Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_09

tripitaka_09

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:38

Description: tripitaka_09

Search

Read the Text Version

พระวนิ ยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 301เจาขา วัตถุ ๕ ประการนยี้ อ มเปนไปเพอื่ ความเปน ผูม กั นอย ความเปนผสู ันโดษความขัดเกลา ความกําจดั อาการท่นี าเลอื่ มใส การไมส งั่ สม การปรารภความเพยี ร โดยอเนกปรยิ าย ขาพระพทุ ธเจา ขอประทานพระวโรกาส ภิกษุทัง้ หลายพงึ ถอื การอยูปา เปน วตั รตลอดชีวติ รปู ใดอาศยั บานอยู รปู น้ันพึงตองโทษ ภิกษุทง้ั หลายพงึ ถอื เที่ยวบิณฑบาตเปนวัตรตลอดชวี ติ รปู ใดยินดีกจิ นิมนต รูปน้ันพึงตองโทษ ภกิ ษทุ ้งั หลายพงึ ถือผาบังสกุ ุลเปน วตั รตลอดชวี ติรูปใดยินดีคหบดีจวี ร รปู น้นั พึงตอ งโทษ ภิกษุทัง้ หลายพงึ ถืออยูโคนไมเปนวัตรตลอดชวี ติ รูปใดเขาอาศัยที่มุงทบ่ี งั รปู นั้นพงึ ตอ งโทษ ภิกษทุ งั้ หลายไมพงึ ฉนั ปลาและเน้ือตลอดชวี ติ รูปใดฉนั ปลาและเน้อื รูปนัน้ พงึ ตอ งโทษพระสมณโคดมจักไมท รงอนุญาตวัตถุ ๕ ประการนี้ แตพ วกเรานน้ั จักใหประ-ชาชนเช่ือถอื วัตถุ ๕ ประการนี้. พระโกกาลกิ ะกลา ววา ทา นท้ังหลาย พวกเราสามารถเพือ่ ทําสงั ฆเภทจักรเภท แกสมณโคดมดวยวัตถุ ๕ ประการนี้แน เพราะมนุษยท ั้งหลายเล่อื มใสในความปฏิบัตเิ ศราหมอง. ทูลขอวัตถุ ๕ ประการ [๓๘๔] ครั้งนัน้ พระเทวทตั พรอมกับบรษิ ทั เขา ไปเฝา พระผมู พี ระ-ภาคเจา ถวายบังคมแลว นงั่ อยู ณ ทค่ี วรสวนขา งหน่งึ เม่อื นงั่ เรยี บรอยแลว ไดกราบทลู พระผูม พี ระภาคเจาวา พระพทุ ธเจา ขา พระผูม ีพระภาคเจา ตรัสคณุแหง ความเปน ผมู ักนอ ย ความสันโดษ ความขดั เกลา ความกาํ จัด อาการท่ีนาเลอื่ มใส ความไมส ัง่ สม การปรารภความเพยี ร โดยอเนกปริยาย พระพทุ ธเจาขา วัตถุ ๕ ประการนี้ ยอ มเปนไปเพอ่ื ความเปนผมู ักนอ ย ความเปนผูสนั โดษ ความขดั เกลา ความกาํ จดั อาการทีน่ า เลอ่ื มใส ความไมส ่ังสม การ

พระวนิ ยั ปฎ ก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ที่ 302ปรารภความเพยี ร โดยอเนกปริยาย ขาพระพุทธเจา ขอประทานพระวโรกาสภิกษุทง้ั หลายพึงถือการอยูป าเปนวตั รตลอดชีวิต รูปใดอาศยั บานอยู รูปน้ันพงึตอ งโทษ ภกิ ษุท้งั หลายพึงถอื เที่ยวบณิ ฑบาตเปนวตั รตลอดชีวติ รปู ใดยินดีกิจนิมนต รปู น้ันพงึ ตองโทษ ภิกษทุ งั้ หลายพงึ ถอื ผา บังสกุ ุลเปน วัตรตลอดชวี ิตรูปใดยินดีคหบดจี วี ร รูปนั้นพึงตอ งโทษ ภกิ ษุทั้งหลายพึงถอื การอยโู คนไมเปนวัตรตลอดชวี ิต รูปใดเขาอาศัยที่มุงท่ีบงั รูปนน้ั พงึ ตองโทษ ภกิ ษทุ ้ังหลายไมพ ึงฉันปลาและเนือ้ ตลอดชีวติ รูปใดฉันปลาและเน้อื รปู น้ันพงึ ตอ งโทษ. พระผูม ีพระภาคเจา รบั สง่ั วา อยาเลย เทวทัต ภิกษุใดปรารถนาภิกษนุ ั้นจงถือการอยูปา เปน วตั ร รูปใดปรารถนา จงอยูใ นบา น รูปใดปราถนาจงถอื เท่ยี วบิณฑบาตเปนวตั ร รปู ใดปารถนา จงยินดีกจิ นิมนต รปู ใดปราร-ถนา จงถอื ผาบงั สกุ ุลเปนวตั ร รูปใดปรารถนา จงยินดีคหบดจี วี ร เราอนญุ าตโคนไมเปน เสนาสนะ ๘ เดอื น เราอนญุ าตปลาและเน้ือท่บี ริสุทธิ์โดยสว นสามไมไ ดเหน็ ไมไ ดยิน ไมร งั เกยี จ. ครง้ั นัน้ พระเทวทัตคิดวา พระผูมพี ระภาคเจาไมทรงอนุญาต วตั ถุ๕ ประการน้ี จึงราเริงดีใจพรอ มกบั บริษทั ลุกจากอาสนะ ถวายบงั คมพระผมู ีพระภาคเจา ทาํ ประทักษิณ แลวกลับไป. โฆษณาวตั ถุ ๕ ประการ [๓๘๕] ตอมา พระเทวทัตพรอมกบั บริษทั เขา ไปสกู รงุ ราชคฤหแ ลวประกาศใหประชาชนเขาใจวัตถุ ๕ ประการวา ทา นท้ังหลาย พวกอาตมาเขาไปเฝา พระสมณโคดมทลู ขอวตั ถุ ๕ ประการวา พระพุทธเจา ขา พระผมู ีพระ -ภาคเจา ตรสั คุณแหง ความเปน ผมู ักนอ ย. . . การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย พระพุทธเจา ขา วตั ถุ ๕ ประการน้ี ยอ มเปนไปเพ่อื ความเปน ผมู กั

พระวนิ ยั ปฎก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 303นอย. . . การปรารภความเพยี ร โดยอเนกปรยิ าย ขา พระพุทธเจา ขอประทานพระวโรกาส ภิกษทุ ้งั หลายพงึ ถอื อยูปาเปนวตั รตลอดชีวิต รปู ใดอาศัยบา นอยูรปู นัน้ พงึ ตองโทษ... ภิกษุทั้งหลายไมพ ึงฉนั ปลาและเนอ้ื ตลอดชีวิต รูปใดฉันปลาและเนอ้ื รปู น้นั พงึ ตองโทษ วตั ถุ ๕ ประการนี้ พระสมณโคดมไมทรงอนุญาต แตพ วกอาตมาสมาทานประพฤตติ ามวัตถุ ๕ ประการน้.ี [๓๘๖] บรรดาประชาชนเหลา น้ัน พวกทไี่ มมีศรทั ธา ไมเลือ่ มใสไรปญ ญากลาวอยา งน้ีวา พระสมณะเช้อื สายพระศากบตุ รเหลา นัน้ เปน ผูกาํ จดัมีความประพฤติขัดเกลา สวนพระสมณโคดมประพฤตมิ ักมาก ยอมคดิ เพอื่ ความมักมาก. สว นพวกท่มี ศี รัทธา เลื่อมใส เปน ผฉู ลาด มปี ญญา ยอ มเพงโทษตเิ ตยี น โพนทะนาวา ไฉนพระเทวทัตจึงไดพยายามเพ่อื ทําลายสงฆ เพื่อทําลายจกั รเลา ภิกษุทั้งหลายไดยินพวกนั้นเพง โทษ ติเตียน โพนทะนาอยู บรรดาทเ่ี ปน ผมู กั นอ ย. . . ตางกเ็ พงโทษ ติเตียน โพนทะนาวา ไฉนพระเทวทตัจึงไดพยายามเพ่อื ทําลายสงฆ เพ่อื ทาํ ลายจกั ร แลว กราบทลู เรอ่ื งนั้นแดพระ-ผมู พี ระภาคเจา . พระผมู พี ระภาคเจา . . . ทรงสอบถามวา ดูกอ นเทวทัต ขาววา เธอพยายามเพอ่ื ทาํ ลายสงฆ เพือ่ ทาํ ลายจักร จริงหรอื . พระเทวทัตทูลรบั วา จรงิ พระพทุ ธเจา ขา. พระผมู ีพระภาคเจา ตรสั วา อยา เลย เทวทตั เธออยา ชอบใจการทาํลายสงฆ เพราะการทําลายสงฆมโี ทษหนักนัก ผูใดทําลายสงฆผ พู รอ มเพรีองกนัยอ มประสบโทษต้ังกปั ยอ มไหมในนรกตลอดกัป สว นผูใดสมานสงฆผูแตกกันแลวใหพรอมเพรยี งกนั ยอมประสบบุญอนั ประเสรฐิ ยอ มบันเทงิ ในสวรรค

พระวินยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ที่ 304ตลอดกปั อยาเลย เทวทัต เธออยา ชอบใจการทําลายสงฆเ ลย เพราะการทําลายสงฆมีโทษหนักนัก. [๓๘๗] ครั้งนนั้ เปน เวลาเชา ทา นพระอานนทนงุ อนั ตรวาสก ถือบาตร จีวร เขาไปบณิ ฑบาตยงั กรงุ ราชคฤห พระเทวทัตไดพบทานพระ-อานนทกําลงั เทย่ี วบิณฑบาตในกรงุ ราชคฤห จึงเขา ไปหาทา นพระอานนทแลว ไดก ลาววา ทา นอานนท ตงั้ แตว นั น้ีเปน ตน ไป ผมจกั ทาํ อโุ บสถ จักทําสังฆกรรม แยกจากพระผูมพี ระภาคเจา แยกจากภิกษุสงฆ ครั้นทานพระอานนทเท่ยี วบณิ ฑบาตในกรงุ ราชคฤหแ ลว เวลาปจ ฉาภัตร กลับจากบิณฑบาตเขา เฝาพระผูมีพระภาคเจา ถวายบงั คม นั่ง ณ ท่ีควรสวนขา งหน่งึ เมอ่ื นั่งเรียบรอยแลว จงึ กราบทลู วา พระพุทธเจาขา เมือ่ เชา นี้ขา พระพทุ ธเจานงุ อันตรวาสกถือบาตร และจีวร เขาไปบณิ ฑบาตยังกรงุ ราชคฤห พระเทวทตั พบขาพระพุทธ-เจา กําลังเทยี่ วบณิ ฑบาตในกรุงราชคฤห แลว เขา มาหาขาพระพุทธเจา ครั้นแลวกลาววา ทา นอานนท ต้งั แตว ันนเี้ ปน ตนไป ผมจกั ทาํ อโุ บสถ จักทําสังฆกรรมแยกจากพระผมู ีพระภาคเจา แยกจากภกิ ษสุ งฆ วนั นพ้ี ระเทวทัตจกั ทาํ ลายสงฆพระพทุ ธเจาขา ลําดับน้นั พระผูมพี ระภาคเจาทรงทราบเรอื่ งนน้ั แลว ทรงเปลงอทุ านในเวลานั้น วาดงั น้ี :- [๓๘๘] ความดี คนดที าํ งาย ความดี คนชว่ั ทํายาก ความชวั่ คนชั่วทํางาย แต อารยชน ทาํ ความชัว่ ไดย าก. ทตุ ยิ ภาณวาร จบ

พระวินัยปฎ ก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 305 พระเทวทตั หาพรรคพวก [๓๘๙] ครัง้ นั้น ถงึ วันอโุ บสถ พระเทวทตั ลกุ จากอาสนะ ประกาศใหภกิ ษุท้ังหลายจบั สลากวา ทานทัง้ หลาย พวกเราเขา ไปเฝา พระสมณโคดมแลว ทลู ขอวัตถุ ๕ ประการวา พระพทุ ธเจาขา พระผมู ีพระภาคเจา ตรสั คณุแหงความเปนผูมักนอย . . . การปรารภความเพยี รโดยอเนกปรยิ าย วตั ถุ ๕ประการนี้ ยอ มเปนไปเพือ่ ความเปน ผมู กั นอย. . . การปรารภความเพียร โดยอเนกปรยิ าย ขาพระพุทธเจาขอประทานพระวโรกาส ภกิ ษทุ ง้ั หลายพงึ ถืออยูปาเปนวัตรตลอดชีวติ รูปใดอาศัยบา นอยู รปู น้นั พงึ ตอ งโทษ... ภกิ ษุทั้งหลายไมพงึ ฉนั ปลาและเนอ้ื ตลอดชวี ติ รูปใดพงึ ฉันปลาและเนอื้ รปู นน้ั พงึ ตอ งโทษวตั ถุ ๕ ประการนี้ พระสมณโคดมไมท รงอนญุ าต แตพวกเรานนั้ ยอมสมาทานประพฤตติ ามวัตถุ ๕ ประการน้ี วตั ถุ ๕ ประการนี้ ชอบแกทานผใู ด ทา นผนู น้ั จงจับสลาก. [๓๙๐] สมัยน้ัน พระวชั ชบี ุตรชาวเมืองเวสาลี ประมาณ ๕๐๐ รปูเปน พระบวชใหม และรพู ระธรรมวนิ ยั นอ ย พวกเธอจับสลากดว ยเขาใจวาน้ธี รรม นีว้ นิ ัย น้สี ัตถุศาสน ลําดับน้ัน พระเทวทตั ทาํ ลายสงฆแ ลว พาภิกษุประมาณ ๕๐๐ รูป หลกี ไปทางคยาสสี ปู ระเทศ. [๓๙๑] คร้ังนั้น พระสารีบตุ รพระโมคคัลลานะเขา ไปเฝา พระผมู -ีพระภาคเจาถวายบงั คมนง่ั ณ ที่ควรสว นขางหน่งึ เมื่อทานพระสารบี ตุ รน่งัเรียบรอยแลว ไดก ราบทลู วา พระพทุ ธเจาขา พระเทวทตั ทาํ ลายสงฆแลวพาภิกษุประมาณ ๕๐๐ รปู หลีกไปทางคยาสีสะประเทศ พระผูมีพระภาคเจา ตรัสวา ดกู อนสารีบตุ ร โมคคัลลานะ พวกเธอจกั มีความการญุ ในภกิ ษุใหมเหลา นัน้ มใิ ชหรือ พวกเธอจงรีบไป ภิกษุเหลา น้ันกาํ ลงั จะถึงความยอยยับ

พระวนิ ัยปฎก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 306 พระสารบี ุตร พระโมคคลั ลานะทูลรับสนองพระพุทธพจนแ ลว ลกุจากอาสนะถวายบังคมพระผมู ีพระภาคเจา ทาํ ประทักษณิ แลว เดินทางไปคยาสีสะประเทศ. เรือ่ งภิกษรุ ปู หนึ่ง [๓๙๒] สมัยนั้น ภิกษุรูปหนึ่งยนื รองไหอ ยูไมไ กลพระผมู ีพระภาค-เจา จึงพระผมู พี ระภาคเจา ตรสั ถามภิกษนุ น้ั วา ดูกอนภิกษุ เธอรองไหท ําไม ภิกษนุ ัน้ กราบทูลวา พระพุทธเจาขา พระสารบี ุตร พระโมคคัลลานะเปน อัครสาวกของพระผมู พี ระภาคเจา ไปในสาํ นักพระเทวทตั คงจะชอบใจธรรมของพระเทวทตั พระผูมีพระภาคเจาตรสั วา ดูกอนภกิ ษุ ขอทีส่ ารีบตุ รโมคคัลลานะจะพึงชอบใจธรรมของเทวทัต นั่นมใิ ชฐ านะ มใิ ชโอกาส แตเธอทัง้ สองไปเพือ่ ซอมความเขา ใจกะภกิ ษุ. พระอัครสาวกพาภกิ ษุ ๕๐๐ กลับ [๓๙๓] สมัยนั้น พระเทวทัตอันบรษิ ัทหมูใหญแ วดลอ ม แลว น่งัแสดงธรรมอยู เธอไดเห็นพระสารบี ุตร พระโมคคัลลานะ มาแตไกล จงึเตือนภิกษุทงั้ หลายวา ดูกอ นภิกษทุ ้ังหลาย เห็นไหม ธรรมเรากลาวดแี ลวพระสารีบุตรโมคคลั ลานะอัครสาวกของพระสมณโคดม พากนั มาสูสาํ นักเราตองชอบใจธรรมของเรา เมื่อพระเทวทตั กลาวอยางน้แี ลว พระโกกาลิกะ ไดกลาวกะพระเทวทัตวา ทา นเทวทตั ทานอยา ไวว างใจพระสารบี ุตรและพระ-โมคคัลลานะ เพราะเธอท้งั สองมคี วามปรารถนาลามก ลอุ ํานาจแกค วามปรารถนาลามก พระเทวทตั กลาววา อยา เลย คณุ ทานทง้ั สองมาดี เพราะชอบใจธรรมของเรา

พระวินยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 307 ลาํ ดับนั้น ทานพระเทวทัตนมิ นตท า นพระสารบี ุตรดว ยอาสนะกึ่งหนึ่งวา มาเถิด ทา นสารีบุตร นมิ นตนง่ั บนอาสนะนี้ ทา นพระสารบี ตุ รหามวาอยาเลยทาน แลวถืออาสนะแหงหน่งึ น่งั ณ ที่ควรสวนขางหน่ึง แมท า นพระ-มหาโมคคลั ลานะกถ็ อื อาสนะเเหง หนึ่งน่งั ณ ท่ีควรสว นขางหนึง่ ลําดบั นัน้พระเทวทัตแสดงธรรมกถาใหภิกษุทง้ั หลายเห็นแจง สมาทาน อาจหาญ รา เรงิหลายราตรี แลวเช้ือเชิญทานพระสารีบตุ รวา ทา นสารบี ตุ ร ภิกษุสงฆปราศจากถิน่ มิทธะแลว ธรรมกี ถาของภิกษุท้ังหลายจงแจมแจง กะทา น เราเมอ่ื ยหลังจกั เอน ทานพระสารีบตุ รรับคําพระเทวทตั แลว ลําดบั นน้ั พระเทวทตั ปผู าสังฆาฏิ ๔ ชั้น แลว จาํ วัตรโดยขา งเบอื้ งขวา เธอเหน็ดเหนื่อยหมดสติสมั ปชัญญะครเู ดียวเทาน้นั กห็ ลับไป. [๓๙๔] คร้ังนนั้ ทา นพระสารีบุตรกลา วสอน พราํ่ สอนภกิ ษทุ ั้งหลายดว ยธรรมกี ถาอนั เปนอนุศาสนเี จือดว ยอาเทสนาปฏหิ ารยิ  ทา นพระมหาโมคคัล-ลานะกลาวสอน พรํา่ สอน ภกิ ษุทั้งหลายดวยธรรมกี ถาอันเปน อนศุ าสนเี จือดว ยอิทธิปาฏหิ าริย ขณะเมอ่ื ภกิ ษุเหลา น้นั อนั ทา นพระสารบี ุตรกลาวสอนอยู พรํ่าสอนอยดู วยอนศุ าสนเี จือดว ยอาเทศนาปาฏหิ าริย และอันทานพระมหาโมค-คลั ลานะกลา วสอนอยู พรํา่ สอนอยู ดวยอนศุ าสนเี จือดว ยอิทธิปาฏิหาริย ดวงตาเหน็ ธรรมท่ีปราศจากธุลี ปราศจากมลทินไดเ กดิ ขน้ึ วา สง่ิ ใดสง่ิ หนึง่ มีความเกดิ ข้ึนเปน ธรรมดา สิ่งน้ันทั้งหมดมีความดับเปน ธรรมดา ทีน้ัน ทานพระ-สารีบุตรเรยี กภิกษทุ ัง้ หลายมาวา ทานทงั้ หลาย เราจกั ไปเฝาพระผมู ีพระภาคเจาผใู ดชอบใจธรรมของพระผูมีพระภาคเจานัน้ ผูนน้ั จงมา ครั้งน้ัน พระสารบี ุตร และพระโมคคัลลานะ พาภิกษุ ๕๐๐ รปู น้นัเขาไปทางพระเวฬุวัน

พระวินัยปฎก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ท่ี 308 ครง้ั นั้น พระโกกาลิกะปลุกพระเทวทัตใหลุกขนึ้ ดว ยคําวา ทา นเทวทัตลุกขน้ึ เถิด พระสารีบตุ ร พระโมคคลั ลานะพาภิกษเุ หลานั้นไปแลว เราบอกทานแลวมิใชห รือวา อยาไววางใจพระสารีบุตรพระโมคคลั ลานะ เพราะเธอท้งั สองมีความปรารถนาลามก ถึงอํานาจความปรารถนาลามก ครัง้ น้นั โลหิตรอนไดพ ุงออกจากปากพระเทวทัต ในที่นน้ั เอง. [๓๙๕] ครั้งนน้ั พระสารบี ุตรพระโมคคัลลานะเขาไปเฝา พระผูมี-พระภาคเจา ถวายบังคมนง่ั ณ ท่คี วรสวนขา งหนึง่ เมื่อทา นพระสารีบตุ รน่ังเรยี บรอ ยแลว ไดก ราบทลู พระผมู พี ระภาคเจาวา พระพทุ ธเจา ขา ขอประทานพระวโรกาส ภิกษทุ ้งั หลายผพู ระพฤติตามภกิ ษุผูทาํ ลาย พงึ อุปสมบทใหม พ. อยา เลย สารบี ุตร เธออยาพอใจการอปุ สมบทใหมของพวกภกิ ษุผพู ระพฤติตามภกิ ษุผูทาํ ลายเลย ดูกอ นสารบี ุตร ถาเชน นั้น เธอจงใหพ วกภกิ ษุผูป ระพฤติตามภิกษุผูทาํ ลายแสดงอาบตั ถิ ลุ ลัจจัย กเ็ ทวทตั ปฏิบัติแกเธออยางไร ส. พระพทุ ธเจา ขา พระผมู ีพระภาคเจาทรงแสดงธรรมกี ถาใหภ ิกษุท้งั หลายเห็นแจง สมาทาน อาจหาญ ราเรงิ ตลอดราตรีเปนอนั มาก แลวไดรบั สั่งกะขา พระพุทธเจาวา ดกู อนสารบี ตุ ร ภกิ ษุสงฆปราศจากถิ่นมทิ ธะแลวธรรมีกถาของภกิ ษุทัง้ หลายจงแจมแจงแกเธอ เราเมอ่ื ยหลัง ดังนี้ ฉนั ใดพระเทวทตั กไ็ ดป ฏบิ ตั ิฉนั นั้นเหมอื นกัน พระพทุ ธเจา ขา. [๓๙๖] ครัง้ น้ัน พระผมู ีพระภาคเจา รบั ส่งั กะภกิ ษุท้งั หลายวา ดกู อนภิกษุทงั้ หลาย เรื่องเคยมีมาแลว มสี ระใหญอยูใ นราวปา ชางทั้งหลายอาศัยสระนนั้ อยูและพวกมันพากันลงสระนั้น เอางวงถอนเหงาและรากบวั ลางใหส ะอาดจนไมม ตี มแลว เค้ยี วกลนื กินเหงา และรากบัวนนั้ เหงาและรากบวั นัน้ ยอ มบํารุงวรรณะและกาํ ลงั ของชา งเหลา น้ัน และชา งเหลา นั้นก็ไมเ ขา ถึงความตาย หรือความทุกขปางตายมขี อ นั่นเปน เหตุ ดกู อ นภกิ ษทุ งั้ หลาย สวนลกู ชา งตวั เล็ก ๆ

พระวินัยปฎ ก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 309เอาอยางชา งใหญเ หลา นน้ั และพากนั ลงสระนัน้ เอางวงถอนเหงาและรากบวัแลว ไมล า งใหสะอาดเคี้ยวกลนื กินทง้ั ที่มตี ม เหงาและรากบวั นน้ั ยอมไมบ ํารงุวรรณะและกาํ ลงั ของลูกชางเหลา น้นั และพวกม่ันยอ มเขาถึงความตาย หรอืความทุกขป างตาย มีขอน้ันเปนเหตุ ดูกอ นภกิ ษุท้งั หลาย เทวทัตเลยี นแบบเราจกั ตายอยา งคนกาํ พรา อยางนัน้ เหมอื นกนั . พระผมู ีพระภาคเจา ไดตรสั ประพันธคาถา วาดังนี้ :- [๓๙๗] เม่ือชางใหญคุมฝูง ขุดดนิ กนิ เหงา บัวอยูใ นสระใหญ ลกู ชา งกนิ เหงา บวั ทั้งทมี่ ตี มแลวตาย ฉนั ใด เทวทตั เลยี นแบบ เราแลว จกั ตายอยางคนกาํ พรา ฉันนน้ั . องคแหงทูต [๓๙๘] ดกู อนภิกษทุ ้งั หลาย ภกิ ษผุ ปู ระกอบดว ยองค ๘ ควรทําหนา ท่ที ตู องค ๘ เปนไฉน คอื ภกิ ษุในธรรมวินัยน้ี ๑. รบั ฟง ๒. ใหผ อู ่นื ฟง ๓. กําหนด ๔. ทรงจํา ๕. เขาใจความ ๖. ใหผ อู ่ืนเขา ใจความ ๗. ฉลาดตอประโยชนและมใิ ชประโยชน ๘. ไมกอ ความทะเลาะ ดูกอนภิกษุทัง้ หลาย ภิกษผุ ูประกอบดว ยองค ๘ นแี้ ล ควรทาํ หนา ที่ทตู .

พระวนิ ัยปฎก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ท่ี 310 [๓๙๙] ดกู อ นภิกษทุ ั้งหลาย สารีบตุ รผูป ระกอบดวยองค ๘ ควรทาํหนา ทท่ี ตู องค ๘ เปนไฉน คอื :- ๑. สารบี ตุ รเปนผรู บั ฟง ๒. ใหผ อู ่นื ฟง ๓. กาํ หนด ๔. ทรงจํา ๕. เขา ใจความ ๖. ใหผูอื่นเขาใจความ ๗. ฉลาดตอประโยชนและมใิ ชประโยชน ๘. ไมกอ ความทะเลาะ ดกู อนภกิ ษทุ ง้ั หลาย สารีบตุ รผปู ระกอบดวยองค ๘ นแี้ ล ควรทําหนา ทที่ ูต. พระผมู ีพระภาคเจาตรสั ประพนั ธคาถา วาดงั นี้ :- [๔๐๐] ภิกษใุ ด เขา ไปสบู รษิ ัททพี่ ดู คาํ หยาบกไ็ มส ะทกสะทา น ไมยังคาํ พูดให เสีย ไมปกปด ขาวสาสน พดู จนหมดความ สงสัย และถถู ถามกไ็ มโ กรธ ภกิ ษุผเู ชนนั้น แล ยอ มควรทาํ หนาที่ทตู . พระเทวทัตจักเกิดในอบาย [๔๐๑] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เทวทัตมจี ติ อันอสัทธรรม ๘ ประการครอบงํา ยํา่ ยแี ลว จักเกดิ ในอบาย ตกนรกชั่วกัปชว ยเหลือไมได อสัทธรรม๘ ประการ เปน ไฉน คอื

พระวินยั ปฎ ก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 311 ๑. เทวทตั มจี ิตอนั ลาภครอบงํา ยา่ํ ยีแลว จักเกดิ ในอบายตกนรกตงั้ อยตู ลอดกปั ชวยเหลอื ไมได ๒. เทวทัตมีจติ อันความเสอ่ื มลาภครอบงาํ ยาํ่ ยีแลว . . . ๓. เทวทัตมีจติ อนั ยศครอบงํา ย่ํายีแลว ... ๔. เทวทัตมจี ติ อนั ความเส่อื มยศครอบงาํ ย่ํายแี ลว .... ๕. เทวทตั มจี ิตอนั สักการะครอบงาํ ย่าํ ยแี ลว ... ๖. เทวทัตมจี ิตอันความเสอ่ื มสักการะครอบงํา ยาํ่ ยีแลว ... ๗. เทวทัตมีจิตอันความปรารถนาลามกครอบงํา ย่ํายแี ลว ... ๘. เทวทตั มีจติ อันความเปนมติ รช่ัวครอบงาํ ยาํ่ ยแี ลวจักเกดิ ในอบายตกนรก ตั้งอยตู ลอดกปั ชวยเหลอื ไมได. ดูกอ นภกิ ษทุ ้ังหลาย เทวทตั มีจิตอันอสัทธรรม ๘ ประการนีแ้ ลครอบงาํ ย่ํายแี ลว จักเกดิ ในอบาย ตกนรก ทัง่ อยตู ลอดกัป ชวยเหลอื ไมไ ด. ดลี ะ ภิกษทุ ั้งหลาย ภิกษุพึงครอบงาํ ย่าํ ยี ลาภทีเ่ กดิ ข้ึนแลว อยู ...ความเส่ือมลาภทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว อยู ...ยศท่เี กดิ ขึน้ แลวอยู ...ความเสือ่ มยศท่เี กิดขึน้ แลว อยู ...สกั การะทเี่ กดิ ขึน้ แลวอยู ...ความเสือ่ มสักการะท่เี กิดข้ึนแลว อยู ...ความปรารถนาลามกท่ีเกดิ ข้ึนแลว อยู ภิกษุพงึ ครอบงาํ ย่ํายี ความเปนมิตรลามกทีเกิดขึ้นแลวอยู ดูกอ นภิกษุทั้งหลาย กภ็ ิกษอุ าศัยอาํ นาจประโยชนอะไร จึงครอบงํา ย่าํ ยี ลาภที่เกิดขึน้ แลวอยู

พระวินัยปฎก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ท่ี 312 . . .ความเสื่อมลาภที่เกิดขน้ึ แลว อยู . . .ยศที่เกดิ ขน้ึ แลวอยู . . .ความเสอ่ื มยศทเ่ี กดิ ข้ึนแลว อยู . . .สักการะที่เกิดขึ้นแลว อยู . . .ความเส่ือมสักการะทเ่ี กิดขึน้ แลว อยู . . .ความปรารถนาลามกทเ่ี กดิ ขน้ึ แลวอยู ภกิ ษคุ รอบงํา ย่ํายี ความเปนมติ รลามกที่เกดิ ขึ้นแลวอยู ดูกอนภกิ ษุท้ังหลาย ก็เม่ือภิกษุน้ันไมค รอบงําลาภท่เี กิดขึ้นแลวอยู อาสวะท้งั หลายท่ีทาํ ความคับแคน และรมุ รอนพึงเกดิ ขน้ึ เม่ือครอบงํา ยํ่ายี ลาภทเ่ี กิดข้ึนแลวอยู อาสวะเหลานั้น ทท่ี าํ ความคับแคนและรมุ รอน ยอ มไมมีแกเ ธอ ดว ยอาการอยางน้ี. กเ็ มอ่ื เธอไมค รอบงําความเสือ่ มลาภที่เกิดข้นึ แลว อยู . . . . . . .ยศที่เกดิ ข้ึนแลวอยู .. . . . .ความเส่ือมยศทเ่ี กิดข้ึนแลวอยู . . . . . .สักการะทเี่ กิดขึ้นแลวอยู . . . . . .ความเส่อื มสักการะทีเ่ กดิ ข้ึนแลว อยู . . . . . .ความปรารถนาลามกทีเ่ กดิ ข้ึนแลว อยู . . . เมอื่ เธอไมค รอบงาํ ความมมี ิตรชว่ั ทีเ่ กดิ ขึ้นแลวอยู อาสนะท้ังหลายทที่ าํ ความคับแคนและรมุ รอน พงึ เกดิ ขึน้ . . . .ครอบงํา ยา่ํ ยี ความเสื่อมลาภท่ีเกดิ ขึ้นแลว อยู . . . . . .ครอบงาํ ยํ่ายี ความมีมิตรลามกที่เกดิ ขนึ้ แลว อยู อาสวะเหลานั้นทที่ ําความคบั แคน และรมุ รอน ยอมไมม แี กเธอ ดว ยอาการอยางน.ี้

พระวนิ ยั ปฎ ก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 313 ดกู อ นภิกษทุ ง้ั หลาย ภกิ ษุอาศัยอาํ นาจประโยชนนีแ้ ล พึงครอบงาํยํา่ ยี ลาภท่ีเกิดขน้ึ แลวอยู. . . .ความเสือ่ มลาภท่เี กิดข้นึ แลวอยู . . . . . .ยศทเ่ี กิดขึ้นแลวอยู . . . . . .ความเสอ่ื มยศทเ่ี กดิ ขนึ้ แลวอยู . . . . . .สักการะทเ่ี กิดขึน้ แลว อยู . . . . . .ความเสอ่ื มสกั การะทีเ่ กิดขึ้นแลว อยู . . . . . .ความปรารถนาลามกทเี่ กิดข้ึนแลว อย.ู . . พึงครอบงาํ ยา่ํ ยี ความมมี ติ รช่วั ทีเ่ กดิ ขน้ึ แลวอยู. เพราะเหตนุ นั้ แล ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอพงึ ศกึ ษาวา พวกเราจกัครอบงํา ย่ํายีลาภที่เกิดขนึ้ แลวอยู . . .ความเสื่อมลาภทีเ่ กิดข้ึนแลว อยู . . .ยศท่ีเกดิ ข้นึ แลว อยู . . .ความเส่ือมยศท่ีเกดิ ขนึ้ แลว อยู . . .สกั การะทเ่ี กดิ ข้นึ แลว อยู . . .ความเสอ่ื มสกั การะที่เกิดข้นึ แลว อยู .. . ความปรารถนาลามก เกิดข้นึ แลว อยู. พวกเราจกั ครอบงํา ย่าํ ยี ความมมี ติ รลามกทีเ่ กดิ ขนึ้ แลว อย.ู ดูกอนภกิ ษทุ งั้ หลาย พวกเธอพึงศึกษาอยางนีแ้ ล. [๔๐๒] ดกู อนภิกษุท้ังหลาย เทวทตั มีจิตอันอสทั ธรรม ๓ ประการครอบงํา ยา่ํ ยี จกั เกดิ ในอบาย ตกนรก ตัง้ อยูตลอดกปั ชว ยเหลือไมไ ดอสทั ธรรม ๓ ประการ เปน ไฉน คอื :-

พระวินยั ปฎ ก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ที่ 314 ๑. ความปรารถนาลามก ๒. ความมีมติ รชั่ว ๓. พอบรรลุคุณวิเศษเพียงคนั่ ตํ่า ก็เลกิ เสียในระหวา ง. ดูกอ นภกิ ษุทั้งหลาย เทวทัตมีจติ อันอสัทธรรม ๓ ประการน้ีแลครอบงาํ ยาํ่ ยี จกั เกดิ ในอบาย ตกนรก ตั้งอยตู ลอดกัป. ชว ยเหลือไมไ ด. นิคมคาถา [๔๐๓] ใคร ๆ จงอยา เกดิ เปนคน ปรารถนาลามกในโลก ทานทัง้ หลายจงรจู ัก เทวทัตนนั้ ตามเหตุแมน้ีวา มีคตเิ หมือนคติ ของคนปรารถนาลามก เทวทัตปรากฏวา เปนบณั ฑติ รกู นั วาเปนผูอบรมตนแลว เรา กไ็ ดท ราบวาเทวทัตตั้งอยดู จุ ผรู งุ เรือ่ งดว ยยศ เธอส่งั สมความประมาทเบยี ดเบียนตถาคต น้นั จึงตกนรกอเวจี มีประตูถงึ ๔ ประตู อันนากลัว ก็ผใู ดประทุษรายตอ ผไู ม ประทษุ ราย ผูไมทําบาปกรรม บาปยอ มถกู ตอ งเฉพาะผนู ้ัน ผมู จี ิตประทุษราย ไม เออื้ เฟอ ผใู ดต้งั ใจประทษุ รา ยมหาสมุทร ดวยยาพิษเปน หมอ ๆ ผนู น้ั ไมค วรประทษุ - รา ยดว ยยาพษิ น้ันเพราะมหาสมทุ รเปนสิง่ ที่ นา กลวั ฉันใด ผใู ดเบียดเบยี นตถาคตผูเสด็จ ไปดแี ลว มพี ระทัยสงบ ดว ยกลาวตเิ ตยี น

พระวินยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ที่ 315 การกลาวตเิ ตยี นในตถาคตนัน้ ฟงไมข้นึ ฉันน่นั เหมือนกัน ภกิ ษุผดู าํ เนินตามมรรคา ของพระพทุ ธเจา หรือสาวกของพระพุทธเจา พระองคใด พงึ ถึงความสนิ้ ทุกข บัณฑิต พงึ กระทาํ พระพทุ ธเจา หรอื สาวกของ พระพทุ ธเจา ผูเปนนั้นใหเ ปน มิตร และพงึ คบหาทาน. . สังฆราชี [๔๐๔] คร้ังนัน้ ทา นพระอบุ าลีเขา ไปเฝา พระผมู ีพระภาคเจาถวายบังคมแลวน่ัง ณ ทคี่ วรสว นขางหนง่ึ เม่ือทา นพระอุบาลีน่ังเรยี บรอยแลว ไดกราบทูลวา พระพุทธเจาขา พระองคตรสั วา สังฆราชี สงั ฆราชี ดงั นี้ดวยเหตุเพยี งเทาไรเปนสงั ฆราชี แตไมเ ปนสังฆเภท ดว ยเหตุเพยี งเทา ไรเปนท้ังสงั ฆราชี และสงั ฆเภท. พระผมู ีพระภาคเจาตรัสวา ดกู อ นอุบาลี ฝายหน่งึ มีภกิ ษุหนง่ึ รปูฝายหนึ่งมี ๒ รปู รูปท่ี ๔ ประกาศใหจบั สลากวา น้ธี รรม น้ีวนิ ยั นีส้ ัตถุศาสนทานทั้งหลายจงจบั สลากน้ี จงชอบใจสลากน้ี ดกู อนอบุ ายลี แมด วยเหตอุ ยางนี้เปน สังฆราชี แตไ มเ ปนสังฆเภท. ดกู อ นอบุ าลี ฝา ยหนึ่งมภี กิ ษุ ๒ รปู ฝา ยหนึ่งกม็ ี ๒ รปู รปู ท่ี ๕ประกาศใหจ ับสลากวา นธ้ี รรม นีว้ ินยั น้สี ตั ถุศาสน ทานทงั้ หลายจงจบั สลากน้ีจงชอบใจสลากนี้ ดูกอนอุบาลี แมด วยเหตอุ ยา งน้ีกเ็ ปนสงั ฆราชี แตไมเปนสังฆเภท.

พระวินัยปฎก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 316 ดกู อนอบุ าลี ฝายหน่ึงมีภิกษุ ๒ รปู ฝายหนึ่งมี ๓ รปู รูปท่ี ๖ประกาศใหจ ับสลากวา นธ้ี รรม น้วี นิ ยั นี้สตั ถศุ าสน ทานทงั้ หลายจงจับสลากน้ีจงชอบใจสลากน้ี ดกู อนอนุ าลี แมด วยเหตอุ ยา งนก้ี เ็ ปนสงั ฆราชี แตไ มเปนสงั ฆเภท. ดูกอ นอบาลี ฝา ยหนึง่ มีภกิ ษุ ๓ รูป ฝา ยหน่งึ กม็ ี ๓ รูป รปู ท่ี ๗ประกาศใหจบั สลากวา น้ธี รรม นี้วินัย น้ีสตั ถศุ าสน ทา นท้ังหลายจงจับสลากนี้ จงชอบใจสลากนี้ ดูกอนอบุ าลี แมด ว ยเหตอุ ยา งนี้ ก็เปนสงั ฆราชีแตไ มเปน สงั ฆเภท. ดูกอ นอบุ าลี ฝายหน่ึงมภี กิ ษุ ๓ รูป ฝา ยหนงึ่ มี ๔ รูป รปู ท่ี ๘ประกาศใหจ ับสลากวา นธี้ รรม นว้ี ินัย นีส้ ตั ถุศาสน ทานทัง้ หลายจงจบัสลากน้ี จงชอบใจสลากน้ี ดกู อ นอบุ าลี แมดว ยเหตุอยา งนี้ ก็เปนสังฆราชีแตไมเปน สงั ฆเภท. ดูกอนอบุ าลี ฝายหนงึ่ มภี ิกษุ ๔ รูป ฝายหนง่ึ มี ๔ รูป รูปท่ี ๙ประกาศใหจบั สลากวา น้ธี รรม น้วี ินัย น้ีสตั ถุศาสน ทา นทั้งหลายจงจบัสลากนี้ จงชอบใจสลากนี้ ดูกอ นอบุ าลี แมด ว ยเหตอุ ยา งนี้แล เปน ท้งั สังฆราชีและสังฆเภท. ดูกอนอบุ าลี ภิกษุ ๙ รูป หรอื เกนิ กวา ๙ รปู เปนท้ังสังฆราชีและสงั ฆเภท. ดกู อ นอบุ าลี ภกิ ษณุ ีทาํ ลายสงฆย อมไมไ ด แตพยายามเพอ่ื จะทําลายได สิกขมานา ก็ทาํ ลายสงฆไ มไ ด. สามเณรกท็ าํ ลายสงฆไมไ ด. สามเณรีก็ทาํ ลายสงฆไ มไ ด.

พระวินัยปฎ ก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ท่ี 317 อบุ าสกกท็ ําลายสงฆไมได . อบุ าสกิ าก็ทําลายสงฆไ มได แตพ ยายามเพื่อจะทาํ ลายได. ดกู อ นอุบาลี ภิกษปุ กตตั ตะ มสี งั วาสเสมอกนั อยูใ นสมี าเดียวกนัยอ มทาํ ลายสงฆไ ด. สังฆเภท [๔๐๕] ทา นพระอุบาลีทูลถามวา พระพทุ ธเจาขา พระองคตรัสวาสงั ฆเภท สังฆเภท ดังนี้ ดวยเหตเุ พียงเทาไร สงฆจ ึงแตก. พระผมู ีพระภาคเจา ตรัสวา ดกู อ นอุบาลี ภิกษทุ ั้งหลายในธรรมวินัยน้ี ๑. ยอมแสดงอธรรมวา เปน ธรรม ๒. ยอ มแสดงธรรมวา เปน อธรรม ๓. ยอ มแสดงส่งิ ไมเปน วินัยวา เปนวินัย ๔. ยอมแสดงวนิ ัยวา ไมเปน วินัย ๕. ยอ มแสดงคาํ อนั ตถาคตมิไดต รัสภาษติ ไวว า เปนคําอนั ตถาคตตรัสภาษติ ไว ๖. ยอมแสดงคาํ อันตถาคตตรสั ภาษิตไววา เปนคําอนั ตถาคตมไิ ดตรัสภาษติ ไว ๗. ยอมแสดงกรรมอนั ตถาคตมไิ ดประพฤตมิ าวา เปนกรรมอนั ตถาคตประพฤตมิ า ๘. ยอ มแสดงกรรมอนั ตถาคตประพฤติมาวา เปน กรรมอนั ตถาคตมิไดประพฤตมิ า ๙. ยอ มแสดงสิง่ ท่ตี ถาคตมิไดบ ญั ญัติไววา เปน ส่ิงทต่ี ถาคตบัญญัตไิ ว ๑๐. ยอมแสดงสง่ิ ท่ีตถาคตบญั ญตั ไิ ววา เปนส่งิ ทีต่ ถาคตมิไดบ ัญญตั ิไว ๑๑. ยอมแสดงอนาบตั ิวา เปนอาบตั ิ


































































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook