Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_43

tripitaka_43

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:40

Description: tripitaka_43

Search

Read the Text Version

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 73 ๓. เรื่องพระเอกุทานเถระ [๑๙๖] ขอความเบ้อื งตน พระศาสดา เม่อื ประทับอยูใ นพระเชตวนั ทรงปรารภพระขีณาสพชอื่ วา เอกทุ านเถระ ตรสั พระธรรมเทศนานีว้ า \"น ตาวตา ธมมฺ ธโร\"เปน ตน พวกเทวดาใหสาธุแกเทศนาของพระเถระ ไดย นิ วา พระเถระนนั้ อยูใ นราวไพรแหงหน่ึงแตอ งคเ ดียว. อทุ านทที่ า นชา่ํ ชองมีอุทานเดียวเทา นนั้ วา:- \"ความโศกทง้ั หลาย ยอ มไมมีแกบคุ คลผูม จี ติ มนั่ คง ไมประมาท เปนมนุ ี ศึกษาในทางแหง โมน- ปฏบิ ตั ิ ผูคงที่ ระงับแลว มีสตทิ กุ เม่ือ.\" ไดยินวา ในวนั อโุ บสถ ทานปาวรองการฟง ธรรมเอง ยอมกลา วคาถาน.้ี เสยี งเทวดาสาธกุ ารดจุ วาเสียงแผนดนิ ทรดุ . คร้นั วันอโุ บสถวนั หนงึ่ภิกษผุ ทู รงพระไตรปฎ ก ๒ รปู มบี รวิ ารรูปละ ๕๐๐ ไดไปสูที่อยขู องทาน.ทา นพอเหน็ ภิกษุเหลา นน้ั กช็ ่นื ใจ กลาววา \" ทานท้ังหลายมาในท่ีน้ีเปนอันทาํ ความดแี ลว, วนั นี้ พวกกระผมจกั ฟง ธรรมในสํานักของทา นท้ังหลาย.\" พวกภกิ ษ.ุ ทา นผูมีอายุ กค็ นฟง ธรรมในท่นี ี้ มอี ยูหรือ ? พระเอกทุ าน. มี ขอรับ, ราวไพรนี้ มีความบันลอื ลัน่ เปนอันเดยี วกัน เพราะเสยี งเทวดาสาธุการในวันฟงธรรม.

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 74 พวกเทวดาไมใหส าธุการแกเทศนาของภิกษุ ๒ รปู บรรดาภิกษุ ๒ องคน น้ั พระเถระผทู รงพระไตรปฎ กองคหนึ่งสวดธรรม, องคหนง่ึ กลา วธรรม. เทวดาแมอ งคห น่ึงก็มิไดใ หส าธุการ.ภิกษเุ หลา นน้ั จึงพดู กันวา \" ทานผูมีอายุ ทา นกลาววา ' ในวนั ฟงธรรมพวกเทวดาในราวไพรนี้ ยอมใหส าธุการดว ยเสียงดัง,' นช่ี ื่ออะไรกัน ?\" พระเอกทุ าน. ในวันอน่ื ๆ เปนอยา งน้นั ขอรบั , แตว ันนก้ี ระผมไมท ราบวา ' นี่เปน เร่ืองอะไร.' พวกภกิ ษุ. ผมู อี ายุ ถาอยางน้นั ทานจงกลา วธรรมดกู อ น. ทานจับพดั วีชนีนั่งบนอาสนะแลว กลาวคาถานน้ั น่นั แล. เทวดาท้ังหลายไดใ หส าธุการดวยเสยี งอนั ดัง. พวกภิกษตุ เิ ตียนเทวดา ครัง้ นัน้ ภิกษุท่เี ปนบริวารของพระเถระท้งั สองงยกโทษวา \" เทวดาในราวไพรน้ี ใหส าธกุ ารดวยเหน็ แกหนากัน, เมอื่ ภิกษผุ ูทรงพระไตรปฎ กแมกลาวอยูป ระมาณเทานี้, กไ็ มกลาวแมส ักวา ความสรรเสรญิ อะไร ๆ.เมอื่ พระเถระแกอ งคเ ดียวกลาวคาถาหนง่ึ แลว , พากันใหส าธกุ ารดวยเสยี งอันดัง.\" ภิกษเุ หลานน้ั แมไปถึงวหิ ารแลว กราบทลู ความน้ันแดพ ระ-ศาสดา. ลักษณะผทู รงธรรมและไมทรงธรรม พระศาสดาตรัสวา ภกิ ษุทง้ั หลาย เราไมเรยี กผเู รียนมากหรอืพดู มากวา ' เปนผทู รงธรรม ' สวนผใู ดเรียนคาถาแมค าถาเดียวแลวแทงตลอดสัจจะท้ังหลาย, ผนู ้นั ชื่อวา เปน ผูท รงธรรม\" ดังน้แี ลว ตรัสพระคาถานว้ี า:-

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 75 ๓. น ตาวตา ธมฺมขโร ยาวตา พหุ ภาสติ โย จ อปปฺ มปฺ  สุตฺวาน ธมมฺ  กาเยน ปสฺสติ ส เว ธมมฺ ธโร โหติ โย ธมฺม นปปฺ มชชฺ ต.ิ บุคคล ไมชอ่ื วาทรงธรรม เพราะเหตทุ ่พี ูดมาก; สวนบุคคลใด ฟงแมนิดหนอย ยอ มเห็นธรรมดว ย นามกาย, บคุ คลใด ไมประมาทธรรม, บุคคลนั้นแล เปนผูทรงธรรม.\" แกอรรถ บรรดาบทเหลานัน้ บทวา ยาวตา เปน ตน ความวา บุคคลไมช่ือวาผทู รงธรรม เพราะเหตทุ พ่ี ดู มาก ดว ยเหตุมกี ารเรยี น และการทรงจาํ และบอกเปนตน . แตช ่ือวา ตามรักษาวงศ รกั ษาประเพณี. บทวา อปปฺ มฺป เปนตน ความวา สว นผใู ดฟง ธรรมแมมปี ระมาณนอย อาศัยธรรมะ อาศยั อรรถะ เปน ผูปฏิบตั ธิ รรมสมควรแกธ รรมกําหนดรูส ัจจะมีทกุ ขเ ปน ตน ชอ่ื วา ยอ มเหน็ สัจธรรม ๔ ดว ยนามกาย.ผนู ้นั แล ชอื่ วาเปน ผูทรงธรรม. บาทพระคาถาวา โย ธมฺม นปปฺ มชฺชติ ความวา แมผใู ดเปนผมู ีความเพียรปรารภแลว หวังการแทงตลอดอยวู า \" (เราจักแทงตลอด)ในวันนี้ ๆ แล\" ช่ือวายอ มไมประมาทธรรม, แมผ ูนก้ี ช็ ือ่ วาผูทรงธรรมเหมอื นกนั . ในกาลจบเทศนา ชนเปน อนั มากบรรลุอริยผลทงั้ หลาย มีโสดา-ปตตผิ ลเปน ตน ดังนี้แล. เรอ่ื งพระเอกุทานเถระ จบ.

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 76 ๔. เร่อื งพระลกุณฏกภทั ทยิ เถระ [๑๙๗] ขอ ความเบอื้ งตน พระศาสดา เม่ือประทบั อยูในพระเชตวัน ทรงปรารภพระลกณุ -ฏกภทั ทิยเถระ ตรัสพระธรรมเทศนานีว้ า \" น เตน เถโร โหติ\"เปน ตน. พวกภกิ ษุเหน็ พระเถระเขาใจวา เปน สามเณร ความพสิ ดารวา วนั หนึ่ง เมอ่ื พระเถระนัน้ ไปสูทบ่ี าํ รุงพระศาสดาพอหลกี ไปแลว, ภิกษผุ อู ยูป า ประมาณ ๓๐ รูป พอเห็นทานกม็ าถวายบงั คมพระศาสดาแลวนัง่ พระศาสดาทอดพระเนตรเห็นอุปนสิ ัยแหงพระ-อรหัตของภกิ ษุเหลานน้ั แลว ตรัสถามปญ หานว้ี า \" พระเถระองคห นึ่งไปจากน้ี พวกเธอเห็นไหม ?\" พวกภิกษุ. ไมเหน็ พระเจาขา. พระศาสดา. พวกเธอเห็นพระเถระนน้ั มิใชหรือ ? พวกภกิ ษุ. เห็นสามเณรรูปหนงึ่ พระเจา ขา . พระศาสดา. ภกิ ษุทง้ั หลาย นัน้ ไมใ ชส ามเณร, นน่ั เปนพระเถระ. พวกภกิ ษุ. เลก็ นัก พระเจา ขา. ลกั ษณะเถระและมใิ ชเถระ พระศาสดาตรัสวา \" ภิกษุทง้ั หลาย เราไมเ รียกวา ' เถระ ' เพราะความเปนคนแก เพราะเหตสุ ักวานัง่ บนอาสนะพระเถระ, สว นผูใด แทงตลอดสัจจะท้งั หลายแลว ต้ังอยใู นความเปนผูไ มเบยี ดเบยี นมหาชน, ผนู ้ีชอื่ วาเปนเถระ\" ดงั น้แี ลว ไดตรสั พระคาถาเหลานีว้ า :-

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 77๔. น เตน เถโร โหติ เยนสสฺ ปลิต สโิ ร ปริปกฺโก วโย ตสสฺ โมฆชณิ โฺ ณติ วจุ จฺ ต.ิ ยมหฺ ิ สจจฺ ฺจ ธมโฺ ม จ อหสึ า สฺ โม ทโม ส เว วนฺตมโล ธโี ร โส เถโรติ ปวจุ ฺจติ. \" บุคคล ไมชือ่ วาเปน เถระ เพราะมผี มหงอกบน ศรี ษะ ผมู วี ัยแกรอบแลวนน้ั เราเรยี กวา 'แกเ ปลา,' (สวน) ผใู ด มสี ัจจะ ธรรมะ อหงิ สา สญั ญมะ และทมะ, ผูนน้ั มีมลทนิ อันตายแลว ผูม ปี ญญา, เรากลา ววา \"เปน เถระ.\" แกอรรถ บรรดาบทเหลานนั้ บทวา ปรปิ กโฺ ก ความวา อนั ชรานอ มไปรอบแลว คือถึงความเปนคนแกแลว . บทวา โมฆชิณฺโณ ความวา ชอื่ วาแกเปลา เพราะภายในไมมธี รรม เครอ่ื งทําใหเ ปนเถระ. บทวา สจฺจฺจ ความวา กบ็ ุคคลใดมสี ัจจะทงั้ ๔ เพราะความเปน ผแู ทงตลอดดวยอาการ ๑๖ และมีโลกุตรธรรม ๙ อยาง เพราะความเปนผูท าํ ใหแจง ดว ยญาณ. คําวา อหสึ า นัน่ สกั วา เปน หัวขอเทศนา. อธิบายวา อัปปมัญญา-ภาวนาแม ๔ อยาง มอี ยูใ นผูใ ด. สองบทวา สฺโม ทโม ไดแ ก ศีลและอินทรยี สงั วร. บทวา วนฺตมโล คอื มมี ลทินอันนําออกแลว ดว ยมรรคญาณ. บทวา ธีโร คือ สมบรู ณด ว ยปญ ญาเปน เครื่องทรงจาํ . บทวา

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 78เถโร ความวา ผนู ั้น พระผูมีพระภาคเจา ตรสั วา \" เถระ\" เพราะความเปนผปู ระกอบดวยธรรมเครอ่ื งทําความเปน ผูมนั่ คงเหลาน้ัน. ในกาลจบเทศนา ภิกษเุ หลานัน้ ตง้ั อยใู นพระอรหัตแลว ดังนี้แล. เรอ่ื งพระลกณุ ฏกภทั ทยิ เถระ จบ.

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 79 ๕. เรือ่ งภกิ ษุมากรปู [๑๙๘] ขอความเบื้องตน พระศาสดา เม่ือประทบั อยูในพระเชตวนั ทรงปรารภภกิ ษุมากรูปตรสั พระธรรมเทศนานว้ี า \" น วากกฺ รณมตฺเต \" เปน ตน . พระเถระบางพวกอยากไดลาภสกั การะ ความพสิ ดารวา สมยั หนึ่ง พระเถระบางพวกเหน็ ภกิ ษุหนมุ และสามเณรทาํ การรับใชทัง้ หลายมีอนั ยอ มจีวรเปน ตน แกอ าจารยผ ูบอกธรรมของตนนน่ั แล คิดวา \" แมเราก็ฉลาดในลทั ธพิ ยญั ชนะ, ผลอะไร ๆไมมีแกเราเลย; ผิฉะน้นั เราพึงเขา ไปเฝาพระศาสดา ทลู อยา งนีว้ า' ขาแตพระองคผูเจริญ พวกขา พระองคเปน ผูฉลาดในลทั ธพิ ยัญชนะ, ขอพระองคจ งบงั คับภิกษุหนุมและสามเณรท้ังหลายวา ' พวกเธอแมเ รยี นธรรมในสํานักของอาจารยอ ่ืนแลว ยังไมสอบทานในสํานกั ของภิกษุเหลานี้แลว อยาสาธยาย,' ลาภสักการะจกั เจรญิ แกเ ราท้ังหลาย ดว ยอาการอยางน้ีแล.\" พระเถระเหลานน้ั เขา ไปเฝา พระศาสดาแลว กราบทูลอยา งนนั้ .พระศาสดาทรงสดับถอ ยคาํ ของภกิ ษุเหลานั้นแลว ทรงทราบวา \" ใคร ๆกพ็ ดู เชน น้ันได ดวยสามารถประเพณใี นพระศาสนาน้ีเทา นนั้ , แตภ กิ ษุเหลานีเ้ ปน ผอู าศยั ลาภสักการะ\" จึงตรัสวา \" เราไมเ รยี กพวกเธอวา 'คนด'ีเพราะเหตสุ กั วาพดู จัดจา น,๑ สว นผใู ดตดั ธรรมมีความรษิ ยาเปน ตนเหลานี้ไดแ ลว ดว ยอรหัตมรรค ผนู ้ีแหละชอ่ื วาคนด\"ี ดงั นี้แลว ไดตรัสพระ-คาถาเหลา นี้วา:-๑. เพราะเหตสุ กั วาการกระทาํ ซ่งึ คําพูด.

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 80๕. น วากฺกรณมตฺเตน วณฺณโปกฺขรตาย วาสาธุรโู ป นโร โหติ อิสฺสกุ ี มจฉฺ รี สโ.ยสฺส เจต สมจุ ฺฉนิ ฺน มลู ฆจฺจ สมูหตส วนฺตโทโส เมธาวี สาธุรูโปติ วจุ จฺ ต.ิ \"นระผูมคี วามรษิ ยา มคี วามตระหนี่ โออวดจะชือ่ วาเปน คนดี เพราะเหตุสกั วา ทําการพูดจัดจานหรอื เพราะมีผวิ กายงามก็หาไม, สว นผูใดตดั โทส-ชาติ มีความรษิ ยาเปนตนนี้ไดขาด ถอนขน้ึ ใหร ากขาด, ผูนนั้ มโี ทสะอันคายแลว มีปญ ญา เราเรยี กวา'คนด.ี \" แกอ รรถบรรดาบทเหลานัน้ บทวา น วากฺกรณมตเฺ ตน ความวา เพราะเหตุสักวาทาํ การพดู คอื สักวาถอยคําอนั ถึงพรอมดว ยลักษณะ. บทวาวณฺณโปกขฺ รตาย วา คอื เพราะความเปน ผูยงั ใจใหเ อบิ อาบโดยมสี รรี ะสมบูรณดว ยวรรณะ. บทวา นโร เปนตน ความวา นระผูม ใี จรษิ ยาในเพราะลาภของคนอ่นื เปน ตน ประกอบดว ยความตระหนี่ ๕ อยา ง๑ ชอ่ื วาผูโออ วด เพราะคบธรรมฝา ยขา ศกึ จะชอ่ื วา คนดี เพราะเหตเุ พียงเทานี้หามิได. สองบทวา ยสสฺ เจต เปน ตน ความวา สวนบคุ คลใดตดั โทสชาต๑. ตระหนี่ ๕ อยาง คือ อาวาสมัจฉริยะ ตระหนี่ท่ีอย.ู กุลมจั ฉรยิ ะ ตระหน่สี กุล. ลาภมัจฉรยิ ะตระหนล่ี าภ. วัณณมัจฉรยิ ะ ตระหนี่วรรณะ ตระหนี่ธรรม.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 81มคี วามรษิ ยาเปนตน นไ่ี ดข าดแลว ดวยอรหัตมรรคญาณ ถอนข้นึ ทําใหรากขาดแลว , บคุ คลนัน้ มโี ทสะอนั คายแลว ประกอบดว ยปญ ญาอันรงุ เรอื งในธรรม พระผมู พี ระภาคเจาตรัสวา \" คนด.ี \" ในกาลจบเทศนา ชนเปน อันมากบรรลุอริยผลทั้งหลาย มีโสดา-ปต ตผิ ลเปนตน ดงั นีแ้ ล เร่ืองภิกษุมากรูป จบ.

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 82๖. เรอื่ งภกิ ษชุ อื่ หัตถกะ [๑๙๙] ขอความเบ้ืองตนพระศาสดา เมือ่ ประทับอยูในกรุงสาวตั ถี ทรงปรารภภกิ ษุช่ือหตั ถกะ ตรสั พระธรรมเทศนานว้ี า \"น มณุ ฑฺ เกน สมโณ \" เปน ตน. พระหตั ถกะพูดอวดดีไดยนิ วา ภกิ ษนุ ัน้ พดู ฟงุ ไป กลาววา \" ทา นทัง้ หลายพึงไปสูท่ีชื่อโนน ในกาลโนน , เราจกั ทาํ วาทะ\" แลวไปในทนี่ ัน้ กอ น กลา วคําท้งั หลายเปน ตนวา \" ดูเถดิ ทา นทั้งหลาย, พวกเดยี รถยี ไ มม าเพราะกลวั ผม,นแี่ หละเปนความแพของพวกเดยี รถยี เ หลานน้ั \" เท่ยี วพดู ฟุงไป กลบ-เกล่อื นคาํ อนื่ ดวยคําอ่ืน. ลักษณะสมณะและผูมใิ ชส มณะพระศาสดาทรงสดบั วา \"ไดย นิ วา ภกิ ษชุ ื่อหตั ถกะทาํ อยา งนนั้ \"แลวรับส่ังใหเ รยี กเธอมา ตรัสถามวา \" หตั ถกะ ไดย นิ วา เธอทําอยางน้นัจริงหรอื ?\" เม่ือเธอกราบทลู วา \" จรงิ ,\" จงึ ตรสั วา \"เหตไุ ฉน เธอจงึทําอยา งนนั้ ? ดว ยวา ผทู ํามุสาวาทเหน็ ปานนนั้ จะชอื่ วา เปนสมณะ เพราะเหตุสักวา มศี รี ษะโลน เปนตนเทาน้นั หามไิ ด; สว นผใู ด ยังบาปนอยหรอืใหญใ หสงบแลวตง้ั อยู ผูนี้แหละชอื่ วา สมณะ\" ดงั น้ีแลว ไดต รัสพระ-คาถาเหลาน้ีวา :-๖. น มุณฺฑเกน สมโณ อพฺพโต อลิก ภณอิจฉฺ าโลภสมาปนฺโน สมโณ กึ ภวิสสฺ ติ.

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 83 โย จ สเมติ ปาปานิ อณุ ถูลานิ สพฺพโส สมติ ตตฺ า หิ ปาปาน สมโณติ ปวุจฺจติ. \"ผไู มมวี ตั ร พดู เหลาะแหละ ไมช่อื วาสมณะ เพราะศรี ษะโลน, ผปู ระกอบดวยความอยากและ ความโลภ จะเปน สมณะอยางไรได; สว นผูใด ยัง บาปนอยหรอื ใหญใหส งบโดยประการท้ังปวง, ผูน้นั เรากลาววา 'เปนสมณะ' เพราะยงั บาปใหส งบ แลว .\" แกอ รรถ บรรดาบทเหลานน้ั บทวา มณุ ฑฺ เกน ความวา เพราะเหตุสักวาศีรษะโลน . บทวา อพฺพโต คอื เวนจากศีลวัตรและธุดงควตั ร. สองบทวาอลกิ  ภณ ความวา ผกู ลาวมุสาวาท ประกอบดวยความอยากในอารมณอนั ยังไมถงึ และดว ยความโลภในอารมณอ นั ถึงแลว จักช่ือวาเปน สมณะอยา งไรได. บทวา สเมติ ความวา สว นผูใดยงั บาปนอยหรอื ใหญใหสงบ, ผนู น้ั พระผูมีพระภาคเจาตรสั วา ' เปน สมณะ' เพราะยงั บาปเหลานน้ั ใหส งบแลว. ในกาลจบเทศนา ชนเปน อนั มากบรรลอุ รยิ ผลท้ังหลาย มโี สดา-ปตติผลเปนตน ดังนแ้ี ล. เรื่องภิกษุชื่อหตั ถกะ จบ.

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 84๗. เร่อื งพราหมณค นใดคนหนงึ่ [๒๐๐] ขอ ความเบ้ืองตน พระศาสดา เม่ือประทบั อยูใ นพระเชตวัน ทรงปรารภพราหมณคนใดคนหนึ่ง ตรสั พระธรรมเทศนานี้วา \"น เตน ภกิ ขฺ ุ โส โหต\"ิเปน ตน .พราหมณอ ยากใหพ ระศาสดาเรยี กตนวา ภิกษุ ไดย ินวา พราหมณน นั้ บวชในลทั ธภิ ายนอกเท่ยี วภิกษาอยู คดิ วา\"พระสมณโคดมเรยี กสาวกของตนผเู ทีย่ วภิกษาวา ภกิ ษุ,' การทพี่ ระ-สมณโคดมเรียกแมเราวา ' ภกิ ษุ ' กค็ วร.\" เขาเขาไปเฝาพระศาสดา ทลู วา\" ขาแตพ ระโคดมผเู จรญิ แมขา พเจากเ็ ทยี่ วภิกษาเลยี้ งชพี อยู, พระองคจงเรียกแมข า พเจา วา 'ภิกษุ.\" ลกั ษณะภกิ ษแุ ละผมู ใิ ชภกิ ษุลาํ ดับนน้ั พระศาสดาตรัสกะพราหมณน้ันวา \"พราหมณ เราหาเรียกวา ' ภิกษุ ' เพราะอาการเพียงขอ (เขาไม) , เพราะผูสมาทานธรรมอนั เปน พษิ แลวประพฤตอิ ยู ยอ มเปนผชู ่ือวาภิกษุหามไิ ด, สวนผูใดเทยี่ วไปดว ยพิจารณาสังขารทัง้ ปวง, ผนู ัน้ ชอื่ วา เปนภกิ ษ\"ุ ดงั น้ีแลว ไดตรัสพระคาถาเหลา นี้วา :-๗. น เตน ภกิ ขฺ ุ โส โหติ ยาวตา ภกิ ขฺ เต ปเรวสิ สฺ  ธมฺม สมาทาย ภิกขฺ ุ โหติ น ตาวตา.โยธ ปุ ฺ จฺ ปาปจฺ พาเหตฺวา พรฺ หฺมจรยิ วาสงฺขาย โลเก จรติ ส เว ภกิ ขฺ ตู ิ วุจจฺ ติ.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 85 \"บุคคลชอื่ วา เปนภกิ ษุ เพราะเหตทุ ่ขี อกะคนพวก อืน่ หามิได, บุคคลสมาทานธรรมอันเปนพิษ ไมช ่ือวา เปนภกิ ษุ ดว ยเหตุเพียงเทา น้ัน; ผูใดในศาสนาน้ี ลอยบญุ และบาปแลว ประพฤตพิ รหมจรรย (รูธ รรม) ในโลก ดว ยการพิจารณาเท่ยี วไป ผูน ั้นแลเราเรียก วา 'ภกิ ษ.ุ ' แกอรรถ บรรดาบทเหลานัน้ บทวา ยาวตา ความวา ช่อื วาเปนภกิ ษุ เพราะเหตุสกั วา ขอกะชนพวกอ่ืนหามไิ ด. บทวา วิส ๑ เปนตน ความวา ผูท ่ีสมาทานธรรมไมเสมอ หรอื ธรรมมกี ายกรรมเปน ตน อันมีกลนิ่ เปน พิษประพฤตอิ ยู หาช่อื วาเปน ภกิ ษุไม. บทวา โยธ เปนตน ความวา ผใู ดในศาสนานี้ ลอยคือบรรเทาบุญและบาปแมทง้ั สองนี้ดว ยมรรคพรหมจรรยช่ือวาเปนผูประพฤตพิ รหมจรรย. บทวา สงฺขาย คือ ดวยญาณ. บทวาโลเก เปนตน ความวา บคุ คลรธู รรมแมทงั้ หมดในโลก มีขันธโลกเปนตน อยางนีว้ า \"ขันธเ หลานีเ้ ปน ภายใน, ขนั ธเหลานเ้ี ปน ภายนอก\"เท่ียวไป, ผูนนั้ พระผมู ีพระภาคเจา ตรัสเรียกวา ' ภกิ ษุ ' เพราะเปน ผูทาํ ลายกเิ ลสทัง้ หลายดว ยญาณน้นั แลว. ในกาลจบเทศนา ชนเปนอันมากบรรลุอรยิ ผลท้งั หลาย มีโสดา-ปต ติผลเปน ตน ดังนี้แล. เร่อื งพราหมณค นใดคนหนึ่ง จบ.๑. บาลีเปน วสิ สฺ  .

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 86 ๘. เร่ืองเดียรถยี  [๒๐๑] ขอ ความเบอ้ื งตน พระศาสดา เมอ่ื ประทับอยูในพระเชตวนั ทรงปรารภพวกเดียรถยี ตรัสพระธรรมเทศนานว้ี า \"น โมเนน\" เปน ตน . เหตทุ ่ที รงอนญุ าตอนุโมทนากถา ไดย นิ วา พวกเดยี รถยี เ หลา น้ันทําอนุโมทนาแกพ วกมนษุ ย ในสถานที่ตนบรโิ ภคแลว, กลาวมงคลโดยนัยเปนตน วา \" ความเกษมจงมี,ความสุขจงมี, อายุจงเจริญ; ในท่ชี อ่ื โนน มีเปอ กตม, ในทช่ี อ่ื โนนมีหนาม,การไปสูท่เี ห็นปานนนั้ ไมค วร\" แลว จงึ หลีกไป. กใ็ นปฐมโพธกิ าล ในเวลาทย่ี ังไมทรงอนญุ าตวธิ ีอนุโมทนาเปนตน ภกิ ษุทัง้ หลายไมท ําอนุ-โมทนาแกพวกมนุษยในโรงภัตเลย ยอ มหลีกไป. พวกมนุษยย กโทษวา\"พวกเราไดฟง มงคลแตสํานักของเดียรถียท ้งั หลาย, แตพ ระผูเปน เจาท้ังหลายน่ิงเฉย หลีกไปเสยี .\" ภิกษทุ ง้ั หลายยกราบทลู ความน้ันแดพระ-ศาสดา. พระศาสดาทรงอนญุ าตวา \" ภิกษทุ ง้ั หลาย ตง้ั แตบัดนไ้ี ป ทานทงั้ -หลายจงทําอนโุ มทนาในท่ที งั้ หลายมโี รงภัตเปนตน ตามสบายเถิด, จงกลา วอปุ นิสนิ นกถาเถดิ \" ภกิ ษเุ หลา นนั้ ทาํ อยา งนั้นแลว . พวกเดียรถยี ติเตียนพทุ ธสาวก พวกมนษุ ยฟ งวิธีอนุโมทนาเปนตน ถงึ ความอตุ สาหะแลว นิมนตภิกษทุ ั้งหลาย เที่ยวทําสักการะ. พวกเดียรถยี ย กโทษวา \" พวกเราเปน

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 87มนุ ที าํ ความเปนผูนง่ิ , พวกสาวกของพระสมณโคดมเทีย่ วกลา วกถามากมาย ในทที่ ั้งหลายมีโรงภัตเปน ตน .ลักษณะมุนีและผูไมใชมุนีพระศาสดาทรงสดบั ความนัน้ ตรัสวา \" ภิกษุท้งั หลาย เราไมกลา ววา ' มุนี ' เพราะเหตสุ กั วา เปน ผูนงิ่ ; เพราะคนบางพวกไมรู ยอมไมพดู ,บางพวกไมพ ูด เพราะความเปนผูไ มแกลว กลา, บางพวกไมพ ูด เพราะตระหนี่วา ' คนเหลา อื่นอยา รเู นอ้ื ความอนั ดยี ิ่งนี้ของเรา; เพราะฉะน้นัคนไมช่ือวา เปนมุนี เพราะเหตุสักวาเปนคนนงิ่ , แตชื่อวาเปน มนุ ี เพราะยงั บาปใหส งบ.\" ดงั นแี้ ลว ไดตรสั พระคาถาเหลา น้วี า :-๘. น โมเนน มุนิ โหติ มูฬหฺ รูโป อวิทฺทสุโย จ ตุล ว ปคคฺ ยหฺ วรมาทาย ปณฑฺ ิโตปาปานิ ปรวิ ชเฺ ชติ ส มนุ ิ เตน โส มุนิโย มนุ าติ อโุ ภ โลเก มุนิ เตน ปวจุ จฺ ต.ิ\" บคุ คลเขลา ไมรโู ดยปกติ ไมช ื่อวาเปนมุนีเพราะความเปนผนู ง่ิ , สว นผใู ดเปนบัณฑิตถอื ธรรมอันประเสริฐ ดจุ บุคคลประคองตาช่งั เวน บาปทง้ั หลาย, ผนู ้นั เปน มนุ ี, ผนู ้ันเปน มุนี เพราะเหตุนนั้ ; ผูใ ดรูอรรถทงั้ สองในโลก, ผูนัน้ เรากลาววา' เปนมุนี ' เพราะเหตุน้ัน.\"แกอรรถบรรดาบทเหลา นัน้ บทวา น โมเนน ความวา กบ็ คุ คลชือ่ วา เปน

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 88มนุ ี เพราะโมนะคอื มรรคญาณ๑ กลา วคอื ขอ ปฏิบัติเครอ่ื งเปนมนุ ี กจ็ รงิ แล,ถงึ อยา งนั้น ในพระคาถาน้ี พระผมู พี ระภาคเจาตรัสวา โมเนน หมายเอาความเปนผูนิ่ง. บทวา มฬุ หฺ รโู ป คือ เปน ผเู ปลา . บทวา อวิทฺทสุ คือ ไมรูโ ดยปกต.ิ อธบิ ายวา \" กบ็ ุคคลเหน็ ปานนั้น แมเปนผูนิ่ง กไ็ มช ่อื วา เปน มุน;ี อกี อยา งหนง่ึ ไมช่อื วา โมไนยมุน,ีแตเปนผูเปลาเปนสภาพ และไมรูโ ดยปกต.ิ บาทพระคาถาวา โย จ ตลุ  ว ปคคฺ ยหฺ ความวา เหมือนอยา งคนยืนถือตาชั่งอยู, ถาของมากเกินไป, ก็นําออกเสยี , ถาของนอ ย, ก็เพม่ิ เขา ฉันใด; ผใู ดนําออก ช่ือวาเวนบาป ดุจคนเอาของทม่ี ากเกนิ ไปออก. บาํ เพ็ญกุศลอยูด ุจคนเพ่มิ ของอันนอ ยเขา ฉันนนั้ เหมือนกัน; ก็แลเมอื่ ทําอยา งนั้น ชื่อวา ถอื ธรรมอนั ประเสริฐ คือสงู สดุ ทเี ดียว กลาวคือศลีสมาธิ ปญญา วมิ ุตติ วมิ ุตตญิ าณทัสสนะ เวน บาป คอื กรรมท่เี ปน อกศุ ลทงั้ หลาย. สองบทวา ส มนุ ิ ความวา ผนู น้ั ชอื่ วาเปน มุน.ี หลายบทวาเตน โส มนุ ิ ความวา หากมีคาํ ถามสอดเขามาวา \" ก็เพราะเหตุไร ผูน้ันจึงช่ือวาเปน มุนี ?\" ตอ งแกวา \" ผนู ั้นเปน มุนี เพราะเหตุทกี่ ลา วแลว ในหนหลงั .\" บาทพระคาถาวา โย มุนาติ อุโภ โลเก ความวา บคุ คลผูใดรูอรรถท้งั สองนี้ ในโลกมขี ันธเปนตน น้ี โดยนัยเปนตนวา \"ขันธเหลา น้ีเปน ภายใน, ขนั ธเหลาน้เี ปนภายนอก\" ดุจบุคคลยกตาชง่ั ข้นึ ชง่ั อยูฉะนนั้ . หลายบทวา มนุ ิ เตน ปวจุ จฺ ติ ความวา ผนู นั้ พระผมู พี ระ-ภาคเจาตรสั เรียกวา ' เปน มนุ ี ' เพราะเหตนุ ัน้ .๑. ญาณอนั สัมปยตุ ดวยมรรค.

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 89 ในกาลจบเทศนา ชนเปนอันมากบรรลอุ รยิ ผลทั้งหลาย มีโสดา-ปต ตผิ ลเปน ตน ดงั นี้แล. เร่อื งเดยี รถยี  จบ.

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 90 ๙. เรอื่ งพรานเบ็ดช่ืออรยิ ะ [๒๐๒] ขอความเบ้อื งตน พระศาสดา เม่ือประทบั อยูในพระเชตวนั ทรงปรารภพรานเบ็ดชอ่ื อรยิ ะคนหนง่ึ ตรสั พระธรรมเทศนานว้ี า \"น เตน อรโิ ย โหติ\"เปนตน . พรานเบด็ ตองการใหพระศาสดาตรัสเรยี กตนวาอรยิ ะ ความพสิ ดารวา วันหนึง่ พระศาสดาทรงเหน็ อปุ นิสยั แหงโสดา-ปต ติมรรคของนายอริยะนั้น เสดจ็ เทยี่ วบิณฑบาตในบานใกลประตูดานทศิอดุ ร แหง กรุงสาวตั ถี อนั ภิกษุสงฆแวดลอม เสด็จมาแตบ า นนั้น. ขณะนั้นพรานเบด็ นนั้ ตกปลาอยูดวยเบ็ด เห็นภกิ ษสุ งฆม พี ระพุทธเจาเปน ประมขุไดท้งั คนั เบด็ ยนื อยูแลว . พระศาสดาเสดจ็ กลบั ประทบั ยนื อยู ณ ที่ไมไ กลพรานเบ็ดนั้น ตรัสถามชอื่ ของพระสาวกทง้ั หลาย มพี ระสารีบตุ รเถระเปนตนวา \" เธอช่ือไร ?เธอชื่อไร ?\" แมพ ระสาวกเหลา นน้ั กก็ ราบทูลช่อื ของตน ๆวา \" ขา-พระองคชอื่ สารบี ุตร, ขาพระองคช อื่ โมคคัลลานะ\" เปน ตน . พรานเบ็ดคิดวา \" พระศาสดายอ มตรัสถามชื่อสาวกทุกองค, เห็นจกั ตรสั ถามช่อื ของเราบาง.\" ลกั ษณะผูเ ปนอริยะและไมใชอ ริยะ พระศาสดาทรงทราบความปรารถนาของพรานเบด็ นั้น จึงตรัสถามวา \" อบุ าสก เธอชอื่ ไร ?\" เม่อื เขากราบทูลวา \" ขา พระองคช อ่ื อรยิ ะพระเจาขา \" ตรสั วา \" อบุ าสก ผูท ่ีฆา สัตวเชน ทานจะช่อื วาอริยะไมได,

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 91สว นผูท่ตี ้ังอยูในความไมเ บียดเบียนมหาชนจึงจะช่อื วา อริยะ\" ดงั น้ี แลวตรสั พระคาถานีว้ า :- ๙. น เตน อริโย โหติ เยน ปาณาติ หสึ ติ อหสึ า สพพฺ ปาณาน อรโิ ยติ ปวจุ ฺจติ. \"บุคคลไมช่ือวา เปน อริยะ เพราะเหตทุ ่ีเบียด- เบยี นสตั ว; บคุ คลทีเ่ รากลาววา ' เปน อรยิ ะ' เพราะ ไมเบยี ดเบยี นสตั วท ง้ั ปวง.\" แกอ รรถ บรรดาบทเหลา น้ัน บทวา อหสึ า ความวา เพราะไมเ บยี ดเบยี น. มคี ําอธบิ ายไวเชน นี้วา: \" บคุ คลไมเ ปนผชู ือ่ วา อริยะ เพราะเหตุที่เบยี ดเบยี นสัตวท้งั หลาย; สว นผใู ดตั้งอยูไ กลจากความเบยี ดเบยี น เพราะไมเบียดเบยี นสัตวท ง้ั ปวงดวยฝามอื เปนตน คือเพราะความทีต่ นตั้งอยูแ ลวในภาวนาเมตตาเปนตน, ผูน้ีพระผูมพี ระภาคเจา ตรสั เรียกวา ' อริยะ.\" ในกาลจบเทศนา พรานเบด็ ตั้งอยใู นโสดาปต ตผิ ลแลว. เทศนาไดมปี ระโยชนแ มแกบุคคลผปู ระชุมกนั แลว ดังน้ีแล. เร่ืองพรานเบด็ ชื่ออริยะ จบ.

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 92 ๑๐. เรือ่ งภิกษมุ ากรปู [๒๐๓] ขอ ความเบื้องตน พระศาสดา เมื่อประทบั อยูในพระเชตวัน ทรงปรารภภิกษุมากรปูผถู ึงพรอ มดว ยคณุ มีศลี เปนตน ตรัสพระธรรมเทศนานวี้ า \"น สลี พฺ-พตมตเฺ ตน\" เปน ตน. ไดยนิ วา บรรดาภกิ ษุเหลานน้ั บางพวกไดมีความคดิ อยางน้ีวา\" พวกเรามศี ลี สมบูรณแลว, พวกเราทรงซึ่งธุดงค, พวกเราเปนพหสู ตู ,พวกเราอยใู นเสนาสนะอนั สงัด, พวกเราไดฌาน, พระอรหตั พวกเราไดไมยาก, พวกเราจักบรรลพุ ระอรหัต ในวันที่พวกเราปรารถนานนั่ เอง.\"บรรดาภกิ ษุเหลานัน้ แมภ ิกษุผเู ปน อนาคามไี ดมคี วามคดิ เชนน้ีวา \" บดั นี้พระอรหัตพวกเราไดไ มยาก. วนั หนึง่ ภกิ ษเุ หลา นั้นแมทง้ั หมดเขาไปเฝาพระศาสดา ถวายบงั คมแลว นัง่ อยู อันพระศาสดาตรัสถามวา \" ภกิ ษุทง้ั หลาย กิจแหง บรรพชิตของพวกเธอถงึ ทสี่ ดุ แลวหรือหนอ ?\" ตางก็กราบทูลอยา งนีว้ า \"ขาแตพระองคผูเจริญ พวกขาพระองคเ หน็ ปานนนี้ ้ี;เพราะฉะน้นั พวกขาพระองคจงึ คดิ วา ' พวกเราสามารถเพื่อบรรลพุ ระ-อรหัตในขณะท่ปี รารถนาแลว ๆ นัน่ เอง' ดงั นี้แลว อยู.\" พระศาสดาทรงสดับถอยคาํ ของภิกษุเหลา น้ันแลว ตรัสวา \" ภกิ ษุทั้งหลาย ช่ือวาภกิ ษุจะเหน็ วา ' ทกุ ขในภพของพวกเรานอย, ดว ยคณุสักวาความเปนผูม ีศลี บรสิ ุทธิ์เปน ตน หรอื ดว ยคุณสักวาความสขุ ของพระ-อนาคามีไมค วร, และยงั ไมถ งึ ความส้ินอาสวะ ไมพึงใหความคิดเกดิ ขึ้นวา' เราถงึ สุขแลว \" ไดตรสั พระคาถาเหลา น้ีวา :-

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 93๑๐. น สีลพพฺ ตมตฺเตน พาหุสจเฺ จน วา ปนอถวา สมาธิลาเภน ววิ ติ ฺตสยเนน วาผุสามิ เนกขฺ มมฺ สุข อปุถุชชฺ นเสวติ ภิกฺขุ วสิ ฺสาสมาปาทิ อปฺปตตฺ อาสวกขฺ ย .\"ภกิ ษุ ภกิ ษุยงั ไมถึงอาสวักขยั อยา เพ่ิงถึงความวางใจ ดวยเหตสุ กั วาศลี และวตั ร ดว ย ความเปนพหสู ูต ดว ยอันไดสมาธิ ดว ยอนั นอนในทส่ี งัด หรือ(ดวยเหตเุ พยี งรูวา ) ' เราถกู ตอ งสุขในเนกขมั มะ ซ่งึปถุ ุชนเสพไมไ ดแลว.\" แกอ รรถบรรดาบทเหลานน้ั บทวา สลี พฺพตมตฺเตน คอื ดว ยเหตสุ กั วาปาริสุทธศิ ลี ๔ หรือสักวา ธดุ งคคณุ ๑๓.บทวา พาหุสจเฺ จน วา ความวา หรือดวยเหตุสักวา ความเปน ผูเรียนปฎก ๓.บทวา สมาธลิ าเภน ความวา หรอื ดว ยอนั ไดสมาบตั ิ ๘.บทวา เนกขฺ มฺมสขุ  คือ สขุ ของพระอนาคาม.ี เพราะฉะนนั้ ภิกษุอยา เพิง่ ถงึ ความวางใจ ดวยเหตมุ ีประมาณเพียงรูเ ทา น้วี า ' เราถกู ตองสุขของพระอนาคาม.ี 'บทวา อปถุ ชุ ชฺ นเสวิต ความวา อันปุถชุ นท้ังหลายเสพไมได คืออนั พระอรยิ ะเสพแลว อยางเดียว. ภิกษุเหลานั้น พระผมู พี ระภาคเจา เมอ่ืทรงทักภิกษุรูปใดรปู หนึง่ ก็ตรสั วา \" ภิกษ.ุ \"

พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 94 บทวา วิสฺสาสมาปาทิ ความวา อยาเพ่งิ ถงึ ความวางใจ. มคี าํอธิบายไวฉ ะนวี้ า \" ภกิ ษุ ช่ือวา ภิกษเุ ปน ผูย ังไมบรรลพุ ระอรหตั กลา วคือความสิ้นไปแหง อาสวะ ไมพึงถึงความวางใจวา ' ภพของเรานอ ย นดิหนอ ย ' ดว ยเหตสุ ักวา ความเปน ผมู คี ุณมีศีลสมบรู ณเ ปนตน นี้เทา นั้น;เหมือนคูถแมม ปี ระมาณนอยก็ยงั มกี ลิน่ เหม็นฉันใด, ภพแมม ปี ระมาณนอ ยกเ็ ปน เหตใุ หเกิดทกุ ขฉนั นั้น.\" ในกาลจบเทศนา ภิกษเุ หลานนั้ ตงั้ อยใู นพระอรหตั แลว, เทศนาไดม ีประโยชนแ มแกบ ุคคลผูประชุมแลว ดงั นี้แล. เรอื่ งภิกษมุ ากรปู จบ. ธัมมัฏฐวรรควรรณนา จบ. วรรคท่ี ๑๙ จบ.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 95 คาถาธรรมบท มรรควรรคที่ ๒๐๑ วา ดวยมรรคมอี งค ๘ ประเสริฐ[๓๐] ๑. บรรดาทางทั้งหลาย ทางมอี งค ๘ ประเสรฐิ บรรดาสจั จะทัง้ หลาย บท ๔ ประเสรฐิ บรรดาธรรม ทัง้ หลาย วริ าคะประเสรฐิ บรรดาสัตว ๒ เทา และ อรปู ธรรมทั้งหลาย พระตถาคตผูมจี กั ษปุ ระเสรฐิ ทางน้เี ทา นน้ั เพอื่ ความหมดจดแหงทัสสนะ ทางอ่นื ไมม ี เพราะฉะนั้นทานทง้ั หลายจงดําเนนิ ตามทางน้ี เพราะทางน้เี ปนที่ยงั มารและเสนามารใหหลง ดวยวา ทา นทั้งหลายดาํ เนินไปตามทางนี้แลว จักทําท่สี ดุ แหง ทุกขได เราทราบทางเปน ทส่ี ลัดลูกศรแลว จงึ บอก แกท านทัง้ หลาย ทานท้ังหลายพงึ ทาํ ความเพยี ร เคร่อื งเผากเิ ลส พระตถาคตทัง้ หลายเปนแตผ บู อก ชนท้งั หลายผดู าํ เนนิ ไปแลว มีปกตเิ พงพนิ ิจ ยอ ม หลุดพนจากเครอ่ื งผูกของมาร. ๒. เมื่อใด บัณฑติ ยอ มเห็นดวยปญ ญาวา สงั ขาร ท้งั ปวงไมเ ท่ียง เมื่อนน้ั ยอมหนายในทุกข ความ หนา ยในทุกข น่นั เปนทางแหง ความหมดจด. เม่ือใด บัณฑติ ยอมเหน็ ดวยปญ ญาวา สงั ขาร ทงั้ ปวงเปน ทกุ ข เมอ่ื น้ัน ยอมหนา ยในทกุ ข ความ๑. วรรคนี้ มีอรรถกถา ๑๐ เรอ่ื ง.

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 96หนายในทุกข นน่ั เปน ทางแหงความหมดจด. เม่อื ใด บัณฑติ ยอมเห็นดวยปญ ญาวา ธรรมท้งั ปวงเปนอนัตตา เม่อื นั้น ยอ มหนายในทุกข ความหนายในทกุ ข นนั่ เปนทางแหง ความหมดจด. ๓. ก็บุคคลยงั หนุมแนนมกี าํ ลงั (แต) ไมขยันในกาลท่ีควรขยัน เขาถงึ ความเปน ผเู กยี จคราน มีใจประกอบดวยความดําริอันจมแลว ขเี้ กยี จ เกียจครา นยอ มไมพ บทางดว ยปญญา. ๔. บุคคลผมู ีปกตริ กั ษาวาจา สาํ รวมดีแลว ดวยใจ และไมควรทาํ อกุศลดวยกาย พงึ ยงั กรรมบถทัง้ สามเหลา น้ีใหห มดจด ท้งั ยินดีทางทีท่ า นผแู สวงหาคณุ ประกาศแลว. ๕. ปญญายอ มเกดิ เพราะการประกอบแล ความส้ินไปแหง ปญญา เพราะการไมประกอบ บณั ฑติรทู าง ๒ แพรงแหง ความเจรญิ และความเสื่อมนน่ัแลว พงึ ตั้งตนไวโ ดยประการทป่ี ญ ญาจะเจริญขึน้ ได. ๖. ทานทั้งหลายจงตดั กิเลสดุจปา อยาตัดตน ไม ภัยยอมเกดิ แตกิเลสดุจปา ภิกษทุ ้ังหลายทา นทั้งหลายจงตัดกเิ ลสดุจปา และดุจหมไู มต ั้งอยูในปาแลว เปนผไู มม กี ิเลสดุจปา เถดิ เพราะกิเลสดุจหมไู มต้ังอยูในปา ถงึ มปี ระมาณนิดหนอยของนรชน

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 97ยงั ไมข าด ในนารีทั้งหลายเพียงใด เขาเปนเหมอื นลกู โคที่ยงั ดม่ื นา้ํ นม มีใจปฏิพทั ธในมารดาเพยี งนน้ั . ๗. เธอจงตดั ความเยื่อใยของตนเสยี เหมือนบุคคลถอนดอกโกมุท ทีเ่ กิดในสรทกาลดวยมือ จงเจริญทางแหง สันติทเี ดียว (เพราะ) พระนพิ พานอนัพระสุคตแสดงแลว . ๘. คนพาลยอมคิดวา เราจักอยใู นที่นตี้ ลอดฤดูฝน จกั อยใู นท่นี ใ้ี นฤดหู นาวและฤดูรอ น หารูอนั ตรายไม. ๙. มจั จุพานระนัน้ ผูมัวเมาในบุตรและปศุสัตวผูมีใจขอ งรนอารมณต าง ๆ ไป เหมอื นหวงน้ําใหญพดั พาเอาชาวบา นผหู ลบั ไปฉะนนั้ . ๑๐. บัณฑติ ทราบอํานาจเนอ้ื ความวา บตุ รทั้ง-หลาย ยอ มไมม ีเพ่ือตา นทาน บดิ าและพวกพอ งทั้ง-หลายกไ็ มมเี พือ่ ตา นทาน เมอ่ื บุคคลถกู ความตายครอบงําแลว ความตานทานในญาตทิ ้งั หลายยอมไมม ีดงั น้ีแลว เปนผูสํารวมในศลี พงึ ชาํ ระทางเปน ทีไ่ ปพระนพิ พานใหหมดจดพลันทีเดียว. จบมรรควรรคท่ี ๒๐

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 98 ๒๐. มรรควรรควรรณนา ๑. เรื่องภิกษุ ๕๐๐ รปู [๒๐๔] ขอ ความเบื้องตน พระศาสดา เม่ือประทบั ในพระเชตวัน ทรงปรารภภกิ ษุ ๕๐๐ รปูตรสั พระธรรมเทศนาน้ีวา \"มคฺคานฏ งคฺ โิ ก\" เปน ตน. พวกภกิ ษพุ ูดถึงทางทตี่ นเทย่ี วไป ดังไดส ดับมา ภกิ ษเุ หลานั้น เมือ่ พระศาสดาเสดจ็ เทย่ี วจารกิ ไปในชนบทแลว เสดจ็ มาสกู รงุ สาวตั ถอี กี , นั่งในโรงเปนท่ีบาํ รงุ พดู มรรคกถาปรารภทางทตี่ นเทยี่ วไปแลว โดยนยั เปนตนวา \" ทางแหง บานโนนจากบา นโนน สม่ําเสมอ, ทางแหงบานโนน (จากบานโนน ) ไมสมํ่าเสมอ, มีกรวด, ไมม ีกรวด.\" อริยมรรคเปน ทางใหพ นทุกข พระศาสดา ทรงเหน็ อปุ นสิ ัยแหง พระอรหตั ของภกิ ษุเหลา น้ัน เสดจ็มายังทีน่ ัน้ แลว ประทบั นง่ั เหนืออาสนะทเ่ี ขาปไู ว ตรัสถามวา \" ภิกษุท้งั หลาย บดั น้ีพวกเธอนั่งสนทนากันดวยกถาอะไรเลา ?\" เม่อื ภิกษุเหลา นั้นกราบทูลวา \" ดว ยกถาชอื่ น,ี้ \" ตรสั วา \" ภิกษุท้ังหลาย ทางท่ีพวกเธอพูดถึงนี้ เปน ทางภายนอก ธรรมดาภกิ ษุทาํ กรรมในอรยิ มรรคจึงควร, (ดว ยวา ) ภกิ ษเุ มื่อทําอยางน้ัน ยอ มพน จากทกุ ขทั้งปวงได\" ดังนี้แลว ไดท รงภาษติ พระคาถาเหลาน้วี า :-.

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 99๑. มคฺคานฏ งฺคิโก เสฏโ สจฺจาน จตโุ ร ปทา วริ าโค เสฏโ ธมมฺ าน ทปิ ทานจฺ จกขฺ ุมา เอเสว มคฺโค นตฺถฺโ ทสฺสนสสฺ วสิ ทุ ธฺ ยิ า. เอตฺหิ ตุเมฺห ปฏปิ ชฺชถ มารสเฺ สต ๑ ปโมหน เอตหฺ ิ ตเุ มฺห ปฏิปนฺนา ทกุ ขฺ สสฺ นตฺ  กริสฺสถ. อกฺขาโต โว มยา มคฺโค อฺ าย สลลฺ สตฺถน ตุเมฺหหิ กิจจฺ  อาตปปฺ  อกฺขาตาโร ตถาคตา ปฏิปนฺนา ปโมกขฺ นตฺ ิ ฌายิโน มารพนฺธนา. \"บรรดาทางท้ังหลาย ทางมีองค ๘ ประเสริฐ, บรรดาสจั จะทง้ั หลาย บท ๔ ประเสริฐ, บรรดาธรรม ทั้งหลาย วริ าคะประเสริฐ, บรรดาสัตว ๒ เทา และ อรปู ธรรมทง้ั หลาย พระตถาคตผมู จี ักษปุ ระเสรฐิ ; ทางนี้เทานัน้ เพ่อื ความหมดจดแหง ทัสสนะ ทาง อ่นื ไมม ,ี เพราะฉะนน้ั ทา นทงั้ หลายจงดําเนนิ ตาม ทางน้ี เพราะทางน้ีเปน ทีย่ งั มารและเสนามารให หลง, ดวยวา ทานท้งั หลายดาํ เนินไปตามทางน้แี ลว จกั ทาํ ท่สี ุดแหงทุกขไ ด; เราทราบทางเปนทีส่ ลัดลูกศร แลว จึงบอกแกทานท้ังหลาย, ทา นทัง้ หลาย พึงทําความเพยี รเครอื่ งเผากิเลส, พระตถาคตทง้ั หลาย เปน แตผูบ อก, ชนท้ังหลายผูด ําเนนิ ไปแลว มปี กติ เพงพินจิ ยอ มหลดุ พนจากเครื่องผกู ของมาร.\"๑. อรรถกถา มารเสนปปฺ โมหน .

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 100 บรรดาบทเหลา น้นั บทวา มคคฺ านฏ งฺคโิ ก ความวา ทางท้ังหลายจงเปน ทางไปดวยแขง เปน ตน กต็ าม เปนทางทฏิ ฐิ ๖๒ ก็ตาม บรรดาทางแมท ง้ั หมด ทางมอี งค ๘ อนั ทาํ การละทาง ๘ มีมจิ ฉาทิฏฐเิ ปนตนดวยองค ๘ มีสมั มาทฏิ ฐิเปน ตน ทาํ นิโรธใหเปน อารมณ ยงั กิจมีอนั กําหนดรทู กุ ขเปนตน ในสจั จะแมท้งั สีใ่ หส าํ เรจ็ ประเสริฐคอื ยอดเยีย่ ม. บาทพระคาถาวา สจฺจาน จตุโร ปทา ความวา บรรดาสจั จะเหลา น้ี แมทั้งหมด จงเปน วจสี จั จะอันมาแลว (ในพระบาลี) วา \" บคุ คลพึงกลาวคําสัตย, ไมพึงโกรธ,\" เปนตน กต็ าม, เปน สมมตสิ ัจจะอันตางโดยสจั จะเปน ตนวา \" เปนพราหมณจริง, เปน กษตั รยิ จ ริง\" ก็ตาม,เปน ทิฏฐิสัจจะ (โดยนัย) วา๑ \" สิ่งนี้เทาน้ันจริง, สิง่ อน่ื เปลา ,\" เปน ตนก็ตาม, เปนปรมัตถสจั จะ อันตางโดยสัจจะเปนตนวา \" ทุกขเ ปนความจรงิอนั ประเสริฐ\" กต็ าม, บท ๔ มบี ทวา \" ทกุ ข เปน ความจริงอนั ประเสริฐ \"เปนตน ชื่อวาประเสรฐิ เพราะอรรถวา ทุกขอ นั โยคาวจรควรกาํ หนดรูเพราะอรรถวา สมุทยั อันโยคาวจรควรละ เพราะอรรถวา นโิ รธอนั โยคาวจรควรทาํ ใหแ จง , เพราะอรรถวามรรคมีองค ๘ อันโยคาวจรควรเจรญิเพราะอรรถวา แทงตลอดไดดวยญาณอันเดยี ว๒ และเพราะอรรถวาแทงตลอดไดโ ดยแนน อน. บาทพระคาถาวา วริ าโค เสฏโ ธมฺมาน ความวา บรรดาธรรมทัง้ ปวง วริ าคะ กลาวคอื พระนพิ พาน ช่ือวาประเสริฐ เพราะพระพุทธ-พจนว า๓ ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ธรรมทัง้ หลายทป่ี จ จัยปรงุ แตงกด็ ี ทีป่ จ จัยไม๑. อัง. ทสก. ๒๔/๒๑๐. ๒.แปลวา:- เพราะอรรถวา แทงตลอดไดในขณะเดียวกันกม็ .ี๓. ขุ. อติ ิ. ๒๕/๒๙๘.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook