Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_43

tripitaka_43

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:40

Description: tripitaka_43

Search

Read the Text Version

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 451ก็แลครั้นกลา วอยา งน้นั แลว กลา ววา \" ขาพเจาไดท าํ ความสาํ คัญในทา นวาเปน สมณะส้นิ กาลประมาณเทานี,้ บัดน้ี ทา นขวางทอนไมไ ปเพราะความเปนผูประสงคจ ะประหารขาพเจา, ทานไมเปนสมณะแตก าลทีท่ านขวางทอนไมไปแลว ทเี ดยี ว, ประโยชนอะไรดว นชฎาท้งั หลายของบคุ คลผูทรามปญญาเชน ทา น, ประโยชนอ ะไรดวยหนงั เนอ้ื ชอ่ื อชนิ ะพรอ มทัง้ กบี . เพราะภายในของทานรกรุงรัง, ทา นยอมเกลี้ยงเกลาแตภายนอกอยา งเดยี วเทา นั้น.\"พระศาสดา ครนั้ ทรงนําอดตี นทิ านนม้ี าแลว ตรัสวา \" พราหมณน้ี ไดเปน ดาบสผหู ลอกลวงในกาลนนั้ , สว นพระยาเห้ยี ไดเปน เราน่เี อง \"ดังน้ี แลว ทรงประมวลชาดก เม่ือจะทรงแสดงเหตแุ หง ดาบสน้นั ถูกเห้ียตัวฉลาดขมในกาลนั้น จงึ ตรัสพระคาถาน้วี า :-๑๑. กินเฺ ต ชฏาหิ ทุมฺเมธ กนิ ฺเต อชินสาฏยิ าอพฺภนตฺ รนฺเต คหน พาหิร ปริมชฺชส.ิ \" ผูม ปี ญญาทราม ประโยชนอ ะไรดวยชฎาทงั้ หลายของเธอ, ประโยชนอ ะไรดว ยผา ทีท่ ําดว ยหนงั เนื้อชอ่ื อชินะของเธอ; ภายในของเธอรกรุงรัง,เธอยอมเกลี้ยงเกลาแตภ ายนอก. \" แกอรรถบรรดาบทเหลานนั้ สองบทวา กนิ เฺ ต ชฏาหิ ความวา ดกู อ นผทู รามปญ ญา ประโยชนอะไรดวยชฎาเหลาน้ี แมอ ันเธอเกลา ไวดแี ลวและดว ยผา สาฎกท่ีทําดวยหนังเน้อื ช่ืออชนิ ะนี้ พรอมทัง้ กีบอนั เธอนงุ แลวของเธอ.

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 452 บทวา อพภฺ นตฺ ร ความวา ในภายในของเธอรกรงุ รงั ดวยกเิ ลสมีราคะเปนตน , เธอยอ มเกลีย้ งเกลาแตภ ายนอก เหมอื นคถู ชา งคูถขางคูถมา เกลย้ี ง-เกลาแตภ ายนอกอยา งเดยี ว. ในกาลจบเทศนา ชนเปนอนั มากบรรลอุ รยิ ผลทงั้ หลาย มโี สดา-ปต ตผิ ลเปนตน ดงั น้แี ล. เรือ่ งกหุ กพราหมณ จบ.

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 453๑๒. เรื่องนางกิสาโคตมี [๒๗๕]ขอความเบ้อื งตนพระศาสดา เม่อื ประทบั อยูท่ีภูเขาคิชฌกฏู ทรงปรารภนางกิสา-โคตมี ตรัสพระธรรมเทศนานี้วา \"ป สกุ ูลธร \" เปน ตน .นางโคตมเี หน็ ทา วสักกะไดย ินวา ในกาลนน้ั ทา วสักกะเขา ไปเฝาพระศาสดา พรอ มกับเทวบริษัท ในทสี่ ดุ แหงปฐมยาม ถวายบงั คมแลวประทบั นง่ั ทรงสดบัธรรมกถาอันเปนทต่ี ง้ั แหงความระลกึ ถึงอยู ณ ทสี่ วนขา งหนง่ึ .ในขณะนน้ั นางกสิ าโคตมคี ดิ วา \" เราจกั เฝา พระศาสดา \" เหาะมาทางอากาศแลว เหน็ ทาวสกั กะ จงึ กลบั ไปเสีย๑ ทา วเธอทอดพระเนตรเหน็ นางผูถวายบังคมแลว กลบั ไปอยู ทลู ถามพระศาสดาวา \" พระเจาขาภิกษุณีนน่ั ช่อื ไร ? พอมาเหน็ พระองคแ ลวกก็ ลับ.\"นางกสิ าโคตมเี ลิศทางทรงผาบังสกุ ุลพระศาสดาตรัสวา \" มหาบพติ ร ภกิ ษณุ ีนัน่ ช่ือกิสาโคตมี เปนธดิ าของตถาคต เปน ยอดแหง พระเถรผี ูทรงผาบังสกุ ลุ ทั้งหลาย\" ดงั น้ีตรสั พระคาถานีว้ า :-๑๒. ป สกุ ูลธร ชนฺตุ กสิ นฺธมนสิ นถฺ ตเอก วนสฺมึ ฌายนฺต ตมห พรฺ ูมิ พฺราหฺมณ .\" เราเรียกชนผูทรงผา บงั สกุ ุล ผผู อม สะพร่งัดว ยเอน็ ผเู พง อยูผูเดยี วในปานน้ั วา เปน พราหมณ.\"๑. การเท่ยี วไปกลางคนื เสมอ ๆ ภิกษุณีมไิ ดประพฤต.ิ

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 454 แกอรรถ บรรดาบทเหลาน้ัน บทวา กสิ  ความวา ก็ชนทัง้ หลายผทู รงผาบังสกุ ลุ บําเพ็ญขอปฏิบัตอิ นั สมควรแกต น ยอ มเปน ผูมีเน้ือและโลหิตนอ ย และเปนผูมตี วั สะพรง่ั ดว ยเอ็น; เหตนุ น้ั พระศาสดาจึงตรสั อยา งน้ัน. สองบทวา เอก วนสมฺ ึ ความวา เรายอ มเรียกบคุ คลผูเ พงอยผู เู ดียวในทสี่ งัดนั้นวา เปน พราหมณ. ในกาลจบเทศนา ชนเปน อันมากบรรลอุ ริยผลท้งั หลาย มีโสดา-ปต ติผลเปนตน ดังนีแ้ ล. เรอื่ งนางกิสาโคตมี จบ.

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 455๑๓. เร่ืองพราหมณคนใดคนหน่ึง [๒๗๖] ขอ ความเบอ้ื งตนพระศาสดา เม่อื ประทบั อยใู นพระเชตวัน ทรงปรารภพราหมณคนหน่งึ ตรสั พระธรรมเทศนานว้ี า \" น จาห \" เปนตน .พราหมณเขา เฝาพระศาสดาไดยนิ วา พราหมณน น้ั คดิ วา \" พระสมณโคดม ตรสั เรียกสาวกทง้ั หลายของพระองควา ' พราหมณ, ' สวนเราก็เปน ผูเกดิ ในกําเนดิพราหมณ, การทีพ่ ระองคต รสั เรยี กเราอยางน้ันบาง ยอ มควร\" ดังนีแ้ ลวเขา ไปเฝา พระศาสดา ทูลถามเนอื้ ความนัน้ .ลกั ษณะแหงพราหมณลาํ ดับนัน้ พระศาสดาจงึ ตรัสกะเขาวา \" พราหมณ เรายอ มไมเรยี กวา ' พราหมณ ' ดวยเหตุสกั วาเกดิ ในกําเนดิ พราหมณเทา น้ัน, สวนผูใดไมมีกเิ ลสเคร่อื งกงั วล ไมถือมนั่ , เราเรยี กผนู ้ันวา ' เปนพราหมณ \"ดงั นแ้ี ลว ตรัสพระคาถานว้ี า :-๓. น จาห พรฺ าหมฺ ณ พฺรมู ิ โยนิช มตตฺ ิสมภฺ วโภวาที นาม โส โหติ ส เว โหติ สกิฺจโนอกิจฺ น อนาทน ตมห พรฺ ูมิ พรฺ าหมฺ ณ .\" เราไมเรียกบคุ คลผูเกิดแตกําเนิด ผูมีมารดาเปน แดนเกิดวา เปน พราหมณ; เขายอ มเปน ผชู อ่ื วาโภวาที, เขายอมเปน ผูมีกิเลสเคร่ืองกังวล, เราเรียกผูไ มม ีกิเลสเครื่องกังวล ผูไมถอื ม่นั นน้ั วา เปนพราหมณ. \"

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 456 แกอ รรถ บรรดาบทเหลาน้นั บทวา โยนชิ  ไดแ ก ผูเกดิ แลว แตก าํ เนดิ . บทวา มตตฺ สิ มภฺ ว ความวา ผเู กดิ แลวในทอ งอนั เปนของมีอยแู หงมารดาผเู ปน พราหมณ.ี บทวา โภวาที ความวา ก็เขาเทยี่ วกลา วอยูว า \" ผูเจริญ ผเู จรญิ \"ในคําท่ีรองเรยี กกันเปนตน ยอมเปน ผูชื่อวา โภวาที, เขาแล ยงั เปนผมู ีกเิ ลสเครอื่ งกงั วล ดว ยกิเลสเคร่ืองกังวลทัง้ หลายมรี าคะเปนตน; แตเราเรยี กผไู มมีกิเลสเครอื่ งกงั วล ดว ยกิเลสท้ังหลายมรี าคะเปนอาทิ ผไู มถือมน่ั ดว ยอุปาทาน ๔ วา เปน พราหมณ. ในกาลจบเทศนา พราหมณนั้นตงั้ อยใู นโสดาปตติผลแลว . เทศนาไดมปี ระโยชนแ มแกม หาชนผูประชุมกันแลว ดังนแ้ี ล. เรอ่ื งพราหมณคนใดคนหนึ่ง จบ.

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 457 ๑๔. เร่อื งอคุ คเสน [๒๗๗] ขอ ความเบื้องตนพระศาสดา เมอื่ ประทับอยใู นพระเวฬุวัน ทรงปรารภเศรษฐบี ุตรชื่ออุคคเสน ตรัสพระธรรมเทศนานว้ี า \" สพพฺ สโฺ ช๑น \" เปนตน . พระอรหันตยอ มไมกลัวเรอื่ งขา พเจาใหพ สิ ดารแลว ในอรรถแหง พระคาถาวา \" มุจฺปุเร มุฺจ ปจฺฉโต \" เปน ตน นน้ั แล.ก็ในกาลนนั้ พระศาสดา เมอ่ื ภิกษุทงั้ หลายกราบทลู วา \" พระ-เจาขา พระอุคคเสนยอมกลา ววา ' เราไมกลัว ' ชะรอยวาจะพยากรณพระอรหตั ผลดวยคาํ ไมจรงิ ,\" จงึ ตรัสวา \" ภกิ ษทุ ั้งหลาย บุคคลผูเชน กบับุตรของเรา มสี ังโยชนอันตัดไดแลว ยอ มไมก ลวั เลย \" ดังน้แี ลว ตรสัพระคาถาน้ีวา :-๑๔. สพฺพส โยชน เฉตวฺ า โย เว น ปริตสสฺ ติสงฺคาตคิ  วสิ  ยุตตฺ  ตมห พรฺ ูมิ พรฺ าหฺมณ . \" ผใู ดแล ตัดสังโยชนทัง้ ปวงไดแ ลว ยอ มไมสะดงุ , เราเรยี กผูน้ัน ผกู า วลว งกเิ ลสเครื่องของไดผหู ลดุ พนแลว วา เปนพราหมณ. \" แกอรรถบรรดาบทเหลา น้นั บทวา สพพฺ สฺโชน ไดแก สังโยชน ๑๐อยาง.บทวา น ปรติ สสฺ ติ ไดแ ก ยอมไมกลวั เพราะตัณหา.บทวา ตมห ตดั บทเปน ต อห ความวา เราเรยี กผูน ้ัน ซึง่ ชื่อวา๑. บาลี เปน สพพฺ ส โยชน .

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 458กา วลวงกิเลสเครอื่ งขอ ง เพราะความท่ีกเิ ลสเคร่ืองของทง้ั หลาย มรี าคะเปนตน อันลวงไดแ ลว ผูชอ่ื วาพรากไดแ ลว เพราะไมมแี หง โยคะแม ๔วา เปน พราหมณ. ในกาลจบเทศนา ชนเปน อนั มากบรรลุอรยิ ผลท้ังหลาย มีโสดา-ปต ติผลเปน ตน ดงั นีแ้ ล. เรอ่ื งอุคคเสน จบ.

พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 459 ๑๕. เร่ืองพราหมณ ๒ คน [๒๗๘] ขอความเบื้องตน พระศาสดา เมอื่ ประทบั อยูในพระเชตวัน ทรงปรารภพราหมณ๒ คน ตรสั พระธรรมเทศนานว้ี า \" เฉตวฺ า นทฺธึ \" เปน ตน. พราหมณสองคนเอาโคแขงขนั กัน ไดย นิ วา ในพราหมณสองคนนั้น พราหมณค นหนึง่ มีโคชื่อวาจูฬโรหิต, คนหนงึ่ มโี คชอ่ื วามหาโรหติ . ในวนั หนงึ่ เขาทัง้ สองเถยี งกนั วา \" โคของทานแข็งแรง หรอื โคของเราแขง็ แรง\" ดังนี้แลว ตางกลาวกันวา \" ประโยชนอ ะไรของเราทง้ั หลาย ดว ยการเถียงกัน, เราแขง กนั แลว จักรู \" ยงั เกวียนใหเตม็ ดวยทรายท่ีฝง แมนาํ้ อจิรวดี แลว เทยี มโค. ในขณะนัน้ แมภิกษุทง้ั หลายก็ไดไ ปแลวในท่ีนน้ั เพอ่ื สรงน้ํา.พราหมณทั้งหลายแขง โคกนั แลว. เกวียนไดหยดุ น่งิ อยู, สว นชะเนาะและเชือกทั้งหลายขาดแลว. ภิกษุทง้ั หลายเหน็ แลว ไปยังวหิ าร กราบทลู เน้อื ความนั้นแดพระ-ศาสดา. ควรตัดชะเนาะและเชือกภายใน พระศาสดาตรสั วา \" ภิกษทุ ัง้ หลาย ชะเนาะและเชือกนั่นเปนแตภายนอก, คนใดคนหน่งึ กต็ ัดชะเนาะและเชอื กเหลา น้ันไดท ง้ั น้ัน, ฝายภิกษตุ ดั ชะเนาะคอื ความโกรธ และเชอื กคอื ตัณหาอันเปน ไปภายในควร\"ดังน้ีแลว ตรสั พระคาถาน้วี า :-

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 460๑๕. เฉตวฺ า นทธฺ ึ วรตตฺ จฺ สนฺทา๑น สหนกุ ฺกม อุกฺขติ ฺตปลิฆ พทุ ฺธ ตมห พรฺ ูมิ พรฺ าหฺมณ . \" เราเรียกบุคคลผตู ดั ชะเนาะ เชือก และเคร่ือง ตอพรอ มทั้งหลาย ผูม ลี ่ิมสลักอนั ถอนข้ึนแลว ผูรูแลว นน้ั วา เปน พราหมณ. \" แกอรรถ บรรดาบทเหลานั้น บทวา นทธฺ ึ ไดแก ความโกรธอนั เปนไปโดยความเปน เคร่ืองผูกรัด. บทวา วรตฺต ไดแ ก ตณั หาอันเปน ไปโดยความเปนเครอ่ื งผูก. บาทพระคาถาวา สนธฺ าน สหนกุ ฺกม เปน ตน ความวา เราเรยี กบุคคลผตู ดั เคร่ืองตอ คือทฏิ ฐิ ๖๒๒ อนั ประกอบดว ยสายคอื อนุสยั แมทงั้ ปวงนีต้ งั้ อยแู ลว ผูชื่อวา มลี ่ิมสลักอันถอนข้นึ แลว เพราะความทีล่ ิ่มสลักคืออวชิ ชาเปนของอันตนถอนข้ึนแลว ผูช อื่ วา รแู ลว เพราะรูสัจจะ ๔ นน้ั วาเปน พราหมณ. ในกาลจบเทศนา ภิกษุ ๕๐๐ รปู ต้ังอยใู นพระอรหตั ผลแลว. เทศนาไดมปี ระโยชนแ มแ กช นผปู ระชุมกันแลว ดังน้แี ล. เรือ่ งพราหมณ ๒ คน จบ.๑. ม. โป. และ อรรถกถา เปน สนธฺ าน . ๒. ที. สี. ๙/๔๙.

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 461๑๖. เรอ่ื งอักโกสกภารทวาชพราหมณ [๒๗๙] ขอ ความเบอื้ งตน พระศาสดา เมอ่ื ประทับอยใู นพระเวฬวุ ัน ทรงปรารภอักโกสก-ภารทวาชพราหมณ ตรัสพระธรรมเทศนานวี้ า \" อกโฺ กส \" เปน ตน. นางธนัญชานถี ูกดา ความพิสดารวา นางพราหมณีชอื่ ธนญั ชานี ของภารทวาชพราหมณผพู ่ีชายของอักโกสกภารทวาชพราหมณ ไดเปนโสดาบันแลว. นางจามก็ดี ไอกด็ ี พลาดกด็ ี เปลงอุทานนว้ี า \" นโม ตสฺส ภควโต อรหโตสมมฺ าสมพฺ ทุ ฺธสสฺ (ความนอบนอม จงมีแดพระผูม ีพระภาคเจา ผูเปนพระอรหนั ต ตรัสรเู องโดยชอบ พระองคน ้ัน).\" วันหนึง่ ในเวลาทอี่ ังคาสพราหมณ นางพลาดแลว เปลงอทุ านขนึ้ อยางนนั้ นนั่ แล ดวยเสยี งอันดงั . พราหมณโ กรธแลว กลาววา \" หญงิถอ ยน้ี พลาดแลว ในที่ใดทห่ี น่งึ ยอมกลาวสรรเสริญพระสมณะหัวโลนนั้นอยางนี้ทุกที \" ดงั นีแ้ ลว กลาววา \" หญงิ ถอย บัดนีข้ า จกั ไปยกวาทะตอศาสดาน้ันของเจา .\" ลาํ ดบั นนั้ นางจงึ กลาวกะพราหมณน ั้นวา \" จงไปเถดิ พราหมณดฉิ นั ไมเหน็ บุคคลผูจะยกวาทะตอพระผูมีพระภาคเจานั้นได: เออ ก็คร้นัไปแลว จงทูลถามปญหากะพระผูม พี ระภาคเจา.\" เขาไปสูสํานักพระ-ศาสดา ไมถวายบงั คมเลย ยืนอยู ณ สว นขางหนึ่งแลว, เมื่อจะทูลถามปญ หา จึงกลาวคาถาน้วี า:-

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 462 \" บคุ คลฆาอะไรไดสิ จึงอยูเ ปน สขุ , ฆาอะไร ไดสิ จึงไมเศราโศก, ขา แตพ ระโคดม พระองค ยอ มชอบใจซ่ึงการฆา ธรรมอะไรสิ ซงึ่ เปนธรรมอัน เอก.\" ลาํ ดบั นน้ั พระศาสดาเมือ่ จะทรงพยากรณปญ หาแกเ ขา จึงตรัสพระคาถานีว้ า :- \" บคุ คลฆา ความโกรธไดแ ลว จงึ อยเู ปน สขุ . ฆา ความโกรธไดแ ลว จึงไมเ ศรา โศก, พราหมณ พระ- อริยเจา ท้ังหลาย ยอมสรรเสริญการฆาความโกรธ อนั มีรากเปน พษิ มยี อดหวาน, เพราะบคุ คลนนั้ ฆา ความโกรธนั้นไดแ ลว ยอมไมเศราโศก.\" พราหมณ ๔ คนบรรลุพระอรหตั ผล เขาเลอื่ มใสในพระศาสดา บวชแลวบรรลุพระอรหัต. ครัง้ นั้น อกั โกสกภารทวาชพราหมณผ นู อ งชายของเขา ไดฟ ง วา\" ไดย ินวา พ่ชี ายของเราบวชแลว \" ก็โกรธ จงึ มาดาพระศาสดาดวยวาจาหยาบคาย ซงึ่ มใิ ชวาจาสตั บรุ ุษ. แมเขาก็ถูกพระศาสดาใหร สู าํ นกึแลว ดว ยขออุปมาดว ยการใหข องควรเคยี้ วเปน ตนแกแ ขกท้ังหลาย เล่อื ม-ใสในพระศาสดา บวชแลว บรรลพุ ระอรหตั . นองชายท้ังสองของเธอแมอนื่ อีก คือสนุ ทริกภารทวาชะ พิลังคก-ภารทวาชะ (พากนั ) ดาพระศาสดาเหมือนกัน อันพระศาสดาทรงแนะนาํบวชแลว บรรลพุ ระอรหตั .

พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 463 ตอมาวันหนง่ึ ภิกษทุ งั้ หลายสนทนากันในโรงธรรมวา \" ผูมอี ายุทง้ั หลาย คุณของพระพุทธเจานา อศั จรรยหนอ: เมอ่ื พราหมณพี่นองชายท้งั ๔ ดา อยู, พระศาสดาไมตรสั อะไร ๆ กลบั เปน ทพี่ ่ึงของพราหมณเหลานัน้ อกี .\" พระศาสดาเปนท่ีพึ่งของมหาชน พระศาสดา เสดจ็ มาแลวตรัสถามวา \" ภิกษุทั้งหลาย บัดน้ีพวกเธอนง่ั ประชมุ กันดว ยกถาอะไรหนอ ?\" เมอื่ ภิกษเุ หลานั้นกราบทลู วา \" ดว ยกถาช่ือน้ี \" จึงตรสั วา \" ภิกษทุ ้งั หลาย เราไมป ระทุษราย ในชนท้งั หลายผูประทษุ รา ย เพราะความที่เราประกอบดวยกําลงั คอื ขนั ติ ยอ มเปนท่พี ึง่ ของมหาชนโดยแท ดงั นแ้ี ลว ตรสั พระคาถานีว้ า :-๑๖. อกโฺ กส วธพนธฺ จฺ อทุฏโ  โย ตติ ิกฺขติ ขนฺตีพล พลาณีก ตมห พรฺ มู ิ พฺราหมฺ ณ . \" ผูใด ไมประทษุ รา ย อดกล้ันซง่ึ คําดา และ การตแี ละการจําจองได, เราเรยี กผูน ้นั ซงึ่ มีกาํ ลัง คือขันติ มหี มูพลวา เปนพราหมณ.\" แกอ รรถ บรรดาบทเหลา น้นั บทวา อทฏุ โ เปน ตน ความวา ผใู ดเปนผมู ีใจไมโ กรธ อดกลน้ั คําดาและคาํ บริภาษ ดวยอักโกสวัตถุ ๑๐ และการดีดวยฝา มอื เปน ตน และการจาํ ดว ยเคร่อื งจาํ คอื ข่อื เปนตน , เราเรียกผูนัน้ คอื ผเู ห็นปานนั้น ซง่ึ ชอื่ วามีกาํ ลังคือขันติ เพราะความเปนผูประกอบดวยกําลังคือขันติ ผูช ื่อวามหี มพู ล เพราะความเปนผูประกอบ

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 464ดวยกําลังคอื ขนั ติ อันเปน หมู เพราะเกดิ ขน้ึ บอย ๆ น่ันแล วา เปนพราหมณ. ในกาลจบเทศนา ชนเปน อนั มากบรรลอุ ริยผลท้งั หลาย มโี สดา-ปต ตผิ ลเปน ตน ดงั นแ้ี ล. เร่ืองอักโกสกภารทวารพราหมณ จบ.

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 465 ๑๗. เรอื่ งพระสารีบุตรเถระ [๒๘๐] ขอ ความเบอ้ื งตน พระศาสดา เมื่อประทบั อยใู นพระเวฬุวัน ทรงปรารภพระสารี-บตุ รเถระ ตรสั พระธรรมเทศนานี้วา \" อกโฺ กธน \" เปน ตน. พระเถระสละทรัพยอ อกบวช ไดยนิ วา ในกาลนัน้ พระเถระเท่ยี วไปบณิ ฑบาตกบั ดวยภิกษุ ๕๐๐0รูป ไดไ ปยงั ประตูเรอื นของมารดา ในบา นนาลกะ. ครง้ั นั้น นางนิมนตใ หทา นนง่ั แลว องั คาสอยู ดาวา \" ผูเจริญทานไมไ ดข องเค้ียวท่ีเปนเดน และน้าํ ขา วทีเ่ ปน เดน ก็สมควรจะกินนํ้าขา วทีต่ ิดอยูท างหลงั กระบวย ในเรือนของคนอื่น, ทา นสละทรพั ย ๘๐โกฏิบวชเสยี ได, ทานใหเราฉิบหายแลว , บดั นท้ี า นจงบรโิ ภคเถดิ .\" นางพลางถวายภตั แมแ กภิกษทุ ั้งหลาย กลา ววา \" บุตรของเราถูกทา นทงั้ หลายทําใหเ ปนคนรบั ใชข องตนแลว , บดั นี้ พวกทา นจงบรโิ ภคเถดิ ,\" พระ-เถระรับภิกษาแลวไดตรงไปยงั วิหารทเี ดียว. คร้ังนน้ั ทานพระราหลุ เออ้ื เฟอพระศาสดาดวยบณิ ฑบาตแลว .ทีนั้น พระศาสดาตรสั กะทา นวา \" ราหลุ พวกเธอไป ณ ทไี่ หน.\" พระราหุล. พวกขาพระองคไปยงั บา นของยา พระเจาขา. พระศาสดา. กอ็ ุปชฌายะของเธอ ถูกยา กลาวอยางไร ? พระราหลุ . พระเจาขา พระอุปช ฌายะของขา พระองค ถูกยา ดาแลว .






































































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook