พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 289ไดถ งึ อัตภาพ ๑๓ อนั สงู ๆ ต่ํา ๆ อยางนน้ั ดวยประการฉะนี้ บดั น้ี เกดิในอตั ภาพอันอุกฤษฏแ ลว ขอใหท า นทง้ั หลายแมท ้งั หมด จงยงั ธรรมเปน กศุ ลท้ังหลายใหถ งึ พรอ มดว ยความไมป ระมาทเถดิ .\" ดังนีแ้ ลว ยงับรษิ ทั ๔ ใหส งั เวชแลวปรินพิ พาน ดังนแ้ี ล. เรื่องนางลกู สุกร จบ.
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 290 ๓. เรอื่ งวพิ ภนั ตกภิกษุ [๒๔๒] ขอ ความเบือ้ งตน พระศาสดา เม่อื ประทับอยใู นพระเวฬวุ ัน ทรงปรารภวิพภันตก-ภกิ ษ๑ุ รปู หนึง่ ตรสั พระธรรมเทศนาน้ีวา \" โย นิพฺพนฏโ \" เปนตน. เธอสกึ ออกไปทําโจรกรรมเล้ยี งชีพ ไดยนิ วา ภิกษุรปู หน่งึ เปน สัทธวิ หิ ารกิ ของพระมหากสั สปเถระ แมยังฌาน ๔ ใหเกิดข้นึ แลว เหน็ รูปารมณอ ันเปน วสิ ภาค (ขา ศกึ ) ในเรอื นของนายชา งทองผเู ปนลงุ ของตน มีจิตปฏิพทั ธใ นรูปารมณน น้ั สกึ แลว . ตอ มา เพราะความเปน ผเู กียจครา น พวกมนุษยจงึ ไลเ ขาผไู มปรารถนาจะทําการงาน ออกเสยี จากเรือน. เขาเทยี่ วเลยี้ งชีพอยูดว ยโจร-กรรม เพราะการคลุกคลดี วยมติ รชว่ั . ตอมาในวนั หนง่ึ พวกราชบรุ ุษจับเขาไดแ ลว มดั แขนไพลหลงัผกู อยางม่ันคง เฆีย่ นดวยหวายทุก ๆ ทาง ๔ แพรง แลว นาํ ไปสตู ะแลง-แกง. พระเถระ เขาไปเพอ่ื เท่ยี วบณิ ฑบาต เห็นเขาถูกพวกราชบรุ ุษนาํไปโดยประตูดา นทกั ษณิ จึงขอใหพ วกราชบุรษุ ผอนเครอื่ งจองจําใหห ยอ นแลว พดู วา \" เธอจงระลกึ ถึงกัมมัฏฐานทเี่ ธอเคยสั่งสมแลวในกอ นอกี .\"เขาไดความเกิดขน้ึ แหงสตเิ พราะโอวาทน้นั แลว ไดย งั จตตุ ถฌานใหเ กิดข้ึนอีก. ลําดบั น้นั พวกราชบุรษุ นําเขาไปสตู ะแลงแกง ใหเขานอนหงายบนหลาว ดวยคิดวา \" พวกเราจกั ฆา เสยี .\" เขาไมกลัว ไมสะดุง.๑. ภิกษผุ ูหมนุ ไปผดิ (สึก).
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 291 พวกมนุษยป ระหลาดใจเพราะเหน็ เขาไมกลวั ลําดบั นน้ั มนษุ ยทั้งหลายผยู นื อยใู นทศิ าภาคน้ัน ๆ แมเ งือดเงือ้เครือ่ งประหารทั้งหลายมีดาบ หอก และโตมร๑เปน ตน แกเขา เห็นเขามิไดส ะดุง เลย ตา งพูดวา \" ผเู จรญิ ท้งั หลาย พวกทา นจงดบู ุรษุ คนนีเ้ ถดิ ,เขาไมหว่นั ไหว ไมส ะทกสะทานในทา มกลางแหง บรุ ุษผูมีอาวุธในมอื แมหลายรอ ยคน, โอ ! นา อัศจรรยจริง\" ดังนี้แลว เกิดมคี วามอัศจรรยแ ละประหลาดใจ บนั ลอื ลั่นสน่ัน (ไป) กราบทลู เร่ืองนนั้ แดพระราชา. พระราชาทรงสดบั เหตนุ น้ั แลว ตรสั วา \" พวกทานจงปลอยเขาเสยี เถิด\" ดงั นี้แลว เสด็จไปแมย งั สํานักพระศาสดา กราบทลู เนือ้ ความนน้ั แลว . พระศาสดา ทรงเปลงพระโอภาสไปแลว เมื่อจะทรงแสดงธรรมแกเ ขา จึงตรสั พระคาถานว้ี า:- ๓. โย นพิ พฺ นฏโ วนาธิมุตโฺ ต วนมุตฺโต วนเมว ธาวติ ต ปคุ คฺ ลเมว ปสสฺ ถ มุตโฺ ต พนธฺ นเมว ธาวต.ิ \" บุคคลใด มอี าลยั ดุจหมูไมอันตงั้ อยูในปา ออก แลว นอมไปในปา (คอื ตปธรรม) พนจากปา แลว ยังแลน ไปสูปาตามเดมิ , ทา นท้ังหลายจงดูบุคคลนั้น นนั่ แล; เขาพนแลว (จากเคร่อื งผูก) ยงั แลนไปสู เคร่ืองผูกตามเดมิ .\"๑. โตมร หอกซัด.
พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 292 แกอรรถ เนื้อความแหงพระคาถาน้ันวา \" บุคคลใด ชอ่ื วามอี าลยั ดจุ หมูไมอนั ตงั้ อยใู นปาออกแลว เพราะความทีต่ นละทง้ิ หมูไ มอนั ตง้ั อยูในปากลา วคอื อาลัยในความเปน คฤหสั ถแ ลวบวช นอมไปในปา คอื ตปะ กลาวคือวิหารธรรม เปนผพู นจากปา คอื ตัณหา ซง่ึ จัดเปน เคร่อื งผกู คอื การครองเรอื นแลว ยังแลนไปหาปา คือตณั หานั่นแหละ อันเปนเครือ่ งผกู คือการครองเรือนน้ันอกี , ทา นทง้ั หลายจงดูบคุ คลน้ันอยา งนน้ั ; บุคคลนน่ัพนจากเครอื่ งผกู คือการครองเรือนแลว ยังแลนไปสูเครือ่ งผกู คอื การครองเรอื นอีกทีเดยี ว. เขานัง่ ฟงธรรมเทศนานี้ อยบู นปลายหลาว ในระหวางพวกราช-บรุ ษุ น่นั แล เริ่มตง้ั ความเกดิ ขึ้นและความเสอื่ มไปแลว ยก (จิต) ข้ึนสูไตรลักษณ พิจารณาอยูซ่งึ สงั ขารท้ังหลายบรรลโุ สดาปตตผิ ลแลวเสวยสุขเกิดแตส มาบัตอิ ยู เหาะขน้ึ สเู วหาสมาสูสํานกั พระศาสดาทางอากาศน่ันเองถวายบงั คมพระศาสดาแลวบวช ไดบรรลุพระอรหตั ณ ทา มกลางบริษทัพรอ มดว ยพระราชานนั่ เอง ดังนแ้ี ล. เรอื่ งวิพภนั ตกภิกษุ จบ.
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 293 ๔. เรือ่ งเรอื นจํา [๒๔๓] ขอความเบือ้ งตน พระศาสดา เมอ่ื ประทบั อยูใ นพระเชตวัน ทรงปรารภเรอื นจาํตรสั พระธรรมเทศนาน้วี า \" น ต ทฬหฺ \" เปนตน . พวกภิกษุเหน็ โจรถูกจองจํานกึ แปลกใจ ดังไดสดบั มา ในกาลคร้งั หนึง่ พวกราชบรุ ษุ นาํ พวกโจร ผตู ดั ชอ งผูป ลน ในหนทางเปลย่ี ว และผูฆา มนษุ ยเ ปน อนั มาก ทลู เสนอแดพ ระเจาโกศลแลว . พระราชารบั ส่ังใหจ องจําโจรเหลา น้นั ไว ดวยเครื่องจองจําคือข่อื เคร่อื งจองจาํ คอื เชือก และเคร่ืองจองจําคือตรวนท้ังหลาย. พวกภกิ ษุชาวชนบท แมมีประมาณ ๓๐ รูปแล ใครจ ะเฝาพระศาสดา มาเฝาถวายบังคมแลว ในวันรุง ขนึ้ เท่ียวไปในกรงุ สาวตั ถี เพ่อื บิณฑบาตไปถึงเรือนจาํ เห็นโจรเหลาน้ัน กลับจากบิณฑบาตแลว เขาไปเฝาพระ-ตถาคตเจาในเวลาเย็น กราบทูลถามวา \" พระเจา ขา วนั นี้ พวกขาพระองคกาํ ลงั เทีย่ วไปบิณฑบาต เหน็ โจรเปนอนั มากในเรอื นจาํ ถกูจองจาํ ดวยเครอ่ื งจองจาํ คอื ข่ือเปน ตน เสวยทุกขมาก พวกเขายอมไมอาจเพอ่ื จะตดั เครอื่ งจองจําเหลา น้ันหนีไปได; ขาแตพ ระองคผ ูเ จริญ ข้ึนชอ่ื วา เครอื่ งจองจําชนดิ อ่นื ที่มัน่ คงกวา เครอ่ื งจองจาํ เหลาน้นั มอี ยูหรือ เครอื่ งจองจาํ คือกเิ ลสตดั ไดยากยิ่ง พระศาสดาตรัสวา \" ภิกษุทัง้ หลาย เคร่อื งจองจําเหลา นั้นจะชอื่ วาเครอื่ งจองจําอะไร; สว นเครอ่ื งจองจาํ คอื กเิ ลส กลาวคือตณั หา ใน
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 294สวญิ ญาณกทรพั ยแ ละอวญิ ญาณกทรพั ยท้ังหลาย มีทรพั ยคอื ขาวเปลือกบุตรและภรรยาเปน ตน เปน เครื่องจองจําทีม่ ั่นคงกวาเครอ่ื งจองจาํ คือขอ่ืเปน ตน เหลานน้ั ดวยอนั คณู ดว ยรอย คณู ดว ยพัน คูณดว ยแสน, แตโบราณกบัณฑิตทง้ั หลาย ตดั เครอ่ื งจองจํานน่ั แมช นิดใหญทต่ี ัดไดยากดวยประการดังนี้แลว เขา สูปา หิมพานตบวช.\" ดังนีแ้ ลว ทรงนําอดตีนทิ านมา (ตรัส) วา \" ในอดีตกาล เมอื่ พระเจาพรหมทัตครองราชสมบตั อิ ยูในกรงุพาราณสี พระโพธสิ ตั วเ กดิ แลวในตระกูลคฤหบดตี กยากตระกลู หน่งึ .เม่ือพระโพธสิ ตั วน ั้นเจรญิ วยั บดิ าไดท าํ กาละแลว . พระโพธสิ ตั วน ้ันทาํการรับจา งเลีย้ งมารดา. ตอ มา มารดากระทาํ นางกุลธิดาคนหนงึ่ ไวใ นเรือนเพอ่ื พระโพธสิ ัตวน ้ัน ผูไมปรารถนาเลย ในกาลตอมาก็ไดก ระทํากาละแลว. ฝา ยภรรยาของพระโพธสิ ตั วนัน้ ตัง้ ครรภแ ลว. พระโพธสิ ัตวนน้ัไมท ราบวา ครรภต ัง้ ข้นึ เลย จงึ กลา ววา \" นางผูเจรญิ หลอนจงทําการรบั จา งเลีย้ งชีพเถดิ , ฉนั จักบวช.\" นางกลาววา \" นาย ครรภต ั้งขนึ้ แลวแกด ิฉันมิใชห รือ ? เม่อื ดฉิ ันคลอดแลว ทา นจักเหน็ ทารกแลว จงึ บวช.\" พระโพธสิ ตั วน ้ัน รบั วา\" ดลี ะ \" ในกาลแหงนางคลอดแลว จึงอาํ ลาวา \" นางผเู จริญ หลอนคลอดโดยสวัสดแี ลว, บัดน้ี ฉันจักบวชละ. \" ทนี ้ันนางกลา วกะพระโพธิสัตวนนั้ วา \" ทา นจงรอ เวลาท่ลี ูกนอยของทา นหยานมกอ น \" แลว กต็ งั้ ครรภอีก. พระโพธสิ ัตวนัน้ ดาํ รวิ า \" เราไมส ามารถจะใหน างคนนีย้ นิ ยอมแลว
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 295ไปได. เราจักไมบอกแกน างละ จักหนีไปบวช.\" ทา นไมบอกแกน างเลยลุกขนึ้ แลว ในสวนราตรี หนไี ปแลว . ครงั้ นนั้ คนรักษาพระนครไดจ บั ทา นไวแ ลว . ทานกลา ววา \"นายขา พเจา ช่ือวา เปนผูเล้ียงมารดา, ขอทา นทง้ั หลายจงปลอยขา พเจาเสยี เถดิ \"ใหเ ขาปลอ ยตนแลว พักอยูในท่ีแหง หนึ่ง แลวเขาไปสปู า หมิ พานต บวชเปนฤาษี ยังอภิญญาและสมาบตั ิใหเ กิดแลว เลน ฌานอย.ู ทานอยใู นท่ีนน้ั น่ันเอง เปลงอุทานขึ้นวา \" เคร่ืองผกู คือบตุ รและภรรยา เคร่อื งผูกคือกเิ ลส อันบุคคลตัดไดโ ดยยาก ชอ่ื แมเ ห็นปานนัน้ เราตดั ไดแลว.\" พระศาสดาทรงแสดงเครื่องจองจํา ๒ อยาง พระศาสดา ครัน้ ทรงนําอดตี นทิ านนมี้ าแลว เมอ่ื จะทรงประกาศอุทานท่พี ระโพธิสตั วน ้นั เปลง แลว ไดตรสั พระคาถานีว้ า :- ๔. น ต ทฬหฺ พนฺธนมาหุ ธีรา ยทายส ทารุช ปพพฺ ชจฺ สารตตฺ รตฺตา มณิกุณฑฺ เลสุ ปุตเฺ ตสุ ทาเรสุ จ ยา อเปกฺขา. เอต ทฬฺห พนฺธนมาหุ ธรี า โอหารนิ สถิ ิล ทปุ ปฺ มุ ฺจ เอต ป เฉตฺวาน ปริพพฺ ชนตฺ ิ อนเปกฺขโิ น กามสขุ ปหาย. \" เครอ่ื งจองจาํ ใด เกดิ แตเ หลก็ เกิดแตไม และ เกิดแตห ญา ปลอ ง ผมู ีปญ ญาท้ังหลาย หากลา วเคร่ือง
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 296 จองจาํ น้นั วา เปนของม่ันคงไม. ความกําหนดั ใด ของชนท้งั หลายผกู ําหนัด ยินดียิ่งนกั ในแกวมณี และตุมหทู ัง้ หลาย และความเยือ่ ใยในบตุ ร๑ แลใน ภรรยาทง้ั หลายใด, นกั ปราชญท ัง้ หลาย กลา วความ กาํ หนัดและความเย่ือใยนนั่ วา เปน เครือ่ งจองจาํ อนั มัน่ คง มีปกตเิ หนีย่ วลง อันหยอ น (แต) เปล้ืองได โดยยาก. นกั ปราชญท ง้ั หลาย ตัดเครื่องผูกแมน น่ั แลว เปนผไู มม ไี ยดี ละกามสขุ แลว บวช.๒\" แกอรรถ บรรดาบทเหลา น้นั บทวา ธรี า เปน ตน ความวา บรุ ุษผเู ปนบัณฑิตทัง้ หลาย มีพระพทุ ธเจาเปน ตน หากลา วเครื่องจองจําที่เกดิ แตเหล็ก กลา วคอื ตรวน ชื่อวา เกิดแตเหลก็ ทีเ่ กิดแตไ ม กลาวคอื ชื่อ คาและเคร่ืองจองจําคอื เชอื ก ท่เี ขาเอาหญา ปลอง หรอื วตั ถุอยา งอืน่ มีปอเปน ตน ฟนทําเปนเชอื ก วา \" เปน ของมน่ั คง\" ไม, เพราะความเปนเคร่ืองจองจํา ทบ่ี ุคคลสามารถตดั ดว ยศัสตราท้งั หลาย มดี าบเปนตนได. บทวา สารตฺตรตฺตา ไดแก เปน ผกู าํ หนดั นักแลว, อธบิ ายวา ผูกาํ หนดั ดว ยราคะจดั . บทวา มณกิ ณุ ฺฑเลสุ คอื ในแกว มณีและตุมหูทัง้ หลาย, อีกอยา งหนึ่ง (คือ) ในตุมหูทัง้ หลายอันวจิ ิตรดว ยแกว มณี. บทวา ทฬฺห ความวา ความกาํ หนัดใด ของชนทง้ั หลาย ผูก ําหนัด๑. แปลเตมิ อยางอรรถกถา. ๒. ขุ. ธ. ๒๕/๖๐, ชา. ทุก. ๒๗/ขอ ๒๕๑. อรรถกถา๓/๑๘๕. พนั ธนาคารชาดก.
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 297ยนิ ดีย่งิ นกั ในแกวมณแี ละตุมหทู งั้ หลายนั่นแล และความเยือ่ ใย คือความทะยานอยากไดใ นบุตรและภรรยาใด, บุรุษผูเปนบัณฑติ ทง้ั หลาย ยอ มกลาวความกําหนดั และความเย่อื ใยนัน่ อันเปน เครื่องผูกซงึ่ สาํ เร็จดว ยกเิ ลสวา \" มน่ั . \" บทวา โอหาริน ความวา ชอ่ื วา มีปกติเหน่ียวลง เพราะยอมฉดุ ลงคอื นาํ ไปในเบอ้ื งตํ่า เพราะครามาแลวใหตกไปในอบาย ๔. บทวา สิถิล ความวา ชือ่ วา หยอน เพราะยอ มไมบ าดผวิ หนงัและเนอื้ คือยอมไมนาํ โลหิตออกในทที่ ผี่ ูก ไดแ ก ไมใ หร สู ึกแมค วามเปนเครอื่ งผูก ยอ มใหท ําการงานท้งั หลาย ในทท่ี ั้งหลายมที างบกและทางนํา้เปนตนได. บทวา ทปุ ฺปมุ ฺจ ความวา ช่ือวา เปล้ืองไดโดยยาก ก็เพราะเครือ่ งผกู คือกิเลส อันเกิดขนึ้ ดว ยสามารถแหงความโลภแมค ราวเดยี วยอมเปนกิเลสชาตอันบคุ คลเปลื้องไดโดยยาก เหมอื นเตา เปล้ืองจากที่เปนท่ผี ูกไดยากฉะนัน้ . สองบทวา เอต ป เฉตฺวาน ความวา นกั ปราชญทง้ั หลายตัดเครอื่ งผูกคือกเิ ลสนัน่ แมอ นั ม่นั อยา งนน้ั ดว ยพระขรรคคอื ญาณ เปนผหู มดความเยือ่ ใย ละกามสุขแลว เวน รอบ คอื หลีกออก, อธิบายวา ยอมบวช. ในกาลจบเทศนา ชนเปน อนั มากบรรลอุ ริยผลทงั้ หลาย มโี สดา-ปตติผลเปน ตน ดังนแ้ี ล. เรื่องเรือนจาํ จบ.
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 298 ๕. เรื่องพระนางเขมา [๒๔๔] ขอความเบ้ืองตน พระศาสดา เมือ่ ประทับอยใู นพระเวฬุวนั ทรงปรารภพระอัครมเหสีของพระเจา พิมพิสาร พระนามวาเขมา ตรัสพระธรรมเทศนานีว้ า \" เยราครตตฺ า\" เปน ตน . หนามบงหนาม ไดส ดับมา พระนางเขมานน้ั ตงั้ ความปรารถนาไวแทบบาทมูลของพระปทุมตุ ตรพทุ ธเจา ไดเ ปน ผมู ีพระรูปงดงามนาเล่อื มใสอยางเหลือเกิน.ก็พระนางไดท รงสดับวา \" ทราบวา พระศาสดาตรสั ตโิ ทษของรปู \" จงึไมป รารถนาจะเสด็จไปยงั สาํ นกั ของพระศาสดา. พระราชาทรงทราบความท่ีพระอคั รมเหสนี นั้ มวั เมาอยใู นรูป จึงตรสั ใหพ วกนกั กวแี ตง เพลงขบั เกยี่ วไปในทางพรรณนาพระเวฬวุ ัน แลว ก็รับส่ังใหพ ระราชทานแกพ วกนกัฟอนเปน ตน . เมือ่ นกั ฟอ นเหลา น้ันขับเพลงเหลา นน้ั อยู พระนางทรงสดบั แลว พระเวฬุวนั ไดเปนประหนึง่ ไมเคยทอดพระเนตรและทรงสดบัแลว . พระนางตรสถามวา \" พวกทา นขับหมายถึงอทุ ยานแหงไหน ?\"เมอ่ื พวกนักขบั ทลู วา \" หมายอทุ ยานเวฬวุ ันของพระองค พระเทเทว\"ี ก็ไดทรงปรารถนาจะเสด็จไปพระอุทยาน. พระศาสดาทรงทราบการเสด็จมาของพระนาง เม่ือประทบั นง่ั แสดงธรรมอยูใ นทา มกลางบริษัทแล จงึ ทรงนิรมิตหญงิ รปู งาม ยนื ถือพดั กานตาลพัดอยูที่ขา งพระองค ฝายพระนางเขมาเทวี เสด็จเขา ไปอยแู ล ทอดพระเนตรเห็นหญงินน้ั จึงทรงดํารวิ า \" ชนทง้ั หลาย ยอมพดู กนั วา ' พระสัมมาสมั พทุ ธเจา
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 299ตรสั โทษของรูป,' กห็ ญงิ นี้ ยืนพดั อยใู นสํานักของพระองค, เราไมเขาถึงแมสวนแหงเสีย้ วของหญงิ น,ี้ รปู หญิงเชน นี้ เราไมเ คยเห็น, ชนท้ังหลายเห็นจะกลาวตพู ระศาสดา ดว ยคาํ ไมจ รงิ \" ดังนแี้ ลว ก็มิใสใ จถงึ เสียงพระ-ดํารัสของพระตถาคต ไดป ระทับยืนทอดพระเนตรดหู ญงิ นัน้ นัน่ แล. ในรา งกายน้ีไมม ีสาระ พระศาสดาทรงทราบเนือ้ ความทพี่ ระนางมีมานะจัดเกิดข้นึ ในรูปนัน้เมอื่ จะทรงแสดงรูปนั้นดว ยอํานาจวัยมีปฐมวัยเปนตน จึงทรงแสดงทําใหเหลอื เพียงกระดกู ในท่ีสุด โดยนัยทีข่ าพเจา กลา วแลว ในหนหลังนั้นแล. พระนางเขมาพอทอดพระเนตรเห็นรปู นนั้ จงึ ทรงดาํ ริวา \" รปู น้นัแมเห็นปานนี้ ก็ถึงความส้นิ ความเส่ือมไปโดยครเู ดยี วเทา นัน้ , สาระในรูปนี้ ไมม ีหนอ ?\" พระศาสดาทรงตรวจดวู าระจติ ของพระนางเขมานน้ั แลว จงึ ตรสั วา\" เขมา เธอคิดวา ' สาระมอี ยใู นรปู นห้ี รือ ?' เธอจงดูความท่ีรูปน้นั หาสาระมิได ในบดั น้ี\" แลว ตรัสพระคาถานี้วา :- \" เขมา เธอจงดูรา งกายอันอาดูร ไมสะอาดเนา เปอ ย ไหลออกทงั้ ขางบน ไหลออกทงั้ ขางลาง อันคน พาลทั้งหลาย ปรารถนาย่ิงนกั .\" ในกาลจบพระคาถา พระนางดาํ รงอยใู นโสดาปต ติผล. ลําดับน้นั พระศาสดาตรสั กะพระนางวา \" เขมา สตั วเหลาน้ี เย้ิมอยูดว ยราคะ รอนอยูด ว ยโทสะ งงงวยอยูด ว ยโมหะ จึงไมอาจเพือ่ กาวลวงกระแสตณั หาของตนไปได ตอ งขอ งอยูในกระแสตัณหาน้นั น่ันเอง \"ดังนี้แลว เมื่อจะทรงแสดงธรรม จึงตรสั พระคาถานี้วา :-
พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 300 ๕. เย ราครตฺตานุปตนตฺ ิ โสต สย กต มกกฺ ฏโกว ชาล เอตมฺป เฉตฺวาน วชนฺติ ธีรา อนเปกขฺ โิ น สพฺพทกุ ขฺ ปหาย. \" สัตวผูกําหนดั แลว ดว ยราคะ ยอมตกไปสูกระ- แสตัณหา เหมอื นแมลงมุม ตกไปยงั ใยทตี่ ัวทาํ ไว เองฉะน้นั . ธีรชนท้งั หลาย ตดั กระแสตณั หาแมน ้นั แลว เปนผหู มดหวงใย ละเวน ทกุ ขท ้งั ปวงไป.\" แกอรรถ บรรดาบทเหลา นั้น สองบทวา มกฺกฏโกว ชาล ความวา เหมอื นอยางวา แมลงมุมทาํ ขายคอื ใยแลว ก็นอนอยใู นศูนยใ ยในทที่ า มกลางแลวกร็ บี วง่ิ ไปฆาตก๊ั แตนหรือตวั แมลง ท่ีตกไปในรมิ สายใย สบู กินรสของมนั แลว ก็กลบั มานอนอยใู นท่นี ้ันอยา งเดมิ ฉันใด; สัตวท งั้ หลายเหลา ใด ผกู าํ หนัดแลวดวยราคะ๑ โกรธแลว ดวยโทสะ๒ หลงแลว ดว ยโมหะ,สตั วเหลา น้นั ยอมตกไปสกู ระแสตณั หาที่ตัวทําไวเอง คอื เขาไมอาจเพ่อืกาวลว งกระแสตัณหานัน้ ไปได ฉนั น้ันเหมอื นกนั ; กระแสตณั หา บคุ คลลวงไดย ากอยางน.้ี บาทพระคาถาวา เอตมปฺ เฉตวฺ าน วชนตฺ ิ ธีรา ความวา บัณฑติทงั้ หลาย ตัดเครอื่ งผูกนั่นแลว เปนผหู มดหว งใย คอื ไมม อี าลัย ละทุกขทง้ั ปวงดว ยอรหัตมรรคแลว กเ็ วน คือไป.๑. ผูอนั ราคะยอมแลว. ๒. อันโทสะประทุษรายแลว.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 573
Pages: