พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 433ยอ มรุง เรอื งในเวลาประดบั แลวเทา นนั้ , พระขณี าสพ ละความระคนดว ยหมแู ลว ยอ มรงุ เรอื งในภายในสมาบัตเิ ทา นั้น, สว นพระพุทธเจา ยอ มรงุ เรอื งดวยเดช ๕ อยา ง ทงั้ ในกลางคนื ทงั้ ในกลางวัน \" ดังน้แี ลวตรสั พระคาถานวี้ า :-๕. ทิวา ตปติ อาทิจโฺ จ รตตฺ ิมาภาติ จนฺทิมาสนฺนทโฺ ธ ขตฺติโย ตปต ฌายี ตปติ พรฺ หฺมโณอถ สพพฺ มโหรตฺตึ พุทโฺ ธ ตปติ เตชสา.\" พระอาทิตย ยอ มสองแสงในกลางวนั ,พระจนั ทร ยอ มรุง เรืองในกลางคนื , กษตั ริย ทรงเครือ่ งรบแลว ยอมรงุ เรอื ง, พราหมณผมู ีความเพงยอมรงุ เรอื ง. สว นพระพุทธเจา ยอมรงุ เรืองดว ยเดชตลอดกลางวนั และกลางคนื .\" แกอ รรถบรรดาบทเหลาน้ัน สองบทวา ทวิ า ตปติ ความวา พระอาทติ ยยอมรุงเรืองเฉพาะในกลางวัน, แตแมท างทพ่ี ระอาทติ ยนน้ั ไปในกลางคนืหาปรากฏไม.บทวา จนฺทมิ า ความวา แมพระจันทร ทพ่ี น แลวจากหมอกเปนตน กร็ ุงเรอื งเฉพาะในกลางคนื , หารุงเรืองในกลางวันไม.บทวา สนนฺ ทโฺ ธ ความวา พระราชาผทู รงประดับดวยเคร่ืองอสิ ริยาภรณท ง้ั ปวงอนั วจิ ติ รดว ยทองและแกว มณี อนั เสนามอี งค ๔๑นแวดลอ มแลว เทา น้ัน ยอมรุงเรอื ง, ทา วเธอประทบั อยูดวยเพศอนั บคุ คลไมร ู (ปลอมเพศ) หารงุ เรืองไม.๑. พลชาง พลมา พลรถ พลเดินเทา .
พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 434 บทวา ฌายี ความวา ฝายพระขณี าสพ เปลื้องหมแู ลว เพง อยูเทยี ว ชื่อวา ยอมรุง เรือง. บทวา เตชสา ความวา สวนพระสมั มาสมั พทุ ธเจา ทรงครอบงาํเดชแหงการทศุ ีลดวยเดชแหง ศีล เดชแหงคณุ อันช่วั ดวยเดชแหง คณุเดชแหง ปญญาทรามดว ยเดชแหง ปญ ญา เดชแหงส่ิงมใิ ชบ ญุ ดว ยเดชแหงบุญ เดชแหงอธรรมดวยเดชแหงธรรม ยอมรุงเรอื งดว ยเดช ๕ อยา งนี้ตลอดกาลเปน นติ ยทีเดียว. ในกาลจบเทศนา ชนเปน อันมากบรรลุอริยผลทงั้ หลาย มโี สดา-ปต ตผิ ลเปนตน ดงั นีแ้ ล. เรอ่ื งพระอานนทเถระ จบ.
พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 435 ๖. เร่ืองบรรพชติ รูปใดรปู หน่ึง [๒๖๙] ขอ ความเบ้ืองตน พระศาสดา เมือ่ ประทับอยใู นพระเชตวนั ทรงปรารภบรรพชติรูปใดรูปหนง่ึ ตรสั พระธรรมเทศนานว้ี า \" พาหติ ปาโป \" เปน ตน . พราหมณบวชนอกพระพุทธศาสนา ไดย ินวา พราหมณค นหนึ่งบวชแลว ดวยการบวชในภายนอก(พระศาสนา) คดิ วา \" พระสมณโคดม เรียกสาวกของพระองค ' บรรพชติ 'สวนเรากเ็ ปนบรรพชิต, การพระองคเ รียกเราอยา งนัน้ บา ง ก็ควร \" แลวเขาไปเฝา พระศาสดา ทูลถามเนื้อความนน่ั . พระศาสดาตรสั วา \" เราหาเรยี กวา ' บรรพชติ ' ดวยเหตุเพียงเทา น้ีไม, สวนบคุ คลผูช่อื วา เปนบรรพชิต เพราะความทีม่ ลทินคือกิเลสท้งั หลายอันตนเวน ไดข าด \" ดงั น้แี ลว ตรสั พระคาถานวี้ า:- ๖. พาหิตปาโป หิ พฺราหมฺ โณ สมจรยิ า สมโณติ วุจฺจติ ปพพฺ าชยมตฺตโน มล ตสฺมา ปพพฺ ชโิ ตติ วุจฺจต.ิ \" บคุ คลผูมบี าปอันลอยแลว แล เราเรียกวา 'พราหมณ,' บคุ คลที่เราเรียกวา ' สมณะ' เพราะ ความประพฤติเรียบรอย, บคุ คลขับไลม ลทินของตน อยู เพราะเหตุนัน้ เราเรียกวา ' บรรพชติ .\"
พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 436 แกอ รรถ บรรดาบทเหลา น้ัน บทวา สมจรยิ าย คอื เพราะความประพฤติระงับซ่ึงอกุศลธรรมทงั้ ปวง. บทวา ตสมฺ า ความวา บุคคลทีพ่ ระศาสดาตรัสเรยี กวา ' พราหมณ 'เพราะความเปน ผมู บี าปอันลอยแลว, บคุ คลทพ่ี ระศาสดาตรสั เรียกวา' สมณะ ' เพราะความประพฤตสิ งบซ่ึงอกศุ ลธรรมทั้งหลาย; เหตุน้นั ผูใดประพฤตขิ ับไล คือขจัดมลทนิ มีราคะเปนตนของตนอยู, แมผูน้ัน พระ-ศาสดากต็ รสั เรียกวา ' บรรพชติ ' เพราะการขบั ไลนั้น. ในกาลจบเทศนา บรรพชติ นน้ั ดาํ รงอยูในโสดาปตตผิ ลแลว , เทศนาไดม ปี ระโยชนแ มแ กช นผูประชุมกนั แลว ดงั นี้แล. เรื่องบรรพชิตรปู ใดรูปหน่งึ จบ.
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 437 ๗. เร่อื งพระสารีบุตรเถระ [๒๗๐] ขอความเบื้องตน พระศาสดา เมอื่ ประทบั อยใู นพระเชตวัน ทรงปรารภพระสารบี ตุ ร-เถระ ตรัสพระธรรมเทศนานว้ี า \" น พฺราหมฺ ณสฺส \" เปน ตน . พระเถระถกู พราหมณต ี ไดยินวา มนษุ ยเ ปน อนั มากในทีแ่ หง หน่ึง กลาวคณุ กถาของพระ-เถระวา \" นาชม พระผเู ปน เจา ของพวกเรา ประกอบแลวดวยกําลังคอืขันติ, เมือ่ ชนเหลาอน่ื ดาอยกู ็ตาม ประหารอยกู ต็ าม แมเ หตสุ กั วาความโกรธ ยอมไมม.ี \" คร้งั นั้น พราหมณม ิจฉาทฏิ ฐคิ นหนึ่ง ถามวา \" ใครน่ัน ไมโกรธ.\" พวกมนษุ ย. พระเถระของพวกฉนั . พราหมณ. บุคคลผูย วั่ ใหท า นโกรธ จกั ไมมกี ระมงั ? พวกมนษุ ย. พราหมณ ขอน้ัน หามไี ม. พราหมณ. ถา เชน น้ัน เราจกั ย่วั ใหทานโกรธ. พวกมนุษย. ถา ทานสามารถไซร, กจ็ งยัว่ ใหพ ระเถระโกรธเถดิ . พราหมณน ั้น คดิ วา \" เอาละ, เราจักรกู ิจที่ควรทํา \" ดงั นแ้ี ลวเห็นพระเถระเขา ไปเพอื่ ภิกษา จึงเดนิ ไปโดยสวนขา งหลัง ไดใหก ารประหารดว ยฝา มืออยา งแรงทีก่ ลางหลงั . พระเถระมิไดคํานงึ ถึงเลยวา \" นีช่ ่ืออะไรกัน\" เดนิ ไปแลว. ความเรารอ นเกิดข้นึ ทั่วสรีระของพราหมณ. เขาตกลงใจวา \" แหมพระผูเปน เจาสมบรู ณด ว ยคุณ\" ดงั น้ีแลว หมอบลงแทบเทาของพระเถระ เรยี นวา
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 438\" ขอทา นจงอดโทษแกกระผมเถดิ ขอรบั \" เม่อื พระเถระกลา ววา \" น่ีอะไรกนั ?\" จงึ เรียนวา \" กระผมประหารทา นเพ่อื ประสงคจะทดลองด.ู \" พระเถระกลา ววา \" ชางเถิด, เราอดโทษใหทาน.\" พราหมณจึงเรยี นวา \" ทา นผูเจริญ ถา ทา นอดโทษใหกระผมไซร. \" กข็ อจงนง่ั รบัภกิ ษาในเรอื นของกระผมเถิด\" ดงั นแี้ ลว ไดร ับบาตรของพระเถระ. ฝายพระเถระไดใหบาตรแลว . พราหมณน าํ พระเถระไปเรือนองั คาสแลว . พวกมนุษยโกรธแลว ตา งกค็ ดิ วา \" พระผเู ปนเจาของพวกเราผูหาโทษมไิ ด ถูกพราหมณน ีป้ ระหารแลว , ความพน แมจากทอ นไมไมม แี กพราหมณน น้ั , พวกเราจักฆามันเสียในทน่ี ีแ้ หละ\" ดังนแ้ี ลว มกี อ นดินและทอนไมเ ปน ตน ในมอื ไดย นื ซุมอยทู ่ปี ระตเู รอื นของพราหมณ. พระเถระลุกขึ้นเดินไปอยู ไดใ หบาตรในมือของพราหมณ. พวกมนษุ ยเหน็ พราหมณนัน้ เดินไปกับพระเถระ จึงเรียนวา \" ทา นขอรบั ขอทานจงรับบาตรของทานแลวใหพราหมณก ลับเสยี \" พระเถระกลาววา \" นเี่ รอ่ื งอะไรกนั ? อบุ าสก.\" พวกมนุษย. พราหมณป ระหารทา น, พวกกระผมจักรกู ิจท่ีควรทําแกเขา. พระเถระ. ก็ทา นถูกพราหมณน้ปี ระหารหรือ, หรือเราถกู ? พวกมนษุ ย. ทา นถูก ขอรับ. พระเถระกลา ววา \" พราหมณนน่ั ประหารเราแลว (แต) ไดขอขมาแลว, พวกทา นจงไปกันเถิด \" สง พวกมนุษยไ ปแลว ใหพราหมณกลบัไดไปสวู ิหารน่ันเทยี ว.
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 439 ภกิ ษุท้งั หลายยกโทษวา \" น่ชี ือ่ อยางไร ? พระสารีบุตรเถระถูกพราหมณใ ดประหารแลว ยังน่ังรบั ภิกษาในเรือนของพราหมณน ้นั น่ันแหละ มาแลว; จําเดิมแตก าลท่ีพระเถระถกู พราหมณนน้ั ประหารแลว ตอไปน้ี เขาจักไมละอายตอ ใคร ๆ, จักเที่ยวตีภิกษทุ ั้งหลายท่ีเหลอื .\" พราหมณไมควรประหารพราหมณ พระศาสดาเสดจ็ มาแลว ตรัสถามวา \" ภกิ ษุทงั้ หลาย บดั นพี้ วกเธอนั่งประชุมกนั ดวยถอยคําอะไรหนอ ?\" เม่อื ภกิ ษเุ หลา นน้ั กราบทูลวา \" ดว ยถอ ยคาํ ชื่อน้ี \" แลว , ตรัสวา \" ภิกษทุ ้งั หลาย พราหมณช ื่อวา ประหารพราหมณ ยอมไมมี, แตพราหมณผ ูสมณะจกั เปนผถู กู พราหมณค ฤหสั ถประหารได; ขนึ้ ชอื่ วา ความโกรธนนั่ ยอ มถึงความถอนขน้ึ ได ดว ยอนาคามมิ รรค\" ดงั นแี้ ลว เมือ่ จะทรงแสดงธรรม ไดทรงภาษิตพระคาถาเหลา น้วี า :- ๗. น พฺราหมฺ ณสฺส ปหเรยยฺ นาสฺส มุเฺ จถ พรฺ าหมฺ โณ ธิ พฺราหมฺ ณสฺส หนฺตาร ตโต ธิ ยสสฺ มุจฺ ติ. น พฺราหมฺ ณสเฺ สตทภิฺจิ เสยฺโย ยทานเิ สโธ มนโส ปเ ยหิ ยโต ยโต หึสมโน นิวตฺตติ ตโต ตโต สมมฺ ติเมว ทกุ ฺข . \" พราหมณไมควรประหารแกพราหมณ ไมควร จอง (เวร) แกเ ขา, นา ตเิ ตยี นพราหมณผูจอง (เวร) ยิง่ กวาพราหมณผูประหารนั้น. ความเกยี ดกัน
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 440 ใจ จากอารมณอ ันเปน ท่รี ักท้งั หลายใด, ความเกียด กันนั่น ยอ มเปน ความประเสรฐิ ไมนอ ยแกพราหมณ, ใจอันสมั ปยตุ ดวยความเบียดเบยี น ยอ มกลบั ไดจาก วัตถใุ ด ๆ, ความทกุ ขย อ มสงบไดเพราะวตั ถุนน้ั ๆ นน้ั แล.\" แกอ รรถ บรรดาบทเหลานั้น บทวา ปหเรยฺย ความวา พราหมณผูขณี าสพรูอ ยูว า \" เราเปน (พระขณี าสพ) \" ไมควรประหารแกพ ราหมณขณี าสพหรอื พราหมณอ ื่น. สองบทวา นาสฺส มุเฺ จถ ความวา พราหมณข ีณาสพแมน้นั ถูกเขาประหารแลว ไมควรจองเวรแกเขาผปู ระหารแลว ยนื อย,ู คือไมค วรทําความโกรธในพราหมณนั้น. บทวา ธิ พรฺ าหมณฺ สสฺ ความวา เรายอมติเตยี นพราหมณผูป ระหารพราหมณข ีณาสพ. บทวา ตโต ธิ ความวา ก็ผใู ด ประหารตอบซึ่งเขาผูประหารอยูชอ่ื วา ยอ มจองเวรในเบื้องบนของเขา, เราตเิ ตยี นผูจ องเวรน้ัน แมก วา ผูประหารน้ันทีเดียว. สองบทวา เอตทกิ ฺจ เสยฺโย ความวา การไมด า ตอบซ่งึ บุคคลผดู าอยู หรือการไมป ระหารตอบซ่งึ บคุ คลผปู ระหารอยู ของพระขณี าสพใด, การไมดาตอบหรือการไมป ระหารตอบนั่น ยอมเปน ความประเสรฐิไมใ ชน อ ย คือไมเปน ความประเสรฐิ ท่ีมีประมาณนอย แกพ ราหมณผูเปนขีณาสพนน้ั , ท่แี ทย อ มเปน ความประเสรฐิ อนั มปี ระมาณย่ิงทเี ดียว.
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 441 บาทพระคาถาวา ยทานิเสโธ มนโส ปเยหิ ความวา ก็ความเกดิ ขึน้ แหง ความโกรธ ชือ่ วา อารมณเ ปน ท่รี กั แหง ใจ ของบุคคลผมู ักโกรธ, กบ็ ุคคลผูม ักโกรธนนั่ จะผิดในมารดาบิดากด็ ี ในพระพุทธเจาเปนตนก็ดี ก็เพราะอารมณเ ปนท่รี กั เหลา น้นั , เหตนุ นั้ ความเกยี ดกันใจจากอารมณอันเปน ทรี่ กั เหลา นั้น คอื ความขมขี่จิตอนั เกิดขึ้นอยู ดวยอาํ นาจความโกรธ ของบุคคลผูมักโกรธน้นั ใด, ความเกยี ดกนั น่ัน ยอมเปนความประเสรฐิ ไมน อย. ใจอันสัมปยุตดว ยความโกรธ ชอ่ื วา หึสมโน, ใจอนั สมั ปยตุ ดว ยความโกรธของเขานั้น เมอื่ ถงึ ความถอนข้นึ ดว ยอนาคามิมรรค ชอ่ื วา ยอ มกลบั ไดจ ากวตั ถุใด ๆ. สองบทวา ตโต ตโต ความวา วฏั ทกุ ขแ มท ัง้ สนิ้ ยอมกลับไดเพราะวตั ถนุ น้ั ๆ น่นั แล. ในกาลจบเทศนา ชนเปน อันมากบรรลอุ รยิ ผลท้งั หลาย มีโสดา-ปตติผลเปนตน ดังนแี้ ล. เรอื่ งพระสารีบุตรเถระ จบ.
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 442๘. เร่อื งพระนางมหาปชาบดีโคตมี [๒๗๑] ขอความเบ้อื งตน พระศาสดา เม่ือประทบั อยใู นพระเชตวัน ทรงปรารภพระนางมหา-ปชาบดีโคตมี ตรสั พระธรรมเทศนาน้ีวา \" ยสสฺ กาเยน \" เปน ตน . พระศาสดาทรงบัญญตั ิครุธรรม ๘ ความพิสดารวา พระนางมหาปชาบดโี คตมีพรอมกับบริวารรับครุ-ธรรม ๘ ประการ๑ อนั พระผูมีพระภาคเจาทรงบญั ญตั ิแลว ในเมื่อเรอื่ งยงั ไมเกิดขึน้ เหมอื นบุรษุ ผูม ีชาตมิ ักประดับรบั พวงดอกไมหอมดว ยเศียรเกลาไดอุปสมบทแลว . อปุ ช ฌายะหรืออาจารยอ่นื ของพระนางไมม.ี ภกิ ษุทั้งหลาย ปรารภพระเถรผี มู อี ุปสมบทอนั ไดแ ลว อยา งนั้น โดยสมัยอนื่สนทนากนั วา \" อาจารยและอุปช ฌายะของพระนางมหาปชาบดีโคตมี ยอ มไมปรากฏ, พระนางถือเอาผา กาสายะทัง้ หลายดว ยมือของตนเอง.\" ก็แล ครน้ั กลาวอยางน้ันแลว ภกิ ษุณที ั้งหลายประพฤตริ งั เกยี จอยูยอมไมทาํ อโุ บสถ ไมท ําปวารณารวมกับพระนางเลย. ภกิ ษุณที ้งั หลายนน้ัไปกราบทูลเนื้อความน้ันแมแดพระตถาคตแลว . คนท่คี วรเรยี กวาพราหมณ พระศาสดาทรงสดับคําของภกิ ษณุ ีเหลานั้นแลว จงึ ตรสั วา \"ครธุ รรม๘ ประการ เราใหแลวแกพ ระนางมหาปชาบดโี คตมี, เราเองเปน อาจารย๑. ภิกษุณถี งึ มพี รรษาตั้ง ๑๐๐ ตอ งกราบไหวภกิ ษุผอู ุปสมบทใหว ันน้นั ๑. ตองอยูจ าํ พรรษาในอาวาสภิกษุ ๑. ตองหวังตอ ธรรมทงั้ ๒ คอื ถามอโุ บสถและไปรบั โอวาทจากภกิ ษสุ งฆท กุ ก่งิเดือน ๑. ออกพรรษาแลว ตอ งปวารณาในสงฆ ๒ ฝาย ๑. ตองแสวงหาอปุ สมบทแกนางสิกขมานาผศู ึกษาในธรรม ๖ ส้ิน ๒ ปปกขมานตั ในสงฆ ๒ ฝา ย ๑. ตอ งแสวงหาอปุ สมบทแกน างสิกขมานาผูศึกษาในธรรม ๖ ส้ิน ๒ปแลว ในสงฆ ๒ ฝาย ๑. ดา แชง ภิกษุไมไ ด ๑. ปด ทางไมใหภ กิ ษสุ อนภกิ ษุ เปดทางใหภ กิ ษุกลาวสอนอยา งเดยี ว ๑. ว.ิ จลุ ล. ๗/๓๓๒.
พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 443เราเองเปน อปุ ช ฌายะของพระนาง, ช่ือวาความรงั เกยี จในพระขณี าสพทงั้ หลาย ผเู วน แลว จากทุจริตทงั้ หลายมีกายทจุ รติ เปน ตน อนั เธอทัง้ หลายไมค วรทํา\" ดงั น้แี ลว เมอ่ื จะทรงแสดงธรรม จงึ ตรสั พระคาถานวี้ า :- ๘. ยสฺส กาเยน วาจาย มนสา นตถฺ ิ ทกุ กฺ ต ส วตุ ตหี ิ าเนหิ ตมห พรฺ ูมิ พรฺ าหฺมณ . \" ความชัว่ ทางกาย วาจา และใจ ของบคุ คลใด ไมม ี, เราเรยี กบุคคลนน้ั ผสู ํารวมแลว โดยฐานะ ๓ วา เปนพราหมณ.\" แกอรรถ กรรมมีโทษ คือมที กุ ขเปนกําไร อนั ยงั สตั วใ หเปน ไปในอบายชื่อวา ทุกฺกต ในพระคาถานนั้ . สองบทวา ตหี ิ าเนหิ ความวา เราเรียกบคุ คลผูม ที วารอนั ปดแลว เพือ่ ตองการหามความเขา ไปแหง ทจุ รติ เปนตน โดยเหตุ ๓ มีกายเปนตนเหลานนั้ วา เปน พราหมณ. ในกาลจบเทศนา ชนเปน อนั มากบรรลอุ รยิ ผลท้งั หลาย มีโสดา-ปต ติผลเปน ตน ดังนีแ้ ล. เรื่องพระนางมหาปชาบดโี คตมี จบ.
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 444 ๙. เรือ่ งพระสารีบตุ รเถระ [๒๗๒] ขอความเบ้อื งตน พระศาสดา เมื่อประทับอยใู นพระเชตวัน ทรงปรารภพระสารีบุตร-เถระ ตรสั พระธรรมเทศนานว้ี า \" ยมฺหา ธมมฺ วิชาเนยฺย \" เปนตน. พระสารบี ตุ รเคารพในพระอัสสชิผูอาจารย ไดย นิ วา ทา นพระสารีบตุ รนั้น จําเดิมแตกาลทีท่ านฟงธรรมในสํานักของพระอสั สชเิ ถระแลว บรรลโุ สดาปต ตผิ ล สดบั วา \" พระเถระยอมอยใู นทศิ ใด\" กป็ ระคองอัญชลไี ปทางทศิ นั้น นอนหันศีรษะไปทางทศิ นัน้ แล. ภกิ ษุทั้งหลายกลาววา \" พระสารบี ตุ รเปน มจิ ฉาทฏิ ฐิ ถึงวันนก้ี ็เท่ยี วนอนนอมทิศทั้งหลายอยู \" ดงั นแี้ ลว กราบทลู เนื้อความนนั้ แดพ ระ-ตถาคต. พระศาสดารบั ส่งั ใหเ รียกพระเถระมาแลว ตรสั ถามวา \" สารบี ุตรนัยวา เธอเที่ยวนอบนอมทศิ ทั้งหลายอยู จรงิ หรือ ?\" เมือ่ พระเถระกราบทลู วา \" พระเจา ขา พระองคเทานนั้ ยอมทรงทราบความเปนคอือนั นอบนอ มหรือไมน อบนอ มทิศทง้ั หลาย ของขา พระองค \" ดงั นแ้ี ลว,ตรสั วา \" ภกิ ษุทัง้ หลาย สารีบุตรยอมไมน อนนอมทิศทง้ั หลาย, แตเพราะความทเี่ ธอฟง ธรรมจากสํานกั ของพระอัสสชเิ ถระ แลวบรรลโุ สดาปต ตผิ ลจงึ นอบนอ มอาจารยของตน; เพราะวา ภกิ ษุอาศัยอาจารยใ ด ยอ มรูธรรม,ภิกษุนน้ั พึงนอบนอมอาจารยน นั้ โดยเคารพ เหมือนพราหมณน อบนอ มไฟอยูฉ ะนนั้ \" ดังนี้แลว เม่ือจะทรงแสดงธรรม จึงตรสั พระคาถานว้ี า :-
พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 445 ๙. ยมหฺ า ธมฺม วชิ าเนยยฺ สมฺมาสมพฺ ทุ ธฺ เทสติ สกกฺ จจฺ น นมสฺเสยยฺ อคฺคหิ ตุ ฺต ว พรฺ าหฺมโณ. \" บุคคลพงึ รแู จง ธรรม อนั พระสมั มาสมั พทุ ธเจา ทรงแสดงแลว จากอาจารยใด, พึงนอบนอมอาจารย นั้นโดยเคารพ เหมอื นพราหมณนอบนอ มการบชู า เพลิงอยูฉ ะนัน้ .\" แกอ รรถ บรรดาบทเหลา น้นั บทวา อคฺคหิ ตุ ฺต ว ความวา บคุ คลพึงรแู จงธรรมอันพระตถาคตประกาศแลว จากอาจารยใด, พงึ นอบนอ มอาจารยนั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณนอบนอมการบูชาเพลิงโดยเคารพ ดว ยการบาํ เรอดว ยดี และดว ยกิจท้งั หลายมีอญั ชลกี รรมเปนตนฉะนั้น. ในกาลจบเทศนา ชนเปนอันมากบรรลอุ ริยผลท้ังหลาย มโี สดา-ปตตผิ ลเปนตน ดงั นีแ้ ล. เรอ่ื งพระสารีบุตรเถระ จบ.
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 446 ๑๐. เรอื่ งชฎลิ พราหมณ [๒๗๓] ขอความเบ้อื งตน พระศาสดา เมอื่ ประทบั อยใู นพระเชตวัน ทรงปรารภชฎิลพราหมณคนหน่งึ ตรัสพระธรรมเทศนานว้ี า \" น ชฏาหิ \" เปนตน . ชฎิลตองการใหตรสั เรยี กตนวาพราหมณ ไดย ินวา ชฎลิ พราหมณน ั้นคิดวา \" เราเกิดดีแลว ทงั้ ฝา ยมารดาทั้งผา ยบิดา เกิดในตระกูลพราหมณ, ถาพระสมณโคดมตรัสเรยี กพระสาวกทัง้ หลายของพระองคว า ' พราหมณ ' การท่พี ระองคตรสั เรยี กเราอยางนน้ั บา ง กค็ วร \" ดังนีแ้ ลว จึงไปยงั สาํ นักพระศาสดา ทูลถามเนือ้ ความนน้ั . ลกั ษณะแหง พราหมณ ครง้ั นัน้ พระศาสดาตรสั กะพราหมณน นั้ วา \" พราหมณ เราไมเรยี กวา ' พราหมณ ' ดวยเหตสุ ักวา ชฎา ไมเรียกดว ยเหตุสักวา ชาติและโคตร, แตเราเรยี กผูม สี ัจจะอันแทงตลอดแลวเทาน้นั วา \" เปนพราหมณ \"ดังนแ้ี ลว ตรัสพระคาถาน้ีวา :-๑๐. น ชฏาหิ น โคตฺเตหิ น ชจจฺ า โหติ พรฺ าหฺมโณ ยมหฺ ิ สจฺจจฺ ธมฺโม จ โส สจุ ี โส จ พรฺ าหมฺ โณ. \" บุคคลยอมเปนพราหมณ ดวยชฎา ดว ยโคตร ดวยชาติ หามไิ ด, สัจจะและธรรมมีอยูในผูใด ผูน้นั เปนผสู ะอาด และผูนัน้ เปนพราหมณ.\"
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 447 แกอรรถ บรรดาบทเหลานน้ั บทวา สจฺจ เปนตน ความวา สัจญาณอนัแทงตลอดซ่งึ สจั จะ ๔ อยา ง ดวยอาการ ๑๖ แลวตัง้ อยู และโลกตุ ร-ธรรม ๙ มีอยูในบคุ คลใด, บคุ คลน้นั เปนผูสะอาด และเปนพราหมณ. ในกาลจบเทศนา ชนเปนอนั มากบรรลอุ รยิ ผลทง้ั หลาย มีโสดา-ปตตผิ ลเปนตน ดังนีแ้ ล. เร่ืองชฏลิ พราหมณ จบ.
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 448 ๑๑. เรอื่ งกหุ กพราหมณ [๒๗๔] ขอความเบื้องตน พระศาสดา เมือ่ ประทบั อยูทก่ี ฏู าคารศาลา ทรงปรารภกุหกพราหมณผูมวี ัตรดงั คา งคาวคนหนึง่ ตรสั พระธรรมเทศนานวี้ า \" กินเฺ ต \" เปนตน . พราหมณล วงเอาสงิ่ ของของชาวเมือง ไดยินวา พราหมณนั้นขึ้นตนกมุ ตน หนง่ึ ใกลประตูพระนครเวสาลีเอาเทา ทั้งสองเหน่ยี วกิง่ ไม หอยหวั ลงอยู กลาววา \" ทา นทัง้ หลายจงใหโคแดง ๑๐๐ แกเ รา จงใหก หาปณะท้ังหลายแกเรา จงใหห ญงิ บําเรอแกเรา, ถา ทานทง้ั หลายจกั ไมให, เราตกจากตนกมุ นต้ี าย จักทําพระนครไมใ หเ ปน พระนคร.\" ในกาลเปนท่เี สด็จเขา ไปยังพระนครแมของพระ-ตถาคต ผอู ันหมูภ ิกษุแวดลอมแลว ภกิ ษุทั้งหลายเหน็ พราหมณน ั้นแลวแมใ นกาลเปน ที่เสด็จออกไป กเ็ ห็นเขาหอยอยูอยางนนั้ เหมือนกัน. ฝายชาวพระนครตา งก็คดิ วา \" พราหมณน้ี หอยอยอู ยางน้ีต้งั แตเชาพงึ ตกลง (ตา) ทาํ พระนครไมใหเปน พระนคร\" กลัวความลมจมแหงพระนคร จึงยอมรบั วา \" พวกเราจะใหของทุกอยางท่พี ราหมณน้นั ขอ\"แลวไดให. เขาไดลงรบั เอาสง่ิ ของท้งั ปวงไป. ภิกษทุ ้ังหลายเห็นเขาเที่ยวไปดุจแมโ ค ใกลอปุ จารแหง วิหาร จําไดจึงถามวา \" พราหมณ ทา นไดสิง่ ของตามปรารถนาแลว หรือ ?\" ไดฟ ง วา\" ขอรบั กระผมไดแลว \" จึงกราบทูลเร่อื งน้ันแตพระตถาคต ณ ภายในวหิ าร. พระศาสดาตรสั บรุ พกรรมของพราหมณ พระศาสดาตรัสวา \" ภิกษุทงั้ หลาย พราหมณน ัน่ เปน โจรหลอกลวง
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 449ในกาลนเี้ ทานน้ั หามไิ ด, ถงึ ในกาลกอน ก็เปนโจรหลอกลวงแลว เหมือนกนั ; กบ็ ดั นี้ พราหมณน ่นั ยอ มหลอกลวงพาลชนได, แตใ นกาลนัน้ ไมอาจเพือ่ หลอกลวงบณั ฑติ ทง้ั หลายได \" ดังนแี้ ลว อันภกิ ษุเหลานนั้ ทูลออนวอนแลว ทรงนาํ อดีตนิทานมา (ตรัส) วา :- \"ในอดีตกาล ดาบสหลอกลวงรปู หนงึ่ อาศัยกาสกิ คามตําบลหน่งึยอมสําเร็จการอย.ู ตระกลู หน่งึ บาํ รุงเธอ คือ:- ยอมถวายสวนหนึ่งแมแกเธอ จากของควรเคีย้ วและของควรบริโภคอันเกิดข้ึนแลวในกลางวนัเหมือนใหแ กบ ุตรของตน, เก็บสวนอนั เกิดข้นึ ในตอนเยน็ ไวถวายในวนั ที่ ๒. ตอมาวันหนง่ึ ตระกูลน้นั ไดเน้ือเห้ยี (มา) ในเวลาเย็น แกงไวเรียบรอ ยแลว เกบ็ สว นหน่งึ จากสวนทีแ่ กงน้ันไว ถวายแกเ ธอในวันท่ี ๒.ดาบสพอกินเนอื้ แลว ถกู ความอยากในรสผูกพนั แลว ถามวา \" น่ันชื่อเน้อื อะไร ?\" ไดฟ ง วา \" เนอ้ื เหย้ี \" ดงั นีแ้ ลว เทย่ี วไปเพื่อภิกษา รับเอาเนยใสนมสม และเคร่อื งเผ็ดรอ นเปน ตน ไปยงั บรรณศาลา แลวเก็บไว ณสวนขางหน่งึ . กพ็ ระยาเหีย้ อยใู นจอมปลวกแหงหนึง่ ณ ทไ่ี มไ กลแหง บรรณศาลา.พระยาเหีย้ มาเพ่อื ไหวพระดาบสตามกาลสมควร. กใ็ นวันน้ัน ดาบสนั่นคดิ วา \" เราจกั ฆา เหี้ยนัน้ \" ดังนแ้ี ลว ซอนทอนไมไว นงั่ ทําทีเ่ หมอื นหลบั อยู ณ ท่ีใกลจอมปลวกนั้น. พระยาเหีย้ ออกจากจอมปลวกแลว มายยงั สาํ นกั ของเธอ กาํ หนดอาการไดแลว จงึ กลับจากท่ีน้ัน ดวยคดิ วา \" วันนี้ เราไมช อบใจอาการ
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 450ของอาจารย.\" ดาบสรูความกลับของเหย้ี นั้นแลวขวางทอนไมไ ปเพ่ือประสงคจะฆา เหีย้ นั้น. ทอนไมพลาดไป, พระยาเหยี้ เขา ไปสจู อมปลวกแลวโผลศรี ษะออกหาจากจอมปลวกนน้ั แลว แลดทู างทม่ี า กลาวกะดาบสวา :- \" ขาพเจา สําคัญทานผูไมสํารวมวาเปนสมณะ จงึ เขาไปหาแลว , ทานนั้น ยอมไมเ ปนสมณะ โดย ประการทที่ านเอาไมป ระหารขา พเจา ; ทา นผมู ีปญ ญา ทราม ประโยชนอ ะไรดวยชฎาท้งั หลายของทา น, ประโยชนอ ะไรดว ยผา ที่ทาํ ดว ยหนงั สัตวข องทา น, ภายในของทานรกรงุ รงั ทานยอมเกลย้ี งเกลาแตภ าย นอก.\" คร้ังนัน้ ดาบสเพือ่ จะลอพระยาเห้ยี นั้น ดวยของมีอยขู องตน จึงกลา วอยางน้ีวา :- \" เห้ีย ทา นจงกลับมา จงบรโิ ภคขา วสุกแหง ขา วสาลีท้งั หลาย, นาํ้ มนั และเกลือของขาพเจามอี ย,ู ดปี ลขี องขาพเจา ก็มเี พยี งพอ.\" พระยาเหี้ยฟง คาํ นน้ั แลว กลา ววา \" ทานกลาวโดยประการใด ๆ ;ความที่ขาพเจา ประสงคเพ่ือหนีไปอยา งเดยี ว ยอมมโี ดยประการนน้ั ๆ \"ดงั น้แี ลว กลา วคาถาน้ีวา :- \" ขา พเจา นั้น ยิง่ จกั เขาไปสจู อมปลวกลึกตง้ั ๑๐๐ ช่วั บุรษุ นํ้ามันและเกลือของทานจะเปน ประโยชน อะไร ? ดปี ลกี ็ไมเปน ประโยชนเ กือ้ กลู แกขาพเจา .\"
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 573
Pages: