Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_43

tripitaka_43

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:40

Description: tripitaka_43

Search

Read the Text Version

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 101ปรุงแตงกด็ ี มปี ระมาณเพยี งไร, บรรดาธรรมเหลา นน้ั วิราคะเรากลา ววาเปน ยอด.\" บาทพระคาถาวา ทิปทานฺจ จกขฺ ุมา ความวา บรรดาสัตว ๒ เทาอันตา งโดยเทวดาและมนษุ ยเ ปนตนแมทั้งหมด พระตถาคตผมู จี กั ษ๑ุ ๕ประการเทา นั้น ประเสริฐ. จ ศัพท มอี ันประมวลมาเปน อรรถ ยอ มประมวลเอาอรปู ธรรมท้ังหลายดวย; เพราะฉะนั้น แมบรรดาอรูปธรรมทง้ั หลาย พระตถาคตกเ็ ปนผูป ระเสริฐ คอื สูงสดุ . บาทพระคาถาวา ทสสฺ นสสฺ วิสุทธฺ ยิ า ความวา ทางใดทีเ่ รา(ตถาคต) กลาววา \" ประเสรฐิ \" ทางน่นั เทานัน้ เพื่อความหมดจดแหงทัสสนะคือมรรคและผล; ทางอ่นื ยอมไมม .ี บทวา เอต หิ ความวา เพราะเหตนุ ้นั ทานทงั้ หลายจงดาํ เนินทางนน้ั น่นั แหละ. ก็บทวา มารเสนปฺปโมหน นั่น พระผูมพี ระภาคเจา ยอมตรัสวา\" เปน ท่ีหลงแหง มาร คือเปนทล่ี วงแหง มาร.\" บทวา ทุกฺขสสฺ ความวา ทา นทง้ั หลายจักทําทีส่ ุด คอื เขตแดนแหงความทุกขใ นวฏั ฏะแมท งั้ สิน้ ได. บทวา สลลฺ สตฺถน เปนตน ความวา เราเวนจากกิจทง้ั หลาย มีการไดฟ ง (จากผอู ืน่ ) เปน ตน ทราบทางนั่น อนั เปน ท่ีสลัดออกคือยาํ่ ยีไดแ กถอนออกซึ่งลูกศรทั้งหลาย มีลกู ศรคอื ราคะเปน ตน โดยประจักษแกตนแลวทเี ดยี ว จงึ บอกทางน้,ี บดั นีท้ านทั้งหลายพึงทํา ไดแกควรทาํความเพียรคอื สัมมัปปธาน อนั ถงึ ซง่ึ การนับวาอาตัปปะ เพราะเปนเครื่อง๑. มังสจักขุ จักษคุ ือดวงตา ๑ ทพิ พจกั ขุ จกั ษทุ ิพย ๑ ปญญาจักขุ จกั ษุคอื ปญ ญา ๑พทุ ธจักข จักษแหง พระพุทธเจา ๑ สมันตจักขุ จักษุรอบคอบ ๑.

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 102เผากเิ ลสทัง้ หลาย เพ่อื ประโยชนแกการบรรลทุ างนน้ั . เพราะพระตถาคตทงั้ หลายเปน แตผบู อกอยางเดียว, เพราะฉะนัน้ ชนทั้งหลายผูปฏบิ ตั แิ ลวดว ยสามารถแหง ทางท่พี ระตถาคตเจา เหลา นัน้ ตรัสบอกแลว มปี กตเิ พงดวยฌานสองอยาง ยอ มหลดุ พน จากเครอื่ งผกู แหงมารกลาวคอื วฏั ฏะอนัเปนไปในภูมสิ าม. ในเวลาจบเทศนา ภิกษเุ หลา นั้นดาํ รงอยแู ลวในพระอรหัตผล.พระธรรมเทศนาไดส ําเรจ็ ประโยชนแมแ กบ ุคคลผปู ระชมุ กนั แลว ดังนี้แล. เร่อื งภกิ ษุ ๕๐๐ รูป จบ.

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 103 ๒. เร่ืองภกิ ษุ ๕๐๐ รปู อนื่ อกี [๒๐๕] ขอ ความเบ้อื งตน พระศาสดา เมื่อประทบั อยใู นพระเชตวนั ทรงปรารภภกิ ษุ ๕๐๐ รูปตรัสพระธรรมเทศนาน้วี า \" สพเฺ พ สงฺขารา\" เปน ตน . ภกิ ษุเรยี นกัมมฏั ฐาน ดงั ไดสดบั มา ภกิ ษเุ หลานนั้ เรยี นกัมมัฏฐานในสํานักพระศาสดาแลวแมพากเพียรพยายามอยใู นปา กไ็ มบ รรลุพระอรหตั จงึ คิดวา \" เราจกัเรยี นกัมมัฏฐานใหวิเศษ\" ดังนแี้ ลว ไดไปสูสํานกั พระศาสดา. ทางแหง ความหมดจด พระศาสดาทรงพิจารณาวา \" กัมมฏั ฐานอะไรหนอแล เปน ที่สบายของภกิ ษเุ หลา นี้ ?\" จึงทรงดาํ รวิ า \" ภิกษเุ หลานี้ ในกาลแหงพระพุทธเจา ทรงพระนามวา กัสสป ตามประกอบแลว ในอนจิ จลกั ษณะสน้ิสองหมนื่ ป, เพราะฉะนั้น การแสดงคาถาดวยอนิจจลกั ษณะนั้นแลแกเ ธอท้ังหลาย สกั ๑ คาถายอมควร ดงั น้แี ลว ตรัสวา \" ภิกษทุ ้ังหลาย สังขารแมทั้งปวงในภพทั้งหลายมกี ามภพเปน ตน เปน สภาพไมเทยี่ งเลย เพราะอรรถวา มีแลวไมม ี \" ดังน้แี ลว จงึ ตรัสพระคาถานี้วา :-๒. สพเฺ พ สงฺขารา อนจิ จฺ าติ ยทา ปฺ าย ปสฺสติ อถ นิพฺพนิ ทฺ ติ ทุกฺเข เอส มคโฺ ค วิสทุ ฺธยิ า. \"เมื่อใด บณั ฑติ ยอ มเหน็ ดว ยปญญาวา ' สงั ขาร ทัง้ ปวงไมเทยี่ ง,' เมือ่ นัน้ ยอ มหนายในทุกข, ความ หนายในทกุ ข นน่ั เปน ทางแหงความหมดจด.\"

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 104 แกอ รรถ บรรดาบทเหลานัน้ หลายบทวา สพเฺ พ สงขฺ ารา เปน ตน ความวา เมือ่ ใดบณั ฑติ ยอ มเหน็ ดว ยวิปส สนาปญญาวา \" ขนั ธทงั้ หลายท่เี กิดข้ึนแลวในภพท้ังหลายมกี ามภพเปน ตน ชื่อวา ไมเท่ยี ง เพราะตองดับในภพนั้น ๆ เอง,\" เมื่อนน้ั ยอ มหนายในทุกขอ ันเนือ่ งดวยการบริหารขันธน้ี, เม่อื หนายยอ มแทงตลอดสจั จะทง้ั หลาย ดวยสามารถแหงกิจ มกี ารกาํ หนดรทู ุกขเ ปน ตน . บาทพระคาถาวา เอส มคโฺ ค วิสทุ ฺธิยา ความวา ความหนา ยในทุกข นัน่ เปนทางแหงความหมดจด คือแหง ความผอ งแผว. ในเวลาจบเทศนา ภิกษุเหลา น้ันต้ังอยูใ นพระอรหตั ผลแลว. เทศนาไดส ําเรจ็ ประโยชนแ มแ กบ ริษัททป่ี ระชมุ กนั แลว ดังนี้แล. เรือ่ งภิกษุ ๕๐๐ รปู อืน่ อกี จบ. แมใ นพระคาถาที่ ๒ เรอื่ งกอ็ ยา งนน้ั เหมอื นกนั . กใ็ นกาลนัน้พระผมู พี ระภาคเจา ทรงทราบความทภ่ี ิกษเุ หลา นน้ั ทําความเพยี รในอนักาํ หนดสังขารโดยความเปน ทุกขแลว ตรสั วา \"ภกิ ษุทั้งหลาย ขนั ธแมท้งั ปวง เปนทุกขแ ท เพราะอรรถวา ถูกทกุ ขบ ีบคนั้ \" ดังน้ีแลว จึงตรัสพระคาถานว้ี า :- สพเฺ พ สงขฺ ารา ทกุ ขฺ าติ ยทา ปฺาย ปสสฺ ติ อถ นพิ พฺ นิ ฺทติ ทุกเฺ ข เอส มคโฺ ค วิสุทฺธิยา. \" เม่ือใด บัณฑิตยอมเหน็ ดว ยปญ ญาวา ' สงั ขาร ทั้งปวงเปน ทกุ ข,' เม่ือนนั้ ยอ มหนา ยในทุกข, ความ หนา ยในทุกข นั่นเปน ทางแหง ความหมดจด.\"

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 105 แกอรรถ บรรดาบทเหลา นั้น บทวา ทุกขฺ า ความวา ชอื่ วาเปนทุกข เพราะอรรถวา ถูกทกุ ขบีบคน้ั . บทที่เหลอื กเ็ ชนกับบทอันมีในกอนนั้นแล. แมในพระคาถาที่ ๓ ก็มีนัยเชน นนั้ เหมอื นกัน. ก็ในพระคาถาที่ ๓นี้ พระผูมีพระภาคเจาทรงทราบความที่ภกิ ษเุ หลาน้ันเปน ผตู ามประกอบแลว ในอันกาํ หนดสังขารโดยความเปนอนัตตา ในกาลกอ นอยา งสิ้นเชงิแลว ตรสั วา \" ภิกษุทัง้ หลาย ขนั ธแมท้งั ปวงเปนอนตั ตาแท เพราะอรรถวา ไมเ ปน ไปในอาํ นาจ\" ดังนี้แลว จึงตรสั พระคาถาน้วี า :- สพเฺ พ ธมฺมา อนตตฺ าติ ยทา ปฺาย ปสสฺ ติ อถ นพิ พฺ นิ ฺทติ ทกุ เฺ ข เอส มคฺโค วสิ ุทธฺ ยิ า. \" เมอื่ ใด บณั ฑิตยอ มเหน็ ดวยปญญาวา ' ธรรม ทงั้ ปวงเปนอนตั ตา,' เมื่อน้นั ยอ มหนายในทกุ ข, ความหนา ยในทกุ ข นัน่ เปน ทางแหง ความหมดจด.\" แกอรรถ บรรดาบทเหลา นนั้ สองบทวา สพฺเพ ธมมฺ า พระผมู ีพระภาคเจาทรงประสงคเ อาขันธ ๕ นีเ้ อง. บทวา อนตฺตา ความวา ชอื่ วา อนตั ตา คือวา งเปลา ไมม ีเจาของไดแกไมม อี ิสระ เพราะอรรถวา ไมเปน ไปในอาํ นาจ เพราะใคร ๆ ไมอาจใหเ ปน ไปในอํานาจวา \" ธรรมท้ังปวง จงอยา แก จงอยาตาย.\" บทที่เหลอื ก็เชนกับบทที่มแี ลวในกอนน่นั เอง ดังนแ้ี ล. เรอ่ื งภิกษุ ๕๐๐ รปู อนื่ อีก จบ.

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 106 ๓. เรอ่ื งพระปธานกัมมกิ ติสสเถระ [๒๐๖] ขอ ความเบ้ืองตน พระศาสดา เมื่อประทับอยใู นพระเชตวัน ทรงปรารภพระปธาน-กมั มกิ ติสสเถระ ตรสั พระธรรมเทศนานว้ี า \"อฏุ านกาลมหฺ \"ิ เปนตน . พวกภกิ ษปุ ระสงคจะกราบทลู คุณทตี่ นได ไดย นิ วา กลุ บตุ รชาวกรุงสาวตั ถปี ระมาณ ๕๐๐ คน บวชในสํานักพระศาสดา เรียนกัมมัฏฐานแลวไดไปสปู า . บรรดาภกิ ษเุ หลา นน้ั รปู หนง่ึพกั อยูในทน่ี นั้ เอง. ทีเ่ หลอื ทําสมณธรรมอยูในปา บรรลุพระอรหัต คิดวา \" พวกเราจกั กราบทูลคณุ อันตนไดแลว แดพระศาสดา\" ได (กลบั )ไปยงั กรงุ สาวัตถอี ีก. อุบาสกคนหนง่ึ เหน็ ภกิ ษุเหลานน้ั ผูเท่ียวบณิ ฑบาตอยูใ นบา นแหง หนง่ึ ในทป่ี ระมาณโยชนห น่ึงแตกรุงสาวตั ถี จงึ ตอนรบัดวยวตั ถทุ ั้งหลายมียาคูและภัตเปน ตน ฟงอนโุ มทนาแลว จงึ นิมนตเพื่อประโยชนแ กการฉันในวันรุง ขึน้ . ภกิ ษุเหลาน้ัน ไปถงึ กรงุ สาวตั ถใี นวันน้ันเอง เก็บบาตรและจีวรไวแลว ในเวลาเย็นเขา ไปเฝาพระศาสดา ถวายบังคมนง่ั อยแู ลว. พระ-ศาสดา ทรงแสดงความยนิ ดีอยา งยิง่ กบั ดวยภิกษุเหลานัน้ ไดท รงทําการตอนรบั แลว. ความไมรจู ักกาลใหเกิดความเดือดรอน ขณะนัน้ ภกิ ษสุ หายแหงภิกษุเหลานัน้ ผูย ังเหลอื อยใู นท่ีน้นัคดิ วา \" เมอื่ พระศาสดาทรงทําการตอนรับภิกษุเหลา นนั้ พระโอษฐย อ มไมพอ (จะตรสั ), แตหาตรัสปราศรัยกับดวยเราไม เพราะมรรคและผล













































































พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 145 ๒๑. ปกิณณกวรรควรรณนา๑. เร่อื งบุรพกรรมของพระองค [๒๑๔] ขอ ความเบอ้ื งตน พระศาสดา เมอื่ ประทับอยูใ นพระเวฬวุ ัน ทรงปรารภบุรพกรรมของพระองค ตรัสพระธรรมเทศนานวี้ า \" มตตฺ าสุขปรจิ ฺจาคา\" เปน ตน. เกดิ ภัย ๓ อยางในเมืองไพศาลี ความพิสดารวา ในสมยั หนง่ึ เมืองไพศาลไี ดเปน เมืองมงั่ ค่งั กวาง-ขวาง มีชนมาก มีมนุษยเกล่ือนกลน . ก็ในเมืองไพศาลีนัน้ ไดม กี ษตั ริยครอบครองราชสมบตั ิตามวาระกนั ถึงเจ็ดพนั เจ็ดรอ ยพระองค. ปราสาทเพอื่ ประโยชนเ ปนท่ปี ระทับของกษัตริยเหลา นน้ั ก็มปี ระมาณเทานั้นเหมือนกนั , เรอื นยอดก็มีประมาณเทานั้นเหมอื นกนั ; สถานทร่ี ื่นรมยและสระโบกขรณี เพอ่ื ประโยชนเ ปน ทีป่ ระทับอยใู นพระราชอทุ ยาน กไ็ ดม ีประมาณเทาน้นั เหมือนกนั . โดยสมยั อน่ื อีก เมอื งไพศาลนี ้นั ไดเปนเมืองมภี กิ ษาหาไดยาก ขา วกลา เสียหาย. ทีแรกพวกมนุษยทขี่ ัดสนในเมอื งไพศาลนี นั้ ไดต ายแลว(มากกวามาก) เพราะโทษคอื ความหวิ . พวกอมนุษยกเ็ ขาไปสูพระนครเพราะกลิน่ ซากศพของมนษุ ยเหลาน้ัน อันเขาทงิ้ ไวใ นที่น้ัน ๆ, มนุษยทั้งหลายไดต ายมากกวามาก เพราะอุปทวะท่เี กดิ จากอมนษุ ย. อหวิ าตกโรคเกิดขนึ้ แกสตั วท้ังหลาย เพราะความปฏิกลู ดว ยกล่นิ ศพแหงมนุษยเหลานั้น.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 146ภัย ๓ อยาง คอื \"ภยั เกดิ แตภกิ ษาหาไดยาก ๑ ภัยเกดิ แตอ มนุษย ๑ภยั เกิดแตโ รค ๑\" เกิดขึ้นแลวดวยประการฉะน้ี. ชาวนครประชุมกันแลว กราบทูลพระราชาวา \"มหาราช ภยั ๓อยางเกิดข้ึนแลว ในพระนครน,้ี ในกาลกอ นแตกาลน้ี จนถงึ พระราชาช้นั ๗ ชอื่ วาภัยเหน็ ปานน้ไี มเคยเกดิ ข้นึ แลว; เพราะวา ในรัชกาลของพระราชาผูท รงธรรมทัง้ หลาย ภยั เหน็ ปานนย้ี อ มไมเกดิ ขึน้ .\" พระราชารบั สง่ั ใหทําการประชมุ ชนทั้งปวงในทอ งพระโรงแลวตรสั วา \"ถา วาความไมทรงธรรมของเรามอี ยไู ซร, ทานทงั้ หลายจงตรวจดซู ึง่ เหตนุ ั้น.\" ชาวเมืองไพศาลีตรวจดูประเพณีทุกอยาง ไมเหน็ โทษอะไร ๆ ของพระราชา จึงกราบทูลวา \"มหาราช โทษของพระองคไมม\"ี จึงปรกึ ษากนั วา \"อยางไรหนอแล ภัยของพวกเราน้พี ึงถงึ ความสงบ ?\" บรรดาชนเหลา น้ัน เมอื่ บางพวกกลา ววา \"ภัยพงึ ถงึ ความสงบดวยการพลกี รรม ดวยการบวงสรวง ดว ยการกระทํามงคล,\" ชนเหลานั้นทาํ พธิ ีน้นั ทัง้ หมด กไ็ มอ าจปองกันได. ชนพวกอ่ืนกลาวกนั อยา งนว้ี า \"ครูท้งั ๖ มอี านภุ าพมาก, พอเมอ่ืครูทัง้ ๖ มาในทน่ี ้ีแลว, ภัยพึงสงบไป.\" อีกพวกหนึ่งกลาววา \"พระ-สัมมาสมั พทุ ธเจา เสด็จอบุ ตั ขิ นึ้ แลว ในโลก, อนั พระผูมีพระภาคเจาพระองคนัน้ มฤี ทธม์ิ าก มีอานุภาพมาก ทรงแสดงธรรมเพอ่ื ประโยชนแกสรรพ-สัตว; เมื่อพระองคเ สด็จมาในทีน่ แ้ี ลว , ภยั เหลา น้ีพึงถึงความสงบได.\"ชนแมท ุกจําพวกชอบใจถอ ยคาํ ของชนเหลา นนั้ แลว กลาววา \"เดย๋ี วนี้พระผูมีพระภาคเจา พระองคน ั้นประทับอยู ณ ที่ไหนหนอแล ?\"

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 147 ชาวเมอื งไพศาลใี หไปทูลเชิญพระศาสดา กใ็ นกาลนั้น เมอ่ื ดิถีเปนท่เี ขาจําพรรษาใกลเ ขา มาแลว, พระศาสดาทรงประทานปฏญิ ญาแกพระเจาพมิ พสิ าร แลว เสดจ็ อยูในพระเวฬุวนั . กโ็ ดยสมยั นั้น เจาลิจฉวีพระนามวา มหาลี ทรงบรรลโุ สดาปต ติผลพรอ มดวยพระเจาพมิ พิสารในสมาคมแหง พระเจาพิมพสิ าร ประทบั นงั่ ในทใี่ กลแหงบริษัทนน้ั . ชาวเมืองไพศาลี ตระเตรียมบรรณาการใหญ สงเจา มหาลีลิจฉวีและบตุ รของปโุ รหิตไปดวยสง่ั วา \" ทานท้ังหลาย จงยงัพระเจา พิมพิสารใหย ินยอมแลว นําพระศาสดามาในพระนครนี.้ \" เจามหาลลี จิ ฉวีและบุตรปุโรหติ เหลานั้นไปแลว ถวายบรรณาการแดพ ระราชากราบทลู ความเปนไปน้ันใหทรงทราบแลว ออ นวอนวา \" มหาราช ขอพระองคทรงสง พระศาสดาไปยงั พระนครแหงขา พระองค.\" พระราชา ตรัสวา \" ทานทัง้ หลายจงรูเ อาเองเถิด\" แลว ไมท รงรับ(บรรณาการนัน้ ). ชนเหลา นัน้ เขาไปเฝา พระผูมีพระภาคเจา ถวายบังคมแลว ทลู ออนวอนวา \" ขาแตพระองคผ เู จริญ ในเมืองไพศาลเี กิดภัย ๓อยา ง, เมื่อพระองคเสด็จไป, ภยั เหลา น้นั กจ็ กั สงบ, เชญิ เสด็จเถิดพระเจา ขา . ขา พระองคท้งั หลายจะไป.\" พระศาสดาทรงสดับคําของชนเหลา นน้ั แลว ทรงใครค รวญอยู ก็ทรงทราบวา \" ในเมืองไพศาลี เมอ่ืเราสวดรัตนสูตร, อาชญาจักแผไ ปตลอดแสนโกฏิจกั รวาล, ในกาลจบพระสตู ร การบรรลุธรรมจกั มีแกสตั วแปดหม่นื สพ่ี นั , ภัยเหลานน้ั กจ็ ักสงบไป\" แลวทรงรบั ถอยคาํ ของชนเหลา น้ัน. พระศาสดาเสดจ็ เมอื งไพศาลี พระเจาพิมพสิ ารทรงสดับขาววา \" นัยวา พระศาสดาทรงรับการ

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 148เสดจ็ ไปยงั เนอื งไพศาลี \" แลว รบั สง่ั ใหท าํ การปา วรอ งในพระนครเขาไปเฝา พระศาสดา ทูลถามวา \" พระองคทรงรบั การเสดจ็ ไปเมอื งไพศาลีหรือพระเจา ขา ?\" เมอ่ื พระศาสดาตรัสวา \" ขอถวายพระพร มหาบพิตร\"ทลู วา \" ถา กระน้ัน ขอพระองคท รงรอกอน พระเจา ขา , ขา พระองคจดั แจงหนทางกอ น \" แลวรับสง่ั ใหปราบพนื้ ท่ี ๕ โยชนใ นระหวางกรุง-ราชคฤหและแมน ้าํ คงคา (ตอ กนั ) ใหส ม่าํ เสมอ ใหจ ดั แจงวหิ ารไวในท่ีโยชนห นง่ึ ๆ จงึ กราบทลู กาลเปนที่เสด็จไปแดพระศาสดา. ครั้งนัน้ พระศาสดาเสด็จเดินทางกับภิกษุ ๕๐๐ รูป. พระราชารบั สั่งใหโ ปรยดอกไม ๕ สี โดยสวนสูงประมาณเพยี งเขา ในระหวางโยชนหนึง่ ๆ แลว ใหย กธงชยั ธงแผนผา และตนกลว ยเปนตน ใหกนั้เศวตฉตั ร ๒ คนั ซอ นกันแดพระผูมพี ระภาคเจา ก้ันเศวตฉตั รแกภ กิ ษุรปู ละคนั ๆ พรอมทั้งบรวิ าร ทรงทําบูชาดว ยดอกไมแ ละของหอมเปน ตนทรงอาราธนาพระศาสดาใหป ระทับอยใู นวหิ ารแหง หนึ่ง ๆ ถวายมหาทานแลว ใหเสด็จถึงฝง แมน าํ้ คงคาโดย ๕ วัน ทรงประดบั เรือในท่ีน้ัน พลางทรงสงขาวไปแกชาวเมอื งไพศาลีวา \" ชาวเมอื งไพศาลจี งจัดแจงหนทางทาํ การรบั รองพระศาสดาเถดิ .\" ชาวเมืองไพศาลจี ดั การตอนรบั พระศาสดา ชาวเมืองไพศาลีเหลา นัน้ คดิ วา \" เราทัง้ หลายจักทําการบูชาทวีคณู(๒ เทา) แลว ปราบพืน้ ที่ประมาณ ๓ โยชน ในระหวา งเมอื งไพศาลแี ละแมน ํ้าคงคา (ตอ กนั ) ใหส ม่ําเสมอ แลวตระเตรยี มเศวตฉัตรซอ น ๆ กนัดวยเศวตฉัตร เพอื่ พระผมู ีพระภาคเจา ๔ คนั เพอื่ ภิกษุรูปละ ๒ คันทาํ การบูชาอยู ไดม ายืนอยูที่ฝง แมนํ้าคงคาแลว .

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 149 พระเจา พิมพิสาร ทรงขนานเรือ ๒ ลาํ ใหทาํ พลับพลา ใหป ระดบัดว ยพวงดอกไมเ ปน ตน ปลู าดพทุ ธอาสนส ําเร็จดว ยรัตนะทุกอยา งไว.พระผมู พี ระภาคเจา ประทบั นั่งบนพุทธอาสนน้ัน. แมภิกษุทงั้ หลายกข็ นึ้ สูเรอื นงั่ แวดลอ มพระผมู พี ระภาคเจา แลว. พระราชาเมอ่ื ตามสงเสดจ็ ลงไปสูนํ้าประมาณเพียงพระศอ กราบทูลวา \" ขา แตพระองคผ เู จรญิ พระผมู -ีพระภาคเจา เสดจ็ มาตราบใด, หมอ มฉนั จักอยูที่ฝง แมน า้ํ คงคานน้ี นั่ แหละตราบน้ัน\" สง เรือไปแลว กเ็ สดจ็ กลบั . พระศาสดาเสด็จไปในแมนํา้ คงคาส้นิ ทางไกลประมาณโยชนห นึ่ง จงึ ถงึ แดนของชาวเมืองไพศาล.ี เจา ลจิ ฉวที งั้ หลาย ทรงตอ นรับพระศาสดา ลุยนา้ํ ประมาณเพยี งพระศอ นําเรอื เขายงั ฝง แลว เชิญเสด็จพระศาสดาใหล งจากเรอื . พอเมอื่พระศาสดาเสดจ็ ขนึ้ จากเรอื เหยยี บฝงแมน ํา้ เทา น้ัน, มหาเมฆตั้งขึน้ ยังฝนโบกขรพรรษใหต กแลว. ในทท่ี ุก ๆ แหง นํา้ ประมาณเพยี งเขา เพยี งขาเพียงสะเอวเปนตน ไหลบาพัดพาเอาซากศพทง้ั ปวง ใหเขา ไปในแมน ้ําคงคาแลว . ภูมิภาคไดส ะอาดแลว . เจา ลจิ ฉวที ัง้ หลายทูลใหพ ระศาสดาประทบั อยูใ นทีโ่ ยชนห น่ึง ๆ ถวายมหาทานทําการบูชาใหเปน ๒ เทานาํ เสด็จไปสูเ มอื งไพศาลี โดย ๓ วัน. ทา วสกั กเทวราชอนั หมเู ทวดาแวดลอ มไดเ สด็จมาแลว. อมนุษยทง้ั หลายหนีไปโดยมาก เพราะเทวดาทงั้ หลายผูมีศกั ดใิ์ หญป ระชุมกันแลว. นํา้ มนตแหงพระปรติ รมอี ํานาจมาก พระศาสดา ประทับยนื ที่ประตูพระนครในเวลาเย็น ตรัสเรยี กพระอานนทเถระมาแลว ตรัสวา \"อานนท เธอจงเรยี นรตั นสตู รนแ้ี ลวเทีย่ วไปกับเจา ลจิ ฉวกี ุมารทง้ั หลาย ทําพระปริตรในระหวางกําแพง ๓ ช้นั

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 150ในเมอื งไพศาลี.\" พระเถระเรยี นรตั นสตู รท่พี ระศาสดาประทานแลว เอาบาตรสําเร็จดว ยศลิ าของพระศาสดาตกั นา้ํ ยืนอยูประตพู ระนครแลว .ระลกึ ถงึ พระพทุ ธคุณของพระตถาคตเหลา นนั้ ทงั้ หมด จาํ เดมิ แตตัง้ ความเพยี รไววา \" พระบารมี ๓๐ ถว น คือบารมี ๑๐ อุปบารมี ๑๐ ปรมตั ถ-บารมี ๑๐ มหาบรจิ าค ๕ จรยิ า ๓ คือ โลกตั ถจรยิ า ๑ ญาตตั ถจริยา ๑พทุ ธตั ถจริยา ๑ การกาวลงสูพ ระครรภใ นภพทส่ี ดุ การประสตู ิ การเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ การทรงประพฤติความเพยี ร การชํานะมาร การแทงตลอดพระสัพพัญตุ ญาณเหนอื บลั ลงั กไมโพธ์ิ การยงั พระธรรมจักรใหเ ปน ไป และพระโลกุตรธรรม ๙ \" แลว เขาไปยงั พระนคร เท่ยี วทําพระปรติ รในระหวางกําแพงทงั้ ๓ ตลอด ๓ ยามแหงราตรี. เมอื่ คาํ สักวา\" ยงฺกิจฺ ิ \" เปน ตน อนั พระเถระนั้นกลา วแลวเทาน้นั , นํา้ ท่ีสาดขึ้นไปเบื้องบนตกลงบนกระหมอ มของอมนษุ ยทั้งหลาย. จําเดมิ แตการกลาวคาถาวา \" ยานีธ ภูตานิ \" เปนตน , หยาดน้าํเปนราวกะวา เทริดเงนิ พุง ขนึ้ ในอากาศ แลว ตกลง ณ เบอ้ื งบนแหง มนุษยทัง้ หลายผูปวย. มนุษยทง้ั หลายหายโรคในทนั ใดน่นั เอง แลว ลุกขึ้นแวดลอ มพระเถระ. กจ็ ําเดมิ แตบทวา \" ยงกฺ ิ จฺ ิ \" เปนตน อนั พระเถระกลาวแลว อมนุษยท ั้งหลายถกู เมล็ดน้าํ กระทบแลว ๆ ยงั ไมหนไี ปกอ น ท่ีอาศยักองหยากเย่ือและสวนแหง ฝาเรือนเปนตน ก็หนีไปแลวโดยประตูนน้ั ๆ.ประตทู ัง้ หลายไมมชี อ งวางแลว . อมนษุ ยเหลานั้นเมอื่ ไมไดโอกาส ก็ทําลายกําแพงหนีไป. มหาชนประพรมทอ งพระโรงในทามกลางพระนครดวยของหอมท้ังปวง ผูกผา เพดานอันวิจิตรดว ยดาวทองเปนตน ในเบ้ืองบนตกแตงพทุ ธอาสน นาํ เสด็จพระศาสดามาแลว.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook