออกแบบเคร่ืองประดับเคลือ่ นไหวจากแนวคิดทุนวฒั นธรรมไทย ทเ่ี คล่อื นไหวได้ Innovative Kinetic Jewelry Design from Thai Cultural Capital โดย ดร.พสุ เรืองปญั ญาโรจน์ อาจารย์ท่ีปรกึ ษาหลกั รองศาสตราจารย์ ดร.พดั ชา อทุ ศิ วรรณกลุ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ แหลง่ ทุนทไ่ี ด้รับ ทนุ สว่ นตวั 592 ยกย่องเชดิ ชูเกียรตบิ ุคลากรแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ผลงานวิจัยโดยสรปุ ประเทศไทยนนั้ มศี ลิ ปะและวฒั นธรรมตลอดจนขนบธรรมเนยี มประเพณอี นั ดงี ามมาชา้ นานทนุ วฒั นธรรมเปน็ การนำ� เอามรดกทางดา้ นวฒั นธรรมมาสบื สานและตอ่ ยอดในดา้ นตา่ งๆ ศลิ ปะจลศลิ ป์ (Kinetic art) เปน็ การผสมผสานระหวา่ งความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีหลอมรวมกับศาสตร์ความรู้ทางด้านศิลปะเพ่ือสร้างสรรค์ผลงานศิลปะท่ี สามารถเคล่ือนไหวได้อย่างอิสระและปัจจุบันวงการออกแบบเคร่ืองประดับในประเทศไทย และต่างประเทศยังไมม่ ีผู้ใดไดน้ �ำเอาแนวคิดทางด้านทนุ วัฒนธรรมมาผสมผสานกับศิลปะคิ เนตกิ (kinetic art) เพ่ือสรา้ งสรรค์เป็นผลงานเครือ่ งประดบั ร่วมสมยั ผู้วิจัยจึงเล็งเห็นโอกาสและความเป็นไปได้ในการสร้างสรรค์เครื่องประดับโดยใช้แนว ความคิดทางทุนวัฒนธรรมมาผสมผสานกับแนวความคิดศิลปะคิเนติก (kinetic art) และ สรา้ งสรรคเ์ ปน็ เครอ่ื งประดบั รว่ มสมยั เพอื่ ใหเ้ กดิ ความแปลกใหมใ่ นทอ้ งตลาด อกี ทง้ั เปน็ การ พฒั นาสรา้ งสรรคแ์ ละผลกั ดนั งานออกแบบจากการใชท้ นุ วฒั นธรรมขนึ้ ไปอกี ระดบั หนง่ึ ทงั้ น้ี ผลการวิจัยพบว่าการสร้างสรรค์ศิลปะการออกแบบเครื่องประดับโดยใช้ทุนวัฒนธรรม ประเภทห่นุ ละครไทย ทำ� ใหเ้ กดิ เครอื่ งประดบั ทสี่ ามารถดงึ เอาเอกลักษณข์ องหุ่นละครไทย ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติบุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 593

ทั้งทางด้านโครงสร้างกลไกการเคลื่อนไหวภายในรวมไปถึงรูปร่างลักษณะภายนอกน�ำมา ผสมผสานกับแนวความคิดทางด้านการเคลื่อนไหว เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมการออกแบบ เคร่ืองประดับที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นในเชิงพาณิชย์ และพบกรรมวิธีออกแบบเครื่องประดับ ท่ีสร้างสรรค์แปลกใหม่ โดยตัวเคร่ืองประดับสามารถขยับ เคลื่อนไหวรวมท้ังถอดประกอบ ปรบั เปลยี่ นประเภทการใชง้ านไดห้ ลากหลายตามแต่ความตอ้ งการของผู้สวมใส่ การสร้างนวัตกรรมการออกแบบเครื่องประดับเคลื่อนไหวจากแนวคิดทุนวัฒนธรรม เป็นการสร้างความสนใจให้กับกลุ่มคนรุ่นใหม่ เพ่ือให้ตระหนักในคุณค่าของวัฒนธรรมไทย อันเป็นเอกลักษณ์หนึ่งเดียวของโลกและหันกลับมาสนใจงานออกแบบเคร่ืองประดับ รว่ มสมยั ทใ่ี ชแ้ นวคดิ จากทนุ วฒั นธรรมมากขน้ึ ซงึ่ สอดคลอ้ งกบั นโยบายของภาครฐั ทต่ี อ้ งการ พัฒนาและส่งเสริมทุนวัฒนธรรมในเชิงพาณิชย์เพ่ือสร้างโอกาสในการพัฒนาผลงานการ ออกแบบจากทนุ วัฒนธรรมไทยใหเ้ กิดความยั่งยนื ทางดา้ นเศรษฐกจิ สังคม และวฒั นธรรม ของไทยสบื ต่อไป ส่ิงท่ดี ีเด่นของงานวจิ ัย การสรา้ งนวตั กรรมการออกแบบเครอ่ื งประดบั เคลอื่ นไหวจากแนวคดิ ทนุ วฒั นธรรมไทย ท่ีเคลื่อนไหวได้ ทั้งน้ีหลังจากผู้วิจัยได้ท�ำการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลท้ังหมดรวมไปถึง สรุปผลพบว่าผลการศึกษามีความสอดคล้องกับสมมติฐานที่ผู้วิจัยได้ต้ังเอาไว้ในเบื้องต้น ดังต่อไปน้ี ๑. การสรา้ งแนวทางในการออกแบบเครอ่ื งประดบั ทเ่ี คลอื่ นไหวไดโ้ ดยใชร้ ปู แบบกลไก การเคล่ือนไหวทีม่ ีความเหมาะสมมากที่สดุ เพื่อใหส้ ามารถสร้าง อัตลกั ษณ์ทีโ่ ดดเดน่ ในการออกแบบเครอื่ งประดบั ในเชิงพาณิชย์ ๒. การประยุกต์ใช้ทุนวัฒนธรรมประเภทห่นุ ละครไทย เพอ่ื ใหม้ คี วามเหมาะสมเพอื่ ใช้ในการออกแบบเคร่ืองประดับท่ีเคลื่อนไหวได้ให้มีเอกลักษณ์โดดเด่นแล้วเพื่อสร้างสรรค์ นวตั กรรมการออกแบบใหม่ในการออกแบบเครือ่ งประดับ ๓. การประยกุ ตใ์ ชเ้ ครอื่ งประดบั ทเี่ คลอื่ นไหวไดจ้ ากทนุ วฒั นธรรมไทยในเชงิ พาณชิ ย์ 594 ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รตบิ คุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ทั้งน้ีสามารถสรุปผลประโยชน์ที่ได้รับในมุมต่างๆจากการประยุกต์ใช้เครื่องประดับ ที่เคลือ่ นไหวได้จากทุนวฒั นธรรมไทยในเชงิ พาณชิ ย์ไดด้ ังต่อไปน้ี ๑.๑.๑ ดา้ นสังคม ท�ำให้สังคมเกิดความตื่นตัวในการรับรู้ทุนวัฒนธรรมไทยประเภทต่าง ๆ ในอดีตและ หันกลับมาสนใจในทุนวฒั นธรรมไทยน้ัน ๆ มากยงิ่ ขึ้นตามล�ำดับ ๑.๑.๒ ด้านเศรษฐกิจ เมอื่ สามารถประยกุ ตใ์ ชท้ นุ วฒั นธรรมไทยในการออกแบบสนิ คา้ หรอื บรกิ ารตา่ ง ๆ แลว้ จะส่งผลต่อสภาพเศรษฐกิจ ท�ำให้เกิดสภาพคล่องในการประกอบธุรกิจหรือบริการจากทุน วัฒนธรรมมากขนึ้ ๑.๑.๓ ด้านสุนทรียศาสตร์ กอ่ ใหเ้ กดิ สำ� นกึ ในการอนรุ กั ษส์ นุ ทรยี ศาสตรท์ มี่ เี อกลกั ษณห์ นง่ึ เดยี วของทนุ วฒั นธรรม ไทยประเภทต่าง ๆ และน�ำสุนทรียศาสตร์ดงั กลา่ วมาต่อยอดในเชิงสร้างสรรค์ต่อไป ๑.๑.๔ ดา้ นศิลปะวฒั นธรรมในสังคมร่วมสมยั ท�ำให้เกิดการประยุกต์ใช้ทุนวัฒนธรรมมาผสมผสานกับการออกแบบสมัยใหม่เพ่ือให้ เกิดเป็นศิลปะหรืองานออกแบบที่มีความร่วมสมัยและสามารถน�ำไปต่อยอดในเชิงพาณิชย์ หรอื ในเชิงสนุ ทรียศาสตร์สบื ตอ่ ไป สถานท่ตี ิดตอ่ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ โทรศพั ท์ ๐๙-๘๕๙๗-๘๗๙๕ E-mail: [email protected] ยกย่องเชิดชูเกียรตบิ ุคลากรแหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 595

รางวัลผลงานวจิ ยั ดีเด่น นิสิตมหาบณั ฑิต ผลงานวิจยั เรอ่ื ง ผลยบั ยัง้ ของไซพริพีดินต่อการเปล่ียนแปลงจากเซลลเ์ ยอื่ บผุ ิวไปเป็นเซลลม์ ีเซนไคม์ ในเซลล์มะเรง็ ปอดชนิดไม่ใชเ่ ซลล์เล็กผ่านวิถขี องเอเคที Inhibitory Effect of Cypripedin on Epithelial to Mesenchymal Transition in Non-Small Cell Lung Cancer Cells Via Akt Pathway โดย นางสาวสรุ ัสวดี ตรีสุวรรณ อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก รองศาสตราจารย์ เภสัชกรหญงิ ดร.วรษิ า พงศเ์ รขนานนท์ ภาควิชาเภสชั วทิ ยาและสรรี วิทยา คณะเภสัชศาสตร์ แหลง่ ทุนทไี่ ด้รบั ทุน ๙๐ ปี จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั 596 ยกย่องเชิดชูเกยี รติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ผลงานวิจัยโดยสรุป มะเร็งปอดเป็นสาเหตุการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งอันดับต้น ๆ ของผู้ป่วยจากทั่วโลก และยงั คงมผี ปู้ ว่ ยเสยี ชวี ติ มากขน้ึ ในทกุ ปี สาเหตเุ นอื่ งมาจากการแพรก่ ระจายของเซลลม์ ะเรง็ การแพร่กระจายของเซลล์มะเร็งเป็นกระบวนการหลายข้ันตอนที่ส่งเสริมให้เซลล์มะเร็ง หลุดออกจากอวัยวะต้นก�ำเนิดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ซึ่งกลไกท่ีส�ำคัญของการ แพรก่ ระจายคอื กระบวนการเปลยี่ นแปลงจากเซลลเ์ ยอื่ บผุ วิ ไปเปน็ เซลลม์ เี ซนไคม์ การรกั ษา โรคมะเร็งในปัจจุบันยังไม่สามารถยับยั้งกระบวนการเปล่ียนแปลงจากเซลล์เย่ือบุผิวไป เป็นเซลล์มีเซนไคม์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังน้ันการศึกษาพัฒนายาใหม่โดยมีเป้าหมาย ในการยับยั้งกระบวนการน้ี จึงเป็นส่วนส�ำคัญที่ช่วยในการรักษามะเร็งให้เกิดประสิทธิภาพ ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติบุคลากรแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 597

ในการศึกษาคร้ังน้ีพบว่าสารไซพริพีดิน ซึ่งเป็นสารเคมีในกลุ่ม Phenanthrenequinone สกัดได้จากกล้วยไม้สกุล Dendrobium densiflorum สามารถยับย้ังการแพร่กระจาย ของเซลล์มะเร็งปอดชนดิ H460 และ H23 ได้ โดยลดจำ� นวนของเส้นใย Actin stress fiber และ Focal adhesion อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ และยับย้ังการเจริญเติบโตของเซลล์ ภายใต้สภาวะไร้การยึดเกาะได้ การศึกษาในเชิงกลไกแสดงให้เห็นว่าสารไซพริพีดินยับย้ับ กระบวนการเปลยี่ นแปลงจากเซลลเ์ ยอ่ื บผุ วิ ไปเปน็ เซลลม์ เี ซนไคม์ และลดการแสดงออกของ โปรตีนบ่งชี้ ได้แก่ Slug, N-cadherin และ Vimentin ผ่านการยับยั้งการท�ำงานของวิถ ี Akt ซึ่งส่งผลต่อการกระตุ้นการท�ำงานของ GSK-3ß ในการเพิ่มการท�ำลายโปรตีน Slug งานวจิ ยั นแี้ สดงใหเ้ หน็ ถงึ ผลของสารไซพรพิ ดี นิ ในการยบั ยง้ั การเคลอื่ นทขี่ องเซลลม์ ะเรง็ ปอด ผ่านการยับย้ังกระบวนการเปลี่ยนแปลงจากเซลล์เย่ือบุผิวไปเป็นเซลล์มีเซนไคม์ ซึ่งจะเป็น ประโยชนต์ อ่ การวจิ ยั และพฒั นาสารน้ี เพอื่ ใชใ้ นการรกั ษาโรคมะเร็งปอดตอ่ ไปในอนาคต สง่ิ ทดี่ เี ด่นของงานวิจยั เป็นจุดเร่ิมต้นในการเข้าถึงกลไกหลักของการแพร่กระจายของเซลล์มะเร็งปอดชนิด ไม่ใช่เซลล์เล็กท่ีเกิดจากกระบวนการการเปลี่ยนแปลงจากเซลล์เยื่อบุผิวไปเป็นเซลล์มี เซนไคม์ และสามารถยบั ยง้ั วิถีนี้ได้ ซงึ่ สามารถนำ� ความรทู้ ีไ่ ด้จากการวจิ ัยครงั้ นี้ ไปใช้ต่อยอด ในงานวจิ ยั ตอ่ ๆ ไปในเชงิ ลกึ และเปน็ แนวทางในการพฒั นาสารสำ� คญั ไซพรพิ ดี นิ ใหเ้ กดิ เปน็ ตวั ยาใหมท่ ส่ี ามารถใชย้ บั ยง้ั การแพรก่ ระจายของเซลลม์ ะเรง็ เพอื่ ชลอการดำ� เนนิ โรครว่ มกบั ยาในปัจจุบนั ได้ 598 ยกย่องเชดิ ชเู กียรติบคุ ลากรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๒


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook