Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_43

tripitaka_43

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:40

Description: tripitaka_43

Search

Read the Text Version

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 505\" ผใู ดเอามอื ลูบคลําสรีระของจันทาภพราหมณน,้ี ผนู นั้ จะไดอ สิ รยิ สมบัติชือ่ เหน็ ปานน้.ี \" ชนท้งั หลาย เมอ่ื ใหท รพั ยรอยหนง่ึ บา ง พันหนึง่ บา ง แสนหน่ึงบา งนนั่ แล จึงจะไดเพือ่ อามือถูกตอ งสรรี ะของพราหมณน้นั . พราหมณเหลานัน้ เท่ยี วไปเนือง ๆ อยอู ยางน้ี ก็ถงึ กรงุ สาวตั ถีโดยลาํ ดบั ยดึ เอาที่พกั ในระหวางแหงพระนครและวิหารแลว . อริยสาวกประมาณ ๕ โกฏแิ มใ นกรุงสาวัตถี ถวายทานในกาลกอ นแหง ภตั แลว ในกาลภายหลงั ภัต มีมือถือของหอมระเบียบดอกไมผ าและเภสชั เปน ตน ไปเพือ่ ฟงธรรม. พราหมณท ัง้ หลายเหน็ อริยสาวกเหลา นัน้แลว ถามวา \" ทา นท้งั หลายจะไปทไี่ หนกัน ? \" อริยสาวก. พวกเราจกั ไปสสู ํานักของพระศาสดา เพ่ือฟง ธรรม. พวกพราหมณ. ทา นทง้ั หลายจงมา, ทา นท้งั หลายไปในท่นี ้ันแลวจกั ทําอะไร ? อานุภาพเชนกับดว ยอานภุ าพของจันทาภพราหมณ ของพวกขาพเจา ไมม ี, เพราะวาชนทัง้ หลายถกู ตอ งสรรี ะของจันทาภพราหมณน่ัน ยอมไดส มบัตชิ ือ่ น,ี้ ทา นทงั้ หลายจงมา, จงดูจนั ทาภพราหมณนัน้ . อรยิ สาวกเหลานนั้ กลา ววา \" ชอื่ วาอานุภาพของจนั ทาภพราหมณของทา นทง้ั หลาย เปน อยางไร ? พระศาสดาของพวกเราเทานั้น มีอานภุ าพมาก.\" อรยิ สาวกและพวกพราหมณเ หลา น้ัน ไมอ าจเพือ่ ยังกนั และกนั ใหยินยอมได จงึ กลา ววา \" พวกเราไปสวู หิ ารแลว จกั รูอานุภาพของจนั ทาภ-พราหมณ หรือของพระศาสดาของพวกเรา\" ดังนี้แลว ไดพาจันทาภ-พราหมณน ั้นไปสูว หิ ารแลว .

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 506 จันทาภพราหมณอ บั เฉาในสาํ นกั พระศาสดา พระศาสดา เมอื่ จันทาภพราหมณน ั้น พอเขาไปสสู ํานกั ของพระ-องค, ไดทรงทาํ ใหรัศมเี พยี งดงั พระจันทรหายไปเสยี . จันทาภพราหมณนั้น ไดเปนประหนง่ึ กาในกระเชาถาน ในสํานักพระศาสดา. คร้งั นน้ั พราหมณทง้ั หลายจงึ นาํ เขาไปไว ณ สวนขางหน่ึง. รศั มีไดกลับเปนปกติอยางเดมิ . พราหมณก น็ ํามาสสู ํานกั พระศาสดาอกี . รศั มีก็หายไปอยา งนน้ั เหมอื นกัน. จนั ทาภพราหมณไปแลว อยา งนนั้ ถึง ๓ คร้งัเหน็ รัศมหี ายไปอยู จงึ คดิ วา \" ผนู ี้ เหน็ จะรูม นตเปน เครอื่ งหายไปแหงรศั ม.ี \" เขาจงึ ทูลถามพระศาสดาวา \" พระองคท รงทราบมนตเปนเครื่องหายไปแหงรัศมีหรอื หนอแล ?\" พระศาสดา. เออ เราร.ู จนั ทาภะ ถาอยา งนนั้ ขอพระองคจ งประทานแกขา พระองคบา ง. พระศาสดา. เราไมอ าจเพอ่ื ใหแกบุคคลผูไมบ วช. จันทาภะนน้ั กลา วกะพวกพราหมณว า \" เม่ือฉันเรยี นมนตน่นั แลวฉนั จักเปนผูป ระเสรฐิ ในชมพทู วปี ทง้ั ส้ิน, พวกทานจงรออยูท่นี ่กี อ น, ฉนัจกั บวชเรยี นมนตโ ดย ๒-๓ วนั เทานั้น.\" เ ขาทลู ขอการบรรพชากะพระ-ศาสดา ไดอุปสมบทแลว. ครงั้ น้ัน พระศาสดาจึงตรัสบอกอาการ ๓๒ แกจ ันทาภภิกษุนัน้ .เธอทลู ถามวา \" นีอ้ ะไร ? \" พระศาสดา. น้ีเปนบริกรรมแหง มนต, เธอควรสาธยาย. แมพวกพราหมณมาในระหวาง ๆ แลว ถามวา \" ทานเรียนมนตไดแลว หรือ ?\"

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 507 จันทาภะ. ยงั กอน. ฉันกําลงั เรยี น. เขาบรรลุพระอรหัตโดย ๒-๓ วันเทานั้น ในเวลาทพ่ี วกพราหมณมาถามแลว กลา ววา \" ทา นทัง้ หลายจงไปเถิด. เดี๋ยวนฉี้ นั เปนผมู ธี รรมเครอื่ งไมไ ปเสยี แลว .\" ภิกษทุ งั้ หลาย กราบทลู แดพ ระตถาคตวา \" พระเจา ขา ภกิ ษุน้ีกลาวคาํ ไมจ รงิ ยอ มพยากรณพ ระอรหตั ผล.\" พระขณี าสพกลาวแตค าํ จริง พระศาสดาตรัสวา \" ภกิ ษุทั้งหลาย บัดน้ี จนั ทาภะบตุ รของเรามีอาสวะสิ้นแลว ยอมกลา วแตค ําจริงเทา น้นั \" ดังนี้แลว ตรสั พระคาถานีว้ า :-๓๐. จนทฺ  ว วิมล สุทธฺ  วปิ ปฺ สนฺนมนาวลิ  นนฺทิภวปรกิ ฺขณี  ตมห พรฺ มู ิ พฺราหฺมณ . \" เราเรียกผูบรสิ ทุ ธ์ิ ผองใส ไมขุนมัว มีภพ เครอื่ งเพลดิ เพลินส้นิ แลว เหมอื นพระจนั ทร ท่ี ปราศจากมลทินนัน้ วา เปนพราหมณ.\" แกอ รรถ บรรดาบทเหลานน้ั บทวา วมิ ล ไดแก เวน แลว จากมลทินมีหมอกเปน ตน . บทวา สทุ ธฺ  ไดแ ก ไมมีอปุ กิเลส. บทวา วปิ ฺปสนนฺ  ไดแ ก มีจติ ผอ งใสแลว. บทวา อนาวลิ  ไดแก เวน แลว จากมลทินมีกเิ ลสเปน ตน.

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 508 บทวา นนฺทิภวปริกขฺ ณี  ความวา เราเรยี กผมู ตี ัณหาในภพทงั้ ๓สิ้นแลวนบั วา เปนพราหมณ. ในกาลจบเทศนา ชนเปน อนั มากบรรลอุ รยิ ผลทั้งหลาย มโี สดา-ปต ตผิ ลเปนตน ดังน้แี ล. เร่อื งพระจันทาภเถระ จบ.

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 509 ๓๑. เรอ่ื งพระสีวลเี ถระ [๒๙๔] ขอ ความเบอ้ื งตน พระศาสดา เม่ือทรงอาศัยเมอื งกณุ ฑโิ กลิยะ ประทับอยใู นปา ช่อืกุณฑธาน ทรงปรารภพระสีวสเี ถระ ตรัสพระธรรมเทศนาน้วี า \" โย อมิ  \"เปน ตน . พระนางสุปปวาสาทรงอดกลั้นทุกขไดดว ยวติ ก ๓ ขอ ความพิสดารวา ในสมยั หนึง่ พระธิดาของพระโกลิยวงศ พระ-นามวาสปุ ปวาสา ทรงครรภสน้ิ ๗ ป มคี รรภอันหลง (มาอกี ) ๗ วนัถูกทุกขเวทนากลา เผ็ดรอนถกู ตองแลว , ทรงอดกลั้นทกุ ขน ั้น ดวยวิตก๓ ขอเหลา น้ีคอื \" (๑) พระผูมพี ระภาคเจา พระองคใด ทรงแสดงธรรมเพื่อละทกุ ขแ หง รูปนี้นีแ่ หละ, พระผูมพี ระภาคเจา พระองคน ้ัน เปนผูตรสั รูเ องโดยชอบหนอ; (๒) พระสงฆสาวกใดปฏบิ ัตเิ พือ่ ละทุกขแ หงรูปนนี้ ี่แหละ, พระสงฆสาวกนน้ั ของพระผมู ีพระภาคเจาพระองคนนั้ เปนผปู ฏิบตั ดิ แี ลวหนอ; (๓) ทกุ ขเหน็ ปานน้ี \" ไมมใี นพระนิพพานใด.พระนพิ พานน้นั เปนสุขดหี นอ\" ดังน้ีแลว ทรงสงพระสวามไี ปสสู าํ นักของพระศาสดา, เมือ่ พระสวามีน้ัน กราบทลู การถวายบังคมแดพ ระศาสดาตามคําของพระนางแลว, ในขณะที่พระศาสดาตรสั วา \" พระธิดาโกลิยวงศพระนามวาสุปปวาสาจงเปนผูม สี ุข ไมมีโรค, ประสูตพิ ระโอรสซ่ึงหาโรคมไิ ดเ ถิด \" ดังนี้น่ันแหละ เปน ผสู บาย หายพระโรค ประสูตพิ ระโอรสผหู าโรคมิไดแลว ทรงนมิ นตภ กิ ษุสงฆมีพระพุทธเจา เปน ประมุข แลว ไดทรงถวายมหาทาน สิ้น ๗ วัน.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 510 พระโอรสไดบรรลพุ ระอรหตัแมพระโอรสของพระนาง ถอื เอาธมกรกกรองนํ้าถวายพระสงฆไดจาํ เดิมแตว นั ทีป่ ระสูตแิ ลว . ในกาลตอมา พระโอรสน้นั เสดจ็ ออกบรรพชาแลวบรรลพุ ระอรหตั .ตอมาวันหนึง่ พวกภิกษุสนทนากนั ในโรงธรรมวา \" ผูม ีอายุท้ังหลาย พวกทานจงด:ู . ภิกษุผถู งึ พรอมดว ยอปุ นสิ ัยแหงพระอรหัตช่ือเหน็ ปานนี้ ยงั เสวยทุกขใ นทองของมารดาตลอดกาล ประมาณเทาน้ี,จะปวยกลาวไปไยเลา ถงึ ชนเหลา อื่น; ทกุ ขเ ปนอันมากหนอ อันภิกษนุ ี้ถอนแลว .\"พระศาสดาเสด็จมาแลว ตรัสถามวา \" ภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ พวกเธอนั่งประชมุ กันดวยกถาอะไรหนอ ? เมอื่ ภกิ ษเุ หลานัน้ กราบทูลวา \" ดว ยกถาช่ือนี้ \" จึงตรัสวา ภกิ ษุทงั้ หลาย เออ บุตรของเราพนจากทุกขประมาณเทา นี้แลว บัดน้ี ทําพระนิพพานใหแ จงแลว อยู \" ดงั น้แี ลวตรสั พระคาถาน้วี า :-๓๑. โย อิม ปลิปถ ทุคฺค ส สาร โมหมฺจจฺ คาติณโฺ ณ ปารคโต ฌายี อเนโช อกถงฺกถีอนุปาทาย นพิ พฺ ุโต ตมห พรฺ ูมิ พฺหาหฺมณ .\" ผใู ด ลวงทางออม หลม สงสาร และโมหะน้ไี ปแลว เปนผูขา มไปได ถึงฝง มีปกตเิ พง หากเิ ลสเครื่องหวนั่ ไหวมิได ไมม คี วามสงสยั เปน เหตุกลา ววาอยางไร ไมถอื มัน่ ดับแลว , เราเรียกผนู ้นั วา เปนพราหมณ.\"

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 511 แกอรรถ พงึ ทราบเนือ้ ความแหง พระคาถานั้น (ดงั นี)้ :- ความวา ภิกษุใด ลว งทางคอื ราคะ หลม คอื กิเลส สงั สารวฏั และโมหะอนั ไมใหแทงตลอดอรยิ สจั ท้ัง ๕ นีไ้ ปแลว , เปนผูขามโอฆะท้ัง ๔ได ถงึ ฝง แลวโดยลาํ ดับ, มีปกติเพงดว ยฌาน ๒ อยาง, ชอื่ วา หากเิ ลสเครอื่ งหว่ันไหวมไิ ด เพราะไมมีตณั หา, ชื่อวา ไมม คี วามสงสยั เปนเหตุกลา ววา อยางไร เพราะไมม ีวาจาเปน เคร่ืองกลา ววาอยางไร, ชื่อวาไมถ ือมนั่ แลว เพราะไมมีอุปาทาน ชื่อวา ดับแลว เพราะอนั ดับไปแหง กิเลส;เราเรียกภิกษนุ ้นั วา เปนพราหมณ. ในกาลจบเทศนา ชนเปนอนั มากบรรลุอริยผลทง้ั หลาย มโี สดา-ปตติผลเปนตน ดงั นี้แล. เรือ่ งพระสวี ลเี ถระ จบ.

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 512 ๓๒. เร่อื งพระสนุ ทรสมทุ รเถระ [๒๙๕] ขอความเบอื้ งตน พระศาสดา เมือ่ ประทับอยูในพระเชตวนั ทรงปรารภพระสุนทร-สมทุ รเถระ ตรัสพระธรรมเทศนานวี้ า \" โยธ กาเม \" เปน ตน. กลุ บตุ รออกบวช ไดยินวา ในกรุงสาวัตถี กุลบุตรคนหนงึ่ ชอ่ื สนุ ทรสมุทรกุมารเกิดในตระกลู ใหญอ นั มีสมบัติ ๔๐ โกฏ.ิ วนั หนึ่ง เขาเหน็ มหาชนมีของหอมและระเบียบดอกไมเ ปน ตนในมือไปสพู ระเชตวนั เพอื่ ตอ งการฟงธรรม ในเวลาภายหลงั ภตั จึงถามวา \" พวกทานจะไปไหนกนั \" ? เมือ่ มหาชนนน้ั บอกวา \" พวกฉนั จะไปสูสาํ นกัพระศาสดา เพื่อประโยชนแกการฟงธรรม, กลาววา \" ฉันก็จักไป \"แลว ไปกับมหาชนนั้น นัง่ ณ ทสี่ ุดบรษิ ทั . พระศาสดาทรงทราบอัธยาศยั ของเขา จงึ ทรงแสดงอนุปพุ พีกถา.เขาคิดวา \" บุคคลผูอยูครองเรอื น ไมอ าจประพฤติพรหมจรรยใหเปนดุจสังขท ี่ขัดแลวได.\" อาศยั พระกถาของพระศาสดา มคี วามอุตสาหะเกิดแลว ในบรรพชา, เมอ่ื บริษัทหลีกไปแลว , จงึ ทูลขอบรรพชากะพระศาสดาไดส ดบั วา \" พระตถาคตท้งั หลาย ไมย ังกลุ บุตรท่มี ารดาบดิ ายงั ไมอนุญาตใหบ รรพชา\" จึงไปสูเรือนแลว ยงั มารดาบิดาใหอ นุญาตดวยความพยายามมากเหมอื นกลุ บุตรช่ือรฏั ฐบาลเปน ตน ไดบรรพชาอปุ สมบทในสาํ นกัพระศาสดาแลว คดิ วา \" ประโยชนอะไรของเรา ดว ยการอยใู นที่นี้ \"จึงออกจากกรุงสาวตั ถีน้นั ไปสูกรุงราชคฤห เทีย่ วบิณฑบาตอยู ยงั กาลใหลวงไปแลว.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 513 หญิงแพศยารบั อาสาจะใหพระเถระสึกใหไ ด ตอมาวนั หนึ่ง มารดาบิดาของพระสุนทรสมทุ รเถระนัน้ เหน็ พวกกุมารทีเ่ ปน สหายของทาน กาํ ลงั เลนอยูดว ยสริ ิโสภาค๑ยอ นั ใหญใ นวันมหรสพวนั หน่งึ ในกรุงสาวัตถี คราํ่ ครวญวา \" การเลนชนิดนี้ บุตรของเราไดโ ดยยาก.\" ในขณะน้ัน หญงิ แพศยาคนหน่ึงไปสตู ระกูลน้นั เหน็ มารดาของพระสนุ ทรสมทุ รเถระนัน้ กาํ ลงั นั่งรองไหอยู จึงถามวา \" คณุ แม เพราะเหตไุ ร ? คณุ แมจงึ รอ งไห. \" มารดาพระสุนทรสมุทร. ฉนั คดิ ถงึ ลูก จึงรอ งไห. หญิงแพศยา. กบ็ ุตรนัน้ ไปท่ีไหนเลา ? คณุ แม. มารดาพระสุนทรสมุทร. บวชใน (สาํ นัก ) ภิกษทุ ัง้ หลาย. หญงิ แพศยา. การใหทา นสกึ เสยี ไมค วรหรือ ? มารดาพระสุนทรสมุทร. ควร แตเ ธอไมป รารถนา, เธอออกจากกรงุ สาวัตถีน้ี ไปสกู รุงราชคฤห. หญงิ แพศยา. ถา ดฉิ ันพึงใหท านสกึ ไดไ ซร, คณุ แมพงึ ทาํ อะไร ?แกดิฉัน. มารดาพระสนุ ทรสมุทร. พวกฉันพงึ ทาํ เจา ใหเปนเจาของแหง ขมุ -ทรพั ยตระกูลนี้. หญิงแพศยากลาววา \" ถาเชนนัน้ คุณแมจ งใหสินจา งแกด ฉิ ัน \"ถือเอาสินจางแลว ไปสูกรงุ ราชคฤหด ว ยบริวารหมูใ หญ กําหนดถนนท่ีเท่ียวบณิ ฑบาตของทานไดแลว ยึดเอาเรือนเปน ทพ่ี ักหลังหนึง่ ในทีน่ นั้๑. ความเปนผูมสี วนงามดวยสิริ.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 514ตกแตง อาหารทป่ี ระณตี ไวแตเ ชา ตรู แลวถวายภกิ ษาในเวลาพระเถระเขาไปบณิ ฑบาต โดยกาลลวงไป ๒-๓ วัน นิมนตวา \" ทานเจา ขา ขอทา นจงน่งั ในท่นี นี้ ่แี หละ ทําภตั กจิ \" แลวรับเอาบาตร. ทานไดใ หบ าตรแลว. หญิงแพศยาออกอบุ ายเกลยี้ กลอมพระเถระ ครั้งนัน้ หญิงแพศยานนั้ เลยี้ งพระเถระนนั้ ดว ยอาหารอนั ประณีตเรียนวา \" ทา นเจา ขา การเท่ยี วบิณฑบาตในที่นนี้ ่ีแหละสะดวกดี \" นมิ นตใหพระเถระนงั่ ฉนั ท่รี ะเบียง ๒-๓ วัน แลว เอาขนมเกลย้ี กลอมพวกเดก็แลวพูดวา \" พวกเจาจงมา, ในเวลาพระเถระมาแลว แมฉันหามอยู,พวกเจา พึงมาในทน่ี ี้ แลว (คยุ ) ธลุ ีใหฟ งุ ขนึ้ .\" ในวนั รุง ขึ้นเวลาพระเถระฉนั พวกเดก็ เหลาน้นั แมถูกหญงิ แพศยานั้นหามอยู ก็ (คยุ ) ธุลใี หฟงุ ข้นึ แลว . ในวนั รุงข้นึ หญงิ แพศยานั้นเรียนวา \" พวกเด็ก แมดฉิ นั หา มอยูก็ไมฟงคําของดฉิ ัน ยัง (คุย ) ธลุ ใี หฟงุ ขึน้ ในท่ีนี้ได, ขอทานจงนงั่ ภายในเรอื นเถิด\" ใหท านน่ังภายในแลว นิมนตใหฉ นั สิน้ ๒-๓ วนั , นางเกล้ยี กลอมเด็กอกี พูดวา \" พวกเจา แมถกู ฉนั หา มอยู พงึ ทําเสียงอึกทกึในเวลาพระเถระฉนั .\" เด็กเหลาน้นั ทาํ อยางนน้ั แลว . ในวนั รุง ข้ึน นางกลา ววา \" ทา นเจาขา ในทน่ี มี้ เี สยี งอึกทึกเหลอืเกนิ , พวกเดก็ แมด ิฉันหามอยู กไ็ มเช่ือถอื ถอยคําของดิฉนั ; นมิ นตท า นน่ังเสียในปราสาทเบ้ืองบนเถดิ ,\" เม่อื พระเถระรับนมิ นตแลว , ทาํ พระเถระไวขา งหนา เม่อื จะขึ้นไปสปู ราสาท ปดประตทู ัง้ หลายเสยี จึงขนึ้ ไปสูปราสาท. พระเถระ แมเ ปนผถู อื การเที่ยวบณิ ฑบาตตามลําดบั ตรอกเปน วัตร

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 515อยางอกุ ฤษฏ ถูกความอยากในรสพัวพันแลว จงึ ขึน้ ไปสูปราสาท ๗ ช้ันตามคาํ ของนาง. หญิงแพศยาแสดงอาการ ๔๐ อยาง เกีย้ วพระเถระ นางใหพ ระเถระนั่งแลว แสดงแงงอนของหญงิ ลีลาของหญิงซึง่ มาแลวอยางน้ีวา \" เพ่อื นผมู หี นา เอิบอ่ิม ไดยินวา หญงิ ยอ มเกี้ยวชายดวยฐานะ ๔๐๑ อยาง คือ : สะบัดสะบงิ้ ๑ กมลง ๑ กรดี กราย ๑ ชะมด-ชมอ ย ๑ เอาเลบ็ ดดี เล็บ ๑ เอาเทา เหยียบเทา ๑ เอาไมข ีดแผน ดิน ๑ชูเด็กขึ้น ๑ ลดเดก็ ลง ๑ เลนเอง ๑ ใหเ ดก็ เลน ๑ จบู เอง ๑ ใหเ ด็กจูบ ๑ รับประทานเอง ๑ ใหเ ด็กรับประทาน ๑ ใหข องเด็ก ๑ ขอของคนื ๑ ลอเลยี นเด็ก๒ ๑ พูดดัง ๑ พดู คอย ๑ พูดคําเปดเผย ๑ พูดลล้ี บั ๑ (ทาํ นิมติ ) ดว ยการฟอ น ดวยการขับ ดว ยการประโคม ดวยการรอ งไห ดว ยการเย้ืองกราย ดวยการแตง ตัว ๑ ซกิ ซี้ ๑ จองมองดู ๑ส่นั สะเอว ๑ ยงั ของลบั ใหไหว ๑ ถา งขา ๑ หุบเขา ๑ แสดงถัน ๑แสดงรักแร ๑ แสดงสะดือ ๑ ขยิบตา ๑ ยกั ค้ิว ๑ แมม ริมฝปาก ๑แลบล้ิน ๑ เปลื้องผา ๑ นุง ผา ๑ สยายผม ๑ เกลา ผม ๑\" ยืนขา งหนา ของพระเถระนัน้ แลวกลาวคาถาน้ีวา :- \" หญิงแพศยาผูมเี ทา ยอ มแลว ดว ยน้ําครง่ั สวม เขียงเทา (กลา วแลววา) แมทานกเ็ ปน ชายหนมุ สาํ หรับดิฉนั และแมดิฉันกเ็ ปน หญิงสาวสําหรบั ทาน, แมเ ราทง้ั สองแกแลว มไี มเทากรานไปขางหนาจงึ จักบวช.\"๑. มาในอฏั ฐกถาชาดก ๘/๒๖๑ กุณาลชาดก. ๒. กตมนกุ โรติ ยอมทาํ ตามซึ่งกรรมอันเด็กทําแลว .

พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 516พระเถระชนะหญงิ แพศยาเพราะอาศยั พระศาสดาครัง้ นั้น ความสังเวชใหญไดเ กดิ ข้นึ แกพระเถระวา \" โอหนอ !กรรมทเ่ี ราไมใครค รวญแลว ทํา หนัก.\" ในขณะน้นั พระศาสดาประทับนั่งอยใู นพระเชตวนั ณ ท่ไี กลประมาณ ๔๕ โยชนน น่ั แล ทรงเห็นเหตุนั้นแลวไดท รงทาํ ความยิม้ แยมใหปรากฏ.ลําดบั นัน้ พระอานนทเถระทูลถามพระองควา \" พระเจาขา อะไรหนอแล ? เปนเหตุ, อะไร ? เปน ปจ จัย แหง การทรงทําความยิม้ แยม ใหปรากฏ.พระศาสดาตรสั วา . อานนท สงครามของภกิ ษชุ อ่ื สุนทรสมทุ รและของหญิงแพศยา กําลังเปน ไปอยู บนพ้นื ปราสาท ๗ ชั้น ในกรุงราชคฤห.พระอานนททูลถามวา พระเจาขา ความชนะจกั มีแกใครหนอแล ?ความปราชัยจักมแี กใ คร ?พระศาสดาตรัสวา \" อานนท ความชนะจักมีแกส ุนทรสมุทร, ความปราชัยจักมแี กหญิงแพศยา\" ดังนี้แลว ทรงประกาศความชนะของพระ-เถระ ประทับนงั่ ในพระเชตวนั นน้ั นัน่ เอง ทรงแผพระรศั มีไป ตรสั วา\" ภิกษุ เธอจงหมดอาลยั ละกามแมท ั้งสองเสยี \" ดังนี้แลว ตรสั พระ-คาถานว้ี า :-๓๒. โยธ กาเม ปหนตฺ วฺ าน อนาคาโร ปรพิ ฺพเชกามภวปริกขฺ ณี  ตมห พฺรูมิ พฺราหฺมณ . \" บุคคลใด ละกามท้ังหลายในโลกนีแ้ ลว เปนผไู มม ีเรอื น งดเวน เสียได, เราเรยี กบุคคลน้นั ผูม ีกามและภพสนิ้ แลววา เปน พราหมณ. \"

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 517 แกอ รรถ พงึ ทราบเน้อื ความแหง พระคาถานัน้ (ดงั นี้) :- ความวา บุคคลใด ละกามแมทั้งสองในโลกนีแ้ ลว เปนผูไมมีเรือน งดเวน เสียได, เราเรยี กผนู ั้น ผูมีกามสิน้ แลว และผมู ีภพส้ินแลววา เปนพราหมณ. ในกาลจบเทศนา พระเถระบรรลุพระอรหตั แลว เหาะขนึ้ ไปสูเ วหาสดวยกําลังแหง ฤทธิ์ ทะลมุ ณฑลชอฟาออกไปแลว ชมเชยพระสรรี ะพระศาสดาอยูน่ันเทยี ว มาถวายบังคมพระศาสดาแลว . พระศาสดาเปนที่พงึ่ ของพระเถระ ภิกษทุ ั้งหลาย สนทนากนั แมในโรงธรรมวา \" ผมู อี ายุท้ังหลายพระสนุ ทรสมุทรเถระ อาศยั รสท่ีพึงรูดว ยล้ิน เกือบเสียทา . แตพ ระศาสดาเปนทพ่ี ่งึ ของเธอ.\" พระศาสดาทรงสดบั กถาน้ันแลว ตรสั วา \" ภิกษทุ ง้ั หลาย เราเปนทพ่ี งึ่ ของสนุ ทรสมุทรนั่น แตในบัดนี้เทาน้นั หามิได, แมใ นกาลกอ น เราก็เปนทพี่ ่ึงของสนุ ทรสมุทรนนั่ ผูตดิ อยใู นรสตัณหาแลว เหมอื นกนั \" อันภิกษเุ หลานั้นทลู ออ นวอนแลว ทรงนาํ อดีตนิทานมา เพ่ือจะทรงประกาศเน้อื ความนนั้ ทรงยังวาตมิคชาดก๑นีใ้ หพ สิ ดารวา :- \" ไดยนิ วา สภาพอนื่ ทีเ่ ลวกวา รสทั้งหลาย คือ การเคยชินกนั หรือการสนิมสนมกัน ยอมไมม ,ี คนรักษาอทุ ยานช่ือสญชยั ยอ มนาํ เน้ือสมนั ตัวอาศัย อยใู นรกชฏั มาสูอ าํ นาจได ก็เพราะรสท้ังหลาย.\"๑. ข.ุ ชา. เอก. ๒๗/๕. อรรถกถา. ๑/๒๗๗.

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 518 ดังน้ีแลว ทรงประมวลชาดกวา \" ในกาลน้ัน สุนทรสมทุ รไดเปนเนอื้ สมนั , สวนมหาอํามาตยของพระราชาผูกลาวคาถานี้แลว ใหปลอยเน้ือนั้นไป ไดเ ปน เรานี้เอง.\" เรอื่ งพระสนุ ทรสมุทรเถระ จบ.

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 519 ๓๓.เรือ่ งพระโชติกเถระ [๒๙๖] ขอความเบอื้ งตน พระศาสดา เมือ่ ประทับอยูในพระเวฬวุ ัน ทรงปรารภพระโชตกิ -เถระ ตรสั พระธรรมเทศนานว้ี า \" โยธ ตณฺห  \" เปน ตน . บุรพกรรมของสองพีน่ องอนุปุพพกี ถาในเร่อื งนัน้ ดงั ตอไปน้ี :- ไดยนิ วา ในอดีตกาล กฎุ มพี ๒ คนพีน่ อ งในกรงุ พาราณสียงั ชนใหท าํ ไรออ ยไวเปน อนั มาก. ตอ มาวันหนงึ่ นอ งชายไปยังไรอ อย คดิ วา \" เราจกั ใหอ อ ยลําหนงึ่แกพ ชี่ าย ลาํ หนึ่งจักเปน ของเรา\" แลว ผูกลําออยทั้งสองลําในท่ี ๆ ตดัแลว เพอื่ ตอ งการไมใ หรสไหลออก ถอื เอาแลว . ไดย นิ วา ในครง้ั นนั้ กจิ ดวยการหีบออยดว ยเครือ่ งยนต ไมม ีในเวลาออ ยลําท่เี ขาตัดท่ีปลายหรอื ทีโ่ คนแลว ยกข้นึ รส (ออ ย) ยอ มไหลออกเองทีเดียว เหมือนนาํ้ ไหลออกจากธมกรกฉะน้ัน. กใ็ นเวลาทเี่ ขาถือเอาลําออยจากไรเ ดนิ มา พระปจ เจกพทุ ธเจา ทภี่ ูเขาคนั ธมาทนอ อกจากสมาบัตแิ ลว ใครครวญวา \" วันนี้ เราจกั ทําการอนุเคราะหแ กใครหนอแล ?\" เหน็ เขาเขาไปในขายคอื ญาณของตน และทราบความที่เขาเปนผูสามารถเพือ่ จะทาํ การสงเคราะหได จึงถือบาตรและจวี รแลว มาดวยฤทธ์ิไดย ืนอยูขางหนา ของเขา. นอ งชาวถวายออยแกพ ระปจ เจกพทุ ธเจา เขาพอเห็นพระปจเจกพุทธเจานน้ั กม็ จี ิตเลอ่ื มใส จงึ ลาดผา หม

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 520บนภมู ิประเทศท่ีสูงกวา แลวนมิ นตใ หพ ระปจเจกพุทธเจานง่ั ดว ยคําวา\" นมิ นตน่ังทีน่ ้ี ขอรับ\" แลว กก็ ลา ววา \" ขอทานจงนอ มบาตรมาเถิด\"ไดแ กที่ผูกลําออ ย วางไวเ บอ้ื งบนบาตร. รสไหลลงเตม็ บาตรแลว. เมอื่พระปจเจกพทุ ธเจาดมื่ รส (ออ ย) นนั้ แลว, เขาคดิ วา \" ดจี รงิ พระผเู ปนเจาของเราดืม่ รส (ออ ย) แลว , ถาพชี่ ายของเราจกั ใหน าํ มูลคา มา, เรากจ็ กัใหม ูลคา; ถาจักใหเ รานาสว นบุญมา, เรากจ็ กั ใหส ว นบุญ\" แลว กลาววา\" นิมนตท านนอมบาตรเขามาเถิด ขอรับ\" แลวไดแ กล ําออยแมท่ี ๒ถวายรส. นยั วา เขามไิ ดม ีความคิดทจ่ี ะลวงแมม ปี ระมาณเทาน้วี า \" พ่ชี ายของเราจักนําออ ยลําอืน่ จากไรอ อ ยมาเคย้ี วกนิ \" สวนพระปจ เจกพุทธเจา เปน ผูใครจ ะแบงรสออยลาํ นน้ั กบั ดว ยพระปจเจกพุทธเจาเหลาอื่น เพราะความที่ตนดืม่ รสออ ยลําแรกนั้น จึงรบั ไวเ ทานั้น แลวกน็ ่งั อยู. เขาทราบอาการของทานแลว จึงไหวด วยเบญจางคประดษิ ฐ ตง้ั ความปรารถนาวา \" ทา นขอรับ รสอนั เลิศน้ใี ด ท่ีกระผมถวายแลว, ดว ยผลแหงรสอนั เลิศน้ีกระผมพงึ เสวยสมบัติในเทวโลกและมนษุ ยโลก ในท่ีสดุ พึงบรรลธุ รรมท่ีทา นบรรลแุ ลว นนั่ แล.\" แมพระปจ เจกพุทะเจา กก็ ลา ววา \" ขอความปรารถนาท่ีทา นตง้ั ไวแ ลว จงสําเรจ็ อยา งนัน้ \" แลว ทําอนโุ มทนาแกเ ขาดว ย ๒ คาถาวา \" อจิ ฉฺ ติ  ปตฺถิต ตุยหฺ  \" เปนตน, แลวก็อธษิ ฐานโดยประการท่ีเขาจะเห็นได แลวเหาะไปสูเขาคันธมาทนโ ดยทางอากาศแลวไดถวายรส (ออ ย) แกพ ระปจ เจกพุทธเจา ๕๐๐ รูป. เขาเห็นปาฏิหารยิ น้ันแลว ไปสูสาํ นกั พี่ชาย, เธอพี่ชายถามวา \" เจาไปไหน ?\" จงึ บอกวา\" ฉนั ไปตรวจดูไรออ ย \" ถกู พช่ี ายกลาววา \" จะมปี ระโยชนอะไรดวยคน

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 521อยางเจาไปไรออย, เจาควรจะถือเอาลําออยมา ๑ ลาํ หรือ ๒ ลํามใิ ชหรอื ?\" กลาววา \" พี่ ถกู ละ, ฉนั ถอื เอาออยมา ๒ ลาํ , แตฉ นั เหน็พระปจเจกพทุ ธเจาองคหนึ่ง จงึ ถวายรสแตล าํ ออ ยของฉนั แลวถวายรสแตลําออ ยแมข องพ่ี ดวยคิดวา เราจกั ใหมลู คา หรอื สว นบุญ;' พ่ีจักรบั เอามลู คา ออ ยน้ันหรือจกั รบั เอาสว นบญุ ? \" พ่ชี าย. ก็พระปจ เจกพทุ ธเจา ทาํ อะไร ? นองชาย. ทานดื่มรสจากลําออยของฉนั แลว ก็ถือเอารสจากลําออยของพไ่ี ปสเู ขาคนั ธมาทนโ ดยอากาศ แลว ไดใหแกพ ระปจ เจกพทุ ธเจา๕๐๐ รปู . พช่ี ายเล่อื มใสขออนโุ มทนาสวนบุญ พ่ีชายนั้น เมื่อเขากาํ ลงั กลา วอยนู ้นั แหละ, เปน ผมู สี รรี ะอนั ปติถูกตอ งแลว หาระหวา งมไิ ด ไดทําความปรารถนาวา \" การบรรลธุ รรมท่ีพระปจ เจกพทุ ธเจานนั้ เห็นแลวน่ันแหละ พงึ มีแกเรา.\" นอ งชายปรารถนาสมบตั ิ ๓ อยา ง สวนพ่ีชายปรารถนาพระอรหัต ดวยประการฉะนี้. นเ้ี ปนบรุ พกรรมของชนท้งั สองนัน้ . สองพ่นี อ งไดเ กิดรว มกันอกี ในชาตติ อมา ชนทั้งสองน้นั ดาํ รงอยูต ลอดอายุแลว เคลื่อนจากอัตภาพนน้ั แลวบงั เกิดในเทวโลก ยงั พุทธันดรหนงึ่ ใหสิ้นไป. ในเวลาชนทัง้ สองนั้นไปเทวโลกนั่นแหละ พระสมั มาสัมพุทธเจา ทรงพระนามวาวิปสสเี สด็จอุบัติขึ้นแลวในโลก. พนี่ อ งทั้งสองแมน้นั เคลอื่ นจากเทวโลกแลว , ผูพ ช่ี ายก็คงเปนพี่ชาย ผนู องชายกค็ งเปนนอ งชาย ถือปฏิสนธิในเรือนแหง ตระกลู หน่งึในพันธมุ ดนี คร.

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 522 บรรดาเดก็ ท้งั สองน้ัน มารดาบดิ าไดต้ังช่ือของผพู ีช่ ายวา \" เสนาะ\"ของผูนองชายวา \" อปราชิต.\" เมอ่ื พ่ีนองทั้งสองน้ัน กําลังรวบรวมขมุ ทรพั ยอ ยู ในเวลาเตบิ โตแลว,๑ เสนกฎุ มพี ไดฟ ง การปาวรอ งในพนั ธุมดนี ครของอุบาสกผูโ ฆษณาธรรมวา \" พทุ ธรัตนะเกิดขึ้นแลว ในโลก, ธรรมรตั นะเกิดขึ้นแลวในโลก, สงั ฆรตั นะเกิดขนึ้ แลว ในโลก,พวกทานจงใหท านทั้งหลาย จงทาํ บุญทั้งหลาย วนั นเ้ี ปนดถิ ีที่ ๑๔วนั นี้เปนดถิ ที ่ี ๑๕, พวกทานจงทําอโุ บสถ จงฟง ธรรม\" เห็นมหาชนถวายทานในกาลกอนภัตแลว ไปเพอื่ ฟง ธรรมในกาลภายหลงั ภตั จึงถามวา\" พวกทา นจะไปไหน ? เม่ือมหาชนบอกวา \" พวกฉนั จะไปสูส ํานักพระศาสดา เพ่ือฟง ธรรม.\" จงึ พดู วา \" แมฉ ันกจ็ กั ไป \" แลวก็ไปพรอ มกับชนเหลา น้ันทเี ดียว นั่งแลว ในทสี่ ดุ บริษัท. พระศาสดาทรงทราบอธั ยาศัยของเขา จงึ ตรัสอนปุ พุ พีกถา. เขาฟงธรรมของพระศาสดาแลว เกดิ ความอุตสาหะในบรรพชา จงึ ทลู ขอบรรพชากะพระศาสดา. ลาํ ดบั นนั้ พระศาสดาตรสั ถามเขาวา \" กพ็ วกญาติทท่ี านจะพึงอาํ ลามไี หม ?\" เสนกุฎมพ.ี มี พระเจา ขา . พระศาสดา. ถา อยา งนั้น ทา นไปอําลา แลวจงมา.พชี่ ายลานอ งชายออกบวชแลวไดบรรลพุ ระอรหตั เขาไปสสู ํานักของนองชายแลว กลาววา \" ทรพั ยส มบตั ใิ ด มอี ยูในตระกูลน้ี ทรัพยส มบตั นิ ั้นทง้ั หมด จงเปนของเจา .\"๑. หมายความวา ไดต ัง้ หลักฐานในการครองเรอื นแลว .

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 523 นอ งชาย. กพ็ ี่เลา ? ขอรบั . เสนกุฎมพ.ี ฉนั จักบวชในสาํ นักของพระศาสดา. นอ งชาย. พพี่ ูดอะไร ? ฉันเมอื่ มารดาตายแลว กไ็ ดพ ี่เปน เหมือนมารดา, เม่อื บดิ าตายแลว ก็ไดพเ่ี ปนเหมอื นบดิ า; ตระกลู นก้ี ็มีโภคะมาก,พ่ีดํารงอยูใ นเรือนนีแ่ หละ กส็ ามารถจะทาํ บุญได. พี่อยาทําอยางน้นั . เสนกุฎม พี. ฉันฟง ธรรมในสาํ นักของพระศาสดาแลว , ฉันดาํ รงอยใู นทามกลางเรือน ไมอ าจบาํ เพญ็ ธรรมน้ันได; ฉันจักบวชใหไ ด,เจาจงกลับ. เขายงั นองชายใหกลับไปดว ยอาการอยางน้ันแลว ไดบรรพชาอปุ สมบทในสํานักพระศาสดาแลว ตอกาลไมนานนัก ก็บรรลุพระอรหัต. ฝา ยนองชาย คดิ วา \" เราจกั ทาํ สักการะแกบรรพชิตผูพ ี่ชาย\" จึงถวายทานแกภ ิกษุสงฆม พี ระพุทธเจาเปน ประมุขสน้ิ ๗ วัน ไหวพ ช่ี ายแลวกลา ววา \" ทา นขอรับ ทานทาการสลดั ออกจากภพแหง ตนไดแ ลว , สว นกระผม ยงั เปน ผพู ัวพันดวยกามคุณ ๕,๑ ไมอ าจออกบวชได, ขอทานจงบอกบุญกรรมอันใหญที่สมควร แกกระผมผูดาํ รงอยูใ นเรอื นนีแ่ หละ.\" ลําดับน้นั พระเถระกลาวกะนอ งชายน้ันวา \" ดลี ะ เจา ผูเปนบัณฑิต เจา จงให สรางพระคันธกฎุ ี สาํ หรบั พระศาสดา.\" นองชายสรางพระคันธกุฎถี วายพระศาสดา นองชายน้นั รับวา \"สาธ\"ุ แลว ยังชนใหนําไมตา ง ๆ มาแลว ใหถากเพ่อื ประโยชนแ กทพั สัมภาระทั้งหลายมเี สาเปนตน ใหทําเสาท้ังหมดใหขจิตดวยแกว ๗ ประการ คือตนหนึ่งขจิตดวยทองคํา ตน หน่งึ ขจิต๑. คอื รูป เสยี ง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันนาใคร.

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 524ดวยเงิน ตนหนึ่งขจติ ดวยแกวมณเี ปน ตน แลว ใหส รา งพระคันธกุฎีดวยเสาเหลานนั้ ใหมุงดว ยกระเบ้อื งสาํ หรับมุงอันขจิตดว ยแกว ๗ ประการเหมอื นกนั . กใ็ นเวลาสรา งพระคันธกุฎีนั้นแล หลานชายชื่ออปราชติ ผูมีชื่อเหมือนกับคนนน่ั แล เขา ไปหาอปราชิตกฎุ มพีนั้นแลว กลาววา \" แมฉนักจ็ กั สรา ง, ทานจงใหส วนบุญแกฉ นั เถิด ลงุ \" เขากลาววา \" พอ ฉนัไมให, ฉันจักสรางไมใ หทวั่ ไปดว ยชนเหลาอน่ื . \" หลานชายน้ัน ออนวอนแมเปนอันมาก เมอื่ ไมไดส ว นบญุ จงึ คดิวา \" การที่เราไดก ุญชรศาลาขางหนา พระคนั ธกฎุ ี ยอมควร\" ดงั นีแ้ ลวจงึ ใหส รา งกญุ ชรศาลา๑ที่สาํ เร็จดว ยแกว ๙ ประการ. เขาเกดิ เปน เมณฑก-เศรษฐใี นพทุ ธปุ บาทกาลน.ี้ กบ็ านหนาตา งใหญ ๓ บาน ทส่ี ําเรจ็ ดวยแกว ๗ ประการ ไดม ีแลว ในพระคันธกฎุ .ี อปราชติ คฤหบดีใหส รา งสระโบกขรณี ๓ สระ ท่ีโบกดว ยปูนขาว ณ ภายใตท่ีตรงบานหนา ตางเหลา นัน้ ใหเต็มดว ยนา้ํ หอมอนั เกิดแตช าติทัง้ ๔๒ แลว ใหปลูกดอกไม ๕๓ สี, ใหย อ ยบรรดาแกว ๗ประการ แกว ท่ีควรแกความเปนของทจ่ี ะพึงยอ ยไดแ ลวถือเอาแกวนอกน้ีท้งั หมดทีเดยี ว โปรยรอบพระคนั ธกฎุ ีโดยถองแถวเพยี งเขา ยงั บริเวณใหเต็มแลว .๑. ศาลามีรปู คลา ยชาง. ๒. กุงกฺ มุ  หญา ฝรั่น ๑. ยวนปุปฺผ ดอกไมเ กิดในยวน-ประเทศ ๑. ตคร กฤษณา ๑. ตรุ กุ โฺ ข กํายาน ๑. ๓. เบอ้ื งหนาแตนี้ คาํ พูดอยา งน้ีปรากฏโดยมาก. เพ่อื จะโปรยพระสรีระดวยสายแหงเกสรทงั้ หลาย อันต้ังขึน้ แลวดวยกาํ ลังลมในกาลแหง พระตถาคตประทับน่ังภายในแลว กระเบ้อื งท่ียอดพระคันธกฎุ ี ไดส าํ เร็จดวยทองคําอันสกุ ปลัง่ . หาง (กระเบ้ือง) สาํ เร็จดวยแกวประพาฬตอนลา ง กระเบ้ืองมงุ สาํ เรจ็ ดวยแกว มณ.ีพระคันธกุฎนี นั้ ไดตง้ั อยงู ดงามดุจนกยูงลาํ แพน ดวยประการฉะน้ี.

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 525 คฤหบดีชอ่ื อปราชิต ยังพระคนั กุฎีใหสําเรจ็ ดว ยอาการอยางนนั้ แลวจงึ เขาไปหาพระเถระผูพชี่ าย เรียนวา \" ทา นขอรับ พระคันธกุฎีสําเร็จแลว. กระผมหวงั การใชส อยพระคนั ธกุฎีนน้ั , ไดยนิ วา บุญเปน อนั มากยอมมเี พราะการใชสอย.\" พระเถระนนั้ เขา ไปเฝาพระศาสดากราบทลู วา \"พระเจาขา ทราบวา กุฎม พีผูนีใ้ หสรา งพระคันธกุฎเี พ่ือพระองค, บัดน้เี ธอหวังการใชสอย.\" พระศาสดาเสดจ็ ลกุ จากอาสนะแลว เสดจ็ ไปสูทีเ่ ฉพาะหนาพระ-คันธกฎุ ี ทอดพระเนตรกองรัตนะท่ีเขากองลอ มรอบพระคนั ธกฎุ ี ไดประทบั ยนื อยแู ลวท่ีซุม แหงประต๑ู , กเ็ มอื่ กฎุ ม พีน้ันกราบทลู วา \" พระเจา -ขา การรกั ษาจักมีแกขา พระองคเอง, ขอพระองคจงเสดจ็ เขา ไปเถดิ .\"พระศาสดาเสดจ็ เขา ไปแลว. เขาตงั้ การรักษารัตนะทีโ่ ปรยไวร อบพระคนั ธกุฎี แมกฎุ ม พกี ต็ ั้งการรักษาไวโดยรอบ ส่งั มนษุ ยท ้ังหลายไวว า \" พอ๑. เบือ้ งหนาแตน้ี คําพูดอยางนี้ ปรากฏโดยมาก: ลาํ ดับนัน้ กฏุ ม พีกราบทลู พระองควา\" ขอพระองคโปรดเสด็จเขาไปเถดิ พระเจาขา \" พระศาสดาประทับยืนอยู ณ ทีน่ น้ั นน่ั แล ทอดพระเนตรดพู ระเถระพ่ีชายของกุฏม พีน้ันถงึ ๓ ครัง้ , พระเถระทราบดวยอาการท่พี ระองคทอดพระเนตรแลว น่ันแล กลาวกะนอ งชายวา \" มาเถดิ พอ เธอจงทลู พระศาสดาวา การรักษาจกั มีแกข า พระองคเอง ขอเชิญพระองคประทับอยตู ามสบายเถิด\" เขาฟงคําพระเถระแลว ถวายบงั คมพระศาสดาดวยเบญจางคประดิษฐ กราบทลู วา \"พระเจา ขา พวกมนุษยเ ขาไปท่โี คนไมแ ลวไมมคี วามเย่อื ใยหลีกไปฉนั ใด, อนง่ึ พวกมนษุ ยขา มแมนา้ํ ไมม คี วามเย่อื ใย สละพวงแพเสียไดฉนั ใด, ขอพระองคท รงเปนผูไมความความเย่อื ใยฉนั น้ัน ประทบั อยเู ถดิ .\" ก็พระศาสดาประทบั ยนือยูเพื่ออะไร ๆ ไดยินวา พระองคท รงมีพระปรวิ ิตกอยางนว้ี า \"ชนเปน อันมาก ยอมมาสูสาํ นกัของพระพทุ ธเจาท้ังหลาย ในเวลากอ นภัตบาง ในเวลาหลงั ภตั บาง เม่ือชนเหลานั้นถอื เอารตั นะทัง้ หลายไปอยู, พวกเราไมอาจหา มได กุฎมพพี งึ ติเตยี นวา ' เมอื่ รัตนะประมาณเทา น้เี ราโปรยลงแลวทีบ่ รเิ วณ, พระศาสดาไมห า มปรามอุปฏ ฐากของพระองค แมผนู ํา (รัตนะ) ไปอยู ดงั นแี้ ลวทาํ ความอาฆาตในเรา พงึ เปน ผเู ขา ถงึ อบาย ' เพราะเหตุน้ี พระศาสดาจึงไดประทบั ยนื อยูแลว .

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 526พวกเธอจงหา มชนทั้งหลายผูถ อื เอา (รัตนะ) ดวยพก หรอื ดวยกระเชาและกระสอบไป, แตอ ยา หา มชนผูถ ือเอาดว ยมอื ไป.\" แมในภายในนครกใ็ หบ อกวา \" รตั นะ ๗ ประการ อนั เราโปรยลงแลวที่บริเวณพระคันธกุฎ,ีมนุษยเ ขญ็ ใจทงั้ หลายผฟู ง ธรรมในสํานกั พระศาสดาแลวไป จงถอื เอาเตม็มือท้งั สอง, มนษุ ยท้งั หลายแมถ งึ สขุ แลวก็จงถอื เอาดวยมือเดียว.\" ไดยินวา เขาไดม ีความคดิ อยางนว้ี า \" ชนท้ังหลายผมู ีศรทั ธาประสงคจะฟง ธรรมกอนจึงจกั ไปทีเดยี ว, สว นผไู มมศี รัทธา ไปดว ยความโลภในทรัพย ฟง ธรรมแลว ก็จกั พน จากทกุ ขได;\" เพราะเหตนุ ั้น เขาจงึใหบ อกอยา งนน้ั เพอื่ ตองการจะสงเคราะหชน. มหาชน ถือเอารัตนะทงั้ หลายตามกําหนดทเ่ี ขาบอกแลวนั่นแล. เมอื่รตั นะที่เขาโปรยลงไวค ราวเดยี ว หมดแลว เขาจงึ ใหโ ปรยลงเร่อื ย ๆ โดยถอ งแถวเพยี งเขา ถึง ๓ คร้ัง. อนึง่ เขาวางแกว มณีอันหาคามิไดป ระมาณเทา ผลแตงโม แทบบาทมลู ของพระศาสดา. ไดยินวา เขาไดม คี วามคิดอยางน้วี า \" ชอื่ วา ความอิ่ม จักไมม ีแกช นทัง้ หลายผูแ ลดูรัศมแี หง แกวมณี พรอ มดวยพระรศั มอี ันมสี ดี ุจทองคําแตพระสรีระของพระศาสดา;\" เพราะฉะน้ัน เขาจึงไดทําอยางน้ัน. แมมหาชนกแ็ ลดูไมอ มิ่ เลย. พราหมณม จิ ฉาทฏิ ฐิลักแกว มณี ตอ มาวนั หนึง่ พราหมณมิจฉาทฏิ ฐคิ นหนงึ่ คิดวา \" ไดยนิ วาแกว มณที ม่ี คี า มาก อนั กฎุ มพนี นั้ วางไวแทบบาทมลู ของพระศาสดา, เราจักลกั แกว มณีน้นั \" จึงไปสวู ิหาร เขาไปโดยระหวา งมหาชนผมู าแลว เพอ่ืจะถวายบงั คมพระศาสดา.

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 527 กฎุ มพีกาํ หนดไววา \" พราหมณน้ี มปี ระสงคจ ะถอื เอาแกว มณ\"ีดว ยอาการแหง การเขาไปแหงพราหมณน นั้ นน่ั แล คิดวา \" โอหนอ !พราหมณไมค วรถอื เอา.\" แมพ ราหมณน ้นั วางมอื ไวแ ทบบาทมลู คลา ยจะถวายบังคมพระ-ศาสดา ถอื เอาแกว มซี อ นไวในเกลียวผา หลีกไปแลว. กฎุ มพีไมอาจยงั จติ ใหเลอ่ื มใสในพราหมณน ั้นได. ในกาลจบธรรมกถา กุฏมพีน้นั เขา ไปเฝา พระศาสดา กราบทลู วา\" พระเจาขา รัตนะ ๗ ประการอนั ขาพระองคโ ปรยลอมรอบพระคันธกฎุ ีส้ิน ๓ คร้งั โดยถอ งแถวเพียงเขา , เมื่อชนท้ังหลายถือเอารัตนะเหลา นนั้ขน้ึ ชอื่ วา ความอาฆาตมไิ ดม ีแลว แกขาพระองค, จิตย่ิงเลอื่ มใสขึ้นเรอื่ ย ๆ,แตวันนี้ ขาพระองคคิดวา \" โอหนอ ! พราหมณน ี้ ไมควรถือเอาแกว มณ,ี \" เม่ือพราหมณนน้ั ถอื เอาแกวมณไี ปแลว , จงึ ไมอ าจยังจติ ใหเลื่อมใสได.\" พระศาสดาทรงสดับคําของกฎุ มพนี นั้ แลว ตรสั วา \" อุบาสก ทา นไมอาจเพอื่ จะทําของมอี ยูของตน ใหเปน ของอนั ชนเหลา อืน่ พงึ นาํ ไปไมไดมใิ ชห รอื ?\" ดงั น้ีแลว ไดป ระทานนยั แลว . กุฎมพีน้นั ดํารงอยูใ นนัยที่พระศาสดาประทานแลว ถวายบงั คมพระศาสดา ไดท ําการปรารถนาวา \" พระเจา ขา พระราชาหรือโจรแมหลายรอย ชือ่ วาสามารถเพื่อจะขมเหงขา พระองค ถอื เอาแมเสน ดา ยแหงชายผา อันเปนของขาพระองค จงอยามี นบั แตว นั น้ีเปน ตน ไป, แมไฟก็อยา ไหมของ ๆ ขาพระองค, แมน้ําก็อยาพัด.\"

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 528 แมพ ระศาสดา กไ็ ดท รงทาํ อนุโมทนาแกก ุฎม พีนั้นวา \" ขอความปรารถนาทท่ี านปรารถนาอยางนนั้ จงสาํ เร็จ.\" กฎุ ม พนี ัน้ เมอ่ื ทาํ การฉลองพระคันธกุฎี ถวายมหาทานแกภิกษุ ๖๘แสน ในภายในวหิ ารน่นั แหละ ตลอด ๙ เดือน ในกาลเปนท่ีสุด ไดถวายไตรจวี รแกภ ิกษทุ ุกรปู . ผาสาฎกสําหรับทําจีวรของภิกษุผูใหมในสงฆไดมีคา ถงึ พนั หน่งึ . อปราชติ กุฎม พีเกดิ เปน โชตกิ เศรษฐี กฎุ ม พีน้นั ทําบุญท้ังหลายจนตลอดอายุอยางนั้นแลว เคล่ือนจากอตั ภาพนน้ั บงั เกิดในเทวโลก ทองเทย่ี วไปในเทวโลกและมนษุ ยโลกตลอดกาลประมาณเทา น้ัน ในพทุ ธุปบาทกาลน้ี ถอื ปฏิสนธิในตระกูลเศรษฐตี ระกูลหนึง่ ในกรุงราชคฤห อยูในทองของมารดาตลอด ๙ เดือนครึ่ง. กใ็ นวนั ทีก่ ุฎม พนี น้ั เกดิ สรรพอาวธุ ทง้ั หลายในพระนครทัง้ ส้ินรุงโรจนแ ลว. แมอาภรณทง้ั หลายทสี่ วมกายของชนทงั้ ปวง* เปน ราวกะวารุง โรจน เปลง รัศมีออกแลว . พระนครไดรุงโรจนเ ปนอนั เดยี วกนั . แมเศรษฐกี ็ไดไปสทู บี่ าํ รุงพระราชาแตเ ชา ตร.ู ครั้งนั้น พระราชาตรัสถามเศรษฐนี ั้นวา \" วนั นี้สรรพอาวธุ ท้งั หลายรุง โรจนแลว , พระนครก็รงุ โรจนเปนอนั เดียวกัน; ทานรูเหตใุ นเรอื่ งนี้ไหม ?\" เศรษฐ.ี ขา แตสมมตเิ ทพ ขาพระองคทราบ. พระราชา. เหตุอะไร ? เศรษฐี.๑.กายารฬุ ฺหา อนั ขน้ึ แลว สกู าย.

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 529 เศรษฐ.ี ทาสของพระองคเกิดในเรือนของขาพระองค, ความรงุ โรจนน ั้น ไดมีแลว ดวยเดชแหง บุญของเขาน่ันแหละ. พระราชา. เขาจกั เปนโจรกระมงั ? เศรษฐ.ี ขา แตส มมติเทพ ขอ น้ันไมมี, สัตวม ีบญุ ไดทาํ อภนิ หิ ารไวแลว . พระราชาทรงตัง้ ทรัพยคาเลี้ยงดูวนั ละพัน ดว ยพระดํารัสวา \" ถากระนน้ั เธอเล้ียงเขาไวใ หดจี งึ จะควร, นีจ้ งเปน คานํ้านมสําหรบั เขา.\"คร้นั ในวนั เปน ทีต่ ั้งช่อื ชนทงั้ หลายจึงตง้ั ช่ือของเขาวา \" โชติกะ\" น่ันแหละ เพราะพระนครท้ังส้ินรุงโรจนเ ปน อันเดียวกนั . ตอ มา ในเวลาทเี่ ขาเติบโตแลว เมอื่ ภาคพ้ืนอันเขาลงชําระอยู เพ่ือตอ งการปลกู เรอื น ภพของทาวสักกะแสดงอาการรอ นแลว . ทาวสักกะเสด็จมานริ มิตสมบัติใหโ ชติเศรษฐี ทา วสักกะทรงใครค รวญดวู า \" น้ีเหตุอะไรหนอแล ?\" ทรงทราบวา \" ชนทง้ั หลายกาํ ลังจบั จองทป่ี ลูกเรือนเพอ่ื โชตกิ ะ\" ทรงดาํ ริวา \" โชติกะน้ี จกั ไมอ ยใู นเรอื นทช่ี นเหลา นน่ั ทําแลว , การที่เราไปในทน่ี ัน้ ควร\"แลว เสด็จไปทีน่ น้ั ดวยเพศแหง นายชา งไม ตรสั วา \" พวกทา นทําอะไรกัน ?\" เหลาชน. พวกฉันจบั จองทปี่ ลูกเรอื น สาํ หรบั โชตกิ ะ. ทา วสกั กะตรัสวา \" พวกทา นจงหลีกไป, โชติกะน้ีจักไมอ ยูในเรอื นที่พวกทานปลูก\" แลวทอดพระเนตรดูภูมปิ ระเทศประมาณ ๑๖ กรสี .ภมู ปิ ระเทศนั้น ไดเ ปนทสี่ มา่ํ เสมอในทนั ใดนน้ั น่ันเอง ดุจวงกสิณ. ทาวเธอทรงดาํ รอิ กี วา \" ขอปราสาท ๗ ช้นั สําเร็จดวยแกว ๗ ประการ จง

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 530ชาํ แรกแผนดนิ ผดุ ขน้ึ ณ ท่นี ้ี \" แลวทอดพระเนตรด.ู ปราสาท (เห็นปานนั้น) ผดุ ขน้ึ แลวในขณะนน้ั นั่นเอง. ทา วสักกะทรงดาํ ริอีกวา \" ขอกาํ แพง ๗ ชั้น ท่สี ําเรจ็ ดว ยแกว ๗ ประการ จงผดุ ข้ึนแวดลอมปราสาทนี\"้ แลวทอดพระเนตรดู. กําแพงเห็นปานนัน้ ผดุ ขน้ึ แลว. ครง้ั นั้นทา วเธอทรงดาํ ริวา \" ขอตนกลั ปพฤกษทัง้ หลาย จงผุดข้นึ ในทส่ี ุดรอบกาํ แพงเหลา นนั้ \" แลว ทอดพระเนตรด.ู ตนกลั ปพฤกษทง้ั หลายเห็นปานนนั้ ผดุ ข้ึนแลว. ทาวเธอทรงดาํ ริวา \" ขุมทรพั ย ๔ ขุม จงผดุ ขึ้นทม่ี ุมทั้ง ๔ แหง ปราสาท\" แลว ทอดพระเนตรด.ู ทกุ สิง่ ไดมีอยางนั้นเหมือนกัน. ก็บรรดาขมุ ทรัพยท ง้ั หลาย ขุมทรัพยข มุ หนึ่งไดมีประมาณโยชนหน่งึ , ขุมหนึง่ ไดม ปี ระมาณ ๓ คาวุต, ขุมหน่งึ ไดมปี ระมาณกึ่งโยชน,ขุมหนงึ่ ไดมปี ระมาณคาวุตหนึ่ง๑, ที่ซมุ ประตทู ั้ง ๗ ยกั ษ ๗ ตนยึดการรักษาไวแลว . ในซุมประตูท่ี ๑ ยักษชอื่ ยมโมลีพรอมดว ยยักษพนั หนงึ่ท่เี ปน บรวิ ารของตน ยดึ การรกั ษาไวแลว, ทีซ่ มุ ประตทู ่ี ๒ ยกั ษช่ืออุปปละพรอ มดว ยยักษท เี่ ปน บรวิ ารของตน ๒ พนั ยดึ การรกั ษาไวแ ลว,ท่ีซุมประตูที่ ๓ ยักษช่ือวชิระพรอ มดวยยกั ษท ีเ่ ปนบรวิ ารของตน ๓ พันยึดการรักษาไวแ ลว , ท่ซี มุ ประตูที่ ๔ ยักษช อ่ื วชิรพาหพุ รอมดว ยยกั ษที่๑. เบอื้ งหนา แตน ี้ คาํ พดู อยา งน้ี ปรากฏโดยมาก: ก็ประมาณนน่ั ไดเปน ประมาณแหง ปากขุมทรพั ยท ีเ่ กดิ ขึ้นแกพ ระโพธสิ ตั ว. เบือ้ งลา งไดม ที ีส่ ุดแผน ดิน, ประมาณขอบปากแหง ขมุ ทรัพยทเ่ี กดิ ข้นึ แกโ ชตกิ เศรษฐี ทา นมไิ ดกลา วไว. ขมุ ทรัพยท ุกขมุ เตม็ เปย มเทยี วผดุ ขึ้น เหมือนผลตาลที่เขาฝานหัวฉะนัน้ , ลําออย ๔ ลาํ เปนวกิ ารแหง ทองคาํ ประมาณเทาตนตาลรนุ ๆ เกิดข้ึนท่มี ุมปราสาททั้ง ๔. ลาํ ออยเหลา นน้ั มีใบเปนวิการแหง แกว มณี มีขอ เปนวกิ ารแหงทองคาํ .นบั วาสมบัตนิ ัน้ เกิดข้นึ แลว เพือ่ แสดงบรุ พกรรม (ของเขา).

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 531เปนบริวารของตน ๔ พนั ยึดการรักษาไวแลว, ท่ซี ุมประตูที่ ๕ ยักษชื่อสกฏะพรอมดวยยักษท เี่ ปนบรวิ ารของตน ๕ พนั ยึดการรักษาไวแลว,ที่ซุม ประตทู ี่ ๖ ยกั ษชอื่ สกฏัตถะพรอ มดว ยยกั ษทเี่ ปน บริวารของตน ๖ พันยดึ การรักษาไวแ ลว , ท่ีซุมประตทู ่ี ๗ ยกั ษช อ่ื ทสิ ามขุ ะพรอ มดวยยกั ษท่ีเปน บริวารของตน ๗ พนั ยึดการรักษาไวแลว. ทั้งภายในและภายนอกแหงปราสาท ไดม กี ารรักษาอยางมั่นคงแลว ดว ยอาการอยางนี.้พระเจาพิมพสิ ารพระราชทานฉตั รต้ังใหเ ปน เศรษฐี พระราชาทรงพระนามวา พิมพสิ าร ทรงสดบั วา \" ไดยินวา ปราสาท๗ ชน้ั ซึ่งสาํ เรจ็ ดวยแกว ๗ ประการ ผดุ ขึน้ แลว เพ่อื โชตกิ ะ, กาํ แพง๗ ชน้ั ซุม ประตู ๗ ซมุ ขมุ ทรพั ย ๔ ขมุ ก็ผดุ ข้นึ แลว (เพอื่ โชตกิ ะเหมือนกนั )\" ทรงสงฉัตรตําแหนง เศรษฐีไป (ให) แลว , เขาไดเ ปนผูช่อื วา โชตกิ เศรษฐี. ก็หญิงผมู บี ญุ กรรมอนั ทําไวแลวกบั โชตกิ เศรษฐนี น้ัเกิดแลวในอุตตรกรุ ุทวปี . ครงั้ น้นั เทพดานํานางมาจากอตุ ตรกรุ ุทวปี นั้นแลว ใหน ัง่ ในหองอนั เปน สิร.ิ หญงิ น้ันเม่อื มา ถอื เอาทะนานขา วสารทะนานหนงึ่ และแผนศิลาอนั ลกุ โพลง ๓ แผน (มา), ภตั ของชนทัง้ สองน้นั ไดม แี ลว ดวยทะนานขาวสารนน้ั น่ันเทยี ว ตลอดชีวติ . ดงั ไดสดับมา ถาชนเหลา น้ันเปน ผมู ีประสงคจ ะยงั แมเ กวยี น ๑๐๐เลมใหเ ต็มดวยขา วสาร, มันกค็ งปรากฏเปน ทะนานอันเต็มดวยขา วสารอยูน่นั เอง. ในเวลาหงุ ภตั พวกเขาใสขาวสารในหมอ แลว วางไวเ บ้ืองบน

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 532แผน ศลิ าเหลานั้น. แผนศิลาก็ลกุ โพลงขึ้นในขณะนน้ั นน่ั เอง เมือ่ ภตั สกัวาสกุ แลว ยอ มดบั ไป พวกเขารคู วามท่ีภตั สกุ แลว ดว ยสัญญานนั้น่นั แหละ. แมในเวลาแกงของควรแกงเปน ตน กน็ ัยนเี้ หมอื นกนั . เขาท้งั สองยอ มหุงตม อาหารดวยแผนศิลาอนั ลุกโพลงดวยอาการอยางน้ี. ชนเหลา นนั้ ยอ มอยดู ว ยแสงสวางแหง แกวมณ,ี ไมรูแ สงสวา งของไฟหรอื ประทีปเลย. มหาชนตางแตกตนื่ มาชมสมบัติ ไดย นิ วา สมบัติของโชตกิ เศรษฐเี หน็ ปานน้นั ไดปรากฏท่วั ชมพู-ทวปี ทง้ั สิ้นแลว . มหาชนเทยี มยานเปนตนมา เพือ่ ตอ งการดู. โชตกิ เศรษฐี ส่ังใหหุงภตั ดว ยขา วสารที่นํามาจากอุตตรกรุ ทุ วปี แลวให ๆ แกช นทง้ั หลายผมู าแลว ๆ, ส่ังวา \" ชนทั้งหลายจงถือเอาผา, จงถอืเอาเคร่ืองประดบั จากตน กัลปพฤกษท ัง้ หลาย,\" แลว ใหเปด ปากขุมทรพั ยทมี่ ปี ระมาณคาวุตหนึ่ง แลวสง่ั วา \" ชนทง้ั หลายจงถือเอาทรพั ยพ อยังอตั ภาพใหเปนไปได. \" เม่อื ชนทัง้ หลายผอู ยใู นชมพทู วปี ทั้งสิน้ ถือเอาทรัพยไปอยู ปากแหงขุมทรพั ยม ไิ ดพ รอ งลงแลว แมเพยี งองคุลีเดียว. ไดยินวา น่ันเปนผลแหงรตั นะทเี่ ขาโปรยลง ทําใหเ ปน ทรายในบริเวณพระคันธกุฎี. พระเจาพมิ พิสารมีพระประสงคจะชมปราสาท เม่อื มหาชน ถอื เอาผา อาภรณ และทรพั ยตามความปรารถนาไปอยูอ ยา งนั้น, พระเจา พิมพสิ ารมพี ระประสงคจะทอดพระเนตรปราสาทของโชติกเศรษฐีนน้ั บา ง เมื่อมหาชนมาอยู จงึ ไมไดโอกาสแลว .

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 533 ในกาลตอ มา เม่ือพวกมนุษยน อ ยลง เพราะถอื เอาวตั ถาภรณและทรพั ยตามความปรารถนาไปแลว พระราชาจงึ ตรสั กะบิดาของโชติกะวา\" ฉนั มคี วามประสงคจะชมปราสาทของบุตรของทาน.\" บดิ าของโชตกิ ะน้นั กราบทูลวา \" ดลี ะ สมมติเทพ \" แลว ไปบอกแกบ ตุ รวา \" พอ พระ-ราชามพี ระประสงคจ ะทอดพระเนตรปราสาทของเจา ,\" เขาพดู วา \" ดีละคุณพอ , ขอพระองคเ สด็จมาเถิด.\" พระราชา ไดเสดจ็ ไปในทีน่ นั้ พรอ มดวยขาราชบริพารเปนอนั มาก.ทาสผี ปู ด กวาดเทหยากเยอื่ ทีซ่ มุ ประตทู ่ี ๑ ไดถวายมือแดพระราชา.พระราชาทรงละอาย ดว ยทรงสําคญั วา \" ภรรยาของเศรษฐ\"ี จึงไมท รงวางพระหัตถท ี่แขนของนาง. พระราชาทรงสําคญั ทาสีแมทซ่ี ุมประตทู เ่ี หลอืทัง้ หลายวา \" ภรรยาของเศรษฐี \" อยางนั้น จงึ ไมท รงวางพระหัตถทแี่ ขนของทาสีเหลา นั้น. โชตกิ เศรษฐี มาตอนรับพระราชาถวายบงั คมแลว อยเู บือ้ งพระ-ปฤษฎางค กราบทูลวา \" ขาแตส มมตเิ ทพ ขอเชิญเสด็จไปขา งหนา เถดิ \"แผน ดินทป่ี ระดบั ดวยแกว มณี ยอ มปรากฏแกพระราชา เปนเหมือนเหวท่ลี ึกตัง้ ๑๐๐ ช่ัวบรุ ษุ . ทาวเธอทรงสําคัญวา \" โชติกะน้ี ขดุ บอไวเพ่ือตองการจับเรา \" จงึ ไมอาจเพื่อ๑จะเสด็จพระราชดาํ เนนิ ไปได. \" โชติกะ กราบทลู วา \" ขา แตส มมตเิ ทพ น้มี ใิ ชบอ , ขอพระองคจงเสดจ็ มาขา งหลังขาพระองค\" แลวไดเปนผูนําเสดจ็ .๒ พระราชา ทรงเหยยี บพื้นในเวลาทีโ่ ชติกะนนั้ เหยยี บแลว เสดจ็เท่ยี วทอดพระเนตรปราสาทตัง้ แตพ ื้นชน้ั ลาง.๑. ปาท นกิ ขฺ ปิ ต ุ เพื่ออนั วางพระบาทลง. ๒. ปุรโต อโหสิ ไดมขี า งหนา .

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 534พระเจาอชาตศัตรูทรงนอยพระทยัในคราวน้ัน พระราชกุมารทรงพระนามวาอชาตศัตรู ทรงจบั องคุลีของพระราชบิดา เสดจ็ เที่ยวไปอยู ทรงดาํ รวิ า \" โอ ทูลกระหมอ มของเราเปน อันพาล, ช่อื วา คฤหบดียังอยูในปราสาทที่ทําดวยแกว ๗ ประการได ทูลกระหมอ มของเราน่ี เปนถงึ พระราชา ยังประทับอยใู นพระราช-มณเฑยี รทที่ าํ ดว ยไม, บัดนี้ เราจักเปนพระราชาแลว จักไมใ หคฤหบดีนี้อยูในปราสาทน้.ี ๑\" เม่อื พระราชากําลงั เสดจ็ ขึ้นสพู น้ื ปราสาทช้นั บนน่ันแหละ เปน เวลาเสวยพระกระยาหารเชา. ทา วเธอตรสั เรยี กเศรษฐีมาแลว ตรัสวา \" มหาเศรษฐี พวกเราจกั บริโภคอาหารเชาในทนี่ น้ี ่ีแหละ.\"เศรษฐ.ี ขา แตสมมตเิ ทพ ขาพระองคก ็ทราบอย,ู พระกระยาหารสําหรบั สมมตเิ ทพ ขา พระองคตระเตรียมไวแลว .\"ทาวเธอทรงสรงสนานดวยหมอ นา้ํ หอม ๑๖ หมอ แลวประทับนง่ับนบัลลงั กอ ันเปนทนี่ ่ังของเศรษฐีนั่นแหละ ที่เขาตกแตง ไวใ นมณฑปเปนท่ีนงั่ ของเศรษฐี ซงึ่ ทาํ ดว ยแกว.พระราชาประทบั เสวยในบานโชติกเศรษฐีคร้งั นน้ั พวกบรุ ษุ ถวายนํ้าสําหรับลางพระหตั ถแ ดท า วเธอ แลว คดขา วปายาสเปยกจากภาชนะทองคําที่มคี าไดแสนหนึ่ง วางไวต รงพระพกั ตร.พระราชาทรงเรม่ิ จะเสวยดวยสาํ คัญวา \" เปนโภชนะ.\"เศรษฐีกราบทูลวา \" ขาแตสมมตเิ ทพ นีไ้ มใชภาชนะ, นเ้ี ปนขาวปายาสเปย ก. พวกบรุ ษุ คดโภชนะใสในภาชนะทองคาํ ใบอื่น แลววางไวบนถาดเดิม.\" .๑. อมิ สฺส อมิ สมฺ ึ ปาสาเท วสติ ุ น ทสฺสามิ เราจกั ไมใ หอยูในปราสาทน้ี แกค ฤหบดนี ี้.

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 535 ไดยินวา การบริโภคภาชนะน้นั ดว ยไออุนท่ีพลงุ ขึน้ จากภาชนะขาวปายาสเปย กนนั้ ยอมเปน เหตุนํามาซง่ึ ความสบาย. พระราชาเม่ือเสวยโภชนะทมี่ ีรสอรอ ย ก็มไิ ดทรงรูป ระมาณ. ลําดับน้ัน เศรษฐถี วายบังคมทาวเธอแลว ประคองอัญชลกี ราบทลูวา \" พอที พระเจาขา, เพยี งเทานีก้ ็พอ, พระองคไมท รงสามารถเพื่อจะใหโภชนะทย่ี งิ่ กวา นไ้ี ป ใหยอ ยได.\" ทีนั้น พระราชาตรสั กะเขาวา \" คฤหบดี เธอทําความหนกั ใจหรือจงึ พดู ถึงภตั ของตน ?\" เศรษฐี. \" ขอนัน้ หามไิ ด พระเจา ขา, เพราะภัตเพื่อหมูพลของพระองคแ มท ั้งหมด กอ็ ันนแี้ หละ, แกงกอ็ นั น,ี้ กแ็ ตวาขาพระองคกลวัตอ ความเสื่อมยศ. พระราชา. เพราะเหตไุ ร ? เศรษฐ.ี ถาวา เหตสุ กั วาความอดึ อัดแหงพระกาย จะพงึ มีแกสมมตเิ ทพเจา ไซร, ขา พระองคยอ มกลวั ตอ คําวา ' วานนี้ พระราชาเสวย( ภัต ) ในเรอื นของเศรษฐี. เศรษฐีคงจกั ทาํ อะไร (ถวายเปนแน) ' พระ-เจาขา . พระราชา. ถาอยางนัน้ ทานจงนาํ ภตั ไป, จงนาํ นํ้ามา. ในเวลาเสรจ็ ภัตกจิ ของพระราชา ราชบริพารท้ังหมดก็บริโภคภตน้ันนน่ั แหละ. พระราชาทรงสนทนากับเศรษฐี พระราชาประทับน่งั สนทนาปรารภถึงความสุข ตรัสเรยี กเศรษฐีมาแลว ตรสั วา \" ภรรยาของทา นในเรอื นนีไ้ มม หี รอื ?\"

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 536 เศรษฐี. มี พระเจาขา. พระราชา. นางอยูที่ไหน ? เศรษฐี กราบทลู วา นางนัง่ อยใู นหอ งอันมสี ริ ิ ยงั ไมท ราบเกลา วาสมมตเิ ทพเสด็จมา. กพ็ ระราชาพรอ มดว ยราชบรพิ าร เสดจ็ มาแลว แตเชา ตรูกจ็ รงิ , ถงึอยา งน้นั นางก็ยงั ไมร วู า ทาวเธอเสด็จมา. ลําดบั น้นั เศรษฐรี วู า \" พระราชามพี ระประสงคจะทอดพระเนตรภรยิ าของเรา \" จึงไปสูสาํ นกั ของนางแลว บอกวา \" พระราชาเสดจ็ มาแลว, การทีห่ ลอนเฝา พระราชา ไมควรหรอื ?\" ภรรยาเศรษฐนี อ ยใจท่ียังมผี ูใหญก วา ตน นางนอนอยูนั่นแล กลาววา \" นาย ชื่อวา พระราชานน้ั เปน อยาง-ไร ?\" เมือ่ เขาบอกวา \" คนท่ีเปนใหญข องพวกเรา ชื่อวาพระราชา,\"จึงแจง ความทคี่ นเปนผมู ใี จไมแชมชื่นอยู กลาววา \" พวกเรา ยังมีแมบคุ คลผูเปนใหญ (นบั วา) ทําบญุ กรรมทั้งหลายไวไมดหี นอ, พวกเราทําบญุ กรรมทง้ั หลายชอื่ ดว ยไมม ศี รทั ธา จึงถงึ สมบัติเกดิ แลวในทข่ี องชนอ่นืผูเปน ใหญ; ทานจกั เปนของอันเราทั้งหลายไมเ ธอแลวใหเปนแน, นี่เปนผลของทานนนั้ \" แลว กลา ววา \" นาย บัดนี้ฉนั จักทาํ อยา งไร ?\" สามี. หลอ นจงถือเอาพัดกานตาลมาพัดถวายพระราชา. เมื่อนางถือพัดกานตาลมาพัดถวายพระราชาอยู ลม (ม)ี กลน่ิ แหงพระภูษาสาํ หรบั โพกของพระราชา กระทบนยั นตาของนางแลว.




























Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook