พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 151 พระศาสดา ประทบั น่งั บนอาสนะอนั ตกแตงแลว. ทั้งภิกษุสงฆ ท้งัหมเู จา ลจิ ฉวีนั่งแวดลอมพระศาสดาแลว . แมทา วสักกเทวราชอนั หมเู ทวดาแวดลอมแลว ไดป ระทบั ยนื ในโอกาสสมควร. ฝายพระเถระเทีย่ วไปสพู ระ-นครทง้ั สนิ้ โดยลําดบั แลว มากับมหาชนผูห ายโรค ถวายบงั คมพระศาสดานงั่ แลว พระศาสดาทรงตรวจดบู รษิ ทั แลว ไดท รงภาษติ รัตนสูตรนนั้นน่ั เอง. ในกาลจบเทศนา การตรสั รูธ รรมไดมีแกส ตั วแ ปดหมืน่ สีพ่ ันแลว. พระศาสดา ทรงแสดงรตั นสตู รนนั้ เหมอื นกันตลอด ๗ วัน คอื แมในวนั รุงขนึ้ ก็ทรงแสดงอยา งน้นั ทรงทราบความทภ่ี ัยท้งั ปวงสงบแลวตรัสเตือนหมเู จา ลิจฉวีแลว เสดจ็ ออกจากเมอื งไพศาล.ี เจา ลจิ ฉวีทง้ั หลายทรงทาํ สกั การะทวีคณู นาํ เสด็จพระศาสดาไปสูฝง แมน ้าํ คงคาโดย ๓ วันอีก. พวกพระยานาคทําการบชู าพระศาสดา พระยานาคทัง้ หลายผเู กิดในแมน ้าํ คงคา คิดวา มนษุ ยทง้ั หลายยอมทาํสักการะแดพ ระตถาคต, เราท้ังหลายจะทาํ อะไรหนอ ?\" พระยานาคเหลา-นัน้ นริ มิตเรอื สาํ เรจ็ ดวยทองคาํ เงนิ และแกว มณี จัดต้ังบลั ลงั กส ําเร็จดวยทองคํา เงิน และแกว มณี ทาํ น้าํ ใหด าดาษดวยดอกปทมุ ๕ สี แลว ทูลออ นวอนพระศาสดา เพอื่ ประโยชนเสด็จข้นึ เรือของตน ๆ วา \" ขาแตพระองคผ เู จริญ ขอพระองคทรงทาํ การอนุเคราะหแมแกข า พเจาทง้ั หลายเถดิ .\" มนุษยแ ละนาคทั้งหลายยอมทาํ การบชู าพระตถาคต. เทวดาทั้งปวง ตงั้ ตนแตเ ทวดาผูสถิต ณ ภาคพ้นื ตลอดถงึ พรหม-โลกช้นั อกนฏิ ฐคดิ วา \" พวกเราจะทําอะไรหนอ ?\" แลว ทาํ สกั การะ.บรรดามนุษยแ ละอมนุษยเหลาน้นั นาคทัง้ หลายยกฉัตรซอน ๆ กนั ข้ึน
พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 152ประมาณโยชนหน่ึง. ฉตั รทีซ่ อ น ๆ กัน อนั มนุษยและอมนุษยท ง้ั หลายคือนาคภายใต มนุษยที่พนื้ ดิน ภุมมัฏฐกเทวดาท่ีตน ไม กอไม และภูเขาเปนตน อากาสฏั ฐกเทวดาในกลางหาว ตา งก็ยกข้นึ แลว ต้ังตน แตนาคภพตลอดถึงพรหมโลก โดยรอบจักรวาล ดวยประการฉะน้ี. ในระหวางฉตั รมธี งชัย, ในระหวา งธงชยั มีธงแผนผา , ในระหวา ง ๆ แหงธงเหลานน้ัไดม เี ครื่องสักการะมีพวงดอกไม จณุ เครื่องอบ และกระแจะเปนตน.เทพบุตรท้ังหลายประดบั ประดาดวยเครื่องอลงั การท้งั ปวง ถือเพศแหง คนเลน มหรสพ ปา วรอ งเทีย่ วไปในอากาศ. ไดยนิ วา สมาคม ๓ แหง เทา น้ันคอื \" สมาคมในเวลาแสดงยมกปาฏิหารยิ ๑ สมาคมในเวลาเสด็จลงจากเทวโลก ๑ สมาคมในเวลาลงสคู งคานี้ ๑ \" ไดเปนสมาคมใหญ. พระเจาพิมพิสารใหเตรียมรบั เสดจ็ พระพทุ ธเจา อีก ฝา ยพระเจา พมิ พสิ าร ทรงตระเตรียมสกั การะทวคี ณู จากสกั การะอันพวกเจาลิจฉวที าํ ไดทรงยนื แลดูการเสดจ็ มาของพระผมู พี ระภาคเจา อยููที่ฝง โนน. พระศาสดาทอดพระเนตรการบรจิ าคใหญ ของพระราชาท้ังหลายใน ๒ ฝงแหง แมน ้าํ คงคา และทรงทราบอธั ยาศัยของสตั วท ง้ั หลายมนี าคเปนตน แลวทรงนริ มิตพระพทุ ธนิรมติ พระองคหนง่ึ ๆ มีภกิ ษุองคละ ๕๐๐ เปนบริวารไวท่เี รือลําหนงึ่ ๆ. พระผมู ีพระภาคเจาน้ันอนั หมูนาคแวดลอ มแลว ไดประทับนัง่ ณ ภายใตแ หงเศวตฉัตรคันหนึง่ ๆ และตน กัลปพฤกษแ ละพวงระเบียบดอกไม. ทรงนริ มติ พระพทุ ธนริ มิตพระองคหนึง่ ๆ พรอมทง้ั บริวารในโอกาสแหง หนึ่ง ๆ แมใ นเทวดาทั้งหลายมีเทวดาช้นั ภมุ มัฏฐกะเปน ตน . เมอื่ หองจักรวาลท้งั สิน้ เกิดเปน ประหนึง่ วามีมหรสพอันเดยี วและมีการเลน อันเดยี ว ดวยประการฉะนแี้ ลว, พระศาสดา
พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 153เม่ือจะทรงทําการอนุเคราะหแกน าคท้ังหลาย ไดเสดจ็ ข้ึนสเู รอื แกวลําหนง่ึ .แมบรรดาภิกษุทั้งหลายรูปหน่ึง ๆ กข็ นึ้ สเู รือลาํ หนง่ึ ๆ เหมอื นกัน. พระยานาคทัง้ หลาย นมิ นตภกิ ษุสงฆม พี ระพุทธเจาเปนประมขุ ใหเขาไปสูน าคภพ ฟงธรรมกถาในสํานักของพระศาสดาตลอดคืนยงั รงุในวนั ท่ี ๒ องั คาสภกิ ษสุ งฆม พี ระพทุ ธเจา เปน ประมุข ดวยของควรเคยี้ วดวยของควรบรโิ ภคอนั เปน ทพิ ย. พระศาสดาทรงทาํ อนโุ มทนาแลวออกจากนาคภพ อันเทวดาในจักรวาลทงั้ สน้ิ บชู าอยู ทรงขา มแมน ้าํ คงคาดวยเรอื ๕๐๐ ลําแลว . พระราชาทรงตอนรบั อัญเชญิ พระศาสดาใหเสดจ็ ลงจากเรือ ทรงทําสักการะทวคี ูณ จากสักการะอนั เจา ลจิ ฉวที ั้งหลายทาํ ในเวลาเสด็จมา นาํพระศาสดามาสูกรุงราชคฤห โดย ๕ วนั โดยนยั กอนน่นั แล. พวกภกิ ษชุ มพทุ ธานภุ าพ ในวันที่ ๒ พวกภกิ ษกุ ลับจากบณิ ฑบาตแลว ในเวลาเย็นน่งั ประชุมกันในโรงธรรม สนทนากนั วา \" นา ชม ! อานภุ าพของพระพทุ ธเจาทงั้ หลาย. นา ประหลาดใจ ! เทวดาและมนุษยท้ังหลายพากันเลือ่ มใสในพระศาสดา; พระราชาทงั้ หลายทรงทาํ พืน้ ทใ่ี หสมํ่าเสมอในหนทาง ๘ โยชนทงั้ ฝง นฝ้ี งโนนแหง แมน า้ํ คงคา เกล่ียทรายลงลาดดอกไมมสี ีตาง ๆ โดยสว นสูงประมาณเพียงเขา ดว ยความเล่ือมใสอนั เปน ไปแลวในพระพทุ ธเจา ,นาํ้ ในแมน ้าํ คงคาก็ดาดาษ ดวยดอกปทมุ ๕ สี ดวยอานุภาพนาค, เทวดาทง้ั หลายกย็ กฉัตรซอน ๆ กันขึน้ ตลอดถงึ อกนิฏฐภพ, หองจักรวาลท้ังส้ินเกดิ เปน เพยี งดงั วามเี ครอื่ งประดับเปน อนั เดยี ว และมมี หรสพเปนอนั เดียว.\"
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 154 พระศาสดาเสดจ็ มาแลวตรัสถามวา \" ภกิ ษุทัง้ หลาย บัดน้ี เธอทัง้ หลายน่งั ประชุมกันดว ยกถาอะไรหนอ ?\" เมอ่ื ภกิ ษเุ หลา นนั้ กราบทลู วา\" ดว ยกถาช่ือนี้,\" จึงตรสั วา \" ภิกษุทั้งหลาย เคร่อื งบูชาและลักการะน้ีมไิ ดบ งั เกดิ ขึน้ แกเ ราดวยพุทธานุภาพ, มิไดเ กิดขึ้นดว ยอานุภาพนาคและเทวดาและพรหม, แตว าเกิดดวยอานภุ าพแหง การบรจิ าคมีประมาณนอ ยในอดตี \" อันภกิ ษุทั้งหลายทลู ออ นวอนแลว ใครจะประกาศเน้ือความน้นัจงึ ทรงนาํ อดตี นทิ านมาตรสั วา :- เร่อื งสุสมิ มาณพ ในอดตี กาล ในเมืองตกั กสิลา ไดม พี ราหมณค นหนึ่งช่อื สังขะ.เขามบี ุตร (คนหน่ึง) เปนมาณพชอื่ สสุ มิ ะ มอี ายุยางเขา ๑๖ ป. ในวันหนงึ่ สุสมิ มาณพนนั้ เขา ไปหาบิดาแลว กลาววา \" พอ ผมปรารถนาจะเขาไปสเู มืองพาราณสีทอ งมนต.\" ลาํ ดบั น้ัน บิดากลา วกะเขาวา \" พอ ถากระนั้น พราหมณช่อื โนนเปน สหายของพอ เจา จงไปสสู ํานกั ของสหายนน้ั แลวเรยี นเถดิ .\" เขารบั คาํ วา \" ดลี ะ \" แลว ถึงเมอื งพาราณสีโดยลาํ ดับ เขา ไปหาพราหมณน น้ั แลว บอกความท่ตี นอันบดิ าสง มาแลว. ลําดบั นั้น พราหมณน้นั รับเขาไว ดว ยคดิ วา \" บุตรสหายของเรา \"แลวเร่มิ บอกมนตก ะเขา ผูมีความกระวนกระวายอันระงับแลว โดยวนั เจริญ๑สุสิมมาณพนน้ั เรยี นเร็วดว ย เรยี นไดม ากดว ย ทรงจํามนตท ีเ่ รยี นแลว ๆไมใหเ สอื่ มไป ราวกะวา นา้ํ มนั สหี ะอนั เขาเทไวในภาชนะทองคาํ ตอกาลไมนานนกั ไดเรียนมนตท งั้ หมดอันตนพงึ เรียนจากปากของอาจารย ทําการสาธยายอยู ยอมเหน็ เบือ้ งตนและทามกลางแหงศลิ ปที่ตนเรียนแลวเทา๑. คืนวนั ดี เปนวันมงคล.
พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 155น้นั , (แต) ไมเ ห็นท่สี ดุ . เขาเขาไปหาอาจารยแลว กลาววา \"ผมยอ มเห็นเบือ้ งตนและทา มกลางแหงศลิ ปนเี้ ทาน้นั , ยอ มไมเหน็ ทส่ี ดุ ,\" เมอ่ือาจารยก ลา ววา \"พอ แมฉันก็ไมเ ห็น,\" จงึ ถามวา \"ขาแตอ าจารย เม่อืเปน เชนนน้ั ใครจะรทู ่ีสดุ .\" เมอื่ อาจารยกลา ววา \"พอ ฤษีท้งั หลายเหลา น้นั ยอ มอยใู นปา อิสิปตนะ, ฤษเี หลานนั้ พึงร,ู เจาเขา ไปสูส าํ นักของทานแลว จงถามเถิด,\" จงึ เขาไปหาพระปจ เจกพุทธเจาทงั้ หลายแลว ถามวา\"ไดยินวา ทานทั้งหลายยอ มรทู ีส่ ุดหรอื ?\" ปจ เจก. เออ เราทง้ั หลายยอมรู สุสมิ ะ. ถา กระน้นั ขอทา นทง้ั หลาย จงบอกแกขา พเจา . ปจเจก. เราทง้ั หลายยอ มไมบ อกแกค นไมใชบรรพชติ , ถา ทา นมีประสงคด วยที่สุด, จงบวชเถิด. สุสิมมาณพนั้นรับวา \"ดลี ะ\" แลว บวชในสํานักพระปจเจกพุทธะเหลาน้นั . ลําดบั นน้ั พระปจ เจกพุทธะเหลา นัน้ กลาวแกทา นวา \"เธอจงศึกษาขอ นี้กอน\" แลวบอกอภิสมาจาริกวัตร โดยนัยเปนตนวา \"ทา นพึงนุง อยางนี้, พงึ หมอยางนี้.\" ทานศกึ ษาอยูในอภิสมาจาริกวตั รนั้นเพราะความทตี่ นมีอุปนสิ ัยสมบรู ณ ตอ กาลไมนานนักก็ตรสั รปู จเจกสัมโพธิปรากฏในเมอื งพาราณสที ง้ั ส้ิน เปนราวกะวา พระจันทรเ ต็มดวงปรากฏอยูในทองฟา ไดเ ปน ผูถ ึงความเปน ผูเลิศดวยลาภและเลิศดวยยศ. ทานไดปรนิ ิพพานตอกาลไมนานเลย เพราะความที่แหงกรรมซึ่งอาํ นวยผลใหเปนผูมีอายุนอยอนั ตนทําแลว. ลําดับนน้ั พระปจ เจกพุทธะทั้งหลาย และมหาชน (ชว ยกนั ) ทาํ สรีรกิจของทา นแลว ถือเอาธาตุประดษิ ฐานพระ-สถปู ไวใกลป ระตูพระนคร.
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 156 ฝา ยสังขพราหมณ คดิ วา \" บุตรของเราไปนานแลว , เราจักรูความเปน ไปของเขา\" ปรารถนาจะเหน็ บุตรน้ัน จึงออกจากเมอื งตักกสิลา ถงึเมอื งพาราณสโี ดยลาํ ดบั เหน็ หมมู หาชนประชุมกนั แลว คิดวา \" ในชนเหลา น้ี แมคนหนงึ่ จักรูความเปนไปแหง บุตรของเราเปนแน. \" จงึ เขาไปหาแลว ถามวา \" มาณพชอื่ สุสิมะมาในทน่ี ้,ี ทา นทัง้ หลายทราบขา วคราวของเขาบางหรอื หนอ ?\" มหาชนตอบวา \" เออ พราหมณ เราร,ูสุสมิ มาณพนั้นสาธยายไตรเพท ในสํานกั ของพราหมณช่อื โนน บวชแลวทาํ ใหแจงซง่ึ ปจ เจกโพธปิ ญ ญา ปรนิ พิ พานแลว , นส้ี ถปู ของทานอนั เราทง้ั หลายใหตัง้ เฉพาะแลว .\" สังขพราหมณนน้ั ประหารพน้ื ดินดว ยมอืรอ งใหค ราํ่ ครวญแลว ไปยังลานพระเจดยี ถอนหญาข้นึ แลว เอาผาหมนาํ ทรายมา เกล่ียลงท่ีลานพระเจดีย ประพรมดวยน้ําในลักจั่น ทาํ บูชาดวยดอกไมปา ยกธงแผน ผาดว ยผาสาฎก ผกู ฉตั รของตนในเบอ้ื งบนแหงพระสถูปแลว ก็หลีกไป. อานิสงสแหงการบรจิ าคสขุ พอประมาณ พระศาสดา ครั้นทรงนาํ อดตี นทิ านน้มี าแลว ตรสั วา \" ภิกษทุ ้งั หลายในกาลน้นั เราไดเ ปนสงั ขพราหมณ, เราไดถอนหญาในลานพระเจดยี ของพระปจเจกพทุ ธะชอ่ื สสุ มิ ะ, ดวยผลแหงกรรมของเรานั้น ชนท้ังหลายจงึทาํ หนทาง ๘ โยชนใหป ราศจากตอและหนามทาํ ใหส ะอาด มพี ืน้ สม่าํ เสมอ,เราไดเกลยี่ ทรายลงในลานพระเจดยี น ัน้ , ดว ยผลแหง กรรมของเราน้นัชนท้งั หลายจงึ เกลยี่ ทรายลงในหนทาง ๘ โยชนแลว; เราทาํ การบูชาดวยดอกไมป า ที่พระสถูปนั้น, ดวยผลแหง กรรมของเรานั้น ชนทัง้ หลายจงึโปรยดอกไมสีตาง ๆ ลงในหนทาง ๘ โยชน, น้าํ ในคงคาในทปี่ ระมาณ
พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 157โยชนห นงึ่ จึงดาดาษไปดวยดอกปทุม ๕ ส,ี เราไดประพรมพนื้ ที่ในลานพระเจดยี นน้ั ดว ยน้ําในลกั จน่ั , ดว ยผลแหง กรรมของเรานั้น ฝนโบก-ขรพรรษจงึ ตกลงในเมอื งไพศาล,ี เราไดยกธงแผนผา ขน้ึ และผกู ฉตั รไวบนพระเจดยี น น้ั , ดว ยผลแหง กรรมของเรานัน้ หองจกั รวาลท้งั สนิ้ จงึเปนราวกะวามีมหรสพเปนอันเดยี วกัน ดวยธงชัย ธงแผนผา และฉตั รซอน ๆ กนั เปน ตน ตลอดถึงอกนิฏฐภพ, ภกิ ษทุ ั้งหลาย เพราะเหตดุ ังนี้แลบชู าสกั การะนน่ั เกดิ ในแกเรา ดว ยพทุ ธานภุ าพกห็ าไม, เกดิ ขึ้นดวยอานภุ าพแหง นาคเทวดาและพรหมก็หาไม, แตว า เกิดขึ้นดว ยอานภุ าพแหง การบริจาคมีประมาณนอ ย ในอดตี กาล ดังนีแ้ ลว เมอ่ื จะทรงแสดงธรรมจงึ ตรสั พระคาถานีว้ า:-๑. มตฺตาสขุ ปริจจฺ าคา ปสฺเส เจ วิปุล สุข จเช มตตฺ าสุข ธโี ร สมปฺ สฺส วปิ ลุ สขุ . \" ถา บคุ คลพงึ เห็นสุขอันไพบูลย เพราะสละสุข พอประมาณเสยี , ผมู ีปญญา เมอ่ื เห็นสุขอันไพบลู ย ก็พงึ สละสุขพอประมาณเสีย [จึงจะไดพ บสขุ อนั ไพบลู ย] .\" แกอรรถ บรรดาบทเหลา นนั้ บทวา มตฺตาสขุ ปรจิ ฺจาคา ความวา เพราะสละสุขเลก็ นอยพอประมาณ ท่ีพระผมู พี ระภาคเจาตรสั วา \"มตตฺ าสุข .\"สุขอนั โอฬาร ไดแกส ขุ คือพระนพิ พาน พระผูมพี ระภาคเจาตรสั วา สุขอนัไพบูลย. ความวา ถาบคุ คลพงึ เหน็ สขุ อนั ไพบูลยน นั้ . ทานกลาวคําอธบิ ายไวด งั นี้วา \" ก็ชือ่ วาสุขพอประมาณ ยอ มเกิด
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 158ขนึ้ แกบุคคลผูใหจ ดั แจงถาดโภชนะถาดหนง่ึ แลว บรโิ ภคอยู, สว นชอ่ื วานิพพานสุข อนั ไพบูลย คืออนั โอฬาร ยอ มเกดิ ขนึ้ แกบ ุคคลผสู ละสขุ พอประมาณนน้ั เสียแลว ทําอโุ บสถอยูบ า ง; ใหทานอยบู าง; เพราะเหตุนนั้ถาบุคคลเหน็ สุขอนั ไพบูลย เพราะสละสขุ พอประมาณนน้ั เสีย อยา งน้นั ,เมือ่ เชน นัน้ บัณฑติ เมอ่ื เห็นสุขอนั ไพบลู ยน่ันโดยชอบ ก็พึงสละสุขพอประ-มาณนน้ั เสยี . ในกาลจบเทศนา ชนเปนอันมากบรรลอุ รยิ ผลทัง้ หลาย มีโสดา-ปต ติผลเปน ตน ดงั น้ีแล. เรื่องบรุ พกรรมของพระองค จบ.
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 159 ๒. เรื่องกุมารกิ ากนิ ไขไก [๒๑๕] ขอ ความเบ้ืองตน พระศาสดา เม่อื ประทบั อยใู นพระเชตวัน ทรงปรารภกุมารกิ าผูกินไขไกคนหน่งึ ตรัสพระธรรมเทศนานี้วา \" ปรทุกฺขูปธาเนน \"เปนตน . แมไ กผูกอาฆาตในนางกมุ ารกิ า ไดย ินวา บานหนึง่ ชอ่ื ปณ ฑุระ อยไู มไกลเมอื งสาวตั ถี, ในบานนัน้ มีชาวประมงอยคู นหนงึ่ . เขาเมื่อไปยงั เมืองสาวัตถี เห็นไขเตา รมิ -ฝงแมน าํ้ อจิรวดีแลว ถือเอาไขเ ตา เหลาน้นั ไปสเู มืองสาวัตถีใหตม ในเรอื นหลังหนึง่ แลวเคยี้ วกิน ไดใหไ ขฟ องหนงึ่ แกก มุ ารกิ าในเรอื นนัน้ . นางเคยี้ วกนิ ไขเตานนั้ แลว จําเดิมแตนนั้ ไมป รารถนาซงึ่ ของควรเคย้ี วอยา งอ่ืน. คร้ังนนั้ มารดาของนาง ถือเอาไขฟ องหนึง่ จากท่ีแมไกไ ขแ ลว ไดให (แกนาง). นางเคีย้ วกนิ ไขฟองน้ันแลว อันความอยากในรสผกู แลวจําเดมิ แตนนั้ ก็ถอื เอาไขไ กมาเคี้ยวกนิ เองทีเดียว. ในเวลาตกฟอง แมไกเหน็ กมุ าริกานั้นถือเอาไขข องตนเคยี้ วกนิ อยู ถกู กมุ าริกานั้นเบียดเบียนแลวผกู อาฆาต ตั้งความปรารถนาวา \" บดั นเี้ ราเคลอื่ นจากอัตภาพนแ้ี ลว พึงเกดิ เปนยกั ษิณี เปนผูสามารถจะเค้ียวกินทารกของเจา \" ทํากาละแลวบงั เกิดเปนนางแมวในเรอื นน้นั นั่นเอง. การจองเวรกันใหเ กดิ ทุกข แมนางกุมาริกานอกนี้ ทาํ กาละแลว บังเกิดเปน แมไ กในเรือนน้ันเหมอื นกัน. แมไ กตกฟองท้ังหลายแลว. นางแมวมาเค้ียวกินฟองไขเหลา นัน้ แลว แมค รง้ั ที่ ๒ แมค รงั้ ที่ ๓ กเ็ คีย้ วกินแลว เหมอื นกัน. แมไก
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 160ทําความปรารถนาวา \" เจาเคี้ยวกินฟองไขท้งั หลายของเราตลอด ๓ คราวบดั น้ี ยังปรารถนาจะเค้ียวกนิ เรา, เราเคลอ่ื นจากอัตภาพนแ้ี ลว พึงไดเพือ่ เค้ียวกินเจา พรอมทงั้ ลูก \" เคล่อื นจากอตั ภาพนนั้ แลว บงั เกดิ เปนนางเสือเหลอื ง. ฝา ยนางแมวนอกน้ี ทาํ กาละแลวบังเกดิ เปนนางเนอ้ื . ในเวลานางเนื้อนัน้ คลอดแลว นางเสือเหลอื งกม็ าเค้ียวกินนางเน้ือนน้ั พรอมดว ยลกูทั้งหลาย. สองสัตวนน้ั เคี้ยวกินอยูอยา งน้ี ยงั ทุกขใ หเกิดขน้ึ แกกันและกันใน ๕๐๐ อัตภาพ ในท่สี ุดนางหนง่ึ เกิดเปน ยักษิณ,ี นางหนงึ่ เกดิ เปนกุลธดิ าในเมืองสาวัตถ.ี เบื้องหนา แตน ี้ พงึ ทราบโดยนยั ท่ีกลาวไวแลว ในพระคาถาวา\" น หิ เวเรน เวรานิ \" เปนอาทิ น่นั แล. แตใ นเร่ืองนี้ พระศาสดาตรัสวา \" ก็เวรยอมระงับดวยความไมมีเวร, ยอมไมร ะงบั ดว ยเวร,\" ดังนีแ้ ลว เมือ่ จะทรงแสดงธรรมแกช นแมท ้งั สองงจึงตรสั พระคาถานว้ี า :-๒. ปรทุกขปู ธาเนน โย อตตฺ โน สขุ มิจฺฉติ เวรส สคคฺ ส สฏโ เวรา โส น ปริมุจฺจติ. \" ผใู ด ยอ มปรารถนาสขุ เพื่อตน เพราะกอ ทุกข ในผอู ืน่ , ผูน ั้น เปนผรู ะคนดวยเครือ่ งระคนคอื เวร ยอมไมพ น จากเวรได.\" แกอรรถ บรรดาบทเหลานน้ั บทวา ปรทุกฺขปุ ธาเนน ความวา เพราะกอทกุ ขในผูอ น่ื , อธิบายวา เพราะยังทุกขใ หเ กดิ ขนึ้ แกผ อู ่นื .
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 161 บาทพระคาถาวา เวรส สคฺคส สฏโ ความวา บคุ คลนนั้ เปนผูระคนแลวดวยเคร่อื งระคนคือเวร อนั ตนทาํ ใหแ กก ันและกัน ดว ยสามารถแหงการดา และการดา ตอบ การประหารและการประหารตอบ เปน ตน. บาทพระคาถาวา เวรา โส น ปรมิ จุ ฺจติ ความวา ยอมถงึ ทกุ ขอยางเดียว ตลอดกาลเปนนิตย ดวยสามารถแหง เวร. ในกาลจบเทศนา นางยกั ษณิ ีตงั้ อยใู นสรณะท้ังหลาย สมาทานศลี ๕พนแลว จากเวร, ฝา ยกุลธดิ านอกนตี้ ง้ั อยูในโสดาปตตผิ ลแลว, เทศนาไดม ีประโยชนแมแกบคุ คลผปู ระชุมกนั แลว ดังน้แี ล. เรื่องกมุ ารกิ ากนิ ไขไก จบ.
พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 162๓. เรอ่ื งภิกษชุ าวนครภทั ทยิ ะ [๒๑๖] ขอความเบือ้ งตนพระศาสดา เมอื่ เสด็จอาศัยนครภทั ทิยะ ประทับอยใู นชาตยิ าวันทรงปรารภภกิ ษุชาวนครภัททยิ ะ ตรัสพระธรรมเทศนานวี้ า \" ย หิ กิจจฺ \"เปน ตน . ภกิ ษลุ ะเลยสมณกจิดังไดส ดับมา ภิกษุชาวนครภทั ทิยะเหลา น้นั ไดเ ปน ผขู วนขวายในการประดับเขยี งเทา .สมจรงิ ตามทพี่ ระอุบาลเี ถระกลา วไววา \" กโ็ ดยสมยั นนั้ แล พวกภกิ ษุนครภัททยิ ะ ตามประกอบความเพยี รในการประดับเขียงเทา ชนิดตา ง ๆ กันอยู : ทําเองบา ง ใหคนอนื่ ทาํ บาง ซงึ่ เขยี งเทาหญาธรรมดาทาํ เองบาง ใหค นอืน่ ทําบา ง ซงึ่ เขียงเทา หญา ปลอ ง เขียงเทาหญา มงุ กระตายเขียงเทาตนแปง เขียงเทา ผากัมพล, ยอ มละทง้ิ อทุ เทส (ศึกษาเลาเรียนธรรมวินัย) ปริปุจฉา (การไตถ าม) อธิศีล (อินทรยี สงั วร) อธจิ ติ(สมถภาวนา) อธปิ ญญา (วปิ ส สนาภาวนา). ภกิ ษุทง้ั หลาย ตาํ หนิโทษความที่ทาํ เชน นนั้ ของภิกษุเหลา นั้น จึงกราบทลู แดพระศาสดา. พระศาสดาทรงตําหนโิ ทษแลวเทศนาพระศาสดา ทรงตเิ ตียนภกิ ษุเหลา นัน้ แลว ตรัสวา \" ภกิ ษทุ ้ังหลายเธอทงั้ หลายมาดวยกิจอยา งอืน่ แลว ขวนขวายในกจิ อยางอืน่ แล \" ดังน้ีแลวเมื่อจะทรงแสดงธรรม ไดต รัสพระคาถาเหลาน้วี า :-๓. ยหฺ ิ กิจจฺ ตทปวทิ ธฺ อกจิ ฺจ ปน กยริ ต๑ิอุนนฺ ฬาน ปมตตฺ าน เตส วฑฒฺ นฺติ อาสวา.
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 163 เยสจฺ สุสมารทฺธา นิจจฺ กายคตา สติ อกจิ ฺจนเฺ ต น เสวนฺติ กิจเฺ จ สาตจจฺ การิโน สตาน สมปฺ ชานาน อตถฺ คจฉฺ นตฺ ิ อาสวา. \" ก็ ภิกษุละทิ้งสิ่งทคี่ วรทาํ , แตทําสิง่ ท่ีไมค วร ทํา; อาสวะ๑ทง้ั หลาย ยอ มเจริญแกภกิ ษเุ หลานั้น ผูม ี มานะประดจุ ไมอออนั ยกขน้ึ แลว ประมาทแลว; สวน สตอิ นั ไปในกาย อนั ภกิ ษุเหลา ใด ปรารภดวยดเี ปน นิตย, ภกิ ษุเหลานั้นมีปกติทําเนอื ง ๆ ในกิจที่ควรทํา ยอมไมเ สพสิ่งทีไ่ มควรทํา; อาสวะทง้ั หลายของภกิ ษุ เหลานั้น ผมู ีสติ มสี ัมปชญั ญะ ยอ มถงึ ความตัง้ อยู ไมไ ด.\" แกอรรถ บรรดาบทเหลา นนั้ สองบทวา ย หิ กจิ จฺ ความวา กก็ รรมมอี าทิอยา งน้คี ือ การคุม ครองศีลขันธอนั หาประมาณมไิ ด การอยปู าเปนวัตร การรักษาธุดงค ความเปนผูยนิ ดใี นภาวนา ช่ือวา เปน กจิ อันควรทาํของภิกษุ จาํ เดิมแตกาลบวชแลว. แตภกิ ษุเหลานลี้ ะเลย คอื ทอดทงิ้ กิจที่ควรทําของตนเสยี . บทวา อกจิ จฺ เปน ตน ความวา ก็การประดบั รม การประดบัรองเทา การประดับเขียงเทา บาตร โอ ธมกรก ประคดเอว อังสะ ชือ่ วาเปน กจิ ไมควรทําของภิกษุ. อธบิ ายวา ภกิ ษุเหลา ใดทาํ สิง่ นนั้ , อาสวะ๑. อาสวะมี ๔ คือ กามาสวะ อาสวะคือกาม ๑ ภวาสวะ อาสวะคอื ภพ ๑ ทฏิ ฐาสวะ อาสวะคือความเห็นผดิ ๑ อวชิ ชาสวะ อาสวะคอื อวชิ ชา ๑.
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 164ท้ัง ๔ ยอมเจริญแกภิกษเุ หลา น้ัน ผชู อ่ื วา มีมานะประดุจไมอ อ อันยกขึน้แลว เพราะการยกมานะเพียงดงั ไมออ เทีย่ วไป ช่ือวา ประมาทแลว เพราะปลอ ยสติ. บทวา สสุ มารทธฺ า ไดแก ประคองไวด ีแลว. สองบทวา กายคตา สติ ไดแก ภาวนาอนั เปน เคร่อื งตามเหน็ กาย. บทวา อกจิ ฺ จ ความวา ภิกษุเหลา น้นั ยอมไมเ สพ คือไมท ําส่งิ ที่ไมควรทาํ นั่น มกี ารประดบั รม เปน ตน . บทวา กจิ เฺ จ ความวา ในส่งิ อันตนพงึ ทํา คอื ในกรณียะ มีการคมุ ครองศลี ขนั ธอ ันหาประมาณมไิ ดเปน ตน จําเดิมแตก าลบวชแลว. บทวา สาตจฺจการโิ น ไดแก มปี กตทิ ําเนือง ๆ คือทําไมหยุด,อธบิ ายวา อาสวะแมท ั้ง ๔ ของภิกษุเหลา นน้ั ผูช อื่ วามีสติ เพราะไมอยูปราศจากสติ ผูช่ือวา มสี ัมปชญั ญะ เพราะสมั ปชัญญะ ๔ อยาง คอื' สาตถกสมั ปชญั ญะ สปั ปายสมั ปชญั ญะ โคจรสัมปชญั ญะ อสมั โมห-สัมปชญั ญะ ' ยอมถงึ ความต้ังอยไู มได คือถงึ ความสิ้นไป ไดแ ก ไมม .ี ในกาลจบเทศนา ภกิ ษเุ หลานัน้ ตงั้ อยใู นพระอรหัตแลว . เทศนาไดมีประโยชนแ มแ กบ ุคคลทป่ี ระชุมกนั แลว ดงั นแ้ี ล. เรอื่ งภิกษุชาวนครภทั ทยิ ะ จบ.
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 165 ๔. เรื่องพระลกณุ ฏกภทั ทิยเถระ [๒๑๗] ขอ ความเบอ้ื งตน พระศาสดา เม่อื ประทบั อยใู นพระเชตวัน ทรงปรารภพระลกณุ ฏก-ภทั ทยิ เถระ ตรัสพระธรรมเทศนานีว้ า \" มาตร ปต ร หนฺตวฺ า \"เปนตน. อาคนั ตกุ ภกิ ษเุ ขา เฝา พระศาสดา ความพิสดารวา วนั หน่งึ ภกิ ษุอาคันตกุ ะหลายรปู ดว ยกัน เขาไปเฝา พระศาสดา ผูประทับนงั่ ณ ทปี่ ระทบั กลางวนั ถวายบงั คมแลวนงั่ณ ทคี่ วรขางหนึง่ . ขณะนัน้ พระลกุณฏกภัททยิ เถระเดนิ ผา นไปในที่ไมไ กลแหง พระผูมีพระภาคเจา . พระศาสดา ทรงทราบวารจติ (คอื ความคดิ ) ของภิกษุเหลา นน้ั แลวตรัสวา \" ภิกษทุ ้งั หลาย พวกเธอเหน็ หรอื ? ภิกษนุ ้ีฆามารดาบิดาแลวเปน ผไู มมีทุกข ไปอยู \" เม่อื ภิกษุเหลา นน้ั มองดหู นากนั และกนั แลว แลนไปสคู วามสงสยั วา \" พระศาสดา ตรสั อะไรหนอแล ?\" จงึ กราบทลู วา\" พระองคตรสั คาํ นนั่ ชื่ออะไร ?\" เมอ่ื จะทรงแสดงธรรมแกภกิ ษุเหลา นนั้จึงตรัสพระคาถาน้ีวา:-๔. มาตร ปตร หนฺตวฺ า ราชาโน เทฺว จ ขตตฺ ิเย รฏ สานุจร หนตฺ วฺ า อนโี ฆ ยาติ พฺราหมฺ โณ. \" บุคคลฆามารดาบดิ า ฆาพระราชาผเู ปน กษตั รยิ ทง้ั สอง และฆา แวนแควน พรอ มดว ยเจาพนักงาน เก็บสวยแลว เปน พราหมณ ไมม ที ุกข ไปอยู.\"
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 166 แกอ รรถ บรรดาบทเหลา นั้น บทวา สานุจร ไดแก ผูเ ปน ไปกบั ดวยผจู ัดการสวยใหสาํ เรจ็ คอื เจาพนกั งานเกบ็ สวย. กใ็ นพระคาถานี้ บณั ฑติ พึงทราบวนิ ิจฉยั วา ตัณหา ชอื่ วา มารดาเพราะใหสตั วทั้งหลายเกิดในภพ ๓ เพราะบาลีวา \" ตัณหายังบุรษุ ใหเกดิ .\" อสั มมิ านะ๑ ชอ่ื วา บิดา เพราะอสั มิมานะอาศยั บิดาเกิดขึ้นวา \" เราเปน ราชโอรสของพระราชาชอื่ โนน หรือเปนบตุ รของมหาอํามาตยของพระราชาชือ่ โนน\" เปนตน. ทฏิ ฐิทกุ ชนดิ ยอมองิ สสั สตทิฏฐิ และอุจเฉททิฏฐิท้ังสอง เหมือนชาวโลกอาศยั พระราชาฉะนน้ั , เพราะฉะนัน้ สัสสตทิฏฐิและอุจเฉททิฏฐิจึงชอ่ื วา พระราชาผกู ษตั ริยสองพระองค. อายตนะ ๑๒๒ ชือ่ วา แวนแควน เพราะคลา ยคลึงกบั แวนแควนโดยอรรถวากวา งขวาง. ความกําหนัดดวยอํานาจความยินดี ซงึ่ อาศัยอายตนะนั้น ดจุ บรุ ษุ เกบ็ สวย จัดการสวยใหส ําเร็จ ช่อื วาเจาพนักงานเก็บสวย. บทวา อนโี ฆ ไดแก ไมมีทุกข. บทวา พฺราหมฺโณ ไดแ กผูมอี าสวะสิน้ แลว . ในพระคาถานี้ มอี ธิบายดังน้ี \" ผูช่อื วา มีอาสวะสนิ้ แลว เพราะกเิ ลสเหลา นนั้ มตี ัณหาเปน ตน อันตนกาํ จัดได ดวยดาบคอื อรหตั มรรค-ญาณ จึงเปนผูไมม ีทกุ ข ไปอย.ู \" ในกาลจบเทศนา ภิกษเุ หลาน้นั ดาํ รงอยูในพระอรหตั แลว.๑. การถือวา เปนเรา. ๒. อายตนะภายใน ๖ มจี ักษเุ ปนตน . ภายนอก ๖ มรี ปู เปน ตน.
พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 167 (พระคาถาท่ี ๒) แมในพระคาถาท่ี ๒ เร่ืองกเ็ หมือนกบั เรอ่ื งกอ นนน่ั เอง. แมใ นกาลนั้น พระศาสดาทรงปรารภพระลกณุ ฏกภัททยิ เถระเหมอื นกนั เมื่อจะทรงแสดงธรรมแกภิกษเุ หลา นัน้ จึงตรสั พระคาถานวี้ า :- มาตร ปตร หนตฺ ฺวา ราชาโน เทวฺ จ โสตถฺ ิเย เวยฺยคฆฺ ปจฺ ม หนฺตฺวา อนโี ฆ ยาติ พฺราหฺมโณ. \" บุคคลฆา มารดาบดิ า ฆา พระราชาผูเ ปน พราหมณ ทง้ั สองไดแ ลว และฆาหมวด ๕ แหงนิวรณม ีวจิ ิกิจฉา- นวิ รณ เชน กับหนทางทเ่ี สือโครง เทีย่ วไปเปนท่ี ๕ แลว เปนพราหมณ ไมมีทุกข ไปอยู. \" แกอรรถ บรรดาบทเหลาน้นั สองบทวา เทฺว จ โสตฺถเิ ย คอื ผเู ปนพราหมณท้งั สองดว ย. ก็ในพระคาถาน้ี พระศาสดาตรสั สสั สตทฏิ ฐแิ ละอจุ เฉททฏิ ฐิใหเปนพระราชาผูเปนพราหมณทงั้ สอง เพราะพระองคเ ปน ใหญในพระธรรมและเพราะพระองคเ ปน ผฉู ลาดในวิธเี ทศนา. บัณฑติ พึงทราบวเิ คราะห ในบท เวยฺยคฆฺ ปฺจม นี้ วาหนทางที่เสอื โครงเทยี่ วไป มภี ัยรอบดา น เดินไปลาํ บาก ช่อื วาทางทเ่ี สือโครงเทย่ี วไปแลว. แมว จิ กิ จิ ฉานิวรณ ช่ือวาเปน ดจุ ทางทเ่ี สือโครงเที่ยวไปแลวเพราะความทว่ี ิจกิ ิจฉานิวรณน ัน้ คลา ยกบั ทนทางอนั เสือโครงเท่ียวไปแลว น้นั , วจิ กิ จิ ฉานวิ รณเ ชน กบั ทนทางท่เี สือโครงเที่ยวไปแลว นนั้ เปนที่ ๕ แหงหมวด ๕ แหงนวิ รณนั้น เพราะฉะน้ัน หมวด ๕ แหงนิวรณจึงชอื่ วามีวจิ กิ จิ ฉานีวรณ เชนกับทนทางทเี่ สือโครงเที่ยวไปแลว เปน ที่ ๕.
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 168 ในพระคาถาที่ ๒ นี้ มีอธบิ ายดงั นีว้ า \" กบ็ ุคคลฆา หมวด ๕ แหงนวี รณมีวจิ กิ ิจฉานวี รณเชนกับทนทางท่เี สอื โครง เท่ียวไปแลวเปน ท่ี ๕ นี้ไมใ หม สี ว นเหลือ ดว ยดาบคืออรหตั มรรคญาณ เปนพราหมณ ไมม ีทุกขเทย่ี วไปอย.ู \" บททเ่ี หลือ เปนเชน กับบทท่ีมีในกอ นนน่ั แล ดังนีแ้ ล. เร่ืองพระลกุณฏกภัททิยเถระ จบ.
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 169 ๕. เรอื่ งนายทารสุ ากฏิกะ [๒๑๘] ขอ ความเบอ้ื งตน พระศาสดา เมอื่ ประทบั อยใู นพระเวฬุวัน ทรงปรารภบุตรของนายทารุสากฏกิ ะ ตรัสพระธรรมเทศนานว้ี า \" สปุ ปฺ พทุ ฺธ \" เปน ตน. เดก็ สองคนเลน ขลบุ ความพสิ ดารวา เดก็ ในพระนครราชคฤหสองคน คือ \" บุตรของบุคคลผเู ปนสมั มาทิฏฐิคนหนง่ึ บตุ รของบคุ คลผูเปนมิจฉาทฏิ ฐคิ นหน่ึง\"เลนขลบุ อยูดว ยกันเนอื ง ๆ. ในเด็กสองคนนัน้ บตุ รของบุคคลผูเ ปนสัมมาทิฏฐิ เมอื่ จะทอดขลุบ. ระลึกถึงพุทธานุสสติแลวกลา ววา \" นโมพุทธฺ สสฺ \" แลว จึงทอดขลุบ. เด็กนอกนีร้ ะลกึ เฉพาะพระคณุ ทงั้ หลายของพวกเดยี รถียแลว กลาววา \"นโม อรหนตฺ านิ \" แลว จงึ ทอด.ในเด็กสองคนนน้ั บตุ รของบคุ คลผเู ปน สมั มาทฏิ ฐิ ยอมชนะ, เดก็ คนนอกนี้ ยอ มแพ. บุตรของบุคคลผเู ปนมิจฉาทฏิ ฐินั้น เห็นกิริยาของบุตรผเู ปนสมั มาทิฏฐนิ ้ันแลว คดิ วา \" เพ่ือนคนนี้ ระลึกแลว อยางนน้ั กลา วแลวอยา งนัน้ ทอดขลุบไปจึงชนะเรา, แมเราก็จกั ทําอยางนน้ั (บา ง)\"ไดทําการสัง่ สมในพทุ ธานุสสติแลว . เดก็ ผูเปนสัมมาทฏิ ฐิไปปากบั บดิ า ภายหลังวันหน่งึ บดิ าของเด็กผเู ปน สัมมาทิฏฐินั้น เทยี มเกวียนแลว ไปเพ่อื ตองการไม ไดพ าเด็กแมน้นั ไปแลว บรรทุกเกวยี นใหเต็มแลวดวยไมในดง ขับมาอยู (ถงึ ) ภายนอกเมือง ปลอยโคไปในท่ีอนั มีความสาํ ราญดว ยน้ํา ในทใี่ กลปาชา แลว ไดก ระทาํ การจดั แจงภตั .
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 170 ลาํ ดับนนั้ โคของเขาเขาไปสูเ มืองกบั หมูโคทเ่ี ขา ไปสเู มอื งในเวลาเยน็ . ฝายนายสากฏกิ ะเทยี่ วติดตามโคอยู เขา ไปสเู มอื งแลว ในเวลาเย็นพบโคแลวจูงออกไปอยู ไมท นั ถงึ ประตู ก็เมอ่ื เขายังไมท ันถงึ นั่นแหละ,ประตปู ด เสยี แลว . ขณะนน้ั บตุ รของเขาผเู ดียวเทา นนั้ นอนแลว ในภายใตแหงเกวียนในสวนแหงราตรีกาวลงสคู วามหลบั แลว. เจริญพุทธานุสสติปอ งกันอมนุษยไ ด ก็กรุงราชคฤห แมตามปกติก็มากไปดว ยอมนุษย. อนึ่ง เดก็ น้ีก็นอนแลว ในที่ใกลแ หง ปาชา. พวกอมนุษยในทใ่ี กลแ หงปาชา นนั้ เหน็เขาแลว . อมนุษยค นหนง่ึ ผูเปน มจิ ฉาทฏิ ฐิ เปน เสีย้ นหนามตอ พระ-ศาสนา, อมนุษยตนหนง่ึ เปน สัมมาทิฏฐิ. ในอมนษุ ยท งั้ สองน้ัน อมนุษยผูเปน มิจฉาทฏิ ฐกิ ลา ววา \" เด็กคนน้ีเปนภกั ษาหารของพวกเรา, พวกเราจงเคี้ยวกนิ เดก็ คนนี.้ \" อมนุษยผูเ ปนสัมมาทฏิ ฐินอกน้ี หา มอมนุษยผ เู ปน มิจฉาทิฏฐินัน้ ดวยคาํ วา \" อยา เลย,ทา นอยาชอบใจเลย.\" อมนษุ ยผเู ปนมิจฉาทฏิ ฐินั้น แมถกู อมนษุ ยผ ูเปนสมั มาทฏิ ฐิน้ันหามอยู กไ็ มเ อ้ือเฟอถอ ยคาํ ของเขา จับเทา เดก็ ครามาแลว . ในขณะนน้ั เดก็ นั้นกลา ววา \"นโม พทุ ธฺ สฺส\" เพราะความท่ีตนเปนผูส ง่ั สมในพุทธานุสสติ. อมนุษยก ลวั ภัยใหญ จงึ ไดถ อยไปยืนอยูแลว. อมนษุ ยรักษาและบํารงุ เด็กผูนอนในปา คนเดียว ลาํ ดับน้ัน อมนุษยผ ูเปนสมั มาทิฏฐินอกนี้ กลา วกะอมนษุ ยผ เู ปนมจิ ฉาทิฏฐนิ ้ันวา . \" พวกเราทําสิ่งอนั ไมค วรทาํ เสียแลว , พวกเราจงทาํทณั ฑกรรมเพอื่ เดก็ น้ันเสียเถิด\" ดงั นี้แลว ไดย ืนรักษาเดก็ น้นั . อมนษุ ย
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 171ผเู ปน มจิ ฉาทิฏฐิเขา ไปสูพ ระนคร ยงั ถาดโภชนะของพระราชาใหเ ตม็ แลวนาํ โภชนะมา. ตอ มา อมนุษยแมท ้งั สองเปน ประดุจวามารดาและบดิ าของเดก็ นัน้ปลกุ เดก็ นั้นใหลกุ ขนึ้ แลว ใหบริโภคโภชนะนัน้ ประกาศความเปนไปนัน้ แลว จารึกอักษรที่ถาดโภชนะ ดว ยอานุภาพของยกั ษ ดว ยอธษิ ฐานวา\" พระราชาเทา นั้น จงเหน็ อักษรเหลาน,ี้ คนอน่ื จงอยา เห็น\" ดงั น้แี ลวจึงไป. ในวันรงุ ขน้ึ พวกราชบุรษุ ทาํ ความโกลาหลอยูว า \" พวกโจรลกั เอาภณั ฑะคอื ภาชนะไปจากราชตระกูลแลว \" จึงปดประตูทั้งหลายแลวคน ดู เมื่อไมเห็นในพระนคร จึงออกจากพระนคร ตรวจดูขางโนนและขา งน้ี จงึ เห็นถาดอนั เปนวิการแหง ทองคําบนเกวียนทบี่ รรทุกฟน จึงจบัเด็กน้นั ดว ยความสําคัญวา \" เดก็ นีเ้ ปน โจร\" ดังนี้แลว แสดงแดพ ระราชา. เด็กถูกไตส วน พระราชาทอดพระเนตรเหน็ อักษรทง้ั หลายแลว ตรัสถามวา \" นี่อะไรกัน ? พอ.\" เด็กนนั้ กราบทูลวา \" ขาแตพ ระองคผ ูส มมติเทพขาพระองคไมทราบ, มารดาบิดาของขาพระองคม าใหบ รโิ ภคในราตรีแลวไดย นื รักษาอยู. ขาพระองคคิดวา ' มารดาบดิ ารกั ษาเราอยู\" จึงไมมีความกลวั เลย เขาถึงความหลับแลว , ขา พระองคท ราบเพยี งเทาน.้ี \" ลาํ ดบั นัน้ แมมารดาและบิดาของเด็กนน้ั ก็ไดไ ปสทู ่นี นั้ แลว. พระราชาทรงทราบความเปนไปนนั้ แลว ทรงพาชนทั้งสามนน้ั ไปสูสาํ นักพระศาสดา กราบทูลความเปนไปทั้งปวงแลว ทลู ถามวา \" ขาแต
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ท่ี 172พระองคผเู จรญิ พุทธานสุ สตเิ ทานน้ั ยอ มเปนคณุ ชาตเิ ครื่องรกั ษาหรอืหนอแล ? หรอื วาอนุสสติอนื่ แมมธี ัมมานุสสติเปน ตน กเ็ ปน คุณชาติเครื่องรักษา.\" พระศาสดาทรงแสดงฐานะ ๖ลําดบั นั้น พระศาสดาตรสั แกพ ระราชาน้ันวา \" มหาบพติ ร พุทธา-นสุ สติอยางเดยี วเทานั้น เปน คุณชาตเิ ครือ่ งรกั ษาก็หามไิ ด, ก็จติ อนั ชนเหลาใดอบรมดแี ลวโดยฐานะ ๖. กิจดวยอันรกั ษาและปองกันอยา งอ่นืหรือดว ยมนตแ ละโอสถ ยอ มไมมีแกช นเหลา นนั้ ดงั น้แี ลว เมอ่ื จะทรงแสดงฐานะ ๖ ไดทรงภาษติ พระคาถาเหลาน้วี า :-๕. สุปปฺ พทุ ธฺ ปพชุ ฌฺ นตฺ ิ ทา โคตมสาวกาเยส ทิวา จ รตฺโต จ นจิ จฺ พุทธฺ คตา สต.ิปฺปพทุ ธฺ พชุ ฌฺ นฺติ สทา โคตมสาวกาส ทวิ า จ รตฺโต จ นจิ ฺจ ธมมฺ คตา สต.ิปปฺ พุทธฺ ปพชุ ฌฺ นฺติ สทา โคตมสาวกาส ทวิ า จ รตฺโต จ นิจจฺ สงฺฆคตา สติ.ปฺปพุทฺธ ปพชุ ฌฺ นตฺ ิ สทา โคตมสาวกาส ทิวา จ รตโฺ ต จ นจิ จฺ กายคตา สต.ิปปฺ พทุ ธฺ ปพุชฺฌนฺติ สทา โคตมสาวกาส ทิวา จ รตโฺ ต จ อหึสาย รโต มโน.ปฺปพทุ ฺธ ปพุชฌฺ นตฺ ิ สทา โคตมสาวกาส ทิวา จ รตฺโต จ ภาวนาย รโต นโน.
พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 173 \" สตขิ องชนเหลา ใด ไปแลวในพระพุทธเจา เปน นิตย ทง้ั กลางวนั ทง้ั กลางคนื , ชนเหลา น้นั เปนสาวกของพระโคดม ต่ืนอยูดว ยดีในกาลทกุ เมื่อ. สตขิ องชนเหลาใด ไปแลว ในพระธรรมเปน นติ ย ท้ังกลางวนั ทง้ั กลางคืน, ชนเหลา น้นั เปน สาวกของ พระโคดม ตืน่ อยูดว ยดีในกาลทุกเมอื่ . สติของชนเหลาใด ไปแลว ในพระสงฆเปน นิตย ทง้ั กลางวันทงั้ กลางคนื , ชนเหลา น้ัน เปนสาวกของ พระโคดม ตื่นอยูด วยดีในกาลทกุ เมือ่ . สตขิ องชนเหลาใด ไปแลวในกายเปน นิตย ทง้ั กลางวันทงั้ กลางคืน, ชนเหลา นัน้ เปน สาวกของพระ- โคดม ตน่ื อยูดวยดใี นกาลทุกเมือ่ . ใจของชนเหลาใด ยนิ ดแี ลวในอนั ไมเ บยี ดเบียน ท้ังกลางวันทง้ั กลางคนื , ชนเหลานั้น เปน สาวกของ พระโคดม ต่ืนอยดู วยดใี นกาลทุกเมือ่ . ใจของชนเหลาใด ยินดแี ลวในภาวนา ทัง้ กลาง วนั ทงั้ กลางคนื , ชนเหลานัน้ เปน สาวกของพระโคดม ตืน่ อยูดวยดใี นกาลทุกเมอ่ื .\" แกอรรถ บรรดาบทเหลานัน้ บาทพระคาถาวา สุปปฺ พทุ ฺธ ปพุชฌฺ นฺติความวา ชนเหลา นัน้ ยดึ สตอิ ันไปแลวในพระพุทธเจา หลับอยูนน่ั เทยี วเมอ่ื ต่นื ชื่อวาตืน่ อยูดวยด.ี
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาที่ 174 บาทพระคาถาวา สทา โคตมสาวกา ความวา ชื่อวาเปนสาวกของพระโคดม เพราะความที่ตนเปน ผเู กิดแลวในท่สี ุดแหงการฟงแหงพระพทุ ธเจาผูโคตมโคตร (และ) เพราะความเปน คอื อนั ฟง อนุสาสนีของพระพทุ ธเจา พระองคน้นั น่นั แล. สองบทวา พุทฺธคตา สติ ความวา สตขิ องชนเหลา ใดปรารภพระพทุ ธคุณทงั้ หลายอนั ตา งดว ยคณุ มวี า \" อิตปิ โส ภควา \" เปนตนเกดิ ขนึ้ อยู มีอยตู ลอดกาลเปนนติ ย, ชนเหลา น้นั ช่อื วา ตืน่ อยดู ว ยดแี มในกาลทกุ เมือ่ . กช็ นเหลานั้น เมื่อไมอาจ (เพอื่ จะกระทาํ ) อยา งนนั้ ไดทําซ่ึงพุทธานุสสตไิ วในใจ ในวันหน่งึ ๓ เวลา ๒ เวลา (หรอื ) แมเวลาเดยี ว ชอื่ วา ตน่ื อยูดวยดเี หมือนกนั . สองบทวา ธมมฺ คตา สต ความวา สตทิ ่ีปรารภพระธรรมคณุทง้ั หลาย อันตางดว ยคณุ มีวา \" สวฺ ากขฺ าโต ภควตา ธมฺโม\" เปน ตนอันเกิดขึน้ อยู. สองบทวา สงฆฺ คตา สติ ความวา สติท่ปี รารภพระสงั ฆคุณทงั้ หลายอันตา งดว ยคณุ มวี า \" สปุ ฏปิ นฺโน ภควโต สาวกสงโฺ ฆ\" เปนตนอันเกิดขนึ้ อย.ู สองบทวา กายคตา สตคิ วามวา สติอันเกดิ ขน้ึ อยู ดวยสามารถแหง อาการ ๓๒ ดวยสามารถแหง การอยูใ นปา ชา ๙ ดว ยสามารถแหงรปู ฌานมีนีลกสิณอันเปน ไปในภายในเปน ตน. สองบทวา อหสึ าย รโต ความวา ยินดีแลวในกรุณาภาวนา(การเจรญิ กรณุ า) อนั พระผูมพี ระภาคเจา ตรสั ไวอยางน้ีวา \" ภกิ ษุน้ันมีใจสหรคตดว ยกรุณา แผไ ปตลอดทศิ หน่งึ อย.ู \"
พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 175 บทวา ภาวนาย ไดแก เมตตาภาวนา, จริงอยู ภาวนาทีเ่ หลอืแมท ้ังหมด พระผมู ีพระภาคเจาทรงประสงคเอาในบทวา \" ภาวนาย \"นี้ เพราะความทีก่ รุณาภาวนาพระองคต รสั ไวแลวในหนหลังแมโดยแท,ถึงดงั น้นั เมตตาภาวนาเทานั้น พระองคท รงประสงคเอาในบทวา\" ภาวนาย \" น,้ี คาํ ท่ีเหลือ ผศู ึกษาพงึ ทราบโดยนัยทก่ี ลา วแลว ในคาถาตนนั้นเทยี ว. ในกาลจบเทศนา ทารกนัน้ ดาํ รงอยใู นโสดาปตตผิ ล พรอมดวยมารดาและบิดาแลว. ครัน้ ภายหลัง ชนแมทง้ั หมดบวชแลว บรรลพุ ระ-อรหัต. เทศนาไดมปี ระโยชนแมแกช นผปู ระชมุ กนั แลว ดังนแ้ี ล. เรือ่ งนายทารสุ ากฏิกะ จบ.
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนา ที่ 176 ๖. เรื่องภิกษุวัชชีบุตร [๒๑๙] ขอความเบื้องตน พระศาสดาเม่อื ทรงอาศัยกรงุ ไพศาลี ประทับอยูในปา มหาวัน ทรงปรารภภิกษผุ เู ปนโอรสของเจาวัชชรี ูปใดรูปหน่งึ ท่ีพระธรรมสงั คาห-กาจารย กลา วหมายเอาวา๑ \"ภิกษผุ ูเปน โอรสของเจา วัชชีรูปใดรูปหน่งึอยใู นราวปา แหงใดแหง หนงึ่ ใกลเ มอื งไพศาล.ี กโ็ ดยสมัยนัน้ แล ในกรุงไพศาลีมีการเลนมหรสพตลอดคืนยงั รุง. คร้ังนัน้ แล ภิกษุน้นั ไดย นิเสยี งกึกกองแหง ดนตรีทเ่ี ขาดีแลว และประโคมแลว คร่าํ ครวญอยู กลาวคาถานใี้ นเวลานัน้ วา :- \"พวกเราผเู ดยี ว ยอ มอยูใ นปา เหมอื นไมที่เขา ทง้ิ ไวแลวในปา, ในราตรีเชนน้ี บดั นี้ ใครเลา ? ทเ่ี ลวกวาพวกเรา.\"ตรสั พระธรรมเทศนานว้ี า \"ทปุ ปฺ พฺพชฺช ทรุ ภิรม \" เปน ตน. เสยี งกึกกอ งเปนปรปก ษต อ สมณเพศ ไดยินวา ภกิ ษนุ นั้ เปน ราชโอรสในแควน วชั ชี สละราชสมบัติท่ถี ึงแลว ตามวาระ บวชแลว ในกรงุ ไพศาล,ี เมือ่ ท่ัวทั้งพระนครอนั เขาประดับแลวดวยเคร่ืองประดับทัง้ หลาย มธี งชยั และธงแผนผาเปน ตน กระทําใหเนอื่ งเปนอันเดยี วกันกบั ชั้นจาตมุ หาราช, เม่อื วาระเปน ทเ่ี ลนมหรสพตลอดคนื ยงั รุง ในวันเพญ็ เปน ทบี่ านแหงดอกโกมุทเปนไปอย,ู ไดยนิเสียงกึกกองแหงดนตรี มกี ลองเปน ตนทเ่ี ขาตแี ลว และเสียงดนตรีมพี ิณเปน ตน ท่เี ขาประโคมแลว , เมือ่ พระราชาเจ็ดพันเจด็ รอยเจ็ดพระองค,๑. ส . ส. ๑๕/ ขอ ๗๘๓ วัชชปี ตุ ตสตู ร.
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - หนาท่ี 177และขาราชบริพารทั้งหลาย มีอปุ ราชและเสนาบดเี ปน ตนของพระราชาเหลา นั้น ก็มีจาํ นวนเทา น้ันเหมือนกัน ซ่งึ มีอยใู นกรุงไพศาลี ประดับประดาแลว กา วลงสถู นนเพื่อตอ งการจะเลนนกั ษัตร, จงกรม (เดนิ กลับไปกลับมา) อยทู ่ีจงกรมใหญ ประมาณ ๖๐ ศอก เห็นพระจนั ทรเต็มดวงเดน อยูในกลางทองฟา ยืนพงิ แผน กระดาน ณ ทส่ี ดุ จงกรมแลว มองดูอัตภาพประดุจไมท ีเ่ ขาท้ิงไวใ นปา เพราะความท่ตี นเวนแลว จากผาสาํ หรบัโพกและเคร่ืองอลังการ คดิ อยูวา \"คนอืน่ ทเ่ี ลวกวาเรา มอี ยูห รอื หนอ ?\"แมป ระกอบดว ยคณุ มกี ารอยปู าเปน วัตรเปนตนตามปกติ ในขณะน้ัน ถกูความไมยินดยี ่งิ บีบคนั้ จึงกลาวอยา งนนั้ . เทวดากลา วคาถาใหเ กิดความสงั เวช ทานไดย นิ คาถานี้ ซึ่งเทวดาผสู งิ อยูในไพรสณฑนน้ั กลา วแลววา*:- \"ทา นผเู ดยี ว อยูใ นปา เหมอื นไมทเ่ี ขาท้งิ ไวใน ปา, ชนเปนอนั มาก ยอมกระหยง่ิ ตอทา นน้ัน ราว กะวา พวกสตั วนรก กระหยิม่ ตอชนท้งั หลาย ผไู ปสู สวรรคฉ ะน้ัน. ดว ยความประสงควา \"เราจกั ยังภกิ ษุนใ้ี หสังเวช\" ในวันรุงขน้ึเขา ไปเฝาพระศาสดา ถวายบงั คมแลว นั่ง. พระศาสดาทรงแสดงทกุ ข ๕ อยาง พระศาสดาทรงทราบเร่อื งนั้นแลว ประสงคจะประกาศความที่ฆราวาสเปน ทุกข จึงทรงรวบรวมทกุ ข ๕ อยางแลว ตรัสพระคาถานว้ี า :-๑. ส . ส. ๑๕/ขอ ๗๘๕.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 573
Pages: