พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 301 ในกาลจบเทศนา พระนางเขมาทรงดํารงอยูในพระอรหัต. เทศนาไดมีประโยชนแ มแกมหาชนแลว . พระศาสดาตรัสกะพระราชาวา \" มหา-บพิตร พระนางเขมาจะบวชหรือปรินพิ พาน จงึ ควร ?\" พระราชา. โปรดใหพระนางบวชเถดิ พระเจา ขา, อยา เลยดวยการปรินพิ พาน. พระนางบรรพชาแลว ก็ไดเ ปน สาวิกาผูเลิศ ดงั นแ้ี ล. เรื่องพระนางเขมา จบ.
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 302 ๖. เร่ืองบุตรเศรษฐชี อ่ื อคุ คเสน [๒๔๕] ขอ ความเบ้อื งตน พระศาสดา เม่ือประทับอยใู นพระเวฬุวัน ทรงปรารภอคุ คเสนตรัสพระธรรมเทศนาน้วี า \" มุ จฺ ปเุ ร \" เปน ตน . อุคคเสนรักใครหญิงนักฟอน ไดย ินวา เมอื่ ครบปหรอื ๖ เดือนแลว พวกนกั ฟอ นประมาณ ๕๐๐ไปยังกรงุ ราชคฤห ทํามหรสพ (ถวาย) แดพ ระราชาตลอด ๗ วัน ไดเงนิ และทองเปน อันมาก, การตกรางวัลในระหวาง ๆ ไมมสี ้ินสุด. มหาชนตางก็ยนื บนเตียงเปน ตน ดมู หรสพ. ลําดับนนั้ ธิดานกั หกคะเมนคนหนึง่ ข้นึ ไปสูไมแ ปน หกคะเมนเบ้อื งบนของไมเ ปนนั้น เดนิ ฟอ นและขับรอ งบนอากาศ ณ ท่สี ดุ แหงไมแ ปน น้นั . สมยั นนั้ บตุ รเศรษฐีชื่ออุคคเสน ยืนอยบู นเตียงที่ (ตั้ง) ซอนๆกนั กบั ดว ยสหาย แลดูหญิงน้ัน มีความรกั เกดิ ข้นึ ในอาการทัง้ หลาย มกี ารแกวงมือและเทา เปน ตนของนาง ไปสูเ รือนแลว คดิ วา \" เราเมอ่ื ไดน างจงึ จกั เปนอย,ู เมื่อเราไมไดกจ็ ะตายเสยี ในทีน่ แ้ี หละ\" ดงั น้แี ลว กท็ าํ การตัดอาหาร นอนอยูบนเตียง; แมถ กู มารดาบดิ าถามวา \" พอ เจาเปน โรคอะไร ?\" ก็บอกวา \" เม่ือฉันไดลูกสาวของนกั ฟอนคนน้ัน ก็จะมชี วี ิตอยู,เมอ่ื ฉันไมได ก็จะตายเสียในทน่ี ี้น่ีแหละ,\" แมเมอื่ มารดาปลอบวา \" พอเจา อยา ทาํ อยา งนีเ้ ลย, พวกเราจักนํานางกุมารกิ าคนอน่ื ซึ่งสมควรแก
พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 303ตระกูลและโภคะของพวกเรา มาใหแกเจา \" กย็ งั นอนกลาวอยางน้ันเหมือนกนั . อคุ คเสนไดน างนกั ฟอ นสมประสงค ลําดบั นั้นบดิ าของเขา แมออ นวอนเปนอันมาก เมือ่ ไมส ามารถจะใหเ ขายินยอมได จงึ เรียกสหายของนักฟอ นมา ใหทรพั ยพ ันกหาปณะแลวสงไปดวยสง่ั วา \" ทานจงรบั เอากหาปณะเหลา นแี้ ลว ใหลูกสาวของทานแกบ ตุ รชายของฉนั เถิด.\" นักฟอ นนัน้ กลาววา \" ขาพเจา รับเอากหาปณะแลว กใ็ หไมไ ด; ก็ถาวา บตุ รชาย (ของทา น) นน้ั ไมไ ดล กู สาว (ของขา พเจา ) น้แี ล ไมอาจจะเปน อยูไ ซร, ถา กระนัน้ บุตรของทา นจงเที่ยวไปกับดว ยพวกขาพเจาเถิด, ขา พเจา จกั ใหล กู สาวแกเ ขา.\" มารดาบดิ าบอกความนั้นแกบุตรแลว .เขาพูดวา \" ฉันจักเท่ียวไปกับพวกนกั ฟอ นน้นั \" ไมเอื้อเฟอ ถอยคาํ ของมารดาบดิ าเหลา นนั้ แมผอู อ นวอนอยู ไดออกไปยงั สํานักของนักฟอนแลว . นักฟอนนัน้ ใหล ูกสาวแกเขาแลว เทีย่ วแสดงศิลปะในบานนิคมและราชธานี กับดว ยเขาน่ันแหละ. ฝา ยนางนัน้ อาศัยการอยูร ว มกบั บตุ รเศรษฐีนัน้ ตอ กาลไมน านนักกไ็ ดบ ตุ ร เม่ือจะเยาบุตรนั้น จึงพดู วา \" ลูกของคนเฝาเกวียน, ลูกของคนหาบของ, ลกู ของคนไมรูอะไรๆ.\" ฝา ยบตุ รเศรษฐีนัน้ ขนหญามาใหโคทัง้ หลาย ในที่แหง ชนเหลา น้นัทําการกลบั เกวียนพักอยแู ลว , (และ) ยกเอาส่งิ ของท่ไี ดใ นท่ีแสดงศิลปะแลวนําไป, นยั วา หญิงน้ันหมายเอาบุตรเศรษฐนี ัน้ น่ันเอง เม่ือจะเยา บุตร
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 304จงึ กลาวอยา งนัน้ นั่นแล. บตุ รเศรษฐนี ัน้ ทราบความทนี่ างขับรองปรารภตน จึงถามวา \" หลอ นพูดหมายถงึ ฉันหรอื ?\" ภรรยา. จะ ฉันพดู หมายถงึ ทาน. บตุ รเศรษฐี. เมอื่ เชน น้ันฉันจักหนีละ. นางกลาววา \" ก็จะประโยชนอะไรของฉนั ดวยทา นผหู นไี ปหรือมาแลว \" ดังนีแ้ ลว กข็ ับเพลงบทนั้นน่ันแลเรื่อยไป. ไดย ินวา นางอาศยั รูปสมบัติของตน และทรพั ยซง่ึ เปนรายได จงึมิไดเ กรงใจบุตรเศรษฐนี ัน้ ในเร่ืองอะไร ๆ. บุตรเศรษฐีนัน้ คิดอยวู า \"นางนี้ มีการถือตวั เชนน้ี เพราะอาศัยอะไรเลาหนอ ?\" ทราบวา \" เพราะอาศยั ศลิ ปะ\" จึงคิดวา \" ชา งเถิด,เราก็จกั เรียนศลิ ปะ \" แลว ก็เขาไปหาพอ ตา เรยี นศิลปะอนั เปน ความรูของพอ ตานนั้ แสดงศิลปะ ในบา นนคิ มเปน ตนอยู มาถึงกรุงราชคฤหโดยลําดับ ใหป า วรองวา \" ในวนั ที่ ๗ แตว ันนี้ บุตรเศรษฐชี ่อื อคุ คเสนจักแสดงศิลปะแกชาวพระนคร.\" อุคคเสนแสดงศลิ ปะ ชาวพระนคร ใหผ กู เตยี งซอนๆ กนั เปนตนแลว ประชุมกันในวนั ท่ี ๗. ฝา ยอคุ คเสนน้นั ไดขึน้ ไปสูไมแ ปน (สงู ) ๖๐ ศอก ยืนอยบู นปลายไมแ ปน น้ัน. ในวันน้ัน พระศาสดาทรงตรวจดสู ัตวโลก ในเวลาใกลรงุ ทรงเหน็ อุคคเสนนัน้ เขา ไปในขา ยคือพระญาณของพระองค จึงทรงใคร-
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 305ครวญอยวู า \" เหตอุ ะไรหนอ ? จกั มี \" ไดทราบวา \" พรงุ นี้บุตรเศรษฐีจักยืนบนปลายไมเปน ดวยหวังวา \" จกั แสดงศลิ ปะ ' มหาชนจกั ประชุมกันเพอ่ื ดเู ขา, เราจกั แสดงคาถาประกอบดวยบท ๔ ในสมาคมน้นั ; การบรรลุธรรมจักมแี กสัตว ๘๔,๐๐๐ เพราะฟง ธรรมน้นั , แมอุคคเสนก็จกัตงั้ อยูในพระอรหัต.\" ในวันรงุ ขน้ึ พระองคท รงกําหนดเวลาแลว มีภกิ ษสุ งฆแวดลอมเสดจ็ เขา ไปยังกรุงราชคฤห เพื่อบณิ ฑบาต. ฝายอคุ คเสน เม่ือพระศาสดายังไมท นั เสดจ็ เขาไปภายในพระนครนน่ั แล จงึ ใหส ญั ญาดว ยนวิ้ มือแกมหาชน เพอ่ื ตอ งการใหเ อิกเกรกิ ยนื บนปลาไมแ ปน หกคะเมนในอากาศน่นั เองสน้ิ ๗ ครั้ง ลงมาแลวไดยนื บนปลายไมเ ปน อีก. อุคคเสนแสดงศิลปะแกพระมหาโมคคลั ลานะ ขณะนัน้ พระศาสดากาํ ลังเสด็จไปสพู ระนคร, ทรงกระทําโดยอาการทบ่ี ริษทั ไมแลดูเขา, ใหดูเฉพาะพระองคเทา นน้ั . อุคคเสนแลดูบริษทั แลว ถึงความเสยี ใจวา \" บรษิ ัทจะไมแลดเู รา \" จงึ คดิ วา \" ศลิ ปะนี้เราพงึ่ แสดง (ประจาํ ) ป, ก็เมือ่ พระศาสดาเสดจ็ เขาไปยังพระนครบรษิ ัทไมแลดูเรา แลดูแตพระศาสดาเทาน้ัน; การแสดงศิลปะของเราเปลา (ประโยชน) แลว หนอ.\" พระศาสดาทรงทราบความคิดของเขา จึงตรัสเรียกพระมหาโมค-คลั ลานะมาแลว ตรัสวา \"โมคคลั ลานะ เธอจงไป, พดู กะบุตรเศรษฐีวา\" นยั วา ทาน๑จงแสดงศลิ ปะ\" พระเถระไปยืนอยู ณ ภายใตไมแ ปน นน่ั แลเรยี กบุตรเศรษฐีมาแลว กลา วคาถานี้วา :-๑. คาํ วา ' ทาน ' ในทน่ี ี้ เปนปฐมบุรษุ .
พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 306 \" เชิญเถดิ อุคคเสน บตุ รคนฟอ น ผูมีกาํ ลังมาก เชิญทา นจงด,ู เชญิ ทานทําความยินดีแกบรษิ ทั เถดิ , เชญิ ทานทาํ ใหมหาชนรา เรงิ เถิด.\" เขาไดย ินถอยคําของพระเถระแลว เปนผมู ใี จยินดี หวังวา \" พระ-ศาสดามพี ระประสงคจะดูศลิ ปะของเรา \" จงึ ยนื บนปลายไมแ ปน แลวกลาวคาถาน้วี า :- \" เชิญเถิด ทานโมคคัลลานะ ผมู ปี ญญามาก มี ฤทธิ์มาก เชิญทา นจงด,ู กระผมจะทําความยนิ ดีแก บริษทั , จะยังมหาชนใหราเริง.\" ก็แลครั้นกลาวอยา งน้นั แลว ก็กระโดดจากปลายไมแปน ขึน้ สูอากาศ หกคะเมน ๑๔ ครง้ั ในอากาศแลว ลงมายืนอยูบนปลายไมแปน(ตามเดมิ ). ลาํ ดบั น้ัน พระศาสดาตรัสกะเขาวา \" อุคคเสน ธรรมดาบณั ฑิตตอ งละความอาลัยรกั ใครใ นขนั ธทง้ั หลาย ทง้ั ทเ่ี ปนอดตี อนาคต และปจจบุ นั เสียแลว พนจากทุกขท ัง้ หลายมชี าติเปนตน จึงควร ดังน้แี ลว ตรสัพระคาถานีว้ า :- ๖. มุ จฺ ปเุ ร มุ จฺ ปจฉฺ โต มชฺเฌ มุ ฺจ ภวสสฺ ปารคู สพพฺ ตถฺ วมิ ตุ ฺตมานโส น ปนุ ชาตชิ ร อุเปหสิ ิ. \" ทานจงเปล้อื ง (อาลัย) ในกอ นเสยี จงเปล้ือง
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 307 (อาลยั ) ขา งหลังเสีย, จงเปลอื้ ง (อาลัย) ในทา ม- กลางเสีย, จึงเปน ผถู ึงฝงแหง ภพ มีใจหลุดพน ใน ธรรมทงั้ ปวง จะไมเ ขาถงึ ชาติและชราอีก.\" แกอ รรถ บรรดาบทเหลานัน้ สองบทวา มฺุจ ปุเร ความวา จงเปลื้องอาลยั คอื ความยินดี หมกมุน ปรารถนา ขลุกขลุย ความถอื ลบู คลาํความอยาก ในขนั ธท้ังหลายท่เี ปนอดตี เสีย. บทวา ปจฺฉโต ความวา จงเปลอ้ื งอาลยั เปนตน ในขันธท้ังหลายท่ีเปนอนาคตเสยี . บทวา มชเฺ ฌ ความวา จงเปลอ้ื งอาลยั เหลาน้นั ในขันธทง้ั หลายแมท ่ีเปนปจ จุบันเสยี . สองบทวา ภวสสฺ ปารคู ความวา เมื่อปฏบิ ัติไดอ ยา งนน้ั จักเปนผูถ งึ ฝง คือไปแลว สูฝง แหงภพแมท ้งั ๓ อยา งได ดวยอาํ นาจแหง อนักาํ หนดรู ละ เจริญ และทําใหแ จง ดวยปญ ญาอันยง่ิ มีใจพน แลวในสงั ขตธรรมทั้งปวง ตางดวยขันธ ธาตุ อายตนะ เปน ตน อยู ตอไปไมตอ งเขา ถึงชาติ ชรา และมรณะ. ในกาลจบเทศนา การตรสั รูธรรมไดม ีแกส ตั วท้งั ๘๔,๐๐๐ แลว. อคุ คเสนทลู ขอบรรพชาอุปสมบท ฝา ยบุตรเศรษฐี กําลงั ยนื อยบู นปลายไมแปน บรรลพุ ระอรหัตพรอ มดวยปฏสิ มั ภิทาแลว ลงจากไมแปนมาสทู ใี่ กลพระศาสดา ถวายบังคมดว ยเบญจางคประดษิ ฐ ทูลขอบรรพชากะพระศาสดา. ลาํ ดับนั้น
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 308พระศาสดาทรงเหยียดพระหัตถเบ้ืองขวาตรัสกะนายอุคคเสนน้นั วา \" ทานจงเปนภิกษมุ าเถดิ .\" อคุ คเสนนนั้ ไดเ ปนผทู รงไวซึ่งบรขิ าร ๘ ประหนง่ึพระเถระมพี รรษาตั้ง ๖๐ ในขณะนน้ั นน่ั เอง. ตอมา พวกภิกษุถามทานวา \" คณุ อคุ คเสน เมื่อคุณลงจากปลายไมแปน (สูง) ต้ัง ๖๐ ศอก ขึน้ ช่ือวาความกลวั ไมไ ดม หี รือ ? \" เมื่อทา นตอบวา \" คณุ ความกลวั ยอ มไมม ีแกผ มเลน,\" จงึ กราบทลู แดพ ระ-ศาสดาวา \" พระเจาขา พระอุคคเสนพูดอยวู า ' ผมไมกลวั ' เธอพูดไมจริง ยอ มอวดคุณวเิ ศษ\" พระศาสดาตรัสวา \" ภิกษทุ ง้ั หลาย พวกภิกษุผมู สี งั โยชนอ นั ตัดไดแลว เชน กับอคุ คเสนผบู ุตรของเรา หากลวั หาพรน่ั พรงึ ไม\" ดังนี้แลว ตรัสพระคาถานใ้ี นพราหมณวรรควา :- \" เรา กลาวผทู ่ีตดั สงั โยชนทั้งหมดได ไมส ะดงุ ผลู ว งกเิ ลสเปน เครื่องขอ ง ไมป ระกอบดว ยโยคะ กเิ ลสแลว วา เปน พราหมณ. ในกาลจบเทศนา การบรรลุธรรมพิเศษ ไดมีแลว แกชนเปนอันมาก. รุงขึ้นวันหน่ึง พวกภกิ ษุสนทนากันในโรงธรรมวา \" ผมู ีอายุท้ังหลาย เหตุคือการอาศยั ลูกสาวนักฟอน เที่ยวไปกับดวยนักฟอ นของภกิ ษุผถู ึงพรอมดว ยอปุ นสิ ยั แหง พระอรหตั อยางน้ี เปนอยา งไรหนอแล ?เหตแุ หง อุปนสิ ยั พระอรหตั เปนอยางไร ?\"
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 309พระศาสดาตรัสบอกอปุ นสิ ัยของพระอคุ คเสน พระศาสดาเสดจ็ มาแลว ตรสั ถามวา \" ภิกษทุ ั้งหลาย บดั นพี้ วกเธอนง่ั ประชุมกนั ดว ยเร่ืองอะไร ?\" เมอ่ื ภิกษเุ หลานัน้ กราบทูลวา \" ดวยเรอ่ื งช่อื น้ี \" ดังนี้แลว ตรสั วา \" ภกิ ษทุ ัง้ หลาย เหตุแมทงั้ สองนั่น อันอคุ คเสนน้ีผูเ ดยี วทาํ ไวแลว \" เมอื่ จะทรงประกาศเนอ้ื ความน้นั จงึ ทรงชกั อดตี นทิ านมา (ตรัส ) วา :- \" ดงั ไดส ดับมา ในอดตี กาล เมอื่ สพุ รรณเจดยี สาํ หรับพระกสั สป-ทศพล อนั เขากระทาํ อยู พวกกุลบุตรชาวพระนครพาราณสี บรรทุกของเคย้ี วของบรโิ ภคเปน อันมากในยานทง้ั หลาย กาํ ลังไปสเู จดียสถาน ดว ยตงั้ ใจวา \" พวกเราจกั ทาํ หตั ถกรรม\" พวกพระเถระองคห น่ึง กําลังเขา ไปเพ่อื บณิ ฑบาตในระหวางทางแลว . ลําดับนนั้ นางกลุ ธดิ าคนหน่งึ แลเห็นพระเถระแลว จงึ กลา วกะสามีวา \" นาย พระผเู ปนเจาของเราเขา มาอยูเพอ่ื บิณฑบาต, อนงึ่ ของเค้ยี วของบรโิ ภคของเราในยาน มเี ปน อนั มาก,นายจงนําบาตรของทา นมา, เราทง้ั สองจักถวายภิกษา.\" สามีน้ําบาตรมาแลว . ภรรยายังบาตรนน้ั ใหเ ตม็ ดวยของควรเคยี้ วของควรบริโภคแลวใหส ามวี างลงในมอื ของพระเถระ แมท้ังสองคนทาํ ความปรารถนาวา \"ทานเจาขา ดฉิ นั ทงั้ สองคนพงึ มสี วนแหงธรรมอันทานเหน็ แลว นน่ั เทียว.\"พระเถระแมน ั้น เปน พระขณี าสพ, เพราะฉะนน้ั เม่ือทานเล็งดู ทราบภาวะ คอื อันจะสําเร็จความปรารถนาของเขาทัง้ สองนน้ั แลว ไดท าํ การยิ้ม.หญงิ นนั้ เหน็ อาการนัน้ เขา จึงพูดกะสามีวา \" นาย พระคณุ เจาของเรายอ มทําอาการยิม้ , ทา นจักเปนเด็กนักฟอน.\" ผา ยสามขี องนางตอบวา\" นางผูเจรญิ กจ็ กั เปน อยา งนั้น\" ดงั นแ้ี ลว หลีกไป. นีเ้ ปน บุรพกรรมของเขาทงั้ สองนัน้ .
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 310 สามภี รรยานนั้ ดาํ รงอยูในอตั ภาพน้ันช่วั อายุแลว ก็เกดิ ในเทวโลกเคลอ่ื นจากที่นั้นแลว, หญงิ นน้ั เกิดในเรือนของคนนักฟอน, ชายเกดิ ในเรือนของเศรษฐ.ี พระอุคคเสนนัน้ เพราะความท่ีใหคําตอบแกภรรยานนั้ วา \" จักเปน อยางน้ัน นางผเู จรญิ \" จึงตอ งเที่ยวไปกบั พวกนกั ฟอ น,อาศยั บิณฑบาตทถี่ วายแลว แกพระเถรผูข ีณาสพ จงึ บรรลุพระอรหตั แลว, ฝายธดิ าของนักฟอนนั้น คิดวา \" อันใดเปน คติของสามขี องเรา,อนั น้ันเอง ก็เปน คติแมของเรา\" ดังนี้แลว บรรพชาในสาํ นกั ของภกิ ษณุ ีทงั้ หลายแลว ดาํ รงอยใู นพระอรหตั ดังนี้แล. เรื่องบุตรเศรษฐีชื่ออุคคเสน จบ.
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 311 ๗. เร่ืองจฬุ ธนคุ คหบณั ฑิต [๒๔๖] ขอ ความเบอื้ งตน พระศาสดา เมอ่ื ประทบั อยใู นพระเชตวัน ทรงปรารภภกิ ษุหนุมรูปหนึง่ ตรสั พระธรรมเทศนานี้วา \" วิตกกฺมถติ สฺส \" เปน ตน. ภกิ ษุหนมุ รกั ใครหญิงรนุ สาว ดงั ไดส ดบั มา ภิกษุหนุม รูปหน่งึ จบั สลากของตนในโรงสลาก ถือเอาขาวตม ตามสลากไปสโู รงฉัน ด่มื อย.ู ภกิ ษนุ ั้น ไมไ ดน ้ําในโรงฉนั น้นัไดไปยืนยังเรอื นหลงั หนึ่ง เพือ่ ตอ งการน้าํ , หญิงรุนสาวคนหนง่ึ ในเรอื นนั้น พอเหน็ ภิกษนุ ัน้ ก็เกิดความสเิ นหา กลาววา \" ทานผเู จริญ เม่อื มีความตอ งการดว ยนา้ํ ดืม่ ทา นพงึ มาในเรอื นน้แี หละ แมอีก.\" ตั้งแตน น้ั ภกิ ษุนนั้ ไมไดน าํ้ ดมื่ ในกาลใด, กไ็ ปเรอื นนนั้ นน่ั แลในกาลนน้ั . ฝา ยหญิงนัน้ รับบาตรของเธอแลว ถวายน้าํ ด่ืม. เมอ่ื กาลลว งไปดวยอาการอยางน้ัน รุงขึ้นวันหนึ่ง นางถวายแมข า วตม แลว นิมนตใหน ง่ัในเรือนน้ันแล ไดถ วายขา วสวยแลว . นางน่งั ณ ทีใ่ กลภ ิกษุน้นั แลวเอย ถอยคําขน้ึ วา \" ทา นผูเ จริญ ในเรอื นนี้ อะไร ๆ ชอื่ วา ยอมไมมีหามไี ม, ดิฉันยงั ไมไดแตคนจัดการเทานั้น.\" ภกิ ษนุ ั้น สดับถอ ยคาํ ของหญงิ นน้ั แลว โดย ๒-๓ วนั เทา นน้ัก็กระสันแลว . ภิกษุหนมุ ถกู นําตวั ไปเฝาพระศาสดา ตอมาวันหน่ึง พวกภกิ ษอุ าคันตุกะพบภกิ ษุนัน้ จงึ ถามวา \" ผูมอี ายุเหตไุ ร ? ทานจึงเปน ผผู อมเหลืองหนักขน้ึ ,\" เม่อื ภกิ ษุนนั้ ตอบวา \" ผมู ีอายุ
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 312ผมเปนผูกระสนั ,\" จึงนําไปสสู ํานักพระอาจารยและอุปชฌายะ. อาจารยและอุปชฌายแ มเหลาน้ัน ก็นําภกิ ษนุ ้ันไปสูส ํานักพระศาสดา กราบทลูความน้นั แลว.พระศาสดาทรงแสดงบุรพกรรมของภิกษุหนมุ น้ัน พระศาสดาตรสั ถามวา \" ภิกษุ นยั วา เธอเปนผูกระสนั จรงิ หรอื ?\"เม่ือภิกษนุ น้ั ทูลวา \" จรงิ \" จึงตรัสวา \" ภิกษุ เหตุไร ? เธอบวชในศาสนาของพระพุทธเจา ผปู รารภความเพยี รเชนดังเรา จงึ ไมใหเขาเรยี กตนวา ' พระโสดาบัน ' หรือ ' พระสกทาคามี ' กลับใหเขาเรียกวา' เปนผูกระสัน ' ได, เธอทํากรรมหนักเสียแลว\" จึงทรงซักถามวา\" เพราะเหตไุ ร ? เธอจึงเปนผกู ระสัน \" เมอ่ื ภกิ ษนุ ้นั ทูลวา \" ขาแตพระองคผ เู จรญิ หญิงคนหนึ่ง พูดกะขา พระองคอ ยา งน,้ี \" จงึ ตรสั วา\" ภกิ ษุ กริ ยิ าของนางนน่ั ไมน า อัศจรรย: เพราะในกาลกอ น นางละบณั ฑิตผูเลิศในชมพทู วีปท้งั สิ้นแลว ยังความสิเนหาในบรุ ษุ คนหน่งึ ซง่ึ ตนเหน็ครูเดียวน้นั ใหเกิดขึ้น ทําบณั ฑติ ผูเลศิ นนั้ ใหถึงความส้นิ ชีวิต\" อนั ภิกษุท้งั หลายทลู อาราธนาเพอ่ื ใหทรงประกาศเรอื่ งน้ัน จงึ ทรงทาํ ใหแจงซงึ่ความที่จฬู ธนุคคหบัณฑิต เรียนศิลปะในสํานักของอาจารยทิศาปาโมกขในกรงุ ตกั กสลิ า พาธิดาผูอ นั อาจารยน ้ันยนิ ดใี หแ ลว ไปสูกรงุ พาราณสีเม่ือตนฆา โจรตาย ๔๙ คน ดว ยลกู ศร ๔๙ ลกู ทป่ี ากดงแหงหนง่ึ , เมื่อลกู ศรหมดแลว จึงจับโจรผหู ัวหนา ฟาดใหล ม ลงทีพ่ ้นื ดิน. กลา ววา \" นางผเู จรญิ หลอนจงนําดาบมา,\" นาง (กลบั ) ทําความสิเนหาในโจรซึ่งตนเห็นในขณะนัน้ แลว วางดามดาบไวในมือโจร ใหโ จรฆา แลวในกาลเปนจูฬธนคุ คหบัณฑิต ในอดตี กาล และภาวะคอื โจรพาหญิงนนั้ ไป พลางคิด
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 313วา \" หญงิ น้เี หน็ ชายอนื่ แลว จักใหเ ขาฆา เราบางเชนเดยี วกบั สามีของตน,เราจกั ตอ งการอะไรดวยหญิงนี้\" เหน็ แมน ํ้าสายหน่ึง จึงพักนางไวท่ฝี ง น้ีถือเอาหอภัณฑะของนางไป สัง่ วา \" หลอ นจงรออยู ณ ทน่ี แี้ หละ จนกวาฉนั นาํ หอภัณฑะขามไป \" ละนางไว ณ พน่ี ั้นนนั่ เอง (หนี) ไปเสยี แลวตรัสจูฬธนคุ คหชาดก๑นีใ้ นปญจกนบิ าต ใหพิสดารวา:- \" พราหมณ ทา นถอื เอาภณั ฑะทั้งหมด ขามฝง ไดแ ลว, จงรบี กลบั มารับฉนั ใหขามไปในบดั นโ้ี ดยเร็ว บา งนะ ผูเ จริญ.\" \" แมนางงาม ยอมแลกฉัน ผมู ิใชผัว ไมได เชยชดิ ดวยผวั ผเู ชยชดิ มานาน, แมน างงาม พงึ แลกชายอน่ื แมด วยฉนั , ฉันจักไปจากทนี่ ใ้ี หไกล ท่ีสดุ ทีจ่ ะไกลได. \" \" ใครนี้ ทําการหวั เราะอยทู ี่กอตะไครนาํ้ , ในท่ีน้ี การฟอ นกด็ ี การขบั ก็ดี การประโคมกด็ ี ทบ่ี ุคคลจัด ตง้ั ข้นึ มิไดม ี, แมนางงาม ผูมตี ะโพกอนั ผึง่ ฝาย ทําไมเลา ? แมจงึ ซิกซ้ีในกาลเปน ท่ีรอ งไห. ๒\" \" สนุ ขั จ้งิ จอก ชาตชิ ัมพุกะ ผูโงเขลา ทราม ปญ ญา เจามีปญ ญานอย, เจา เส่ือมจากปลาและชน้ิ (เนอ้ื ) แลว ก็ซบเซาอยู ดุจสตั วกําพรา.\"๑. ข.ุ ชา. ๒๗/ขอ ๘๑๘. อรรถกถา. ๔/๑๕๐๖. ๒. โดยพยญั ชนะ แปลวา ในกาลใชก าลเปนทีห่ วั เราะ.
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 314 \" โทษของคนเหลา อ่ืน เห็นไดงา ย, สว นโทษ ของตน เห็นไดยาก, หลอ นน่นั เอง เสือ่ มทั้งผัวท้งั ชู ซบเซาอยู แม (ย่ิง) กวาเรา.\" \" พระยาเน้อื ชาตซิ ัมพกุ ะ เรอ่ื งน้ัน เปน เหมือน เจา กลา ว. ฉันนั้น ไปจากท่นี ีแ้ ลว จักเปน ผไู ปตาม อาํ นาจของภสั ดาแนแท.\" \" ผใู ดพึงนาํ ภาชนะดินไปได, แมภ าชนะสาํ รดิ ผูนั้นก็พงึ นาํ ไปได; หลอนทําชัว่ จนช่าํ , ก็จักทาํ ช่วั อยา งน้ันแมอีก.\"แลว ตรสั วา \" ในกาลนั้น จูฬธนุคคหบัณฑิตไดเ ปนเธอ, หญงิ นั้นไดเปนหญงิ รนุ สาวน้ีในบัดน,้ี ทา วสกั กเทวราช ผูม าโดยรปู สนุ ัขจ้ิงจอก ทําการขม ข่นี างน้นั เปนเรานแี่ หละ\" แลวทรงโอวาทภิกษนุ ้ันวา \" หญิงน้นัปลงบณั ฑติ ผูเลิศในชมพทู วปี ท้งั สน้ิ จากชีวิต เพราะความสเิ นหาในชายคนหนง่ึ ซ่งึ ตนเห็นครูเดียวน้นั อยา งน้ี; ภกิ ษเุ ธอจงตัดตัณหาของเธอ อนัปรารภหญิงนัน้ เกิดขนึ้ เสยี \" ดังนแี้ ลว เมื่อจะทรงแสดงธรรมใหยงิ ขน้ึ ไปจึงทรงภาษิตพระคาถาเหลาน้วี า :- ๗. วิตกฺกมถติ สสฺ ชนฺตุโน ติพพฺ ราคสสฺ สภุ านปุ สฺสิโน ภยิ ฺโย ตณหฺ า ปวฑฺฒติ เอส โข ทฬหฺ กโรติ พนฺธน . วิตกฺกูปสเม จ โย รโต อสภุ ภาวยตี สทา สโต
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 315 เอส โข วฺยนตฺ กิ าหติ เอสจเฺ ฉจฉฺ ติ มารพนฺธน . \" ตณั หา ยอ มเจรญิ ย่งิ แกชนผถู กู วิตกยา่ํ ยี มี ราคะจดั เห็นอารมณวางาม, บคุ คลนน่ั แลยอมทํา เครอื่ งผูกใหม น่ั . สวนภกิ ษใุ ด ยนิ ดใี นธรรมเปนทีเ่ ขา ไประงับวิตก เจริญอสุภฌานอยู มีสติทกุ เมือ่ , ภกิ ษุ น่นั แล จกั ทาํ ตัณหาใหส ูญสิ้นได ภกิ ษุน่นั จะตัด เครอื่ งผกู แหงมารได.\" แกอรรถ บรรดาบทเหลา นั้น บทวา วิตกกฺ มถติ สสฺ ไดแ ก ผูถกู วติ ก ๓มีกามวติ กเปน ตน ยํา่ ยียิ่ง. บทวา ตพิ ฺพราคสสฺ คอื ผูมีราคะหนาแนน. บทวา สภุ านุปสสฺ ิโน ความวา ชอ่ื วา ผตู ามเหน็ อารมณว า \" งาม \"เพราะความเปนผูมใี จอันตนปลอ ยไป ในอารมณอ นั นา ปรารถนาทงั้ หลายดว ยสามารถแหง การยดึ ถือโดยสภุ นิมติ เปนตน . บทวา ตณหฺ า เปน ตน ความวา บรรดาฌานเปนตน แมฌานหน่งึยอมไมเจริญแกบคุ คลผเู หน็ ปานน้นั . โดยทีแ่ ท ตัณหาเกดิ ทางทวาร ๖ยอมเจรญิ ยง่ิ . บทวา เอส โข ความวา บุคคลนน่ั แล ยอมทําเคร่ืองผกู คอื ตัณหาชอื่ วา ใหมั่น. บทวา วิตกกฺ ปู สเม ความวา บรรดาอสภุ ะ ๑๐ ในปฐมฌานกลาวคือธรรมเปนที่ระงับมจิ ฉาวิตกท้ังหลาย.
พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 316 สองบทวา สทา สโต ความวา ภกิ ษุใด เปนผยู นิ ดยี ิง่ ในปฐมฌานน้ีชือ่ วา มีสติ เพราะความเปน ผูม สี ติตงั้ ม่ันเปน นติ ยเจรญิ อสุภฌานนั้นอย.ู บทวา พ๑ฺ ยนฺติกาหติ ความวา ภกิ ษนุ ่ัน จักทําตัณหาอันจะใหเ กิดในภพ ๓ ใหไ ปปราศได. บทวา มารพนธฺ ฺน ความวา ภิกษุนนั่ จักตดั แมเ คร่ืองผกู แหง มารกลาวคือวฏั ฏะอันเปน ไปในภมู ิ ๓ เสียได. ในกาลจบเทศนา ภกิ ษนุ ั้นดาํ รงอยใู นโสดาปต ติผลแลว , เทศนาไดมปี ระโยชนแมแ กบ ุคคลผูป ระชมุ กนั แลว ดังน้แี ล. เร่อื งจูฬธนุคคหบัณฑติ จบ.๑. บาลีเปน วฺยนตฺ ิกาหติ.
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 317 ๘. เรอื่ งมาร [๒๔๗] ขอ ความเบ้ืองตน พระศาสดา เม่อื ประทบั อยูในพระเชตวนั ทรงปรารภมาร ตรัสพระธรรมเทศนานวี้ า \"นฏิ คโต\" เปนตน. มารแปลงเปนชา งรดั กระหมอ นพระราหลุ ความพิสดารวา ในวันหน่ึงเวลาวกิ าล พระเถระเปนอนั มากเขาไปสพู ระเชตวันมหาวหิ าร ไปถึงทเ่ี ปน ที่อยขู องพระราหลุ เถระแลวกไ็ ลทานใหลุกขนึ้ . ทา นเมอื่ ไมเ ห็นทเ่ี ปนทอี่ ยูในทอ่ี ่ืน จึงไปนอนท่หี นามุขพระ-คนั ธกฎุ ขี องพระตถาคต. คราวน้นั ทานผูมีอายนุ ั้นบรรลุพระอรหัตแลวไดเ ปน ผยู ังไมมพี รรษาเลย. มารชือ่ วสวัตดี ดาํ รงอยูในภพน่นั แหละ เห็นทา นผูมีอายนุ ั้นนอนท่ีหนา มุขพระคันธกฎุ ี จงึ คิดวา \" พระหนอ นอ ยผแู ทงใจของพระสมณ-โคดมนอนขางนอก, สวนพระองคผ ทมในภายในพระคนั ธกุฎ;ี เม่อื เราบีบคน้ั พระหนอ นอย พระองคเองก็จกั (เปนเหมือน) ถกู บบี ค้ัน (ดวย).\"มารน้นั นิรมติ เพศเปน พระยาชางใหญมา เอางวงรดั กระหมอมพระเถระแลวรองดุจนกกระเรยี นดว ยเสยี งดงั . พระศาสดาทรงแสดงเหตทุ ่ีพระราหุลไมก ลัว พระศาสดาผทมในพระคนั ธกฎุ ี ทรงทราบวาชางนน้ั เปน มาร จึงตรัสวา \" มาร คนเชน ทา นน้นั แมต้งั แสน กไ็ มส ามารถเพ่อื จะใหความกลวั เกดิ แกบ ตุ รของเราได, เพราะวา บตุ รของเรามปี กติไมสะดงุ มตี ณั หาไปปราศจากแลว มคี วามเพยี รใหญ มีปญญามาก\" ดงั น้แี ลว ไดท รงภาษิตพระคาถาเหลา น้วี า :-
พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 318 ๘. นิฏ คโต อสนฺตาสี วตี ตโณหฺ อนงคฺ โณ อจฉฺ นิ ฺทิ ภวสลลฺ านิ อนตฺ ิโมย สมสฺ สฺ โย. วีตตโณฺห อนาทาโน นริ ุตตฺ ปิ ทโกวิโท อกฺขราน สนฺนปิ าต ชฺา ปพุ ฺพปรานิ จ ส เว อนตฺ มิ สารีโร มหาปโฺ มหาปรุ โิ สติ วจุ จฺ ต.ิ \" (ผใู ด) ถงึ ความสําเร็จ มีปกตไิ มส ะดงุ มีตัณหา ไปปราศแลว ไมม กี เิ ลสเครอ่ื งยว่ั ยวนใจ ไดต ัดลูกศร อนั ใหไปสูภพทง้ั หลายเสยี แลว, กายน้ี (ของผูนน้ั ) ชอ่ื วามใี นท่สี ดุ . (ผูใด) มตี ณั หาไปปราศแลว ไมมี ความถือม่นั ฉลาดในบทแหง นริ ตุ ติ รทู ีป่ ระชุมแหง อกั ษรทงั้ หลาย. และรูเ บอ้ื งตน และเบอื้ งปลายแหง อักษรทง้ั หลาย. ผนู นั้ แล มสี รรี ะมีในที่สดุ เรายอ ม เรยี กวา ผมู ปี ญ ญามาก เปนมหาบุรษุ . แกอ รรถ บรรดาบทเหลา นนั้ สองบทวา นิฏ คโต ความวา พระอรหตัชื่อวา ความสาํ เร็จของบรรพชติ ทัง้ หลาย ในพระศาสนาน,ี้ ถึง คอื บรรลุพระอรหตั น้นั . บทวา อสนฺตาสี คอื ผชู ่อื วาไมสะดุง เพราะไมม ีกเิ ลสเคร่อื งสะดุงคือราคะเปนตน ในภายใน. บาทพระคาถาวา อจฉฺ นิ ฺทิ ภวสลลฺ านิ คือ ไดต ดั ลูกศรอนั มีปกติใหไ ปสภู พทงั้ ส้นิ .
พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 319 บทวา สมสุ ฺสโย คือ รา งกายนี้ ของผนู น้ั มีในที่สดุ . บทวา อนาทาโน คือ ผไู มมกี ารยึดถอื ในขนั ธเ ปนตน. บาทพระคาถาวา นริ ุตตฺ ปิ ทโกวโิ ท ความวา ผูฉ ลาดในปฏสิ มั ภทิ าแมท้ัง ๔ คอื ในนิรตุ ติ และบทท่เี หลือ. สองบาทพระคาถาวา อกขฺ ราน สนนฺ ปาต ชฺา ปพุ พฺ าปรานิ จความวา ยอมรูห มวดหมูแหงอักษร กลาวคอื ทป่ี ระชุมแหงอักษรท้งั หลายและรอู กั ษรเบ้อื งปลายดวยอกั ษรเบ้ืองตน และอกั ษรเบือ้ งตน ดวยอักษรเบือ้ งปลาย. ชื่อวา รจู กั อกั ษรเบอ้ื งปลายดว ยอกั ษรเบอ้ื งตน คือเมือ่ เบื้องตนปรากฏอยู ในทา มกลางและทสี่ ดุ แมไมปรากฏ, กย็ อ มรูไดว า \" น้ีเปนทามกลางแหงอกั ษรเหลา นี้, น้ีเปน ท่สี ดุ ,\" ช่ือวา ยอ มรูจกั อกั ษรเบอ้ื งตนดวยอักษรเบอ้ื งปลาย คอื เมื่อทส่ี ุดปรากฏอยู เมอื่ เบ้ืองตนและทามกลางแมไ มป รากฏ, ก็ยอมรูไดว า \" น้ีเปนทา มกลางแหง อกั ษรเหลา น้ัน, น้ีเปนเบอ้ื งตน\" เมื่อทา มกลางปรากฏอยู เม่อื เบอ้ื งตนและท่ีสุดแมไมป รากฏ,ยอ มทราบไดเ หมอื นกันวา \" น้เี ปนเบื้องตน แหง อกั ษรเหลา น้ัน, น้เี ปนที่สดุ .\" บทวา มหาปฺโ ความวา ทานผูมสี รีระตงั้ อยูในที่สุดนน่ั พระ-ศาสดาตรสั เรยี กวา ผูม ปี ญ ญามาก เพราะความเปน ผูประกอบดว ยปญ ญาอนั กาํ หนดถือเอาซึ่งอรรถ ธรรม นริ ุตติ และปฏิภาณ และศีลขนั ธเปนตนอันใหญ และตรัสวา เปนมหาบุรุษ เพราะความเปน ผมู ีจิตพนแลว โดยพระบาลีวา \" สารีบุตร เราเรียกผมู จี ิตพน แลว แล วา \" มหาบรุ ุษ.\"
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 320 ในกาลจบเทศนา ชนเปนอันมากบรรลุอรยิ ผลทง้ั หลาย มีโสดา-ปต ติผลเปน ตน . ฝา ยมารผมู บี าปคดิ วา \" พระสมณโคดม ยอ มทรงรูจกั เรา\" แลวอันตรธานไปในที่นัน้ นน่ั เอง ดงั น้แี ล. เรอื่ งมาร จบ.
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 321 ๙. เรอ่ื งอปุ กาชีวก [๒๔๘] ขอความเบ้อื งตน พระศาสดาทรงปรารภอาชีวกชอ่ื อปุ กะ ในระหวางทาง ตรสั พระ-ธรรมเทศนาน้ีวา \" สพพฺ าภิภู \" เปนตน. อุปกาชีวกทลู ถามพระศาสดา ความพสิ ดารวา ในสมัยหนึ่ง พระศาสดาทรงบรรลุพระสัพพัญ-ตุ ญาณแลว ทรงยังกาลใหลวงไปทีค่ วงไมโพธิ์ ๗ สัปดาห ทรงถอื บาตรและจีวรของพระองค เสดจ็ ดาํ เนนิ ไปส้ินทางประมาณ ๑๘ โยชนมงุ กรงุ -พาราณสี เพอ่ื ทรงยงั พระธรรมจักรใหเปนไป ไดทอดพระเนตรเห็นอาชวี กชอื่ อุปกะ ในระหวางทาง. ฝายอปุ กาชีวกนน้ั เห็นพระศาสดาแลว ทูลถามวา \" ผมู อี ายุ อนิ ทรยี ของทา นผองใสแล, ผิวพรรณก็บริสุทธ์ผิ ดุ ผอ ง; ผูมีอายุ ทา นบวชเฉพาะใคร ? ใครเปนศาสดาของทาน ? หรอื ทานชอบใจธรรมของใคร ?\" พระศาสดาตรสั ตอบอปุ กาชีวก ลาํ ดบั นั้น พระศาสดาตรัสวา \" เราไมม ีอุปช ฌายหรอื อาจารย\" ดังนี้แลว ตรัสพระคาถานแี้ กอ ปุ กาชวี กนั้น วา :- ๙. สพพฺ าภภิ ู สพพฺ วทิ หู มสมฺ ิ สพฺเพสุ ธมเฺ มสุ อนูปลติ โฺ ต สพฺพฺชโห ตณฺหกฺขเย วมิ ุตโฺ ต สย อภิฺ าย กมุททฺ เิ สยยฺ ฯ \" เราเปน ผูครอบงําธรรมไดท้งั หมด รธู รรมทุก อยาง ไมต ิดอยูใ นธรรมทง้ั ปวง ละธรรมไดท กุ อยา ง
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 322 พนแลว ในเพราะธรรมเปน ทสี่ ้นิ ไปแหง ตณั หา รเู อง แลว จะพึงอา งใครเลา ? (วาเปนอุปช ฌายอาจารย) .\" แกอรรถ บรรดาบทเหลาน้นั บทวา สพฺพาภิภู คือ ครอบงาํ ธรรมอันเปนไปในภูมิ ๓ ไดท งั้ หมด. บทวา สพพฺ วทิ ู คือ ผมู ีธรรมอันเปน ไปในภูมิ ๔ ทั้งปวงอนั รแู ลว . สองบทวา สพเฺ พสุ ธมเฺ มสุ ความวา ผูอันตณั หาและทิฏฐิทั้งหลายฉาบทาไมไ ด ในธรรมอนั เปน ไปในภมู ิ ๓ แมท้งั สิ้น. บทวา สพฺพชฺ โห คือ ผลู ะธรรมอันเปน ไปในภมู ิ ๓ ทงั้ หมดดาํ รงอยู. สองบทวา ตณฺหกขฺ เย วมิ ุตฺโต คือผพู น แลว ในเพราะพระอรหตักลาวคอื ธรรมเปน ทส่ี ้ินไปแหงตณั หา ทตี่ นใหเ กดิ ขน้ึ แลว ในทีส่ ดุ แหงความส้นิ ไปแหง ตัณหา ดวยวมิ ุตตอิ ันเปน ของพระอเสขะ. สองบทวา สย อภิ ฺ าย คอื รธู รรมตางดวยอภญิ ไญยธรรมเปนตน ไดเองทเี ดยี ว. บทวา กมุททฺ ิเสยยฺ ความวา เราจะพึงอา งใครเลา วา \" น้เี ปนอุปช ฌายหรอื อาจารยข องเรา. \" ในกาลจบเทศนา อุปกาชวี ก ไมย นิ ดี ไมคัดคานพระดํารัสของพระตถาคตเลย, แตเ ขาสัน่ ศรี ษะ แลบลนิ้ ยดึ เอาทางทเ่ี ดินไปคนเดียวไดไ ปยังที่เปน ทอ่ี าศัยอยูของนายพรานแหงใดแหงหนึ่งแลว ดงั น้แี ล. เรือ่ งอุปกาชวี ก จบ.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 573
Pages: