Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน_๕_สาย

คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน_๕_สาย

Published by sadudees, 2017-01-10 00:53:04

Description: คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน_๕_สาย

Search

Read the Text Version

ทุกลมหายใจเขา-ออกจริงๆ. เมอื่ กระทำอยดู งั น้ี จะเปน การกระทำทก่ี ำหนดอารมณอ ะไรกต็ าม ในระดบั ไหนกต็ าม ลว นแตไ ดช อื่ วา เปน ปฏนิ สิ สคั คานปุ ส สดี ว ยกนั ทง้ั นน้ั . เมอ่ื กระทำอยู ดงั นก้ี ช็ อ่ื วา เปน การ เจริญธรรมานุปสสนาสติปฏฐานภาวนาขั้นสุดทาย เปนภาวนาที่แทจริง ประมวลมาไดซึ่ง สโมธานธรรม ๒๙ ประการในระดับสูงสุดของการปฏิบัติบำเพ็ญอานาปานสติ ในขั้นที่เปน วปิ ส สนาภาวนาโดยสมบรู ณ. สำหรบั จตกุ กะท่ี ๔ น้ี จดั เปน ธรรมานปุ ส สนาสตปิ ฏ ฐานภาวนาดว ยกนั ทง้ั นนั้ . ขนั้ แรกพจิ ารณาความเปน อนจิ จงั ทกุ ขงั อนตั ตา ซง่ึ สรปุ รวมลงไดเ ปน สญุ ญตา มคี วามหมาย สำคญั อยตู รงทวี่ า งอยา งไมน า ยดึ ถอื ขนื ยดึ ถอื กเ็ ปน ทกุ ข. ขน้ั ตอ มากำหนดพจิ ารณาในการ ทำความจางคลายจากความยดึ ถอื ตอ สง่ิ เหลา นน้ั เพราะเกลยี ดกลวั โทษ กลา วคอื ความทกุ ข อนั เกดิ มาจากความยดึ ถอื . ขน้ั ตอ มาอกี กำหนดพจิ ารณาไปในทำนองทจ่ี ะใหเ หน็ วา มนั มไิ ด มตี วั ตนอยจู รงิ ไปทง้ั หมดทงั้ สนิ้ หรอื ทกุ สงิ่ ทกุ อยา ง การยดึ ถอื เปน ยดึ ถอื ลมๆ แลง ๆ เพราะ วา ตวั ผยู ดึ ถอื กไ็ มไ ดม ตี วั จรงิ สง่ิ ทถี่ กู ยดึ ถอื กไ็ มไ ดม ตี วั จรงิ แลว การยดึ ถอื มนั จะมตี วั จรงิ ได อยา งไร; พจิ ารณาไปในทางทจี่ ะดบั ตวั ตนของสงิ่ ทง้ั ปวงเสยี โดยสน้ิ เชงิ . สว นขนั้ ที่ ๔ อนั เปน ขนั้ สดุ ทา ยนน้ั กำหนดพจิ ารณาไปในทางทสี่ มมตเิ รยี กไดว า บดั นไ้ี ดส ลดั ทงิ้ สงิ่ เหลา นนั้ ออกไปหมดแลว ดว ยการทำใหม นั วา งลงไปไดจ รงิ ๆ คอื สง่ิ ทง้ั ปวงเปน ของวา งไปแลว และ จิตก็มีอาการท่ีสมมติเรียกวา “เขานิพพานเสียแลว” คือสลายตัวไปในความวางหรือ สญุ ญตานนั้ ไมม อี ะไรเหลอื อยเู ปน ตวั ตน เพอ่ื ยดึ ถอื อะไรๆ วา เปน ของตนอกี ตอ ไปเลย. การปฏบิ ตั หิ มวดนี้ ไดช อ่ื วา พจิ ารณาธรรม กเ็ พราะพจิ ารณาทตี่ วั ธรรม ๔ ประการ โดยตรง คอื พจิ ารณาทอี่ นจิ จตา วริ าคะ นโิ รธะ และปฏนิ สิ สคั คะ โดยนยั ดงั ทกี่ ลา วแลว ตา ง จากจตกุ กะที่ ๑ เพราะในทนี่ นั้ พจิ ารณากายคอื ลมหายใจ; ตา งจากจตกุ กะที่ ๒ เพราะใน ทน่ี นั้ พจิ ารณาเวทนาโดยประการตา งๆ; ตา งจากจตกุ กะที่ ๓ เพราะในทนี่ นั้ พจิ ารณาทจ่ี ติ โดยวธิ ตี า งๆ; สว นในทนี่ เี้ ปน การพจิ ารณาทธ่ี รรม กลา วคอื สภาวธรรมทเี่ ปน ความจรงิ ของ สง่ิ ทง้ั ปวง ทรี่ แู ลว ใหจติ หลดุ พน จากทกุ ขไ ด ตา งกนั เปน ชนั้ ๆ ดงั น้ี. อานาปานสติ จตกุ กะท่ี ๔ จบ.2-188

ประมวลจตกุ กะทงั้ ๔ จตกุ กะที่ ๑ เปน สมถภาวนาลว น สว นจตกุ กะท่ี ๒ และที่ ๓ เปน สมถภาวนาทเี่ จอื กนักบั วปิ ส สนาภาวนา สว นจตกุ กะท่ี ๔ น้ี เปน วปิ ส สนาภาวนาถงึ ทส่ี ดุ . สมถภาวนา คอื การกำหนดโดยอารมณห รอื นมิ ติ เพอ่ื ความตง้ั มน่ั แหง จติ มผี ลถงึ ท่ีสดุ เปน ฌาน; สว นวปิ ส สนาภาวนานนั้ กำหนดโดยลกั ษณะคอื ความไมเ ทยี่ ง เปน ทกุ ข เปนอนตั ตา ทำจติ ใหร แู จง เหน็ แจง ในสงิ่ ทง้ั ปวง มผี ลถงึ ทสี่ ดุ เปน ญาณ : เปน อนั วา อานาปาน-สตทิ ง้ั ๑๖ วตั ถนุ ้ี ตงั้ ตน ขน้ึ มาดว ยการอบรมจติ ใหม กี ำลงั แหง ฌานดว ยจตกุ กะที่ ๑ แลว อบรมกำลงั แหง ญาณใหเ กดิ ขนึ้ ผสมกำลงั แหง ฌานในจตกุ กะท่ี ๒ ที่ ๓ โดยทดั เทยี มกนั และกำลงั แหง ญาณเดนิ ออกหนา กำลงั แหง ฌาน ทวยี ง่ิ ขน้ึ ไปจนถงึ ทส่ี ดุ ในจตกุ กะที่ ๔ จนสามารถทำลายอวิชชาไดจริงในลำดับน้ัน. วนิ จิ ฉยั ในอานาปานสติ อนั มวี ตั ถุ ๑๖ และมจี ตกุ กะ ๔ สน้ิ สดุ ลงเพยี งเทา น.ี้ 2-189

บรรณานุกรม พระไตรปฏ กบาลี ฉบบั สยามรฐั เลม ท่ี ๑๔. พมิ พค รง้ั ที่ ๔. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พม หามกฏุ ราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๘. พระสตู รและอรรถกถาแปล มชั ฌมิ นกิ าย อปุ รปิ ณ ณาสก เลม ที่ ๓ ภาคท่ี ๑. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔. พระธรรมโกศาจารย (พุทธทาสภิกขุ). อานาปานสติภาวนา. พิมพครั้งท่ี ๑๒. สุราษฎรธานี: โรงพมิ พธ รรมทานมลู นธิ ิ ไชยา, ๒๕๕๐. พระธรรมโกศาจารย (พุทธทาสภิกขุ). วิปสสนาในอิริยาบถนั่ง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพธรรมสภา, ๒๕๔๙. พระพุทธโฆสาจารย. วิสุทธิมรรคบาลี ภาค ๑. พิมพครั้งที่ ๗. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหามกุฏ- ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๑. พระพุทธโฆสาจารย. วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๑-๒ ฉบับมหามกุฎราชวิทยาลัย. พิมพครั้งที่ ๙. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๒. พระพุทธโฆสาจารย. ปฐมสมันตปาสาทิกแปล ภาค ๑ เลม ๓. พิมพคร้ังท่ี ๗. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓. พระธรรมวสิ ทุ ธมิ งคล (บวั ญาณสมปฺ นโฺ น). วธิ ที ำสมาธแิ บบหลวงปมู น่ั . สมทุ รปราการ: โรงพมิ พ กอนเมฆแอนดกันยกรุป, ชมรมกัลยาณธรรม จัดพิมพ, ๒๕๕๐. พระพทุ ธโฆสาจารย แตง , พระเมธวี ราภรณ (ยยุ อปุ สนโฺ ต ป.ธ.๙) รวบรวม. คมั ภรี ว สิ ทุ ธมิ รรค ฉบับแปลรกั ษาแกน ธรรม. โรงพิมพ หจก. สามลดา, ๒๕๔๙. พระมติ ซโู อะ คเวสโก. อานาปานสต:ิ วถิ แี หง ความสขุ ๒, อานาปานสติ ขนั้ ที่ ๑-๘ และขนั้ ท่ี ๙-๑๖. พมิ พค รง้ั ที่ ๕. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พว ริ ยิ ะการพมิ พ, ๒๕๔๘. ป. หลงสมบญุ , พนั ตร.ี พจนานกุ รม มคธ-ไทย. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พอ าทรการพมิ พ, สำนกั เรยี น วดั ปากนำ้ ภาษเี จรญิ กรงุ เทพฯ จดั พมิ พ, ๒๕๔๐. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม พ.ศ.๒๕๒๕. พิมพคร้ังที่ ๒. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพอักษร- เจริญทัศน, ๒๕๒๖.2-190

คูมือการปฏิบัติวิปสสนากัมมัฏฐาน(สายอริ ยิ าปถปพ พะ หรอื ยบุ หนอพองหนอ) 3-1

3-2 ธรรมปฏบิ ตั ิ ๕ สาย : พองยุบ ผูรวบรวม ๑. พระมหาปราโมทย ปโมทโิ ต ป.ธ.๙ ๒. พระมหาพภิ พ ภรู ปิ โฺ ญ ป.ธ.๗3-2

3-3ธรรมปฏบิ ตั ิ ๕ สาย : พองยุบ 3-3

3-4

สารบัญหลักการปฏิบัติวิปสสนากัมมัฏฐาน ..............................................................................................๗ ก. หลกั สตปิ ฏ ฐาน ๔ ..................................................................................................................๗ ๑. ความหมายของสติปฏฐาน.......................................................................................๗ ๒. ประเภทของสตปิ ฏ ฐาน ๔ ........................................................................................ ๘ ๓. จดุ ประสงคข องสตปิ ฏ ฐาน ....................................................................................... ๘ ๔. ประเภทบคุ คลเหมาะกบั สตปิ ฏ ฐาน ๔ ..................................................................... ๙ ข. หลกั ธรรมแหง การตรสั รู โพธปิ ก ขยิ ธรรม ๓๗ ประการ . .............................................. ๑๐ ๑. สตปิ ฏ ฐาน ๔ ........................................................................................................... ๑๐ ๒. สมั มปั ปธาน ๔........................................................................................................ ๑๑ ๓. อทิ ธบิ าท ๔ ............................................................................................................. ๑๑ ๔. อนิ ทรยี  ๕ ............................................................................................................... ๑๒ ๕. พละ ๕ .................................................................................................................... ๑๒ ๖. โพชฌงค ๗ ............................................................................................................. ๑๔ ๗. มรรคมอี งค ๘........................................................................................................ ๒๓ ค. หลักวิปสสนาภูมิ ๖ ในการปฏิบัติวิปสสนากัมมัฏฐาน ..................................................... ๒๔วิธีการปฏิบัติสมถกัมมัฏฐาน ......................................................................................................๓๑ ก. ความหมาย ..........................................................................................................................๓๑ ข. ประเภทของสมาธิ ...............................................................................................................๓๑ ค. อารมณของสมถกัมมัฏฐาน................................................................................................ ๓๒ ง. ผลของสมถกัมมัฏฐาน .........................................................................................................๓๕วิธีการปฏิบัติวิปสสนากัมมัฏฐาน ..............................................................................................๓๗ ก. ความหมาย .........................................................................................................................๓๗ ข. ประเภทของวิปสสนากัมมัฏฐาน.........................................................................................๓๙ ค. ประโยชนของวิปสสนากัมมัฏฐาน ...................................................................................... ๔๐ 3-5

ง. วธิ ปี ฏบิ ตั ติ ามแนวสตปิ ฏ ฐาน ๒๑ บรรพ ........................................................................... ๔๐ ๑. กายานปุ ส สนาสตปิ ฏ ฐาน ................................................................................. ๔๑ ๒. เวทนานปุ ส สนาสตปิ ฏ ฐาน ............................................................................... ๔๔ ๓. จติ ตานปุ ส สนาสตปิ ฏ ฐาน ................................................................................. ๔๕ ๔. ธมั มานปุ ส สนาสตปิ ฏ ฐาน ................................................................................. ๔๖ จ. หลักฐานและสภาวะของวิปสสนาญาณ ๑๖...................................................................... ๔๗ ฉ. เปรยี บเทยี บวปิ ส สนาญาณ ๑๖ ใน วสิ ทุ ธิ ๗ ................................................................... ๕๘ หลักการและวิธีปฏิบัติวิปสสนากัมมัฏฐาน ตามแนวของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย....................................................... ๖๕ ก. หลกั วปิ ส สนาภมู ิ ๖ ของวปิ ส สนากมั มฏั ฐาน..................................................................... ๖๕ ข. หลักการปฏิบัติตามแนวสติปฏฐาน ๔................................................................................ ๖๕ ค. หลักธรรมเก้ือหนุนในการบรรลุธรรม ................................................................................ ๖๖ วิธีการปฏิบัติวิปสสนากัมมัฏฐาน ................................................................................................. ๖๘ ก. กิจเบ้ืองตนท่ีควรรูและควรทำกอนเขาปฏิบัติ ................................................................... ๖๘ ข. การสมาทานพระกัมมัฏฐาน................................................................................................ ๖๙ ค. ขอท่ีควรเวนในการเจริญกัมมัฏฐาน ..................................................................................๗๓ ง. ขอ ทคี่ วรปฏบิ ตั ิ ในการเจรญิ กมั มฏั ฐาน ............................................................................ ๗๔ จ. การกำหนด ......................................................................................................................... ๗๕ ฉ. การปฏิบัติในอิริยาบถยอยตางๆ ....................................................................................... ๗๙ ช. การปฏิบัติในอิริยาบถยืนและอิริยาบถเดิน (เดินจงกรม) ................................................. ๘๙ ฌ. การปฏิบัติในอิริยาบถน่ัง (นั่งสมาธิ) .............................................................................. ๑๐๓ ญ. หลักธรรมเก้ือหนุนตอวิปสสนากัมมัฏฐาน ..................................................................... ๑๐๘ ฎ. การสงและสอบอารมณ ................................................................................................... ๑๐๙ ฏ. วิเคราะหเปรียบเทียบกับวิธีในมหาสติปฏฐานสูตร ........................................................ ๑๑๑3-6

หลักการและวิธีการปฏิบัติวิปสสนากัมมัฏฐาน๑ สติปฏฐานเปนทางสายเอก และเปนทางสายเดียวที่ทำใหผูดำเนินตามทางน้ี ถึงความบรสิ ทุ ธหิ์ มดจด จนบรรลพุ ระนพิ พาน ดงั นน้ั ผทู ป่ี รารถนาจะบรรลมุ รรค ผล นพิ พานตอ งเรมิ่ ตน ดว ยสตปิ ฏ ฐานน้ี ในมหาสตปิ ฏ ฐานสตู ร พระผมู พี ระภาคเจา ไดต รสั แกพ ระภกิ ษุทง้ั หลายวา “เอกายโน อยํ ภิกฺขเว มคฺโค สตฺตานํ วิสุทฺธิยา โสกปริเทวานํ สมตกิ กฺ มาย ทกุ ขฺ โทมนสสฺ านํ อตถฺ งคฺ มาย ญายสสฺ อธคิ มาย นพิ พฺ านสสฺ สจฉฺ กิ ริ ยิ าย ยททิ ํ จตตฺ าโร สตปิ ฏฐ านา” “หนทางนเี้ ปน หนทางเอก เพอื่ ความบรสิ ทุ ธหิ์ มดจดแหง สตั วท งั้ หลาย เพอ่ื ความกา วลว งเสยี ดว ยดซี ง่ึ ความโศกและความร่ำไร เพอื่ ดบั ไปแหง ทกุ ข และโทมนสั เพอ่ื บรรลญุ ายธรรม เพอ่ื กระทำใหแ จง ซง่ึ พระนพิ พาน สงิ่ นี้ คอื สตปิ ฏ ฐาน ๔”๒ก. หลกั สตปิ ฏ ฐาน ๔๑. ความหมายของสตปิ ฏ ฐาน สติ คอื ความระลกึ รอู ารมณท เี่ ปน ฝา ยดี ยบั ยง้ั มใิ หจ ติ ตกไปในทางชวั่ หรอื ความระลกึไดท รี่ ทู นั อารมณอ นั เปน ฝา ยดี ปฏ ฐาน คอื ความตง้ั มนั่ อยใู นอารมณ ดงั นน้ั สตปิ ฏ ฐานกค็ อื ความตง้ั มน่ั ในการระลกึ รอู ารมณท เี่ ปน ฝา ยดี มคี วามหมายโดยเฉพาะถงึ อารมณอ นั เปนทตี่ ง้ั มน่ั แหง สติ ๔ ประการ ประกอบดว ย กาย เวทนา จติ ธรรม๓๑ วทิ ยานพิ นธป รญิ ญาพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธศาสนา มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั เรอื่ ง การศกึ ษาวเิ คราะหผ ลสมั ฤทธใ์ิ นการปฏบิ ตั วิ ปิ ส สนากมั มฏั ฐานตามแนวของมหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๔๒ ท.ี ม. (ไทย) ๑๐/๓๗๓/๓๐๑.๓ ท.ี ม.อ. (ไทย) ๑๔/๒๗๖. 3-7

3-8 ธรรมปฏบิ ตั ิ ๕ สาย : พองยุบ๒. ประเภทของสตปิ ฏ ฐาน ๔ สตปิ ฏ ฐาน มี ๔ ประเภท คอื ก) พจิ ารณาเหน็ กายในกายภายในเนอื งๆ อยู พจิ ารณาเหน็ กายในกายภายนอกเนอื งๆอยู พจิ ารณาเหน็ กายในกายทง้ั ภายในและภายนอกเนอื งๆ อยู มคี วามเพยี ร มสี มั ปชญั ญะมสี ตกิ ำจดั อภชิ ฌาและโทมนสั เสยี ไดใ นโลก ข) พจิ ารณาเหน็ เวทนาในเวทนาภายในเนอื งๆ อยู พจิ ารณาเหน็ เวทนาในเวทนาภายนอกเนอื งๆ อยู พจิ ารณาเหน็ เวทนาในเวทนาทง้ั ภายในและภายนอกเนอื งๆ อยู มีความเพยี ร มสี มั ปชญั ญะ มสี ติ กำจดั อภชิ ฌาและโทมนสั เสยี ไดใ นโลก ค) พจิ ารณาเหน็ จติ ในจติ ภายในเนอื งๆ อยู พจิ ารณาเหน็ จติ ในจติ ภายนอกเนอื งๆอยู พจิ ารณาเหน็ จติ ในจติ ทง้ั ภายในและภายนอกเนอื งๆ อยู มคี วามเพยี ร มสี มั ปชญั ญะมสี ติ กำจดั อภชิ ฌา และโทมนสั เสยี ไดใ นโลก ง) พจิ ารณาเหน็ ธรรมในธรรมภายในเนอื งๆ อยู พจิ ารณาเหน็ ธรรมในธรรมภายนอกเนอื งๆ อยู พจิ ารณาเหน็ ธรรมในธรรมทง้ั ภายในและภายนอกเนอื งๆ อยู มคี วามเพยี ร มีสมั ปชญั ญะ มสี ติ กำจดั อภชิ ฌาและโทมนสั เสยี ไดใ นโลก๔๓. จดุ ประสงคข องสตปิ ฏ ฐาน สตติ ง้ั มนั่ พจิ ารณากาย เวทนา จติ ธรรมนี้ มจี ดุ ประสงคจ ำแนกไดเ ปน ๒ ทาง คอื ๕ สตติ ง้ั มน่ั ในการพจิ ารณาบญั ญตั ิ เพอ่ื ใหจ ติ สงบ ซง่ึ เรยี กวา สมถกมั มฏั ฐาน มอี านสิ งสใหบ รรลฌุ านสมาบตั ิ สตติ ง้ั มน่ั ในการพจิ ารณารปู นาม เพอ่ื ใหเ กดิ ปญ ญาเหน็ ไตรลกั ษณ คอื อนจิ จงั ทกุ ขงัอนตั ตา ซง่ึ เรียกวา วปิ ส สนากมั มฏั ฐาน มอี านสิ งสใ หบ รรลถุ งึ มรรค ผล นพิ พาน การกำหนดพจิ ารณาไตรลกั ษณเ พอ่ื ใหร เู หน็ สภาพตามความเปน จรงิ วา สงิ่ ทงั้ หลายลว นแตเ ปน รปู นามเทา นน้ั และรปู นามทงั้ หลายเหลา นนั้ กม็ ลี กั ษณะเปน อนจิ จงั ทกุ ขงั อนตั ตา๔ อภ.ิ ว.ิ (ไทย) ๓๕/๔๓๑/๒๑๑๕ ขนุ สรรพกจิ โกศล (โกวทิ ปท มะสนุ ทร), ผรู วบรวม, คมู อื การศกึ ษาพระอภธิ รรม ปรจิ เฉทที่ ๗ สมจุ จยสงั คหวภิ าค, หนา ๔๑.

3-9 ธรรมปฏบิ ตั ิ ๕ สาย : พองยบุหาไดเ ปน แกน สารยง่ั ยนื ไม จะไดก า วลว งเสยี ซงึ่ ความเหน็ ผดิ ไมใ หต ดิ อยใู นความยนิ ดยี นิ รา ยอนั เปน การเรมิ่ ตน ทจ่ี ะใหถ งึ หนทางดบั ทกุ ขท งั้ ปวง๔. ประเภทบคุ คลเหมาะกบั สตปิ ฏ ฐาน ๔ บคุ คลผเู จรญิ สมถะและวปิ ส สนา ซงึ่ แบง เปน ๒ อยา งคอื มนั ทบคุ คล ไดแ ก บคุ คลผมู ปี ญ ญาออ น และตกิ ขบคุ คล ไดแ กบ คุ คลผมู ปี ญ ญากลา หากจะแบง ใหล ะเอยี ด กม็ ถี งึ ๔จำพวกคอื ๖ ก) ตัณหาจริตบุคคล ท่ีมีปญญาออน บุคคลประเภทน้ีควรเจริญกายานุปสสนาสติ- ปฏ ฐาน จงึ จะไดผ ลดี เพราะเปน ของหยาบ เหน็ ไดง า ย และเหมาะกบั อธั ยาศยั ของบคุ คลพวกน้ี ข) ตณั หาจรติ บคุ คล ทมี่ ปี ญ ญากลา บคุ คลประเภทนค้ี วรเจรญิ เวทนานปุ ส สนาสต-ิ ปฏ ฐาน จงึ จะไดผ ลดี เพราะเปน กมั มฏั ฐานละเอยี ด คนมปี ญ ญากลา สามารถเหน็ ไดง า ย และเหมาะกบั อธั ยาศยั ของบคุ คลพวกนี้ ค) ทฏิ ฐจิ รติ บคุ คล ทม่ี ปี ญ ญาออ น บคุ คลประเภทนคี้ วรเจรญิ จติ ตานปุ ส สนาสตปิ ฏ ฐาน จงึ จะไดผ ลดี เพราะไมห ยาบไมล ะเอยี ดเกนิ ไป และเหมาะกบั อธั ยาศยั ของบคุ คล พวกน้ี ง) ทฏิ ฐจิ รติ บคุ คล ทม่ี ปี ญ ญากลา บคุ คลประเภทนค้ี วรเจรญิ ธมั มานปุ ส สนาสตปิ ฏ ฐาน จงึ จะไดผ ลดี เพราะเปน กมั มฏั ฐานละเอยี ด คนมปี ญ ญากลา สามารถเหน็ ไดง า ย และเหมาะกบั อธั ยาศยั ของบคุ คลพวกนี้ จ) สมถยานิกบุคคล ท่ีมีปญญาออน บุคคลประเภทนี้ควรเจริญกายานุปสสนาสติ- ปฏ ฐาน จงึ จะไดผ ลดี เพราะมนี มิ ติ ทจ่ี ะพงึ ถงึ ไดโ ดยไมย ากนกั ฉ) สมถยานิกบุคคล ที่มีปญญากลา บุคคลประเภทน้ีควรเจริญเวทนานุปสสนาสต-ิ ปฏ ฐาน จงึ จะไดผ ลดี เพราะไมต งั้ อยใู นอารมณห ยาบ และเหมาะกบั อธั ยาศยั กบั บคุ คลพวกน้ี๖ ม.ม.ู อ. (ไทย) ๑๒/๖๕๙.

3 - 10 ธรรมปฏบิ ตั ิ ๕ สาย : พองยบุ ช) วปิ ส สนายานกิ บคุ คล ทมี่ ปี ญ ญาออ น บคุ คลประเภทนคี้ วรเจรญิ จติ ตานปุ ส สนา- สตปิ ฏ ฐาน จงึ จะไดผ ลดี เพราะไมห ยาบไมล ะเอยี ดเกนิ ไป และเหมาะกบั อธั ยาศยั ของบคุ คลพวกน้ี ซ) วปิ ส สนายานกิ บคุ คล ทมี่ ปี ญ ญากลา บคุ คลประเภทนคี้ วรเจรญิ ธมั มานปุ ส สนา- สตปิ ฏ ฐาน จงึ จะไดผ ลดเี พราะเปน อารมณล ะเอยี ดมาก และเหมาะกบั อธั ยาศยั ของบคุ คลพวกนี้ นอกจากนนั้ พระพทุ ธองคย งั ไดต รสั ถงึ สตปิ ฏ ฐาน ๔ ทส่ี ามารถละวปิ ล ลาส คอื ความเขา ใจผดิ ๔ อยา งไดแ ก๗ - สภุ วปิ ล ลาส (เขา ใจผดิ คดิ วา รา งกายเปน ของงาม) - สขุ วปิ ล ลาส (เขา ใจผดิ คดิ วา รา งกายเปน สขุ ) - นจิ จวปิ ล ลาส (เขา ใจผดิ คดิ วา รา งกายเปน ของเทยี่ ง) - อตั ตวปิ ล ลาส (เขา ใจผดิ คดิ วา รา งกายเปน ตวั ตน)ข. หลกั ธรรมแหง การตรสั ร:ู โพธปิ ก ขยิ ธรรม ๓๗ ประการ โพธิ แปลวา รู มคี วามหมายถงึ รกู ารทำใหส นิ้ อาสวะ คอื รอู รยิ สจั ๔ และรกู ารทำจติใหส งบ คอื ถงึ ฌานดว ย ปก ขยิ ะ แปลวา ทเ่ี ปน ฝา ย ดงั นน้ั โพธปิ ก ขยิ ธรรมจงึ มคี วามหมายวา ธรรมทเ่ี ปน ฝา ยใหร ถู งึ ฌาน มรรคผล และนพิ พาน ดว ยการปฏบิ ตั ติ ามโพธปิ ก ขยิ ธรรม๓๗ ประการ ใหบ รบิ รู ณพ รอ มกนั หมดในขณะจติ เดยี วของการบรรลธุ รรม แปลกนั สน้ั ๆ วาธรรมทเี่ ปน เครอื่ งใหต รสั รู ทงั้ หมด ๗ กอง รวม ๓๗ ประการ ไดแ ก๘ ๑. สตปิ ฏ ฐาน ๔ สตปิ ฏ ฐาน ๔ คอื การพจิ ารณาเหน็ กายในกาย เวทนาในเวทนา จติ ในจติ และธรรมในธรรม ทงั้ ภายในและภายนอก๗ พระธรรมธรี ราชมหามนุ ี (โชดก ญาณสทิ ธฺ )ิ , วปิ ส สนากรรมฐาน ภาค ๒, (กรงุ เทพฯ : บจก. อมั รนิ ทร พรนิ้ ตงิ้ กรปุ , ๒๕๓๒), หนา ๘๓๘ เรอ่ื งเดยี วกนั , หนา ๓๙

3 - 11 ธรรมปฏบิ ตั ิ ๕ สาย : พองยุบ ๒. สมั มปั ปธาน ๔ สมั มปั ปธาน คอื ความเพยี รพยายามทำชอบ ทป่ี ระกอบดว ยความเพยี รพยายามอนัยง่ิ ยวด แมว า เนอื้ จะเหอื ดเลอื ดจะแหง ไป คงเหลอื แตห นงั เอน็ กระดกู กต็ าม ตราบใดทย่ี งัไมบ รรลถุ งึ ธรรมอนั พงึ ถงึ ได กจ็ ะไมท อ ถอยจากความเพยี รนนั้ เปน อนั ขาด และความเพยี รพยายามอนั ยงิ่ ยวดในธรรม ๔ ประการ จงึ จะไดช อ่ื วา ตง้ั หนา ทำชอบในโพธปิ ก ขยิ ธรรมน้ี ไดแ ก ก) เพยี รพยายามละอกสุ ล ทเี่ กดิ ขนึ้ แลว ใหห มดไป ข) เพยี รพยายามไมใ หอ กสุ ลธรรม ทย่ี งั ไมเ กดิ เกดิ ขนึ้ ค) เพยี รพยายามใหก สุ ลธรรม ทยี่ งั ไมเ กดิ เกดิ ขน้ึ ง) เพยี รพยายามใหก สุ ลธรรม ทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว เจรญิ ยงิ่ ๆ ขน้ึ ไป๙ ๓. อทิ ธบิ าท ๔ อทิ ธบิ าท คอื ธรรมทเ่ี ปน เหตใุ หถ งึ ซงึ่ ความสมั ฤทธผิ ล สมั ฤทธผิ ลในทน่ี ห้ี มายถงึ ความสำเรจ็ คอื บรรลถุ งึ กสุ ลญาณจติ และมรรคจติ อทิ ธบิ าท มี ๔ ประการ คอื ก) ฉนั ทะ คอื ความเตม็ ใจ ความปลงใจกระทำ เปน เหตใุ หส มั ฤทธผิ ล องคธ รรมไดแ ก ฉนั ทเจตสกิ ข) วริ ยิ ะ คอื ความเพยี รพยายามอยา งยง่ิ ยวด เปน เหตใุ หส มั ฤทธผิ ล องคธ รรมไดแ ก วริ ยิ เจตสกิ ค) จติ ตะ คอื ความทมี่ จี ติ จดจอ ปก ใจอยา งมนั่ คง เปน เหตใุ หส มั ฤทธผิ ล องคธ รรมไดแ ก จติ ง) วมิ งั สา คอื ปญ ญาเปน เหตใุ หส มั ฤทธผิ ล องคธ รรมไดแ ก ปญ ญาเจตสกิ กจิ การงานอนั เปน กสุ ลทถ่ี งึ ซงึ่ ความสมั ฤทธผิ ลนน้ั ยอ มไมป ราศจากธรรมทงั้ ๔ ทเี่ ปนองคธรรมของอิทธิบาทนี้เลย แตวาความเกิดข้ึนนั้นไมกลาเสมอกัน บางทีฉันทะกลาบางทวี ริ ยิ ะกลา บางทจี ติ กลา บางทกี ป็ ญ ญากลา ถา ธรรมใดกลา แลว เรยี กธรรมทก่ี ลานนั่ แตอ งคเ ดยี ววา เปน อทิ ธบิ าท๑๐๙ ขนุ สรรพกจิ โกศล (โกวทิ ปท มะสนุ ทร), ผรู วบรวม, คมู อื การศกึ ษาพระอภธิ รรม ปรจิ เฉทท่ี ๗ สมจุ จยสงั คหวภิ าค, หนา ๕๗-๕๘.๑๐ เรอื่ งเดยี วกนั , หนา ๖๑-๖๒.

3 - 12 ธรรมปฏบิ ตั ิ ๕ สาย : พองยบุ ๔. อนิ ทรยี  ๕ อนิ ทรยี  คอื ความเปน ใหญ หรอื ความเปน ผปู กครองในสภาวธรรมทเ่ี ปน ฝา ยดี และเฉพาะฝา ยดที จี่ ะใหร ใู หถ งึ ซงึ่ ฌานธรรม และอรยิ สจั ซง่ึ มี ๕ ประการ ดงั น้ี สัทธินทรีย คือ ความเปนใหญในการยังความสัทธาปสาทในอารมณที่เปนฝายดีองคธ รรมไดแ ก สทั ธาเจตสกิ มี ๒ อยา ง คอื ปกตสิ ทั ธา และภาวนาสทั ธา ปกตสิ ทั ธาไดแ ก ทาน สลี ภาวนา อยา งสามญั ของชนทง้ั หลายโดยปกติ ซง่ึ สทั ธาชนดิ นย้ี งั ไมแ รงกลาเพราะอกสุ ลธรรมสามารถทำใหส ทั ธาเสอื่ มไปไดโ ดยงา ย สว นภาวนาสทั ธา ไดแ ก สมถะหรอืวิปสสนาท่ีเนื่องมาจากกัมมัฏฐานตางๆ มีอานาปานสติเปนตน สัทธาชนิดน้ีแรงกลาและแนบแนน ในจติ ใจมาก ในสมถกมั มฏั ฐาน อกสุ ลจะทำใหส ทั ธาเสอ่ื มไปไดโ ดยยาก แตถ าเปน วปิ ส สนากมั มฏั ฐาน อกสุ ลไมอ าจจะทำใหส ทั ธานน้ั เสอ่ื มไปไดเ ลย ภาวนาสทั ธานแ่ี หละทไี่ ดช อ่ื วา สทั ธนิ ทรยี  วริ ยิ นิ ทรยี  คอื ความเปน ใหญใ นการยงั ความเพยี รพยายามอยา งยง่ิ ยวด ซง่ึ ตอ งเปนความเพียรท่ีบริบูรณดวยองคทั้ง ๔ แหงสัมมัปปธาน จึงจะเรียกไดวาเปน วิริยินทรีย ในโพธปิ ก ขยิ ธรรมน้ี องคธ รรมไดแ ก วริ ยิ เจตสกิ สตินทรีย คือ ความเปนใหญในการระลึกรูอารมณอันเกิดมาจากสติปฏฐาน ๔องคธ รรมไดแ ก สตเิ จตสกิ สมาธินทรีย คือ ความเปนใหญในการทำจิตใหเปนสมาธิ ตั้งใจ ม่ันอยูในอารมณกมั มฏั ฐาน องคธ รรมไดแ ก เอกคั คตาเจตสกิ ปญ ญนิ ทรยี  คอื ความเปน ใหญใ นการใหร เู หน็ รปู นาม ขนั ธ อายตนะ ธาตุ วา เตม็ ไปดว ยทกุ ขโ ทษภยั เปน วฏั ฏทกุ ข องคธ รรมไดแ ก ปญ ญาเจตสกิ ๑๑ ๕. พละ ๕ พละ หมายเฉพาะ กสุ ลพละ ซง่ึ มลี กั ษณะ ๒ ประการ คอื อดทนไมห วน่ั ไหวประการหนงึ่ และยำ่ ยธี รรมทเี่ ปน ขา ศกึ อกี ประการหนงึ่ พละนม้ี ี ๕ ประการ คอื สทั ธาพละ คอื๑๑ เรอื่ งเดยี วกนั , หนา ๖๒-๖๓.

3 - 13 ธรรมปฏบิ ตั ิ ๕ สาย : พองยุบความเชอื่ ถอื เลอื่ มใส เปน กำลงั ทำใหอ ดทนไมห วน่ั ไหว และย่ำยตี ณั หาอนั เปน ขา ศกึ องคธ รรมไดแ ก สทั ธาเจตสกิ ปกตสิ ทั ธา คอื ความเปน สทั ธาทยี่ งั ปะปนกบั ตณั หา หรอื เปน สทั ธาทอี่ ยใู ตอ ำนาจของตณั หา จงึ ยากทจี่ ะอดทนได สว นมาก มกั จะออ นไหวไปตามตณั หาไดโ ดยงา ย อยา งทวี่ าสทั ธากลา กต็ ณั หาแก สว นภาวนาสทั ธา ซงึ่ เปน สทั ธาทเ่ี กดิ มาจากอารมณก มั มฏั ฐาน จงึอดทน ไมห วน่ั ไหว และย่ำยหี รอื ตดั ขาดจากตณั หาได วริ ยิ พละ คอื ความเพยี รพยายามอยา งยงิ่ ยวด เปน กำลงั ทำใหอ ดทน ไมห วนั่ ไหว และยำ่ ยโี กสชั ชะคอื ความเกยี จครา นอนั เปน ขา ศกึ องคธ รรมไดแ ก วริ ยิ เจตสกิ ความเพยี รอยา งปกตติ ามธรรมดาของสามญั ชน ยงั ปะปนกบั โกสชั ชะอยู ขยนั บา ง เฉอื่ ยๆ ไปบา ง จนถงึกบั เกยี จครา นไปเลย แตว า ถา ความเพยี รอยา งยิง่ ยวด แมเ นอ้ื จะเหอื ดเลอื ดจะแหง กไ็ มยอมทอถอยแลว ยอมจะอดทนไมหว่ันไหวไป จนกวาจะเปนผลสำเร็จ และย่ำยีความเกยี จครา นไดแ นน อน สตพิ ละ คอื ความระลกึ ไดใ นอารมณส ตปิ ฏ ฐาน เปน กำลงั ทำใหอ ดทน ไมห วนั่ ไหวและย่ำยมี ฏุ ฐสตคิ อื ความพลง้ั เผลอหลงลมื อนั เปน ขา ศกึ องคธ รรม ไดแ ก สตเิ จตสกิ สมาธพิ ละ คอื ความตงั้ ใจมน่ั อยใู นอารมณก มั มฏั ฐาน เปน กำลงั ใหอ ดทน ไมห วน่ัไหว และย่ำยวี กิ เขปะ คอื ความฟงุ ซา นอนั เปน ขา ศกึ องคธ รรมไดแ ก เอกคั คตาเจตสกิ ปญ ญาพละ คอื ความรอบรเู หตผุ ลตามความเปน จรงิ เปน กำลงั ทำใหอ ดทนไมห วน่ัไหว และยำ่ ยสี มั โมหะ คอื ความมดื มน หลงงมงายอนั เปน ขา ศกึ องคธ รรม ไดแ ก ปญ ญา-เจตสิก๑๒ การเจริญสมถกัมมัฏฐานก็ดี วิปสสนากัมมัฏฐานก็ดี จะตองใหพละท้ัง ๕ นี้สมำ่ เสมอกนั จงึ จะสมั ฤทธผิ ล ถา พละใดกำลงั ออ น การเจรญิ สมถะหรอื วปิ ส สนานนั้ กต็ ง้ัมนั่ อยไู มไ ด ถงึ กระนน้ั กย็ งั ไดผ ลตามสมควร ตามสถานการณต อ ไปน้ี คอื ๑) ผมู กี ำลงั สทั ธามาก แตพ ละอกี ๔ คอื วริ ยิ ะ สติ สมาธิ ปญ ญา นน้ั ออ นไป ผนู นั้๑๒ เรอื่ งเดยี วกนั , หนา ๖๓-๖๕.

3 - 14 ธรรมปฏบิ ตั ิ ๕ สาย : พองยบุยอ มรอดพน จากตณั หาไดบ า ง โดยมคี วามอยากไดโ ภคสมบตั นิ อ ยลง ไมถ งึ กบั แสวงหาในทางทจุ รติ มคี วามสนั โดษ คอื สนตฺ ฏุ ฐ ี พอใจเทา ทมี่ อี ยู พอใจ แสวงหาตามควรแกก ำลงัและพอใจแสวงหาดว ยความสุจริต ๒) ผทู ม่ี กี ำลงั สทั ธาและวริ ยิ ะมาก แตพ ละทเ่ี หลอื อกี ๓ ออ นไป ผนู นั้ ยอ มรอดพนจากตณั หาและโกสชั ชะได แตว า ไมส ามารถทจี่ ะเจรญิ กายคตาสติ และวปิ ส สนากมั มฏั ฐานจนเปน ผลสำเรจ็ ได ๓) ผทู มี่ กี ำลงั สทั ธา วริ ยิ ะและสตมิ าก แตพ ละทเ่ี หลอื อกี ๒ ออ นไป ผนู น้ั ยอ มสามารถเจรญิ กายคตาสตไิ ด แตว า เจรญิ วปิ ส สนากมั มฏั ฐานไมส ำเรจ็ ได ๔) ผทู มี่ กี ำลงั ทงั้ ๔ มาก แตว า ปญ ญาออ นไป ยอ มสามารถเจรญิ ฌานสมาบตั ไิ ด แตไมส ามารถเจรญิ วปิ ส สนากมั มฏั ฐานได ๕) ผทู มี่ ปี ญ ญาพละมาก แตพ ละอนื่ ๆ ออ นไป ยอ มสามารถเรยี นรพู ระปรยิ ตั ิ หรอืพระปรมตั ถไ ดด ี แตว า ตณั หา โกสชั ชะ มฏุ ฐะ และวกิ เขปะ เหลา นม้ี กี ำลงั ทวมี ากขนึ้ ๖) ผทู ม่ี วี ริ ยิ ะพละและปญ ญาพละ เพยี ง ๒ อยา งเทา น้ี แตเ ปน ถงึ ชนดิ อทิ ธบิ าทโดยบรบิ รู ณแ ลว การเจรญิ วปิ ส สนากย็ อ มปรากฏได ๗) ผทู บ่ี รบิ รู ณด ว ยสทั ธา วริ ยิ ะ และสตพิ ละ ทง้ั ๓ นย้ี อ ม สามารถทจี่ ะทำการไดตลอดเพราะสัทธาพละสามารถประหารปจจยามิสสตัณหา (ความติดใจ อยากไดปจจัย ๔มอี าหาร เครอื่ งนงุ หม ทอี่ ยอู าศยั และยารกั ษาโรค) และโลกามสิ สตณั หา (ความตดิ ใจอยากไดโ ลกธรรม ๔ มลี าภ ยศ สรรเสรญิ และสขุ ) ได วริ ยิ พละประหารโกสชั ชะ (ความเกยี จครา น) ได สตพิ ละประหารมฏุ ฐสติ (ความหลงลมื ) ได ตอ จากนนั้ สมาธพิ ละและปญ ญาพละกจ็ ะปรากฏขนึ้ ตามกำลงั ตามสมควร ๖. โพชฌงค ๗ โพชฌงค คอื เครอ่ื งใหต รสั รู (อรยิ สจั ๔) โพธเิ ปน ตวั รู โพชฌงคเ ปน สว นทใี่ หเ กดิตวั รู สง่ิ ทรี่ อู รยิ สจั ๔ นนั้ คอื มรรคจติ สง่ิ ทเี่ ปน ผลแหง การรอู รยิ สจั ๔ นน้ั คอื ผลจิตองคท เ่ี ปน เครอ่ื งใหร อู รยิ สจั ๔ ทมี่ ชี อ่ื วา โพชฌงคน ม้ี ี ๗ ประการ คอื

3 - 15 ธรรมปฏบิ ตั ิ ๕ สาย : พองยบุ ก) สตสิ มั โพชฌงค คอื สตเิ จตสกิ ทร่ี ะลกึ รอู ยใู นอารมณส ตปิ ฏ ฐานทงั้ ๔ ตอ เนอ่ื งกนัมา จนแกก ลา เปน สตนิ ทรยี  เปน สตพิ ละ เปน สมั มาสติ ดว ยอำนาจแหง วปิ ส สนากมั มฏั ฐานยอ มทำลายความประมาทเสยี ได สตอิ ยา งนแ้ี หละทเี่ รยี กวา สตสิ มั โพชฌงค มคี วามสามารถทำใหเ กดิ มรรคญาณได การทสี่ ตจิ ะเปน ถงึ สมั โพชฌงคไ ดด ว ยมปี จ จยั ธรรม คอื สงิ่ ทอ่ี ปุ การะเกอื้ กลู ๔ ประการ คอื ๑) ตอ งประกอบดว ยสตสิ มั ปชญั ญะ ในสมั ปชญั ญบรรพ ๒) ตอ งเวน จากการสมาคมกบั ผทู ไี่ มไ ดเ จรญิ สตปิ ฏ ฐาน ๓) ตอ งสมาคมกบั ผทู เี่ คยเจรญิ สตปิ ฏ ฐาน ๔) ตอ งพยายามเจรญิ สตใิ หร ตู วั อยทู กุ ๆ อารมณ และทกุ ๆ อริ ยิ าบถ เมื่อบริบูรณดวยปจจัยธรรมเหลานี้แลว สติสัมโพชฌงคท่ียังไมเกิด ยอมเกิดขึ้นองคธ รรมของสตสิ มั โพชฌงค ไดแ ก สตเิ จตสกิ ข) ธมั มวจิ ยสมั โพชฌงค คอื ปญ ญาเจตสกิ ทร่ี รู ปู นามวา ไมเ ทยี่ ง เปน ทกุ ข เปน อนตั ตาจนแกก ลา เปน วมิ งั สทิ ธบิ าท เปน ปญ ญนิ ทรยี  เปน ปญ ญาพละ เปน สมั มาทฏิ ฐิ ดว ยอำนาจแหง วปิ ส สนากมั มฏั ฐานยอ มทำลายโมหะเสยี ได ปญ ญาอยา งนเี้ รยี กวา ธมั มวจิ ยสมั โพชฌงคทม่ี คี วามสามารถทำใหเ กดิ มรรคญาณได การทปี่ ญ ญาจะเปน ถงึ ธมั มวจิ ยสมั โพชฌงคไ ดน นั้ดว ยมปี จ จยั ธรรม คอื สงิ่ ทอี่ ปุ การะ เกอ้ื กลู ๗ ประการ คอื ๑) การศกึ ษาวปิ ส สนาภมู ิ ๖ มขี นั ธ ๕ เปน ตน หรอื อยา งนอ ยกใ็ หร รู ปู รนู าม ๒) รกั ษาความสะอาดแหง รา งกาย ตลอดจนเครอื่ งอปุ โภคบรโิ ภคและทอี่ ยอู าศยั ๓) กระทำอนิ ทรยี  คอื สทั ธากบั ปญ ญา และวริ ยิ ะกบั สมาธิ ใหเ สมอกนั เพราะวา ถา สทั ธากลา กลบั ทำใหเ กดิ ตณั หา หากวา สทั ธาออ น ยอ มทำใหค วามเลอื่ มใส นอยเกินควร ปญญากลา ทำใหเกิดวิจิกิจฉา คือคิดออกนอกลูนอกทางไป ปญญาออนก็ทำใหไมเขาถึงเหตุผลตามความเปนจริง วิริยะกลาทำใหเกิด อทุ ธจั จะคอื ฟงุ ซา นไป วริ ยิ ะออ น กท็ ำใหเ กดิ โกสชั ชะคอื เกยี จครา น สมาธิ กลา ทำใหต ดิ ในความสงบสขุ นนั้ เสยี สมาธอิ อ นกท็ ำใหค วามตง้ั ใจมนั่ ในอารมณ นน้ั หยอ นไป สว นสตนิ นั้ ไมม เี กนิ มแี ตจ ะขาดอยเู สมอ ในการเจรญิ สมถกมั มฏั ฐาน

3 - 16 ธรรมปฏบิ ตั ิ ๕ สาย : พองยบุ สมาธติ อ งเปน หวั หนา สำหรบั ทางวปิ ส สนากมั มฏั ฐานปญ ญาจะตอ งเปน ตวั นำ ๔) ตอ งเวน จากผไู มม ปี ญ ญา เพราะไมเ คยรจู กั ธมั มวจิ ยสมั โพชฌงค หรอื ไมเ คยเจรญิ วปิ สสนากมั มัฏฐาน ๕) ตอ งสมาคมกบั ผมู ปี ญ ญาทเี่ คยเจรญิ วปิ ส สนา รอบรรู ปู นามดแี ลว ๖) ตอ งหมน่ั เจรญิ กมั มฏั ฐานอยเู นอื งๆ โดยอารมณท เี่ ปน ภมู ขิ องวปิ ส สนา ๗) ตอ งกำหนดพจิ ารณารปู นามอยทู กุ อริ ยิ าบถและทกุ อารมณ เมอ่ื บรบิ รู ณด ว ย ปจ จยั ธรรมครบแลว ธมั มวจิ ยสมั โพชฌงคท ย่ี งั ไมเ กดิ กย็ อ มจะเกดิ ขน้ึ องค ธรรมของธมั มวจิ ยสมั โพชฌงค ไดแ ก ปญ ญาเจตสกิ ค) วริ ยิ สมั โพชฌงค คอื วริ ยิ เจตสกิ ทท่ี ำกจิ สมั มปั ปธานทง้ั ๔ จน แกก ลา เปน วริ ยิ ทิ ธิ-บาท เปน วริ ยิ นิ ทรยี  เปน วริ ยิ พละ และเปน สมั มาวายามะ ดว ยอำนาจแหง วปิ ส สนากมั มฏั ฐานยอ มทำลายโกสชั ชะลงได จงึ เรยี กวา วริ ยิ สมั โพชฌงค การทวี่ ริ ยิ ะจะเปน ถงึ สมั โพชฌงค ไดดว ยมสี ง่ิ อปุ การะเกอื้ กลู ๑๑ ประการ คอื ๑) พจิ ารณาใหร ถู งึ โทษภยั ในอบายทงั้ ๔ และถา มคี วามประมาทมวั เมาอยู กจ็ ะไมพ นไปจากอบายได เมอื่ รอู ยา งนี้ กจ็ ะกระทำความเพยี รพยายามเพอื่ ใหพ น อบาย ๒) ใหร ผู ลานสิ งสแ หง ความเพยี รวา ทกุ สง่ิ ทกุ อยา งยอ มสำเรจ็ ไดด ว ยความเพยี ร เมอื่รอู ยา งน้ี กจ็ ะกระทำความเพยี รโดยไมท อ ถอย ๓) รแู ละเขา ใจวา การเจรญิ สตปิ ฏ ฐานนเี้ ปน ทางเดยี วทจ่ี ะใหพ น อบาย และใหบ รรลุมรรคผล เมอื่ รอู ยา งนก้ี จ็ ะกระทำความเพยี รอยา งยง่ิ ยวด ๔) พจิ ารณาใหร วู า การทไี่ ดร บั อามสิ บชู า กเ็ พราะปฏบิ ตั ธิ รรมตามควรแกธ รรม จงึควรทจ่ี ะปฏบิ ตั ดิ ว ยความเพยี รพยายามใหย งิ่ ๆ ขนึ้ ๕) พจิ ารณาวา การทไ่ี ดเ กดิ มาเปน มนษุ ย กเ็ พราะไดก ระทำความดมี าแตป างกอ น เปนโอกาสอนั ประเสรฐิ แลว ทจ่ี ะเพยี รพยายามกระทำความดใี หย งิ่ ๆ ขนึ้ ไปกวา นอ้ี กี ใหส มกบั ที่ไดชื่อวาเปนผูมีใจสูง






























































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook