Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_09

tripitaka_09

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:38

Description: tripitaka_09

Search

Read the Text Version

พระวนิ ัยปฎก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ท่ี 214 ตนไมของพวกภกิ ษุมผี ล. ตน ไมข องพวกชาวบา นยงั ไมท นั เผล็ดผล,พึงยอมรบั แท ดว ยเลง็ เห็นวา ตน ไมข องพวกชาวบา น ยงั ไมเผลด็ ผลก็จริงแตไ มน านกจ็ กั เผล็ดผล. ตน ไมข องพวกชาวบานมีผล, ตน ไมข องพวกภกิ ษุยงั ไมทันเผลด็ ผลพึงกลาววา ตนไมของพวกทานมผี ลมใิ ชหรือ ? ถาเขาถวายวา รับเถิด ทา นผูเจรญิ จกั เปน บุญแกพ วกขา พเจา . สมควรใหภ ิกษสุ งฆทราบแลวรับไว.อารามกับอารามพงึ แลกกันดว ยประการฉะน้ี. อารามวัตถกุ ็ดี วิหารกด็ ี วหิ ารวัตถกุ ด็ ี กบั อารามพงึ แลกกัน โดยนัยนี้ แล. อน่งึ อาราม อารามวตั ถุ วหิ าร และวหิ ารวตั ถุ กพ็ งึ แลกกบั อารามวัตถุ ทใี่ หญก ต็ าม เล็กกต็ าม โดยนยั น้ี เหมอื นกนั ฉะนี้แล. วิหารกบั วิหารจะแลกกนั อยางไร เรอื นของสงฆอ ยภู ายในบา นปราสาทของชาวบานอยูกลางวัด ทั้ง ๒ อยางวา โดยราคาเปนของเทา กัน. หากวา ชาวบานขอเอาปราสาทนน้ั แลกเรือนนั้นสมควรรบั เรอื นของพวกภิกษมุ ีราคามากกวา. และเมอ่ื ภิกษกุ ลา ววา เรอื นของพวกเรามีราคามากกวา , เขาตอบวา เรือนของพวกทา นมีราคา มากกวา ก็จรงิแตไ มส มควรแกบ รรพชิต บรรพชติ ไมสามารถอยูในเรือนนั้นได; สวนเรอื นนส้ี มควร ขอทานทั้งหลายจงรบั เถดิ ; แมอ ยา งน้ี ก็ควรรบั . ถา เรอื นของชาวบา น, มีราคามาก ภกิ ษุพึงกลา ววา เรอื นของพวกทาน มีราคามากมิใชห รือ แตเ มอ่ื เขาตอบวา ชางเถดิ ทานผเู จรญิ , จกั เปนบุญแกพ วกขา พเจา , โปรดรบั เถดิ ดงั นี้สมควรรับ. วิหารกบั วิหาร พึงแลกกนั อยางนี.้ วหิ ารวตั ถุก็ดี อารามกด็ ี อารามวัตถกุ ็ดี พงึ แลกกับวิหาร โดยนยั น้แี ล.

พระวนิ ยั ปฎก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 215 อนงึ่ วหิ าร วหิ ารวัตถุ อารามและอารามวตั ถุ กพ็ ึงแลกกบั วิหาร-วตั ถุ ที่มรี าคามากก็ตาม มรี าคานอ ยก็ตาม โดยนยั นี้เหมอื นกันฉะนแี้ ล พงึทราบการแลกถาวรวตั ถกุ ับถาวรวตั ถุอยางนี้กอ น. สวนวนิ จิ ฉยั ในการแลกครุภณั ฑกบั ครภุ ณั ฑ พึงทราบดังตอ ไปน้ี:- เตยี งตั่งจะใหญหรอื เลก็ กต็ าม โดยทีส่ ุดมีเทาเพยี ง ๔ น้วิ แมท ่พี วกเดก็ชาวบา นซึง่ ยังเลนในโรงฝุนทาํ ยอมเปนครุภณั ฑ จาํ เดมิ แตเวลาท่ีถวายสงฆแ ลว . แมถ า พระราชาและราชมหาอมาตยเปน ตน ถวายเพียงคราวเดยี วเทานัน้ ท้ังรอยเตยี งหรอื พันเตยี ง, เตยี งทีเ่ ปนกัปปยะะทั้งหมดพึงรบั ไว. ครัน้ รับแลวพงึ แจกตามลาํ ดับผแู ก วา ทา นจงใชสอยโดยเปนเครอ่ื งใชข องสงฆ. อยาใหเ ปน สว นตัวบคุ คล. แมจ ะตั้งเตียงทเ่ี กนิ ไวใ นเรอื นคลงั เปน ตน แลว เกบ็ บาตรจีวร ก็ควร. เตยี งทเ่ี ขาถวายนอกสีมา วา ขา พเจาถวายแกสงฆ ดังน้ี พงึ ใหไวใ นสถานท่อี ยูข องพระสังฆเถระ. ถาในสถานท่อี ยูของพระสังฆเถระนน้ั มีเตยี งมาก,ไมม ีการที่ตอ งใชเตียง ; ในสถานที่อยขู องภิกษุใด มีการทีต่ องใชเ ตียง, พงึใหไ วในสถานทอี่ ยูของภิกษุนน้ั ส่งั วา ทานจงใชส อยเปน เครือ่ งใชสอยของสงฆ. เตยี งมีราคามาก คือ ตรี าคาต้งั รอ ยหรือพนั กหาปณะ จะแลกเตียงอนื่ยอ มไดต ้งั รอยเตียง ควรแลกเอาไว. มิใชแ ตเ ตียงเดยี วเทานัน้ แมอารามอารามวตั ถุ วิหาร วหิ ารวตั ถุ ตั่ง ฟูกและหมอน ก็ควรแลก. แมในตั่งฟกู และหมอนกน็ ัยน้ี . แมใ นเตียงตง่ั ฟูกหมอนเหลา นี้ สิง่ ทีเ่ ปน กัปปยะและอกัปปยะมีนยั ดังกลาวแลว น่ันแล. ในกปั ปยะและอกับบปยะนน้ั ทเี่ ปน อกปั ปยะไมค วรใชสอย. ท่ีเปนกปั ปย ะ พงึ ใชสอยเปนเคร่อื งใชของสงฆ. ที่เปนอกัปปยะหรือทเ่ี ปนกปั ปย ะมี

พระวินยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 216คามาก พงึ แลกเอาวตั ถุทกี่ ลาวแลว ไว. ขน้ึ ชอ่ื วา ฟกู และหมอน ทไี่ มจ ัด เปนครุภัณฑ ยอ มไมมี. ครภุ ณั ฑ ๓ อยา งนี้ คอื หมอโลหะ อา งโลหะ กระทะโลหะจะใหญหรือเลก็ ก็ตาม โดยท่ีสุดแมจุนํา้ เพยี งฟายมอื หนึ่ง ยอมเปน ครภุ ัณฑเ หมอื นกัน. สว นขวดโลหะทีท่ าํ ดวยเหลก็ ทองแดง สาํ ริด ทองเหลืองอยางใดอยางหนง่ึ จนุ ้ําไดบาทหนึ่ง ในเกาะสงิ หล แจกกนั ได. ท่ชี ื่อวาบาทหนง่ึ จุน้ําประมาณ ๕ ทะนานมคธ. ทจี่ นุ ้าํ เกินกวาน้นัเปน ครภุ ณั ฑ, ภาชนะโลหะท่ีมาในบาลีเทา นีก้ อน. สว นนํา้ เตา ทอง กระโถน กระบวย ทัพพี ชอ น ถาด จาน ชามผอบ อัง้ โล และทัพพีตกั ควนั เปน ตน แมมิไดม าในบาลี จะเลก็ หรือใหญก ็ตาม เปน ครภุ ณั ฑหมดทุกอยา ง. แตภ ณั ฑะเหลาน้ี คอื บาตรเลก็ ภาชนะทองแดง เปน ของควรแจกกันได ภาชนะกาววาวทท่ี ําดว ยสาํ รดิ หรือทองเหลืองควรใชสอยเปนเครื่องใชข องสงฆ. หรือเปน คหิ ิวกิ ตั ิ ไมควรใชส อย เปนเครอื่ งใชส ว นตัวบคุ คล. ในมหาปจจรีแกวา ภาชนะสํารดิ เปนตน ทีเ่ ขาถวายสงฆจะรักษาไวใชเ องไมควร, พึงใชส อยโดยทํานองคหิ ิวิกัตเิ ทา นน้ั สวนในสิ่งขอโลหะทีเ่ ปนกัปปยะแมอน่ื ยกเวน ภาชนะกาววาวเสยี กลอ งยาทา ไมป ายยาตา ไมค วกั หูเข็ม เหลก็ จาร มีดนอ ย เหล็ก หมาด กุญแจ ลกู ดาล หว งไมเทา กลอ งยานัตถุ สวาน รางโลหะ แผน โลหะ แทงโลหะ ส่งิ ของโลหะทที่ ําคางไวแมอ ยา งอืน่ เปนของควรแจกกันได. สว นกลอง ยาสบู ภาชนะโลหะ โคมมีดา ม โคมต้ัง โคมแขวน รปู สตรีรูปบุรษุ และรูปสัตวเ ดยี รจั ฉานหรอื สงิ่ ของโลหะเหลาอ่นื พงึ ติดไวตามฝาหรือ

พระวินยั ปฎ ก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ท่ี 217หลังคาหรือบานประตูเปน ตน , สง่ิ ของโลหะทง้ั ปวง โดยท่สี ดุ จนกระท่งั ตะปูยอมเปนครุภัณฑเหมือนกนั แมตนเองไดมาก็ไมควรเก็บไวใ ชอยางเคร่ืองใชสวนตวั บคุ คล. ควรใชอยา งเครือ่ งใชข องสงฆ หรอื ใชเ ปน คหิ วิ ิกัติ. แมในสง่ิ ของดีบกุ กม็ นี ัยเหมอื นกนั . จานและขนั เปน ตน ท่ที าํ ดว ยหินออ น เปน ครภุ ัณฑเหมอื นกนั , สว นหมอหรอื ภาชนะน้ํามนั ทีใ่ หญ เกนิ กวา จนุ ํ้ามันบาทหน่งึ ขึ้นไปเทานัน้ เปนครุภัณฑ. ภาชนะทองคาํ เงิน นาก และแกว ผลกึ และเปนคิหวิ ิกตั ิ กไ็ มควร,ไมจ ําตอ งกลาวถึงใชอ ยา งเครื่องใชข องสงฆ หรืออยางเครื่องใชสว นตวั บุคคล.แตดวยเครื่องใชส าํ หรับเสนาสนะ ส่ิงของทกุ อยางทงั้ ทีค่ วรจับตอ ง ท้งั ทีไ่ มควรจบั ตอง จะใชสอยก็ควร. ในมีดเปน ตน มีดที่ไมอาจใชทําการใหญอยา งอ่นื ได ยกการตดั ไมสฟี น หรือการปอกออ ยเสีย เปนของควรแจกกนั ได. มีดทที่ าํ ดวยอาการอยา งใดอยา งหน่ึง ซง่ึ ใหญก วานน้ั เปน ครภุ ณั ฑ. สว นขวาน โดยทส่ี ุดแมเปน ขวานสาํ หรบั ตัดเอ็นของพวกแพทยย อ มเปนครุภณั ฑเหมอื นกัน. ในผ่ึงมวี นิ จิ ฉยั เชน ขวานนั่นเอง. สว นผง่ึ ท่ที าํ โดยสงั เขปวา เปนอาวธุเปนอนามาส. จอบโดยที่สุด แมข นาด ๔ นว้ิ ยอ มเปนครภุ ัณฑแท. ส่วิ มีปากเปนเหลี่ยมกด็ ี มปี ากเปนรางกด็ ี โดยทสี่ ุดแมเ หล็กเจาะดามไมกวาด เปน ของเขา ดา มไว เปน ครภุ ณั ฑแท. แตเ หล็กเจาะดา มไมกวาดไมมีดา ม มีแตตวั เทานั้น เปนของอาจใสฝกรกั ษาไวไ ด เปนของควรแจก.ึแมเ หล็กแหลมก็สงเคราะหดว ยสงิ่ น้นั เอง.

พระวินัยปฎ ก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 218 มดี เปน ตน เปน ของท่ีชนเหลา ใดถวายไวในวิหาร, ถาชนเหลานนั้เมอ่ื ถูกไฟไหมเ รือน หรือถูกโจรปลน จงึ กลา ววา ทา นผูเจริญจงใหเ ครื่องมอืแกพ วกขาพเจา เถดิ , แลว จกั คืนใหอ กี , ควรให. ถาเขานาํ มาสง , อยาพึงหา ม,แมเขา. ไมนาํ มาสงกไ็ มพ งึ ทวง. เครอ่ื งมือทาํ ดว ยโลหะทุกอยาง มที ง่ั คอ น คมี และคนั ชงั่ เปนตน ของชา งไม ชา งกลงึ ชา งสาน ชางแกว และชางบบุ าตร เปน ครภุ ัณฑจาํ เดมิ แตกาลท่ถี วายสงฆแลว. แมในเคร่ืองมอื ของชา งดีบุก ชางหนัง กม็ นี ยัเหมือนกนั . สว นความท่แี ปลกกันดงั น้:ี - เครอื่ งมือเหลา นน้ั คือ ในพวกเคร่อื งมอื ของชา งดีบุกเลา มดี ตดั ดีบกุในพวกเคร่ืองมือของชางทอง มดี ตัดทอง ในพวกเครือ่ งมอื ของชา งหนึ่ง มีดเล็กสําหรบั ตัดหนังท่ีฟอกแลว เปน สิง่ ที่ควรแจก. แมใ นเคร่ืองมอื ของกลั บกและชางชนุ เวน กรรไกรใหญ แหนบใหญและมดี ใหญเ สีย ควรแจกทุกอยาง. กรรไกรใหญเ ปนตน เปน ครุภณั ฑ. วินจิ ฉยั ในเถาวลั ยเ ปนตน พงึ ทราบดงั นี:้ - เถาวัลยชนดิ หน่ึง มหี วายเปนตน ประมาณเพียงครึ่งแขน ท่เี ขาถวายสงฆกต็ าม ที่เกิดข้ึนในธรณีสงฆน น้ั กต็ าม ซึ่งสงฆรกั ษาปกครองไว เปนครภุ ณั ฑ. เถาวัลยน ั้น เมื่อการงานของสงฆและการงานที่เจดยี ทําเสรจ็ แลว ถาเปนของเหลอื , จะนอมเขาไปในการงานสว นตวั บุคคลบา ง ก็ควร. แตเถาวลั ยทส่ี งฆไ มรกั ษาไมเปน ครุภณั ฑเลย.

พระวินยั ปฎ ก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 219 เชือกหรือพวนทที่ าํ เสรจ็ ดว ยดา ย ปอ ปา น เส้ียนมะพรา วและหนังก็ดี เชือกเกลียวเดียวหรอื ๒ เกลียว ที่เขาฟนปา นหรือเสีย้ นมะพรา วทาํ กด็ ียอมเปน ครุภัณฑ จาํ เดมิ แตเวลาท่เี ขาถวายสงฆแลว . สวนดายท่ีเขามิไดฟ น ถวาย และปอปา นแลเสีย้ นมะพราวแจกกนั ได. อนงึ่ เชอื กและพวนเปน ตน เหลา นน้ั เปน ของทช่ี นเหลาใดถวาย,ชนเหลา น้นั จะยมื ไปดวยกรณยี กิจของตน ไมค วรหวงหา ม. ไมไ ผชนดิ ใดชนดิ หนึ่ง โดยทส่ี ดุ แมข นาดเทาเขม็ ไม* ยาว ๘ นวิ้ท่เี ขาถวายสงฆ หรอื ทีเ่ กิดในธรณีสงฆน้นั ซึง่ สงฆร ักษาปกครองไว เปนครุภณั ฑ. เมื่อการงานของสงฆและการงานท่เี จดยี ทาํ เสร็จแลว แมไ มไผน้ันยังเหลือ จะใชในการงานเปนสว นตวั บคุ คล กค็ วร. ก็ในภัณฑะ คือ ไมไผน ้ี ของเชน นี้ คือ กระบอกนํ้ามนั จนุ ํ้ามนั บาทหนง่ึ ไมเทา คานรองเทา คนั รม ซรี ม เปนของแจกกนั ได. พวกชาวบา นผูถูกไฟไหมเรือนฉวยเอาไป ไมควรหาม. เมือ่ ภิกษจุ ะถือเอาไมไ ผทีส่ งฆร ักษาปกครอง ตองทาํ ถาวรวัตถทุ ่เี ทา กนั หรือเกนิ กวาโดยที่สดุ ทาํ ผาตกิ รรม แมด ว ยทรายซงึ่ มรี าคาเทาไมไ ผนั้น แลวจงึ ถอื เอา.เมื่อจะไมท ําผาตกิ รรมถือเอา ตอ งใชสอยในวดั นน้ั เทา น้ัน. ในเวลาทจ่ี ะไปตองเก็บไวในที่อยขู องสงฆกอน จงึ คอ ยไป. ภกิ ษุผถู ือเอาไปดว ยความหลงลืมตองสงคืน. ไปสูประเทศอ่นื แลว พึงเก็บไวใ นท่ีอยขู องสงฆใ นวัดทีไ่ ปถึงเขา. หญา นัน้ คอื หญา ชนิดใดชนิดหนึง่ ทนี่ อกจากหญา มงุ กระตายและหญาปลอง. กใ็ นทใ่ี ด ไมม ีหญา ในทน่ี ้ัน เขามงุ ดว ยใบไม เพราะฉะนั้นแมใ บไมก ส็ งเคราะหดวยหญาเหมือนกนั .* สุจทิ ณฑก เขม็ ไม (สําหรับเย็บของใหญ เชนใบเรือ) ไมกลดั (?).

พระวินยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 220 ในหญา มุงกระตายเปนตน หญาชนิดใดชนิดหน่งึ แมมีประมาณกาํ มือหนึ่ง แมใ นใบไมม ีใบตาลเปน แมใบเดยี ว ทีเ่ ขาถวายสงฆห รอื ทเ่ี กิดในธรณีสงฆนน้ั หรอื เปน หญา ท่เี กดิ แตส วนหญา ของสงฆภ ายนอกอาราม ซ่ึงสงฆรกั ษาปกครอง เปน ครภุ ณั ฑ. เมือ่ การงานของสงฆ หรอื การงานที่เจดียทาํ เสร็จแลว หญาแมน น้ั ยงัเหลือ จะใชในการงานเปนสวนตวั บุคคล กค็ วร. พวกชาวบานผูถูกไฟไหมเรือนฉวยเอาไป ไมค วรหา ม. ในลานเปลา แมขนาดเพียง ๘ นว้ิ ก็เปนครภุ ณั ฑเ หมอื นกัน, ดินเหนียว จะเปนดินธรรมดาหรอื ดนิ ๕ สี หรือปูนขาวกต็ ามทีหรือบรรดายางสนและชนั เปน ตน ยางชนดิ ใดชนิดหนงึ่ ทเี่ ขานํามาถวายในท่ีซึง่ หาไดยากก็ดี ท่ีเกดิ ในธรณสี งฆน ้นั กด็ ี ขนาดเทาผลตาลสุก ซึ่งสงฆร ักษาปกครองไว เปน ครภุ ัณฑ. เมื่อการงานของสงฆ หรือการงานของเจดียท า เสร็จแลว ยางแมน ้นั ท่ีเหลือ จะใชใ นการงานเปนสว นตวั บุคคล กค็ วร. สว นหิงคุ รง หรดาล มโนศิลา และแรพลวง เปนของควรแจกกัน. วินจิ ฉัยในสิ่งของคอื ไม พึงทราบดงั น:ี้ - ในกรุ นุ ทแี กว า ภัณฑะไมช นิดใดชนิดหน่งึ แมขนาดเทา เขม็ ไมยาว๘ น้ิว เขาถวายสงฆในที่ซงึ่ หาไดยาก หรอื เกิดในธรณสี งฆน ้ัน ซึ่งสงฆรักษาคุมครอง น้เี ปนครภุ ัณฑ. สว นในมหาอรรถกถา สงเคราะหข องแปลกทท่ี ําดว ยวตั ถเุ ปน ตน วาไมจรงิ ไมไผ หนัง และศิลา แมทกุ อยา งดว ยภณั ฑะไม แลว กลา ววนิ จิ ฉัยแหง ภัณฑะไม จําเดิมแตบ าลนี วี้ า เตน โข ปน สมเยน สงฆฺ สฺสอาสนทฺ ิโก อุปฺปนฺโน โหต.ิ

พระวินยั ปฎ ก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 221 ในมหาอรรถกถานั้น ไขความดงั นี้ :- ในของเหลา น้นั กอ น คือ ตัง่ ๔ เหล่ียมจตุรสั ต่ังมีพนัก ๓ ดาน ต่ังหวายต่ังสามัญ ตง่ั ขาทราย ต่งั กา นมะขามปอม ตัง่ มีพนกั ดานเดียว ต้งั กระดานเกาอี้ คงยัดฟาง ชนิดใดชนิดหนงึ่ เล็กหรือใหญกต็ าม ทเ่ี ขาถวายสงฆแลวเปน ครภุ ณั ฑ. อนงึ่ แมตั่งท่ยี ัดดวยใบตองเปน ตน สงเคราะหใ นต่ังเหลาน้นั ดว ยต่ังยัดฟาง. เกาอที้ ่ีหมุ ดวยหนังเสือโครงกด็ ี บดุ ว ยรปู สัตวรา ยก็ดี ขลิบดวยรัตนะกด็ ี เปนครุภณั ฑเ หมอื นกัน. ในของเหลาน้ัน คอื กระดานจงกรม กระดานยาว กระดานซักจีวรกระดานรองทบุ ตลุมพุกสําหรับทบุ เขยี งรองตัดไมสฟี น ไมคอน ถงั ไมรางยอ ม กระโถน สมกุ ไมจ รงิ หรือสมุกงา หรอื สมกุ ไมไ ผ มีเทากต็ ามไมมเี ทา กต็ าม หีบ ขวดมีขนาดไมเ กนิ จนุ ้าํ บาทหน่ึง รางนํ้า ไหน้าํ กระ-บวย ทพั พี ขนั นาํ้ สงั ขตักนํ้า ชนิดใดชนิดหนง่ึ ที่ถวายสงฆแลว เปนครุภัณฑ, สว นภานะที่ทาํ ดว ยสังขแ จกกันได. หมอน้ําทท่ี าํ ดวยไม กเ็ หมือนกนั . เสวยี นเชด็ เทา จะทาํ ดว ยไมหรือทาํ ดวยใบตาลเปนตน กต็ ามที เปนครุภณั ฑท ้งั หมด. ในของเหลา น้ี คือ เชงิ บาตร ฝาบาตร พดั ใบตาล พดั วีชนี ผอบกระเชา ไมกวาดดา มยาว ไมก วาดดา มสน้ั อยางใดอยางหนึ่ง จะเลก็ หรอื ใหญกต็ าม ทําดวยของอยางใดอยา งหนง่ึ มไี มจรงิ ไมไ ผ ใบไมแ ละหนังเปนตนเปนครุภณั ฑเหมือนกนั .. 

พระวินัยปฎ ก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 222 บรรดาเครือ่ งเรอื นมีเสา ชือ่ บันได และกระดานเปน ตน เครอ่ื งเรอื นอยางใด อยางหนึ่ง ซง่ึ ทาํ ดวยไมก ต็ าม ทาํ ดวยศลิ ากต็ าม เสอ่ื ลําแพนชนดิ ใดชนดิ หนึง่ ท่เี ขาถวายสงฆแลว เปน ครภุ ณั ฑส มควรทําใหเ ปนเครื่องลาดฟน . สว นหนังแพะ ซึ่งแมมีคตอิ ยางเคร่อื งปลู าด ก็เปนครุภัณฑเหมือนกัน .หนงั ทีเ่ ปน กัปปยะ เปน ของควรแจกกันได. แตในกุรนุ ท่แี กว า หนังทุกชนิดมขี นาดเทา เตยี ง เปน ครุภณั ฑ. ครกสาก กระดงั หินบด ลกู หินบด รางศลิ า อา งศลิ า ภณั ฑะของชางหูกเปนอาทิทกุ อยาง มกี ระสวย ฟม และกระทอเปน ตน เครือ่ งทาํ นาทกุ อยางลอ เลอื่ นทกุ อยา ง เปน ครุภัณฑท ั่งนั้น. เทาเตียง แมแครเตียง เทา ต่งั แมแครต่งั ดามมดี และสวานเปนตนในของเหลานี้ อยางใดอยางหนึ่งซึ่งถากขา งไวย ังไมท นั เสร็จ แจกกนั ได แตทถี่ ากเกล้ียงเกลาแลว เปนครุภณั ฑ. อน่ึง ของเชนนี้ คอื ดา มมีดที่ทรงอนุญาต ดามและปก กลด ไมเทารองเทา ไมส ไี ฟ กระบอกกรอง กระตกิ นา้ํ ทรงมะขามปอม หมอ นา้ํ ทรงมะขามปอม กระตกิ นํ้าลกู น้ําเตา หมอ น้ําหนงั หมอนา้ํ ทรงน้ําเตา กระติกนํา้ทาํ ดว ยเขา จนุ ้ําไมเกนิ บาทหนงึ่ แจกกนั ไดท ุกอยา ง เขอื่ งกวานน้ั เปนครภุ ณั ฑ. งาชางหรอื เขาชนิดใดชนิดหน่ึง ยังมิไดเกลา คงอยอู ยางเดมิ แจกกันได. ในเทา เตียงเปน ตน ท่ีทาํ ดวยงาชางและเขาเหลานน้ั มีวินิจฉัยเชนกับทีม่ ีมาแลวในหนหลังน่นั เอง. ของเชนนี้ คอื กลกั ใสห งิ คุ กลกั ใสยาตา แมถากเกลาเสร็จแลวลกู ดมุ รังดุม แทนยาตา ดา มยาตา กราดกวาดนํ้า ทุกอยางแจกกนั ไดท งั้ นั้น. วนิ จิ ฉยั ในของทที่ าํ ดวยดนิ พงึ ทราบดงั น:้ี -

พระวนิ ยั ปฎ ก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 223 เครื่องอุปโภค และบรโิ ภคของมนุษยทั้งปวง คือภาชนะดิน มีหมอฝาละมีเปนตน กระถางสาํ หรบั ระบมบาตร เชิงกราน ปลอ งควัน โคมมีดามโคมตั้ง อิฐสําหรบั กอ กระเบ้อื งสาํ หรับมุง กระเบื้องหลบ เปนครภุ ัณฑจําเดมิ แตเ วลาท่ีถวายสงฆแ ลว . ก็ในของท่ที ําดวยดิน ของเชนนี้ คอื หมอ บาตร ภาชนะ คนโท-ปากกวา ง คนโทสามัญ ขนาดเขือ่ งไมเ กินกวาจุน้ําบาทหนึ่ง เปน ของทแ่ี จกกันได. อน่ึง แมใ นของโลหะ พึงทราบวนิ ิจฉยั เหมือนในของดิน. คนโทนํา้บวกเขากบั สว นทีแ่ จกกนั ไดเ หมือนกัน. อนปุ ุพพกี ถาในครุภัณฑน้ี เทา น้ี. [วาดว ยนวกรรม] บทวา ภณฺฑกิ าธานมตฺเตน มคี วามวา ภิกษุชาวเมอื งอาฬวียอมใหน วกรรม (คือสรางใหม) ดวยเพยี งประกอบส่ิงท่ีปด ท่ีอาศยั อยแู หง นกพริ าบซ่ึงทาํ เหนือบานประต.ู บทวา ปรภิ ณฺฑถรณมตเฺ ตน คอื ดวยเพยี งทําการฉาบทาดว ยโคมยั และชโลมดวยนา้ํ ฝาด. บทวา ธมู กาลกิ  มคี วามวา ภกิ ษุชาวเมอื งอาฬวี ยอ มอปโลกนใหที่อยูท่ีสรางทาํ แลว น้ี ในเวลาแหง ควนั อยา งนี้วา ควันแหงจติ รกรรมของทอ่ี ยนู นั้ ยังไมปรากฏเพียงใด, ทีอ่ ยนู จ้ี งเปน ของภิกษนุ นั้ เพยี งนน้ั . วนิ ิจฉยั ในบทวา วิปฺปกต นี้ พึงทราบดังนี้ :- กลอนท้งั หลาย ยงิ่ มไิ ดเอาขนึ้ เพียงใด ท่ีอยูช่อื วา ทําคางเพยี งนัน้ .แตครัน้ เมื่อกลอนทง้ั หลายไดเอาข้นึ แลว ทอ่ี ยชู ื่อวาทาํ แลว โดยมาก, เพราะฉะน้นั จําเดมิ แตเ วลาท่ีเอากลอนขน้ึ แลวไปน้นั ไมค วรใหท าํ ใหม. เจา ของจกั ขอแรงภกิ ษุ ใหช วยสรา งอกี นดิ หนอยเทา นัน้ .

พระวินยั ปฎ ก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 224 ขอวา ขุทฺทเก วหิ าเร กมมฺ  โอโลเกตฺวา ฉปฺปณจฺ วสสฺ กิ มีความวา ภิกษุพึงตรวจดงู านแลวใหน วกรรม ๔ ป สาํ หรับท่ีอยูขนาด ๔ ศอก,๕ ป สําหรบั ทอ่ี ยู ๕ ศอก, ๖ ป สาํ หรบั ที่อยู ๖ ศอก, สวนอัฑฒโยคะ(คือ เพงิ ) เปนของมขี นาด ๗- ๘ ศอก เพราะฉะนั้น ในเพงิ นี้ พระผมู ีพระภาคเจาจึงตรัสวา ๗-๘ ป. ก็ถา เพิงนน้ั มขี นาด ๙ ศอก, พึงใหน วกรรม๙ ปก็ได. อนง่ึ พงึ ใหน วกรรม ๑๐ ป หรอื ๑๑ ป สาํ หรบั ทอ่ี ยหู รือปราสาทเกามขี นาด ๑๐ ศอกหรอื ๑๑ ศอก. แตพ ึงใหน วกรรม ๑๒ ปเทาน้นั สําหรบั ทอี่ ยูหรอื ปราสาทมขี นาด ๑๒ ศอก หรอื แมเชนโลหะปราสาท ซ่ึงเขือ่ งเกนิ กวานนั้ , ไมพงึ ใหนวกรรมใหยงิ่ กวา ๑๒ ปนัน้ ไป. นวกัมมกิ ภกิ ษุไดที่อยูนัน้ ภายในกาลฝน, ไมไ ดเ พอ่ื จะหามหวงในอตุ ุกาล. ถา ท่อี ยูน้นั ชํารุด, พงึ บอกแกเจา ของอาวาสหรือแกใคร ๆ ผเู กิดในวงศของเขาวา ทีอ่ ยขู องพวกทานทรุดโทรม ทา นจงซอมแซมทีอ่ ยูน นั้ . ถา วาเขาไมสามารถ ภิกษทุ ัง้ หลายพึงชกั ชวนญาตหิ รอื อปุ ฏฐากชวยซอ มแซม. ถาแมญาตแิ ละอปุ ฏ ฐากเหลานน้ั ก็ไม สามารถ พึงซอมแซมดว ยปจ จยั ของสงฆ แมเมอื่ ปจจัยของสงฆนนั้ ไมมี ก็พงึ จําหนา ยอาวาส* หลงั หนง่ึเสยี ซอ มแซมอาวาสทเี่ หลอื ไว. แมจําหนายอาวาสเปนอนั มากเสีย ซอ มแซมอาวาสหลงั หนงึ่ ไวกค็ วรเหมอื นกนั . ในคราวทุพภกิ ขภยั เมือ่ ภกิ ษทุ ้งั หลายพากันหลกี ไปเสยี อาวาสท้งั ปวงจะทรุดโทรม เพราะฉะนัน้ พึงจําหนายอาวาสเสียหลังหนง่ึ หรอื ๒ หลัง* กฎุ ิ (?)

พระวินยั ปฎ ก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 225หรอื ๓ หลงั แลว บริโภคยาคภู ัตและจีวรเปนตน จากอาวาสทีจ่ าํ หนา ยเสยี น้นัรกั ษาอาวาสท่ยี งั เหลอื ไวเ ถดิ . สว นในกรุ นุ ทีแกวา เมอ่ื ปจจยั ของสงฆไ มม ี พึงส่งั ภิกษุรปู หนงึ่ วาทานจงถือเอาท่พี อเตยี งอนั หนึ่ง สาํ หรบั ทา นซอ มแซมเถดิ . หากวา ภิกษุน้นั ตอ งการมากกวา นั้น พึงใหสว นท่ี ๓ (ใน ๔ สว น)หรือกึง่ หนง่ึ ก็ได ใหซ อ มแซมเถดิ . หากวา เธอไมปรารถนาดวยเหน็ วา ในที่อยูน้ี เหลอื แตเพยี งเสาเทานัน้การที่จะตองทาํ มาก พึงบอกใหเธอซอ มแซมวา ทานจงซอ มแซมเปนสว นตัวของทา นเทานนั้ เถิด เพราะวา แมเม่ือเปนเชนน้ี กจ็ ักยงั มีที่เก็บของสงฆด วยจกั มีสถานเปน ทอี่ ยูข องภิกษุใหมท งั้ หลายดวย. กแ็ ล อาวาสอนั ภกิ ษทุ ง้ั หลายซอมแซมแลว อยางน้ัน ยอมเปนของสวนตวั บคุ คล ในเมอ่ื ภกิ ษนุ ้นั ยงั มชี ีวิตอยู, เมื่อภิกษนุ นั้ มรณภาพแลว ยอ มตกเปนของสงฆแท. หากวา ภกิ ษนุ ัน้ เปน ผปู ระสงคจะให (เปนทอ่ี ย)ู แกสทั ธวิ ิหาริกท้ังหลาย. สงฆพึงตรวจดกู ารงานแลวพึงยกสว นท่ี ๓ หรือกง่ึ หน่งึ ใหเธอซอ มแซมเปน สว นตวั . จริงอยู เธอยอ มไดเ พือ่ ใหส ว นน้นั แกส ัทธวิ ิหารกิ ทัง้ หลาย. กเ็ มื่อผูซอมแซมอยา งน้นั ไมมี, พึงใหซ อ มแซมตามนัยที่วา พงึ จาํ หนายอาวาสหลงัหน่ึงเสยี ดงั น้ีเปนตน . คําแมนด้ี วย คําอ่ืนดวยทา นกลาวไวในกุรนุ ทนี ัน้ แล. ภิกษุ ๒ รูป ถือเอาพนื้ ทขี่ องสงฆ แผว ถางแลวสรา งเสนาสนะเปนของสงฆ พ้ืนทีน่ ั้นภกิ ษใุ ดจองกอ น, ภกิ ษนุ นั้ เปน เจา ของ. แมเธอทั้ง ๒ รปูสรางเปน สว นตัวบุคคล ภิกษผุ จู องกอ นนน่ั แลเปน เจา ของ.

พระวนิ ัยปฎก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 226 ภิกษุผจู องพื้นท่กี อ นนัน้ สรา งเปนของสงฆ อกี รปู หนงึ่ สรา งเปนสวนตัวบคุ คล. หากวา ทสี่ รา งเสนาสนะอ่นื ๆ ยังมีมาก แมเ ธอสรา งเปนสวนตวับุคคล ก็ไมค วรหา ม. แตเ มื่อท่ีอนั เหมาะเชนนั้นแหง อนื่ ไมมี อันภกิ ษุผูส รา งเปน ของสงฆน้ันแล พึงหามเธอเสยี แลว สรางเถดิ . กเ็ ครอ่ื งใช มที พั สัมภาระเปน ตน ท่ีจะตอ งใชสอยหมดไปในสถานเปน ที่สรา งอาวาสของสงฆน น้ั ของภกิ ษนุ ัน้ สงฆพงึ ยอมใหแกเ ธอ. อนึง่ ถา วา ในอาวาสท่สี รางเสรจ็ แลว ก็ดี ในสถานท่ีจะสรา งอาวาสก็ดีมตี นไมท่ีอาศัยรมไดและมีผล, พึงอปโลกนใ หโ คนเสยี เถิด. ถา ตนไมเ หลาน้นัเปนของบุคคล, พงึ บอกแกเ จาของ. ถา เจา ของไมย อมให, พึงบอกเพยี งครัง้ท่ี ๓ แลว ใหโคนเสีย ดวยยอมรบั วา พวกเราจกั ใหม ูลคา ราคาตน ไม. ฝา ยภกิ ษใุ ด ไมถ อื เอาเครื่องใชแมมาตรวา เถาวลั ยข องสงฆใ หสรางท่ีอยูเปนสว นตัว ในพื้นท่ขี องสงฆ ดว ยเครือ่ งอปุ กรณท ําตนหามา, เปนของสงฆกง่ึ หน่งึ เปนของบุคคลกงึ่ หนงึ่ . ถา เปน ปราสาท,* ปราสาทช้นั ลา งเปนของสงฆ ชน้ั บนเปน ของบุคคล. ถา ภกิ ษุใด ตองการปราสาทชนั้ ลา ง, ปราสาทชน้ั ลา งยอ มเปนของภิกษนุ นั้ . ถาเธอตองการท้งั ชน้ั ลา งท้ังช้นั บน ยอ มไดชัน้ ละกึง่ หนึ่งทั้ง ๒ ชัน้ . ภิกษุใหส รางเสนาสนะ ๒ แหง เปนของสงฆแหง หน่ึง, เปนของบคุ คลแหงหนึง่ . หากวาภกิ ษุใหสรา งดวยทัพสัมภาระเปนของสงฆซ ึง่ เกิดข้ึนในวัด, เธอยอ มไดส ว นท่ี ๓. หากวา ภิกษทุ าํ การกอตอ ขึน้ ใหมในทีซ่ ่งึ ไมไ ดทําไวก ด็ ี ตอ หนา มุขข้ึนภายนอกฝากด็ ี,กงึ่ หนึ่งเปน ของสงฆ ก่งึ หน่ึงเปนของ* ปราสาท หมายความวา เรอื นชน้ั ต้ังแต ๒ ช้นั ขึ้นไป ไมไดห มายวา ปราสาทราชมณเฑยี รอยางความไทย.

พระวนิ ัยปฎก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ท่ี 227เธอ. ถาวาสถานท่ีใหญไมเ สมอ เปน ทซี่ ่งึ ภกิ ษพุ นู ใหเสมอ แสดงทางเดินในทซ่ี ึ่งมใิ ชทาง สงฆไมเ ปน ใหญในท่ีน้ัน . [วาดว ยสทิ ธแิ หง นวกมั มกิ ะ] ในขอ วา เอก วรเสยฺย นี้ มีความวา ในสถานทีใ่ หนวกรรมกด็ ีในสถานทถี่ ึงตามลาํ ดบั พรรษากด็ ี ภิกษผุ ูซอ มแซมปรารถนาเสนาสนะใด ยอมไดเ สนาสนะนน้ั , เราอนุญาต ใหถือเอาเสนาสนะที่ดีแหงหนึง่ . ขอวา ปรโยสิเต ปกฺกมติ ตสฺเสว ต มคี วามวา เมือ่ ภกิ ษนุ ัน้กลบั มาจาํ พรรษาอกี เสนาสนะนน้ั เปนของเธอเทา นนั้ ตลอดภายในพรรษาแตเมือ่ เธอไมมา สทั ธิวิหารกิ เปนตน จะถือเอาไมไ ด. บทวา นาภิหรนตฺ  มีความวา ภกิ ษทุ ัง้ หลายไมก ลานํา (เสนาสนะ)ไปใชใ นท่ีอ่นื . บทวา คตุ ตฺ ตฺถาย มีความวา เราอนญุ าตใหขนเสนาสนะ. มีเตยี งและตงั่ เปน ตน ในทีอ่ ยูนั้นไปในท่อี ่นื เพ่ือประโยชนแ กค วามคมุ ครองเสนาสนะนน้ั . เพราะเหตุนน้ั เม่ือภกิ ษุนําไปในที่อื่นแลวใชสอยเปน สังฆบริโภคเสนาสนะนั้นเสียหายไป ก็เปน อันเสียหายไปดวยดี เกาไป ก็เปน อันเกาไปดวยดี ถาเสนาสนะน้ัน ยังไมเ สียหาย พึงเกบ็ งําไวตามเดิมอีก ในเม่ือทีอ่ ยูนน้ั ไดป ฏสิ งั ขรณเ สรจ็ แลว. เม่อื ภกิ ษใุ ชส อยเปน เครอ่ื งใชสวนตวั เสนาสนะนั้น เสยี หายไปก็ดี เกาไปก็ดี เปน สนิ ใช. เมอ่ื ท่อี ยนู ้นั ไดป ฏิสังขรณเสร็จแลว ตองใชใหท เี ดยี ว. หากวา ภกิ ษุถือเอาทัพสมั ภาระท้ังหลายมกี ลอนเปน ตน จากสังฆิ-กาวาสนนั้ ประกอบในสงั ฆิกาวาสอนื่ ท่ปี ระกอบแลว กเ็ ปน อันประกอบดว ยด.ีแตภ ิกษผุ ปู ระกอบในอาวาสสวนตัว ตอ งใหราคาหรอื ตอ งเอากลบั คนื ไวต ามเดมิ

พระวินยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 228 ภกิ ษุมีเถยยจิตถอื เอาเตียงและตง่ั เปน ตน จากท่อี ยทู ่ีถกู ละทง้ิ พระวนิ ัยธรพงึ ปรบั ดวยราคาภัณฑะ ในขณะทย่ี กขึน้ ทเี ดียว. เมอ่ื ภกิ ษุถือเอาใชส อยเปน สังฆบริโภค ดวยต้ังใจวา จักคนื ใหใ นเวลาที่ภิกษผุ ูเจาถิ่นมาอีก เสยี หายไป กเ็ ปน อันเสียหายไปดว ยดี เกา ไป กเ็ ปน อนัเกา ไปดว ยด,ี ถา ไมเ สียหาย พึงคนื ไวตามเดมิ , เมื่อภิกษใุ ชสอยเปนเครอ่ื งใชส วนตัว เสยี หายไป เปนสินใช. ทพั สมั ภาระมปี ระตหู นาตางเปนตน ที่ภิกษถุ อื เอาจากทอี่ ยทู ่ีถูกละทิง้ นนั้ ไปประสมใชในสงั ฆกิ าวาส หรือในอาวาสสวนตัว ตอ งคนื ใหแ ท. บทวา ผาตกิ มฺมตถฺ าย คือ เพือ่ ประโยชนแ กก ารทําใหเ พ่มิ ขน้ึ .กเ็ สนาสนะมเี ตียงและตงั้ เปน ตนนั้นเอง ทมี่ รี าคาเทากนั หรือมากกวา เปนผาตกิ รรม ยอมควรในคาํ วา เพือ่ ประโยชนแ กผ าตกิ รรม น้ี . [วาดว ยการใชเสนาสนะ] เครอ่ื งเช็ดเทา มีสัณฐานคลา ยลูกลอ ซ่ึงทําหมุ ดว ยผากัมพลเปนตนช่ือวา จักกล.ี ขอวา อลฺเลหิ ปาเทหิ มีความวา น้ํายอ มปรากฏในทีซ่ ง่ึ เทาเชนใดเหยียบแลว, พ้ืนก็ดี เสนาสนะก็ดี ทีท่ าํ ดว ยการโบกฉาบ อนั ภิกษุไมพ ึงเหยียบดวยเทา เชน นัน้ . แตถาวา ปรากฏแคเ พียงรอยนา้ํ จาง ๆ เทา นนั้น้ําหาปรากฏไม ควรจะเหยยี บได. อนึ่ง จะเหยยี บผา เชด็ เทา แมด ว ยเทาอันเบยี กชุม ก็ควรเหมอื นกัน. ภิกษุผสู วมรองเทา ไมควรเหยียบในท่ซี งึ่ จะพึงเหยียบดวยเทาท่ีลา งแลว ทีเดยี ว.

พระวินัยปฎ ก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ท่ี 229 ขอวา โจฬเกน ปลเิ วเตุ มคี วามวา ทฟ่ี น ปนู ขาวหรือทีพ่ น้ื ที่โบกฉาบ ถาไมม ีเสือ่ ออนหรอื เสื่อลําแพน, พึงเอาผา พนั เทา (เตยี งและตงั่ )เสยี . เมอ่ื ผา นั้นไมม ี แมใบไมกค็ วรลาด. และเปนทุกกฏแกภิกษผุ ูไ มล าดอะไร ๆ เลย วางลงไป. กถ็ า วา ภกิ ษผุ เู จา ถนิ่ ในอาวาสนัน้ วางบนพื้นแมลาดแลว แตใชสอยท้ังทีม่ เี ทามไิ ดลา ง, จะใชสอยอยางนั้นบา ง กค็ วร. ขอวา น ภกิ ขฺ เว ปริกมฺมกตา ภิตฺติ มคี วามวา ฝาทท่ี าขาวหรือฝาท่ที ําจติ รกรรมกต็ าม ไมค วรพงิ , และจะไมค วรพิงแตฝาอยา งเดยี วเทานน้ั หามิได, แมประตูก็ดี หนา ตางกด็ ี พนกั อิงกด็ ี เสาศิลาก็ดี เสาไมก็ดีภกิ ษุไมร องดว ยจีวรหรอื ของบางอยา งแลว ยอ มไมไ ดเ พอ่ื จะพิงเหมอื นกนั . ขอวา โธตปาทถา มคี วามวา ภกิ ษุเปน ผมู ีเทาลางแลว ยอ มรงั เกยี จทจ่ี ะนอน ในทซ่ี ่ึงจะพงึ เหยยี บดว ยเทาทล่ี างแลว. ปาฐะวา โธตปาทเกบา งกม็ .ี คําวา โธตปาทเก นั้น เปน ช่อื ของท่จี ะพึงเหยียบดว ยเทา ท่ีลางแลว . ขอ วา ปจฺจตฺถรติ ฺวา มีความวา พน้ื ที่โบกฉาบกด็ ี เสนาสนะมีเคร่ืองรองพื้นกด็ ี เตยี งต่ังของสงฆก็ดี ตองเอาเครอ่ื งปลู าดของตนลาดรองเสียกอน จึงคอ ยนอน. ถา แมเม่อื ภิกษกุ ําลังหลับ เคร่ืองปูลาดถลกเลกิ ไป อวัยวะแหง สรีระบางสวนถูกเตยี งหรือตั่งเขา , เปนอาบตั ิเหมือนกัน. แตเ มอื่ ขนถกู เปน อาบตั ิตามจาํ นวนขน.* แมเมอ่ื พงิ ดว ยมุง ใชส อยเปน ใหญกม็ นี ัยเหมือนกัน. แตจะถูก* ถา ปรับอาบตั ิเพยี งจาํ นวนครง้ั จักพอดกี ระมัง ? เพราะในการปรับอาบตั อิ ่ืน ทา นไมปรบัดว ย เสนขนอยา งนี้ .

พระวินยั ปฎ ก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 230หรือเหยียบดวยฝา มอื ฝาเทา ควรอยู. เตียงตงั่ กระทบกายของภิกษผุ กู าํ ลงั ขนไปไมเปนอาบตั .ิ [วาดว ยสงั ภตั ] ขอ วา น สกฺโกนติ สงฆฺ ภตตฺ  กาตุ มคี วามวา ก็แลชนทงั้ หลายไมส ามารถทําภตั เพ่ือสงฆท ั้งมวลได. วินิจฉยั ในคําวา อิจฺฉนฺติ อทุ เทสภตตฺ  เปนตน พึงทราบดังน้ี:- ชนทงั้ หลายปรารถนาจะทาํ ภัต เพือ่ ภกิ ุทต่ี นได ดว ยการเจาะจงอยา งนว้ี า ขอทา นจงใหภิกษรุ ูป ๑ หรือ ๒ รปู ฯลฯ หรอื ๑๐ รูปเจาะจงจากสงฆ. ชนอกี พวกหนง่ึ ปรารถนาจะกําหนดจาํ นวนภกิ ษอุ ยางนน้ั เหมือนกนันมิ นตแลวทาํ ภตั เพื่อภิกษเุ หลานั้น. อีกพวกหน่งึ ปรารถนาจะกําหนดสลาก นมิ นตแ ลวทําภตั เพ่ือภิกษุเหลา นัน้ . อกี พวกหนงึ่ ปรารถนาจะทําภตั เพอื่ ภิกษุรูป ๑ หรอื ๒ รปู ฯลฯหรอื ๑๐ รูป กะไวอยา งนว้ี า ปกขกิ ภัต อโุ ปสถกิ ภัต ปาฏิปทกิ ภตั ภัตมีประมาณเทา นี้ ไดโวหารนวี้ า อุทเทสภตั นิมนั ตนภัต ดว ยประการฉะนี้. อนงึ่ แมห ากวา ชนเหลา นน้ั ไมส ามารถจะทาํ สังฆภตั ไดในคราวทพุ ภกิ ขภยั , แตจกั สามารถทําสงั ฆภัตไดอีกในคราวมีภิกษาหาไดงา ย ; เพราะฉะนน้ั พระผูมพี ระภาคเจาจึงทรงรวมแมซ ง่ึ สงั ฆภัตน้นั ไวในจํานวนดว ย ตรสั วาภิกษทุ ัง้ หลาย เราอนญุ าตสังฆภตั อุทเทสภัต ดังนเี้ ปนตน .

พระวนิ ัยปฎ ก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ท่ี 231 บรรดาภัตเหลานั้น ในสงั ฆภตั ไมมีลาํ ดับเปน ธรรมดา, เพราะฉะน้นัในสงั ฆภตั นั้น ภกิ ษุท้ังหลายไมค วรกลาวอยา งน้ีวา ๑๐ วัน หรือ ๑๒ วันทงั้ วันน้ีแลว เฉพาะทพี่ วกเราฉัน, บัดนที้ านจงนิมนตภ ิกษุมาจากท่ีอนื่ เถดิ .ทง้ั ไมไ ดเพอ่ื จะกลาวอยา งนีว้ า ในวันกอน ๆ พวกเราไมไ ดเ ลย, บดั นท้ี านจงใหพ วกเรารบั สงั ฆภัตนั้นบา ง ดังน้ี. เพราะวา สงั ฆภัตนัน้ ยอ มถงึ แกภกิ ษุผมู าแลว ๆ เทาน้นั . [วา ดว ยอทุ เทสภัต] สวนในอุทเทสภตั เปน ตน มนี ยั ดงั น้ี :- เมอ่ื พระราชาหรอื มหาอมาตยข องพระราชา สงคนไปนิมนตวา ทานจงเจาะจงสงฆ นมิ นตมาเทานร้ี ูป ดงั นี้ พระภัตตทุ เทสก พงึ แจง เวลาถามหาลาํ ดบั , ถา ลาํ ดบั มี พึงใหร ับตง้ั แตล ําดบั น้นั , ถาไมมีพงึ ใหรับท้งั แตเถรอาสนลงมา, พระภัตตทุ เทสกอ ยา พึงขา มลาํ ดบั แมแหง ภกิ ษผุ ูถอื เทีย่ วบิณฑบาตเสยี .อันภกิ ษุผถู อื เทีย่ วบณิ ฑบาตเหลา นนั้ เมื่อจะรักษาธดุ งค จกั ใหขามเสยี เอง. เม่ือใหรับอยูโดยวธิ อี ยางน้ี พระมหาเถระผูมปี กตเิ ฉื่อยชา มาภายหลัง,อยา กลาวกะทา นวา ทา นผเู จรญิ ขาพเจากาํ ลงั ใหภ กิ ษุ ๒๐ พรรษารับ, ลําดับของทานเลยไปเสยี แลว . พงึ เวนลาํ ดบั ไว ใหพ ระมหาเถระเหลานนั้ รบั เสร็จแลว จงึ ใหร ับตามลําดบั ในภายหลัง. ภกิ ษุท้ังหลายไดฟงขา ววา ทีส่ าํ นกั โนน อุทเทสภัตเกิดขึน้ มาก จึงพากันมาแมจ ากสํานกั ซงึ่ มีระยะค่นั กันโยชนหนึ่ง พึงใหภิกษุเหลา นั้นรบัจําเดิมแตส ถานทพ่ี วกเธอมาทันแลว ๆ ยนื อยู. เม่อื อนั เตวาสิกเปน ตน จะรบั แทนอาจารยและอุปชฌายแมผ มู าไมท นัแตเขา อุปจารสมี าแลว พึงใหรบั เถิด.

พระวนิ ัยปฎ ก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 232 พวกเธอกลา ววา ทา นจงใหร บั แทนภกิ ษทุ ง้ั หลายผตู ้ังอยนู อกอปุ จารสมี า, อยา ใหรับ. แตถ า วา ภิกษุผูอ ยทู ี่ประตูสํานกั หรือท่ภี ายในสาํ นกั ของตนเปน ผูเนอื่ งเปน อันเดยี วกันกบั ภกิ ษุทง้ั หลายผูเขาอปุ จารสีมาแลว . สีมาจัดวาขยายออกดวยอํานาจบรษิ ทั เพราะฉะนั้น พึงใหรบั . แมใหแกสงั ฆนวกะแลว ก็ควรใหภกิ ษทุ งั้ หลายผูมาภายหลงั รับเหมอื นกนั . แตเ มื่อสวนท่ี ๒ ไดย กขน้ึ สูเถรอาสนแ ลว สว นท่ี ๑ ยอ มไมถึงแกภ กิ ษผุ ูมาทหี ลงั . พึงใหรับตามลาํ ดบั พรรษาต้งั แตสวนท่ี ๒ ไป. ในสํานักหน่งึ อทุ เทสภตั ท่ที ายกกําหนดสถานท่แี จกภัตไวแหง หนึง่ แลวบอกในทีใ่ ดท่หี น่งึ ในอปุ จารสมี าแมมีประมาณคาวตุ หน่ึง ตองใหรับในสถานที่แจกภตั นน้ั แล. ทายกผูห น่งึ สงขา วแกภกิ ษุรูปหนึ่งวา เฉพาะพรงุ น้ี ขอทานเจาะจงสงฆส ง ภกิ ษไุ ป ๑๐ รูป. ภกิ ษนุ น้ั พงึ บอกเนือ้ ความนน้ั แกพ ระภัตตทุ เทสกถา วันนัน้ ลมื เสยี , รุงข้นึ ตอ งบอกแตเ ชา . ถาลมื เสียแลวจะเขา ไปบณิ ฑบาตจงึ ระลกึ ได, สงฆยงั ไมกา วลว งอปุ จารสมี าเพียงใด, พึงใหร ับเน่อื งดวยลําดับตามปกตใิ นโรงฉนั เพียงน้นั . แมถาภิกษุทง้ั หลาย ผูกา วลว งอปุ จารสมี าไปแลว เปน ผเู น่ืองเปนแถวเดียวกันกบั ภิกษทุ งั้ หลายผูต้ังอยใู นอปุ จารสมี า คอื เดนิ ไปไมท้ิงระยะกันและกัน๑๒ ศอก. พงึ ใหรับเนอ่ื งดวยลาํ ดบั ตามปกติ แตเ ม่ือความเนอื่ งเปนแถวเดียวกันเชนนนั้ ของภกิ ษทุ ง้ั หลายไมม,ี ตนระลึกไดใ นทใ่ี ดภายนอกอปุ จารสมี า, พึงจดัลําดับใหมใ หถ อื เอาในท่นี ัน้ . เมอ่ื ระลกึ ไดท ี่โรงฉันภายในบาน พึงใหถือเอาตานลําดับในโรงฉัน. ระลกึ ไดในท่ใี ดท่ีหน่งึ กพ็ ึงใหถอื เอาแท จะไมใหถอื เอาไมควร. เพราะวา ในวนั ที่ ๒ จะไมไ ดภตั น้ัน.

พระวินยั ปฎ ก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ท่ี 233 หากวา ทายกบางคนเหน็ ภิกษุทง้ั หลายออกจากทีอ่ ยขู องตนไปสสู ํานกัอ่นื จึงขอใหแจกอทุ เทสภตั . ภกิ ษทุ ั้งหลายในภายในทใ่ี กลเคยี งกบั ภิกษุท้งั หลายผูตง้ั อยใู นอุปจารสมี าเปน ผเู นื่องเปนแถวเดยี วกัน ตามนยั ที่กลาวแลวนั้นเองเพยี งใด, พึงใหถือเอาดวยอาํ นาจลําดับในทอ่ี ยขู องคนนัน่ แลเพยี งน้นั . สวนอทุ เทสภัต ท่ีทายกถวายภิกษุทั้งหลายผตู ้ังอยนู อกอุปจาร เม่ือเขากลาววา ทานเจา ขา ขอทา นจงแสดงภิกษเุ พียงเทา น้ีรูปจากสงฆ ดังน้ี พึงใหถอื เอาตามลําดบั แหงภิกษผุ มู าทัน. แมภิกษุผูตงั้ อยูใ นทไ่ี กล โดยนยั คอื เน่ืองเปน แถวเดยี วกนั ไมท ิง้ระยะกัน ๑๒ ศอกนอกอุปจารน้นั นัน่ แล พงึ ทราบวา ผมู าทนั เหมือนกัน. ถา ภิกษุทงั้ หลายไปสูส ํานักใด, เขาบอกแกภ ิกษุทงั้ หลายผูเขา ไปในสาํ นักน้นั แลว ; พงึ ถือเอาดว ยอํานาจลาํ ดับแหงสาํ นกั น้ัน. แมถา ทายกคนใดคนหนึ่ง พบภิกษุทปี่ ระตูบาน หรือทถ่ี นน หรอื ที่ทาง ๔ แพรง หรอื ในละแวกบาน จึงบอกภตั ทีจ่ ะพงึ แสดงจากสงฆ ใหภกิ ษุทั้งหลายผอู ยภู ายในอปุ จารในทน่ี ้ันถือเอา. ก็บรรดาอปุ จารแหง ประตบู า นเปน ตน นี้ อุปจารเรือน พงึ ทราบดว ยอํานาจแหง เรอื นเหลาน้ี คือ:- เรอื นหลงั เดยี ว มอี ปุ จารเดียว, เรอื นหลงั เดียว ตางอปุ จารกัน.เรือนตางหลงั กนั มีอุปจารเดยี วกนั , เรอื นตา งหลังกนั ตา งอปุ จารกัน. ในเรือนเหลาน้ัน เรอื นใดของสกุลหนง่ึ เปนท่ีพึงใชส อย (แตออกโดยประตูเดียวกนั ) เรือนน้ัน ชื่อวา มีอุปจารเดียวในรว มในแหงแดนกาํ หนดช่วั กระดง ตก.

พระวนิ ยั ปฎก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 234 อุทเทสลาภที่เกดิ ขึน้ ในเรอื นน้นั ยอ มถึงแกภ กิ ษทุ ้ังปวงผยู นื อยู แมดว ยภิกขาจารวตั รในอุปจารนั้น น้ีช่อื วาเรอื นหลงั เดยี วมอี ุปจารเดยี ว. สว นเรือนใดหลังเดยี ว เขากัน้ ฝาตรงกลาง เพอ่ื ตองการอยูสบายสําหรับภรรยา ๒ คน ทาํ ประตูสําหรบั ใชส อยคนละทาง, อุทเทสลาภทเี่ กิดขึ้นในเรือนนน้ั ไมถ งึ แกภ กิ ษุผูอ ยภู ายในหอ งฝาดา นหน่งึ ถึงแกภกิ ษผุ นู งั่ อยูใ นท่ีน้ันเทาน้นั นี้ช่อื วาเรอื นหลังเดยี ว ตา งอปุ จารกนั . สว นในเรอื นใด เขานมิ นตภ ิกษเุ ปนอนั มากใหนง่ั เนือ่ งเปน กระบวนเดยี วกนั ต้งั แตภายในเรือนจนเตม็ หลามไปถึงเรอื นเพ่อื นบา นผคู ุนเคย. อทุ -เทสลาภที่เกิดขึ้นในเรือนนั้น ถงึ แกภิกษุทว่ั ทุกรปู . เรือนแมใดของตางสกลุ เขาไมท าํ ฝากนั กลางใชส อยทางประตเู ดยี วกันนน่ั เอง, แมในเรอื นนนั้ ก็มนี ยั นแี้ ล. นี้ช่ือวา ตางเรือนมีอุปจารเดียวกนั . ก็อุทเทสลาภใด เกดิ ขนึ้ แกภกิ ษทุ งั้ หลายผูน ง่ั ในเรอื นตา งสกลุ , ภิกษุทง้ั หลายยอมเห็นกนั ทางชองฝากจ็ รงิ , ถงึ กระนัน้ อทุ เทสลาภนน้ั ยอมถงึ แกภกิ ษุทงั้ หลายผูน่ังในเรือนนนั้ ๆ เทา นนั้ . นี้ชือ่ วาตางเรอื นตางอุปจารกนั . อนึ่ง ภกิ ษุใดไดอทุ เทสภตั ทปี่ ระตบู า น ถนน และทาง ๔ แพรงสถานใดสถานหน่ึง, เมอ่ื ภกิ ษุอื่นไมม ี จึงใหถงึ แกตนเสยี แลว จะไดอุทเทส-ภัตอ่นื ในทน่ี นั้ นน่ั เอง แมในวันรุง ขนึ้ . ภิกษนุ ั้นเหน็ ภิกษุอน่ื ใดเปนนวกะหรือแกก ต็ าม พึงใหภ กิ ษนุ น้ั รับ. ถา วา ไมม ใี คร ๆ เลย, ถงึ แกต นแลวฉันเถิด. หากวา เม่ือภิกษทุ ั้งหลายนงั่ คอยเวลาอยทู โ่ี รงฉนั อุบาสกบางคนมากลา ววา ทา นจงใหบ าตรทีเ่ จาะจงจากสงฆ ทา นจงใหบาตรเฉพาะจากสงฆทานจงใหบ าตรของสงฆ. อทุ เทสบาตรควรใหภ ิกษุรบั ตามลาํ ดับ แลว ใหไปเถิด. แมใ นคาํ ทเ่ี ขากลาววา ทานจงใหภ ิกษเุ จาะจงจากสงฆ ทา นจงใหภ ิกษุเฉพาะจากสงฆ ทา นจงใหภ ิกษุเปนของสงฆ กม็ ีนัยเหมือนกัน.

พระวนิ ัยปฎก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 235 ก็ในเรือ่ งอทุ เทสภัตน้ี จําตอ งปรารถนาพระภตั ตทุ เทสก ผูมีศีลเปนทร่ี กั มีความละอาย มคี วามฉลาด. ภิกษผุ ูภ ัตตุทเทสกนั้น พึงถามถึงลําดบั ๓คร้ัง ถาไมมใี คร ๆ ทราบลําดับ พงึ ใหถ ือเอาท่ีเถรอาสน. แตถาภกิ ษบุ างรูปกลา ววา ขาพเจา ทราบภกิ ษุ ๑๐ พรรษาได พงึ ถามวา ผมู ีอายุ ๑๐ พรรษามีไหม ? ถาภกิ ษุไดฟง คําของเธอจึงบอกวา เรา ๑๐ พรรษา เรา ๑๐ พรรษาแลว มากนั มาก. อยาพึงกลา ววา ถงึ แกท า น ถึงแกทาน พึงสง่ั วา พวกทานจงเงียบเสียงท้ังหมด แลว จัดตามลาํ ดบั . ครน้ั จัดแลว พงึ ถามอุบาสกวา ทา นตอ งการภิกษเุ ทา ไร ? เมื่อเขาตอบวา เทา นเ้ี จาขา แลวอยา พึงกลาววา ถึงแกท า น ถงึ แกทาน พงึ ถามถึงจาํ นวนพรรษา ฤดู สวนแหงวันและเงาของภิกษผุ มู าใหมก วาทุกรปู . ถาเมือ่ กําลงั ถามถึงเงาอยู ภิกษผุ แู กก วารูปอน่ื มาถึง, พงึ ใหแ กเธอถาเม่ือถามถงึ เงาเสร็จแลว สงั่ วา ถงึ ทา นดวย ดงั นี้ ภกิ ษุผูแ กกวา มาถงึ ก็หาไดไม. จริงอยู เม่อื ภกิ ษุผูแกกวา นงั่ ดวยความชกั ชา แหง ถอ ยคํากด็ ี หลับเสียกด็ ี อุทเทสภตั ที่ใหภ กิ ษุผูใ หมกวา ถอื เอาแลว กเ็ ปน อนั ใหถ อื เอาเสยี แลวดว ยดี, ขา มเลยไปเสีย กเ็ ปน อนั ขามเลยไปดวยดี เพราะวา ธรรมดาของท่ีควรแจกกันนนั้ ยอมถึงแกภ ิกษผุ ูมาทนั เทาน้ัน, ความเปน ผมู าทนั ในท่นี ้นัพึงกําหนดดวยอุปจา. ก็แล ภายในโรงฉัน เครอ่ื งลอ มเปน อุปจาร. ลาภยอมถึงแกภิกษุผูอยใู นอปุ จารนน้ั ฉะนแี้ ล. ทายกบางคน ใชคนใหน าํ อุทเทสบาตร ๘ บาตรมาจากโรงฉัน บรร-จโุ ภชนะประณตี เตม็ ๗ บาตร ใสน ้ําเสยี บาตรหนงึ่ สง ไปยังโรงฉันคนถือมา

พระวนิ ยั ปฎ ก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 236ไมพดู วา กระไร ประเคนไวในมือภิกษุทั้งหลายแลวหลีกไป. ภัตใดภิกษใุ ดไดแลว ภตั นัน้ ยอ มเปนของภกิ ษนุ นั้ นน่ั แล. สว นนํ้าภิกษใุ ดได พงึ งดลาํ ดบั แมที่ขามเลยไปแลวของภกิ ษุนั้นเสยีใหเธอถอื เอาอุทเทสภตั สว นอน่ื . ก็แล เธอไดอ ทุ เทสภัตสวนน้นั จะทรามกต็ าม ประณตี กต็ าม มีไตรจวี รเปนบรวิ ารกต็ าม ภตั น้ัน ยอมเปนของเธอทัง้ นั้น. จรงิ อยู ลาภเชนน้เี ปนบญุ พเิ ศษของเธอ, แคเ พราะนาํ้ ไมใชอามิสเพราะฉะนัน้ เธอจงึ ตองไดอ ุทเทสภตั อืน่ แตถาชนผถู ือมานั้นกลาววา ทา นผเู จริญ ไดย ินวา ภตั ทง้ั ปวงนี้ทานจะแบง กันฉนั เองเถดิ ดงั น้ี แลวจงึ ไป. นํ้าอนั ภกิ ษุทงั้ ปวงพงึ แบง กนั ด่ืม. แตเ มื่อทายกกลา ววา ทานเจาะจงเฉพาะสงฆใ หพระมหาเถระ ๘ รปู ,ใหภ กิ ษุปูนกลาง, ใหภ ิกษใุ หม, ใหสามเณรผูมีปครบ. ใหภ กิ ษุผูก ลาวมัชญมิ -นกิ ายเปนตน จงใหภ กิ ษุผูเปนญาตขิ องขาพเจา. ภกิ ษผุ ภู ตั ตทุ เทสกพ ึงชี้แจงวา อบุ าสก ทานพูดอยางนี้, แตลําดับของทานเหลา นัน้ ยงั ไมถ ึง ดังนีแ้ ลว พงึ ใหเ นือ่ งดวยลําดับนัน้ เอง. อนงึ่ เมอ่ื ภิกษุหนมุ และสามเณรไดอทุ เทสภตั กันแลว. ถา ในเรอื นของพวกทายก มีการมงคล, พงึ สัง่ วา พวกเธอจงนมิ นตอ าจารยแ ละอุปช ฌายของเธอมาเถิด. กใ็ นอุทเทสภัตใด สว นท่ี ๑ ถงึ แกสามเณร สวนรองถึงแกพ ระมหา-เถระทั้งหลาย. ในอุทเทสภัตนนั้ สามเณรยอม. ไมไ ดเ พอ่ื จะไปขา งหนาดว ยทาํ -ในใจวา เราทัง้ หลายไดส วนท่ี ๑ พงึ ไปตามลาํ ดบั เดินน่ันแล.

พระวินยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ท่ี 237 เมือ่ ทายกกลา ววา ทานจงเจาะจงจากสงฆม าเองเถิด ดังนี้ ภิกษพุ ึงกลา ววา สาํ หรับเรา ทา นจักทราบไดโ ดยประการอ่ืนบา ง แตล าํ ดับยอมถึงอยางน้ี แลว พึงใหถ อื เอาดวยอํานาจแหงลาํ ดับนนั่ แล. หากวา เขากลา ววา ทานจงใหบาตรท่อี ุทิศจากสงฆ ดงั น้ี เมอ่ืบาตรอันพระภตั ตทุ เทสกย ังไมท ันส่งั ใหถือ ก็ฉวยเอาบาตรของภิกษรุ ปู ใดรปูหน่งึ บรรจุเต็มนํามา. แมอ ทุ เทสภัตท่ีเขานาํ มาแลว พงึ ใหถ อื เอาตามลําดับเหมือนกนั . ชนผูหนึ่ง ซง่ึ เขาใชไปวา ทา นจงนาํ บาตรเจาะจงสงฆม า ดงั นี้กลาววา ทา นเจา ขา ทา นจงมอบบาตรใบหนึ่ง เราจกั นาํ นิมนั ตนภัตมาถวายถา ชนนน้ั ภิกษุทง้ั หลายทราบวา ผนู ้มี าจากเรือนอุทเทสภตั จึงถามวา ทานมาจากเรือนโนน มิใชหรือ ? จึงตอบวา ถูกแลว ทานผเู จรญิ ไมใชน ิมนั ตน-ภตั เปนอุทเทสภัต, พงึ ใหถ อื เอาตามลาํ ดบั . ฝา ยชนใด ซ่งึ ส่งั เขาวา จงนาํ บาตรลกู หนึง่ มา จงึ ยอนถามวา จะนาํบาตรอะไรมา ไดรับตอบวา จงนาํ มาตามใจชอบของทาน ดงั น้ี แลว มา;ชนน้ี ช่ือ วสิ สฏฐั ทตู (คือทตู ทเี่ ขายอมตามใจ) เขาตอ งการบาตรเฉพาะสงฆหรอื บาตรตามสําดับ หรือบาตรสว นตัวบคุ คล อนั ใด พึงใหบาตรนนั้ แกเขา. ผูห นึ่งเปน คนโงไมฉลาด ซงึ่ เขาใชไ ปวา จงนาํ บาตรเฉพาะสงฆม าดังน้ี ไมเ ขาใจท่จี ะพูด จงึ ยนื นง่ิ อยู ภกิ ษุไมค วรถามเขาวา ทา นมาหาใครหรือวา ทานจกั นําบาตรของใครไป เพราะวา เขาถกู ถามอยางนน้ั แลว จะพึงตอบเลียนคาํ ถามวา มาหาทา น หรอื วา จักนําบาตรของทา นไป. เพราะเหตทุ ก่ี ลา วนั้น ภิกษุเหลาอื่นจะพากนั ชงั ไมพ ึงแลดูภิกษนุ น้ั กไ็ ด. ทเี่ หมาะควรถามวา ทา นจะไปไหน ? หรอื วา ทานเทย่ี วทําอะไร.

พระวนิ ยั ปฎ ก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ท่ี 238 เมือ่ เขาตอบวา มาเพอ่ื ตอ งการบาตรเฉพาะสงฆ ดงั น้ี พึงใหภกิ ษุถอื เอาแลว ใหบ าตรไป. ท่ีจัดวา ลําดับโกงมอี ยูช นดิ หนงึ่ . จริงอยู ในพระราชนิเวศนห รือในเรอื นของราชมหาอํามาตย ถวายอุทเทสภตั อยางประณีตยิง่ ๘ ที่เปน นติ ยภิกษุทงั้ หลายจัดอุทเทสภตั เหลาน้นั ใหเปน ภัตท่ีจะพงึ ถงึ แกภ ิกษุรปู ละคร้ัง ฉนัตามลําดับแผนกหนงึ่ . ภิกษบุ างพวกคอยกําหนดลาํ ดบั ของตนวา พรงุ น้ีแล จกั ถึงแกพ วกเราดงั น้ี แลว ไป. คร้นั เมื่อภิกษเุ หลา น้ัน ยงั มทิ ันจะมา ภกิ ษุอาคันตกุ ะเหลา อ่ืนมาน่ังที่โรงฉัน. ในขณะนน้ั เอง ราชบุรษุ พากนั กลา ววา ทา นจงใหบาตรสาํ หรับปณตี ภัต พวกภิกษุอาคันตุกะไมท ราบลําดบั จะใหภ กิ ษุทั้งหลายถอื เอา. ในขณะนน้ั เอง ภกิ ษุผูทราบลาํ ดับกพ็ ากนั มา จงึ ถามวา ทา นใหถ อื เอาอะไร. ภิกษอุ าคนั ตกุ ะตอบวา ปณตี ภตั ในพระราชนิเวศน ตัง้ แตพรรษาเทาไรไป ? ตัง้ แตพ รรษาเทานี้ไป. พวกภิกษผุ ูท ราบลาํ ดบั พงึ หามวา อยาพึงใหถ อื แลวใหถอื เอาตามลาํ ดับ. ภกิ ษุท้งั หลายผูทราบลาํ ดับมาแลว ในเม่อื ภิกษุอาคันตกุ ะใหภิกษุท้ังหลายถือเอาแลว ก็ดี, มาแลวในเวลาที่จะใหบ าตรก็ด,ี มาแลว ในเวลาท่ใี หไปแลวก็ด,ี มาแลวใน เวลาท่รี าชบรุ ษุ ยังบาตรใหเตม็ นาํ มาจากพระราชนเิ วศนกด็ ,ี มาแลว ในเวลาทภ่ี ิกษอุ าคนั ตกุ ะท้งั หลายถอื บิณฑบาต ซ่ึงพระราชาทรงใชร าชบุรษุ ไปวา วนั นี้ ภกิ ษทุ ง้ั หลายจงมาเองเถดิ ดงั นแี้ ลว ทรงประเคนบณิ ฑบาตในมอื ของภกิ ษุทัง้ หลายน่ันแล มาแลว ก็ดี พงึ หามวา อยาฉันแลว พึงใหภ ิกษทุ ง้ั หลายถือเอาตามลาํ ดับ เถดิ .

พระวนิ ัยปฎก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 239 หากวา พระราชาทรงนมิ นตภ ิกษอุ าคันตกุ ะเหลา นั้น ฉนั แลว ยังบาตรของพวกเธอใหเตม็ แลว ถวายดว ย. ภตั ทเี่ ธอนํามา พงึ ใหถ อื เอาตามลําดบัแตถา มีภัตเพียงเล็กนอยที่เขาใสในบาตร ดว ยคดิ วา ภิกษุทง้ั หลายอยา ไปมอืเปลา. ภัต ไมพ ึงใหถ ือเอา. พระมาหาสมุ ัตเถระกลา ววา ถา ฉันเสรจ็ แลว มีบาตรเปลากลบั มา ภตัท่พี วกเธอฉนั แลว ยอมเปนสินใชแกพวกเธอ. ฝา ยพระมหาปทมุ ตั เถระกลา ววา ในการฉันปณีตภัตนี้ ไมม กี ิจเนอ่ื งดว ยสนิ ใช. ภิกษุผูไมท ราบลาํ ดบั พึงนัง่ รอจนกวาภกิ ษุผูทราบจะมา, แมเ ม่ือเปนเชนน้ี ภัตทฉี่ ันแลว เปน อนั ฉนั แลวดวยดี, แตไมพ ึงใหเธอถือเอาภัตอ่นืในท่ี ๆ ถงึ เขาในบัดนี้. บิณฑบาตหนึง่ มีราคาหนงึ่ รอ ย มไี ตรจีวรเปนบริวารถึงแกภกิ ษุไมมพี รรษา. และภกิ ษุในวิหารจดไววา บณิ ฑบาตเหน็ ปานน้ี ถึงแกภ กิ ษไุ มมีพรรษา ถา วา ตอ ลว งไป ๖๐ ป บณิ ฑบาตเหน็ ปานนั้นอ่ืน จึงเกดิ ขึน้ อกี ไซร. ถามวา บิณฑบาตน้ี จะพึงใหถอื เอาตามลาํ ดบั ภกิ ษผุ ไู มม ีพรรษาหรอื วา จะพึงใหถ อื เอาตามลําดบั ภิกษผุ มู พี รรษา ๖๐ ? ตอบวา ในอรรถกถาทั้งหลายทา นกลาววา พงึ ใหถ อื เอาตามลําดับภิกษุผมู ีพรรษา ๖๐ เพราะวา ภกิ ษุนี้รบั ลําดับแลวกแ็ กไปเอง. ภกิ ษรุ ปู หนึง่ ฉันอทุ เทสภตั แลว (ลาสิกขา) เปนสามเณร ยอ มไดเพือ่ ถือเอาภตั นน้ั อันถงึ ตามลาํ ดบั แหง สามเณรอีก. ไดย นิ วา ภิกษนุ ้ีชอื่ วาผตู กเสยี ในระหวา ง. ฝา ยสารเณรรูปใด มีปบริบรู ณ จักไดอุทเทสภตั ในวนั พรุง แตเ ธออุปสมบทเสยี ในวนั นี้ ลําดับของสามเณรรปู น้ัน เปน อันเลยไป.

พระวนิ ัยปฎก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 240 อทุ เทสภัตถงึ แกภกิ ษรุ ูปหน่ึง, แตบ าตรของเธอไมเปลา, เธอจึงใหมอบบาตรของภกิ ษุอน่ื ซ่งึ นง่ั ใกลก ันไปแทน. ถาวา ชนเหลา น้นั นําบาตรน้นั ไปเสยี ดวยความเปน ขโมย, เปนสนิ ใชแกเ ธอ. แตถ า วา ภิกษนุ น้ั ยอมใหไ ปเองวา เราใหบ าตรของเราแทนทา นน้ไี มเ ปนสนิ ใช. แมถา วา ภกิ ษนุ น้ั เปนผไู มม ีความตอ งการดวยภตั น้ัน จงึ บอกกะภิกษอุ นื่ วา ภตั ของเราพอแลว , เราใหภัตน้ันแกท าน ทา นจงสง บาตรไปใหนํามาเถดิ สิ่งใดเขานํามาจากทน่ี นั้ , สง่ิ นั้นทั้งหมด ยอ มเปนของภิกษผุ เู จา ของบาตร. หากวา คนทน่ี าํ บาตรไปเลยลักไปเสยี , กเ็ ปนอันลักไปดว ยด,ี ไมเ ปนสินใช เพราะเธอไดใ หภ ัตแกเจา ของบาตร. ในสํานักมีภิกษุ ๑๐ รูป ใน ๑๐ รูปนัน้ เปนผถู ือปณฑปาติกธดุ งคเสีย๙ รปู รปู ๑ รับ* เมอ่ื ทายกกลา ววา ทานจะบอกบาตรสําหรับอทุ เทสภัต ๑๐บาตร ภิกษผุ ถู อื บณิ ฑปาติกธุดงค ไมส ามารถจะใหถ ือเอา ภิกษนุ อกนี้รับดว ยคิดวา อทุ เทสภตั ท้งั หมดถงึ แกเรา ดงั น้ี ลําดับไมม ี. หากวา เธอรบั เอาใหถงึ ทล่ี ะสวน ๆ ลาํ ดับยอมคงอย.ู ภิกษุน้นัคร้นั รับแลวอยา งน้นั ใหเขานํามาทงั้ ๑๐ บาตรแลว ถวาย ๙ บาตรแกภิกษุผูถ ือบิณฑปาติกธุดงคว า ขอทานผูเจรญิ จงทําความสงคเ คราะหแ กขาพเจาภตั เชนนี้ จัดเปนภตั ที่ภิกษุถวาย ภิกษุผถู อื บิณฑปาตกิ ธุดงคสมควรรับ. หากวา อบุ าสกน้ัน นมิ นตว า ทา นผเู จริญพงึ ไปเรือน และภกิ ษุน้นัชวนภกิ ษุเหลานน้ั วา มาเถดิ ทานผเู จรญิ จงเปน เพื่อนขา พเจา ดังนแ้ี ลว ไป* สาทยิ นโก-(ส+อาทยิ นโก).

พระวนิ ยั ปฎก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 241ยงั เรอื นของอบุ าสกน้นั เธอไดสิง่ ใดทใี่ นเรือนนน้ั สง่ิ นัน้ ทัง้ หมด ยอมเปนของเธอเทาน้ัน ภิกษุนอกนีย้ อมไดข องท่ีเธอถวาย. หากวา อุบาสกน้นั นิมนตใหน ง่ั ในเรอื นแลว และถวายน้าํ ทกั ษโิ ณทกแลวถวายยาคูและของขบเค้ยี วเปน ตนแกภ กิ ษุเหลา น้นั ยาคูเปนตน น้นั ยอมควรแกภ ิกษุผถู ือบณิ ฑปาติกธุดงคนอกน้ี เฉพาะดว ยถอ ยคําของภกิ ษุนั้นที่วา ทานผเู จริญ ชนทั้งหลายถวายสิง่ ใด ทา นจงถอื เอาสงิ่ นนั้ เถดิ ดังน.้ี พวกทายกบรรจุภตั ลงในบาตรจนเต็มแลว ถวายเพ่อื ตองการใหถ อืเอาไป ภตั ท้งั หมดยอ มเปน ของภกิ ษนุ น่ั เทาน้ัน ภตั ทภี่ กิ ษุนน้ั ให จงึ ควรแกพวกภกิ ษนุ อกน.ี้ แตถา วา ภกิ ษผุ ถู อื บิณฑปาติกธดุ งคเหลานั้น อนั ภิกษนุ นั้ เผดียงไวแตใ นสาํ นกั วา ทา นผูเ จรญิ จงรบั ภกิ ษุของขา พเจา และสมควรทําตามถอ ยคาํ ของพวกชาวบาน ดังน้ี จึงไปไซร พวกเธอฉันภตั ใดในทนี่ ัน้ และนาํ ภตัใดในที่นั้นไป ภัตนัน้ ทั้งหมดเปนของพวกเธอเทา นั้น. แมถ า วา พวกเธอออ นภกิ ษุน้ันมิไดเผดียงวา ทา นจงรับภกิ ษาของขา พเจา แตไ ดร บั เผดียงวา สมควรทําตามคาํ ของพวกชาวบาน ดังน้ี จงึ ไป.หากวา พวกชาวบา นฟง ภกิ ษุรูปหน่ึงในภกิ ษุเหลา นนั้ ผูทาํ อนโุ มทนาดวยเสยี งอนั ไพเราะ และเลอื่ มใสในอาการอนั สงบระงบั ของพระเถระทงั้ หลาย จงถวายสมณบริขารเปน อนั มาก ลาภนี้ เกดิ ขนึ้ เพราะความเล่ือมใสในเหลาพระเถระจัดเปน สว นพเิ ศษ เพราะฉะนน้ั ยอ มถึงแกภ กิ ษทุ ั่วกนั . ทายกผหู น่งึ นาํ บาตรท่ใี หเ ฉพาะสงฆแ ลว ใหถ ือเอาตามลาํ ดับไปบรรจบุ าตรเต็มดว ยขาทนียะและโภนยี ะอันประณตี นาํ มาถวายวา ทานเจาขาสงฆทงั้ ปวงจงบรโิ ภคภตั นี้ ภิกษทุ ั้งปวงพึงแบงกนั ฉนั แตต อ งงดลาํ ดับ แมท ่ีลว งไปแลวของภิกษผุ เู จาของบาตรเสยี ใหอ ุทเทสภตั อ่ืน.

พระวินัยปฎก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ที่ 242 หากวา ทายกกลาววา ขอทา นจงมอบบาตรเปน ของเฉพาะสงฆทง้ั ปวงใหก อนทีเดียว พึงมอบใหบ าตรเปนของภิกษุลัชชีรูปหน่งึ และเมอื่ เขานํามาแลว กลา ววา สงฆท ้งั ปวงจงบริโภค ดงั นีพ้ ึงแบง กันฉัน . อน่ึง ทายกผนู ําภตั มาดวยถาดหนงึ่ ถวายวา ขา พเจา ขอถวายภัตเฉพาะสงฆ อยา ใหรปู ละคาํ พงึ ใหกะใหพอยังอตั ภาพใหเ ปนไปแกภ ิกษุรปู หน่งึ ตามลําดบั . หากวา เขานําภตั มาแลว ไมทราบวาจะพูดอยา งไรจงึ เปนผนู ิง่ อย,ูอยาถามเขาวา ทา นนาํ มาเพ่อื ใคร ? ทานประสงคจะถวายใคร ? เพราะวาเขาจะพึงตอบเลียนคําถามวา นํามาเพ่ือทา น ประสงคจะถวายทาน. เพราะเชนน้นั ภกิ ษุเหลาอน่ื จะพากันชังภกิ ษุนนั้ จะไมพ ึงเอาใจใสเ ธอ แมซ ่ึงเปนผูควรเอ้ยี วคอแลด.ู แตถา ภิกษถุ ามวา ทานจะไปไหน ทานเทีย่ วทาํ อะไร ? ดังน้ี เขาจะตอบวา ขาพเจาถอื เอาอทุ เทสภตั มา ภิกษุลชั ชีรูปหนง่ึ พึงใหถ อื เอาตามลําดบั . ถา ภัตท่เี ขานาํ มามมี าก และพอแกภิกษทุ ง้ั ปวง ไมตองใหถ อื เอาตามลําดบั . พงึ ถวายเต็มบาตรตั้งแตเ ถรอาสนลงมา. เม่ือทายกกลา ววา ขอทานจงมอบบาตรที่เฉพาะสงฆให อยาถามวาทานจะนาํ อะไรมา ? พงึ ใหถือเอาตามลาํ ดับปกตนิ ั่นแล. สวนขาวปายาสหรอื บณิ ฑบาตมรี สอันใด สงฆไ ดอ ยเู ปน นติ ย, สําหรบัโภชนะประณตี เชน น้ัน พงึ จดั ลาํ ดบั ไวแ ผนกหนง่ึ . ยาคพู รอมทัง้ ของบรวิ ารก็ดีผลไมทีม่ รี าคามากก็ดี ของขบเคย้ี วทป่ี ระณีตก็ดี ควรจดั ลาํ ดบั ไวแ ผนกหนึ่งเหมือนกัน. แตภตั ยาคผู ลไมแ ละของขบเคีย้ วตามปกติ ควรจดั ลาํ ดับเปนอนัเดียวกนั เสีย.

พระวินยั ปฎ ก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ที่ 243 เม่อื ทายกกลา ววา ขาพเจาจักนาํ เนยใสมา สําหรบั เนยใสทัง้ ปวง ควรเปน ลาํ ดับเดียวกัน. นํา้ มันทัง้ ปวงกเ็ หมือนกนั อน่งึ เมอื่ เขากลา ววา ขาพเจาจักนาํ นาํ้ ผึ้งมา สาํ หรับน้ําผึ้งควรเปนลาํ ดบั อันเดียวกัน. นา้ํ ออ ยและเภสัชมีชะเอมเปนตน กเ็ หมือนกัน. ถามวา ถา พวกทายกถวายของหอมและระเบยี บเฉพาะสงฆ, จะควรแกภ ิกษุผถู อื ปณ ฑปาตกิ ธุดงคหรอื ไมค วร ? พระอาจารยท ้ังหลายกลาววา ควร เพราะทา นหา มแตอ ามสิ เทานนั้แตไ มควรถอื เอาเพราะเขาถวายเฉพาะสงฆ. อุทเทสภตั ตกถา จบ [นิมนั ตนภัต] นมิ นั ตนภตั ถาเปน ของสวนบุคคล, ผูร ับเองนั้นแลเปนใหญ สวนทีเ่ ปนของสงฆ พึงใหถอื เอาตามนยั ทีก่ ลาวแลวในอุทเทสภัตนนั่ แล. แตใ นนมิ ันตนภัตนี้ ถา เปน ทูตผูฉลาด เขาไมกลา ววา ทานผเู จริญขอทานทง้ั หลายจงรบั ภัตสาํ หรบั ภิกษสุ งฆใ นพระราชนเิ วศน กลาววา ขอทา นทั้งหลายจงรบั ภิกษา ดงั นีไ้ ซร ภัตนั้น ยอมควรแมแ กภกิ ษผุ ถู ือปณฑปาตกิ -ธดุ งค. ถาทตู ไมฉลาดกลา ววา ขอทา นทงั้ หลายจงรับภัต ดังนี้. พระภตั ตุท-เทสกเ ปน ผฉู ลาด ไมอ อกช่อื วา ภัต กลาวแตวา ทา นจงไป ทานจงไปดงั น้ี แมอ ยา งน้ี ภัตนน้ั ยอ มควรแกภ ิกษผุ ถู ือปณ ฑปาตกิ ธดุ งค. แตเมือ่ พระภตั ตุทเทสกกลา ววา ภตั ถึงแกพ วกทานตามลาํ ดับ ดังนี้ไมควรแกภ ิกษุถอื ปณฑปาติกธดุ งค.

พระวินัยปฎ ก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ที่ 244 ถาคนทง้ั หลาย ผมู าเพ่ือจะนิมนต เขาไปยังโรงฉัน แลวกลาววา ทานจงใหภ กิ ษุ ๘ รูป หรือวา ทานจงใหบ าตร ๘ บาตร แมอ ยา งน้ี กค็ วรแกภกิ ษผุ ูถ ือปณ ฑปาตกิ ธุดงค. พระภตั ตทุ เทสกพ งึ กลา ววา ทานดวย นมิ นตไ ป. แตเ ขากลา ววา ทานจงใหภ ิกษุ ๘ รปู ทา นทัง้ หลายจงรบั ภตั หรือทา นจงใหบาตร ๘ บาตร ทานท้งั หลายจงรบั ภัตดงั นี้ พระภตั ตุทเทสกพงึ ใหภิกษุทัง้ หลายถือเอาตามลาํ ดบั . และเมอ่ื จะใหถ อื เอา ตัดบทเสยี ไมออกชื่อวาภัต พดู แตว า ทา นดวย ทานดวยนมิ นตไ ป ดงั น้ี ควรแกภ ิกษุผถู อื ปณฑ-ปาติกธดุ งค. แตเ ม่อื เขากลาววา ทา นเจาขา ทา นจงใหบ าตรของพวกทาน นิมนตทานมา ดังนี้ พงึ รับวา ดลี ะ อบุ าสก แลวไปเถดิ . เม่ือเขากลาววา ทานท้ังหลายเจาะจงเฉพาะจากสงฆม าเถิด ดงั นี้ พงึใหถอื เอาตามลําดับ. อนึ่ง เมือ่ เขามาจากเรอื นนมิ นั ตนภตั เพ่ือตอ งการบาตร พงึ ใหบาตรตามลําดับ โดยนยั ทีก่ ลา วแลวในอทุ เทสภตั นัน้ แล. ทายผหู นึง่ ไมกลาววา จงใหบาตรตามลาํ ดับจากสงฆ กลาวแคเ พียงวาทานจงใหบ าตรใบหนึ่ง ดังน้ี เมอื่ ยงั ไมท ันใหถ ือเอาบาตร กฉ็ วยเอาบาตรของภกิ ษุรปู ใดรปู หนง่ึ ไปบรรจเุ ตม็ นาํ มา ภัตน้ัน เปนของภกิ ษผุ ูเ จา ของบาตรเทา นน้ั อยา ใหถ อื เอาตามลาํ ดับเหมอื นในอทุ เทสภัต. แมใ นนิมันตนภัตน้ี ทายกใดมาแลว ยืนนง่ิ อยู ทายกนนั้ อันภิกษไุ มพงึ ถามวา ทา นมาหาใคร หรือวา ทา นจกั นําบาตรของใครไป ? เพราะวาเขาจะพงึ ตอบเลยี นคําถามวา ขาพเจา มาหาทา น จักนาํ บาตรของทา นไป เพราะเชนนน้ั ภิกษุนน้ั จะพงึ ถูกภิกษุทงั้ หลายเกลียดชงั .

พระวนิ ัยปฎ ก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 245 แตค ร้นั เม่อื ภกิ ษถุ ามวา ทา นจะไปไหน ทา นเทยี่ วทําอะไร ? เมอื่เขาตอบวา มาเพ่ือตอ งการบาตร ดังนี้ พึงถอื เอาบาตรตามลาํ ดบั เรียงตัวกันเหมอื นกนั . ถาเขานํามาแลวกลา ววา ขอพระสงฆทัง้ ปวงจงฉัน พงึ แบงกันฉนั ตอ งงดลาํ ดับแมท ่ลี ว งไปแลว ของภิกษุผเู จาของบาตรเสยี ใหเธอถือเอาภตั เนื่องในลาํ ดับอนื่ ใหม. ทายกผูหนง่ึ นาํ ภตั มาดวยถาดแลว กลา ววา ขาพเจา ถวายสงฆ พงึแบงกนั โดยสงั เขปเปนคํา ๆ ตงั้ ตน แตล าํ ดบั แหงอาโลปภัตไป. อนง่ึ ถา เขานงิ่ อยู ภกิ ษอุ ยา ถามเขาวา ทานนํามาเพื่อใคร ทานประสงคจ ะถวายใคร ? และถา เม่อื ภิกษถุ ามวา ทา นจะไปไหน ? ทานเทีย่ วทาํ อะไร ? เขาจงึ ตอบวา ขาพเจานําภตั มาเพ่ือสงฆ ขา พเจานําภตั มาเพ่อืพระเถระ ดงั น้ี พึงรบั แลวแบง ใหต ามลาํ ดับแหงอาโลปภัต. กถ็ า วา ภตั ท่เี ขานาํ มาอยางน้นั มีมาก พอแกส งฆทง้ั สิ้น น้ีช่ือวาอภิหฏภกิ ฺขา (ภาษาทเี่ ขานาํ มาพอ) ยอ มควรแกภ ิกษุผูถ อื ปณฑปาติกธุดงคไมมกี ิจที่จะตองถามถึงลาํ ดบั . พึงถวายเต็มบาตรตงั้ แตเ ถรอาสนล งมา. อบุ าสกสง ขา วไปถึงพระสังฆเถระก็ดี ภิกษผุ ูมชี ่ือเสียงเน่ืองดว ยคนั ถ-ธุระและธุดงคก็ดี พระภัตตุทเทสกก ็ดี วา ทานจงพาภกิ ษมุ า ๘ รปู เพอ่ืประโยชนแกการรบั ภัตของขา พเจา. แมหากวา ขา วน้ันจะเปน ขาวท่ีญาตแิ ละอปุ ฏ ฐากสง ไปกด็ ี ภกิ ษุ ๓ รปู(มีพระสังฆเถระเปนตน ) นี้ ยอ มไมไ ดเ พ่ือจะสอบถามเขา. ลําดับเปนอันยกข้นึ ทีเดียว. พงึ ใหนมิ นตภกิ ษุ ๘ รูปจากสงฆ มตี นเปน ที่ ๙ ไปเถิด เพราะเหตุไร ? เพราะวา ลาภอาศยั ภิกษเุ หลา นั้น จงึ เกิดขึน้ แกภิกษุสงฆ.










Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook