Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_43

tripitaka_43

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:40

Description: tripitaka_43

Search

Read the Text Version

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 361 พระศาสดารบั ส่ังใหเรียกภิกษุน้นั มาแลว ตรสั ถามวา \" ไดย ินวาเธอไดทําอยางน้ัน จรงิ หรือ ?.\" ภิกษุ. จริง พระเจาขา, ขาพระองคอาศยั ภิกษุหนุมรูปหนึง่ อยใู นทน่ี ั้น ๒-๓ วัน; กแ็ ตว า ขาพระองคมิไดชอบใจลทั ธิของพระเทวทัต. ภิกษคุ วรยนิ ดใี นลาภของตนเทาน้นั ครง้ั นัน้ พระผมู พี ระภาคเจา ตรสั กะเธอวา \" เธอไมช อบใจลทั ธิ(ของพระเทวทัต ) กจ็ รงิ , ถึงอยา งนน้ั เธอเท่ียวไปประหนึ่งวา ชอบใจลัทธิของชนผูทเ่ี ธอพบเหน็ แลว ทเี ดียว; เธอทาํ อยางนนั้ ในบดั นีเ้ ทา นนั้ กห็ ามิได, แมในกาลกอ น เธอกเ็ ปนผูเ ห็นปานน้นั เหมอื นกนั ,\" อนั ภกิ ษุทงั้ หลายทลู วิงวอนวา \" พระเจาขา ในบัดนี้ พวกขาพระองคเ หน็ ภิกษุน้ีดวยตนเองกอน, แตในกาลกอน ภกิ ษุน่ีพอใจลัทธขิ องใครเที่ยวไป ?ขอพระองคโ ปรดตรสั บอกแกพวกขา พระองคเถดิ ,\" จงึ ทรงนําอดีตนิทานมา ทรงยงั มหิลามุขชาดก๑ น้ีใหพสิ ดารวา :- \" ชา งช่อื มหิลามขุ ฟงคําของพวกโจรกอนแลว เท่ียวฟาดบุคคลผไู ปตามอยู, แตพอฟงคําของสมณะ ผสู าํ รวมดีแลว ก็เปน ชางประเสริฐ ต้งั อยแู ลวในคุณ ทั้งปวง.\"แลว ตรสั วา \" ภกิ ษทุ งั้ หลาย ธรรมดาภิกษเุ ปน ผูยนิ ดีดว ยลาภของตนเทา นน้ั , การปรารถนาลาภของผูอนื่ ไมสมควร, เพราะบรรดาฌานวิปส สนา มรรค และผลท้งั หลาย แมธ รรมสกั อยา งหนึ่งยอมไมเ กดิ ขึ้น๑. ข.ุ ชา. ๒๗/๙. อรรถกถา. ๑/ ๒๗๙.

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 362แกภ กิ ษผุ ปู รารถนาลาภของผูอนื่ , แตค ุณชาติทงั้ หลายมีฌานเปนตน ยอ มเกดิ ข้ึนแกภิกษุผูยนิ ดดี ว ยลาภของตนเทา นนั้ \" ดงั นแี้ ลว เม่ือจะทรงแสดงธรรม ไดทรงภาษติ พระคาถาเหลานว้ี า :- ๕. สลาภ นาติมฺเยยฺ นาเฺ ส ปห ยจฺ เร อฺเส ปห ย ภกิ ขฺ ุ สมาธึ นาธคิ จฺฉติ. อปฺปลาโภป เจ ภิกขฺ ุ สลาภ นาติมฺติ ต เว เทวา ปส สนตฺ ิ สทุ ฺธาชีวึ อตนทฺ ิต . \" ภิกษุไมค วรดูหมน่ิ ลาภของตน, ไมควรเทยี่ ว ปรารถนาลาภของผอู ืน่ , ภิกษเุ ม่อื ปรารถนาลาภของ ผอู ืน่ ยอมไมป ระสบสมาธิ; ถา ภิกษุแมเ ปน ผมู ีลาภ นอ ย ก็ไมดูหมนิ่ ลาภของตน, เทพยดาทัง้ หลาย ยอม สรรเสริญภิกษนุ ั้นแล (วา) ผมู อี าชพี หมดจด ไม เกยี จครา น.\" แกอรรถ บรรดาบทเหลาน้นั บทวา สลาภ ไดแก ลาภท่ีเกดิ ขน้ึ แกต น.จริงอยู ภิกษผุ เู วน การเทย่ี วไปตามตามลําดับตรอก เลี้ยงชีพอยูดวยการแสวงหาอันไมสมควร ชอ่ื วา ดหู มน่ิ คือดแู คลน ไดแ ก รังเกียจลาภของตน; เพราะเหตุน้ัน ภกิ ษไุ มควรดูหมิน่ ลาภของตน ดว ยการไมทําอยา งนน้ั . สองบทวา อฺเส ปหย ความวา ไมควรเที่ยวปรารถนาลาภของคนเหลาอนื่ .

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 363 บาทพระคาถาวา สมาธึ นาธคิ จฉฺ ติ ความวา กภ็ ิกษเุ มื่อปรารถนาลาภของชนเหลา อ่ืนอยู ถงึ ความขวนขวายในการทาํ บริขารมีจีวรเปนตนแกชนเหลา นน้ั ยอ มไมบ รรลอุ ัปปนาสมาธิ หรืออุปจารสมาธ.ิ บาทพระคาถาวา สลาภ นาตมิ ฺ ติ ความวา ภิกษุแมเ ปน ผมู ีลาภนอย เม่ือเท่ยี วไปตามลําดับตรอกโดยลาํ ดับแหง ตระกลู สงู และตํา่ช่ือวา ไมด ูแคลนลาภของตน. บทวา ต เว เปน ตน ความวา เทพดาทั้งหลายยอมสรรเสรญิ คอืชมเชย ภิกษนุ ัน้ คือผเู หน็ ปานน้นั ผูช ่อื วา มีอาชีวะหมดจด เพราะความเปนผมู ีชีวิตเปน สาระ ช่อื วาผไู มเ กียจคราน เพราะความเปน ผูไมย อ ทอดวยอาศยั กําลังแขง เล้ียงชีพ. ในกาลจบเทศนา ชนเปน อนั มากบรรลุอรยิ ผลทัง้ หลาย มีโสดา-ปต ติผลเปนตน ดงั นี้แล. เร่อื งภกิ ษุคบภิกษุผเู ปน ฝก ฝา ยผิดรูปใดรปู หนงึ่ จบ.

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 364 ๖. เร่อื งปญ จคั คทายกพราหมณ [๒๕๗] ขอความเบ้ืองตน พระศาสดา เมือ่ ประทับอยใู นพระเชตวัน ทรงปรารภพราหมณช่อืปญจัคคทายก ตรสั พระธรรมเทศนาน้วี า \" สพพฺ โส นามรปู สมฺ ึ\"เปน ตน . เหตทุ ่ีพราหมณไดช ื่อวาปญ จัคคทายก ดงั ไดส ดบั มา พราหมณนั้นยอ มถวายทานช่อื เขตตัคคะ๑ ในเวลาแหง นาขาวกลา อนั ตนเกบ็ เก่ยี วเสร็จแลว นนั่ แล, ในเวลาขนขาวลาน ก็ถวายชอื่ ขลัคคคะ,๒ ในเวลานวด กถ็ วายทานช่ือขลภณั ฑัคคะ,๓ ในเวลาเอาขา วสารลงในหมอ ก็ถวายทานชอ่ื อุกขลิกคั คะ,๔ ในเวลาที่ตนคดขา วใสภาชนะ ก็ถวายทานชอื่ ปาฏิคคะ,๕ พราหมณยอ มถวายทานอนั เลิศท้งั ๕อยา งนี.้ พราหมณน นั้ ช่ือวา ยงั ไมใหแ กปฏิคาหกผทู ีม่ าถึงแลว ยอมไมบรโิ ภค. เพราะเหตุนนั้ เขาจงึ ไดมชี ่ือวา \"ปญจคั คทายก\" น่ันแล. พระศาสดาเสดจ็ ไปโปรดพราหมณแ ละภรรยา พระศาสดาทรงเหน็ อุปนิสัยแหงผลทั้ง ๓ ของพราหมณน น้ั และนางพราหมณีของเขา จงึ ไดเสดจ็ ไปในเวลาบรโิ ภคของพราหมณ แลวประทับยนื อยูทีป่ ระต.ู แมพ ราหมณนั้นบา ยหนา ไปภายในเรือน นง่ับริโภคอยทู ีห่ นา ประต,ู เขาไมเ หน็ พระศาสดาผูประทบั ยืนอยทู ีป่ ระตู.๑. ทานอันเลศิ ในนา ๒. ทานอันเลิศในลาน. ๓. ทานอันเลิศในคราวนวด. ๔. ทานอนั เลิศในคราวเทขาวสารลงหมอขา ว. ๕. ทานอนั เลิศในคราวคดขา วสกุ ใสภาชนะ.

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 365 สว นนางพราหมณขี องเขา กําลังเลีย้ งดเู ขาอยู เห็นพระศาสดาจงึคิดวา \" พราหมณน้ี ถวายทานอันเลศิ ในฐานะท้งั ๕ ( กอ น ) แลวจึงบริโภค, ก็บัดน้ี พระสมณโคดมเสด็จมาประทับยืนอยทู ่ีประต;ู ถาวาพราหมณเ หน็ พระสมณโคคมน่แี ลว จกั นาํ ภตั ของตนไปถวาย, เราจกัไมอ าจเพือ่ จะหงุ ตมเพอื่ เขาไดอ กี .\" นางคดิ วา \" พราหมณนจ้ี ักไมเ ห็นพระสมณโคดมดวยอาการอยางน้ี\" จึงหนั หลัง๑ใหเ พระศาสดา ไดย ืนกมลงบังพระศาสดานั้นไวข า งหลงั พราหมณน น้ั ประดจุ บังพระจันทรเต็มดวงดว ยฝา มอื ฉะน้ัน. นางพราหมณียืนอยูอยางน้นั นนั่ แหละ แลวก็ชาํ เลือง๒ดูพระศาสดาดว ยหางตา ดว ยคดิ วา \" พระศาสดาเสด็จไปแลว หรอื ยัง.\" พราหมณเห็นพระศาสดา พระศาสดาไดประทบั ยืนอยูในท่ีเดิมนัน่ เอง. สว นนางมไิ ดพ ดู วา\" นิมนตพระองคโ ปรดสตั วข า งหนา เถิด \" กเ็ พราะกลวั พราหมณจะไดย ิน,แตนางถอยไป แลว พูดคอ ย ๆ วา \" นมิ นตโปรดสัตวขา งหนา เถดิ .\" พระศาสดาทรงส่นั พระเศียร๓ดวยอาการอันทรงแสดงวา \" เราจักไมไป \" เมอ่ื พระพทุ ธเจาผเู ปนที่เคารพของชาวโลก ทรงสน่ั พระเศยี รดวยอาการอันแสดงวา \" เราจักไมไป,\" นางไมอาจอดกลน้ั ไวได จึงหวั เราะดังลัน่ ขึน้ . ขณะนนั้ พระศาสดาทรงเปลง พระรัศมีไปตรงเรือน. แมพราหมณน่ังหนั หลังใหแลวนนั่ แล ไดยินเสียงหัวเราะของนางพราหมณี และมองเห็นแสงสวางแหงพระรศั มีอันมีวรรณะ ๖ ประการ จึงไดเห็นพระศาสดา.๑. สตฺถุ ปฏ ึ ทตฺวา ใหซ ึง่ หลังแดพ ระศาสดา. ๒. สตถฺ าร อฑฒฺ กขฺ เิ กน โอโบเกสิ มองดูพระศาสดาดวยตาคร่ึงหนงึ่ . ๓. เพง เพอื่ จะพูดอยางเดียว หาใสใ จถึงเสขิยวตั รไม..

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 366 พราหมณถวายภตั แดพระศาสดา ธรรมดาวา พระพทุ ธเจา ทั้งหลายยงั ไมไ ดทรงแสดงพระองคแ กชนทงั้ หลายผถู ึงพรอมแลวดว ยเหตุ ในบานหรือในปาแลว ยอ มไมเสด็จหลกีไป. แมพราหมณเ หน็ พระศาสดาแลว จึงพดู วา \" นางผเู จริญ หลอ นไมบอกพระราชบตุ รผเู สดจ็ มาประทับยนื อยูทป่ี ระตแู กเรา ใหเ ราฉบิ หายเสยี แลว, หลอ นทาํ กรรมหนัก\" ดงั นี้แลว กถ็ ือเอาภาชนะแหงโภชนะที่ตนบริโภคแลวครัง้ หนึ่ง ไปยังสาํ นักพระศาสดา แลว กราบทูลวา \" ขา แตพระโคดมผูเ จริญ ขาพระองคถ วายทานอันเลศิ ในฐานะท้ัง ๔ แลว จงึบรโิ ภค; แตสวนแหงภตั สว นหน่งึ เทา นั้น อันขา พระองคแ บง ครึ่งจากสว นนบี้ รโิ ภค, สว นแหง ภัตสว นหนงึ่ ยังเหลืออย;ู ขอพระองคไ ดโ ปรดรบั ภตั สว นนข้ี องขาพระองคเ ถดิ .\" พราหมณเ ล่ือมใสพระดาํ รัสของพระศาสดา พระศาสดาไมต รสั วา \" เราไมม ีความตองการดว ยภตั อนั เปน เดนของทาน\" ตรสั วา \" พราหมณ สว นอันเลศิ กด็ ี ภัตทที่ านแบงครง่ึ บริโภคแลว กด็ ี เปนของสมควรแกเ ราทง้ั นั้น, แมกอ นภตั ท่ีเปนเดน เปน ของสมควรแกเราเหมอื นกนั , พราหมณ เพราะพวกเราเปน ผอู าศยั อาหารท่ีผอู ่นื ใหเ ลีย้ งชีพ เปนเชนกบั พวกเปรต\" แลว ตรัสพระคาถานวี้ า:- \" ภกิ ษุผูอาศยั อาหารทบี่ คุ คลอื่นใหเ ล้ยี งชพี ได กอ นภัตอันใดจากสว นทีเ่ ลศิ กต็ าม จากสวนปาน กลางก็ตาม จากสว นทเ่ี หลือก็ตาม. ภิกษุน้ันเปน ผู ไมค วรเพ่อื ชมกอ นภัตนน้ั , และไมเ ปนผูติเตียน

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 367 แลว ขบฉันกอนภตั นน้ั , ธีรชรทงั้ หลายยอ มสรร- เสริญแมซ ึง่ ภกิ ษนุ ้นั วา เปน มนุ .ี \" พราหมณพอไดฟ ง พระคาถานนั้ กเ็ ปนผมู ีจิตเล่อื มใส แลวคิดวา\" โอ ! นาอัศจรรยจรงิ , พระราชบตุ รผชู ือ่ วา เจาแหงดวงประทีป มิไดตรัสวา ' เราไมม คี วามตองการดว ยภตั อันเปน เดนของทา น' ยงั ตรัสอยางนน้ั \" แลวยนื อยทู ่ปี ระตูนน่ั เอง ทลู ถามปญหากะพระศาสดาวา \" ขา แตพระโคดมผูเจรญิ พระองคตรัสเรยี กพวกสาวกของพระองควา ' ภกิ ษุ 'ดวยเหตเุ พยี งเทา ไร ? บคุ คลชอื่ วา เปน ภกิ ษุ.\" คนผูไมก ําหนดั ไมต ิดในนามรูปชื่อวาภกิ ษุ พระศาสดาทรงใครค รวญวา \" ธรรมเทศนาเชนไรหนอ ? จงึ จะเปนเครื่องสบายแกพราหมณนี\"้ ทรงดาํ ริวา \" ชนท้งั สองน้ี ในกาลของพระพทุ ธเจา ทรงพระนามวากัลสป ไดฟ งคาํ ของภกิ ษทุ ั้งหลายผูกลาวอยูวา ' นามรูป,' การทเี่ ราไมล ะนามรูปแหละ แลวแสดงธรรมแกชนทง้ั สองนั้น ยอ มควร\" แลว จึงตรสั วา \" พราหมณ บุคคลผูไ มกาํ หนัดไมข องอยใู นนามรูป ชือ่ วา เปน ภิกษุ \" ดังนี้แลว ตรัสพระคาถานว้ี า :- ๖. สพพฺ โส นามรปู สฺมึ ยสฺส นตถฺ ิ มมายติ  อสตา จ น โสจติ ส เว ภิกฺขตู ิ วจุ จฺ ติ. \" ความยดึ ถือในนามรปู วา เปนของ ๆ เรา ไมม ี แกผ ใู ดโดยประการทัง้ ปวง, อน่ึง ผใู ดไมเศราโศก เพราะนามรูปนั้นไมมอี ยู, ผูน้ันแล เราเรยี กวา ภิกษ.ุ \"

พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 368 แกอรรถ บรรดาบทเหลา นัน้ บทวา สพฺพโส คอื ในนามรูปทง้ั ปวงท่ีเปนไปแลว ดว ยอาํ นาจขนั ธ ๕ คอื นามขันธ ๔ มีเวทนาเปนตน และรปูขันธ. บทวา มมายิต ความวา ความยดึ ถือวา ' เรา ' หรือวา ' ของเราไมมแี กผใู ด. บาทพระคาถาวา อสตา จ น โสจติ ความวา เมอ่ื นามรปู น้ันถึงความส้นิ และความเสื่อม ผใู ดยอ มไมเศราโศก คือไมเ ดอื ดรอ นวา \" รูปของเราสนิ้ ไปแลว ฯ ล ฯ วิญญาณของเราส้ินไปแลว คอื เห็น (ตามความเปนจรงิ ) วา \" นามรูป ซึ่งมคี วามสนิ้ และความเสื่อมไปเปน ธรรมดาน่แี ลส้นิ ไปแลว .\" บทวา ส เว เปนตน ความวา ผูนั้น คือผูเหน็ ปานนน้ั ไดแ กผเู วนจากความยดึ ถอื ในนามรูปซง่ึ มอี ยวู าเปน ของเราก็ดี ผไู มเศราโศกเพราะนามรปู นัน้ ซงึ่ ไมมีอยูกด็ ี พระศาสดาตรสั เรียกวา ' ภกิ ษุ ' ในกาลจบเทศนา เมียและผวั ท้ังสองต้งั อยใู นพระอนาคามผิ ลแลว,เทศนาไดมปี ระโยชนแมแ กช นผปู ระชุมกันแลว ดงั น้แี ล. เรือ่ งปญจัคคทายกพราหมณ จบ.

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 369 ๗. เร่อื งสัมพหุลภิกษุ [๒๕๘] ขอ ความเบ้ืองตน พระศาสดา เม่อื ประทับอยูในพระเชตวนั ทรงปรารภภิกษุมากรปูตรสั พระธรรมเทศนานว้ี า \" เมตตฺ าวิหารี \" เปน ตน. ประวัติพระโสณกุฏกิ ัณณะ ความพสิ ดารวา ในสมยั หนึ่ง เม่ือทานพระมหากัจจานะอาศยั กุรรฆร-นคร ในอวนั ตชี นบท อยทู ี่ภูเขาช่ือปวตั ตะ, อุบาสกช่ือโสณกุฏิกณั ณะเลอื่ มใสในธรรมกถาของพระเถระ ใครจะบวชในสํานกั ของพระเถระ แมถูกพระเถระพูดหา มถงึ ๒ ครงั้ วา \" โสณะ พรหมจรรยม ีภตั หนเดียว นอนผเู ดยี ว ตลอดชพี เปนส่ิงทบี่ ุคคลทําไดด ว ยยากแล\" กเ็ ปนผูเกิดอุตสาหะอยา งแรงกลาในการบรรพชา ในวาระท่ี ๓ วิงวอนพระเถระ บรรพชาแลว โดยลวงไป ๓ ปจงึ ไดอปุ สมบท เพราะทกั ษิณาปถชนบทมภี ิกษุนอย เปนผใู ครจ ะเฝา พระศาสดาเฉพาะพระพกั ตร จงึ อําลาพระอปุ ช ฌายะถือเอาขา วที่พระอุปช ฌายะใหแลวไปสพู ระเชตวันโดยลาํ ดบั ถวายบังคมพระศาสดา ไดรบั การปฏิสนั ถารแลว ผอู ันพระศาสดาทรงอนญุ าตเสนา-สนะในพระคนั ธกุฎีเดียวกนั ทีเดยี ว ใหร าตรีสว นมากลวงไปอยขู า งนอก๑แลวเขาไปสูพระคันธกฎุ ีในเวลากลางคืน ใหสวนแหง กลางคืนนั้นลว งไปแลวทีเ่ สนาสนะอนั ถงึ แลวแกตน ในเวลาใกลรุงอนั พระศาสดาทรงเชื้อเชิญแลว ไดส วดพระสตู รหมดดวยกัน ๑๖ สตู ร โดยทํานองสรภญั ญะทจ่ี ดัเปนอัฏฐกวรรค.๒๑. อชโฺ ฌกาเส ในทีก่ ลางแจง . ๒. อฏกวคฺคกิ านีติ: อฏ กวคฺคภตู านิ กามสตุ ตฺ าทนี ิโสฬสสุตตฺ านิ พระสตู ร ๑๖ สูตร มีกามสูตรเปนตน ทีจ่ ดั เปนอฏั ฐกวรรค พระสตู รเหลา นี้มอี ยูใน ข.ุ สุ. ๒๕/๔๘๕-๕๒๓.

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 370 คร้งั นน้ั พระผมู ีพระภาคเจา เมอ่ื จะทรงอนุโมทนาเปนพิเศษ จงึ ไดประทานสาธุการแกทา นในเวลาจบสรภัญญะวา \" ดลี ะ ๆ ภกิ ษ.ุ \" ภุมมัฏฐกเทพดา นาค และสุบรรณ ฟง สาธุการทีพ่ ระศาสดาประทานแลว ไดใหสาธกุ ารแลว ; เสยี งสาธกุ ารเปนอนั เดยี วกนั ไดม แี ลวตลอดพรหมโลกอยางน้นั ดว ยประการดังน้.ี ในขณะน้ัน แมเทพดาผสู งิ อยใู นเรอื นของมหาอบุ าสิกา ผเู ปนมารดาของพระเถระ ในกุรรฆรนคร ในท่สี ดุ (ไกล) ประมาณ ๑๒๐โยชน แตพ ระเชตวนั มหาวหิ าร กไ็ ดใหสาธุการดวยเสยี งอนั ดังแลว. ครั้งน้นั มหาอบุ าสกิ า ถามเทพดานนั้ วา \" นนั่ ใครใหส าธกุ าร ?\" เทพดา. เราเอง นองหญิง. มหาอุบาสิกา. ทา นเปนใคร ? เทพดา. เราเปนเทพดา สิงอยใู นเรือนของทาน. มหาอบุ าสิกา. ในกาลกอนแตน ้ี ทา นมไิ ดใหสาธุการแกเ รา เพราะเหตุไร ? วันนี้จึงให. เทพดา. เรามิไดใหส าธกุ ารแกท า น. มหาอบุ าสิกา. เมื่อเปนเชนนัน้ ทา นใหส าธกุ ารแกใ คร ? เทพดา. เราใหแ กพ ระโสณกฏุ กิ ณั ณเถระ ผูเ ปน บุตรของทาน. มหาอุบาสกิ า บตุ รของเราทําอะไร ? เทพดา. ในวันนี้ บตุ รของทา นอยูในพระคนั ธกฎุ เี ดียวกันกับพระ-ศาสดา แลว แสดงธรรมแกพระศาสดา, พระศาสดาทรงสดับธรรมแหงบุตรของทา น แลวก็ทรงเลื่อมใส จงึ ไดประทานสาธกุ าร, เพราะเหตนุ ัน้แมเราจึงใหสาธกุ ารแกพระเถระน้ัน, กเ็ พราะรบั สาธกุ ารของพระสัมมา-

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 371สัมพุทธเจา จงึ เกิดสาธุการเปนเสยี งเดยี วกันไปหมด นบั ตัง้ ตน แตภ มุ มัฏ-ฐกเทพดาตลอดถงึ พรหมโลก. มหาอบุ าสกิ า. นาย ก็บุตรของเราแสดงธรรมแกพระศาสดา หรอืพระศาสดาแสดงแกบ ุตรของเรา. เทพดา. บตุ รของทา นแสดงธรรมแกพ ระศาสดา. เมือ่ เทพดากลาวอยูอยา งนน้ั , ปตมิ วี รรณะ ๕ ประการ เกิดขน้ึ แกอุบาสกิ า แผไปท่วั สรีระท้งั สิน้ . คร้งั นัน้ มหาอบุ าสกิ านั้นไดม คี วามคิดอยางนว้ี า \" หากวา บุตรของเราอยูในพระคันธกฎุ เี ดยี วกนั กับพระศาสดาแลวยังสามารถแสดงธรรมแกพระศาสดาได, ก็จกั สามารถใหแสดงธรรมแมแกเราไดเหมือนกัน, ในเวลาบตุ รมาถงึ เราจกั ใหทาํ การฟงธรรมกนัแลวฟง ธรรมกถา.\" พระโสณะทูลขอพร ๕ ประการกะพระศาสดา ฝา ยพระโสณเถระแล เมอ่ื พระศาสดาประทานสาธุการแลว, คิดวา\" เวลานี้ เปน เวลาสมควรทจ่ี ะกราบทูลขา วท่ีพระอปุ ชฌายะใหมา\" ดงั นี้แลว จงึ ทูลขอพร ๕ ประการ๑ กะพระผูมพี ระภาคเจา ต้งั ตนแตการอปุ สมบทดวยคณะสงฆมีภิกษผุ ูท รงวนิ ัยเปนท่ี ๕ ในชนบทท้งั หลายซงึ่ ตัง้อยปู ลายแดนแลว อยูในสาํ นกั ของพระศาสดา ๒-๓ วันเทา นั้น ทลู ลาพระศาสดาวา \" ขาพระองคจักเยยี่ มพระอปุ ชฌายะ\" ไดออกจากพระ-เชตวันวิหาร ไปสูสํานกั พระอปุ ช ฌายะโดยลาํ ดับ.๑. ขอใหอ ุปสมบทดวยคณะเพยี ง ๕ รปู ได ๑ ขอใหใชรองเทา หลายชัน้ ได ๑ ขอใหอาบน้ําไดเนอื งนิตย ๑ ขอใหใชเ ครือ่ งปูลาดท่ีทาํ ดวยหนังได ๑ ( ๔ ขอ นี้เฉพาะในปจ จนั ตชนบท) มีมนษุ ยสง่ั ถวายจีวรแกภ ิกษอุ ยูนอกสีมา ภิกษผุ ูร บั ส่ังจงึ มาบอกใหเ ธอรบั แตเธอรงั เกยี จไมย อมรบั ดวยกลัวเปน นสิ สัคคยี  ขออยาใหเปน นิสสัคคีย ๑. มหาวคั ค ๕/๓๔.

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 372 ในวนั รงุ ขึน้ พระเถระพาทา นเที่ยวไปบณิ ฑบาต ไดไ ปถึงประตูเรือนของอบุ าสกิ าผูเปนมารดา. ฝายอบุ าสกิ านั้น เห็นบุตรแลว ก็ดใี จ ไหวแลว อังคาสโดยเคารพแลวถามวา \" พอ ไดยินวา คณุ อยูใ นพระคันธกฎุ เี ดียวกันกับพระศาสดาแลว แสดงธรรมกถาแกพระศาสดา จริงหรือ ? \" พระโสณะ. เร่ืองน้ี ใครบอกแกโ ยม ? อบุ าสกิ า. มหาอบุ าสกิ า. พอ เทวดาผูส ิงอยใู นเรอื นนี้ ใหส าธุการดวยเสียงอันดงั , เมื่อโยมถามวา ' นัน่ ใคร ' ก็กลา ววา ' เราเอง ' แลว บอกอยา งนนั้ นัน่ แหละ, เพราะฟงเรอื่ งนน้ั โยมจงึ ไดม ีความคดิ อยา งนวี้ า ' ถา วาบตุ รของเราเสดงธรรมกถาแกพ ระศาสดาไดไ ซร, ก็จักอาจแสดงธรรมแมแกเ ราได. ' ครงั้ น้นั มหาอบุ าสิกากลา วกะพระโสณะนั้นวา \" พอ เพราะคณุแสดงธรรมเฉพาะพระพกั ตรของพระศาสดาไดแ ลว , คุณก็จักอาจแสดงแมแกโ ยมไดเหมอื นกัน, ในวันชอื่ โนน โยมจกั ใหทาํ การฟงธรรมกันแลวจกั ฟงธรรมของคุณ\" พระโสณะรบั นมิ นตแลว . อุบาสิกาคิดวา \" เราถวายทานแกภ ิกษสุ งฆ ทําการบชู าแลว จกั ฟงธรรมกถาแหง บุตรของเรา\" จงึ ไดต้งั ใหห ญงิ ทาสีคนเดียวเทา นน้ั ใหเ ปนคนเฝาเรอื น แลวไดพ าเอาบรวิ ารชนทงั้ สิน้ ไป เพื่อฟง ธรรมกถาของบตุ รผจู ะกาวขนึ้ สธู รรมาสนท่ปี ระดับประดาไวแ ลว ในมณฑปท่ตี นใหสรางไวภายในพระนคร เพ่อื ประโยชนแ กการฟง ธรรม แสดงธรรมอยู. พวกโจรเขาปลนเรือนมหาอุบาสิกา ก็ในเวลานัน้ พวกโจร ๙๐๐ เท่ยี วมองหาชอ งในเรือนของอุบาสกิ า

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 373นน้ั อยู. กเ็ รอื นของอบุ าสกิ าน้ัน ลอมดวยกําแพง ๗ ช้ัน ประกอบดว ยซมุ ประตู ๗ ซมุ . เขาลามสนุ ขั ทีด่ ุไวใ นทน่ี นั้ ๆ ทกุ ๆ ซุมประตู; อนึง่เขาขดุ คไู วใ นทน่ี าํ้ ตกแหงชายคาภายในเรอื น แลวกใ็ สด ีบุกจนเตม็ , เวลากลางวนั ดีบุกน้ันปรากฏเปนประดุจวา ละลายเดือดพลานอยูเ พราะแสงแดด (เผา), ในเวลากลางคนื ปรากฏเปน กอ นแขง็ กระดาง, เขาปกขวากเหล็กใหญไวท ่ีพ้ืนในระหวางดนู ั้นติด ๆ กนั ไป. พวกโจรเหลา น้นัไมไ ดโ อกาส เพราะอาศัยการรกั ษาน้ี และเพราะอาศัยความทอี่ บุ าสิกาอยูภายในเรือน วันน้นั ทราบความอบุ าสกิ านั้นไปแลว จึงขดุ อุโมงคเ ขาไปสเู รือน โดยทางเบ้ืองลา งแหงดดู ีบกุ และขวากเหลก็ ทเี ดยี ว แลว สงหัวหนาโจรไปสูส าํ นกั ของอบุ าสิกานัน้ ดวยสั่งวา \" ถา วา อบุ าสิกานนั้ ไดยินวาพวกเราเขา ไปในทนี่ แี้ ลว กลบั มุงหนามายงั เรอื น, ทานจงฟนอุบาสิกานนั้ใหต ายเสียดวยดาบ.\" หัวหนา โจรนั้น ไดไปยืนอยูในสํานักของอุบาสิกานั้น. ฝายพวกโจร จดุ ไฟใหส วา งในภายในเรือน แลวเปด ประตูหอ งเกบ็กหาปณะ. นางทาสนี น้ั เหน็ พวกโจรแลว จึงไปสูสาํ นกั อุบาสิกา บอกวา\" คณุ นาย โจรเปน อันมากเขาไปสูเรือน งดั ประตูหองเก็บกหาปณะแลว.\" มหาอุบาสกิ า. พวกโจรจงขนเอากหาปณะท่ตี นคน พบแลวไปเถิด,เราจะฟง ธรรมกถาแหง บตุ รของเรา, เจาอยา ทาํ อันตรายแกธ รรมของเราเลย, เจาจงไปเรือนเสียเถดิ . ฝายพวกโจร ทาํ หองเกบ็ กหาปณะใหวางเปลาแลว จงึ งัดหอ งเกบ็เงิน. นางทาสีน้นั ก็มาแจง เนือ้ ความแมน ั้นอกี . อุบาสิกาพูดวา \" พวกโจร

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 374จงขนเอาทรัพยทต่ี นปรารถนาไปเถดิ , เราจะฟง ธรรมกถาแหงบตุ รของเราเจาอยาทําอนั ตรายแกเราเลย\" แลว ก็สง นางทาสีน้นั ออกไปอกี . พวกโจรทาํ แมหองเก็บเงินใหว างเปลา แลว จงึ งดั หองเกบ็ ทอง.นางทาสนี ้นั ก็ไปแจงเนอื้ ความน้ันแกอบุ าสกิ าแมอกี . ครงั้ นน้ั อบุ าสกิ าเรียกนางทาสมี า แลวพดู วา \" ชะนางตวั ดี เจามาสาํ นักเราหลายครง้ั แลว แมเ ราส่ังวา ' พวกโจรจงขนเอาไปตามชอบใจเถดิ , เราจะฟงธรรมกถาแหงบุตรของเรา, เจา อยาทาํ อนั ตรายแกเ ราเลย 'กห็ าเออ้ื เฟอ ถอ ยคําของเราไม ยังขืนมาซ้ํา ๆ ซาก ๆ ราํ่ ไป, ท่ีนี้ ถาเจาจกั มา, เราจักรสู ิง่ ทีค่ วรทาํ แกเ จา, เจา จงกลบั บา นเสียเถดิ \" แลวสงใหกลับ. ธรรมยอ มรักษาผปู ระพฤตธิ รรม นายโจรฟง ถอยคําของอบุ าสิกานนั้ แลว คิดวา \" เมอ่ื พวกเรานาํ สิ่งของ ๆ หญิงเหน็ ปานน้ีไป, สายฟาพึงตกฟาดกระหมอม\" ดงั นีแ้ ลว จึงไปสาํ นกั พวกโจร ส่งั วา \" พวกทานจงขนเอาสง่ิ ของ ๆ อุบาสิกาไปไวต ามเดมิ โดยเร็ว.\" โจรเหลา นัน้ ใหหองเก็บกหาปณะเตม็ ดว ยกหาปณะ ใหหองเกบ็ เงนิ และทองเตม็ ไปดวยเงินและทองแลว. ไดยินวา ความทีธ่ รรมยอมรักษาบคุ คลผปู ระพฤตธิ รรมเปน ธรรมดา, เพราะเหตุน้นั แล พระ-ผูมพี ระภาคเจา จึงตรสั วา :- \" ธรรมแล ยอ มรักษาบุคคลผูป ระพฤติธรรม, ธรรมทบ่ี ุคคลประพฤติดแี ลว ยอมนาํ ความสขุ มาให, นเ้ี ปนอานสิ งสในธรรมท่ีบุคคลประพฤตดิ ีแลว : ผมู ี ปกตปิ ระพฤติธรรม ยอมไมไปสูท ุคติ.\"

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 375 พวกโจรไดไ ปยนื อยใู นทีเ่ ปนทฟ่ี ง ธรรม. ฝายพระเถระแสดงธรรมแลว เมอื่ ราตรีสวา ง จงึ ลงจากอาสนะ. ในขณะนัน้ หัวหนา โจรหมอบลงแทบเทา ของอุบาสกิ า พดู วา \" คณุ นาย โปรดอดโทษแกผ มเถดิ .\" อบุ าสิกา. น้อี ะไรกนั ? พอ . หัวหนา โจร. ผมผูกอาฆาตในคณุ นาย ประสงคจ ะฆา คุณนาย จึงไดยืน (คุม) อยู. อุบาสิกา. พอ ถา เชนนนั้ ฉันอดโทษให. พวกโจรเลอื่ มใสขอบวชกะพระโสณะ แมพ วกโจรทเี่ หลือ ก็ไดท าํ อยา งนน้ั เหมอื นกัน เมือ่ อุบาสิกาพดู วา\" พอ ทัง้ หลาย ฉันอดโทษให\" จงึ พดู วา \" คณุ นาย ถาวาคุณนายอดโทษแกพ วกผมไซร, ขอคุณนายให ๆ บรรพชาแกพ วกผม ในสาํ นักแหง บุตรของคุณนายเถิด.\" อบุ าสกิ านัน้ ไหวบ ุตรแลว พดู วา \" พอ โจรพวกน้ีเลอื่ มใสในคณุ ของโยม และธรรมกถาของคณุ แลว จึงพากันขอบรรพชา,ขอคุณจงใหโ จรพวกนีบ้ วชเถิด. \" พระเถระพูดวา \" ดีละ \" แลว ใหต ดั ชายผา ที่โจรเหลานน้ั นุง แลวใหยอ มดวยดินแดง ใหพวกเขาบวชแลว ใหต ้งั อยูใ นศีล. แมใ นเวลาท่ีพวกเขาอปุ สมบทแลว พระเถระไดใหพระกมั มัฏฐานตา ง ๆ แกภกิ ษเุ หลานั้นรอ ยละอยา ง. ภกิ ษุ ๙๐๐ รปู นน้ั เรียนพระกัมมฏั ฐาน ๙ อยางตาง ๆ กนัแลวพากนั ข้นึ ไปสภู เู ขาลกู หน่งึ นั่งทาํ สมณธรรมใตร ม ไมน น้ั ๆ แลว . พระศาสดา ประทบั นง่ั อยใู นพระเชตวันมหาวิหารอันไกลกนั ได ๑๒๐โยชนน ั่นแล ทรงเลง็ ดภู ิกษเุ หลาน้นั แลว ทรงกําหนดพระธรรมเทศนาดวยอาํ นาจแพงความประพฤติของเธอเหลาน้นั ทรงเปลงพระรศั มไี ป

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 376ประหนึ่งวา ประทับนง่ั ตรสั อยูในทเ่ี ฉพาะหนา ไดทรงภาษติ พระคาถาเหลานี้วา :-๗. เมตฺตาวิหารี โย ภกิ ฺขุ ปสนโฺ น พทุ ธฺ สาสเนอธคิ จเฺ ฉ ปท สนฺต สงขฺ ารปู สม สขุ  .สิฺจ ภกิ ฺขุ อมิ  นาว สติ ตฺ า เต ลหุเมสสฺ ติเฉตวฺ า ราคจฺ โทสจฺ ตโต นพิ พฺ านเมหิส.ิปจฺ ฉินฺเท ปจฺ ชเห ปจฺ อุตฺตริ ภาวเยปจฺ สงฺคาตโิ ค ภกิ ขฺ ุ โอฆตณิ โฺ ณติ วุจฺจติ.ฌาย ภิกฺขุ มา จ ปมาโทมา เต กามคุเณ ภมสสฺ ุ จิตฺตมา โลหคฬุ  คิลี ปมตโฺ ตมา กนทฺ ิ ทกุ ฺขมทิ นฺติ ฑยฺหมาโน.นตถฺ ิ ณาน อปฺฺ สฺส ปญฺ า นตถฺ ิ อฌายโตยมหิ ฌานจฺ ปฺญา จ ส เว นพิ พฺ านสนตฺ เิ ก.สุ ฺาคาร ปวิฏ สสฺ สนฺตจติ ฺตสฺส ภิกขฺ ุโนอมานุสี รตี โหติ สมฺมา ธมฺม วปิ สฺสโต.ยโต ยโต สมฺมสติ ขนฺธาน อทุ ยพพฺ ยลภตี ปต ปิ าโมชฺช อธิ ปฺ สฺส ภิกฺขุโนตตาฺ ยมาทิ ภวติ อธิ ปฺ สฺส ภิกฺขุโนอินทฺ รฺ ิยคตุ ตฺ ิ สนตฺ ุฏี ปาตโิ มกเฺ ข จ ส วโรมิตเฺ ต ภชสฺสุ กลยฺ าเณ สทุ ธฺ าชีเว อตนฺทิเต.

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 377ปฏิสนฺถารวุตตฺ ฺยสฺส อาจารกุสโล สยิ าตโต ปาโมชชฺ พหุโล ทกุ ขฺ สสฺ นตฺ  กริสฺสต.ิ\" ภิกษใุ ด นป้ี กตอิ ยูดว ยเมตตา เลอ่ื มใสในพระ-พุทธศาสนา, ภกิ ษุน้ัน พึงบรรลบุ ทอันสงบ เปน ที่เขาไประงบั สังขาร อนั เปนสุข. ภิกษุ เธอจงวดิ เรือน้,ี เรอื ทเ่ี ธอวดิ แลว จักถึงเรว็ ; เธอตดั ราคะและโทสะไดแ ลว แตน ั้นจักถึงพระนิพพาน. ภกิ ษุพงึ ตัดธรรม ๕ อยาง พึงละธรรม ๕ อยา ง และพงึ ยังคณุธรรม ๕ ใหเ จรญิ ย่ิง ๆ ขึน้ , ภิกษุผลู ว งกิเลสเคร่อื งขอ ง ๕ อยางไดแลว เราเรียกวา ผูขามโอฆะได.ภกิ ษุ เธอจงเพง และอยาประมาท, จติ ของเธออยาหมนุ ไปในกามคุณ, เธออยา เปน ผปู ระมาทกลนื กนิกอนแหง โลหะ, เธออยาเปนผอู นั กรรมแผดเผาอยูคร่ําครวญวา ' นที้ กุ ข. ' ฌานยอมไมมแี กบ ุคคลผูไมม ปี ญ ญา, ปญ ญายอ มไมมีแกผูไมมฌี าน. ฌานและปญญายอ มมีในบคุ คลใด, บคุ คลนน้ั แล ต้ังอยูแลวในท่ีใกลพระนพิ พาน. ความยนิ ดมี ิใชข องมีอยูแหงมนุษย ยอ มมแี กภ ิกษุผเู ขาไปแลว สูเรอื นนางผูมจี ติ สงบแลว ผเู ห็นแจง ธรรมอยโู ดยชอบ. ภกิ ษุพจิ ารณาอยู ซึ่งความเกิดข้นึ และควานเสือ่ มไปแหงขนั ธท ัง้ หลายโดยอาการใด ๆ, เธอยอมไดป ตแิ ละปราโมทยโ ดยอาการนนั้ ๆ, การไดปต ิและปราโมทย

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 378 น้ัน เปนธรรมอันไมต ายของผูร แู จงทัง้ หลาย, ธรรม น้ี คือความคุม ครองซึ่งอินทรีย ๑ ความสันโดษ ๑ ความสํารวมในพระปาติโมกข ๑ เปน เบอ้ื งตน ใน ธรรมอนั ไมต ายนัน้ มอี ยูแกภ กิ ษผุ ูมีปญ ญาในพระ- ศาสนานี้. เธอจงคบมิตรทีด่ ีงาม มีอาชีวะอันหมด จด มเี กยี จครา น. ภิกษุพงึ เปนผูป ระพฤติในปฏ-ิ สนั ถาร พงึ เปนผฉู ลาดในอาจาระ; เพราะเหตุนน้ั เธอจกั เปนผมู ากดวยปราโมทย กระทาํ ทส่ี ุดแหง ทกุ ขไ ด. \" แกอรรถ บรรดาบทเหลานัน้ บทวา เมตฺตาวิหารี ความวา บคุ คลผูท าํ กรรมในพระกัมมัฏฐานอนั ประกอบดว ยเมตตาอยูกด็ ี ผยู งั ฌานหมวด ๓ และหมวด ๔ ใหเ กดิ ขึ้นดว ยอํานาจแหงเมตตาแลวดํารงอยูก็ดี ช่อื วา ผมู ีปกติอยูดว ยเมตตาโดยแท. คําวา ปสนโฺ น ความวา กภ็ กิ ษุใดเปนผูเลือ่ มใสแลว, อธิบายวายอ มปลูกฝงความเลื่อมใสลงในพระพทุ ธศาสนานน่ั แล. สองบทวา ปท สนฺต น่นั เปน ชอ่ื แหง พระนิพพาน. จรงิ อยู ภกิ ษุผูเห็นปานนั้น ยอ มบรรล,ุ อธบิ ายวา ยอ มประสบโดยแท ซึ่งพระนพิ พานอนั เปนสวนแหง ความสงบ ช่อื วาเปน ทเี่ ขาไประงบั สังขาร เพราะความท่ีสังขารทง้ั ปวงเปน สภาพระงบั แลว ซง่ึ มชี ่ืออนั ไดแ ลว วา ' สขุ ' เพราะความเปนสขุ อยา งยงิ่ .

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 379 บาทพระคาถาวา สิ จฺ ภกิ ขฺ ุ อมิ  นาว ความวา ภิกษเุ ธอจงวิดเรอื กลา วคอื อัตภาพนี้ ซ่งึ มีนํ้าคอื มิจฉาวิตกท้ิงเสยี . บาทพระคาถาวา สิตตฺ า เต ลหเุ มสฺสติ ความวา เหมอื นอยา งวาเรือท่เี พียบแลว ดวยนาํ้ ในมหาสมทุ รน่ันแล ช่อื วาอนั เขาวดิ แลว เพราะความท่ีน้ําอนั เขาปดชองทงั้ หลายวดิ แลว เปน เรอื ทเี่ บา ไมอ ัปปางในมหาสมทุ ร ยอ มแลน ไปถึงทาไดเร็วฉนั ใด; เรือคืออตั ภาพแมของทานนี้ท่ีเตม็ แลวดว ยนํา้ คอื มิจฉาวติ กกฉ็ นั นั้น ชือ่ วา อนั เธอวิดแลว เพราะความท่นี ้าํ คอื มจิ ฉาวิตก ซึ่งเกดิ ขึ้นแลว อนั เธอปด ชอ งทั้งหลายมจี ักษุทวารเปนตน ดวยความสาํ รวม วิดออกแลว จงึ เบา ไมจมลงในสงั สารวฏั จักพลันถงึ พระนิพพาน. บทวา เฉตฺวา เปนตน ความวา เธอจงตัดเคร่อื งผกู คือราคะและโทสะ, คร้ันตดั เครอ่ื งผกู เหลา นน้ั แลว จักบรรลุพระอรหตั , อธิบายวาแตน้ัน คอื ในกาลตอมา จักบรรลุอนปุ าทิเสสนพิ พาน. สองบทวา ปจฺ ฉินเฺ ท คือ พงึ ตดั สังโยชนอนั มีในสว นเบอื้ งตา่ํ๕ อยา ง อนั ยงั สตั วใ หถงึ อบายช้นั ตํ่า ดว ยหมวด ๓ แหงมรรคชน้ั ตา่ํ ดจุบุรุษตดั เชือกอนั ผกู แลว ท่เี ทาดวยศัสตราฉะนน้ั . สองบทวา ปจฺ ชเห ความวา พึงละ คือทง้ิ , อธบิ ายวา พึงตดัสังโยชนอันมใี นสว นเบ้ืองบน ๕ อยา ง อนั ยังสตั วใหถงึ เทวโลกชน้ั สงูดว ยพระอรหัตมรรค ดุจบรุ ุษตัดเชอื กอนั รดั ไวท ี่คอฉะนั้น. บาทพระคาถาวา ปฺจ อตุ ตฺ ริ ภาวเย คอื พงึ ยงั อนิ ทรีย ๕ มีศรทั ธาเปน ตน ใหเจริญยิง่ เพ่ือประโยชนแ กก ารละสงั โยชนอนั มใี นสว นเบ้อื งบน.

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 380 บทวา ปจฺ สงคฺ าติโค ความวา เมอื่ เปน เชนน้ัน ภิกษชุ อื่ วา ผูลว งกิเลสเครื่องของ ๕ อยา งได เพราะกาวลว งกเิ ลสเครื่องของ คือราคะโทสะ โมหะ มานะ และทฏิ ฐิ ๕ อยาง พระศาสดาตรสั เรยี กวา \" ผขู า มโอฆะได;\" อธิบายวา ภิกษนุ ัน้ พระศาสดาตรสั เรียกวา \" ผูขา มโอฆะ๔ ไดแ ทจ ริง.\" สองบทวา ฌาย ภิกฺขุ ความวา ภกิ ษุ เธอจงเพงดวยอาํ นาจแหงฌาน๑ ๒ และชื่อวา อยาประมาทแลว เพราะความเปนผูม ปี กตไิ มประมาทในกายกรรมเปน ตน อย.ู บทวา ภมสสฺ ุ คือ จิตของเธอ จงอยาหมนุ ไปในกามคณุ ๕ อยาง. บทวา มา โลหคฬุ  ความวา กช็ นทัง้ หลายผูประมาทแลว ดว ยความเลินเลอมปี ลอ ยสติเปนลักษณะ ยอ มกลืนกนิ กอนโลหะทรี่ อ นแลว ในนรก,เพราะฉะนน้ั เราจึงกลา วกะเธอ: เธออยา เปน ผปู ระมาท กลนื กนิ กอนโลหะ, อยาถูกไฟแผดเผาในนรก คร่าํ ครวญวา \" นที้ ุกข นท้ี กุ ข. \" สองบทวา นตฺถิ ฌาน ความวา ชื่อวาฌาน ยอ มไมมแี กผ ูหาปญญามิได ดวยปญญาเปนเหตพุ ยายามอันยงั ฌานใหเ กิดขน้ึ . สองบทวา นตถฺ ิ ปฺ า ความวา ก็ปญญาซ่ึงมีลักษณะทพี่ ระผูมี-พระภาคเจาตรสั ไวว า \" ภกิ ษผุ ูมจี ติ ตั้งมัน่ แลว ยอมรู ยอมเหน็ ตามความเปนจรงิ \" ยอ มไมม ีแกบคุ คลผไู มเ พง . บาทพระคาถาวา ยมฺหิ ฌานฺจ ปฺา จ ความวา ฌานและปญ ญาแมท ัง้ สองน้มี ีอยใู นบคุ คลใด, บคุ คลนน้ั ชื่อวาตง้ั อยแู ลว ในท่ีใกลแหง พระนพิ พานโดยแทท ีเดยี ว.๑. อารัมมณปนชิ ฌาน และลกั ขณปนิชฌาน.

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 381 บาทพระคาถาวา สุฺ าคาร ปวฏิ สฺส คอื ผูไมล ะพระกัมมัฏฐานนง่ั อยู ดว ยการทําพระกัมมฏั ฐานไวใ นใจในโอกาสทีส่ งดั บางแหง นัน่ แล. บทวา สนตฺ จิตตฺ สสฺ คือ ผูมจี ิตอันสงบแลว. บทวา สมฺมา เปน ตน ความวา ความยินดีมิใชเปน ของมอี ยูแหงมนษุ ย กลา วคอื วิปส สนาก็ดี ความยินดอี ันเปนทิพย กลาวคอื สมาบตั ิ ๘กด็ ี ยอมมี อธบิ ายวา ยอ มเกดิ ข้นึ แกบ ุคคลผูเหน็ แจงซ่งึ ธรรมโดยเหตุโดยการณ. บาทพระคาถาวา ยโต ยโต สมมฺ สติ ความวา ทํากรรมในอารมณ ๓๘ ประการ โดยอาการใด ๆ, คือทาํ กรรมในกาลทง้ั หลายมกี าลกอนภตั เปนตน ในกาลใด ๆ ทตี่ นชอบใจแลว , หรือทาํ กรรมในพระกมั มัฏฐานท่ตี นชอบใจแลว ชอ่ื วา ยอ มพจิ ารณาเหน็ . บทวา อุทยพพฺ ย คอื ซงึ่ ความเกดิ ขน้ึ แหงขนั ธ ๕ โดยลักษณะ๒๕๑ และความเส่อื มแหงขันธ ๕ โดยลักษณะ ๒๕๒ เหมอื นกัน. บทวา ปต ิปาโมชฺช คอื เมือ่ พจิ ารณาความเกิดข้ึนและความเส่อื มไปแหง ขนั ธท้ังหลายอยา งนน้ั อยู ช่อื วา ยอ มไดป ต ิในธรรมและปราโมทยใ นธรรม. บทวา อมต ความวา เม่ือนามรปู พรอมทั้งปจจัย เปนสภาพปรากฏตั้งขนึ้ อยู ปต แิ ละปราโมทยท ี่เกดิ ขนึ้ แลวนัน้ ชอื่ วา เปน อมตะของ๑. รูปเกดิ ข้ึนเพราะอวชิ ชา. ๒. . .เพราะตัณหา. ๓. . .เพราะกรรม. ๔. . .เพราะอาหาร๕. ความเกิดข้นึ ของรปู อยางเดยี ว ไมอ าศัยเหตปุ จจัย. สว นเวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณก็เหมือนกนั ตา งแตข อ ๔ ใหเ ปล่ียนวา เกิดข้นึ เพราะผสั สะ วิญญาณเกดิ ขึน้ เพราะนามรูป ๕x๕จงึ เปน ๒๕. ๒. ในลักษณะความเส่ือม พงึ ทราบโดยนบั ตรงกนั ขาม.

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 382ทานผูรทู ัง้ หลาย คือของผเู ปนบัณฑติ โดยแท เพราะความท่ปี ต ิและปราโมทยเ ปนธรรมทใ่ี หส ัตวถึงอมตมหานพิ พาน. บาทพระคาถาวา ตตฺรายมาทิ ภวติ คอื นีเ้ ปน เบ้อื งตน คือปติและปราโมทยนี้ เปนฐานะมใี นเบอ้ื งตนในอมตธรรมนัน้ . สองบทวา อิธ ปฺสสฺ คอื แกภ กิ ษผุ ูฉลาดในพระศาสนาน้ี. บดั นี้ พระศาสดาเม่อื จะทรงแสดงฐานะอนั มีในเบอ้ื งตน ทพี่ ระองคตรัสวา \" อาทิ \" นัน้ จงึ ตรัสคาํ เปนตนวา \" อินทฺ ฺรยิ คุตฺติ. \" จรงิ อยูปารสิ ทุ ธิศีล ๔ ช่อื วา เปน ฐานะมใี นเบ้ืองตน. ความสํารวมอินทรีย ชอ่ื วา อนิ ทฺ ฺรยิ คุตฺติ ในพระคาถาน้นั . ความสนั โดษดวยปจ จยั ๔ ช่อื วา สนฺตฏุ ิ อาชวี ปารสิ ุทธศิ ลี และปจจยสนั -นสิ ิตศลี พระศาสดาตรัสไวด ว ยบทวา สนฺตฏุ ิ นั้น. ความเปนผทู ําใหบรบิ ูรณในศลี ทีป่ ระเสรฐิ สุด กลาวคือพระปาติ-โมกข พระศาสดาตรัสไวด วยบทวา ปาติโมกเฺ ข. บาทพระคาถาวา มิตฺเต ภชสฺสุ กลยฺ าเณ ความวา ทานละสหายผูไ มสมควร มกี ารงานอนั สละแลว จงคบ คอื จงเสพ มิตรทด่ี งี าม ผูช่ือวา มอี าชีวะอันบริสุทธิ์ เพราะมชี วี ิตประกอบดวยสาระ และชื่อวา ผูไมเกียจคราน เพราะอาศยั กาํ ลังแขงเล้ยี งชีพ. บาทพระคาถาวา ปฏสิ นฺถารวตุ ฺยสสฺ คอื พงึ เปนผชู อ่ื วา ประพฤติในปฏสิ นั ถาร เพราะความเปนผูประพฤตเิ ตม็ ทแี่ ลวดว ยอามิสปฏิสันถารและธรรมปฏสิ นั ถาร, อธบิ ายวา พึงเปน ผทู าํ ปฏิสันถาร. บทวา อาจารกุสโล ความวา แมศีลก็ช่ือวา มรรยาท ถงึ วัตรปฏวิ ตั ร

พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 383ก็ชอื่ วา มรรยาท, พึงเปน ผฉู ลาด, อธบิ ายวา พงึ เปน ผเู ฉยี บแหลม ในมรรยาทนั้น. บาทพระคาถาวา ตโต ปาโมชชฺ พหโุ ล ความวา เธอชอื่ วา เปน ผูมากดว ยปราโมทย เพราะความเปนผบู นั เทิงในธรรม อันเกดิ ข้นึ แลวจากการประพฤติปฏิสันถาร และจากความเปน ผฉู ลาดในมรรยาทนั้น จกั ทาํท่ีสดุ แหง วฏั ทุกขแ มท งั้ สน้ิ ได. บรรดาบทพระคาถาเหลาน้ี ทีพ่ ระศาสดาทรงแสดงดวยอยางนี้ ในกาลจบพระคาถาหน่งึ ๆ ภกิ ษรุ อ ยหนึ่ง ๆ บรรลพุ ระอรหัตพรอมดว ยปฏสิ มั ภทิ าทั้งหลาย ในท่แี หงตนน่ังแลว ๆ นนั่ แล เหาะขึ้นไปสเู วหาสแลว ภิกษุเหลาน้ันแมท ัง้ หมด กาวลวงทางกันดาร ๑๒๐ โยชนทางอากาศนนั่ แล ชมเชยพระสรรี ะซง่ึ มีสดี จุ ทองของพระตถาคตเจา ถวายบงั คมพระบาทแลว ดังน้ีแล. เรอื่ งสัมพหลุ ภกิ ษุ จบ.

พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 384 ๘. เร่ืองภิกษุประมาณ ๕๐๐ รูป [๒๕๙] ขอความเบือ้ งตน พระศาสดา เมือ่ ประทบั อยใู นพระเชตวนั ทรงปรารภภิกษปุ ระมาณ๕๐๐ รปู ตรัสพระธรรมเทศนานีว้ า \"วสสฺ กิ า วยิ ปปุ ผฺ าน\"ิ เปน ตน. ดังไดส ดบั มา ภกิ ษุเหลาน้ันเรียนพระกัมมฏั ฐานในสาํ นกั ของพระ-ศาสดา บาํ เพ็ญสมณธรรมอยูใ นปา เห็นดอกมะลทิ ีบ่ านแลว แตเ ชา ตรูหลดุ ออกจากขว้ั ในเวลาเย็น จึงพากันพยายาม ดวยหวงั วา \" พวกเราจกัหลุดพน จากกเิ ลสมรี าคะเปน ตน กอนกวา ดอกไมท ้ังหลายหลุดออกจากข้วั . ภิกษุควรพยายามใหห ลุดพน จากวัฏทกุ ข พระศาสดาทรงตรวจดูภิกษเุ หลานั้น แลว ตรัสวา \" ภกิ ษุทัง้ หลายธรรมดาภิกษพุ ึงพยายามเพ่ือหลุดพนจากวัฏทกุ ขใหได ดจุ ดอกไมท ห่ี ลดุจากข้ัวฉะนน้ั .\" ประทับน่งั ทพี่ ระคนั ธกฎุ ีนั่นเอง ทรงเปลง พระรัศมีไปแลว ตรัสพระคาถาน้วี า:- ๘. วสฺสกิ า วิย ปปุ ผฺ านิ มทฺทวานิ ปมุฺจติ เอว ราคจฺ โทสฺจ วิปปฺ มุ ฺเจถ ภิกฺขโว. \" ภิกษทุ ัง้ หลาย พวกเธอจงปลดเปล้อื งราคะและ โทสะเสยี เหมือนมะลเิ ครือปลอยดอกท้งั หลายที่ เหย่ี วเสยี ฉะน้นั .\" แกอรรถ มะลิ ชือ่ วา วสฺสกิ า ในพระคาถาน้ัน. บทวา มชชฺ วาน๑ิ แปลวา เห่ียวแลว.๑. สี. ย.ุ มททฺ วานิ. ม. มจฺจวานิ. บาลี มทฺทวาน.ิ

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 385 ทา นกลา วคําอธบิ ายนีไ้ วว า :- \" มะลิเครือ ยอมปลอยคอื ยอ มสลัดซ่ึงดอกท่บี านแลวในวันวาน ในวันรุง ขึน้ เปน ดอกไมเกา เสียจากข้ัวฉันใด; แมท านท้ังหลายก็จงปลด-เปลอ้ื งโทษทง้ั หลายมีราคะเปนตนฉนั นั้นเถิด.\" ในกาลจบเทศนา ภิกษแุ มท ัง้ หมดตง้ั อยใู นพระอรหตั แลว ดงั นแี้ ล. เรอื่ งภิกษปุ ระมาณ ๕๐๐ รูป จบ.

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 386 ๙. เรอื่ งพระสนั ตกายเถระ [๒๖๐] ขอ ความเบอ้ื งตน พระศาสดา เมอ่ื ประทบั อยูใ นพระเชตวัน ทรงปรารภพระสนั ตกาย-เถระ ตรสั พระธรรมเทศนานีว้ า \" สนตฺ กาโย \" เปนตน. พระเถระเคยเกิดเปนราชสหี  ดังไดสดับมา ชอื่ วา การคะนองมอื และเทา ของพระเถระนั้น มไิ ดมีแลว . ทา นไดเ ปน ผูเวนจากการบิดกาย เปน ผมู อี ัตภาพสงบ. ไดยนิ วา พระเถระน้นั มาจากกําเนิดแหง ราชสหี . นยั วา ราชสีหทั้งหลาย ถือเอาอาหารในวันหน่ึงแลว เขา ไปสถู าํ้ เงิน ถาํ้ ทอง ถ้าํ แกวมณี และถ้าํ แกว ประพาฬ ถ้าํ ใดถ้าํ หน่ึง นอนทจี่ รุ ณแหงมโนศลิ า และหรดาลตลอด ๗ วนั ในวันท่ี ๗ ลกุ ขึน้ แลว ตรวจดทู แี่ หง ตนนอนแลว ,ถา เห็นวาจุรณแหงมโนศลิ าและหรดาลกระจดั กระจายแลว เพราะความที่หาง หู หรอื เทา อันตัวกระดกิ แลว จึงคดิ วา \" การทําเชนน้ี ไมสมควรแกช าตหิ รอื โคตรของเจา\" แลวก็นอนอดอาหารไปอกี ตลอด ๗ วนั ; แตเมือ่ ไมมคี วามทจี่ ุรณทัง้ หลายยกระจัดกระจายไป จึงคดิ วา \" การทําเชน นี้สมควรแกช าติและโคตรของเจา \" ดังนี้แลว กอ็ อกจากทอ่ี าศัย บิดกายชําเลืองดทู ศิ ทงั้ หลาย บันลอื สหี นาท ๓ ครง้ั แลวก็หลีกไปหากนิ . ภิกษุนีม้ าแลว โดยกําเนิดแหงราชสหี เหน็ ปานนนั้ . ภกิ ษุทั้งหลาย เห็นความประพฤติเรยี บรอยทางกายของทาน จึงกราบทูลแดพ ระศาสดาวา \" พระเจา ขา ภิกษผุ เู ชน กับพระสันตกายเถระพวกขา พระองคไ มเคยเหน็ แลว, ก็การคะนองมือ คะนองเทา หรือการบดิ กายของภิกษุน้ี ในท่แี หง ภกิ ษุนนี้ ่ังแลว มไิ ดมี.\"

พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 387 ภกิ ษคุ วรเปน ผสู งบ พระศาสดาทรงสดับถอ ยคํานัน้ แลว จงึ ตรัสวา \" ภกิ ษุท้ังหลายธรรมดาภกิ ษุ พึงเปน ผูส งบทางทวารท้งั หลายมีกายทวารเปนตน โดยแทเหมอื นสันตกายเถระฉะน้ัน\" ดังน้ีแลว ตรัสพระคาถานี้วา :- ๙. สนตฺ กาโย สนตฺ วาโจ สนฺตมโน สสุ มาหิโต วนฺตโลกามิโส ภิกฺขุ อปุ สนฺโตติ วุจจฺ ต.ิ \" ภกิ ษผุ ูมกี ายสงบ มีวาจาสงบ มีใจสงบ ผู ตงั้ มนั่ ดแี ลว มอี ามสิ ในโลกอนั คายเสยี แลว เรา เรยี กวา \" ผสู งบระงับ.\" แกอรรถ บรรดาบทเหลานั้น บทวา สนตฺ กาโย เปนตน ความวา ช่ือวาผูมกี ายสงบแลว เพราะความไมม กี ายทจุ ริตท้ังหลายมปี าณาตบิ าตเปน ตน .ชอ่ื วา ผมู วี าจาสงบแลว เพราะความไมมีวจที ุจรติ ทัง้ หลาย มมี ุสาวาทเปนตน , ช่อื วา มีใจสงบแลว เพราะความไมม ีมโนทจุ รติ ทัง้ หลายมีอภิชฌาเปนตน, ช่ือวา ผตู งั้ มนั่ ดีแลว เพราะความทีท่ วารท้ัง ๓ มกี ายเปนตนต้งั ม่นั แลว ดว ยดี, ชอ่ื วา มีอามิสในโลกอันคายแลว เพราะความที่อามสิ ในโลกเปน ของอนั ตนสํารอกเสยี แลว ดว ยมรรค ๔, พระศาสดาตรสั เรยี กวา ' ชอื่ วา ผูส งบ ' เพราะความที่กเิ ลสทั้งหลายมรี าคะเปนตนในภายในสงบระงับแลว . ในกาลจบเทศนา พระเถระต้ังอยูในพระอรหตั แลว , เทศนาไดเปน ประโยชนแ มแ กชนผปู ระชมุ กันแลว ดงั นแ้ี ล. เรอื่ งพระสนั ตกายเถระ จบ.

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 388 ๑๐. เรอ่ื งพระนงั คลกูฏเถระ [๒๖๑] ขอความเบ้อื งตน พระศาสดา เมอ่ื ประทบั อยูในพระเชตวัน ทรงปรารภพระนังคลกูฏ-เถระ ตรสั พระธรรมเทศนานีว้ า \" อตฺตนา โจทยตฺตาน \" เปน ตน. คนเข็ญใจบวชในพระพทุ ธศาสนา ดงั ไดส ดับมา มนษุ ยเ ขญ็ ใจผูหนง่ึ ทําการรับจางของชนเหลาอนื่เลี้ยงชพี . ภิกษุรปู หนึง่ เห็นเขานงุ ผาทอนเกา แบกไถ เดินไปอยู จงึพูดอยางนวี้ า \" ก็เธอบวช จะไมประเสรฐิ กวา การเปนอยูอ ยา งน้หี รือ.\" มนุษยเข็ญใจ. ใครจกั ใหก ระผมผูเปนอยอู ยางน้บี วชเลา ขอรบั . ภกิ ษุ. หากเธอจกั บวช, ฉันกจ็ ักใหเธอบวช. มนษุ ยเ ขญ็ ใจ. \" ดลี ะ ขอรบั , ถาทานจกั ใหกระผมบวช กระผมกจ็ ักบวช.\" คร้งั นนั้ พระเถระนาํ เขาไปสูพระเชตวัน แลวใหอ าบน้าํ ดวยมอืของตน พักไวในโรงแลว ใหบวช ใหเ ขาเกบ็ ไถ พรอมกับผา ทอนเกาที่เขานุง ไวท ่กี ่งิ ไมใ กลเขตแดนแหงโรงนัน้ แล. แมใ นเวลาอุปสมบท เธอไดป รากฏช่ือวา \" นังคลกฏู เถระ\" นั่นแล. ภิกษุมีอุบายสอนตนเองยอมระงบั ความกระสัน พระนงั คลกูฏเถระน้ัน อาศัยลาภสกั การะซ่งึ เกดิ ขน้ึ เพอ่ื พระพทุ ธ-เจา ทัง้ หลายเล้ยี งชพี อยู กระสนั ขน้ึ แลว เมอ่ื ไมส ามารถเพ่ือจะบรรเทาไดจึงตกลงใจวา \" บดั นี้ เราจกั ไมน งุ หม ผากาสายะทั้งหลายทเี่ ขาใหดวยศรัทธาไปละ\" ดงั นแี้ ลว ก็ไปยังโคนตน ไม ใหโอวาทตนดว ยตนเองวา

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 389\" เจา ผูไ มม หี ริ ิ หมดยางอาย เจา อยากจะนุงหม ผาขรี้ วิ้ ผืนนี้ สกึ ไปทําการรบั จา งเลีย้ งชีพ (หรือ).\" เมอื่ ทา นโอวาทคนอยอู ยางน้นั แล จติ ถึงความเปนธรรมชาตเิ บา (คลายกระสัน ) แลว. ทา นกลบั มาแลว โดยกาลลวงไป ๒-๓ วัน กก็ ระสันขน้ึ อีก จึงสอนตนเหมือนอยา งนน้ั น่นั แล, ทา นกลบั ใจไดอีก. ในเวลากระสนั ขึ้นมาทา นไปในท่ีน้ันแลว โอวาทตนโดยทํานองนแ้ี ล. คร้งั น้นั ภิกษทุ งั้ หลาย เหน็ ทานไปอยใู นที่น้นั เนือง ๆ จงึ ถามวา\" ทา นนงั คลกูฏเถระ เหตไุ ร ทา นจึงไปในที่นน้ั .\" ทานตอบวา \" ผมไปยังสํานกั อาจารย ขอรบั \" ดังนี้แลวตอ มา๒-๓ วนั เทา นั้น (ก็) บรรลุพระอรหัตผล. ภกิ ษุทั้งหลาย เมื่อจะทําการลอเลน กบั ทาน จงึ กลาววา \" ทานนังคลกูฏะผหู ลกั ผูใ หญ ทางท่ีเทยี่ วไปของทาน เปนประหน่ึงหารอยมิไดแลว , ชะรอยทานจะไมไ ปยังสํานักของอาจารยอ กี กระมัง\" พระเถระ. อยา งน้นั ขอรบั : เมือ่ กิเลสเครื่องเก่ยี วขอ งยังมอี ยูผมไดไ ปแลว, แตบ ดั นี้ กเิ ลสเครื่องเก่ียวของ ผมตัดเสยี ไดแ ลว เพราะ-ฉะนั้น ผมจึงไมไป. ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ฟง คําตอบนัน้ แลว เขาใจวา \" ภิกษุน่ี พดู ไมจ ริงพยากรณพ ระอรหตั ผล\" ดงั น้ีแลว จงึ กราบทลู เนือ้ ความนั้นแดพระศาสดา. ภกิ ษคุ วรเปนผเู ตอื นตน พระศาสดาตรสั วา \" เออ ภกิ ษุทงั้ หลาย นงั คลกูฏะบตุ รของเรา

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 390เตือนตนดวยตนเองแล แลวจงึ ถึงท่สี ดุ แหง กจิ ของบรรพชิต \" ดงั นแ้ี ลวเมื่อจะทรงแสดงธรรม ไดท รงภาษติ พระคาถาเหลา น้ีวา :-๑๐. อตตฺ นา โจทยตตฺ าน ปฏมิ  เสตมฺตนา โส อตตฺ คุตฺโต สติมา สุข ภิกขฺ ุ วิหาหิสิ. อตฺตา หิ อตตฺ โน นาโถ อตตฺ า หิ อตตฺ โน คติ ตสฺมา สฺ ม อตตฺ าน อสฺส ภทรฺ  ว วาณิโช. \" เธอจงตกั เตือนตนดวยตน, จงพจิ ารณาดตู น น้ันดวยตน, ภกิ ษุ เธอน้ันมีสติ ปกครองตนไดแลว จกั อยูสบาย. ตนแหละ เปน นาถะของตน, ตน แหละ เปน คติของตน; เพราะฉะนนั้ เธอจงสงวน ตนใหเหมอื นอยา งพอ คา มา สงวนมาตวั เจริญฉะนัน้ .\" แกอรรถ บรรดาบทเหลา นั้น บทวา โจทยตฺตาน ความวา จงตกั เตอื นตนดว ยตนเอง คอื จงยังตนใหร สู กึ ดวยตนเอง. บทวา ปฏมิ  เส คอื ตรวจตราดตู นดว ยตนเอง. บทวา โส เปนตน ความวา ภิกษุ เธอนัน้ เม่ือตักเตือนพิจารณาดูตนอยา งนนั้ อยู, เปน ผชู ือ่ วา ปกครองตนได เพราะความเปนผมู ีตนปกครองแลวดว ยตนเอง เปนผูชือ่ วา มีสติ เพราะความเปน ผูมีสติตั้งมน่ัแลว จกั อยสู บายทกุ สรรพอริ ยิ าบถ. บทวา นาโถ ความวา เปน ทีอ่ าศยั คอื เปนท่พี าํ นกั (คนอ่ืนใครเลา พงึ เปนทพี่ ึง่ ได) เพราะบุคคลอาศัยในอตั ภาพของผูอ ่ืน ไมอ าจเพ่ือเปน ผูกระทาํ กุศลแลว มีสวรรคเ ปนทไี่ ปในเบือ้ งหนา หรือเปนผูยงั มรรค

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 391ใหเ จรญิ แลว ทาํ ผลใหแจง ได; เพราะเหตนุ ้นั จึงมอี ธบิ ายวา \" คนอน่ืชื่อวา ใครเลา พึงเปนทพ่ี ง่ึ ได.\" บทวา ตสฺมา เปน ตน ความวา เหตุท่ีตนแลเปนคติ คอื เปน ท่ีพาํ นกั ไดแกเปนสรณะของตน. พอ คามา อาศยั มา ตัวเจริญ คือมาอาชาไนยนั้น ปรารถนาลาภอยูจงึ เกียดกนั การเท่ียวไปในวสิ มสถาน (ทไ่ี มสมควร) แหงมานัน้ ใหอ าบน้ําใหบ ริโภคอยู ตง้ั สามคร้ังตอ วัน ชื่อวา ยอ มสงวน คอื ประดับประคองฉันใด, แมต ัวเธอ เมือ่ ปอ งกันความเกิดขน้ึ แหงอกศุ ลซง่ึ ยังไมเกิด ขจดัทเ่ี กดิ ขึ้นแลวเพราะการหลงลมื สตเิ สีย (ก)็ ช่อื วา สงวนคือปกครองตนฉันนั้น; เมื่อเธอสงวนตนไดอยางน้อี ยู เธอจักบรรลุคุณพิเศษทง้ั ท่ีเปนโลกยิ ะท้ังทเี่ ปนโลกตุ ระ เร่ิมแตป ฐมฌานเปนตน ไป. ในกาลจบเทศนา ชนเปน อันมากบรรลอุ ริยผลทง้ั หลาย มโี สดา-ปตตผิ ลเปนตน ดงั นีแ้ ล. เร่ืองพระนงั คลกฏู เถระ จบ.

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 392 ๑๐. เรื่องพระวักกลิเถระ [๒๖๒] ขอ ความเบอื้ งตน พระศาสดา เม่ือประทบั อยใู นพระเวฬุวัน ทรงปรารภนพระวักกล-ิเถระ ตรสั พระธรรมเทศนานี้วา \" ปาโมชฺชพหุโล ภิกขฺ ุ\" เปนตน . ผูเ ห็นธรรมชือ่ วา เหน็ พระตถาคต ดังไดสดบั มา ทา นวกั กลิเถระน้ัน เกิดในตระกูลพราหมณในกรงุ -สาวัตถี เจรญิ วัยแลว, เห็นพระตถาคตเสด็จเขา ไปเพอ่ื บิณฑบาต แลดูพระสรีระสมบตั ขิ องพระศาสดาแลว ไมอิม่ ดวยการเห็นพระสรีระสมบตั ิ,จงึ บรรพชาในสํานักพระศาสดา ดวยเขาใจวา \" เราจักไดเ ห็นพระตถาคต-เจาเปน นิตยกาล ดว ยอบุ ายนี้ \" ดงั น้แี ลว , ก็ยนื อยใู นทอ่ี นั ตนยนื อยูแลวสามารถเพอ่ื จะแลเหน็ พระทศพลได, ละกจิ วัตรท้ังหลาย มีการสาธยายและมนสิการในพระกมั มัฏฐานเปน ตน เทย่ี วมองดพู ระศาสดาอย.ู พระศาสดาทรงรอความแกกลาแหงญาณของทา นอยู จงึ ไมต รัสอะไร (ตอ) ทรงทราบวา \" บดั นี้ ญาณของเธอถงึ ความแกกลาแลว\" จึงตรสั โอวาทวา \" วักกลิ ประโยชนอ ะไรของเธอ ดว ยการเฝา ดกู ายเนาน้ี,วกั กลิ คนใดแลเหน็ ธรรม, คนน้นั (ชอื่ วา) เหน็ เรา (ผูตถาคต) คนใดเห็นเรา (ผูตถาคต), คนนนั้ (ช่ือวา) เหน็ ธรรม. \" พระวักกลนิ ้ัน แมอ ันพระศาสดาสอนแลว อยา งนัน้ กไ็ มอ าจเพอื่ละการดูพระศาสดาไปในทอ่ี ่ืนไดเ ลย. คร้ังนนั้ พระศาสดาทรงดาํ ริวา \" ภิกษุนี้ ไมไดความสังเวชแลว
















Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook