Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_43

tripitaka_43

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:40

Description: tripitaka_43

Search

Read the Text Version

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 1 พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ท่ี ๑ ภาคที่ ๒ ตอนท่ี ๔ ขอนอบนอมแดพระผมู ีพระภาคอรหนั ตสัมมาสัมพุทธเจา พระองคน ้นั คาถาธรรมบท มลวรรคท่ี ๑๘๑ วา ดวยมลทิน[๒๘] ๑. บัดน้ี ทา นเปนดจุ ใบไมเหลือง อนง่ึ บุรษุ แหง พระยายม (คอื ความตาย) ปรากฏแกท านแลว ทา น ต้ังอยใู กลปากแหงความเสือ่ ม อนึง่ แมเ สบยี งทาง ของทา นก็ยังไมม ี ทานนน้ั จงทาํ ที่พ่งึ แกตน จงรีบ พยายาม จงเปน บณั ฑติ ทา นกําจดั มลทินไดแลว ไมมีกเิ ลสเพียงดังเนนิ จกั ถึงอรยิ ภูมอิ ันเปน ทิพย. บัดนี้ ทา นเปนผมู วี ัยอันชรานาํ เขาไปแลว เปน ผู เตรยี มพรอ ม (เพ่อื จะไป) สํานักของพระยายม อนึ่ง แมทพ่ี ักในระหวา ง (ทาง) ของทานกย็ ังไมมี อนงึ่๑. วรรคน้ี มอี รรถกถา ๑๒ เรือ่ ง.

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 2ถงึ เสบยี งทางของทานกห็ ามีไม ทา นน้นั จงทําทีพ่ ่ึงแกตน จงรีบพยายาม จงเปน บณั ฑิต ทานเปนผูมีมลทินอนั กาํ จัดไดแ ลว ไมมกี เิ ลสเพียงดาํ เนิน จกั ไมเขา ถึงชาติชราอกี . ๒. ผูม ีปญญาทาํ กุศลอยูค ราวละนอ ย ๆ ทกุ ๆขณะโดยลาํ ดบั พึงกําจัดมลทินของตนได เหมือนชางทองปดเปา สนมิ ของฉะนน้ั . ๓. สนิมตงั้ ขนึ้ แตเหล็ก คร้ันต้งั ขนึ้ แตเหลก็ แลวยอมกัดเหลก็ นนั่ เอง ฉนั ใด กรรมทงั้ หลายของตนยอมนําบคุ คลผมู กั ประพฤติลว งปญญาช่อื วา โธนา ไปสทู ุคติ ฉันนั้น. ๔. มนตท ง้ั หลาย มีอันไมท องบน เปน มลทินเรอื นมคี วามในหมั่นเปน มลทิน ความเกยี จครา นเปนมลทนิ ของผวิ พรรณ ความประมาทเปน มลทนิ ของผรู ักษา. ๕. ความประพฤตชิ ่วั เปนมลทินของสตรี ความตระหนี่เปนมลทนิ ของผูให ธรรมอนั ลามกท้ังหลายเปนมลทนิ แล ทัง้ ในโลกนี้ ท้งั ในโลกหนา เราจะบอกมลทินอันยงิ่ กวา มลทินนนั้ อวชิ ชาเปน มลทนิ อยา งยิ่งภิกษุท้ังหลาย ทา นทั้งหลายละมลทินน่นั ไดแ ลว ยอ มเปน ผหู มดมลทนิ .

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 3 ๖. อันบคุ คลผูไมม คี วามละอาย กลา เพยี งดงั กามีปกติกาํ จดั (คุณผอู ่ืน) มักแลนไป (เอาหนา) ผูคะนอง ผเู ศรา หมอง เปน อยูงาย สว นบคุ คลผูมีความละอาย ผแู สวงหากรรมอนั สะอาดเปน นิตย ไมหดหู ไมค ะนอง มอี าชวี ะหมดจด เหน็ อยู เปน อยูย าก. ๗. นระใด ยอ มยังสตั วม ชี วี ิตใหตกลวงไป ๑กลาวมสุ าวาท ๑ ถือเอาทรพั ยท่ีบคุ คลอ่ืนไมใ หใ นโลก ๑ ถงึ ภริยาของผูอ่นื ๆ อนง่ึ นระใดยอมประกอบเนือง ฯ ซงึ่ การดืม่ สุราและเมรยั นระนี้ (ชอ่ื วา) ยอ มขุดซ่งึ รากเหงา ของตนในโลกน้ที ีเดียว. บรุ ุษผูเจริญทา นจงทราบอยา งน้วี า บุคคลผมู บี าปธรรมท้งั หลายยอ มเปน ผไู มส าํ รวมแลว ความโลภและสภาพมใิ ชธรรม จงอยารบกวนทาน เพอ่ื ความทกุ ข ตลอดกาล นานเลย. ๘. ชนยอมให (ทาน) ตามศรทั ธา ตามความเลื่อมใส แลชนใดยอมเปน ผูเกอเขนิ ในเพราะนา้ํ และขาวของชนเหลา อืน่ นน้ั ชนนน้ั ยอมไมบรรลสุ มาธิในกลางวนั หรือในกลางคืน กอ็ กศุ ลกรรมอันบุคคลใดตัดขาดแลว ถอนขึ้นทาํ ใหม ีรากขาดแลว บคุ คลนน้ั แลยอมบรรลุสมาธิ ในกลางวันหรือในกลางคนื . ๙. ไฟเสมอดว ยราคะไมมี ผูจักเสมอดว ยโทสะไมมี ขายเสมอดวยโมหะไมมี แมน ้ําเสมอดวยตณั หาไมม.ี

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 4 ๑๐. โทษของบคุ คลเหลาอน่ื เหน็ ไดง าย ฝา ยโทษของตนเห็นไดย าก เพราะวาบคุ คลนน้ั ยอมโปรยโทษของบุคคลอนั เหมอื นบคุ คลโปรยแกลบ แตว ายอมปกปด โทษของตน เหมือนพรานนกปกปดอัตภาพดวยเคร่อื งปกปด ฉะนนั้ . ๑๑. อาสวะทงั้ หลายยอ มเจรญิ แกบ ุคคลนัน้ ผูคอยดโู ทษของบุคคลอ่นื ผูมคี วามมงุ หมายในอันยกโทษเปนนติ ย บุคคลนั้นเปน ผไู กลจากความสน้ิ ไปแหงอาสวะ. ๑๒. รอยเทาในอากาศนน่ั เทยี วไมมี สมณะภายนอกไมมี หมูสตั วเปนผยู ินดยี ิ่งแลวในธรรมเคร่ืองเนน่ิ ชา พระตถาคตทงั้ หลายไมม ีธรรมเครอื่ งเนิ่นชา รอยเทาในอากาศนน่ั เทยี วไมมี สมณะภายนอกไมมี สังขารทง้ั หลายชื่อวาเท่ยี งไมมี กเิ ลส-ชาตเคร่ืองหวนั่ ไหว ไมม แี กพระพุทธเจาท้ังหลาย. จบมลวรรคที่ ๑๘

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 5 ๑๘. มลวรรควรรณนา ๑. เรอื่ งบตุ รของนายโคฆาตก [๑๘๒] ขอความเบื้องตน พระศาสดา เมอ่ื ประทบั อยใู นพระเชตวัน ทรงปรารภบุตรของนายโคฆาตกคนหนง่ึ ตรัสพระธรรมเทศนานี้วา ปณฑฺ ุปลาโสว ทานิสเปน ตน . นายโคฆาตกส ่งั ใหภรรยาปง เนอื้ ดังไดสดับมา นายโคฆาตกคนหนึง่ ในพระนครสาวตั ถี ฆา โคแลวถือเอาเน้ือล่ําใหปง แลว นั่งพรอ มดวยบุตรและภริยาเค้ยี วกนิ เน้ือ และขายดว ยราคา. เขาทาํ การงานของคนฆา โคอยอู ยางน้นั ตลอด ๕๕ ป มิไดถวายยาคหู รือภตั แมม าตรวาทัพพีหนึ่งในวันหนึ่งแดพระศาสดา ซ่งึประทับอยใู นวิหารใกล. เขาเวนจากเนอื้ เสยี ยอมไมบริโภคภตั . วนั หนึง่เขาขายเนอื้ ในตอนกลางวันแลว ใหก อนเนือ้ กอนหนึง่ แกภ รยิ า เพื่อปงเพอื่ ประโยชนแกต น แลว ไดไปอาบนํา้ . ลําดับนน้ั สหายของเขามาสูเ รอื นแลว พูดกะภรยิ าวา \" หลอ นจงใหเ นื้อที่จะพงึ ขายแกฉันหนอยหน่ึง, (เพราะ) แขกมาที่เรือนฉนั .\" ภรยิ านายโคฆาตก. เนื้อท่จี ะพงึ ขายไมม ี, สหายของทานขายเนือ้ แลวบัดน้ไี ปอาบนํ้า. สหาย. อยา ทําอยางน้ีเลย, ถากอ นเนอื้ ม;ี ขอจงใหเ ถดิ . ภริยานายโคฆาตก. เวน กอ นเนื้อท่ฉี ันเก็บไวเพ่ือสหายของทานแลวเนอื้ อื่นไมม ี.

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 6 เขาคดิ วา \" เน้ืออื่นจากเน้ือทหี่ ญิงน้ีเกบ็ ไวเพ่อื ประโยชนแ กสหายของเราไมมี, อน่ึง สหายของเราน้นั เวนจากเนื้อยอ มไมบ รโิ ภค, หญงิ นี้จักไมให \" จึงถือเอาเนอื้ น้ันเองหลกี ไป. ฝา ยนายโคฆาตกอาบน้ําแลวกลบั มา, เมอ่ื ภรยิ านัน้ คดภตั นาํ เขาไปพรอมกับผักตมเพื่อตน, จึงพดู วา \" เน้อื อยทู ่ีไหน ?\" ภริยา. นาย เนื้อไมมี. นายโคฆาตก. เราใหเน้อื ไวเพอ่ื ตองการปง แลวจงึ ไป มิใชหรือ ? ภริยา. สหายของทานมาบอกวา \" แขกของฉันมา, หลอ นจงใหเนอ้ื ที่จะพงึ ขายแกฉ ัน,\" เม่ือฉันแมตอบวา \" เนือ้ อ่นื จากเนือ้ ท่ฉี นั เกบ็ ไวเพ่ือสหายของทา นไมม ,ี อน่งึ สหายของทานน้นั เวน จากเน้ือยอมไมบรโิ ภค,\" กถ็ อื เอาเน้อื น้นั โดยพลการเองทเี ดียวไปแลว . นายโคฆาตก. เราเวน จากเน้อื ไมบ ริโภคภัต, หลอ นจงนาํ ภตัน้นั ไป. ภริยา. ฉันอาจทําอยางไรได, ขอจงบริโภคเถิด นาย. นายโคฆาตกต ัดลน้ิ โคมาปงบริโภค นายโคฆาตกน ั้นตอบวา \" เราไมบ ริโภคภตั \" ใหภริยานาํ ภตั น้ันไปแลว , ถือมีดไปสูส ํานักโคตัวยืนอยูทีห่ ลงั เรอื น แลวสอดมือเขา ไปในปากดงึ ล้นิ ออกมาเอามดี ตดั ท่โี คน (ลิ้น) แลวถือไปใหปง บนถา นเพลงิแลว วางไวบ นภัต นั่งบรโิ ภคกอ นภัตกอ นหนง่ึ วางกอ นเน้ือกอนหนึ่งไวใ นปาก. ในขณะนัน้ เอง ลน้ิ ของเขาขาดตกลงในถาดสาํ หรับใสภ ัต.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 7ในขณะน้ันแล เขาไดวบิ ากทเี่ หน็ สมดวยกรรม. แมเขาแลเปนเหมอื นโคมีสายเลือดไหลออกจากปากเขาไปในเรอื น เทย่ี วคลานรองไป.๑ บุตรนายโคฆาตกหนี สมัยนน้ั บตุ รของนายโคฆาตกย นื แลดูบิดาอยใู นท่ีใกล. ลาํ ดบั น้นัมารดาพูดกะเขาวา \" ลูก เจา จงดูบดิ าน้เี ที่ยวคลานรอ งไปในทามกลางเรือนเหมือนโค ความทกุ ขน้จี กั ตกบนกระหมอ มของเจา , เจา ไมตอ งหวง๒แมซ งึ่ แม จงทําความสวสั ดแี กต นหนีไปเถดิ .\" บตุ รนายโคฆาตกน ้นัถกู มรณภยั คุกคาม ไหวม ารดาแลว หนีไป, กแ็ ลครั้นหนีไปแลว ไดไ ปยังนครตกั กสลิ า. แมนายโคฆาตกเปนเหมอื นโค เทย่ี วรอ งไปในทา มกลางเรอื น ทํากาละแลวเกิดในอเวจี. แมโคกไ็ ดท าํ กาละแลว . ฝายบตุ รของนายโคฆาตกไปนครตกั กสลิ า เรียนการงานของนายชา งทอง. ลาํ ดบั นนั้อาจารยของเขา เมอ่ื จะไปบา นสง่ั ไวว า \" เธอพึงทําเครือ่ งประดับช่อื เห็นปานน\"้ี แลว หลกี ไป. แมเขากไ็ ดท าํ เคร่อื งประดบั เห็นปานน้ันแลว .ลําดับน้ัน อาจารยข องเขามาเหน็ เครื่องประดบั แลว ดาํ ริวา \"ชายผูนี้ไปในทใ่ี ดทีห่ นึ่ง เปน ผูส ามารถจะเล้ียงชีพได\" จึงไดใ หธ ิดาผูเ จรญิ วัยของตน (แกเขา). เขาเจริญดวยบุตรธดิ าแลว. ลกู ทาํ บุญใหพอ ลาํ ดบั นน้ั บุตรท้งั หลายของเขาเจริญวยั แลว เรียนศลิ ปะ, ในกาลตอมาไปพระนครสาวตั ถี ดํารงฆราวาสอยูในพระนครน้นั ไดเ ปน ผูม ีศรทั ธาเลอื่ มใส. ฝา ยบิดาของพวกเขาไมทํากศุ ลอะไร ๆ เลย ถงึ ความชรา๑. ชนนฺ เุ กหิ วิจรนโฺ ต เทย่ี วไปอยูดวยเขา. ๒. อโนโลเกตวฺ า ไมแ ลดูแลว .

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 8ในนครตักกสิลาแลว . ลาํ ดบั นั้น พวกบุตรของเขาปรึกษากนั วา \" บิดาของพวกเราแก\" แลว ใหเ รียกมายังสํานกั ของตน พูดวา \" พวกฉันจะถวายทานเพ่ือประโยชนแ กบ ิดา \" แลว นมิ นตภิกษุสงฆ มีพระพทุ ธเจาเปนประธาน. วันรุงขึน้ พวกเขานิมนตภ กิ ษุสงฆม ีพระพุทธเจาเปนประธานใหน่ังภายในเรือนแลว องั คาสโดยเคารพ, ในเวลาเสร็จภัตกิจกราบทูลพระศาสดาวา \" พระเจาขา พวกขาพระองค ถวายภตั นใ้ี หเปนชวี ภตั (ภตั เพ่ือบคุ คลผูเปน อยู) เพื่อบิดา. ขอพระองคจ งทรงทําอนโุ มทนา แกบ ิดาของพวกขา พระองคเถดิ .\" พระศาสดาทรงแสดงธรรม พระศาสดา ตรสั เรียกบดิ าของพวกเขามาแลว ตรัสวา \" อุบาสกทานเปนคนแก มสี รรี ะแกห งอ มเชนกับใบไมเหลือง, เสบียงทางคอื กุศลเพอ่ื จะไปยงั ปรโลกของทา นยงั ไมมี, ทา นจงทําท่พี ึง่ แกตน, จงเปนบณั ฑิตอยาเปนพาล\" ดังนี้แลว เมือ่ จะทรงทาํ อนุโมทนา จงึ ไดตรัสพระคาถาเหลานี้วา:- ๑. ปณฺฑปุ ลาโสว ทานสิ ิ ยมปรุ สิ าป จ ต ๑ อปุ ฏิตา อยุ ฺโยคมเุ ข จ ติฏส๒ิ ปาเถยฺยมปฺ  จ เต น วิชชฺ ต.ิ โส กโรหิ ทีปมตฺตโน ขิปฺป วายม ปณฑฺ โิ ต ภว นิทธฺ นฺตมโล อนคฺ โณ ทพิ ฺพ อริยภูมิเมหิส.ิ๑. อรรถกถา เปน เต. ๒. ปตฏิ สิ.

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 9 \"บดั นี้ ทา นเปน ดุจใบไมเ หลือง, อนงึ่ บรุ ษุ แหง พระยายม (คอื ความตาย) ปรากฏแกท า นแลว. ทาน ตั้งอยใู กลป ากแหง ความเส่อื ม, อนึ่ง แมเสบียงทาง ของทา น กย็ งั ไมมี. ทา นนน้ั จงทาํ ทพ่ี ึง่ แกตน, จงรีบ พยายาม จงเปน บัณฑิต ทา นกาํ จัดมลทินไดแ ลว ไมม ีกิเลสเพียงดังเนิน จักถงึ อรยิ ภูมิอนั เปนทพิ ย. \" แกอรรถ บรรดาบทเหลา น้ัน บาทพระคาถาวา ปณฑฺ ุปลาโสว ทานสิ ิความวา อบุ าสก บดั น้ที า นไดเปน เหมอื นใบไมทเ่ี หลอื งอันขาดตกลงบนแผนดิน. ทูตของพระยายม พระผมู ีพระภาคเจาตรัสเรยี กวา ยมปิ รุ สิ า. แตคําน้ี พระองคต รัสหมายถึงความตายน่ันเอง. อธิบายวา ความตายปรากฏแกท า นแลว . บทวา อยุ โฺ ยคมเุ ข ความวา กท็ านเปนผตู ้ังอยูแ ลวใกลป ากแหงความเสื่อม คือใกลป ากแหงความไมเ จรญิ . บทวา ปาเถยฺย ความวา แมเสบยี งทางคอื กศุ ลของทานผูจ ะไปสูปรโลก ก็ยังไมมี เหมอื นเสบียงทางมขี าวสารเปน ตน ของบคุ คลผเู ตรยี มจะไป ยังไมมฉี ะนนั้ . สองบทวา โส กโรหิ ความวา ทานนนั้ จงทําทพ่ี ง่ึ คอื กุศลแกตนเหมอื นบุคคลเม่ือเรอื อับปางในสมุทร ทาํ ทีพ่ งึ่ กลา วคือเกาะ (แกต น)ฉะน้นั , และทา นเม่อื ทาํ จึงรบี พยายาม คือจงปรารภความเพยี รเรว็ ๆจงเปน บณั ฑติ ดวยกายทําท่พี ง่ึ กลาวคอื กศุ ลกรรมแกต น. ดว ยวา ผูใ ดทํากุศลในเวลาทต่ี นยงั ไมถ งึ ปากแหงความตาย สามารถจะทําไดนั่นแล,

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 10ผนู น้ั ชอ่ื วาเปน บัณฑติ . อธบิ ายวา ทา นจงเปน ผเู ชน น้นั อยาเปนอันธพาล. สองบทวา ทิพพฺ  อรยิ ภมู ึ ความวา ทานทําความเพียรอยูอยางนี้ชือ่ วาผกู ําจัดมลทนิ ไดแ ลว เพราะความเปน ผูน ํามลทินมีราคะเปนตน ออกเสียได, ชือ่ วา ไมม กี เิ ลสเพียงดงั เนนิ คือหมดกเิ ลส เพราะไมม ีกิเลสเพยี งดังเนิน จักถึงชั้นสทุ ธาวาสภูมเิ ปน ท่ีอยูแหง พระอรยิ บุคคลผหู มดจดแลว๕ ภูมิ.๑ ในกาลจบเทศนา อบุ าสกตัง้ อยใู นโสดาปตติผลแลว . เทศนาไดม ีประโยชน แมแ กห มูชนผูป ระชุมกนั แลว ดงั นแ้ี ล. พวกบุตรถวายทานอีก บตุ รเหลานน้ั ทูลนมิ นตพ ระศาสดา แมเ พอ่ื ประโยชนในวันรงุ ข้ึนถวายทานแลว ไดก ราบทลู พระศาสดาผทู รงทาํ ภตั กจิ แลว ในเวลาทรงอนุโมทนาวา พระเจาขา แมภ ตั นพี้ วกขาพระองคถวายใหเ ปน ชวี ภตั เพือ่บดิ าของปวงขาพระองคเหมอื นกัน, ขอพระองคจงทรงทําอนุโมทนาแกบิดานนี้ ่แี ล.\" พระศาสดา เมื่อจะทรงทําอนโุ มทนาแกเขา ไดต รสั ๒ พระคาถาน้ีวา :- อุปนตี วโยว ทานิสิ สมฺปยาโตสิ ยมสสฺ สนตฺ ิก วาโสป จ เต นตถฺ ิ อนตฺ รา ปาเถยยฺ มฺป จ เต น วชิ ชฺ ติ.๑. ๕ ภมู คิ ือ อวหิ า ๑ อตปั ปา ๑ สุทสั สา ๑ สทุ สั สี ๑ อกนิฏฐา ๑ ภมู ทิ ัง้ ๕ น้อี ยใู นพรหมโลกชน้ั สุทธาวาส เปน ทเี่ กิดแหง พระอนาคามี.

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 11 โส กโรหิ ทปี มตตฺ โน ขปิ ฺป วายม ปณฑฺ ิโต ภว นทิ ฺธนฺตมโล อนงคฺ โณ น ปนุ ชาติชร อุเปหิส.ิ \"บัดน้ี ทา นเปน ผูม ีวัยอันชรานําเขา ไปแลว , เปนผเู ตรยี มพรอม เพ่ือจะไป สํานกั ของพระยายม, อนง่ึ แมท พ่ี กั ในระหวา งหาง ของทาน ก็ยงั ไมม,ี อนึง่ ถงึ เสบยี งทางของทา น ก็หามไี ม, ทา นนนั้ จงทาํ ทพี่ ่งึ แกตน, จงรบี พยายาม จงเปนบณั ฑติ ทา นเปน ผมู มี ลทินอันกาํ จดั ไดแ ลว ไมมกี เิ ลสเพยี งดงั เนิน จักไมเขา ถึงชาตชิ ราอีก.\" แกอ รรถ ศพั ทวา อปุ ในบทวา อุปนตี วโย ในพระคาถานัน้ เปนเพยี งนบิ าต. ทา นมวี ัยอันชรานําไปแลว คือมีวัยผา นไปแลว ไดแ กม วี ัยลว งไปแลว . อธิบายวา บัดน้ี ทานลว งวัยทัง้ สามแลว ดงั อยูใกลป ากของความตาย. บาทพระคาถาวา สนปฺ ยาโตสิ ยมสฺส สนฺตกิ  ความวา ทานตระเตรียมจะไปสปู ากของความตายตั้งอยูแลว. บาทพระคาถาวา วาโสป จ เต นตถฺ ิ อนฺตรา ความวา พวกคนเดนิ ทาง ยอ มพักทํากจิ นนั้ ๆ ในระหวางทางไดฉ นั ใด; คนไปสปู รโลกยอมพักอยูฉนั นน้ั ไมไ ด. เพราะคนไปสปู รโลกไมอ าจเพ่อื จะกลาวคาํ เปนตน

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 12วา \" ทา นจงรอสัก ๒-๓ วัน, ขาพเจา จะใหท านกอน จะฟงธรรมกอ น.\"ก็บคุ คลเคลือ่ นจากโลกนี้แลว ยอมเกิดในปรโลกทีเดียว, คาํ น่ันพระศาสดาตรัสหมายเอาเน้อื ความนี้. บทวา ปเถยยฺ  น้ี พระผูม พี ระภาคเจา ตรัสไวใ นหนหลังแลวกจ็ ริงแล ถงึ อยางนนั้ พระศาสดาทรงถือเอาในพระคาถาแมนี้ ก็เพอื่ ทรงทาํใหม ั่นบอย ๆ แกอ ุบาสก. แมพ ยาธิและมรณะ ก็เปน อันทรงถอื เอาในบทวา ชาติชร นีเ้ หมือนกนั . ก็ พระผมู ีพระภาคเจา ตรสั อนาคามมิ รรค ดว ยพระคาถาในหนหลงั ,ตรัสอรหตั มรรคในพระคาถานี.้ แมเม่อื เปน เชน น้ันอุบาสก เมอื่ พระศาสดาแมทรงแสดงธรรมดว ยสามารถแหงมรรคเบอ้ื งบน กบ็ รรลุโสดาปต ติผลเบือ้ งตา่ํ แลวจึงบรรลุอนาคามผิ ลในเวลาจบอนุโมทนาน้ี ตามกําลังอุปนิสยัของตน เหมอื นเมื่อพระราชาทรงปน พระกระยาหารขนาดเทา พระโอษฐของพระองค แลว ทรงนําเขา ไปแกพ ระโอรส, พระกมุ ารทรงรบั โดยประ-มาณพระโอษฐของพระกมุ ารเทา น้นั ฉะนั้น. พระธรรมเทศนาไดม ีประโยชนแมแ กบ ริษทั ท่ีเหลอื ดังน้ีแล. เรือ่ งบุตรของนายโคฆาตก จบ.

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 13 ๒. เร่ืองพราหมณคนใดคนหนง่ึ [๑๘๓] ขอความเบ้อื งตน พระศาสดา เมอื่ ประทับอยูใ นพระเชตวนั ทรงปรารภพราหมณคนใดคนหน่งึ ตรัสพระธรรมเทศนานีว้ า \"อนุปุพเฺ พน เมธาว\"ีเปนตน. พราหมณทําความเกอื้ กูลแกภ กิ ษุ ดังไดส ดบั มา วนั หนง่ึ พราหมณนัน้ ออกไปแตเชา ตรู, ไดยนื แลดูพวกภิกษุหม จวี ร ในทีเ่ ปนทีห่ มจีวรของพวกภกิ ษุ. กท็ ่ีนนั้ มีหญา งอกขนึ้แลว. ตอ มาภิกษรุ ูปหนึ่งหม จีวรอย,ู ชายจวี รเกลือกกล้ัวท่ีหญา เปย กดว ยหยาดน้าํ คางแลว . พราหมณเห็นเหตนุ น้ันแลวคดิ วา \" เราควรทาํ ทนี่ ีใ้ หปราศจากหญา\" ในวนั รงุ ขึน้ ถอื จอบไปถากที่นนั้ ไดท ําใหเปนท่เี ชนมณฑลลาน. แมใ นวนั รงุ ขนึ้ เม่ือภกิ ษุมายังท่นี น้ั หมจวี รอยู, พราหมณเห็นชายจวี รของภกิ ษุรปู หนง่ึ ตกไปบนพนื้ ดินเกลือกกลว้ั อยูทฝ่ี นุ จงึ คิดวา\" เราเกลีย่ ทรายลงในที่น้คี วร\" แลว ขนทรายมาเกลี่ยลง. พราหมณส รา งมณฑปและศาลา ภายหลงั วนั หนึ่ง ในเวลากอนภัตไดม แี ดดกลา . แมในกาลนั้นพราหมณเ ห็นเหง่ือไหลออกจากกายของพวกภิกษุผกู าํ ลงั หม จีวรอยู จงึ คดิวา \"เราใหส รางมณฑปในท่นี ค้ี วร\" จงึ ใหส รางมณฑปแลว. รุง ข้นึ อกี วนั หน่ึง ไดมีฝนพรําแตเ ชาตร.ู แมในกาลนัน้ พราหมณแลดูพวกภกิ ษุอยู, เหน็ พวกภิกษุมีจวี รเปย ก จึงคิดวา \" เราใหสรางศาลา

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 14ในท่นี ้ีควร\" จงึ ใหส รางศาลาแลว คิดวา \"บดั นี้ เราจกั ทําการฉลองศาลา,\"จึงนมิ นตภกิ ษุสงฆม ีพระพุทธเจา เปน ประมขุ ใหภกิ ษุทัง้ หลายนัง่ ทง้ั ภายในทั้งภายนอก ถวายทาน, ในเวลาเสร็จภตั กจิ รับบาตรพระศาสดา เพ่อืประโยชนแ กการทรงอนุโมทนา แลวกราบทลู เรอ่ื งน้ันท้ังหมด จําเดิมตั้งแตตนวา \" พระเจา ขา ขาพระองคย นื แลดอู ยูใ นที่นี้ ในเวลาทพี่ วกภกิ ษุหมจีวร, เห็นเหตกุ ารณอยางน้ี ๆ จงึ ใหสรางสงิ่ น้ี ๆ ขึน้ .\" พระศาสดาทรงแสดงธรรม พระศาสดาทรงสดบั คําของเขาแลว ตรสั วา \" พราหมณ ธรรมดาบณั ฑติ ทั้งหลายทาํ กุศลอยูคราวละนอ ย ๆ ทกุ ๆ ขณะ, ยอ มนาํ มลทินคอื อกศุ ลของตน ออกโดยลาํ ดบั ทีเดียว\" ดงั นี้แลว จงึ ตรสั พระคาถานี้วา :- ๒. อนุปุพฺเพน เมธาวี โถก โถก ขเณ ขเณ กมมฺ าโร รชตสฺเสว นิทฺธเม มลมตตฺ โน. \"ผมู ีปญ ญา (ทาํ กศุ ลอยู) คราวละนอย ๆ ทุก ๆ ขณะ โดยลําดับ พึงกาํ จัดมลทนิ ของตนได เหมอื น ชา งทอดปดเปาสนิมทองฉะน้ัน.\" แกอ รรถ บรรดาบทเหลานน้ั บทวา อนปุ ุพฺเพน คือ โดยลาํ ดับ, ผปู ระกอบดวยปญ ญาอนั รุง เรืองในธรรม ชอื่ วา เมธาว.ี สองบทวา ขเณ ขเณ ความวา ทาํ กศุ ลอยทู กุ ๆ โอกาส. บาทพระคาถาวา กมมฺ าโร รชตสฺเสว ความวา บณั ฑติ ทาํ กุศลอยบู อย ๆ ชือ่ วาพึงกําจดั มลทิน คือกเิ ลสมรี าคะเปนตน ของตน, ดวยวา

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 15เม่อื เปน อยางน้ัน บัณฑติ ยอ มเปนผูช่ือวามีมลทินอันขจดั แลว คอื ไมม ีกิเลสเหมอื นชา งทองหลอมแลวทุบทองครงั้ เดียวเทา นนั้ ยอมไมอ าจไลสนมิ ออกแลว ทาํ เครอื่ งประดับตาง ๆ ได. แตเ มอื่ หลอมทบุ บอ ย ๆ ยอ มไลส นมิออกได, ภายหลงั ยอมทาํ ใหเ ปนเครอ่ื งประดับตาง ๆ หลายอยา งไดฉะน้ัน. ในกาลจบเทศนา พราหมณดํารงอยูใ นโสดาปต ตผิ ลแลว. เทศนาไดม ปี ระโยชนแ มแ กมหาชนแลว ดังนแ้ี ล. เรอ่ื งพราหมณค นใดคนหนงึ่ จบ.

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 16 ๓. เรื่องพระติสสเถระ [๑๘๔] ขอ ความเบื้องตน พระศาสดา เมอ่ื ประทับอยใู นพระเชตวนั ทรงปรารภภกิ ษรุ ูปหนึ่งช่ือติสสเถระ ตรัสพระธรรมเทศนานีว้ า \"อยสาว มล สมฏุ ิต \"เปนตน . พระติสสะมอบผา สาฎกเนื้อหยาบใหพ่สี าว ดังไดสดบั มา กุลบุตรชาวเมืองสาวตั ถีคนหนงึ่ ไดบ รรพชาอปุ สมบทแลว ปรากฏชื่อวา \" พระตสิ สเถระ.\" ในกาลตอ มา พระติสสเถระนนั้ เขาจาํ พรรษา ณ วหิ ารในชนบท,ไดผา สาฎกเนือ้ หยาบประมาณ ๘ ศอก จาํ พรรษา ปวารณาแลว, ถือผานั้นไปวางไวใกลม อื พี่สาว. พ่สี าวนน้ั ดําริวา \" ผาสาฎกผนื นไ้ี มส มควรแกน องชายเรา\" แลวตัดผา น้ันดวยมีดอันคม ทําใหเ ปนชน้ิ นอ ยชน้ิ ใหญ,โขลกในครก แลว สาง ดีด กรอ ปน ใหเปน ดา ยละเอียด ใหทอเปนผาสาฎกแลว. พระเถระเตรยี มจะตดั จวี ร ฝายพระเถระ ก็จดั แจงดายและเขม็ , นิมนตภกิ ษหุ นมุ และสามเณรผทู ําจวี รใหประชมุ กนั แลว ไปยังสาํ นักพีส่ าว พดู วา \" พจ่ี งใหผ าสาฎกผนื น้ันแกฉ ัน, ฉนั จกั ใหทาํ จวี ร.\" พส่ี าวนน้ั นําผา สาฎกประมาณ ๙ ศอกออกมาวางไวใกลมือของพระผนู องชาย. ทานรับผา สาฎกนั้นมาพิจารณาแลว พดู วา \" ผาสาฎกของฉันเน้ือหยาบ ประมาณ ๘ ศอก, ผนื นเ้ี นอ้ื ละเอียด ประมาณ ๙ ศอก,

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 17ผา มใิ ชผ า สาฎกของฉัน, นีเ่ ปนผา สาฎกของพี่, ฉันไมต อ งการผา ผืนนี้พ่ีจงใหผา สาฎกผนื น้ันแหละแกฉัน.\" พส่ี าวตอบวา \" ทา นผูเจริญ น่ีเปนผาของทานทีเดียว, ขอทานจงรับผานั้นเถิด.\" ทานไมป รารถนาเลย. ลําดับนนั้ พสี่ าวจงึ บอกกจิ ท่ตี นทาํ ทกุ อยา งแกพระเถระน้ันแลวไดถ วายวา \" ทานผเู จริญ นน่ั เปนผา ของทา นทีเดยี ว, ขอทานจงรับผานัน้ เถดิ .\" ทา นถอื ผา นนั้ ไปวิหาร เริม่ จวี รกรรม. พระเถระหว งใยในจวี ร ตายแลว เกิดเปนเล็น ลาํ ดบั นัน้ พีส่ าวของทานจัดแจงวตั ถมุ ียาคแู ละภตั เปน ตน เพอื่ประโยชนแกภ ิกษสุ ามเณรผูทําจีวรของพระติสสะนนั้ . ก็ในวนั ท่จี วี รเสรจ็พส่ี าวใหทาํ สักการะมากมาย. ทานแลดจู วี รแลว เกดิ ความเยอื่ ใยในจวี รนนั้คิดวา \"ในวันพรุงนี้ เราจักหม จวี รนั้น\" แลว พบั พาดไวที่สายระเดียง,ในราตรีน้ัน ไมสามารถใหอ าหารที่ฉนั แลว ยอยไปได มรณภาพแลว เกิดเปนเล็นทจ่ี ีวรน้ันน่นั เอง. พระศาสดารบั สั่งไมใ หแจกจีวร ฝา ยพสี่ าว สดับการมรณภาพของทา นแลว รองไหกลิง้ เกลือกใกลเทา ของพวกภกิ ษ.ุ พวกภกิ ษทุ ําสรรี กิจ (เผาศพ) ของทานแลวพดู กนั วา\" จวี รนนั้ ถงึ แกส งฆท เี ดยี ว เพราะไมมคี ิลานปุ ฏฐาก, พวกเราจกั แบงจวี รนนั้ \" แลวใหน าํ จวี รนั้นออกมา. เลนว่งิ รอ งไปขา งโนนและขางนีว้ า\" ภกิ ษุพวกนี้แยง จวี รอนั เปน ของเรา.\" พระศาสดาประทับนงั่ ในพระคันธกฎุ ีเทยี ว ทรงสดบั เสยี งนั้นดว ย

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 18โสตธาตเุ พียงดงั ทพิ ย ตรสั วา \" อานนท เธอจงบอก อยา ใหพวกภกิ ษุแบงจีวรของติสสะ แลว เกบ็ ไว ๗ วัน.\" พระเถระใหท าํ อยางน้นั แลว. พระศาสดารับส่งั ใหแจกจวี รของพระติสสเถระ แมเลน็ นน้ั ทาํ กาละในวนั ท่ี ๗ เกดิ ในวิมานช้นั ดุสิตแลว, ในวนั ที่ ๘ พระศาสดารบั สง่ั วา \" ภิกษุทัง้ หลาย จงแบง จวี รของตสิ สะแลวถือเอา.\" พวกภกิ ษุทาํ อยางนัน้ แลว. พวกภิกษสุ นทนากันในธรรมสภาวา \" เหตไุ รหนอแล พระศาสดาจงึ ใหเก็บจีวรของพระติสสะไวสิน้ ๗ วนั แลว ทรงอนญุ าตเพือ่ ถอื เอาในวันท่ี ๘.\" ตณั หาทําใหส ัตวถ งึ ความพินาศ พระศาสดาเสด็จมาแลว ตรสั ถามวา \"ภิกษทุ ั้งหลาย บดั น้ีพวกเธอนัง่ ประชุมสนทนากนั ดวยเร่ืองอะไรหนอ ?\" เมอ่ื ภิกษเุ หลา นน้ั กราบทลูวา \"ดว ยเร่อื งช่อื นี้,\" ตรัสวา \"ภิกษทุ ั้งหลาย ติสสะเกดิ เปน เลน็ ทจ่ี ีวรของตน, เมอ่ื พวกเธอจะแบงจีวรนัน้ วิง่ รองไปขา งโนน และขางนี้วา' ภกิ ษพุ วกนแ้ี ยงจีวรอันเปนของเรา,' เม่อื พวกเธอถือเอาจีวรอย.ู เขาขดั ใจในพวกเธอแลว พึงเกดิ ในนรก, เพราะเหตนุ ้นั เราจงึ ใหเ ก็บจีวรไว;ก็บัดนเี้ ขาเกิดในวมิ านช้นั ดสุ ติ แลว. เพราะเหตนุ ้นั เราจึงอนุญาตการถือเอาจีวรแกพวกเธอ,\" เมอ่ื ภกิ ษุพวกน้นั กราบทูลอกี วา \"พระเจาขา ขึ้นชอ่ื วาตณั หานห้ี ยาบหนอ\" จึงตรสั วา \" อยา งนั้นภิกษุทั้งหลาย ขึ้นชื่อวาตัณหาของสัตวเหลา นห้ี ยาบ; สนิมตงั้ ข้นึ แตเ หลก็ ยอมกัดเหลก็ นัน่ เองยอ มใหเ หล็กพนิ าศไป ทําใหเ ปนของใชสอยไมไ ด ฉนั ใด; ตัณหานี้ (ก็)

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 19ฉนั นนั้ เหมอื นกัน เกดิ ข้ึนภายในของสัตวเหลา นีแ้ ลว ยอ มใหสตั วเ หลานน้ัเกดิ ในอบายมนี รกเปนตน ใหถึงความพนิ าศ ' ดงั นี้แลว จึงตรัสพระ-คาถานว้ี า :- ๓. อยสา ว มล สมฏุ  ิต ตหฏุ าย ตเมว ขาทติ เอว อติโธนจาริน สานิ กมมฺ านิ นยนตฺ ิ ทคุ คฺ ต.ึ \"สนิมต้ังขน้ึ แตเหลก็ ครนั้ ตัง้ ขน้ึ แตเหล็กแลว ยอมกดั เหล็กน่นั เอง ฉันใด; กรรมทงั้ หลายของตน ยอ มนําบคุ คลผมู กั ประพฤตลิ วงปญ ญาชอื่ วาโธนา ไป สูทุคติ ฉันนั้น.\" แกอ รรถ บรรดาบทเหลานน้ั บทวา อยสา คอื แตเ หล็ก. บทวา สมุฏ ิตคอื ตั้งข้ึนแลว . บทวา ตทฏุ  าย คือครนั้ ตง้ั ขน้ึ แตเ หลก็ นัน้ . ในบทวา อตโิ ธนจาริน บณั ฑติ พงึ ทราบวนิ ิจฉัยดงั น้.ี ปญ ญาเปนเครื่องพิจารณาปจจัย ๔ วา \" การบริโภคนี้ เปน ประ-โยชนด วยปจจยั เหลา นี\"้ แลว บรโิ ภค พระผมู ีพระภาคเจา ตรสั วา โธนา,บคุ คลประพฤติกา วลว งปญ ญาช่อื วา โธนานนั่ ชอื่ วา อติโธนจารี. พระผูมพี ระภาคเจา ตรสั เปนคําอธิบายไวด งั นวี้ า \" สนิมเกิดข้นึ แตเหลก็ ตัง้ ขน้ึ แตเ หลก็ ยอ มกดั เหล็กนนั่ เอง ฉันใด; กรรมทั้งหลายของตน คอื กรรมเหลานัน้ ช่อื วา เปน ของตนนั่นแหละ เพราะต้ังขน้ึ ในตน

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 20ยอ มนาํ บคุ คลผไู มพจิ ารณาปจ จยั ๔ แลว บรโิ ภค ช่ือวาผปู ระพฤติกาวลวงปญญาชือ่ วา โธนา ไปสูทคุ ติ ฉันนน้ั เหมือนกัน. ในกาลจบเทศนา ชนเปน อนั มากบรรลอุ ริยผลท้งั หลาย มีโสดา-ปต ตผิ ลเปนตน ดงั นี้แล. เรอื่ งพระติสสเถระ จบ.

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 21 ๔. เร่ืองพระโลฬุทายีเถระ [๑๘๕] ขอ ความเบ้อื งตน พระศาสดา เมือ่ ประทับอยูในพระเชตวนั ทรงปรารภพระโลฬทุ าย-ีเถระ ตรสั พระธรรมเทศนาน้วี า \"อสชฺฌายมลา มนตฺ า\" เปนตน . พระโลฬุทายีอวดดีอยากแสดงธรรม ดังไดสดบั มา พวกอริยสาวกประมาณ ๕ โกฏิในพระนครสาวัตถีถวายทานในเวลากอ นภัตแลว ในเวลาหลงั ภัตจงึ ถอื วตั ถทุ ั้งหลายมเี นยใสนา้ํ มนั นํ้าผ้งึ นาํ้ ออ ย และผาเปน ตน ไปวิหารแลวฟงธรรมกถาอยู,กใ็ นเวลาฟง ธรรมแลว เดนิ ไป ยอ มกลาวคุณของพระสารบี ุตรและพระ-โมคคลั ลานะ. พระอทุ ายีเถระ สดบั ถอ ยคําของอรยิ สาวกเหลา นัน้ แลว จึงพูดวา\" พวกทานฟงธรรมกถาของพระเถระทงั้ สองน้นั ยังกลาวถึงอยา งนัน้ กอ น,ฟง ธรรมกถาของฉนั แลว จกั กลาวอยา งไรหนอแล ?\" พวกมนุษย ฟง ถอยคาํ ของทานแลวคิดวา \" พระเถระแมน้ี จกัเปน พระธรรมกถกึ องคหนงึ่ , พวกเราฟง ธรรมกถาของพระเถระแมน ้ีควร.\" วนั หนึง่ พวกเขาอาราธนาพระเถระวา๑ \" ทานขอรบั วันนีเ้ ปนวนั ฟง ธรรมของพวกกระผม,\" ถวายทานแกพ ระสงฆแลว พูดวา \" ทา นขอรับ ขอทา นพงึ กลาวธรรมกถาในกลางวันเถดิ .\" ฝา ยพระเถระน้ันรบั นมิ นตข องพวกมนษุ ยน น้ั แลว. พระเถระไมส ามารถแสดงธรรมได เมอ่ื พวกมนษุ ยน ั้นมาในเวลาฟง ธรรมแลว พูดวา \"ทา นขอรบั๑. ยาจิตวฺ า=ขอหรอื วิงวอน.

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 22ขอทา นจงกลาวธรรมแกพ วกกระผมเถิด,\" พระโลฬุทายีเถระนง่ั บนอาสนะแลว จับพดั อนั วจิ ิตรสัน่ อยู, ไมเห็นบทธรรม แมบทหนงึ่ พดู วา \" ฉันจักสวดสรภัญญะ, ขอภิกษุรูปอ่ืนจงกลาวธรรมกถา\" ดังนแ้ี ลว กล็ ง (จากอาสนะ). มนษุ ยพ วกนัน้ นมิ นตภ ิกษุรปู อน่ื ใหกลาวธรรมกถาแลว นมิ นตพระโลฬุทายีขึ้นอาสนะอกี เพอ่ื ตอ งการสวดสรภัญญะ. พระโลฬุทายีนนั้ไมเ หน็ บทธรรมอะไร ๆ แมอีก จงึ พูดวา \" ฉนั จักกลา วในกลางคืน, ขอภิกษรุ ูปอนื่ จงสวดสรภญั ญะ\" แลวกล็ ง มนุษยพ วกนน้ั นมิ นตภ ิกษรุ ปูอนื่ ใหสวดสรภญั ญะแลว นําพระเถระมาในกลางคนื อกี . พระเถระนน้ั ก็ยงัไมเห็นบทธรรมอะไร ๆ แมใ นกลางคืน พูดวา \" ฉกั จักกลาวในเวลาใกลร ุงเทียว, ขอภิกษุรปู อ่ืนจงกลา วในเวลากลางคืน\" แลว ก็ลง. มนษุ ยพวกน้นั นมิ นตภ กิ ษุรูปอ่ืนใหกลาวแลวในเวลาใกลรงุ กน็ าํ พระเถระนน้ัมาอกี . พระเถระนนั้ แมใ นเวลาใกลร งุ ก็มไิ ดเ ห็นบทธรรมอะไร ๆ. พระเถระถูกมหาชนไลไปตกหลมุ คูถ มหาชน ถือวัตถทุ ง้ั หลายมีกอนดนิ และทอ นไมเ ปน ตน คุกคามวา\"พระอันธพาล เม่อื พวกขา พเจากลาวสรรเสริญพระสารบี ตุ รและพระโมค-คัลลานะ ทานพดู อยา งน้นั และอยางนั้น, บัดนี้ เหตไุ รจงึ ไมพ ูด ?\" ดังน้แี ลวกต็ ดิ ตามพระเถระผหู นไี ป. พระเถระนน้ั หนีไปตกลงในเวจกฎุ แี หงหน่ึง. มหาชนสนทนากันวา \"พระโลฬทุ ายี เมือ่ ถอ ยคาํ สรรเสรญิ คุณพระสารบี ุตรและพระโมคคัลลานะเปนไปอยู อวดอา งประกาศความที่ตนเปนธรรมกถึก, เม่ือพวกมนุษยท ําสักการะแลว พูดวา ' พวกกระผมจะฟง ธรรม,' นง่ั บนอาสนะถงึ ๔ ครงั้ ไมเ หน็ บทธรรมอะไร ๆ ทีส่ มควรจะพึงกลา ว ถกู พวกมนษุ ยถ ือวัตถทุ ัง้ หลายมกี อ นดินและทอ นไมเ ปนตน

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 23คุกคามวา ' ทานถอื ตวั เทา เทียม๑กบั พระสารีบตุ รและพระโมคคลั ลานเถระผูเปนเจา ของพวกเรา' ไลใ หหนีไปตกลงในเวจกฎุ แี ลว. บรุ พกรรมของพระโลฬทุ ายี พระศาสดาเสดจ็ มาแลว ตรัสถามวา \" ภกิ ษทุ ้ังหลาย บัดนี้ พวกเธอนัง่ ประชุมกนั ดว ยเร่อื งอะไร ?\" เมือ่ พวกภกิ ษุกราบทูลวา \" ดวยเรือ่ งช่อื นี้,\" จงึ ตรสั วา \" ภิกษทุ งั้ หลาย มิใชแ ตใ นบัดน้ีเทา น้ัน, แมในกาลกอน โลฬทุ ายีน้ี กจ็ มลงในหลุมคูถเหมอื นกัน \" ดังน้แี ลว ทรงนําอดีตนิทานมา ตรัสชาดก๒นี้ใหพสิ ดารวา :- \"สหาย เรามี ๔ เทา, สหาย แมท า นกม็ ี ๔ เทา. มาเถดิ สีหะ ทา นจงกลับ, เพราะเหตไุ รหนอ ทา น จึงกลัวแลว หนีไป ? สกุ ร ทา นเปนผไู มส ะอาด มีขน เปอ นดวยของเนา มีกลิ่นเหม็นฟงุ ไป; ถา ทานประสงค ตอ ส,ู เราจะใหค วามชนะแกท า น นะสหาย\"ดังน้ีแลว ตรัสวา \" ราชสหี ใ นกาลน้นั ไดเปน สารีบตุ ร, สุกรไดเปนโลฬุทาย.ี \" พระศาสดา คร้นั ทรงนําพระธรรมเทศนานีม้ าแลว ตรัสวา \" ภิกษุทัง้ หลาย โสฬทุ ายเี รียนธรรมมีประมาณนอ ยแท, อนึ่ง มไิ ดท าํ การทอ งเลย; การเรยี นปรยิ ัติอยา งใดอยางหน่งึ แลว ไมทาํ การทอ งปรยิ ตั นิ ั้น เปนมลทนิ แท\" ดังนแี้ ลว จงึ ตรสั พระคาถาน้วี า:-๑. ยคคคฺ าห คณหฺ สิ=ถือความเปนคู. ๒. ข.ุ ชา. ทกุ . ๒๗/๕๑. อรรถกถา. ๓/๑๑.

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 24 ๔. อสชฺฌายมลา มนฺตา อนฏุ  านมลา ฆรา มล วณณฺ สฺส โกสชฺช ปมาโท รกขฺ โต มล . \"มนตทั้งหลาย มีอนั ไมท องบนเปน มลทนิ , เรอื น มคี วามไมหมน่ั เปน มลทนิ , ความเกียจครา น เปน มลทนิ ของผิวพรรณ, ความประมาท เปนมลทินของ ผรู กั ษา.\" แกอ รรถ บรรดาบทเหลานั้น บทวา อสชฌฺ ายมลา เปน ตน ความวาเพราะปริยตั หิ รือศลิ ปะอยา งใดอยางหนงึ่ เมอ่ื บุคคลไมท อ ง ไมประกอบเนือง ๆ ยอ มเสอ่ื มสญู หรอื ไมปรากฏตดิ ตอกนั ; ฉะนั้น พระผมู พี ระ-ภาคเจา จงึ ตรสั วา \"อสชฺฌายมลา มนฺตา.\" อนง่ึ เพราะช่ือวาเรือนของบุคคลผอู ยคู รองเรอื น ลุกข้นึ เสร็จสรรพแลว ไมทํากิจ มกี ารซอ มแซมเรือนทชี่ าํ รุดเปน ตน ยอ มพินาศ ฉะนั้นพระผูมพี ระภาคเจาจึงตรัสวา \"อนฏุ  านมลา ฆรา.\" เพราะกายของคฤหสั ถห รอื บรรพชิต ผูไ มท าํ การชําระสรรี ะ หรือการชาํ ระบริขาร ดว ยอาํ นาจความเกียจคราน ยอ มมผี วิ พรรณมัวหมอง;ฉะน้นั พระผมู พี ระภาคเจา จงึ ตรัสวา \"มล วณฺณสสฺ โกสชฺช .\" อนง่ึ เพราะเมื่อบุคคลรักษาโคอยู หลบั หรอื เลน เพลนิ ดวยอํานาจความประมาท, โคเหลา น้ันยอ มถงึ ความพินาศ ดวยเหตมุ วี งิ่ ไปสทู ม่ี ิใชทาเปน ตน บาง ดวยอนั ตรายมีพาลมฤค๑ และโจรเปน ตนบา ง ดว ยอาํ นาจการ๑. พาลมิค-เน้ือรา ย

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 25กาวลงสูท ที่ ัง้ หลาย มีนาขาวสาลีเปนตน ของชนพวกอนื่ แลวเคี้ยวกนิ บา ง,แมตนเอง ยอ มถงึ อาชญาบา ง การบรภิ าษบาง. ก็อกี อยางหนึ่ง กเิ ลสทั้งหลายลวงลาํ้ เขาไปดว ยอาํ นาจความประมาทยอ มยังบรรพชิตผไู มร ักษาทวาร ๖ ใหเ คลอ่ื นจากศาสนา; ฉะนน้ั พระ-ผมู ีพระภาคเจาจึงตรสั วา \"ปมาโท รกฺขโต มล .\" อธบิ ายวา ก็ความประมาทน้ัน ชอื่ วาเปนมลทนิ เพราะความประมาทเปนที่ตัง้ ของมลทนิดว ยการนําความพินาศมา. ในกาลจบเทศนา ชนเปนอนั มากบรรลุอริยผลทั้งหลาย มโี สดา-ปตติผลเปนตน ดังนี้แล. เรอ่ื งพระโลฬุทายเี ถระ จบ.

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 26 ๕. เรื่องกุลบตุ รคนใดคนหนงึ่ [๑๘๖] ขอ ความเบือ้ งตน พระศาสดา เม่ือประทบั อยูในพระเวฬุวัน ทรงปรารภกลุ บตุ รคนใดคนหน่ึง ตรัสพระธรรมเทศนานวี้ า \"มลติ ถฺ ิยา ทจุ จฺ รติ  \" เปน ตน . สามีละอายเพราะภริยาประพฤตนิ อกใจ ดงั ไดส ดบั มา มารดาและบิดานาํ กุลสตรผี มู ชี าตเิ สมอกนั มาเพอื่กุลบุตรนนั้ . นางไดเปนหญิงมกั ประพฤตนิ อกใจ๑ ( สามี) จาํ เดิมแตวนั ที่นํามาแลว. กลุ บุตรน้นั ละอาย เพราะการประพฤตินอกใจของนาง ไมอาจเขา ถงึ ความเปนผเู ผชญิ หนาของใครได เลกิ กศุ ลกรรมทง้ั หลาย มกี ารบํารงุ พระพุทธเจาเปนตน โดยกาลลว งไป ๒-๓วนั เขาไปเฝา พระศาสดาถวายบงั คมแลว น่ัง ณ ที่สมควรขางหน่งึ เมื่อพระศาสดาตรัสวา \" อุบาสกเพราะเหตไุ ร เราจงึ ไม (ใคร) เหน็ ทาน ?\" จึงกราบทูลความนัน้ แลว. สตรเี ปรยี บเหมอื นของ ๕ อยาง ลําดับนั้น พระศาสดาตรัสกะกลุ บตุ รน้ันวา \" อุบาสก แมใ นกาลกอน เรากไ็ ดก ลา วแลววา ' ข้ึนชอ่ื วา สตรที ้ังหลาย เปนเชนกับแมน้ําเปน ตน. บณั ฑิตไมค วรทาํ ความโกรธในสตรเี หลานั้น,' แตทา นจําไมได เพราะความเปนผอู ันภพปกปด ไว\" อันกุลบตุ รนัน้ ทูลอาราธนาแลวตรัสชาดก๒ ใหพสิ ดารวา :-๑. อติจารนิ ี ผมู ักประพฤติลว ง. ๒. ขุ. ช.ุ ๒๗/๒๑ อรรถกถา. ๓/๙๘.

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 27\"ธรรมดาสตรีในโลก เปน เหมอื นแมน ํ้า หนทางโรงดม่ื (สุรา) ท่ีพกั และบอ นา้ํ , เวลายอ มไมม ีแกส ตรีเหลา นั้น.\"ดังนี้แลว ตรัสวา \" กอ็ ุบาสก ความเปนผมู ักประพฤตนิ อกใจ เปนมลทนิ ของสตร,ี ความตระหนี่ เปน มลทนิ ของผูใหท าน, อกุศลกรรมเปนมลทนิ ของสตั วท ั้งหลายในโลกนแ้ี ละโลกหนา เพราะอรรถวา เปนเครอ่ื งยังสัตวใหฉบิ หาย, แตอ วชิ ชา เปน มลทินอยา งยอดยิง่ กวามลทนิท้ังปวง\" ดงั น้ีแลว ไดทรงภาษติ พระคาถาเหลานวี้ า :-๕. มลติ ฺถิยา ทจุ จฺ รติ  มจฺเฉร ททโต มลมลา เว ปาปกา ธมมฺ า อสฺมึ โลเก ปรมหฺ ิ จตโต มลา มลตร อวชิ ชฺ า ปรม มลเอต มล ปหนตฺ วฺ าน นมิ ฺมลา โหถ ภกิ ฺขโว.\" ความประพฤตชิ ่วั เปน มลทินของสตรี, ความตระหน่ี เปนมลทนิ ของผูใ ห, ธรรมอันลามกท้งั หลายเปนมลทินแล ทัง้ ในโลกนี้ ทั้งในโลกหนา , เราจะบอกมลทินอันย่งิ กวามลทินนนั้ , อวชิ ชาเปนมลทนิอยา งย่งิ ภกิ ษทุ ้งั หลาย ทา นทง้ั หลาย ละมลทนิ นนั่ไดแลว ยอ มเปน ผูหมดมลทนิ .\" แกอ รรถความประพฤตนิ อกใจ ช่อื วา ความประพฤตชิ ั่วในพระคาถานัน้ .๑. ไดแ ก กาํ หนด, เขตแดน, ความจํากดั .

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 28กแ็ มสามี ยอมขบั ไลส ตรีผูมกั ประพฤตนิ อกใจออกไปเสยี จากเรือน, สตรีนน้ั ไปสูส ํานักของมารดาบดิ า (กถ็ ูก) มารดาบิดาขบั ไลดวยคําวา \"เอ็งไมมีความเคารพตระกูล เราไมอ ยากเห็นแมด ว ยนยั นต าทงั้ สอง\" สตรีนนั้ หมดทพี่ ่ึง เทยี วไปยอ มถงึ ความลาํ บากมาก; เพราะเหตุนั้น พระศาสดาจงึ ตรสั ความประพฤติช่วั ของสตรนี น้ั วา \" เปน มลทนิ .\" บทวา ททโต แปลวา ของผูใ ห. ก็เมื่อบุคคลใดในเวลาไถนา คดิอยูว า \" เมื่อนาน้ีสมบรู ณแ ลว , เราจักถวายภัตทงั้ หลาย มสี ลากภัตเปน ตน,\" เมือ่ ขา วกลา เผลด็ ผลแลว, ความตระหน่เี กดิ ข้ึน หา มจติ อันสัมปยตุ ดว ยจาคะ, บุคคลนน้ั เม่อื จติ สมั ปยุตดวยจาคะ ไมง อกงามข้นึ ไดดว ยอาํ นาจความตระหน่ี ยอ มไมไ ดส มบตั ิสามอยาง คอื มนุษยส มบตั ิทิพยสมบัติ (และ) นพิ พานสมบตั ;ิ เพราะฉะนน้ั พระศาสดาจงึ ตรสั วา\" ความตระหนเี่ ปน มลทนิ ของผูให.\" แมในบทอ่นื ๆ ซ่ึงมีรูปอยางนี้ ก็มีนยั เชนน้เี หมือนกนั . สองบทวา ปาปกา ธมฺมา ความวา ก็อกศุ ลธรรมทัง้ หลายเปนมลทินทง้ั น้นั ทงั้ ในโลกน้ี ทั้งในโลกหนา. บทวา ตโต ความวา กวามลทนิ ท่ตี รสั แลว ในหนหลงั . บทวา มลตร ความวา เราจะบอกมลทินอันยิง่ แกท านทัง้ หลาย. บทวา อวิชชฺ า ความวา ความไมรู อนั มีวัตถ๑ุ ๘ น่นั แล เปนมลทนิ อยางยงิ่ .๑. พึงดู อวิชชา ๘ ในธรรมวิภาคปริเฉทที่ ๒ หมวด ๘.

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 29 บทวา ปหนตฺ ฺวาน ความวา ภิกษุทงั้ หลาย ทานทง้ั หลายละมลทินน่ันไดแลว ยอมเปน ผหู ามลทนิ มไิ ด. ในกาลจบเทศนา ชนเปนอนั มากบรรลอุ รยิ ผลทั้งหลาย มีโสดา-ปต ตผิ ลเปนตน ดงั นแี้ ล. เรือ่ งกุลบุตรคนใดคนหน่ึง จบ.

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 30๖. เร่อื งภิกษชุ อ่ื จฬู สารี [๑๘๗] ขอความเบ้อื งตนพระศาสดา เมื่อประทบั อยูในพระเชตวนั ทรงปรารภสัทธิวหิ าริกของพระสารีบตุ รเถระ ช่ือจูฬสารี จงึ ตรสั พระธรรมเทศนานว้ี า \"สีชวี อหริ เิ กน\" เปน ตน.พระจูฬสารีไดโภชนะเพระทาํ เวชกรรมดงั ไดส ดบั มา วันหนึ่ง พระจูฬสารนี น้ั ทาํ เวชกรรมแลว ไดโภชนะอนั ประณีตแลว ถือออกไปอยู พบพระเถระในระหวา งทาง จงึ เรยี นวา\" ทานขอรับ โภชนะน้ี กระผมทาํ เวชกรรมไดแลว, ใตเทา จกั ไมไดโภชนะเหน็ ปานน้ีในท่ีอืน่ , ขอใตเ ทาจงฉันโภชนะน,้ี กระผมจักทําเวชกรรม นําอาหารเหน็ ปานนี้มาเพ่อื ใตเ ทาตลอดกาลเปน นติ ย.\" พระเถระฟง คําของพระจฬู สารนี นั้ แลว กน็ ง่ิ เฉย หลีกไปแลว . ภกิ ษทุ ั้งหลายมาสูวิหารแลว กราบทูลความนน้ั แดพระศาสดา.ผูตง้ั อยูใ นอเนสนกรรมเปนอยงู ายพระศาสดาตรสั วา \" ภกิ ษทุ ้ังหลาย ธรรมดาบุคคลผไู มมคี วามละอาย ผูค ะนอง เปน ผูเ ชนกบั กา ตง้ั อยใู นอเนสนา ๒๑ อยาง ยอมเปนอยงู า ย, สว นบุคคลผสู มบรู ณดวยหริ แิ ละโอตตัปปะ ยอมเปน อยูยาก\"ดังนีแ้ ลว ไดท รงภาษติ พระคาถาเหลา นี้วา:-๖. สชุ วี  อหริ ิเกน กากสเู รน ธ สินาปกฺขนทฺ ินา ปคพเฺ ภน สงฺกิลฏิ เน ชวี ิต .

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 31หิรีมตา จ ทชุ ฺชีว นิจฺจ สุจคิ เวสนิ าอลเี นนาปคพฺเภน สทุ ธฺ าชเี วน ปสสฺ ตา.\"อันบุคคลผูไมมีความละอาย กลา เพยี งดังกามปี กตกิ าํ จัด (คุณผอู น่ื ) มักแลนไป (เอาหนา ) ผูคะนอง ผูเ ศราหมอง เปนอยูงาย. สวนบุคคลผูมีความละอาย ผูแสวงหากรรมอันสะอาดเปน นติ ย ไมหดหู ไมค ะนอง มอี าชีวะหมดจดเห็นอยู เปน อยูยาก.\" แกอ รรถบรรดาบทเหลาน้ัน บทวา อหริ เิ กน คอื ผูขาดหริ แิ ละโอตตัปปะ.อธิบายวา อันบุคคลผูเหน็ ปานนน้ั อาจเรยี กหญิงผมู ิใชมารดานนั่ แลวา\" มารดาของเรา\" เรียกชายท้งั หลายผูม ใิ ชบ ิดาเปน ตน นัน่ แล โดยนัยเปน ตนวา \"บดิ าของเรา\" ต้งั อยใู นอเนสนา ๒๑ อยา ง เปน อยูโดยงา ย.บทวา กากสูเรน ไดแก เชน กาตัวกลา . อธบิ ายวา เหมือนอยา งวา กาตวั กลา ใครจะคาบวตั ถทุ ้ังหลายมยี าคเู ปน ตน ในเรอื นแหงตระกลู ท้ังหลาย จับ ณ ทที่ ั้งหลายมฝี าเรือนเปน ตน แลว รูวาเขาแลดตู นจงึ ทําเปน เหมอื นไมแลดู เหมอื นสง ใจไปในทอี่ ่ืน และทาํ เปน เหมอื นหลบัอยู กําหนดความเผอเรอของพวกมนุษยไ ดแลว ก็โผลง, เม่ือพวกมนษุ ยไลว า \" สุ สุ \" อยูน่นั แล กค็ าบเอาอาหารเต็มปากแตภ าชนะแลว บินหนีไปฉนั ใด; แมบ ุคคลผไู มม คี วามละอายกฉ็ นั น้ันเหมือนกัน เขา ไปบานกับภิกษุทั้งหลายแลว ยอมกาํ หนดทที่ ง้ั หลาย มีทต่ี ั้งแหงยาคูแลภัตเปน ตน, ภิกษุท้งั หลายเทยี่ วไปบณิ ฑบาตในบานนัน้ รบั เอาอาหารสักวา

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 32ยงั อตั ภาพใหเ ปน ไป ไปสูโรงฉนั พจิ ารณาอยู ด่มื ยาคแู ลว ทาํ กัมมฏั ฐานไวใ นใจ สาธยายอยู ปดกวาดโรงฉันอยู; สว นบคุ คลน้ไี มทาํ อะไร ๆเปน ผบู า ยหนา ตรงไปยงั บา น, เขาแมถ ูกภกิ ษุทง้ั หลายบอกวา \" จงดูบุคคลนี้ \" แลว จองดอู ยู ทาํ เปนเหมือนไมแลดู เหมือนสงใจไปในท่ีอน่ื เหมอื นหลับอยู ดุจกลัดลูกดมุ ทําทีเ่ ปน ดจุ จดั จวี ร พดู วา \" การงานของเราชอ่ื โนนมอี ยู \" ลกุ จากอาสะเขาไปบาน เขา ไปสูเรอื นหลังโคหลังหน่ึงบรรดาเรอื นทกี่ าํ หนดไวแ ลวแตเชา, เมอ่ื หมมู นษุ ยใ นเรือน แมแ งมประต๑ู แลว นั่งกรอดา ยอยูริมประตู, เอามอื ขา งหนง่ึ ผลักประตแู ลวเขา ไปภายใน. ลาํ ดบั น้นั มนษุ ยเหลานัน้ เหน็ บคุ คลน้ันแลว แมไมป รารถนาก็นิมนตใหน ง่ั บนอาสนะ แลวถวายของมียาคเู ปนตนที่มอี ยู, เขาบรโิ ภคตามตอ งการแลว ถอื เอาของสวนทีเ่ หลือดวยบาตรหลกี ไป, บคุ คลนีช้ ่อื วาผูกลาเพียงดงั กา, อันบคุ คลผูหาหริ มิ ิไดเ หน็ ปานนี้ เปนอยูง าย. บทวา ธ สินา ความวา ชอ่ื วา ผูมีปกตกิ าํ จดั เพราะเมอื่ คนทั้งหลายกลา วคาํ เปนตน วา \" พระเถระชอ่ื โนน เปน ผูม ีความปรารถนานอย,\"กําจดั คณุ ของคนเหลา อนื่ เสยี ดวยคําเปน ตนวา \" กแ็ มพ วกเราไมเ ปน ผมู ีความปรารถนานอ ยดอกหรอื ?\" กม็ นษุ ยท ัง้ หลายฟง คาํ ของคนเห็นปานน้นั แลว เมอ่ื สําคัญวา \" แมผ ูน ้กี เ็ ปน ผูป ระกอบดวยคณุ มคี วามเปนผูปรารถนานอ ยเปน ตน \" ยอมสาํ คญั ของทตี่ นควรให. แตว าจาํ เดิมแตน ้นัไป เขาเม่อื ไมอาจเพอื่ ยงั จิตของบุรษุ ผูร ูท ง้ั หลายใหย ินดี ยอ มเสอื่ มจากลาภแมนัน้ . บุคคลผูมปี กตกิ ําจดั อยา งน้ี ยอ มยังลาภทงั้ ของตนทงั้ ชองผอู ่ืนใหฉบิ หายแท.๑. โถก กวาฏ ปธ าย ปดบานประตูหนอ ยหนึ่ง.

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 33 บทวา ปกฺขนทฺ ินา ความวา ผมู ักประพฤติแลน ไป คือผแู สดงกจิของคนเหลา อื่นใหเ ปน ดุจกจิ ของตน. เมื่อภิกษุทัง้ หลายทาํ วตั รทลี่ านพระ-เจดยี เ ปน ตน แตเชา ตรู น่ังดวยกระทําไวในใจซง่ึ กัมมัฏฐานหนอ ยหน่ึงแลวลกุ ขึ้น เขา ไปบา นเพ่ือบณิ ฑบาต, บุคคลนน้ั ลา งหนา แลว ตกแตงอัตภาพ ดวยอันหม ผากาสาวะมีสีเหลอื ง หยอดนยั นตาและทาศีรษะเปนตน ใหประหารดว ยไมก วาด ๒-๓ ทีเปนดจุ วากวาดอยู เปน ผูบา ยหนาไปสูซุม ประต,ู พวกมนษุ ยมาแตเ ชา ตรู ดวยคดิ วา \"จกั ไหวพระเจดยี จักกระทาํ บชู าดวยระเบียบดอกไม\" เหน็ เขาแลว พูดกันวา \"วิหารน\"้ีอาศยั ภิกษหุ นุมนี้ จึงไดการปฏิบัติบํารุง, ทา นทง้ั หลายอยา ละเลยภิกษุนี\"้ ดงั น้แี ลว ยอ มสาํ คัญของท่ตี นพึงใหแ กเ ขา. อันบุคคลผมู ักแลนไปเชน น้ี เปน อยงู าย. บทวา ปคพฺเภน ความวา ผปู ระกอบดว ยความคะนองกายเปนตน .สองบทวา สงกฺ ลิ ฏิ เ น ชวี ิต ความวา กอ็ ันบุคคลผเู ลี้ยงชวี ิตเปนอยูอยางน้ี ชอ่ื วาเปนผูเศราหมองแลว เปน อย.ู การเปนอยนู ั้น ชอื่ วา เปนอยูช ่ัว คอื เปนอยูล ามกแท. บทวา หิริมตา จ ความวา อันบุคคลผสู มบรู ณด วยหริ ิและโอต-ตปั ปะ เปน อยยู าก. เพราะเขาไมก ลาวคาํ วา \"มารดาของเรา\" เปน ตนกะหญิงผูมใิ ชม ารดาเปนตน เกลียดปจ จัยที่เกิดข้ึนโดยไมชอบธรรมดุจคถูแสวงหา (ปจ จัย) โดยธรรมโดยเสมอ เทย่ี วบณิ ฑบาตตามลําดับตรอกสาํ เร็จชวี ติ เปน อยูเ ศราหมอง. บทวา สจุ ิคเวสนิ า ความวา แสวงหากรรมทั้งหลาย มีกายกรรม

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 34เปนตน อนั สะอาด. บทวา อลเี นน ความวา ไมห ดหูดวยความเปน ไปแหงชวี ติ . สองบทวา สุทธฺ าชเี วน ปสสฺ ตา ความวา กบ็ ุคคลเหน็ ปานน้ยี อ มเปน ผชู ื่อวา มีอาชวี ะหมดจด, อนั บุคคลผูมีอาชวี ะหมดจดแลวอยา งนนี้ ั้นเหน็ อาชีวะหมดจดนั้นแลโดยความเปน สาระ ยอ มเปน อยูไดย าก ดวยอํานาจแหงความเปน อยเู ศรา หมอง. ในเวลาจบเทศนา ชนเปนอันมากบรรลอุ ริยผลทง้ั หลาย มโี สดา-ปต ตผิ ลเปน ตน ดงั นแ้ี ล. เร่ืองภิกษุชอื่ จฬู สารี จบ

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 35 ๗. เรอ่ื งอุบาสก ๕ คน [๑๘๘] ขอ ความเบื้องตน พระศาสดา เมอื่ ประทับอยูในพระเชตวัน ทรงปรารภอุบาสก ๕ คนตรัสพระธรรมเทศนานี้วา \"โย ปาณมติมาเปต\"ิ เปน ตน . อบุ าสกเถยี งกนั ในเรอ่ื งศลี ความพสิ ดารวา บรรดาอบุ าสกเหลานน้ั อบุ าสกคนหนึ่งยอ มรักษาสกิ ขาบท คือเจตนาเครอ่ื งงดเวน จากการยังชวี ติ สัตวใ หตกลวงไปอยางเดยี ว. (สว น) อุบาสกทัง้ หลายนอกนี้ ยอมรกั ษาสิกขาบททั้งหลายนอกน.ี้วันหนึง่ อบุ าสกเหลาน้ันเกดิ ทมุ เถยี งกนั วา \" เรายอ มทาํ กรรมทีท่ าํ ไดโดยยาก. เรายอ มรักษาส่ิงท่รี ักษาไดโดยยาก\" ไปสสู ํานกั ของพระศาสดาถวายบังคมแลวกราบทูลความน้ัน. พระศาสดาทรงตดั สนิ พระศาสดา ทรงสดบั ถอ ยคาํ ของอุบาสกเหลา นัน้ แลว มไิ ดทรงกระทําศีลแมขอ หนึ่งใหต่าํ ตอย ตรัสวา \"มีศลี ท้งั หมดเปน ของรกั ษาไวโดยยากท้ังนน้ั \" ดงั นแ้ี ลว ไดทรงภาษติ พระคาถาเหลาน้วี า :- ๗. โย ปาณมติมาเปติ มุสาวาทฺจ ภาสติ โลเก อทินฺน อาทิยติ ปรทารฺจ คจฉฺ ติ สรุ าเมรยปานจฺ โย นโร อนยุ ุ ชฺ ติ อิเธวเมโส โลกสมฺ ึ มลู  ขนติ อตตฺ โน. เอว โภ ปุรสิ ชานาหิ ปาปธมฺมา อสฺ ตา มา ต โลโภ อธมฺโม จ จริ  ทุกฺขาย รนธฺ ยุ .






























Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook