Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_09

tripitaka_09

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:38

Description: tripitaka_09

Search

Read the Text Version

พระวินยั ปฎก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ที่ 72แหงสกลุ เพื่อกลุ ทาสี ภกิ ษพุ วกนัน้ ฉันอาหารในภาชนะเดยี วกันบาง ดื่มนาํ้ในขนั เดียวกันบา ง นงั่ บนอาสนะเดยี วกนั บา ง นอนบนเตยี งเดยี วกันบา ง นอนรว มเครือ่ งลาดเดียวกนั บาง นอนคลมุ ผาหมผนื เดียวกนั บา ง นอนรว มเครือ่ งลาดและคลุมผาหมรว มกันบา ง กับกุลสตรี กุลธิดา กุมารแี หง สกลุ สะใภแ หงสกุล กลุ ทาสี ฉนั อาหารในเวลาวิกาลบาง ดม่ื นา้ํ เมาบา ง ทัดทรงดอกไมข องหอมและเคร่อื งลบู ไลบ าง ฟอ นราํ บาง ขับรอ งบาง ประโคมบา ง เตนรําบางฟอนรํากับหญงิ ฟอนราํ บา ง ขับรองกบั หญงิ ฟอ นราํ บา ง ประโคมกับหญงิ ฟอนราํ บาง เตน ราํ กับหญงิ ฟอ นราํ บาง . . . ฟอนราํ กบั หญิงเตนราํ บา ง ขับรอ งกบัหญงิ เตนราํ บา ง ประโคมกับหญิงเตนรําบาง เตนราํ กบั หญงิ เตน รําบาง เลนหมากรกุ แถวละแปดตาบาง แถวละสบิ ตาบา ง เลนหมากเกบ็ บา ง เลน ชงิ นางบางเลนหมากไหวบา ง เลนโยนหวงบา ง เลน ไมห ง่ึ บาง เลนฟาดใหเ ปนรปู ตาง ๆบาง เลน สกาบา ง เลนเปา ใบไมบ า ง เลนไถนอย ๆ บาง เลน หกคะเมนบา งเลนไมกังหันบาง เลน ตวงทรายดว ยใบไมบา ง เลน รถนอ ย ๆ บาง เลนธนูนอยบาง เลนเขยี นทายบา ง เลน ทายใจบา ง เลนเลียนคนพกิ ารบาง หดั ขชี่ า งบา งหัดข่ีมา บาง หดั ขีร่ ถบา ง หัดยงิ ธนูบาง หัดเพลงอาวุธบาง วงิ่ ผลัดชางบางวงิ่ ผลัดมาบาง วงิ่ ผลัดรถบา ง ว่งิ ขบั กนั บาง ว่ิงเปย วกันบาง ผวิ ปากบา งปรบมือบาง ปลํ้ากันบาง ชกมวยกันบาง ปูลาดผาสงั ฆาฏิ ณ กลางสถานที่เตน รํา แลวพูดกบั หญิง ฟอนราํ อยา งน้ีวา นองหญงิ เธอจงฟอ นรํา ณ ท่นี ้ีดังนี้บาง ใหก ารคาํ นับบาง ประพฤติอนาจารมีอยางตาง ๆ บาง ภิกษทุ งั้ หลายกราบทูลเรอื่ งนั้นแดพ ระผูม ีพระภาคเจา. พระผูม พี ระภาคเจา ตรัสวา ดกู อ นภกิ ษทุ งั้ หลาย ภิกษุไมพ ึงประพฤติอนาจารมอี ยา งตาง ๆ รูปใดประพฤติ พงึ ปรบั อาบตั ิตามธรรม.

พระวินัยปฎก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ที่ 73 พุทธานุณาตเครอ่ื งโลหะเปนตน [๑๙๖] สมัยตอ มา เมื่อทานพระอุรุเวลกัสสปบวชแลว เครอ่ื งโลหะเคร่ืองไม เคร่อื งดิน บงั เกิดแกสงฆเปน อันมาก ครั้งนน้ั ภกิ ษุทงั้ หลายคดิวา เครื่องโลหะชนดิ ไหน พระผมู ีพระภาคเจา ทรงอนญุ าต ชนิดไหนไมท รงอนุญาต เคร่ืองไมช นิดไหน ทรงอนญุ าต ชนิดไหนไมท รงอนุญาต เคร่ืองดนิ ชนดิ ไหน ทรงอนุญาต ชนิดไหน ไมท รงอนญุ าต จงึ กราบทลู เร่ืองน้ันแดพระผูมพี ระภาคเจา ลาํ ดับน้ัน พระผูมีพระภาคเจาทรงทําธรรมีกถาในเพราะเหตุเปน เคา -มลู นน้ั ในเพราะ.เหตุแรกเกดิ นน้ั แลวรับสัง่ กะภกิ ษุทัง้ หลายวา ดกู อนภิกษุทง้ั หลาย เราอนุญาตเครือ่ งโลหะทุกชนิด เวน เครือ่ งประหาร อนญุ าตเคร่อื งไมท กุ ชนิด เวนเกาอี้นอนมีแคร บัลลงั ก บาตรไมแ ละเขียงไม อนญุ าตเครอ่ื งดินทกุ ชนดิ เวนเครอื่ งเช็ดเทา และกฎุ ที ่ที ําดว ยดนิ เผา. ขุททกวตั ถขุ นั ธกะท่ี ๕ จบ หวั ขอ ประจําธกะ [๑๙๗] ๑. เร่ืองขดั สีกายทตี่ นไม ๒. ขัดสีกายที่เสา ๓. ขดั สกี ายทีฝ่ า๔. อาบน้ําในท่ีไมค วร ๕. อาบนํา้ ขัดสีกายดว ยมือทาํ ดว ยไม ๖. ขัดสกี ายดว ยจุณหินสีดงั พลอยแดง ๗. ผลัดกันถตู วั ๘. อาบนาํ้ ถูดว ยไมบังเวียน ๙. ภกิ ษุเปน หดิ ๑๐. ภกิ ษชุ รา ๑๑. ถูหลงั ดวยฝามือ ๑๒. เคร่ืองตมุ หู ๑๓. สังวาล๑๔. สรอยคอ ๑๕. เครื่องประดับเอว ๑๖. ทรงวลัย ๑๗. ทรงสรอ ยตาบ๑๘. ทรงเครือ่ งประดบั ขอ มือ ๑๙. ทรงแหวนประคับน้ิวมอื ๒ . ไวผมยาว๒๑. เสยผมดวยแปรง ๒๒ . เสยผมดวยมอื ๒๓. เสยผมดว ยนาํ้ มนั ผสมขี้ผ้งึ

พระวนิ ัยปฎ ก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ท่ี 74๒๔. เสยผมดว ยน้ํามันผสมนํ้า ๒๑. สอ งเงาหนา ในแวน ในขนั น้ํา ๒๖. แผลเปน ทห่ี นา ๒๗. ผัดหนา ๒๘. ทาหนา ถูหนา ผัดหนา เจมิ หนา ยอ มตวัยอ มหนา ยอมท้งั หนา ท้ังตัว ๒๙. โรคนัยนต า ๓๐. มหรสพ ๓๑. สวดเสยี งยาว ๓๒. สวดสรภัญญะ ๓๓. หมผาขนสัตว มขี นชา งนอก ๓๘. มะมว งท้งัผล ๓๕. ชนิ้ มะมวง ๓๖. มะมวงลว น ๓๗. เรอ่ื งงู ๓๘. ตัดองคก าํ เนิด๓๙. บาตรไมจ นั ทน ๔๐. เรอ่ื งบาตรตาง ๆ ๔๑. บังเวียนรองบาตร ๔๒บังเวยี นทองรองบาตร หนาไป ทรงอนุญาตใหก ลงึ ๔๓. บังเวียนรองบาตรวิจติ ร ๔๔. บาตรเหม็นอบั ๔๕. บาตรมกี ลน่ิ เหม็น ๔๖. วางบาตรไวในทีรอ น ๔๗. บาตรกลิ้งตกแตก ๔๘. เก็บบาตรไวท กี่ ระดานเลยี บ ๔๙. เกบ็บาตรไวร มิ กระดานเลยี บนอกฝา ๕๐. หญารองบาตร ๕๑. ทอ นผา รองบาตร๕๒. แทนเกบ็ บาตร หมอ เกบ็ บาตร ๕๓. ถงุ บาตรและสายโยกเปน ดา ยถัก๕๔. แขวนบาตรไว ท่ไี มเดอื ย ๕๕. เกบ็ บาตรไวบนเตียง ๕๖. เกบ็ บาตรไวบนตง่ั วางบาตรไวบนคัก ๕๘. เก็บบาตรไวบ นกลด ๕๙. ถอื บาตรอยผู ลกัประตเู ขาไป ๖๐. ใชก ะโหลกนํ้าเทาแทนบาตร ๖๑. ใชก ระเบอื้ งหมอแทนบาตร ๖๒. ใชกะโหลกผีแทนบาตร ๖๓. ใชบ าตรตางกระโถน ๖๔. ใชม ดีตัดจวี ร ๖๕. เรือ่ งใชมีดดา ม ๖๖. ใชด ามมดี ทาํ ดว ยทอง ๖๗. ใชช้นั ไกและไมกลดั เย็บจีวร กลอ งเข็ม แปงขา วหมาก ฝนุ หิน ข้ีผ้ึง ผามัดขีผ้ ึง้ ๖๘. จวี รเสยี มุม ผกู สะดงึ ขงึ สะดงึ ในทไี่ มเ สมอ ขงึ สะดึงทพ่ี ืน้ ดิน ขอบสะดงึ ชํารดุและไมพ อ ทําเครอ่ื งหมายและตบี รรทดั ๖๙. ไมลางเทา เหยียบสะดงึ ๗๐.เทา เปยกเหยยี บสะดงึ ๗๑. สวมรองเทา เหยยี บสะดึง ๗๒. ใชนิว้ มือรบั เขม็๗๓. ปลอกน้วิ มือ ๗๔. กลองสําหรบั เก็บเคร่อื งเย็บผา และสายโยก เปน ดายถกั๗๕. เยบ็ จีวรในที่แจง โรงโมส ะดงึ ตาํ่ ถมพ้ืนใหส งู ขนึ้ ลงลําบาก ๗๖. ผง

พระวนิ ยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ท่ี 75หญาท่มี งุ ตกเกลอ่ื น พระวินายกทรงอนญุ าตใหร ื้อลงฉาบดวยดนิ ทัง้ ขา งใน ทําใหม สี ขี าว สดี ํา สเี หลือง จาํ หลกั เปนพวงดอกไม เครอื ไม ฟนมังกร ดอก-จอกหา กลีบ ราวจวี ร สายระเดียงจวี ร ๗๗. ท้ิงไมสะดงึ แลวหลกี ไป ไมสะดึงหักเสียหาย คล่อี อก ๗๘. เก็บสะดึงไวท่ีฝากุฏิ ๗๙. ใชบ าตรบรรจุเข็ม มดีเครอ่ื งยาเดนิ ทาง ถงุ เกบ็ เครื่องยา สายโยกเปน ดา ยถกั ๘๐. ใชผา กายพันธผกู รองเทา ถุงเก็บรองเทา สายโยกเปน ดา ยถกั ๘๑. นาํ้ ในระหวา งทางเปนอกัปปยะ ผากรองนา้ํ กระบอกกรองนา้ํ ๘๒. ภิกษสุ องรูปเดนิ ทางไปเมอื ง-เวสาลี ๘๓. พระมหามนุ ีทรงอนุญาตผากรองนํ้ามขี อบและผาลาดลงบนน้ํา๘๔. ยงุ รบกวน ๘๕. อาหารประณีต เกิดโรคมาก หมอชีวกทลู ขออนญุ าตสรา งที่จงกรมและเรือนไฟ ๘๖. ทีจ่ งกรมขรขุ ระ ๘๗. พืน้ ทจี่ งกรมตาํ่ ทรงอนญุ าตใหกอกรุดินทถ่ี ม ๓ ชนดิ ขนึ้ ลงลําบาก ทรงอนุญาตบันไดและราวสําหรบั ยดึ ๘๘. ทรงอนญุ าตรัว้ รอบท่ีจงกรม ๘๙. จงกรมในทแ่ี จง ผงหญาหลนเกล่อื น ทรงอนุญาตใหรื้อลงฉาบดวยดินทาํ ใหม ี สีขาว สีดาํ สเี หลืองจาํ หลักเปน พวงดอกไม เครือไม ฟน มังกร ดอกจอกหา กลีบ ราวจีวร สาย-ระเดยี งจวี ร ๙๐. ทรงอนญุ าตใหถ มเรอื นไฟใหสงู กัน้ กรุ บันได ราวบันไดบานประตู กรอบเชด็ หนา ครกรองเดือยประตูหว งขางบน สายยู ไมห วั ลงิกลอน ล่ิม ชอ งดาล ชอ งชักเชอื ก เชอื กชกั กอ ฝาเรือนไฟใหต ํ่า และปลองควนั ๙๑. เรือนไฟต้งั อยกู ลาง ทรงอนุญาตดนิ ทาหนา รางละลายดินดนิ มีกล่ินเหมน็ ๙๒. ไฟลนกาย ทรงอนุญาตท่ขี งั นํา้ ขันทักนา้ํ เรือนไฟไหมเกรยี ม พื้นทีเ่ ปน ตม ทรงอนญุ าตใหล าง ทาํ ทอ ระบายนา้ํ ๙๓. ต่ังรองนัง่ ในเรอื นไฟ ๙๔. ทาํ ซมุ ๙๕. ทรงอนญุ าตโรยกรวดแร วางศลิ าเลียบทอระบายน้ํา ๙๖. เปลอื ยกายไหวกนั . ๙๗. วางจีวรไวบนพน้ื ดนิ ฝนตกเปย ก

พระวนิ ยั ปฎ ก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ที่ 76๙๘. ทรงอนุญาตเครื่องกาํ บงั ๓ ชนดิ ๙๙. บอนํา้ ๑๐๐. ใชผา กายพันธแ ละเถาวลั ยผูกภาชนะตักน้ํา ทรงอนญุ าตคนั โพง ระหัดชัก ระหัดถีบ ภาชนะตักน้าํ แตก ทรงอนญุ าตถงั นา้ํ ทําดวยโลหะไมแ ละทอ นหนัง ๑๐๑. ทรงอนุญาตศาลาใกลบ อนํา้ ๑๐๒. ทรงอนุญาตฝาปด บอ กน ผงหญา ๑๐๓. ทรงอนุญาตรางไม ๑๐๔. ทรงอนุญาตทอ ระบายนํา้ และกาํ แพงก้ัน นํ้าขงั ล่ืน ทรงอนุญาตทอระบายน้ํา ๑๐๕. เนื้อตัวตกหนาว ทรงอนญุ าตผา ชบุ น้ํา ๑๐๖. ทรงอนญุ าตสระนํา้ นํา้ ในสระเกา ทรงอนุญาตใหทําทอ ระบายน้าํ ๑๐๗. ทรงอนญุ าตเรือนไฟมปี น ลม ๑๐๘. ไมอยูปราศจากผานสิ ที นะ ๔ เดอื น ๑๐๙. นอนบนท่ีนอนอันเดยี รดาษดว ยดอกไม ๑๑๐. ไมร บั ประเคนดอกไมข องหอม ๑๑๑. ไมตอ งอธษิ ฐานสันถตั ขนเจียมหลอ ๑๑๒. ฉนั จังหนั บนเตยี บ ๑๑๓. ทรงอนญุ าตโตก ๑๑๔. ฉันจงั หนั และนอนรว มกนั ๑๑๕. เจาวฑั ฒลิจฉวี ๑๑๖. โพธิ-ราชกมุ าร พระพุทธเจาไมท รงเหยียบผา ๑๑๗. หมอ น้าํ ปุม ไมสาํ หรับเช็ดเทาและไมก วาด ๑๑๘. ทรงอนญุ าตที่เชด็ เทาทําดวยหิน กรวดกระเบ้ือง หนิฟองนํ้า ๑๑๙. ทรงอนญุ าตพดั โบก พดั ใบตาล ๑๒๐. ไมป ดยงุ แสจ ามรี๑๒๑. ทรงอนุญาตรม ๑๒๒. ไมม รี มไมสบาย ๑๒๓. ทรงอนญุ าตรม ในวัดรวม ๓ เรือ่ ง ๑๒๔. วางบาตรไวในสาแหรก ๑๒๕. สมมตสิ าแหรก สมมติไมเทา และสาแหรก ๑๒๖. โรคเรอ ๑๒๗. เมลด็ ขา วเกลือ่ น ๑๒๘. ไวเ ลบ็ ยาว๑๒๙. ตดั เล็บ นวิ้ มอื เจบ็ ตดั เลบ็ จนถึงเลือด ทรงอนุญาตใหต ดั พอดเี นอ้ื๑๓๐. ขัดเลบ็ ทั้ง ๒๐ นวิ้ ๑๓๑. ไวผมยาว ทรงอนุญาตมีดโกน หนิ ลับมดี โกนปลอกมีดโกน ผาพันมีดโกน เครือ่ งมือโกนผมทุกอยา ง ๑๓๒. ตดั หนวดไวหนวด ไวเ ครา ไวหนวดสเ่ี หลี่ยม ขมวดกลุม ขนหนาอก ไวกลุมขนทองไวหนวดเปน เขีย้ วโงง โกนขนในทีแ่ คบ ๑๓๓. อาพาธโกนขนในที่แคบได

พระวนิ ัยปฎ ก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 77๑๓๔. ตดั ผมดวยกรรไกร ๑๓๕. ศีรษะเปนแผล ๑๓๖. ไวขนจมูกยาว๑๓๗. ถอนขนจมกู ดวยกอ นกรวด ๑๓๘. เรื่องถอนผมหงอก ๑๓๙. เร่ืองมลูหจู ุกชอ งหู ๑๔๐. ใชไ มแคะหู ๑๔๑. เรื่องส่งั สมเครอื่ งโลหะกับไมปา ยยาตา๑๔๒. น่งั รัดเขา ๑๔๓. ผา รัดเขา ดายพนั ๑๔๔. ผา รดั ประคด ๑๔๕. ภกิ ษุใชร ดั ประคดเปนเชือกหลายเสน ประคดถกั เปนศีรษะงนู ํ้า ประคดกลมคลายเกลยี วเชอื ก ประคดคลา ยสังวาล ทรงอนุญาตรัดประคดแผน ผา และรัดประคดกลม ชายผารัดประคดเกา ทรงอนญุ าตใหเย็บทบ ถกั เปนหว ง ทส่ี ุดหวงรัดประคดเกา ทรงอนญุ าตลกู ถวิน ๑๔๖. ทรงอนุญาตลูกดุม และรังดมุ๑๔๗. ทาํ ลูกดุมตาง ๆ ๑๔๘. ติดแผน ผา รองลกู ดมุ และรังดมุ ๑๔๙. นุง ผาอยางคฤหสั ถ คือ นุงหอยชายเหมือนงวงชา ง นงุ ปลอยชายคลา ยหางปลา นุงปลอยชายเปนสแี่ ฉก นงุ หอยชายคลายกา นตาล นุงยกกลบี ตง้ั รอ ย ๑๕๐. หมผาอยางคฤหสั ถ ๑๕๑. นงุ ผาเหน็บชายกระเบน ๑๕๒. หาบของสองขา ง ๑๕๓.ไมช าํ ระฟน ๑๕๔. ไมชําระฟนตสี ามเณร ๑๕๕. ไมช ําระฟนติดคอ ๑๕๖.จุดไฟเผากองหญา ๑๕๗. จดุ ไฟรบั ๑๕๘. ขน้ึ ตน ไม ๑๕๙. หนชี า ง ๑๖๐.ภาษาสนั สกฤต ๑๖๑. เรียนโลกายตศาสตร ๑๖๒. สอนโลกายตศาสตร ๑๖๓.เรียนดิรัจฉานวิชา ๑๖๔. สอนดริ ัจฉานวิชา ๑๖๕. ทรงจาม ๑๖๖. เรอ่ื งมงคล๑๖๗. ฉันกระเทยี ม ๑๖๘. อาพาธเปนลม ฉันกระเทยี มได ๑๖๙. อารามสกปรกมกี ลน่ิ เหม็น น่ังปส สาวะลําบาก ทรงอนญุ าตเขียงรองเทา ถา ยปส สาวะภกิ ษุทงั้ หลายละอาย หมอ ปสสาวะไมมีฝาปด มีกล่ินเหมน็ ถายอุจาระลงในทนี่ ั้น ๆ มีกลนิ่ เหมน็ หลุมถายอุจจาระพัง ทรงอนญุ าตใหถ มขอบปากใหสงูและใหกอ กรุ บนั ได ราวสาํ หรับยดึ นัง่ รมิ ๆ ถา ยอุจจาระ นัง่ ริม ๆ ถา ยอจุ จาระลาํ บาก ทรงอนุญาตเขยี งรองเทา ถา ยอุจจาระ ถา ยปส สาวะออกไปขา ง

พระวินยั ปฎ ก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ที่ 78นอก ทรงอนญุ าตรางรองปสสาวะ ไมช าํ ระ ตะกรารองรบั ไมชําระ หลมุวัจจกุฎีไมไดป ด ทรงอนญุ าตฝาปด ๑๗๐. วจั จกฎุ ี บานประตู กรอบเช็ดหนาครกรบั เดือยบานประตู หวงขางบน สายยู ไมห วั ลิง กลอน ลม่ิ ชองดาลชองเชือกชกั เชอื กชกั ผงหญาตกลงเกล่อื น ทรงอนญุ าตใหร ้อื ลงฉาบดวยดนิทง้ั ขา งบนขางลา ง ทาํ ใหม สี ขี าว สดี ํา สีเหลอื ง จําหลักเปนพวงดอกไมเครอื ไม ฟน มงั กร ดอกจอกหา กลบี ราวจีวร สายระเดยี ง ๑๗๑. ภิกษชุ ราทุพพลภาพ ๑๗๒. ทรงอนุใหลอมเครื่องลอม ๑๗๓. ทรงอนุญาตซุมประตูวจั จกุฎี โรยกรวดแร วางศลิ าเลียบ น้ําขัง ทรงอนญุ าต ทอระบายนาํ้ หมอนา้ํ ชําระ ขนั ตักนา้ํ ชาํ ระ นงั่ ชาํ ระลําบาก ละอาย ทรงอนุญาตฝาปด ๑๗๔.พระฉพั พคั คยี ประพฤตอิ นาจาร ๑๗๕. ทรงอนุญาตเครอ่ื งโลหะ เวน เคร่อื งประหาร พระมหามนุ ีทรงอนญุ าตเคร่อื งไมทั้งปวง เวน เกาอน้ี อนมีแคร บัลลังกบาตรไมแ ละเขียงไม พระตถาคตผทู รงอนุเคราะห ทรงอนญุ าตเครื่องดนิ แมทั้งมวล เวน เครอื่ งเชด็ เทา และกฎุ ีทที่ าํ ดวยดนิ เผา. นเิ ทศแหงวตั ถใุ ด ถาเหมือนกับขา งตน นักวินัยพงึ ทราบวตั ถุน้ันวาทานยอไวใ นอทุ าน โดยนัย. เรื่องในขุททกวทั ถขุ นั ธกะ ที่แสดงมานม้ี ี ๑๑๐ เร่อื ง พระวนิ ัยธรผูศึกษาดีแลว มีจติ เกือ้ กูล มีศีลเปน ทรี่ ักดวยดี มปี ญ ญาสองสวา งดังดวงประทปี เปนพหูสตู ควรบชู า จะเปนผดู าํ รงพระสัทธรรม และอนเุ คราะหแกเหลาสพรหมจารีผูม ศี ลี เปนที่รกั . หัวขอประจาํ ขันธกะ จบ

พระวินยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 79 ขุททกวตั ถุขันธกวรรณนา [วา ดว ยการอาบนํา้ ] วินจิ ฉัยในขุททกวัตถุขนั ธกะ พึงทราบดังน้ี:- บทวา มลฺลมฏุ  กิ า ไดแ ก นักมวยผชู กกันดว ยหมดั . บทวา คามปูฏวา ไดแ ก ชนชาวเมอื งผูประกอบเนอื ง ๆ ซง่ึ การประดบั ยอมผวิ , ปาฐะวา คามโปตกา ก็มี เน้อื ความเหมอื นกนั . บทวา ถมฺเภ ไดแก เสาทเ่ี ขาปก ไวท ีท่ าเปนที่อาบนํา้ บทวา กฑุ เฺ ฑ ไดแก บรรดาฝาอิฐฝาศิลาและฝาไม ฝาชนดิ ใดชนดิ หนึ่ง. ชนทงั้ หลายถากตน ไมใหเ ปนเหมือนแผน กระดานแลว ตดั ใหเ ปนรอยโดยอาการอยา งกระดานหมากรุก แลวปก ไวท ท่ี าเปน ทอ่ี าบ, ทา เชนนชี้ อื่อฏั ฐานะ ในคาํ วา ภกิ ษฉุ พั พัคคีย ยอ มอาบที่ทาอนั เปนอฏั ฐานะ ชนทัง้ หลายเรี่ยรายจณุ แลวสีกายทท่ี า น้นั . บทวา คนฺธพฺพหตฺถเกน มีความวา ภกิ ษุฉัพพคั คยี  ยอ มอาบดวยมอื ทีทําดวยไม ทเี่ ขาตั้งไวท ท่ี า เปนทอี่ าบ, ไดยนิ วา ชนทั้งหลายเอามือไมนนั้ ถือจุณถูตวั . บทวา กุรุวินฺทกสุตตฺ ยิ า ทานเรียกกาํ กลม ๆ ทชี่ นท้งั หลายขยําเคลาจุณแหงศลิ ามสี ีดังพลอยแดง ดว ยครง่ั ทําไว. ชนท้ังหลายจบั กาํ กลม ๆ นัน้ทีป่ ลาย ๒ ขา งแลว ถตู ัว.

พระวนิ ัยปฎก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 80 ขอ วา วคิ คยหฺ ปรกิ มฺม การาเปนติ มคี วามวา ภกิ ษุฉพั พคั คียเอาตวั กับตัวสเี ขากะกนั และกัน. บงั เวยี นกระดานท่ที าํ โดยทรวดทรงอยา งกนถว ยจักเปนฟน มังกร เรยี กช่ือวา มลั ลกะ, บงั เวียนกระดานทีจ่ ักเปน ฟนน้ี ไมควรแมแกภิกษุผูอาพาธ. บงั เวียนกระดานทไ่ี มไ ดจ กั เปนฟน ช่ืออกตมัลลกะ, บงั เวียนกระดานทไ่ี มไ ดจักเปน ฟน นี้ ไมค วรแกภกิ ษุผไู มอาพาธ. สวนแผนอฐิ หรือแผนกระเบ้อื ง ควรอย.ู บทวา อกุ กฺ าสกิ  ไดแก เกลียวผา . เพราะเหตุน้ัน ภกิ ษุรูปใดรูปหน่งึ ผูอาบนาํ้ จะถหู ลังดว ยเกลียวผาสําหรบั อาบ กค็ วร. การบรกิ รรมดวยมอื เรยี กวา ปถุ ปุ าณิก . เพราะเหตุน้นั ภกิ ษุทัง้ ปวงจะทาํ บรกิ รรมหลังดวยมอื ควรอยู [วา ดว ยการแตงตัวเปน ตน] คําวา วลฺลกิ า นี้ เปนช่ือแหงเคร่อื งประดับหเู ปน ตนวา แกว มกุ ดาและตมุ หทู ่หี อยออกจากห.ู ก็แล จะไมค วรแตต ุมหูอยา งเดยี วเทา นั้นหามไิ ด,เคร่อื งประดบั หอู ยางใดอยา งหนึ่ง โดยท่สี ดุ แมเปน ใบตาล กไ็ มควร. สายสรอ ยชนดิ ใดชนดิ หนึ่ง ชื่อวา สงั วาล. เครื่องประดับสําหรับแตงทค่ี อ ชนิดใดชนิดหนึง่ ช่ือวา สรอ ยคอ. เคร่ืองประดับเอวชนดิ ใดชนดิ หนึ่ง โดยทส่ี ดุ แมเ พยี งเปนสายดา ยชอื่ วา สายรัดเอว. วลยั ช่อื วา เข็มขัด. บานพบั (สาํ หรบั รัดแขน) เปนตน ปรากฏชดั แลว เคร่ืองประดับไมเ ลอื กวาชนิดใดชนิดหนึง่ ไมค วร. วนิ ิจฉยั ในคาํ วา ทมุ าสกิ  วา ทวุ งคฺ ลุ  วา น้ี พงึ ทราบดงั น้ี:-

พระวนิ ยั ปฎ ก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 81 หากวา ภายใน ๒ เดอื น ผมยาวถึง ๒ นิว้ ไซร, ตองปลงเสยี ภายใน๒ เดือนเทานน้ั , จะปลอยใหย าวเกิน ๒ นิ้วไป ไมค วร. แมถ าไมย าว, จะปลอยใหเกินกวา ๒ เดือนไปแมว ันเดยี ว กไ็ มไดเหมือนกัน นเ้ี ปนกาํ หนดอยา งสงู ท่พี ระผูมีพระภาคเจาตรสั ดว ยบททง้ั ๒ดวยประการฉะน้.ี แตหยอ นกวา กําหนดนน้ั ขนึ้ ชอ่ื วา ความสมควร ไมม หี ามิได. สองบทวา โกจเฺ ฉน โอสณฺเหนตฺ ิ มคี วามวา ภกิ ษฉุ ัพพัคคียใชแปรงเสยผมทาํ ใหเ รยี บ. บทวา ผณเกน มคี วามวา ภิกษุฉพั พคั คยี  ใชห วอี ยา งใดอยางหนึง่มีหวีงาเปน ตน เสยผมใหเรยี บ. บทวา หตฺถผณเกน มีความวา ภิกษฉุ ัพพัคคยี  เม่ือจะใชม ือน่ันเองตา งหวี จึงเสยผมดว ยนวิ้ มอื ทง้ั หลาย. บทวา สติ ถฺ เตลเกน มคี วามวา ภกิ ษุฉพั พัคคีย เสยผมดวยของเหนยี วอยางใดอยางหนึ่ง มีขี้ผึง้ และยางเปนตน . บทวา อุทกเตลเกน มคี วามวา ภกิ ษุฉัพพัคคยี  เสยผมดวยนาํ้ มนัเจอื น้าํ , เพื่อประโยชนแ กการประดับ ปรับทกุ กฏทุกแหง, แตพ งึ ชบุ มอื ใหเปย กแลว เชด็ ศรี ษะ เพื่อยังผมทม่ี ีปลายงอนใหราบไปตามลําดับ, จะเอามืออนั เปย กเชด็ แมซ่ึงศีรษะท่ีรอ นจดั ดวยความรอ นและเปอ นธลุ ี กค็ วร. วนิ จิ ฉยั ในคําวา น ภกิ ขฺ เว อาทาเส วา อทุ กปตเฺ ต วาพึงทราบดังนี:้ - เงาหนายอ มปรากฏในวัตถุเหลา ใด วัตถเุ หลาน้นั ท้ังหมด แมมแี ผนสาํ ริดเปน ตน ยอมถึงความนบั วา กระจกเหมือนกนั , แมวตั ถมุ นี ้ําสม พะอมูเปน ตน ยอ มถึงความนับวา ภาชนะนํา้ เหมอื นกัน เพราะฉะนั้น จึงเปน ทกุ กฏแกภกิ ษุผแู ลดู (เงาหนา) ในท่ีใดท่ีหนึ่ง.

พระวินยั ปฎ ก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ท่ี 82 บทวา อาพาธปจจฺ ยา มคี วามวา เราอนญุ าตใหภกิ ษดุ เู งาหนาเพ่อืรูวา แผลของเรามีผิวเตม็ หรอื ยงั กอน. (ในปรุ ามอรรถกถา) กลา ววา สมควรมองดเู งาหนา เพือ่ ตรวจดูอายุสังขารอยางนี้วา เราแกห รอื ยังหนอ ดังนกี้ ไ็ ด. สองบทวา มุข อาลมิ เฺ ปนฺติ มีความวา ภกิ ษฉุ ัพพัคคยี  ยอ มผดัดวยเครืองผัดหนา สาํ หรับทาํ ใหห นามผี ิวผดุ ผอ ง. บทวา อุมมฺ ทฺเทนตฺ ิ มคี วามวา ยอมไลห นา ดว ยเครือ่ งไลตาง ๆ. บทวา จุณฺเณนฺติ มีความวา ยอมทา ดวยจุณสาํ หรับทาหนา. หลายบทวา มโนสิลกาย มุข ลเฺ ฉนตฺ ิ มคี วามวา ยอมทาํการเจมิ เปนจุด ๆ เปน ตน ดว ยมโนศลิ า. การเจมิ เหลานนั้ ยอมไมควร แมดวยวตั ถมุ ีหรดาลเปน ตนแท. การยอมตวั เปนตน ชดั เจนแลว ปรับทกุ กฏในทท่ี ้ังปวง. [วาดว ยการฟอ นและขบั เปน ตน] วินิจฉัยในคําวา น ภกิ ขฺ เว นจฺจ วา เปน อาทิ พงึ ทราบดงั น้ี:- เปนทกุ กฏแกภ กิ ษุผไู ปเพอื่ ดกู ารฟอนอยางใดอยา งหน่งึ โดยท่สี ดุแมก ารฟอ นแหงนกยงู . เม่อื ภิกษฟุ อนแมเ องก็ตาม ใหผูอื่นฟอนกต็ าม เปนทุกกฏเหมือนกนั . แมก ารขบั อยา งใดอยา งหนึง่ เปนการขับของคนฟอนก็ตามเปนการขับทดี่ ี (คอื เนื่องเฉพาะดวยอนิจจธรรมเปน ตน ) กต็ าม โดยทีส่ ุดแมการขับดวยฟนก็ไมควร. ภกิ ษคุ ิดวา เราจกั ขบั แลวรอ งเสยี งเปลา ในสว นเบ้ืองตนเพลงขบัแมก ารรอ งเสยี งเปลา น้ัน ก็ไมค วร. เม่อื ภิกษขุ ับเองกต็ าม ใหผ ูอนิ ขับก็ตามเปน ทกุ กฏเหมอื นกัน. แมก ารประโคม อยา งใดอยา งหน่ึง ก็ไมควร. แตเม่ือ

พระวนิ ัยปฎ ก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 83รําคาญหรอื ตั้งอยใู นทน่ี ารงั เกียจ จึงดีดน้ิวมอื ก็ตาม ตบมอื กต็ าม, ในขอ นั้นไมเ ปนอาบัติ ไมเปนอาบัติแกภิกษผุ ูอยูภ ายในวัด เหน็ การเลน ทุกอยา งมกี ารฟอ นเปนตน . เมื่อภิกษุออกจากวดั ไปสวู ดั (อื่น) ดว ยต้งั ใจวา เราจักดู ดงั นี้ เปนอาบัตแิ ท. นง่ั อยทู อ่ี าสนศาลาแลวเห็น, ไมเปนอาบตั ิ. ลุกเดินไปดวยคิดวาเราจักดู เปน อาบัติ. แมย นื อยทู ีถ่ นนเหลยี วคอไปดู เปน อาบัตเิ หมือนกัน. [วา ดว ยสรภญั ญะ] บทวา สรกุตฺตึ ไดแก ทาํ เสียง. สองบทวา ภงโฺ ค โหติ มีความวา ไมอ าจเพื่อจะยงั สมาธทิ ีต่ นยงัไมได ใหเกิดขึน้ , ไมอ าจเพอื่ จะเขาสมาธิทีต่ นไดแ ลว . ขอวา ปจฺฉมิ า ชนตา เปนอาทิ มีความวา ประชุมชนในภายหลงัยอมถงึ ความเอาอยา งวา อาจารยกด็ ี อุปช ฌายก็ดี ของเราทงั้ หลายขบั แลวอยา งน้ี คือ ขบั อยางนั้นเหมอื นกนั . วินิจฉยั ในขอวา น ภกิ ฺขเว อายตเกน น้ี พึงทราบดงั นี้ :- เสยี งขบั ที่ทาํ ลายวัตร (คอื วธิ ีเปล่ยี นเสยี ง) นน้ั ๆ ทาํ อกั ขระใหเสียชอ่ื เสยี งขบั อันยาว. สว นในธรรม วตั รสําหรบั สตุ ตนั ตะก็มี วตั รสําหรับชาดกก็มี วัตรสาํ หรับคาถากม็ ี การทยี่ ังวตั รนัน้ ใหเสีย ทาํ เสยี งใหยาวเกินไปไมควร. พงึ แสดงบทและพยญั ชนะใหเ รียบรอ ยดว ยวตั ร (คือการเปลีย่ นเสียง)อนกลมกลอ ม. บทวา สรภฺ คอื การสวดดวยเสียง. ไดย นิ วา ในสรภญั ญะมวี ตั ร ๓๒ มตี รังควตั ร (ทํานองดงั คลน่ื ) โทหกวตั ร (ทาํ นองดังรดี นมโค)คลิวตั ร (ทํานองดังของเล่ือน) เปนตน . ในวัตรเหลานั้นภิกษุยอมไดเ พ่ือใชวตั รท่ตี นตองการ.

พระวนิ ยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 84การทไี่ มย ังบทและพยญั ชนะใหเ สยี คอื ไมทาํ ใหผ ดิ เพย้ี นเปล่ยี นโดยนยัทเ่ี หมาะ ซึ่งสมควรแกสมณะนน้ั แล เปน ลักษณะแหงวตั รท้งั ปวง.สองบทวา พาหริ โลมึ อุณฺณึ มคี วามวา ภกิ ษุฉพั พคั คยี  หม ผาปาวารขนสตั วเอาขนไวขา งนอก. เปนทกุ กฎแกภกิ ษุผทู รงอยา งนัน้ . จะหมเอาขนไวข างใน ควรอยู. .สมณกัปปกถา ไดกลา วไวแลว ในอรรถกถาแหง ภูตคามสกิ ขาบท.หลายบทวา น ภกิ ฺขเว อตฺตโน องคฺ ชาต มีความวา เปนถลุ ลจั จยั แกภ กิ ษผุ ูตัดองคชาตเทานนั้ . แมเ ม่อื ภกิ ษุตดั อวยั วะอ่นื อยางใดอยางหน่งึ มีหจู มูกและนวิ้ เปนตนก็ตาม ยังทุกขเ ชนน้นั ใหเ กิดขนึ้ ก็ตาม เปนทกุ กฏ. แตไ มเปน อาบตั ิแกภ กิ ษุผกู อกโลหติ หรือตัดอวัยวะเพราะถูกงูหรอื รา นกัดเปนตน ก็ตาม เพราะปจ จัยคอื อาพาธอยางอ่นื ก็ตาม. [วา ดว ยบาตร]สามบทวา จนทฺ นคณฺี อุปฺปนฺนา โหติ มีความวา ปมุ ไมจ ันทนเปน ของเกดิ ข้นึ แลว.ไดย ินวา ราชคหเศรษฐีนน้ั ใหขึงขา ยทั้งเหมอื นํา้ และใตน้าํ แลวเลนในแมน ํ้าคงคา. ปมุ ไมจันทนอันกระแสแหง แมนํ้านน้ั พดั ลอยมาติดท่ีขา ย.บรุ ษุ ท้ังหลายของเศรษฐีนัน้ ไดนาํ ปมุ ไมจ ันทนนน้ั มาให. ปุมไมจันทนน ้นัเปนของเกิดข้นึ ดวยประการฉะน.ี้อทิ ธิปาฏหิ าริย คือ การแผลง พระผมู ีพระภาคเจา ทรงหา มแลวในบทวา อทิ ธฺ ิปาฏหิ ารยิ  น้.ีสว นฤทธ์ิทีส่ าํ เรจ็ ดวยอาํ นาจอธิษฐานพึงทราบวา ไมไดทรงหา ม.วนิ จิ ฉยั ในคาํ วา น ภกิ ฺขเว โสวณฺณมโย ปตโฺ ต เปน ตนพึงทราบดังน้ี:-

พระวนิ ัยปฎก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ท่ี 85 กถ็ า วา คฤหสั ถท ้งั หลาย ทาํ กับขา วใสในภาชนะมจี านทองคาํ เปน ตนนอ มเขา ไปถวายในโรงครวั , ไมค วรแมเพอ่ื จะถกู ตอง. อนึง่ ภาชนะทงั้ หลาย มจี านเปน ตน ทท่ี ําดว ยแกวผลกึ ทาํ ดวยกระจกและทําดว ยสาํ ริดเปน ตน ยอมไมควร แตเพยี งใชเ ปนของสวนตวั เทาน้ันใชเปน ของสงฆ หรอื เปน คิหิวกิ ัติ (คอื เปนของคฤหัสถ) ควรอย.ู บาตร แมเ ปน วกิ ารแหง ทองแดง กไ็ มค วร สวนภาชนะควร. คําทงั้ ปวงทว่ี า ดงั น้ี ๆ ทานกลา วไวใ นกรุ ุนท.ี สว นบาตรทแี่ ลวดวยแกว มีแกว อินทนลิ เปนตน พระผูมพี ระภาคเจาตรสั ในบทวา มณมิ โย นี้. บาตรแมลว นแลวดวยทองหา ว ทานรวมเขา ในบทวา ก สมโย น้ี คําวา เพอ่ื กลึง นี้ พระผูมีพระภาคเจาตรสั เพอื่ ประโยชนแกก ารทาํใหบาง บังเวยี นปกตนิ ั้น ไดแ ก บังเวยี นทจี่ ักเปน ฟนมงั กร. บทวา อาวตตฺ ติ วฺ า ไดแก กระทบกนั และกนั . วนิ ิจฉยั ในคําวา ปตฺตาธารกฺ  นี้ พึงทราบดงั นี้ :- ในกรุ นุ ทกี ลา ววา บนเชิงบาตรท่ีเน่ืองกบั พ้ืน ซึ่งทําดว ยงาเถาวลั ยและหวายเปนตน ควรวางซอน ๆ กนั ได ๓ บาตร บนเชิงไม ควรวางซอ นกนั ได ๒ บาตร. สวนในมหาอรรถกถากลาววา บนเชงิ บาตรท่เี นอื่ งกับพ้นื ไมเปนโอกาสแหงบาตร ๓ ใบ จะวางแต ๒ ใบ ก็ควร. แมในเชงิ บาตรไมและเชงิบาตรทอ นไม ซ่งึ ตกแตงเกลยี้ งเกลาดี ก็มีนยั เหมอื นกัน.

พระวินยั ปฎก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 86 ก็แล เชงิ บาตรไมทค่ี ลา ยปลายเครื่องกลงึ และเชงิ บาทรทอนไมท ี่ผูกดวยไม ๓ ทอ น ไมเ ปนโอกาสแหง บาตรแมใบเดียว. แมวางบนเชิงนั้นแลวกต็ องนัง่ เอามือยึดไวอยา งน้นั . สวนบนพน้ื พึงคว่าํ วางไวแตใบเดยี วเทา นั้น. บทวา มิฒนฺเต ไดแก รมิ เฉลียงและกระดานเลยี บเปนตน . กถ็ าวาบาตรกลิง้ ไปแลว จะคางอยบู นริมกระดานเลียบนน่ั เอง; จะวางบนกระดานเลยี บอนั กวางเห็นปานนนั้ ก็ควร. บทวา ปรภิ ณฑฺ นเฺ ต ไดแ ก รมิ กระดานเลยี บอนั แคบซ่งึ เขาทําไวท่ีขา งภายนอก. วนิ จิ ฉยั แมในกระดานเลยี บอันแคบน้ี ก็พึงทราบตามนยั ทกี่ ลาวแลวในกระดานเลียบนัน่ แล. บทวา โจฬก ไดแก ผาทีเ่ ขาปูลาดแลววางบาตร. กเ็ มอื่ ผาน้นั ไมมี ควรวางบนเส่อื ลาํ แพนหรอื บนเสอื ออน หรอื บนพน้ื ท่เี ขาทาขัดดว ยดินเหนยี ว หรือบนพ้นื เหน็ ปานนน้ั ซึ่งจะไมประทุษรายบาตร หรอื บนทรายก็ได. แตเมือ่ ภกิ ษวุ างในทมี่ ีดนิ รว นและฝนุ เปน ตน หรอื บนพื้นที่คมแข็งตองทกุ กฏ. โรงสาํ หรับเก็บบาตรน้นั จะกอดวยอิฐหรือทาํ ดวยไม ก็ควร. หมอสาํ หรับเกบ็ สงิ่ ของ ทรวดทรงคลา ยอางนํา้ มีปากกวาง เรียกวาหมอ สําหรบั เก็บบาตร. สองบทวา โย ลคเฺ คยยฺ มคี วามวา เปนอาบัตทิ ุกกฏแกภ กิ ษุผูแขวนบาตรในทีใ่ ดท่ีหนงึ่ . จะผูกแขวนไวแ มท ีร่ าวจีวร กไ็ มควร. เตยี งและต่ัง จะเปนของที่เขาทําไวั เพือ่ วางสง่ิ ของเทาน้นั หรอื เพือ่นงั่ นอน ก็ตามที, เปน ทุกกฏแกภกิ ษผุ ูวางบาตรบนเตียงหรือตั่งอนั ใดอนั หนึ่ง.

พระวินัยปฎก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 87 แตจ ะมดั รวมกบั ของอื่นวางไว ควรอย.ู หรอื จะผกู ที่แมแครหอยไวก็ควร. จะผูกแลว วางขางบนเตยี งและตัง่ ไมค วรเหมอื นกัน. กถ็ าวา เตยี งหรอื ต่งั เปน ของที่เขายกข้นึ พาดเปนน่งั รานบนราวจีวรเปน ตน , จะวางบนเตียงหรอื ตง่ั นน้ั . กค็ วร. จะเอาสายโยกคลองบนจะงอยบาแลว วางบนตกั ก็ควร. ถึงบาตรทค่ี ลองบนจะงอยบา แมเ ตม็ ดวยขาวสุก ก็ไมควรวางบนรม. แตจะวางบาตรชนิดใดชนิดหน่งึ หรือบนรมทผี่ กู มัดเปนรา นมา ควรอยู. วนิ จิ ฉัยในคาํ วา ปตฺตหตเฺ ถน พึงทราบดังนี:้ - บาตรของภกิ ษใุ ดอยูในมือ ภิกษนุ ัน้ แล ชอ่ื วาผมู บี าตรในมืออยา งเดยี วหามิได, อน่ึง ภกิ ษุผูมีบาตรอยูในมอื ยอ มไมไ ดเ พอ่ื ผลกั บานประตอู ยางเดียวเทานนั้ หามิได. แตอันทจ่ี รงิ เมอื่ บาตรอยใู นมอื หรอื บนหลงั เทา หรือที่อวยั วะแหงสรีระอนั ใดอนั หนง่ึ ภกิ ษุยอมไมไดเ พือ่ จะผลักบานประตูหรือเพ่อื จะถอดลิ่มสลกัหรือเพือ่ จะเอาลกู กญุ แจไขแมก ุญแจ ดว ยมือหรือดวยหลงั เทา หรอื ดวยศรี ษะหรอื ดว ยอวัยวะแหง สรีระอนั ใดอนั หนง่ึ . แตคลองบาตรบนจะงอยบา แลว ยอมไดเ พ่อื เปดบานประตตู ามความสบายแท. กะโหลกนาํ้ เตา เรยี กวา ตมุ พฺ กฏาห จะรกั ษากะโหลกน้ําเตา น้นัไว ไมค วร. กแ็ ลไดม าแลว กจ็ ะใชเ ปน ของยืม ควรอยู. แมใ นกระเบ้ืองหมอ ก็มนี ัยเหมอื นกนั . กระเบ้อื งหมอ เรยี กวา ฆฏกิ ฏาห. คาํ วา อพภฺ มุ ฺเม นี้ เปน คําแสดงความตกใจ. วินจิ ฉยั ในบทวา สพพฺ ป สุกูลิเกน นี้ พึงทราบดังน้ี :-

พระวนิ ัยปฎ ก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ที่ 88 จีวร เตียง และตั่ง เปนของบังสกลุ ยอมควร. สวนของทจ่ี ะพึงกลืนกิน อันเขาใหแลวนั่นแล พึงถือเอา. บทวา จลกานิ ไดแ ก อามิสทจ่ี ะทง้ิ คายออกไมกลืน. บทวา อฏ กิ านิ ไดแ ก กา งปลาหรอื กระดูกเน้อื . บทวา อุจฉฺ ิฏโทก ไดแก น้ําบวนปาก. เมอื่ ภิกษผุ ูใชบ าตรขนทิ้งซ่งึ ส่ิงใดสิ่งหนง่ึ ในอามิสทเ่ี ปนเดนเปนตนน้นั เปนทุกกฏ ภกิ ษยุ อมไมไ ด แมเพื่อจะทําบาตรใหเ ปน กระโถนลา งมอื จะใสแ มซ่ึงนํ้าลางมอื ลางเทาลงในบาตรแลวนาํ ไปเท กไ็ มค วร. จะจบั บาตรท่ีสะอาด ไมเ ปอน ดว ยมอืทีเ่ ปอ น ก็ไมควร. แตจ ะเอามือซายเทนํา้ ลงในบาตรท่สี ะอาดนแี้ ลว อมเอาน้าํ อม ๑ แลวจึงจับดวยมอื ท่เี ปอ น ควรอย.ู จริงอยู แมด ว ยเหตุเพยี งเทา นี้บาตรน้นั ยอ มเปน บาตรเปอ นดว ย. อนึ่ง จะลา งมอื ท่เี ปอ นดว ยนาํ้ ขา งนอกแลว จึงจับ (บาตร) ควรอยู เม่อื ฉนั เน้ือปลาและผลาผลเปนตน อยู ในของเหลาน้ัน สิ่งใดเปนกา งหรอื กระดูกหรือเปนเดน เปนผใู ครจะทิ้งเสีย จะเอาส่งิ น้นั วางลงในบาตรยอมไมได. สว นส่ิงใด ยงั อยากจะฉนั ตอไปอกี จะเอายาสิ่งน้ันวางลงในบาตรก็ได. จะวางเนอื้ ทม่ี กี ระดกู และปลาท่ีมีกางเปนตน ในบาตรนน้ั และเอามอืปลอนออกฉัน กค็ วร. แตส ิง่ ใดสิง่ หนง่ึ ท่ีเอาออกจากปากแลว ยังอยากจะฉันอกีจะเอาส่งิ นัน้ วางในบาตรไมได. ชิ้นขิงและช้ินมะพรา วเปนตน กัดกินแลวจะวางอีกกไ็ ด. [วา ดวยมีดและเข็ม] บทวา นมตก ไดแ ก ทอ นผาสาํ หรับหอมีด. บทวา ทณฑฺ สตถฺ ก ไดแ ก มีดท่เี ขาดามอยา งใดอยางหน่งึ เปนมดีพับหรอื มีดอ่ืนกไ็ ด.

พระวนิ ัยปฎ ก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ที่ 89 สองบทวา กณณฺ กติ าโย โหนฺติ คือ เปน ของอันสนมิ จับ. สองบทวา กณิ ฺเณน ปเู รตุ มคี วามวา เราอนุญาตใหบ รรจใุ หเ ต็มดว ยผงเปนแปงเหลา. บทวา สตฺตุยา มคี วามวา เราอนญุ าตใหบรรลุใหเตม็ ดวยผงแปง เจอืดวยขมิน้ . แมจ ลุ แหง ศิลา เรียกวา ผงหิน. ความวา เราอนญุ าตใหบ รรจใุ หเตม็ ดว ยผงศลิ านนั้ . สองบทวา มธสุ ติ ฺถเกน สาเรตุ มคี วามวา เราอนญุ าตใหพ อก(เขม็ ) ดวยขีผ้ ึ้ง. สองบทวา สริตกมฺป ปริภิชชฺ ติ มีความวา ขีผ้ ึ้งท่ีพอกไวน้นัแตกกระจาย. บทวา สริตสิปาฏก ไดแ ก ผา หอ ขีผ้ ึ้ง คอื ปก มีด. ในกุรนุ ทก่ี ลาววา และผูกมดี กอ็ นุโลมตามผา หอเขม็ น้นั . [วาดวยไมส ะดึง] ไมส ะดงึ นั้น ไดแ ก แมสะดึงบาง เส่อื หวายหรือเสอ่ื ลําแพนอยา งใดอยางหนง่ึ ที่จะพึงปูบนแมสะดงึ น้ันบา ง. เชือกผูกไมส ะดงึ นน้ั ไดแ ก เชอื กสําหรบั ผูกจีวรที่ไมส ะดงึ เม่อื เย็บจวี ร ๒ ชั้น. สองบทวา กนิ  นปปฺ โหติ มคี วามวา ไมส ะดึงทท่ี ําตามขนาดของภิกษทุ ี่สงู จีวรของภิกษุทเ่ี ตย้ี เม่ือขงึ ลาดบนไมส ะดึงน้นั ยอมไมพอ คอืหลวมอยภู ายในเทาน้นั , อธบิ ายวา ไมถ ึงไมขอบสะดึง. บทวา ทณฺฑกิน มคี วามวา เราอนุญาตใหผ ูกสะดึงอน่ื ตามขนาดของภิกษผุ ูเ ตยี้ นอกนี้ ในทามกลางแหงแมส ะดงึ ยาวนั้น.

พระวินยั ปฎ ก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 90 บทวา วิทลก ไดแ ก การพับชายโดยรอบแหงเส่อื หวายทําใหเปน๒ ชน้ั พอไดข นาดกับกระทงสะดงึ . บทวา สลุ าก ไดแ ก ซ่ไี มส าํ หรับสอดเขาในระหวางแหง จีวร ๒ ชน้ั . บทวา วินทฺธนรชฺชุ ไดแก เชอื กที่มัดแมสะดึงเลก็ กับแมสะดงึใหญ ทไี่ มส ะดงึ นนั้ . บทวา วนิ ทุธนสุตฺตก ไดแก ดายทีต่ รึงจวี รตดิ กับแมสะดึงเล็ก. สามบทวา วินทธฺ ติ ฺวา จีวร สิพฺเพตุ มีความวา เราอนญุ าตใหตรึงจวี รทแี่ มส ะดงึ น้นั ดวยดายน้ันแลว เยบ็ . สองบทวา วิสมา โหนฺติ มีความวา ดวยเกษยี นบางแหง เล็กบางแหงใหญ. บทวา กฬมิ พฺ ก ไดแ ก วตั ถมุ ใี บตาลเปน ตนอยา งใดอยา งหน่ึงสําหรบั ทําการวัดขนาด. บทวา โมฆสุตฺตก ไดแ ก การทําแนวเครอ่ื งหมาย ดวยเสนบรรทัคขมนิ้ ดงั การทาํ แนวเคร่อื งหมายทีไ่ ม ดวยเสน บรรทดั ดําของพวกชางไมฉ ะน้ัน. สองบทวา องคฺ ุลยิ า ปฏคิ ฺคณฺหนตฺ ิ มคี วามวา ภิกษทุ ั้งหลาย(เย็บจีวร) รับปากเขม็ ดวยน้วิ มือ. บทวา ปฏคิ ฺคห ไดแ ก สนับแหง น้ิวมือ. ภาชนะมถี าดและผอบเปน ตน อยางใดอยางหน่งึ ชอ่ื ภาชนะสําหรบั ใสและกระบอก. บทวา อุจฺจวตฺถุก มีความวา เราอนุญาตใหภกิ ษุถมดนิ ทําพ้นื ที่ใหสงู .

พระวินยั ปฎก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนา ที่ 91 หลายบทวา โอคมุ เฺ พตวฺ า อุลฺลิตฺตาวลติ ตฺ  กาตุ มีความวาเราอนญุ าตใหภ ิกษุรอ้ื หลังคาเสียแลว ทาํ ระแนงใหท ึบ โบกทั้งขา งในและขา งนอกดว ยดินเหนยี ว. บทวา โคฆ สกิ าย มคี วามวา เราอนญุ าตใหภิกษใุ สไ มไ ผหรือไมจรงิไวข างในแลว มวนแมส ะดึงกับไมนน้ั . บทวา พนฺธนรชฺชุ ไดแ ก เชอื กสาํ หรบั มัดแมสะดงึ ท่มี ว นแลวอยา งนั้น [วา ดวยเครอื่ งกรอง] ผา กรองท่ผี กู ติดกับไม ๓ อัน ช่อื กระชอนสําหรบั กรอง. ขอ วา โย น ทเทยฺย มคี วามวา ภกิ ษุใดไมใหผ ากรองแกภ กิ ษุผไู มมผี า กรองน่นั แล, เปนอาบตั แิ กภ กิ ษุนัน้ แท. ฝา ยภกิ ษุใด เมื่อผา กรองในมอื ของตนแมมอี ยู แตยังยืม ไมอยากใหก็อยาพึงใหภ ิกษุนน้ั . บทวา ทณฑฺ กปรสิ สฺ าวน มีความวา พึงผูกผากับไมท ท่ี ําดังแมบันไดข้ันกลาง ซงึ่ ผูกติดบนขา ๔ ขา แลว เทนาํ้ ลงตรงกลางไมท ด่ี งั เคร่ืองกรองดางของพวกชางยอ ม. น้าํ น้นั เต็มทั้ง ๒ หอ งแลว ยอมไหลออก. ภิกษุทง้ั หลาย[๓๔๓] ลาดผากรองใดลงในน้าํ แลวเอาหมอ ตกั นํา้ ผากรองนน้ั ช่อื โอตฺถรกิ  . จรงิ อยู ภิกษุทั้งหลายผูกผา ตดิ กบั ไม ๔ อนั ปก หลกั ๔ หลกั ลงในนา้ํ แลว ผกู ผากรองนั้นตดิ กบั หลักน้ัน ใหรมิ ผาโดยรอบทั้งหมดพนจากนํ้าตรงกลางหยอนลง แลว เอาหมอตกั นํ้า. เรอื นทท่ี าํ ดว ยจีวร เรยี กวา มุงกันยุง.

พระวนิ ยั ปฎ ก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 92 [วา ดวยจงกรมและเรอื นไฟ] บทวา อภิสนฺนกายา คอื ผูม ีกายหมกั หมมดวยสิ่งอนั เปนโทษมีเสมหะเปน ตน . เสาสาํ หรับใสล ิ่ม ขนาดเทา กับบานประตูพอดี เรียกช่ือวา อัคคฬวัฏฎิเสาสาํ หรับใสลิม่ นนั้ เปน เสาทเ่ี ขาเจาะรูไว ๓-๔ รู แลว ใสลม่ิ . หว งสาํ หรบั ใสดาล ที่เขาเจาะบานประตแู ลว ตรงึ ติดทีบ่ านประตนู ัน้เรียกช่อื วา สลักเพชร. ล่มิ ทเี่ ขาทําชองท่ตี รงกลางสลกั เพชรแลว สอดไว ชอ่ืสูจกิ า กลอนที่เขาตดิ ไวข า งบนสลกั เพชร ชื่อฆฎกิ า. สองบทวา มณฑฺ ลิก กาตุ มคี วามวา เราอนุญาตใหก อพน้ื ใหต าํ่ . ปลองควนั นั้น ไดแก ชอ งสาํ หรับควันไฟออก. บทวา วาเสตุ มคี วามวา เราอนุญาตใหอบดว ยของหอมท้ังหลาย. อุทกนธิ านนน้ั ไดแ ก ที่สําหรับขงั น้ํา ภกิ ษใุ ชห มอตักนํา้ ขังไวในนนั้ แลว เอาขนั ตักนาํ้ ใช. ซุม นํา้ ไดแก ซมุ ประต.ู วินจิ ฉัยในคาํ วา ติสโฺ ส ปฏิจฉฺ าทโิ ย น้ี พงึ ทราบดงั นี้ :- เครื่องปกปด คอื เรือนไฟ ๑ เคร่ืองปกปด คือ นํ้า ๑ ควรแกภิกษผุ ูทําบรกิ รรมเทานนั้ . ไมค วรในสามจี ิกรรมท้ังหลายมีอภิวาทเปนตนท่ยี งัเหลอื . เคร่อื งปกปด คือ ผา ควรในกรรมท้ังปวง ขอวา นา้ํ ไมมีน้นั ไดแก ไมมสี าํ หรบั อาบ. I บทวา ตุล ไดแ ก คนั สําหรบั โพงเอานาํ้ ขนึ้ ดงั คันชงั่ ของพวกชาวตลาด. [๓๔๔] ยนตทเ่ี ทียมโค หรอื ใชมือจับชกั ดว ยเชือกอนั ยาว เรยี กวาระหดั .

พระวนิ ัยปฎ ก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 93 ยนตทมี่ หี มอ ผกู ตดิ กบั ซี่ เรียกวา กังหัน. ภาชนะท่ีทําดวยหนงั ซ่ึงจะพึงผูกตดิ กับคันโพงหรือระหดั ชื่อวาทอนหนงั . สองบทวา ปากฏา โหติ มีความวา บอน้ําครํา เปนที่ไมไ ดลอ ม. บทวา อทุ กปุ ฉฺ นี มคี วามวา เครื่องเช็ดนํา้ ทําดวยงาก็ดี ทําดว ยเขาก็ดี ทําดว ยไมก ด็ ี ยอ มควร. เมื่อเครือ่ งเชด็ นา้ํ นั้นไมมี จะใชผา ซับน้ํากค็ วร. บทวา อทุ กมาตกิ  ไดแก ล ารางสําหรับนํ้าไหล. เรือนไฟท่ตี ิดปนลมโดยรอบ เรียกชอ่ื วา เรอื นไฟไมมีรอยมงุ . คําวา เรอื นไฟไมมรี อยมงุ น้นั เปนชอ่ื แหงเรอื นไฟท่มี หี ลังคาทําเปนยอด ติดปน ลมท่ีมณฑลชอฟาบนกลอนท้งั หลาย. สองบทวา จาตมุ มฺ าส นิสีทเนน มคี วามวา ภกิ ษุไมพึงอยปู ราศจากผานสิ ที นะตลอด ๔ เดอื น. บทวา ปุปฺผาภกิ ณิ ฺเณสุ มีความวา ภกิ ษุไมพ ึงนอนบนที่นอนที่เขาประดบั ดวยดอกไม. บทวา นมตก มีความวา เครอื่ งปนู ง่ั คลายสนั ถตั ที่ทํา คือทอดว ยขนเจียม พึงใชส อย โดยบรหิ ารไวอยา งทอนหนัง. [วาดว ยการฉนั ] ชอื่ วา อาสิตฺตกูปธาน นนั้ เปนคําเรียก ลุง ท่ที าํ ดวยทองแดงหรือดวยเงนิ . อนึ่ง ลุง น้ัน แมทําดว ยไม กไ็ มควร เพราะเปนของทีท่ รงหา มแลว . เคร่อื งรองทําดวยไมท ้ังทอ น เรียกวา โตก. แมเ ครื่องรองทท่ี าํ ดวยใบกระเชาและตะกรา กน็ ับเขา ในโตกน้เี หมือนกัน.

พระวนิ ัยปฎ ก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 94 [๓๔๕] จรงิ อยู วตั ถุมีไมเสาเปน ตน นัน้ จาํ เดมิ แตท ี่ถึงความรวมลงวา เปนเครื่องรอง มีชองเจาะไวข า งในกต็ าม เจาะไวโดยรอบก็ตาม ควรเหมือนกนั . วินจิ ฉยั ในคําวา เอกภาชเน นี้ พงึ ทราบดังนี้ :- หากวา ภกิ ษุรปู หน่ึงถอื เอาผลไม หรือขนมจากภาชนะไป, คร้นั เมื่อภิกษุนนั้ หลีกไปแลว การท่ภี กิ ษนุ อกนี้จะฉนั ผลไมหรือขนมทย่ี งั เหลอื ยอ มควร. แมภ กิ ษนุ อกจากน้ี จะถือเอาอกี ในขณะนน้ั กค็ วร. [วาดว ยการควํา่ บาตร] วนิ จิ ฉัยในคําวา อฏ หงฺเคหิ นพ้ี ึงทราบดังน:้ี - การท่สี งฆค วํ่าบาตรในภายในสีมา หรอื ไปสูภ ายนอกสีมาควํา่ บาตรในทีท่ ้ังหลายมีแมน ้าํ เปน แกอุบาสกผปู ระกอบแมดวยองคอันหน่ึง ๆ ยอมควรทง้ันนั้ . กแ็ ล เมือ่ บาตรอันสงฆควํ่าแลวอยา งน้ัน ไทยธรรมไร ๆ ในเรอื นของอุบาสกนัน้ อันภิกษุทั้งหลายไมพึงรบั . พงึ สงขา วไปในวัดแมเ หลาอ่ืนวาทานทง้ั หลายอยา รบั ภิกษา ในเรือนของอุบาสกโนน ก็ในการทีจ่ ะหงายบาตร ตองใหอ ุบาสกนน้ั ขอเพยี งคร้ังท่ี ๓ ใหอบุ ายสกนน้ั ละหตั ถบาสแลว หงายบาตรดวยญัตตทิ ุติยกรรม. [เรอ่ื งโพธิราชกมุ าร] สองบทวา ปุรกฺขิตวฺ า ไดแ ก จดั ไวโดยความเปน ยอด. บทวา ส หรนตฺ ุ มีความวา ผาทง้ั หลายอันทา นจงมว นเสยี . บทวา เจฬปฏิก ไดแ ก เครอ่ื งปลู าด คอื ผา

พระวินัยปฎก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 95 ไดย ินวา โพธิราชกุมารนน้ั ปูลาดแลวดวยความมงุ หมายน้ีวา ถาวาเราจักไดบตุ ร, พระผมู ีพระภาคเจา จักทรงเหยียบผนื ผาของเรา. จริงอยู โพธริ าชกมุ ารน้นั ไมส มควรไดบุตร; เพราะเหตุนั้น พระผูมีพระภาคเจาจึงไมทรงเหยยี บ. หากวา พระองคพงึ ทรงเหยยี บไซร, ภายหลงั เม่อื กมุ ารไมไ ดบตุ ร จะพงึ ถอื ทฏิ ฐิวา พระผูม พี ระภาคเจา น้ี มใิ ชพระสพั พัญู. น้เี ปน เหตุในการทพ่ี ระผูม พี ระภาคเจาไมทรงเหยยี บกอน. ฝา ยภกิ ษุท้ังหลายเลา เธอเหลา ใด ไมรอู ยู พึงเหยยี บ, เธอเหลาน้ันพงึ เปน ผถู กู พวกคฤหัสถด หู มนิ่ , เพราะเหตุนน้ั พระผมู พี ระภาคเจาจึงทรงบญั ญตั ิสิกขาบท เพื่อปลดภิกษทุ ั้งหลายจากความดูหมิ่น. น้ีเปน เหตุในการทรงบญั ญัตสิ กิ ขาบท. ขอวา มงคฺ ลตถฺ าย ยาจยิ มาเนน มคี วามวา สตรจี ะเปน ผปู ราศครรภ หรือเปน ผมู ีครรภแกกต็ ามท,ี อนั ภิกษซุ ึง่ เขาออนวอนเพื่อตอ งการมงคลในฐานะเห็นปานน้นั สมควรเหยยี บ. [วา ดว ยเครือ่ งเชด็ เทา] เครือ่ งปูลาด เปน ของท่เี ขาลาดไวใ กลทลี่ างเทา เพื่อประโยชนทจ่ี ะเหยยี บดว ยเทา ซ่งึ ลางแลว ช่อื วาเครอื่ งลาดสําหรับเทา ท่ีลางแลว . ภิกษุควรเหยียบเคลือ่ งลาดนน้ั . วตั ถุท่มี ที า ทางคลายฝก บัว ซึง่ เขาทําใหหนามตัง้ ขน้ึ เพือ่ เชด็ เทาชื่อวาเครอื่ งเชด็ เทา , เครือ่ งเช็คเทา นั้น จะเปนของกลม หรือตางโดยสณั ฐานมี ๔ เหลี่ยมเปน ตน ก็ตามที เปน ของทที่ รงหามทัง้ นนั้ เพราะเปน ของอุดหนุนแกความเปน ผูมกั มาก; ไมค วรรบั ไมควรใชสอย. ศิลา เรยี กวา กรวด แมห ินฟองนํ้า ก็ควร.

พระวินยั ปฎ ก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 96 [วา ดว ยพดั ] พัดเรียกวา วธิ ูปน แปลวา วตั ถุสําหรบั โบก. สวนพดั มีดา มอยา งใบตาล จะเปน ของท่ีสานดว ยใบตาลหรือสานดว ยเสน ดอกไมไ ผแ ละเสน ตอกงาหรือทาํ ดว ยขนหางนกยูง หรอื ทาํ ดว ยจัมมวิกัติท้งั หลายกต็ ามที ควรทุกอยา ง. พดั ปดยงุ นนั้ แมมีดามทําดว ยงาหรอื เขาก็ควร. แมพดั ปดยุงท่ที ําดว ยยานแหงไมเกดและใบมะพดู เปนตน สงเคราะหเ ขา กับพัดท่ีทาํ ดว ยเปลอื กไม. [วา ดว ยรม] วินิจฉยั ในคาํ วา คลิ านสฺส ฉตตฺ  น้ี พึงทราบดังน้ี:- ภกิ ษใุ ด มคี วามรอ นในกาย หรือมคี วามกลมุ ใจ หรอื มตี าฟางกด็ ีหรอื อาพาธบางชนิดอยางอน่ื ท่เี วน รม เสยี ยอ มเกิดข้ึน, ภกิ ษุนน้ั ควรกางรมในบา นหรือในปา. อนึง่ เมื่อฝนตก จะกางรม เพ่ือรักษาจวี ร และในทคี่ วรกลัวสตั วร ายและโจร จะกางรม เพือ่ ปองกนั ตนบา ง ก็ควร. สว นรม ทที่ ําดวยใบไมใบเดียว ควรในท่ีทง้ั ปวงทีเดียว. [วา ดวยทณั ฑสมมตเิ ปน ตน ] บทวา อสุ สิ สฺ ตดั บทวา อสิ อสฺส แปลวา ดาบของโจรนน้ั . บทวา วิโชตลติ ไดแ ก สองแสงอย.ู วินิจฉยั ในคําวา ทณฺฑสมฺมตึ นี้ พงึ ทราบดงั น:ี้ - ไมคาน ควรแกประมาณ คือยาว ๔ ศอกเทา นนั้ อนั สงฆพงึ สมมติให. ไมคานทีห่ ยอนหรือเกินกวา ๔ ศอกน้ัน แมเ วนจากการสมมติ กค็ วรแกภิกษทุ ัง้ ปวง. สว นสาแหรก ไมควรแกภิกษุผไู มอ าพาธ. สงฆจ งึ สมมติใหเ ฉพาะแกภ กิ ษุผอู าพาธเทา นน้ั .

พระวินัยปฎก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 97 [วา ดวยภิกษผุ ูมักอว ก] วินิจฉัยในคาํ วา โรมฏ กสฺส นี้ พงึ ทราบดังน:้ี - เวน ภิกษุผนู ักอวกเสีย เปน อาบัตแิ กภ ิกษุท้ังหลายทีเ่ หลือ ผยู ังอาหารทอ่ี ว กออกมาใหค า งอยูใ นปากแลวกลนื กิน. แตถ า วา อาหารทีอ่ ว กออกมานน้ัไมทันคาง ไหลลงลําคอไป ควรอย.ู คําวา ย ทยี มาน น้ี ขา พเจาไดพ รรณนาไวแ ลว ในโภชนวรรค. [วาดวยมดี ตดั เล็บ] สองบทวา กปุ ปฺ  กริสสฺ ามิ มีความวา เราจักทาํ ซง่ึ เสยี ง. ไมม อี าบตั ิเพราะตัดเลบ็ ดวยเล็บเปน ตน . แตพ ระผูม พี ระภาคเจา ทรงอนญุ าตมดี ตดั เลบ็ กเ็ พ่ือรกั ษาตวั . บทวา วสี ตมิ ฏ มคี วามวา ภกิ ษฉุ ัพพัคคีย ใหแ ตง เล็บทง้ั ๒๐ใหเกล้ยี งดวยการขดู . บทวา มลมตตฺ  มีความวา เราอนญุ าตใหแ คะแตม ลู เลบ็ ออกจากเล็บ. [วาดวยผมและหนวด] บทวา ขุรสิปาฏิก ไดแก ฝกมีดโกน. สองบทวา มสสฺ ุ วปปฺ าเปนตฺ ิ มีความวา ภกิ ษฉุ พั พคั คยี ใ หต ัดหนวดดวยกรรไกร. สองบทวา มสฺส  วฑฺฒาเปนตฺ ิ ไดแ ก ใหแตงหนวดใหยาว เคราท่ีคางท่เี อาไวยาวดงั เคราแพะ เรียกวา หนวดดังพขู นโค. บทวา จตรุ สฺสก ไดแ ก ใหแ ตงหนวดเปน ๔ มมุ . บทวา ปรมิ ุข ไดแก ใหท ําการขมวดกลุมแหงขนทอ่ี ก. บทวา อฑฒฺ รกุ  ไดแก เอาไวกลุม ขนทที่ อ ง.

พระวินัยปฎ ก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 98 สองบทวา อาปตตฺ ิ ทกุ ฺกฏสสฺ มคี วามวา เปน อาบตั ิทุกกฏในที่ทงั้ ปวงมีตัดหนวดเปน ตน . หลายบทวา อาพาธปฺปจฺจยา สมฺพาเธ โลม มีความวา เราอนุญาตใหน าํ ขนในทแี่ คบออก เพราะปจจยั คอื อาพาธมีฝแผลใหญและแผลเล็กเปน ตน . หลายบทวา อาพาธปปฺ จฺจยา กตตฺ รกิ าย มคี วามวา เราอนุญาตใหต ัดผมดวยกรรไกร เพราะปจจยั คอื อาพาธดวยอาํ นาจแหงโรคท่ศี รี ษะ คือฝแ ผลใหญและแผลเลก็ . ไมมีอาบัติ เพราะถอนขนจมูกดวยวตั ถุมกี รวดเปนตน สว นแหนบพระผมู ีพระภาคเจา ทรงอนญุ าตเพ่ือรักษาตัว. วนิ จิ ฉยั ในขอ วา น ภกิ ฺขเว ปลิต คาหาเปตพฺพ น้ี พึงทราบดังนี้ :- ขนใดขนึ้ ท่คี ิ้ว หรือทหี่ นาผาก หรือที่ดงหนวด เปนของนา เกลียดขนเชน นัน้ ก็ตาม จะหงอกก็ตาม ไมหงอกก็ตาม สมควรถอนเสยี . บทวา ก สปตถฺ ริกา ไดแก พอ คาเครอื่ งสํารดิ . บทวา พนฺธนมตฺต ไดแก ปลอกแหง มีดและไมเ ทา เปนตน . [วา ดวยประคดเอว] วินิจฉัยในคาํ วา น ภิกฺขเว อกายพนฺธเนน น้ี พงึ ทราบดังน:ี้ - ประคดเอว อันภกิ ษุผมู ิไดค าดออกไปอยู คนระลกึ ไดใ นท่ใี ดพึงคาดในท่นี ั้น, คิดวา จกั คาดที่อาสนศาลา ดงั นี้ จะไปกค็ วร, นึกไดแลวไมค วรเทย่ี วบณิ ฑบาต ตลอดเวลาท่ยี ังมไิ ดคาด. ประคดเอวมีสายมาก ชือ่ กลาพกุ  . ประคดเอวคลายหวั งูนํ้า ชอ่ื เทฑฑฺ ุภก .

พระวนิ ัยปฎ ก จลุ วรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาท่ี 99 ประคดเอวท่ีถักทําใหม ีสัณฐานกลมดงั ตะโพน ชื่อ มรุ ชช . ประคดเอวทม่ี ีทรวดทรงดังสงั วาล ชือ่ มททฺ วีณ . จริงอยู ประคดเอวเชนน้ี แมชนิดเดียวก็ไมค วร ไมจ าํ ตองกลา วถึงมากชนิด. วนิ ิจฉยั ในคําวา ปฏฏ ิก สูกรนฺตก น้ี พึงทราบดังน้ี. ประคดแผน ทท่ี อตามปกติ หรอื ถักเปน กางปลา ยอมควร. ประคดท่ีเหลอื ตา งโดยประคดตาชางเปนตน ไมควร. ขึ้นชอ่ื วา ประคดไสส กุ ร เปน ของมที รวดทรงคลายไสส ุกรและฝกกญุ แจ. สวนประคดเชือกเสนเดยี วและประคดกลม อนโุ ลมตามประคดไสสกุ ร. คําทวี่ า \"ภกิ ษุทั้งหลาย เราอนญุ าตการถกั ดา ยใหก ลม การถกั ดงั สายสังวาล\" น้ี ทรงอนุญาตเฉพาะท่ชี ายทงั้ ๒. ก็ในชายกลมและชายดังสายสังวาลน้ีชายดังสายสังวาล เกิน ๔ ชาย ไมค วร. การทบเขามาแลว เย็บขอบปาก ซงึ่ โสภก . การเยบ็ โดยสณั ฐานดงั วงแหวน ชอ่ื คุณก . จริงอยู ชายประคดทเี่ ย็บอยางน้ัน ยอ มเปนของแนน . รวมในหว งเรียกวา ปวนนโฺ ต. [วา ดว ยการนุงหม] ผานุง ท่ที ําชายพกมีสณั ฐานดังงวงชาง ใหห อ ยลงไปต้ังแตส ะดือเหมอื นการนุงของสตรีชาวโจลประเทศ ชื่อวานงุ เปนงวงชาง. ผา นงุ ท่หี อ ยปลายไวขา ง ๑ หอ ยชายพกไวขา ง ๑ ชอื่ วา นุงเปนหางปลา. นงุ ปลอยชายเปน ๔ มมุ อยางนี้ คอื ขา งบน ๒ มมุ ขางลา ง ๒ มมุช่ือวานงุ เปน ๔ มมุ .

พระวินยั ปฎ ก จุลวรรค เลม ๗ ภาค ๒ - หนาที่ 100 นุงหอ ยลงไป โดยทาทางดงั กานตาล ชื่อวานุง ดังกา นตาล. ผา ผืนยาวใหมวนเปนชัน้ ๆ นุงโจงกระเปน ก็ดี นงุ ยกกลบี เปน ลอนๆทข่ี า งซา ยและขา งขวาก็ด.ี ช่อื วายกกลบี ตั้งรอ ย. แตถาวา ปรากฏเปน กลีบเดยี วหรือ ๒ กลบี ตั้งแตเขา ขึน้ ไป ยอมควร. สองบทวา ส เวลิย นิวาเสนตฺ ิ มีความวา ภกิ ษุฉพั พัคคียนุงหยกั รั้ง ดงั นกั มวยและกรรมกรเปนตน . การนุงหยกั ร้งั นั้น ยอมไมค วรแกภิกษุ ทัง้ ผูอาพาธ ทงั้ ผูเ ดนิ ทาง. ภกิ ษทุ ั้งหลายผกู ําลังเดินทาง ยกมุมขา ง ๑ หรือ ๒ ขา งขึน้ เหน็บบนสบง หรอื นงุ ผากาสาวะผนื ๑ อยา งน้ัน ไวขา งน้นั แลว นงุ อีกผนื ๑ ทบัขา งนอกแมอ นั ใด การนุงหม เหน็ ปานน้ัน ทงั้ หมด ไมควร. ฝายภิกษุผูอ าพาธ จะนงุ โจงกระเบนผา กาสาวะไวข า งใน แลว นงุ อีกผืน ๑ ทบั ขางนอก ก็ได. ภกิ ษผุ ูไมอาพาธ เม่ือจะนุง ๒ ผนื พึงซอนกนั เขาเปน ๒ ช้นันงุ . ดวยประการอยา งนี้ พงึ เวนการนุง ทั้งปวงทีพ่ ระผมู ีพระภาคเจาทรงหามในขุททกวตั ถุขันธกะน้ี และทพ่ี ระอรรถกถาจารยห ามในเสขิยวณั ณนา* ปกปดใหไดมณฑล ๓ ปราศจากวกิ าร นุงใหเ รยี บรอ ย. เธอเม่ือทาํ ใหว ิการอยางใด-อยา งหนง่ึ ไมพนทุกกฏ. การท่ีไมห ม ดงั การหม ของคฤหสั ถทที่ รงหามไวอ ยา งน้ีวา ภิกษุท้ังหลาย ภกิ ษไุ มพึงหมอยางคฤหสั ถ ดังน้ี หม จัดมมุ ทัง้ ๒ ใหเสมอกนัชื่อวา หมเรยี บรอ ย. การหม เรยี บรอ ยนั้น อันภิกษพุ ึงหม. * สมนฺต. ทตุ ยิ . ๔๙๒.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook