Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_43

tripitaka_43

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:40

Description: tripitaka_43

Search

Read the Text Version

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 217 ๘. เร่ืองนิครนถ [๒๓๐] ขอความเบือ้ งตน พระศาสดา เมื่อประทบั อยูในพระเชตวนั ทรงปรารภพวกนคิ รนถตรสั พระธรรมเทศนานีว้ า \" อลชฺชิตาเย \" เปน ตน. พวกนคิ รนถโตวาทะกับพวกภิกษุ ความพสิ ดารวา ในวันหนงึ่ ภิกษทุ ง้ั หลายเห็นพวกนคิ รนถแ ลวสนทนากันวา \" ผูมีอายุ พวกนคิ รนถเหลานี้ประเสรฐิ กวา พวกชเี ปลือยซึง่ ไมป กปดโดยประการท้งั ปวง, (เพราะวา ) พวกนิครนถท ี่ปกปด แมขางหนาขางเดียวเทา นั้น กเ็ ห็นจะเปน ผูม คี วามละอาย (อยูบาง).\" พวกนคิ รนถฟง คาํ น้ันแลว กลาววา \" พวกเรา ยอมปกปดเพราะเหตนุ ั้น หามไิ ดพวกเราปกปดเพราะเหตนุ ี้ คอื กล็ ะอองตา ง ๆ มฝี ุนและธลุ เี ปนตน น่นั เทยี วเปน ของเนอื่ งดว ยชวี ิตินทรยี , เมอื่ เปน อยางน้ัน ละอองตา ง ๆ มีฝนุ และธุลเี ปน ตนเหลา นน้ั อยา ตกลงในภาชนะภิกษาท้งั หลายของพวกเรา \" ดังนี้แลว ทําการพูดกบั ภิกษุเหลานน้ั อยา งมากมาย ดวยสามารถแหง การโต-ตอบวาทะกัน. ภกิ ษุทง้ั หลายเขาไปเฝาพระศาสดา กราบทลู เรอ่ื งน้ัน ในกาลท่ตี นนั่งแลว. ผูสมาทานผิดยอ มถึงทุคติ พระศาสดาตรสั วา \" ภกิ ษุทั้งหลาย สตั วท ั้งหลาย ชื่อวาผลู ะอายในส่งิ อันไมค วรละอาย ไมล ะอายในสง่ิ อันควรละอาย ยอมเปน ผมู ที คุ ติเปนที่ไปในเบ้อื งหนา แนแ ท \" ดังนแ้ี ลว เมื่อจะทรงแสดงธรรม ไดท รงภาษติ พระคาถาเหลา นี้วา :-

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 218๘. อลชชฺ ติ าเย ลชฺชนตฺ ิ ลชฺชติ าเย น ลชุชเรมิจฺฉาทฏิ  สิ มาทานา สตฺตา คจฉฺ นฺติ ทุคฺคต.ึอภเย ภยทสสฺ ิโน ภเย จ อภยทสฺสโิ นมจิ ฉฺ าทิฏสิ มาทานา สตตฺ า คจฉฺ นฺติ ทุคฺคต.ึ\" สัตวท ้ังหลาย ยอมละอายเพราะส่ิงอันไมค วรละอาย ไมล ะอายเพราะสง่ิ อันควรละลาย สมาทานมิจฉาทิฏฐิ ยอมถึงทคุ ต.ิ สตั วทง้ั หลาย มีปกตเิ หน็ในส่ิงอันไมควรกลวั วา ควรกลวั และมปี กติเหน็ ในสิ่งอันควรกลวั วาไมค วรกลัว สมาทานมิจฉาทฏิ ฐยิ อมถึงทคุ ต.ิ \" แกอรรถบรรดาบทเหลา น้นั บทวา อลชชฺ ิตาเย ไดแก เพราะภาชนะภกิ ษาอันไมค วรละอาย. จรงิ อยู ภาชนะภกิ ษา ชอื่ วาสง่ิ อันไมค วรละอาย. ก็สัตวเ หลา นนั้ เมือ่ ปกปดภาชนะภิกษาน้ันแลว เทย่ี วไป ชื่อวา ยอ มละอายเพราะภาชนะภิกษาอนั ไมค วรละอายนั้น.บทวา ลชชฺ ิตาเย ความวา เพราะองคอนั ยงั หิรใิ หกาํ เรบิ อนั ไมปกปดแลว . จรงิ อยู องคอ ันยังหริ ิใหกาํ เริบ ชือ่ วา สิง่ อนั ควรละอาย ก็สัตวเ หลา นน้ั เม่ือไมป กปดองคอ ันยงั หริ ใิ หกาํ เรบิ นนั้ เท่ยี วไป ชื่อวา ยอมไมล ะอายเพราะสง่ิ อนั ควรละอาย. เพราะเหตนุ น้ั เม่ือสัตวเหลา น้นั ละอายเพราะสง่ิ อันไมควรละอายอยู ไมละอายเพราะสงิ่ อันควรละอายอย.ู ช่ือวาเปนมิจฉาทฏิ ฐิ เพราะภาวะคอื ความยึดถือเปลา และเพราะภาวะคอื ความยดึ ถอื โดยประการอ่ืน, สัตวเหลานัน้ สมาทานมจิ ฉาทฏิ ฐนิ น้ั แลว เทีย่ วไปอยู

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 219ชอื่ วาสมาทานมจิ ฉาทิฏฐิ ยอมถึงทุคติอนั ตา งโดยอบายมีนรกเปนตน . บทวา อภเย เปนตน ความวา ภาชนะภิกษา ชื่อวาสง่ิ อนั ไมควรกลัว เพราะกิเลสคือ ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ และภยั คอื ทจุ ริตหาเกิดขน้ึ เพราะอาศัยภาชนะภิกษาไม. ก็สตั วท ั้งหลายปกปด ภาชนะนน้ั เพราะความกลัว ชอื่ วามีปกตเิ ห็นในสิ่งอันไมควรกลวั วา ควรกลัว. ก็องคอนั ยงัหริ ใิ หก าํ เริบนั้น ชือ่ วา สงิ่ อนั ควรกลัว เพราะกิเลสท้งั หลายมีราคะเปน ตนเกิดขนึ้ เพราะอาศยั อนั ยังหิริใหก ําเรบิ . และเพราะไมปกปด องคอ นั ยังหริ ใิ หกาํ เรบิ จงึ ช่อื วา ผมู ปี กติเหน็ ในสิง่ อนั ควรกลวั วาไมค วรกลวั .สตั วท้ังหลาย ชอ่ื วาสมาทานมิจฉาทิฏฐิ เพราะคา ทีต่ นสมาทานการยึดถอืเปลา น้ัน และการยึดถือโดยประการอ่ืน ยอมถึงทุคต.ิ ในกาลจบเทศนา พวกนคิ รนถเ ปนอนั มาก มใี จสงั เวชแลว บวช,เทศนาสาํ เรจ็ ประโยชนแ มแกบ ุคคลผปู ระชุมกนั แลว ดงั น้ีแล. เรื่องนิครนถ จบ.

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 220 ๙. เรอื่ งสาวกเดยี รถีย [๒๓๑] ขอความเบื้องตน พระศาสดา เม่อื ประทบั อยใู นพระเชตวนั ทรงปรารภพวกสาวก-เดยี รถยี  ตรสั พระธรรมเทศนานีว้ า \" อวชเฺ ช \" เปน ตน . บตุ รพวกเดียรถยี ส อนบุตรไมใ หไหวสมณะ ความพสิ ดารวา สมยั หน่งึ พวกสาวกอญั ญเดียรถีย เห็นพวกลูก ๆของตนพรอมทัง้ บรวิ าร เลน อยูก บั พวกลูกของพวกอบุ าสกผเู ปนสัมมา-ทฏิ ฐิ ในเวลาลกู เหลานน้ั มาเรือนแลว จึงตางใหก ระทําปฏิญาณวา \" สมณะพวกศากยบตุ ร พวกเจาไมพ งึ ไหว, แมว หิ ารของสมณะเหลาน้ัน พวกเจา กไ็ มพ ึงเขา ไป.\" วนั หนง่ึ ลูกของพวกอญั ญเดียรถียเหลานั้น กาํ ลังเลนอยใู นทใ่ี กลแ หง ซุมประตนู อกพระเชตวันวิหาร มีความระหายนาํ้ ขนึ้ .ทนี ้นั พวกเขาจึงสง เดก็ ของอุบาสกคนหน่งึ ไปสพู ระวิหาร ส่งั วา \" เจา ไปดมื่ นา้ํ ในวหิ ารน้ันแลว จงนาํ มาเพอ่ื พวกเราบา ง.\" เดก็ นั้นก็เขา ไปยังพระวหิ าร ถวายบังคมพระศาสดาแลวกราบทูลความขอนน้ั . บุตรพวกเดียรถยี นบั ถอื พระพทุ ธศาสนา คร้ังนนั้ พระศาสดาตรสั กะเดก็ น้นั วา \" เจา เทา นัน้ ดืม่ นํา้ แลวไปจงสงแมพ วกเดก็ นอกนมี้ า เพ่ือตองการแกการดื่มนาํ้ ในที่น้เี ทียว.\" เขาไดท าํ อยางน่ัน. พวกเด็กเหลานน้ั มาดม่ื น้าํ แลว . พระศาสดารบั สงั่ ใหห าเด็กเหลานัน้ มาแลว ตรัสธรรมกถาทสี่ บายแกเ ดก็ เหลา นนั้ ทรงทําเด็กเหลาน้ันใหม ศี รทั ธามน่ั คงแลว ใหต ้งั อยใู นสรณะและศีล. เดก็ เหลา นั้นไปสเู รือนของตน ๆ แลว แจงความนนั้ แกมารดาและบดิ า. ครงั้ นน้ัมารดาและบิดาของพวกเขา ถงึ ความโทมนัสปรเิ ทวนาวา \" ลกู ของพวก

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 221เรา เกิดเปน คนมที ฏิ ฐวิ ิบตั ิเสยี แลว.\" ครงั้ นน้ั คนทสี่ นิทสนมของพวกนนั้เปน คนฉลาด มากลา วธรรมแกค นเหลานั้น เพื่อตองการแกอันยังความโทมนสั ใหสงบ. มารดาและบดิ าของพวกเด็กเหลานน้ั ฟงถอยคาํ ของคนเหลา นน้ัแลว จงึ กลาววา \" พวกเราจกั มอบพวกเด็ก ๆ เหลาน้แี กพระสมณโคดมเสยีทเี ดียว\" ดงั นแี้ ลว นําไปสูพระวหิ ารพรอมดว ยหมูญ าติเปน อนั มาก. ความเหน็ เปน เหตุใหส ัตวไ ปทคุ ติและสคุ ติ พระศาสดาทรงตรวจดูอาสยะของคนเหลานัน้ แลว เมอ่ื จะทรงแสดงธรรม ไดท รงภาษิตพระคาถาเหลา น้วี า :-๙. อวชเฺ ช วชชฺ มติโน วชเฺ ช จ อวชชฺ ทสสฺ ิโน มจิ ฺฉาทฏิ ิสมาทานา สตตฺ า คจฉฺ นตฺ ิ ทคุ คฺ ต.ึ วชชฺ ฺจ วชชฺ โต ญตวฺ า อวชฺชจฺ อวชฺชโต สมมฺ าทิฏสิ มาทานา สตตฺ า คจฺฉนตฺ ิ สคุ คฺ ตึ. \"สัตวท ง้ั หลาย ผมู คี วามรูวามีโทษในธรรมที่หา โทษมไิ ด มีปกตเิ หน็ วาหาโทษมิไดใ นธรรมทีม่ โี ทษ เปนผูถ อื ดวยดีซงึ่ มจิ ฉาทฏิ ฐิ ยอมไปสูทุคติ. สัตว ทัง้ หลาย รธู รรมทม่ี โี ทษ โดยความเปนธรรมมโี ทษ รูธรรมท่ีหาโทษมไิ ด โดยความเปน ธรรมหาโทษมิได เปน ผถู ือดวยดซี งึ่ สัมมาทฏิ ฐิ ยอมไป สสู ุคต.ิ \" แกอรรถ บรรดาบทเหลา นนั้ บทวา อวชฺเช คอื ในสัมมาทิฏฐิมวี ัตถุ ๑๐และในธรรมท่ีเปนอุปนสิ ัยแหง สัมมาทิฏฐินั้น.

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 222 บทวา วชชฺ มตโิ น คอื มีมติเกิดขึน้ วา \" นี้มีโทษ.\" แตส ตั วเหลาน้ัน มีปกตเิ ห็นวา หาโทษมิได ในธรรมทมี่ ีโทษ คอื มจิ ฉาทฏิ ฐิมีวตั ถุ ๑๐ และคอื ธรรมอนั เปนอปุ นิสยั แหงมจิ ฉาทิฏฐนิ ัน้ . อธิบายวา สตั วทั้งหลาย ชอ่ื วา ผถู อื ดวยดซี ึ่งมจิ ฉาทิฏฐิ เพราะความท่ีตนถอื ดวยดีแลวซงึ่มจิ ฉาทฏิ ฐนิ น่ั คือความรธู รรมท่หี าโทษมิได โดยความเปน ธรรมมีโทษและรธู รรมท่มี โี ทษ โดยความเปน ธรรมหาโทษมไิ ดแ ลว ยดึ ถอื มั่น ยอมไปสทู ุคติ. ความแหง พระคาถาท่ี ๒ บณั ฑติ พงึ ทราบโดยความตรงกันขา มกับที่กลา วแลว . ในกาลจบเทศนา คนเหลานัน้ แมท ง้ั หมด ดํารงอยใู นสรณะ ๓แลว ฟงธรรมอ่ืน ๆ อีกอยู ก็ไดด ํารงอยูในโสดาปตติผล ดังนีแ้ ล. เรอ่ื งสาวกเดยี รถีย จบ. นริ ยวรรควรรณนา จบ. วรรคที่ ๒๒ จบ.

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 223 คาถาธรรมบท นาควรรค๑ท่ี ๒๓วา ดวยความอดกลนั้ ตอ คาํ ลวงเกนิ เหมือนชางทนลกู ศร[๓๓] ๑. เราจกั อดกลัน้ คําลว งเกนิ เหมือนชา งอดทนตอ ลูกศรทต่ี กจากแลง ในสงครามฉะนัน้ เพราะชนเปน อนั มากเปนผูทุศีล. ชนทงั้ หลายยอ มนําสัตวพาหนะท่ี ฝก แลวไปสทู ี่ประชมุ พระราชายอ มทรงสตั วพาหนะ ท่ฝี กแลว บุคคลผอู ดกลน้ั คาํ ลว งเกนิ ไดฝก (ตน) แลว เปนผูประเสรฐิ ในมนุษยท งั้ หลาย มา อัสดร ๑ มา สนิ ธพผอู าชาไนย ๑ ชา งใหญชนดิ กญุ ชร ๑ ที่ ฝกแลว ยอ มเปน สตั วป ระเสรฐิ แตบ คุ คลทมี่ คี นฝก แลวยอมประเสรฐิ กวา (สตั วพ เิ ศษนัน้ ). ๒. ก็บคุ คลพึงไปสทู ศิ ท่ยี ังไมเ คยไปดว ยยาน เหลานี้ เหมอื นคนผฝู ก (ตน) แลว ไปสูทศิ ที่ยังไม เคยไป ดวยตนที่ฝก แลว ฝก ดีแลวฉะน้นั หามิได. ๓. กุญชร นามวา ชนปาลกะ. ตถมันจดั หา ม ไดย าก ถกู ขงั ไว ไมบรโิ ภคฟอนหญา กุญชรระลกึ ถงึ (แต) นาควนั ๔. ในกาลใด บคุ คลเปนผูก นิ มาก นักงว ง และมักหลับกระสบั กระสาย ประหน่งึ สกุ รใหญท ่ถี ูก๑. วรรคนี้ มอี รรถกถา ๘ เรื่อง.

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 224 ปรนปรือดว ยอาหารฉะนั้น ในกาลนัน้ เขาเปนคน มึนซมึ ยอมเขาไปถงึ หอ งร่ําไป. ๕. เมือ่ กอ น จติ นี้ไดเ ที่ยวจารกิ ไป ตามอาการ ที่ปรารถนาตามอารมณที่ใคร (และ) ตามความสบายวนั น้ีเราจักขมมันดวยโยนิโสมนสิการ ประหน่งึ นายควาญชาง ขมชา งที่ซบั มันฉะนน้ั . ๖. ทา นทั้งหลาย จงยินดใี นความไมป ระมาท จงตามรักษาจติ ของตน จงถอนตนขึ้นจากหลม ประ-หน่ึงชา งที่จมลงในเปอกตม ถอนตนขึน้ ไดฉ ะน้ัน. ๗. ถาวาบุคคลพึงไดส หายผูมปี ญญาเคร่ืองรกั ษา ตวั มธี รรมเคร่ืองอยอู นั ดี เปนนกั ปราชญ ไวเปนผู เที่ยวไปดว ยกันไซร เขาพงึ ครอบงาํ อนั ตรายทัง้ สน้ิเสียแลว พึงเปน ผูมใี จยนิ ดี มีสติ เทย่ี วไปกบั สหายนนั้ หากวาบุคคลไมพึงไดส หายผมู ีปญ ญาเครื่องรกั ษาตัว มธี รรมเครื่องอยอู นั ดี เปน นกั ปราชญ ไวเปนผูเท่ียวไปดว ยกนั ไซร เขาพงึ เท่ียวไปคนเดยี ว เหมอื น พระราชาทรงละแวนแควน ทท่ี รงชนะเดด็ ขาดแลว(หรอื ) เหมือนชางชอ่ื วามาตงั คะ ละโขลงแลว เทย่ี ว ไปในปาตวั เดยี วฉะนนั้ . ความเที่ยวไปแหง บคุ คลคน เดยี วประเสริฐกวา เพราะคณุ เครือ่ งเปนสหายไมมอี ยใู นชนพาล บคุ คลนน้ั พึงเปน ผูผ เู ดียวเทยี่ วไป เหมอื นชางชือ่ มาตงั คะ ตัวมีความขวนขวายนอย

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 225 เทย่ี วไปอยูในปา ฉะนัน้ และไมพ ึงทาํ บาปทง้ั หลาย. ๘. เม่อื ความตองการเกดิ ขึน้ สหายทั้งหลายนาํความสุขมาให ความยินดีดว ยปจจยั นอกน ๆ (ตามมีตามได) นาํ ความสขุ มาให บญุ นาํ ความสุขมาใหในขณะสิน้ ชีวิต การละทกุ ขท ง้ั ปวงเสยี ไดน าํ ความสุขมาให ความเปนผูเก้ือกลู แกม ารดา นาํ ความสุขมาใหในโลก อนง่ึ ความเปนผูเกือ้ กลู แกบิดา นําความสุขมาให ความเปน ผูเกอื้ กูลแกส มณะ นําความสขุ มาใหใ นโลก อน่ึง ความเปน ผเู กอื้ กูลแกพราหมณนาํ ความสขุ มาให ศีลนาํ ความสุขมาใหตราบเทา เรา ศรทั ธาท่ีต้งั ม่นั แลว นาํ ความสุขมาให การไดเ ฉพาะซงึ่ ปญญา นาํ ความสขุ มาให การไมทาํ บาปทัง้ หลาย นําความสุขมาให. จบนาควรรคท่ี ๒๓

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 226 ๒๓. นาควรรควรรณนา ๑. เรอ่ื งของพระองค [๒๓๒] ขอ ความเบ้ืองตน พระศาสดา เมอื่ ประทบั อยใู นกรุงโกสัมพ๑ี ทรงปรารภพระองคตรสั พระธรรมเทศนานี้วา \" อห นาโคว\" เปนตน . พระศาสดาถกู พวกมจิ ฉาทิฏฐิดา เรือ่ งขา พเจา ใหพ สิ ดารแลว ในวรรณนาแหงพระคาถาแรกแหงอัปปมาทวรรคนัน่ แล. จริงอยู ในทีน่ ัน้ ขาพเจากลาวไวฉ ะนีว้ า \" พระนางมาคนั ทิยา ไมอาจทําอะไร ๆ แกหญงิ ๕๐๐ มพี ระนางสามาวดีเปน ประมุขเหลา น้นั ได\" จึงทรงดํารวิ า \" เราจกั ทาํ กจิ ที่ควรทําแกพระสมณโคดมใหได\" ดงั นแ้ี ลว ใหสินจา งแกช าวนครทัง้ หลายแลว กลา ววา \" ทานทัง้ หลายพรอมกบั พวกผูชายท่ีเปน ทาสและกรรมกร จงดาจงบรภิ าษพระสมณโคดมผเู สดจ็ เท่ียวเขา มาภายในพระนคร ใหห นไี ป.\" พวกมิจฉาทิฏฐิผูไมเลือ่ มใสในพระรัตนตรยั ไดต ิดตามพระศาสดาผเู สด็จเขาไปภายในพระนคร ดา อยู บรภิ าษอยู ดวยอักโกสวตั ถุ ๑๐ วา\" เจา เปนโจร เจา เปน คนพาล เจาเปน คนหลง เจาเปนอูฐ เจา เปนโคเจาเปน ลา เจา เปน สตั วน รก เจา เปน สัตวด ริ จั ฉาน, สคุ ติไมมสี าํ หรับเจาทคุ ตเิ ทานน้ั อันเจา พงึ หวัง.\"๑. นครหลวงแหงแควน วังสะ.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 227 พระอานนทท ลู ใหเ สด็จไปนครอื่นกไ็ มเ สดจ็ ไป ทานพระอานนทส ดับคาํ นนั้ แลว ไดก ราบทลู คาํ นกี้ ะพระศาสดาวา' ขา แตพระองคผเู จริญ ชาวนครเหลาน้ี ยอมดา ยอมบริภาษเราทัง้ หลาย,เราท้งั หลายไปในทีอ่ น่ื จากพระนครนเ้ี ถิด.' พระศาสดา. ไปไหน อานนท ? พระอานนท. สูน ครอืน่ พระเจา ขา . พระศาสดา. เมอื่ มนษุ ยทงั้ หลายในทน่ี นั้ ดา อยู บริภาษอย,ู เราจกัไปในท่ีไหนอีก อานนท ? พระอานนท. สูนครอน่ื แมจ ากนครนนั้ พระเจา ขา . พระศาสดา. เมื่อมนุษยในทีน่ นั้ ดาอยู บริภาษอยู เราทง้ั หลายจกั ไปในที่ไหน (อกี ) เลา อานนท ? พระอานนท. สูน ครอื่นแมจากนครน้นั (อีก) พระเจาขา. พระศาสดา. อานนท การทําอยางนนั้ ไมควร, อธิกรณเกิดขนึ้ในท่ใี ด, เมอ่ื มันสงบแลว ในนั้นนน่ั แหละ, การไปสูที่อื่นจึงควร; อานนทกเ็ ขาพวกไหนเลา ยอ มดา ? พระอานนท. ขาแตพระองคผเู จริญ ชนท้ังหมดจนกระทง่ั ทาสและกรรมกร ยอ มดา. พระศาสดาทรงอดกลน้ั คาํ ลว งเกนิ ได พระศาสดาตรัสวา \" อานนท เราเปน เชนกบั ชา งทีเ่ ขา สสู งคราม,การอดทนตอ ลกู ศรท่แี ลน มาจาก ๔ ทิศ เปน ภาระของชา งทเี่ ขาสูสงครามฉันใด, ชื่อวา การอดทนถอยคาํ ทช่ี นทศุ ีลแมมากกลา วแลว เปนภาระของ

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 228เราฉนั นั้นเหมอื นกัน \" เม่อื ทรงปรารภพระองคแสดงธรรม ไดทรงภาษิตพระคาถาเหลานี้ ในนาควรรควา :-๑. อห นาโคว สงคฺ าเม จาปาโต ปตติ  สรอติวยากฺยนฺตติ กิ ฺขสิ ฺส ทสุ สฺ โี ล หิ พหุชชฺ โน.ทนฺต นยนตฺ ิ สมติ ึ ทนฺต ราชาภิรูหติทนโฺ ต เสฏโ  มนสุ ฺเสสุ โยตวิ ากยฺ นฺติติกขฺ ต.ิวรมสสฺ ตรา ทนตฺ า โยตวิ ากยฺ นตฺ ติ ิกฺขติ.กุ ฺชรา จ มหานาคา อตฺตทนโฺ ต ตโต วร .\" เราจักอดกลน้ั คาํ ลวงเกนิ เหมือนชา งอดทนตอลูกศรทีต่ กจากแลงในสงครามฉะน้ัน, เพราะชนเปนอันมากเปน ผูทุศลี . ชนทั้งหลาย ยอ มนาํ สตั วพาหนะทีฝ่ กแลวไปสูทป่ี ระชมุ , พระราชายอมทรงสตั วพาหนะที่ฝก แลว , บคุ คลผอู ดกล้นั คาํ ลว งเกินได ฝก(ตน) แลว เปน ผปู ระเสริฐในมนษุ ยทง้ั หลาย, มาอสั ดร ๑ มา สินธพผูอาชาไนย ๑ ชางใหญชนดิกญุ ชร ๑ ท่ีฝกแลวยอ มเปนสตั วป ระเสริฐ, แตบคุ คลทีม่ ตี นฝกแลว ยอมประเสรฐิ กวา (สตั วพ ิเศษนัน้ ).\" แกอรรถบรรดาบทเหลานน้ั บทวา นาโคว คอื เหมือนชา ง.สองบทวา จาปาโต ปติต ความวา หลุดออกไปจากธน.ูบทวา อติวากฺย ความวา ซึ่งคาํ ลว งเกิน ที่เปนไปแลว ดวย

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 229สามารถแหง อนริยโวหาร ๘.๑ บทวา ตติ ิกฺขิสสฺ  ความวา ชา งใหญท เ่ี ขาฝก หัดดีแลว เขาสูสงครามเปน สัตวอ ดทน ไมพ รัน่ พรงึ ซ่ึงลูกศรทีห่ ลดุ จากแลงตกลงท่ีตน ช่ือวา ยอ มทนทานตอการประหารทั้งหลาย มปี ระหารดว ยหอกเปน ตนได ฉันใด, เรากจ็ กั อดกล้นั คอื จักทนทานคาํ ลวงเกนิ มีรูปอยางนั้น ฉันนน้ั เหมอื นกนั . บทวา ทสุ สฺ โี ล หิ ความวา เพราะโลกยิ มหาชนนเ้ี ปนอนั มากเปน ผูทศุ ลี เที่ยวเปลง ถอยคาํ เสียดสีดว ยอาํ นาจแหงความชอบใจของตน,การอดกลน้ั คือการวางเฉย ในถอ ยคํานนั้ เปน ภาระของเรา. บทวา สมติ ึ ความวา ก็ชนทัง้ หลาย เม่อื จะไปสูทา มกลางมหาชนในสมาคมสถาน มีอุทยานและสนามกรฑี าเปนตน เทียมโคหรอื มาที่ฝกแลวเทา นั้นเขาทยี่ านแลว ยอมนําไป. บทวา ราชา ความวา แมพระราชา เม่ือเสด็จไปสทู เ่ี หน็ ปานน้นั นน่ั แหละ ยอมทรงสตั วพาหนะเฉพาะท่ีฝกแลว . บทวา มนสุ ฺเสสุ ความวา แมในมนษุ ยทั้งหลายผูฝกแลว คอื ผูส้นิ พยศแลว แล๒ ดว ยอริยมรรค ๔ เปน ผปู ระเสริฐ.๑. อนรยิ โวหาร ๘ คอื :- ๑. อทฏิ เ  ทิฏวาทติ า ความเปน ผูม ปี กติกลาวสงิ่ ทไี่ มเหน็ วาเหน็ . ๒. อสสฺ เุ ต สุตวาทติ า ความเปนผมู ปี กตกิ ลา วสงิ่ ทไ่ี มไดยินวา ไดยนิ . ๓. อมุเต มตุ วาทิตา ความเปน ผูมปี กตกิ ลาวส่งิ ท่ไี มร วู ารู. ๔. อวิฺาเต วิฺ าตวาทติ า ความเปน ผมู ปี กตกิ ลา วสง่ิ ทไ่ี มท ราบชัดวา ทราบชดั . ๕. ทฏิ เ อทฏิ วาทิตา ความเปนผูมปี กตกิ ลาวส่ิงท่เี หน็ วาไมเ หน็ . ๖. สเุ ต อสสฺ ตุ วาทิตา ความเปนผมู ปี กตกิ ลาวส่ิงท่ีไดยินวา ไมไดย นิ . ๗. มุเต อมตุ วาทติ า ความเปนผมู ีปกติกลาวส่งิ ท่ีรูวา ไมร .ู ๘. วิ ฺ าเต อวิ ฺาตวาทติ า ความเปน ผูม ปี กตกิ ลา วส่ิงทที่ ราบชดั วา ไมท ราบชัด.๒. นิพฺพิเสว= มคี วามเสพผดิ ออกแลวเทียว.

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 230 บทวา โยตวิ ากยฺ  ความวา บคุ คลใดยอมอดกลน้ั คอื ยอมไมโตต อบ ไมพ ร่นั พรึงถึงคาํ ลว งเกินมีรูปเชนน้ัน แมอ นั เขากลาวซ้าํ ซากอยู.บุคคลผูฝกแลว เห็นปานน้นั เปน ผปู ระเสรฐิ . มา ท่ีเกิดจากแมมา โดยพอ ลา ชือ่ วา มา อัสดร. บทวา อาชานียาความวา มา ตวั สามารถเพอ่ื จะพลันรเู หตทุ ีน่ ายสารถีผฝู ก มาใหก ระทาํ . มาท่ีเกิดในแควน สนิ ธพ ช่อื วา มาสนิ ธพ. ชางใหญท ่เี รียกวากญุ ชรชอื่ วา มหานาค. บทวา อตฺตทนโฺ ต เปนตน ความวา มาอัสดรกด็ ี มาสนิ ธพกด็ ีชางกุญชรกด็ ี เหลา นัน้ ทฝ่ี ก แลว เทยี ว เปนสัตวป ระเสริฐ, ที่ยงั ไมไ ดฝกหาประเสรฐิ ไม, แตบคุ คลใด ช่ือวา มตี นฝก แลว คือหมดพยศแลวเพราะความทตี่ นเปนผฝู ก ดว ยอรยิ มรรค ๔. บุคคลนี้ยอมประเสรฐิ กวาสัตวพ าหนะ มมี าอัสดรเปน ตนแมนั้น คอื ยอมเปนผูย่งิ กวาสัตวพาหนะมีมาอัสดรเปนตน เหลาน้ันแมทัง้ ส้นิ . ในกาลจบเทศนา มหาชนแมท ั้งหมดนนั้ ผูรับสนิ จา งแลว ยืนดาอยใู นทท่ี ้งั หลาย มีถนนและทางสามแยกเปน ตน บรรลุโสดาปต ตผิ ลแลวดงั นีแ้ ล. เรอื่ งของพระองค จบ.

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 231 ๒. เรอ่ื งภิกษผุ เู คยเปนควาญชา ง [๒๓๓] ขอ ความเบอื้ งตน พระศาสดา เม่อื ประทบั อยใู นพระเชตวัน ทรงปรารภภิกษุรปู หนงึ่ผเู คยเปน นายหตั ถาจารย ตรสั พระธรรมเทศนานว้ี า \" น หิ เอเตหิ \"เปนตน . ควาญชา งฝก ชางใหดีไดเพราะไดนยั จากภกิ ษุ ไดยินวา วันหนงึ่ ภกิ ษนุ ัน้ เหน็ นายควาญชา ง* ผตู ้ังใจวา \" เราจกัฝก ชางสกั ตวั หนึ่ง\" แลวไมอาจเพือ่ จะใหชา งสําเหนียกเหตุท่ตี นปรารถนาได อยใู กลฝ ง แมนํา้ อจิรวดี จงึ เรยี กภกิ ษุท้ังหลายซ่งึ ยนื อยทู ี่ใกลมาแลวกลาววา \" ผูมอี ายทุ ั้งหลาย หากวา นายหัตถาจารยน ้ี พงึ แทงชางตวั น้ีในทชี่ อื่ โนนไซร, เขาพงึ ใหม ันสําเหนยี กเหตุนีไ้ ดโ ดยเรว็ ทีเดียว.\" เขาสดับคําของภกิ ษนุ ั้นแลว จงึ ทําอยา งนน้ั กฝ็ กชา งตัวนนั้ ใหเรยี บรอยได.๒ภกิ ษเุ หลา นั้น จงึ กราบทูลเรอื่ งนัน้ แดพระศาสดา. ฝก ตนดแี ลว ยอมไปสทู ไ่ี มเคยไปได พระศาสดารับส่ังใหเรยี กภิกษนุ ้ันมาแลว ตรัสถามวา \" เขาวา เธอพดู อยางน้นั จริงหรือ ?\" เมอ่ื ภิกษุน้นั ทลู รบั วา \" จรงิ พระเจา ขา \" ทรงติเตยี นภิกษุนัน้ แลว ตรสั วา \" บุรุษเปลา เธอตองการอะไร ดว ยยานคอื ชาง หรือยานอยางอืน่ ทฝี่ กแลว ? เพราะชือ่ วา คนผสู ามารถเพือ่ จะไปสสู ถานทีไ่ มเ คยไปดว ยยานเหลาน้ี หามีไม, แตผ ูมีตนฝก ดแี ลวอาจไปสูสถานที่ไมเคยไปได; เพราะฉะนั้น เธอจงฝกตนเทา น้นั , เธอจะตองการอะไรดวยการฝก สัตวพ าหนะเหลา น้นั \" แลว ตรสั พระคาถาน้ีวา:-๑. หตถฺ ทิ มก ซึ่งบคุ คลผูฝกซ่งึ ชาง. ๒. สทนตฺ  ใหเ ปนสตั วท ีฝ่ ก ดแี ลว .

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 232๒. น หิ เอเตหิ ยาเนหิ คจฺเฉยฺย อคต ทิส ยถาตตฺ นา สทุ นฺเตน ทนฺโต ทนเฺ ตน คจฺฉติ. \" กบ็ ุคคลพงึ ไปสูทิศทย่ี ังไมเ คยไปดว ยยานเหลา นี้ เหมอื นคนผฝู ก (ตน) แลว ไปสทู ศิ ท่ยี งั ไมเคย ไป ดว ยคนทีฝ่ ก แลว ฝก ดแี ลว ฉะน้ันหามิได. \" แกอรรถ พระคาถานน้ั มีความวา ก็บคุ คลไร ๆ พึงไปสทู ิศ คอื พระนิพพานท่ีนบั วายังไมไ ดไ ป เพราะความเปนทศิ ที่ตนยงั ไมเ คยไป แมโดยท่สี ดุดว ยความฝน ดวยยานท้งั หลาย มียานคอื ชา งเปนตนเหลา นีไ้ ด, เหมือนบคุ คลผูฝก (ตน) แลว คือผหู มดพยศ มีปญญา ไปสูท ิศทยี่ งั ไมเคยไปแลว นนั้ คอื บรรลุถึงภูมแิ หง ทา นที่ฝก (ตน) แลว ดวยตนท่ฝี กแลวดวยการฝกอนิ ทรยี ใ นสวนเบ้ืองตน ทรมานดแี ลว ดวยอริยมรรคภาวนาในสว นเบ้อื งหลงั ฉะนั้นก็หามิได; เพราะฉะนน้ั การฝกตนเทา นนั้ จึงประเสริฐสาํ หรบั เธอ. ในกาลจบเทศนา ชนเปน อนั มากบรรลุอริยผลทั้งหลาย มโี สดา-ปตตผิ ลเปน ตน ดงั นี้แล. เรอ่ื งภิกษผุ ูเคยเปนควาญชา ง จบ.

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 233 ๓. เรอื่ งบุตรของพราหมณเ ฒา [๒๓๔] ขอความเบอื้ งตน พระศาสดา เมือ่ ประทับอยูใ นกรุงสาวตั ถี ทรงปรารภพวกบตุ รของพราหมณเฒาคนใดคนหนึ่ง ตรัสพระธรรมเทศนานวี้ า \" ธนปาลโก \"เปน ตน. บตุ รบาํ รงุ บิดาเพราะอยากไดสมบัติ ไดย ินวา พราหมณค นหน่งึ ในกรงุ สาวัตถี มีสมบตั ิประมาณ ๘ แสนทาํ อาวาหมงคลแกบ ตุ ร ๔ คน ผเู จรญิ แลว ไดใ หท รัพย ๔ แสน.ตอ มา เมอื่ พราหมณีของเขาทาํ กาละ (ตาย) ไปแลว พวกบตุ รจงึ ปรึกษาพรอมกันวา \" หากพอของเราน้จี ักนาํ พราหมณคี นอ่ืนมาไซร, ดว ยอํานาจแหงบุตรท้ังหลาย ทีเ่ กดิ ในทอ งของนาง ตระกูลก็จักทําลาย; เอาเถิดพวกเรา (ชวยกนั ) สงเคราะหท าน.\" พวกเขาบํารงุ พราหมณเฒา นน้ัอยดู ว ยปจ จัยมอี าหารเคร่อื งนงุ หมเปน ตน อันประณตี ทํากจิ มีการนวดฟนมอื และเทาเปน ตนอยู ครน้ั บํารุงแลว วนั หนงึ่ เม่อื พราหมณเฒาน้ันนอนหลับกลางวนั แลวลกุ ขนึ้ แลว , จึงนวดฟนมอื และเทาพลางพดู ถึงโทษในฆราวาสตาง ๆ กันแลว วิงวอนวา พวกผมจักทะนุบํารงุ คุณพอโดยทาํ นองนต้ี ลอดชีพ, ขอคณุ พอ โปรดใหแ มทรพั ยทย่ี งั เหลอื แกพ วกผมเถิด.\"พราหมณใ หท รพั ยแ กบ ุตรอกี คนละแสน แบง เครอื่ งอุปโภคทัง้ หมดใหเปน ๔ สว น มอบให เหลือไวเ พียงผา นงุ หมของตน. บตุ รคนหวั ปทะนุบํารุงพราหมณนั้น ๒-๓ วนั .

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 234 พราหมณเ ท่ียวขอทานเขากิน ตอ มาวันหน่ึง ลูกสะใภย ืนอยูท ่ีซมุ ประตู พูดกบั พราหมณเ ฒา นั้นผูอาบนาํ้ แลว เดินมาอยู อยา งนว้ี า \" ทรัพย ๑๐๐ หรอื ๑,๐๐๐ ท่ีคุณพอใหแ กบุตรคนหวั ป ย่งิ กวา (บตุ รท้ังหลาย) มีอยหู รอื , คุณพอ ใหท รัพยแกบตุ รทกุ คน คนละ ๒ แสนมิใชหรือ ? ไฉนคุณพอจงึ ไมรจู ักทางแหงเรอื นของบตุ รทีเ่ หลอื เลา ?\" แมเ ขาคุกคามนางวา \" อหี ญงิ ถอย มึงจงฉิบหาย,\" โกรธแลวไดไ ปยงั เรือนของบตุ รคนอื่น, โดยกาลลวงไป ๒-๓ วนั เขาถกู ลกู สะใภอ่นื ใหเ ตลิดไปจากเรือนแมน ้ัน ดวยอุบายน้ีเหมอื นกนั แล (ไดไ ปยงั เรอื นของบุตรคนอ่นื ) เมอื่ ไมไ ดก ารเขา ไปแมใ นเรือนหลังหน่งึ อยา งนีด้ วยประการฉะน้ี จงึ บวชเปน ชปี ะขาว เทย่ี วภิกษาอยู โดยกาลลวงไปทรดุ โทรมลงเพราะชรา มีสรรี ะเศราหมองเพราะโภชนะไมดีนอนลาํ บากเทีย่ วภกิ ษาอยู (กลับ) มา ทอดหลงั ลงนอน กาวลงสูความหลับแลว ลุกข้ึนน่ังมองดูตน ซ่ึงมีความกระวนกระวายระงับแลว ไมเ หน็ ท่พี ่งึ ของตนในบตุ รท้งั หลาย จึงคดิ วา \" ไดย ินวา พระสมณโคดมไมสย้ิวพระพกั ตรมพี ระพกั ตรเบกิ บาน๑ ตรัสถอยคาํ ไพเราะ ทรงฉลาดในการตอนรบั , เราอาจเขา ไปหาพระสมณโคดมแลว ไดร ับการตอนรบั .\" เขาจดั แจงผา นงุผาหม เรยี บรอ ยแลว หยิบภาชนะภกิ ษา ถอื ไมเ ทา ไดไ ปยงั สํานกัพระผมู ีพระภาคเจา . สมจริง แมพ ระธรรมสงั คาหกาจารยท ้งั หลาย กก็ ลา วคาํ นี้ไววา\" คร้ังนัน้ แล พราหมณม หาศาลคนใดคนหนงึ่ ผเู ศรา หมอง มผี าหม๑. อุตตฺ านมโุ ข มีพระพกั ตรหงาย .

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 235อันเศราหมอง เขา ไปเฝาพระผูมพี ระภาคเจาโดยสถานที่พระองคป ระทับอยู.\" พระศาสดา ทรงทาํ ปฏิสนั ถารกับเขาผนู ั่ง ณ สวนขางหน่งึ แลว ไดตรสั คําน้วี า \" พราหมณ เพราะอะไรหนอแล ทานจงึ เปน ผเู ศราหมองมผี าหมอันเศรา หมอง ?\" พราหมณท ูลวา \" ขาแตพระโคดมผูเจรญิ ขาพระองคมบี ตุ รอยู๔ คนในโลกนี้, บุตรเหลา นัน้ ถกู ภรรยายุยง จงึ ขับขาพระองคอ อกเสยีจากเรอื น.\" พระศาสดาใหพราหมณเรียนคาถา พระศาสดาตรัสวา \" พราหมณ ถา กระนนั้ ทา นจงเรยี นคาถาเหลาน้ี เมื่อหมูมหาชนประชุมกนั ในสภา, เมอื่ บุตรท้งั หลาย (ของทาน)นั่งแลว จงกลาววา:- \" ขาพเจาจกั เพลิดเพลนิ ดวยบตุ รทีเ่ กิดแลวเหลา ใด, และปรารถนาความเจริญแกบตุ รเหลาใด, บุตร เหลานน้ั ถูกภรรยายุยง๑ ยอมรุกรานขาพเจาเหมอื น สนุ ัขรุกรานสุกรฉะนน้ั . ไดยินวา บตุ รเหลาน้นั เปน อสัตบุรุษ เลวทราม เรียกขา พเจาวา ' พอ พอ ' พวกเขาคอื รากษส (มาแลว) โดยรูปเพียงดังบุตร ยอมทอดทิง้ ขา พเจา ผถู งึ ความเสื่อม (แก) บดิ าแม ของเหลาพาลชน เปน คนแก ตองเท่ียวขอทานทเี่ รือน ของชนเหลาอ่ืน เหมือนมาท่แี กใ ชการงานไมได ถูก๑. บตุ รเหลา น้ันคบคิดกบั ภรรยา กว็ า.

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 236 เขาพรากไปจากอาหารฉะน้ัน. นัยวา ไมเทา ของ ขาพเจาแลยงั ประเสรฐิ กวา, บุตรท้ังหลายไมเ ชือ่ ฟง จะประเสรฐิ อะไร. (เพราะ) ไมเทากนั โคดุกไ็ ด, อนึง่ กนั สุนัขกไ็ ด, มีไว (ยนั ) ขา งหนาเวลามืดก็ได, (ใช) หย่ังลงไปในทล่ี กึ กไ็ ด, เพราะอานภุ าพแหงไมเทา คนแกเชน ขาพเจา พลาดแลวกก็ ลับยนื ขึน้ (อีกได) .\" พราหมณไ ดอ ุบายดี เขาเรียนคาถาเหลานั้น ในสํานักของพระผมู พี ระภาคเจา แลว เมื่อพวกบุตรประดับประดาดวยสรรพาลงั การแลว ยางเขาไปสสู ภานนั้ นง่ัเหนอื อาสนะทคี่ วรแกค ามาก ในทามกลางพวกพราหมณ ในวนั ประชมุพราหมณเ หน็ ปานนัน้ , ตกลงใจวา \" กาลน้ีเปน กาลของเราแลว \" เขาไปสูทามกลางสภา ชูมอื ข้ึนแลว กลา ววา \" ทา นผเู จรญิ ขา พเจา ประสงคจะกลาวคาถาแกท านทงั้ หลาย, ทานทงั้ หลายจักฟง ไหม ?\" เมอ่ื พราหมณเหลานั้นกลา ววา \" กลาวเถิด ๆ พราหมณ พวกเราจกั ฟง ,\" ไดย นื กลาวเทียว. กโ็ ดยสมัยนน้ั มนษุ ยทงั้ หลายมวี ัตรอยูอ ยางนี้วา \" บตุ รใดใชสอยทรพั ยที่เปนของมารดาบดิ า (แต) ไมเ ลีย้ งมารดาบดิ า. บตุ รน้ันตอ งถูกฆา.\"เพราะฉะน้นั บตุ รของพราหมณเหลานน้ั จึงฟุบลงแทบเทา ของบิดาวิงวอนวา \" คณุ พอ ขอรบั ขอคณุ พอโปรดใหช ีวิตแกพ วกกระผมเถิด.\"เพราะความท่ีหทยั ของบิดาเปนธรรมชาติออ นโยน เขาจงึ กลาววา \" ทาน

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 237ผูเจริญทงั้ หลาย ทานทั้งหลาย อยา ใหบ ตุ รนอ ยทั้งหลายของขาพเจา พนิ าศเสยี เลย; พวกเขาจกั เล้ียงดขู าพเจา .\" ทันใดน้ัน มนษุ ยทงั้ หลาย จึงกลา วกะพวกบตุ รของเขาวา \" ทา นผเู จริญ ตง้ั แตว ันนไี้ ป หากพวกทา นจกั ไมประคับประคองบิดาใหด ีไซร,พวกเราจกั ฆาพวกทานเสีย.\" บตุ รเหลา น้นั กลวั แลว เชิญบดิ าใหนัง่บนตงั่ ยกขึ้นนาํ ไปสูเรอื นดว ยตนเอง ทาสรรี ะดวยนาํ้ มัน ขัดสี (ใหสะอาด)ใชว ตั ถุมกี ล่ินหอมเปนตนชโลมแลว ใหเ รยี กพราหมณที งั้ หลายมาแลวสงั่ วา \" ตง้ั แตวันน้ไี ป เธอทง้ั หลายจงประคบั ประคองบดิ าของพวกฉันใหด ี, ถา เธอทง้ั หลายจกั ถึงความประมาทแลว ไซร, พวกฉันจักติเตยี นเธอทัง้ หลาย\" แลว ใหบ ริโภคโภชนะอันประณีต. พราหมณคดิ ถึงอปุ การคุณของพระศาสดา พราหมณอาศัยโภชนะดแี ละการนอนสบาย โดยกาลลวงไป ๒-๓ วันกเ็ กิดมีกําลังมอี ินทรียเปลงปล่งั มองดูอตั ภาพแลว ดาํ ริวา \" สมบตั ิน้ี เราไดเ พราะอาศยั พระสมณโคดม\" ถอื เอาผาคูห น่งึ เพือ่ ประโยชนแ กค วามเปน บรรณาการ ไปสสู าํ นักของพระผูมีพระภาคเจา มีปฏิสนั ถารอนัพระองคทรงทาํ แลว น่งั ณ สว นขางหนึง่ วางผาคนู ้ันลงแทบบาทมูลของพระผูมพี ระภาคเจาแลว กราบทลู วา \" ขา แตพระโคดมผเู จรญิ ขา พระองคชื่อวาเปน พราหมณ ยอ มแสวงหาทรพั ยเ ปนสวนแหง อาจารย เพอ่ื อาจารย,ขอพระโคดมผเู จริญ ซ่ึงเปนพระอาจารยข องขาพระองค โปรดรับทรัพยเปน สว นอาจารย. \" พระผูมพี ระภาคเจา ทรงรบั ผาคูน้ัน เพื่ออนุเคราะหเขาแลว ทรงแสดงธรรม. ในกาลจบเทศนา พราหมณด ํารงอยใู นสรณะแลว จึงกราบทลู

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 238อยา งน้ีวา \" ขา แตพ ระโคดมผูเจรญิ ขาพระองคถวายธุวภตั ๒ ท่ีจากธวุ ภัต ๔ ท่ี ซ่งึ บุตรทัง้ หลายใหแ กข าพระองคนน้ั แดพ ระองค. \" ลําดบั นน้ั พระศาสดาตรสั วา \" งามละ พราหมณ, แตเราจกั ไปสูสถานที่ชอบใจเทานนั้ \" แลว ทรงสง เขาไป. พราหมณไ ปถึงเรอื นแลว บอกพวกบตุ รวา \" พอ ทัง้ หลาย พระ-สมณโคดมเปนสหายของพอ , พอ ถวายธุวภัต ๒ ทแ่ี กพ ระองค, เจาทงั้ หลายอยา ละเลยในเมือ่ พระองคเสดจ็ มาถึงนะ,\" บุตรทัง้ หลายรับวา\" ดีละ คุณพอ.\" พระศาสดาโปรดบุตรพราหมณ วันรงุ ข้ึน พระศาสดาเสดจ็ ไปบิณฑบาต ไดเสดจ็ ไปถงึ ประตเู รอื นแหงบตุ รคนหวั ป (ของพราหมณ) , เขาเห็นพระศาสดาแลว รบั บาตร เชญิเสดจ็ ใหเ ขาไปสูเรือน เชิญใหประทบั นัง่ ณ บัลลังกซ่ึงควรแกคามากแลวไดถ วายโภชนะอนั ประณีต. พระศาสดาไดเ สดจ็ ไปสเู รอื นของบุตรพราหมณทง้ั สนิ้ ตามลําดบั คอื วันรงุ ขึน้ ของบตุ รนอกน้,ี . วันรุงขึ้น ของบตุ รนอกน้.ีพวกเขาทกุ คนไดท าํ สกั การะอยา งนั้นเหมอื นกนั . ตอ มาวันหนงึ่ บตุ รคนหวั ป เม่ือการมงคลปรากฏเฉพาะแลว จึงพูดกะบดิ าวา \" คุณพอ ขอรับ พวกกระผมจะใหมงคลแกใคร ? \" พราหมณ, พอไมร ูจักคนอนื่ , พระสมณโคดมเปนสหายซ่งึ พอมใิ ชหรือ ? บตุ รคนหวั ป. ถา กระนนั้ คุณพอโปรดนมิ นตพระองคพ รอ มกบัภกิ ษุ ๕๐๐ รูป เพ่ือฉนั ในวนั พรุงน.ี้ พราหมณไ ดท าํ อยา งน้นั . วันรุงขน้ึ พระศาสดาพรอ มดวยบริวาร

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 239ไดเ สดจ็ ไปยังบา นของเขา. เขานิมนตภิกษสุ งฆมพี ระพุทธเจาเปน ประมุขใหน ่งั ในเรอื นซ่งึ ฉาบทาดวยโคมยั สด ประดับดว ยสรรพาลังการแลวอังคาสดวยมธุปายาสขน และดว ยขาทนยี ะอันประณีต. กใ็ นระหวางแหงภัตนั่นแหละ บตุ ร ๔ คนของพราหมณนัง่ ในสํานกั พระศาสดา กราบทลู วา \" ขาแตพระโคดมผเู จริญ ขาพระองคท งั้ หลายประคับประคองบดิ าของพวกขาพระองค ไมประมาท, โปรดทอดพระเนตรอัตภาพของทานเถดิ .\" บาํ รุงมารดาบดิ าเปนมงคล พระศาสดาตรสั วา \" ทา นท้งั หลายทํากรรมงามแลว, ช่อื วา การเลย้ี งมารดาบิดา โบราณกบัณฑิตท้งั หลาย (เคย) ประพฤติมาแลว เหมอื นกัน \"แลวตรัสมาตโุ ปสกนาคชาดก๑ ในเอกาทสนิบาตน้โี ดยพสิ ดารวา \" เพราะชา งนนั้ หลกี ไปเสีย ตน ออยชา งและไมโ มกมันจึงงอกขน้ึ ไสว\" ดังนเ้ี ปน ตนแลวไดท รงภาษิตพระคาถาน้ีวา :- ๓. ธนปาลโก นาม กุฺชโร กฏกปปฺ เภทโน ทนุ ฺนวิ ารโย พทฺโธ กพล น ภุชฺ ติ สมุ รติ นาควนสสฺ กุฺชโร. \"กญุ ชร นามวา ธนปาลกะ ตกมันจัด หามได ยาก ถกู ขังไว ไมบ ริโภคฟอนหญา กุญชรระลึกถงึ (แต) นาควัน๒.\"๑. ข.ุ ชา. ๒๗/๓๐๓. อรรถกถา. ๖/๑. ๒. สุมรติ เปน อีกรูปหนง่ึ ของสรต.ิ นาควนสสฺแปลกันวา ซึ่งปาแหง ไมกากะทงิ เปน ฉัฏฐีวิภตั ตลิ งในอรรถแหงทตุ ิยาวิภตั ต.ิ .

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 240 แกอรรถ บรรดาบทเหลา นนั้ บทวา ธนปาลโก นาม น่ันเปนชือ่ ของชา งที่พระเจากาสิกราช ทรงสง นายหตั ถาจารยไ ปใหจับในนาควนั อนั รนื่ รมยในคร้งั นั้น. บทวา กฏกปฺปเภทโน ความวา ตกมนั จัด. อนั ที่จรงิ ในกาลเปนท่ตี กมันของชางทงั้ หลาย หมวกหทู ้ัง ๒ ยอ มแตกเยิ้ม, แมตามปกติในกาลนั้น ชา งทั้งหลาย ยอ มไมน ําพาซึง่ ขอ ปฏกั หรอื โตมร ยอ มเปนสัตวด รุ าย, แตช างธนปาลกะนน้ั ดุรา ยนกั ทเี ดียว; เพราะฉะนัน้ พระ-ศาสดาจึงตรสั วา กฏกปปฺ เภทโน ทนุ นฺ วิ ารโย. บาทพระคาถาวา พทฺโธ กพล น ภุชฺ ติ ความวา ชา งธนปาลกะน้ัน มิไดถ ูกตกปลอกไว, แตถกู เขานาํ ไปสโู รงชา ง ใหแ วดวงดว ยมา นอันวิจิตรแลว พกั ไวบนพนื้ ทีซ่ ่ึงทําการประพรมดวยของหอม มเี พดานวจิ ติ รดาดไว ณ เบอ้ื งบน แมอ นั พระราชาใหบํารุงดวยโภชนะมีรสเลิศตา ง ๆ ควรแกพ ระราชา ก็มไิ ยดจี ะบริโภคอะไร ๆ. อนั คาํ วา \" พทฺโธกพล น ภุ ฺชต\"ิ ( นี้ ) พระศาสดาตรัสหมายถึงอาการเพยี งชา งถูกสงเขา ไปสโู รงชา ง. สองบทวา สมุ รติ นาควนสฺส ความวา ชางธนปาลกะน้ันระลึกถึงนาควัน ซึ่งเปนทอ่ี ยอู ันนา รืน่ รมยแทห ามไิ ด, กม็ ารดาของชา งนนั้ไดเ ปนสตั วถึงทุกขเพราะพรากจากบตุ รในปา, ชา งน้นั บําเพ็ญมาตาปตุ-อุปฏฐานธรรมนนั่ แล. ดาํ รวิ า \" ประโยชนอะไรของเราดวยโภชนะนี้\"ระลกึ ถงึ มาตาปตอุ ุปฏ ฐานธรรม ซึ่งประกอบดว ยธรรมเทา นนั้ ; กช็ า งนนั้

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 241อยูในนาควันนั้นนน่ั แล อาจบําเพ็ญมาตาปตอุ ปุ ฏ ฐานธรรมนน้ั ได, เพราะ-ฉะน้ัน พระศาสดาจึงตรัสวา \" สุมรติ นาควนสฺส กุ ฺชโร\" เม่ือพระศาสดา ครัน้ ทรงนําบุรพจริยาของพระองคน ม้ี าตรัสอยูน ่ันแล บุตรของพราหมณแมท ง้ั หมด ยังอสั สุธารใหไ หลแลว มีหทยั ออ นเง่ียโสตลงสดบั แลว . ครั้งน้ัน พระผูม ีพระภาคเจา ทรงทราบถงึ ธรรมเปนทีส่ บายของพวกเขาแลว จงึ ทรงแสดงธรรมประกาศสจั จะท้งั หลาย. ในกาลจบเทศนา พราหมณพ รอ มกับบุตรและลกู สะใภทัง้ หลายดํารงอยใู นโสดาปต ติผลแลว ดังน้แี ล. เรอ่ื งบุตรของพราหมณเฒา จบ.

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 242 ๔. เร่อื งพระเจา ปเสนทิโกศล [๒๓๕] ขอความเบอื้ งตน พระศาสดา เม่ือประทับอยูในพระเชตวนั ทรงปรารภพระเจา ปเสน-ทิโกศล ตรัสพระธรรมเทศนาน้วี า \" มทิ ฺธี ยทา \" เปนตน. พระเจา ปเสนทโิ กศลงวงเพราะเสวยจเุ กนิ ไป ความพิสดารวา สมยั หนึง่ พระราชาเสวยขาวสกุ แหงขา วสารทะนานหนงึ่ กับสปู พยญั ชนะพอควรแกข าวสุกนั้น. วนั หนง่ึ ทาวเธอเสวยพระกระยาหารเชาแลว ยังไมทรงบรรเทาความเมาในภัตไดเลย ไดเ สดจ็ไปสสู าํ นักของพระศาสดา มีพระรูปอันลําบาก พลกิ ไปขางน้แี ละขางนี้แมถูกความงว งครอบงํา เมือ่ ไมส ามารถจะผทมตรง ๆ ได จึงประทบั น่ังณ ท่ีสุดขา งหน่งึ . พระศาสดาทรงติการบริโภคจุ ลําดบั นนั้ พระศาสดาตรัสกะทาวเธอวา \" มหาบพิตร พระองคยังไมท นั ไดท รงพกั ผอ นเลย เสด็จมากระมัง ?\" พระราชา. \" ถูกละ พระเจาขา , ตั้งแตก าลท่ีบรโิ ภคแลว หมอมฉนัมที กุ ขม าก.\" ลําดบั นัน้ พระศาสดาตรัสกะทาวเธอวา \" มหาบพติ ร คนบรโิ ภคมากเกนิ ไป ยอมมีทกุ ขอ ยางนี\"้ แลว ตรสั พระคาถานีว้ า :- ๔. มทิ ฺธี ยทา โหติ มหคฆฺ โส จ นทิ ฺทายิตา สมฺปรวิ ตฺตสายี มหาวราโหว นิวาปปฏุ โ ปุนปปฺ ุน คพภฺ มุเปติ มนโฺ ท.

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 243 \" ในกาลใด บุคคลเปนผกู นิ มาก นักงวง และมกั นอนหลบั กระสับกระสาย ประหน่ึงสุกรใหญ ทถี่ ูก ปรนปรอื ดว ยอาหารฉะนั้น ในกาลน้ัน เขาเปน คน มนั ซมึ ยอ มเขา ไปถงึ หองรา่ํ ไป.\" แกอ รรถ บรรดาบทเหลาน้นั บทวา มทิ ธฺ ี ความวา ผอู ันความทอ แทแ ละความงวงเหงาครอบงํา. บทวา มหคฆฺ โส ความวา ผบู ริโภคมาก เหมือนอาหรหตั ถก-พราหมณ อลงั สาฏกพราหมณ ตัตถวัฏฏกพราหมณ กากมาสกพราหมณและภุตตวมั มกิ พราหมณ คนใดคนหนึ่ง. บทวา นวิ าปปฏุ โ  ความวา ถกู ปรนปรือแลว ดว ยขาวหมมู รี ําเปนตน. จรงิ อยู สุกรบานเขาเลีย้ งไวต้ังแตเ วลายังออ น ในเวลามสี รรี ะอว น ไมไดเพ่อื จะออกจากเรอื นไปขา งนอก สายไปสายมาในที่ตาง ๆมใี ตเ ตียงเปนตนแลว ยอมนอนหายใจฟดู ฟาดอยเู ทาน้ัน. ทา นกลา วคาํอธิบายน้วี า \" บคุ คลผูมีความงว งงุน กนิ จุ และเม่อื ไมอาจยงั อัตภาพใหเปนไปดวยอริ ิยาบถอยา งอ่นื มกั นอนหลบั พลิกกลับไปกลับมาตามปกติเหมอื นสกุ รใหญท ีถ่ ูกปรนปรือดว ยเหย่อื ฉะนนั้ ในขณะใด; ในขณะน้นัเขายอ มไมอาจเพ่อื มนสิการไตรลกั ษณ คือ \" อนจิ จฺ  ทกุ ฺข อนตฺตา\" ได,เพราะไมม นสกิ ารไตรลกั ษณเหลานนั้ จึงช่ือวามปี ญ ญาทบึ ยอ มเขา หองคือไมพ น ไปจากการอยใู นหอง.

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 244 พระศาสดาทรงบอกอบุ ายบรรเทากินจุ ในกาลจบเทศนา พระศาสดาไดต รัสพระคาถานี้ดว ยสามารถอุปการะแกพ ระราชาวา :- \" คนผูมสี ตทิ ุกเม่ือ รจู กั ประมาณในโภชนะท่ีได แลว นน้ั ยอมมโี รคภัยไขเ จบ็ นอ ย แกช า อายุยนื .\"ดังนแี้ ลว โปรดใหอ ุตตรมาณพเรยี นไวแ ลว ทรงแนะอบุ ายวา \" เธอพงึ กลา วคาถาน้เี ฉพาะในเวลาท่ีพระราชาเสวย, และพึงใหพระราชาทรงลดโภชนะลงดว ยอุบายนี,้ \" เขาไดก ระทาํ เชนนี้. สมยั ตอ มา พระราชาทรงกระปร้ีกระเปรา มีพระสรรี ะเบา ทรงถงึความสําราญ เพราะความท่ีทรงมพี ระกระยาหารทะนานหน่ึงเปนอยา งย่ิงทรงมีความคุนเคยบงั เกดิ ขึ้นในพระศาสดาแลว ทรงใหอ สทสิ ทานเปนไป๗ วัน. ในเพราะทรงอนั โมทนาทาน มหาชนซึ่งมาประชุม (ณ ทนี่ ั้น)บรรลคุ ุณวเิ ศษใหญแ ลว ดงั นแ้ี ล. เรื่องพระเจาปเสนทิโกศล จบ.

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 245 ๕. เรื่องสานุสามเณร [๒๓๖] ขอ ความเบ้อื งตน พระศาสดา เมอ่ื ประทับอยูใ นพระเชตวัน ทรงปรารภสามเณร ช่ือสานุ ตรัสพระธรรมเทศนานี้วา \" อิท ปุเร \" เปน ตน . สานุสามเณรประกาศธรรม ไดยนิ วา สามเณรน้นั ไดเปนบตุ รนอยคนเดียวของอุบาสิกาคนหน่งึ .ครัง้ นัน้ นางใหเธอบรรพชาในกาลทเ่ี ธอเปน เดก็ ทีเดียว. ตง้ั แตก าลท่ีบรรพชาแลว เธอไดเปน ผูมศี ีล สมบรู ณดวยวัตร. เธอไดก ระทาํ วัตรแกอาจารย อุปช ฌายะ และพระอาคนั ตุกะทง้ั หลายทีเดียว. ตลอด ๘ วันของเดอื น เธอลกุ ข้ึนแตเ ชาตรู เขา ไปตง้ั นาํ้ ในโรงน้ํา ปด กวาดโรงธมั มสั สวนะ ตามประทีป ประกาศธัมมัสสวนะดว ยนาํ้ เสยี งอันไพเราะ.ภกิ ษทุ ง้ั หลายทราบเร่ยี วแรงของเธอแลว ยอ มเชอ้ื เชญิ วา \" จงกลาวบทภาณะเถดิ สามเณร.\" เธอไมกระทําอิดเอ้อื นไร ๆ วา \" ลมเสียดแทงหทยั ของผม, หรอื โรคไอเบยี ดเบียนผม\" ขึ้นสูธ รรมาสน กลา วบทภาณะเหมอื นจะใหนํ้าในอากาศตกลง เมอื่ จะลง ยอ มกลา ววา \" ขาพเจา ใหส วนบุญ ในเพราะการกลาวนีแ้ กมารดาและบิดาของขาพเจา.\" มนุษยท ้งั หลายหาทราบความทีเ่ ธอใหส วนบุญแกม ารดาและบดิ าไม. ยักษิณเี คยเปน มารดาของสานสุ ามเณร ก็มารดาของเธอเกดิ เปนยกั ษิณใี นอตั ภาพเปนลําดับ นางมากบัเทวดาทง้ั หลาย ฟง ธรรมแลว (เม่อื จะอนโุ มทนา) สว นบญุ ที่สามเณรใหยอ มกลา ววา \" ฉันขออนโุ มทนา พอ.\" กธ็ รรมดาภกิ ษุท้งั หลาย ผูส มบรู ณ

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 246ดวยศลี ยอมเปนทีร่ กั ของโลกพรอ มทัง้ เทวโลก; เพราะฉะนั้น พวกเทวดาที่มคี วามละอาย มคี วามเคารพในสามเณร ยอมสาํ คัญเธอเหมอื นมหา-พรหม และกองเพลงิ . และยอ มเหน็ นางยักษณิ นี นั้ เปน ทนี่ าเคารพ เพราะคารวะในสามเณร; ในสมัยท้งั หลาย มีสมัยฟง ธรรมและสมยั ทยี่ ักษป ระชมุกันเปน ตน อมนษุ ยท ้ังหลายยอมใหอ าสนะทดี่ ี น้ําทีด่ ี อาหารท่ีดี แกนางยักษณิ ี ดวยคิดวา \" นางยกั ษิณตี นน้ี เปน มารดาของสานุสามเณร\" ยักษท้งั หลายแมท ี่มศี กั ด์ใิ หญ เห็นนางยักษณิ แี ลว ยอ มหลีกทางให, ยอ มลุกข้นึ จากอาสนะ. ยกั ษิณเี ขา สงิ กายสามเณร คร้นั สามเณรนน้ั ถงึ ความเจรญิ มีอินทรียแ กกลา ถกู ความไมย ินดียง่ิ บบี คั้น ไมส ามารถจะบรรเทาความไมย ินดยี ิ่งลงได ปลอยผมและเล็บไวยาว มีผา นงุ และผาหม มอมแมม ไมแ จงแกใ ครๆ หยิบบาตรจีวรขึ้นแลว ไดไ ปเรอื นของมารดาลําพังคนเดียว. อุบาสิกาเห็นบตุ รแลว ไหวกลา ววา \" พอ คร้งั กอน พอ มาในทนี่ ้ีพรอมกบั อาจารยและอุปชฌายะหรอื พรอมกับภิกษหุ นมุ และสามเณร, เพราะเหตไุ ร ในวนั นพ้ี อ จึงมาคนเดียวเลา ?\" เธอแจงความที่ตนกระสัน (ใหมารดาทราบ) แลว . อบุ าสิกามศี รทั ธา แมแ สดงโทษในฆราวาสโดยประการตา ง ๆ ตักเตอื นบตุ รอยูกไ็ มอาจใหเธอยนิ ยอมได (แต) กไ็ มเ สอื กไสไปเสยี ดวยคดิ วา \" ถงึอยางไร เธอพึงกําหนดไดแ มต ามธรรมดาของตน\" กลาววา \" พอ โปรดรออยจู นกวา ฉนั จะจัดยาคแู ละภัตเพอื่ พอเสรจ็ , ฉนั จกั นาํ ผาชอบใจมาถวายแกพ อ ผดู ืม่ ยาคู กระทําภตั กิจแลว \" แลว ไดต กแตง อาสนะถวาย.สามเณรน่งั ลงแลว . อมุ าสกิ าจัดแจงยาคูและของเค้ียวเสร็จโดยครูเดยี ว

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 247เทา นน้ั ไดถ วายแลว . ลําดบั นัน้ อบุ าสกิ าคดิ วา \" เราจกั จัดแจงภตั \"น่ังลงในท่ไี มไกล ซาวขา วอย.ู สมยั นนั้ นางยกั ษิณนี ัน้ ใครครวญอยวู า \"สามเณรอยูท่ีไหนหนอแล ? เธอไดภ ิกษาหาร หรอื ยงั ไมได \" ทราบความที่เธอนั่งอยแู ลวดวยความเปน ผใู ครจ ะสึก จึงคิดวา \" กเ็ ธออยา พึงยงั ความละอายใหเ กิดข้ึนแกเ ราในระหวางเทวดาทั้งหลายเลย, เราจะไป จักกระทาํ อนั ตรายในการสกึ ของเธอ \" ดังนีแ้ ลว จึงมาสงิ ในสรีระของสามเณรนั้น บิดคอใหลม ลงเหนอื แผนดิน. เธอมตี าทัง้ สองเหลอื ก มีน้าํ ลายไหล ด้นิ รนอยบู นแผน ดิน. อุบาสิกาเห็นอาการแปลกนนั้ ของบตุ ร รีบมาชอนบตุ รแลวใหนอนบนตัก. ชาวบานทัง้ สิน้ มากระทําการเชนสรวงมีพลีกรรมเปน ตน. อบุ าสิกาคร่ําครวญ สวนอบุ าสกิ าคร่าํ ครวญ ไดก ลา วคาถาเหลานีว้ า :- \" ชนเหลา ใด ยอมรักษาอโุ บสถทปี่ ระกอบดว ย องค ๘ ตลอดดิถที ี่ ๑๔ ท่ี ๑๕ และท่ี ๘ แหงปก ษ และตลอดปารหิ าริยปกษ ประพฤตพิ รหมจรรยอ ย,ู ยกั ษท งั้ หลายยอมไมเ ลน ดวยชนเหลา น้ัน ขา พเจา ไดส ดบั คําของพระอรหันตท ้งั หลายดังนี้:. ในวนั น้ี บดั นเี้ อง ขาพเจาน้นั เหน็ อยู ยักษท งั้ หลาย เลนกบั สานุสามเณร.\" นางยักษณิ ฟี ง คาํ ของอบุ าสกิ าแลว จึงกลาววา :- \" ยกั ษิณที ั้งหลาย ยอ มไมเลน กบั เหลาชนผูรักษา อโุ บสถประกอบดว ยองค ๘ ตลอดดถิ ีที่ ๑๔ ท่ี ๑๕ และ

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 248 ท่ี ๘ แหงปก ษ และตลอดปาริหารยิ ปกษ ผปู ระพฤติ พรหมจรรยอ ย,ู ทานไดส ดับคําของพระอรหันตท ัง้ - หลายดังน้ดี แี ลว.\"ดังนีแ้ ลว จึงกลาว (ตอไปอกี ) วา :- \" ขอทานจงบอกคําน้ีของยักษท ้งั หลาย กะสานุ- สามเณร ผรู ูสึกขน้ึ แลววา ' ทานอยา ไดกระทาํ บาป กรรมในท่ีแจงหรือในที่ลบั ; หากวา ทา นจกั กระทําบาป กรรมก็ตาม กําลงั กระทําอยกู ต็ าม ทา นถึงจะเหาะ หนไี ป กห็ ามีการหลุดพนจากทุกขไ ม.\" นางยกั ษณิ ตี นนนั้ กลา ววา \" ความพน ยอมไมม ีแกทา นผูแมก ระทาํบาปกรรมอยางนี้แลว เหาะหนีไปอยเู หมอื นนก\" ดังนี้แลว กป็ ลอ ยสามเณร. สามเณรนน้ั ลมื ตาขึน้ แลว เหน็ มารดากําลงั สยายผมรองไหส ะอึกสะอนื้ อยู และชาวบา นทงั้ สน้ิ ประชุมกันอยูแลว ไมทราบความทตี่ นถูกยกั ษสงิ จงึ นึกสงสัยขึ้นวา \" เม่ือกอ นเราน่งั บนต่ัง, มารดาของเราน่งัซาวขาว ณ ทีไ่ มไ กล, แตบ ดั นี้ เรา (กลับ) นอนเหนือแผนดิน; นีอ่ ะไรกนั หนอ ?\" นอนอยเู ทียว กลาวกะมารดาวา :- \" โยม ชนท้ังหลายยอ มรอ งไหถึงคนทีต่ ายไป แลว หรอื ยังเปน อยู (แต) ไมป รากฏ: โยม โยม เห็นฉนั ซ่งึ เปน อยู ไฉนจงึ รอ งใหถงึ ฉันเลา ? โยม.\" ครงั้ นัน้ มารดาเม่อื จะแสดงโทษในการมาเพ่ือจะสกึ อีกของบุคคลผลู ะวตั ถกุ ามและกิเลสกามบวชแลวแกเ ธอ จงึ กลาววา :-




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook