Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_67

tripitaka_67

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:43

Description: tripitaka_67

Search

Read the Text Version

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย จฬู นิเทส เลม ๖ - หนา ท่ี 373หาอาสวะมไิ ด คอื ผลวิมตุ ตทิ ป่ี ราศจากอาสวะ. บทวา ปฺ าวิมุตฺตึปญญาวิมุตติ คือปญญาในอรหตั ผล. พึงทราบวา สมาธชิ อื่ วา เจโต-วมิ ุตติ เพราะสํารอกราคะ ปญ ญาในอรหตั ผล ช่อื วา ปญ ญาวมิ ตุ ติเพราะสํารอกอวชิ ชา. อกี อยา งหน่งึ อรหัตผลอันตณั หาจริตบุคคลบรรลแุ ลว เพราะขมกิเลสทั้งหลายดว ยกําลังของอัปปนาฌาน ชอื่ วา เจโตวมิ ุตติ เพราะสํารอกราคะ. อรหัตผลอนั ทฏิ ฐจิ รติ บุคคลยังเพียงอปุ จารฌานใหเกิด เห็นแจงแลวจึงบรรลุ ชอื่ วา ปญญาวมิ ุตติ เพราะสํารอกอวิชชา. อกี อยางหนง่ึ อนาคามผิ ล ชือ่ วา เจโตวิมตุ ติ เพราะสํารอกราคะที่หมายถงึ กามราคะ. อรหตั ผล ชอ่ื วา ปญ ญาวมิ ตุ ติ เพราะสาํ รอกอวชิ ชาโดยประการท้ังปวง. พงึ ทราบความในบทวา อากิ ฺจฺายตเน อธมตุ ตฺ ิ วโิ มกฺเขนนอ มไปในอากญิ จญั ญายตนะดว ยวิโมกข ดงั น้ตี อไป. ชื่อวา วิโมกขด ว ยอรรถวา กระไร. ดวยอรรถวา พน. พน อะไร. พน ดว ยดีจากธรรมเปนขา ศกึ และพน ดวยดีดวยอํานาจความยินดยี ิง่ ในอารมณ. ทา นกลา วไวว าวโิ มกขย อมเปน ไปในอารมณ เพราะสิน้ สงสยั เพราะไมติเตียน ดจุ ทารกปลอยอวัยวะนอ ยใหญตามสบายนอนบนตกั ของบดิ า. บทวา เอวรูเปนวิโมกเฺ ขน วมิ ุตฺต พนแลว ดวยวโิ มกขเ หน็ ปานนี้ คือปลอ ยวิญญานญั จา-ยตนะแลวจึงพน ดวยอาํ นาจแหง ความไมสงสัยในอากิญจัญญายตนะ.บทวา อลฺลิน ตตฺราธิมุตฺต ไมต ดิ คือนอ มไปในสมาธนิ น้ั . บทวาตทาธมิ ุตตฺ  คอื นอมไปในฌานนนั้ . บทวา ตทาธิปเตยยฺ  คือ มีฌานน้นั เปนใหญ.

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย จูฬนเิ ทส เลม ๖ - หนาที่ 374 หาบทมอี าทวิ า รปู าธมิ ตุ ฺโต นอมใจไปในรูปดังนี้ ทานกลาวดวยความหนกั ในกามคุณ. สามบทมอี าทิวา กุลาธมิ ตุ ฺโต นอมใจไปในตระกูล ทา นกลาวดวยความหนกั ในตระกลู มกี ษัตริยเปน ตน . บทมีอาทิวา ลาภาธิมุตฺโต นอ มใจไปในลาภ ทานกลาวดวยอาํ นาจแหงโลกธรรม. สบ่ี ทมีอาทิวา จีวราธมิ ุตฺโต นอมใจไปในจวี ร ทานกลาวดวยอํานาจแหงปจจัย. บทมีอาทิวา สตุ ตฺ นตฺ าทิมตุ ฺโต นอ มใจไปในพระสูตร ทา นกลาวดวยอาํ นาจแหงพระไตรปฎ ก. บทวา อารฺกิ ง-คาธิมุตฺโต นอมใจไปในองคข องภกิ ษผุ ถู ือการอยูปาเปนวตั ร ทา นกลาวดว ยอาํ นาจแหงธดุ งค. บทมอี าทิวา ปมชฌฺ านาธมิ ตุ โฺ ต นอมใจไปในปฐมฌาน ทา นกลาวดว ยอํานาจแหง การไดเ ฉพาะ. บทวา กมมฺ ปรายนมกี รรมเปนที่ไปในเบอ้ื งหนา ทา นกลาวดวยอาํ นาจแหงอภิสงั ขาร. บทวาวิปากปรายน มวี ิบากเปนทไี่ ปในเบ้ืองหนา ทา นกลา วดวยอาํ นาจแหงความเปนไป. บทวา กมมฺ ครกุ  หนกั อยใู นกรรม คือหนักอยูในเจตนา.บทวา ปฏิสนธฺ ิครุก หนกั อยูใ นปฏสิ นธิ คอื หนักอยใู นการเกิด. บทวา อากิจฺ ฺ าสมฺภว เปน เหตใุ หเกดิ ในอากิญจัญญายตนภพคือรกู รรมาภสิ ังขารวา เปน เหตุใหเ กดิ ในอากิญจญั ญายตนภพ. รูอยางไร.รูวานเี้ ปน ปลิโพธ (ความหวงใย). บทวา นนทฺ ิสโฺ ชน อิติ มีความเพลิดเพลินเปน เคร่ืองประกอบ คอื รวู า ความเพลดิ เพลนิ กลา วคอืราคะในอรูป ๔ เปน เครอ่ื งประกอบ. บทวา ตโต ตตฺถ วปิ สฺสติ แตน ั้นกพ็ ิจารณาเหน็ (ธรรม) ในสมาบัติน้ัน คือออกจากอากญิ จญั ญายตน-สมาบัติแลว เห็นแจงสมาบัตนิ นั้ โดยความเปนของไมเท่ียงเปน ตน. บทวาเอต าณ ตถ ตสฺส นนั่ เปนญาณอันเทย่ี งแทของบุคคลน้ัน คือนั่น

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย จูฬนเิ ทส เลม ๖ - หนาที่ 375เปนอรหัตญาณอนั เกิดข้นึ แลว ตามลาํ ดบั แกบุคคลนั้นผูเหน็ แจงอยอู ยางน้.ีบทวา วุสีมโต คอื อยจู บพรหมจรรย. บททเี่ หลือในบททั้งปวงชดั ดแี ลว. พระผมู พี ระภาคเจาทรงแสดงพระสูตรแมนีด้ ว ยธรรมเปนยอด คือพระอรหัต ดว ยประการฉะน้ี. และเมือ่ จบเทศนา ไดม ผี บู รรลธุ รรมเชน กบั ทก่ี ลาวแลวในครง้ั กอ น. จบอรรถกถาโปสาลมาณวกปญหานิทเทสท่ี ๑๔

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย จูฬนิเทส เลม ๖ - หนาที่ 376 โมฆราชมาณวกปญ หานิทเทส วา ดว ยปญ หาของทา นโมฆราช [๔๙๐] (ทานโมฆราชทูลถามวา) ขา แตพระสกั กะ ขา พระองคไดท ูลถาม ๒ คร้ังแลว พระผมู พี ระภาคเจา ผูมีพระจักษุ มิไดทรงพยากรณแก ขา พระองค ไดยนิ มาวา พระผูมีพระภาคเจาเปน พระ- เทพฤๅษี (มผี ทู ูลถามปญหา) เปน คร้งั ที่ ๓ ยอ มทรง พยากรณ. [๔๙๑] คาํ วา ขา แตพระสักกะ ขาพระองคไ ดทลู ถาม ๒ คร้งัแลว ความวา พราหมณน นั้ ไดท ลู ถามปญหากะพระผูม ีพระภาคเจาแลว ๒ครง้ั พระผมู ีพระภาคเจาอันพราหมณน ั้นทูลถามปญ หา ไมท รงพยากรณในลําดับแหงพระจักษุวา ความแกรอบแหง อนิ ทรียข องพราหมณนจ้ี ักมี.พระผูม ีพระภาคเจา ทรงพระนามวา สกั กะ ในคําวา สกกฺ พระผูมี-พระภาคเจาทรงผนวชจากศากยสกุล แมเพราะเหตุดังนี้ จงึ ทรงพระนามวา สกั กะ. อกี อยางหนง่ึ พระผมู พี ระภาคเจาเปน ผูมั่งค่ัง มที รัพยม าก นับวามีทรัพยมาก แมเ พราะเหตุดงั นี้ จึงทรงพระนามวา สกั กะ. พระผมู ีพระ-ภาคเจา นนั้ ทรงมที รัพยเ หลา นนั้ คือ ทรัพยค อื ศรทั ธา ทรัพยคอื ศีลทรพั ยค ือหริ ิ ทรัพยค ือโอตตปั ปะ ทรัพยค ือสุตะ ทรพั ยคอื จาคะ ทรัพยคือปญ ญา ทรพั ยค ือสติปฏฐาน ทรัพยค ือสมั มปั ปธาน ทรัพยค อื อทิ ธ-ิบาท ทรพั ยค อื อนิ ทรีย ทรัพยค อื พละ ทรัพยค ือโพชฌงค ทรพั ยคือ

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย จฬู นเิ ทส เลม ๖ - หนาท่ี 377มรรค ทรัพยค อื ผล ทรัพยค ือนิพพาน พระผมู ีพระภาคเจา ทรงมัง่ คง่ัมที รัพยมาก นบั วามที รัพยด วยทรัพยอันเปนรตั นะหลายอยางน้ี แมเพราะเหตดุ งั นี้ พระองคจงึ ทรงพระนามวา สักกะ. อีกอยา งหน่ึง พระผมู พี ระภาคเจา เปนผูอ าจ ผอู งอาจ ผูส ามารถมีความสามารถ ผกู ลา ผูแ กลว กลา ผูกา วหนา ผไู มข ลาด ผูไมห วาด-เสยี ว ผไู มสะดงุ ผูไมห นี ละความกลัวความขลาดเสยี แลว ปราศจากขนลกุ ขนพอง แมเ พราะเหตุดงั น้ี จงึ ทรงพระนามวา สกั กะ. เพราะ-ฉะนั้น จึงชอ่ื วา ขา แตพระสักกะ ขาพระองคไ ดทลู ถาม ๒ ครงั้ แลว . คาํ วา ไดทลู ถามแลว ความวา ขา แตพระสกั กะ ขา พระองคไ ดทลู ถาม ทลู ขอ ทลู เชื้อเชญิ ทูลใหทรงประสาท ๒ คร้งั แลว เพราะฉะน้ัน จงึ ชื่อวา ขาแตพ ระสักกะ ขา พระองคไ ดท ลู ถาม ๒ ครัง้ แลว . คําวา อิติ ในอุเทศวา อจิ จฺ ายสฺมา โมฆราชา เปน บทสนธิ ฯ ล ฯคาํ วา อายสมฺ า เปน เครือ่ งกลาวดวยความรกั . คําวา โมฆราชา เปนชอื่ เปน คาํ รองเรยี กของพราหมณนัน้ เพราะฉะนน้ั จงึ ช่อื วา ทา นโมฆราชทูลถามวา. [๔๙๒] คําวา มไิ ดทรงพยากรณแ กข า พระองค ในอเุ ทศวาน เม พฺยากาสิ จกขฺ ุมา ความวา มไิ ดตรัสบอก ... มไิ ดท รงประกาศแกข าพระองค. คาํ วา พระจกั ษุ ความวา พระผูมพี ระภาคเจามีพระจกั ษดุ วยจักษุ๕ ประการ คือ ดวยมงั สจักษุ ทพิ ยจักษุ ปญญาจกั ษุ พุทธจกั ษุสมันตจกั ษ.ุ

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย จฬู นิเทส เลม ๖ - หนาท่ี 378 พระผมู ีพระภาคเจามีพระจักษุแมดว ยมงั สจักษอุ ยางไร สี ๕ อยา งคือ สเี ขียว สีเหลือง สแี ดง สีดาํ และสขี าว ยอ มปรากฏแกพระผูมี-พระภาคเจาในมงั สจกั ษุ ขนพระเนตรตั้งอยเู ฉพาะในท่ใี ด ทีน่ น้ั มีสีเขยี วเขียวดี นาดู นา ชม เหมอื นสีดอกผกั ตบ ท่ีถัดน้ันเขา ไปมีสเี หลอื งเหลืองดี เหมอื นสที องคํา นาดู นา ชม เหมือนดอกกรรณกิ ารเหลอื งเบา พระเนตรทง้ั สองขา งของพระผูมพี ระภาคเจา มสี แี ดง แดงดี นา ดูนา ชม เหมือนสปี ก แมลงทบั ทมิ ทอง ทท่ี ามกลางมสี ดี าํ ดาํ ดี ไมมวั หมองดาํ สนิท นาดู นาชม เหมือนสีอิฐแกไ ฟ ท่ีถดั นน้ั เขา ไปมสี ีขาว ขาวดีขาวลว น ขาวผอง นาดู นา ชม เหมอื นสดี าวประกายพฤกษ พระผูม -ีพระภาคเจามพี ระมังสจักษุเปนปกตินน้ั เน่อื งในพระอัตภาพ อันเกดิขึ้นเพราะสจุ ริตกรรมในภพกอ น ยอ มทอดพระเนตรเห็นตลอดท่ีโยชนหน่งึ โดยรอบ ท้ังกลางวนั และกลางคนื แมใ นเวลาใดมคี วามมืดประกอบดวยองค ๔ คอื ดวงอาทิตยอ ัสดงคตแลว คืนวนั อุโบสถขางแรม ๑แนวปา ทบึ ๑ อกาลเมฆใหญตงั้ ขน้ึ ๑ ในความมดื ประกอบดว ยองค ๔เหน็ ปานนี้ ในกาลนนั้ พระผมู ีพระภาคเจาก็ทอดพระเนตรเหน็ ตลอดโยชนหนง่ึ โดยรอบ หลุม บานประตู กําแพง ภูเขา กอไมหรือเถาวัลยไมเปนเครือ่ งกั้นในการทอดพระเนตรเห็นรปู ทั้งหลายเลย หากวา บคุ คลพงึ เอาเมล็ดงาเมลด็ หน่ึงเปนเคร่อื งหมาย ใสล งในเกวียนสาํ หรบั บรรทกุ งาบุคคลน้ันพงึ เอาเมล็ดงานน้ั ขึน้ มงั สจกั ษุเปน ปกติของพระผูมพี ระภาคเจาบรสิ ุทธิอ์ ยา งนี้ พระผมู พี ระภาคเจา มีพระจักษแุ มด วยมงั สจกั ษุอยา งนี.้ พระผมู ีพระภาคเจา มีพระจักษแุ มดวยทพิ ยจกั ษุอยา งไร พระผมู ี-พระภาคเจา ยอ มทรงพจิ ารณาเหน็ หมสู ตั วที่กาํ ลงั จุติ กําลังอุบตั ิ ฯ ล ฯ ดวย

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย จูฬนิเทส เลม ๖ - หนาท่ี 379ทพิ ยจกั ษอุ นั บรสิ ุทธ์ลิ ว งจักษุของมนุษย ยอ มทรงทราบชัดซึ่งหมสู ตั วผ ูเปนไปตามกรรมดวยประการฉะน้ี พระผูมพี ระภาคเจา ทรงประสงคจ ะดูโลกธาตหุ น่ึงกด็ ี สองก็ดี สามกด็ ี สกี่ ็ดี หา กด็ ี สบิ กด็ ี ยี่สิบก็ดี สามสิบก็ดี สสี่ บิ กด็ ี หาสบิ ก็ดี รอยกด็ ี พันหน่งึ เปน สวนนอยก็ดี สองพันเปนเปนปานกลางกด็ ี สามพันก็ดี ส่ีพนั เปนสว นใหญก ็ดี หรอื วา ทรงประสงคเพือ่ จะทรงดูโลกธาตุเทาใด กท็ รงเห็นโลกธาตเุ ทา น้ัน ทพิ ยจกั ษขุ องพระผมู พี ระภาคเจา บริสทุ ธอ์ิ ยา งนี้ พระผูม ีพระภาคเจา มีพระจักษแุ มดวยทิพยจกั ษอุ ยางน.ี้ พระผมู ีพระภาคเจา มพี ระจักษุแมดวยปญ ญาจกั ษอุ ยางไร พระ-ผมู ีพระภาคเจามพี ระปญ ญาใหญ มีพระปญญากวา งขวาง มพี ระปญญาราเริง มพี ระปญญาไว มีพระปญ ญาคมกลา มพี ระปญ ญาทําลายกิเลสทรงฉลาดในประเภทปญ ญา มีพระญาณแตกฉาน ทรงบรรลุปฏสิ ัมภทิ าแลว ทรงถงึ แลวซ่งึ เวสารัชชญาณ ๔ ทรงพลญาณ ๑๐ ทรงเปนบรุ ุษผูองอาจ ทรงเปน บรุ ุษสีหะ ทรงเปน บุรษุ นาค ทรงเปน บรุ ุษอาชาไนยทรงเปน บรุ ุษนาํ ธรุ ะไป มญี าณไมม ีที่สุด มเี ดชไมมีทส่ี ดุ มียศไมม ที ่ีสุดเปนผูมั่งคั่ง มีทรพั ยม าก นับวา มีทรัพย เปน ผนู ํา นาํ ไปใหวเิ ศษ นําเนือง ๆ ใหเ ขาใจ ใหเพง พินิจ เปน ผูตรวจ ใหเล่ือมใส พระผูมีพระ-ภาคเจา นัน้ ทรงยงั มรรคทีย่ ังไมเ กิดใหเ กิดขน้ึ ทรงยงั ประชาชนใหเขา ใจมรรคที่ยังไมเ ขาใจ ตรัสบอกมรรคท่ยี ังไมม ใี ครบอก ทรงรูม รรค ทรงรูแจงมรรค ฉลาดในมรรค กแ็ หละในบัดนี้ พระสาวกท้ังหลายเปน ผูดําเนินตามมรรค ประกอบในภายหลงั อยู พระผมู ีพระภาคเจานน้ั ทรงรอู ยู ช่ือวา ทรงรู ทรงเห็นอยู ชือ่ วาทรงเห็น เปน ผูม ีจักษุ มีญาณ

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย จูฬนเิ ทส เลม ๖ - หนาที่ 380มีธรรม มคี ุณอนั ประเสรฐิ เปนผูตรัสบอกธรรม ตรสั บอกทัว่ ไป ทรงแนะนําประโยชน ประทานอมตธรรม เปนพระธรรมสามี เสด็จไปอยา งนนั้ บทธรรมท่พี ระองคมิไดท รงรู มิไดท รงเห็น มไิ ดท รงทราบมไิ ดท รงทาํ ใหแจม แจง มไิ ดท รงถกู ตอง ไมมีเลย. ธรรมท้ังหมดรวมทั้งอดีต อนาคต ปจจบุ ัน ยอมมาสคู ลองในมขุคือ พระญาณของพระผมู ีพระภาคเจา ผูต รัสรแู ลว โดยอาการทัง้ ปวง ข้ึนชื่อวาบทธรรมอยางใดอยางหน่งึ ทค่ี วรแนะนํา ควรรู มอี ยู ประโยชนต นประโยชนผ อู ื่น ประโยชนท้งั ๒ ฝา ย ประโยชนใ นภพนี้ ประโยชนใ นภพหนา ประโยชนต น ประโยชนล ึก ประโยชนเปด เผย ประโยชนลลี้ ับประโยชนท่คี วรแนะนํา ประโยชนท่ีแนะนําแลว ประโยชนไมม โี ทษประโยชนไ มม ีกิเลส ประโยชนข าว หรือประโยชนอยา งยิง่ ทง้ั หมดนนั้ยอมเปน ไปในภายในพระพุทธญาณ. กายกรรมทั้งหมด วจกี รรมทงั้ หมด มโนกรรมทั้งหมด ยอมเปนเปน ไปตามพระญาณของพระผมู ีพระภาคเจา ผตู รสั รแู ลว. พระผมู ีพระ-ภาคเจา ผตู รัสรแู ลว มีพระญาณมิไดขดั ขอ งในอดตี อนาคต ปจจุบันบทธรรมทค่ี วรแนะนําเทา ใด พระญาณก็เทา น้ัน พระญาณเทาใด บทธรรมท่ีควรแนะนาํ กเ็ ทา นน้ั พระญาณมีบทธรรมท่ีควรแนะนาํ เปน ท่สี ุดบทธรรมทีค่ วรแนะนาํ กม็ พี ระญาณเปน ทีส่ ุด พระญาณไมเ ปนไปลว งบทธรรมที่ควรแนะนาํ ทางแหง บทธรรมทคี่ วรแนะนาํ กไ็ มล ว งพระญาณธรรมเหลา น้ันต้ังอยูใ นที่สดุ แหง กันและกัน ลิ้นผอบ ๒ ลิ้นสนิทกนั ล้ินผอบขา งลาง ไมเ กนิ ลนิ้ ผอบขา งบน ล้ินผอบขางบน กไ็ มเ กินลนิ้ ผอบขางลา ง ลิน้ ผอบทง้ั สองนน้ั ต้ังอยใู นที่สดุ แหง กัน ฉนั ใด พระผมู ีพระภาค-

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย จฬู นเิ ทส เลม ๖ - หนา ท่ี 381เจาผูต รสั รแู ลว มีบทธรรมทค่ี วรแนะนํา และพระญาณตง้ั อยใู นท่ีสดุ แหงกันและกนั ฉันนน้ั เหมือนกัน บทธรรมท่คี วรแนะนาํ เทาใด พระญาณก็เทา นั้น พระญาณเทาใด บทธรรมทีค่ วรแนะนาํ กเ็ ทา นัน้ พระญาณมีบทธรรมทค่ี วรแนะนาํ เปน ที่สดุ บทธรรมทีค่ วรแนะนาํ ก็มพี ระญาณเปนท่สี ุด พระญาณไมเ ปน ไปลวงบทธรรมท่ีควรแนะนาํ ทางแหงบทธรรมท่คี วรแนะนาํ ก็ไมเ ปน ไปลว งพระญาณ ธรรมเหลานั้นต้งั อยูในทส่ี ุดแหงกนั และกัน พระญาณของพระผมู พี ระภาคเจาผตู รัสรแู ลว ยอมเปน ไปในธรรมท้งั ปวง ธรรมท้ังปวงเน่ืองดว ยอาวชั ชนะ เนือ่ งดวยอากังขา เน่ืองดวยมนสิการ เนอ่ื งดว ยจิตตุปบาท ของพระผูม พี ระภาคเจา ผูต รสั รูแลวยอ มเปน ไปในสัตวทั้งปวง พระผมู ีพระภาคเจา ยอมทรงทราบฉนั ทะเปนที่มานอน อนสุ ยั จริต อธมิ ตุ ติ ของสัตวท ง้ั ปวง ทรงทราบชดั ซง่ึ สตั วทั้งหลายผูมีกิเลสเพียงดังธลุ ใี นนัยนต า คอื ปญ ญานอ ย ผมู กี ิเลสเพียงดงัธุลใี นนยั นต าคือมปี ญญามาก มีอินทรียแ กก ลา ที่มอี นิ ทรียออ น ทม่ี ีอาการดี ที่มอี าการช่ัว ท่ีใหร ูงาย ท่ีใหรยู าก ทีเ่ ปน ภัพพสัตว ท่ีเปนอภพั พสัตว โลกพรอมทง้ั เทวโลก มารโลก พรหมโลก หมสู ตั วพรอ มท้งั สมณพราหมณ เทวดาและมนุษยย อมเปน ไปในภายในแหงพระพุทธ-ญาณ. ปลาและเตาทุกชนดิ โดยท่สี ุดรวมถึงปลาติมติ ิมงิ คละ ยอ มเปนไป-ในภายในมหาสมทุ ร ฉนั ใด โลกพรอมท้งั เทวโลก มารโลก พรหมโลกหมสู ตั วพ รอมทัง้ สมณพราหมณ เทวดาและมนุษยย อมเปน ไปในภายในพระพทุ ธญาณ ฉนั นัน้ เหมอื นกัน นกทุกชนดิ โดยท่สี ุดรวมถึงครฑุ สกุลเวนเตยยะ ยอมบินไปในประเทศอากาศ ฉนั ใด พระสาวกทง้ั หลายเสมอ

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย จฬู นเิ ทส เลม ๖ - หนา ที่ 382ดวยพระสารบี ุตรโดยปญญา ยอ มเปน ไปในประเทศแหง พระพุทธญาณฉันนนั้ เหมือนกัน พระพทุ ธญาณยอ มแผปกคลุมปญ ญาของเทวดาและมนษุ ยท ้งั หลาย กษตั รยิ  พราหมณ คฤหบดี สมณะท่ีเปนบัณฑติ มีปญญาละเอียด มีวาทะโตตอบกบั ผอู ืน่ เปนดังนายขมังธนู ยิงขนทรายแมนบัณฑิตเหลาน้ันเปน ประหนง่ึ วา เท่ียวทําลายทิฏฐเิ ขาดว ยปญญาของตนบัณฑิตเหลานั้นปรงุ แตง ปญ หาเขา มาเฝา พระตถาคตแลว ทูลถามปญหาเหลานั้น พระผูมพี ระภาคเจา ตรัสบอกและตรสั แกแลว ทรงแสดงเหตุและอา งผลแลว บัณฑิตเหลาน้นั ยอ มเล่อื มใสตอ พระผูมีพระภาคเจา ในลําดบั นนั้ แล พระผูม พี ระภาคเจายอมไพโรจนย ่งิ ขน้ึ ดว ยพระปญญาในสถานทนี่ ัน้ เพราะเหตุนัน้ พระผมู ีพระภาคเจา จงึ ช่ือวา มีพระจักษแุ มดว ยปญญาจักษุอยา งนี้. พระผูมีพระภาคเจามพี ระจกั ษุแมดวยพทุ ธจกั ษอุ ยา งไร พระผมู ี-พระภาคเจาเมื่อทรงตรวจดโู ลกดวยพทุ ธจกั ษุ ไดทรงเหน็ หมสู ัตวผ ูม กี ิเลส-เพยี งดงั ธลุ ีในนยั นตา คอื ปญญานอ ย ผมู กี ิเลสเพียงดงั ธลุ ีในนัยนตา คือปญญามาก ผูม อี ินทรียแกกลา ผูมีอนิ ทรียอ อน ผูมีอาการดี ผมู ีอาการชว่ั ผูแนะนําใหรูไดง า ย ผูแนะนาํ ใหร ไู ดย าก บางพวกเปนผูมปี กตเิ ห็นโทษและภัยในปรโลกอยู ในกออุบล ในกอปทุม หรอื ในกอบณุ ฑรกิดอกอุบลบวั เขียว ดอกปทมุ บัวหลวง หรอื ดอกบณุ ฑริกบัวขาว บางชนดิเกิดในนํา้ เจริญในนํ้า ไปตามนา้ํ จมอยใู นนาํ้ อนั นํา้ เลีย้ งไว บางชนิดเกดิ ในนาํ้ เจริญในนาํ้ ตงั้ อยเู สมอน้ํา บางชนิดเกิดในน้าํ เจริญในน้ําโผลพนจากน้ํา นํ้าหลอ เลย้ี งไว แมฉันใด พระผมู ีพระภาคเจา เมื่อทรง

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย จฬู นิเทส เลม ๖ - หนา ท่ี 383ตรวจดูโลกดวยพทุ ธจักษุ ไดท รงเหน็ หมสู ตั วผ ูม ีกเิ ลสเพยี งดงั ธลุ ใี นนยั นตา คือปญ ญานอ ย ผมู กี ิเลสเพียงดงั ธลุ ใี นนยั นต า คอื ปญ ญามาก ผมู ีอนิ ทรยี แ กกลา ผูมีอนิ ทรียออ น ผูมีอาการดี ผูมอี าการช่วั ผแู นะนําใหรูไ ดง าย ผแู นะนําใหรูไดย าก บางพวกมีปกตเิ ห็นโทษและภัยในปรโลกอยู ฉนั นน้ั เหมอื นกนั พระผมู พี ระภาคเจา ยอ มทรงทราบวา บุคคลนเ้ี ปนราคจรติ บุคคลนเ้ี ปนโทสจรติ บุคคลนี้เปนโมหจรติ บคุ คลน้เี ปนวิตกั กจริต บุคคลนี้เปนศรัทธาจริต บุคคลน้เี ปน ญาณจริต พระผมู -ีพระภาคเจา ตรสั บอกอสภุ กถาแกบ ุคคลผเู ปน ราคจรติ ตรสั บอกเมตตา-ภาวนาแกบุคคลผเู ปนโทสจริต ทรงแนะนาํ บคุ คลผเู ปน โมหจรติ ใหตั้งอยูในเพราะอุเทศ และปรปิ ุจฉาในการฟง ธรรมโดยกาล ในการสนทนาธรรมโดยกาล ในการอยูร วมกบั ครู ตรสั บอกอานาปานัสสตแิ กบ คุ คลผูเปนวติ ักกจริต ตรสั บอกความตรัสรูดีแหงพระพุทธเจา ความท่ีธรรมเปนธรรมดี ความทสี่ งฆปฏบิ ัตดิ ี และศีลทัง้ หลายของตน ซ่ึงเปนนิมิตเปนท่ีต้งั แหงความเลื่อมใส แกบ คุ คลผเู ปน ศรทั ธาจรติ ตรสั บอกอาการไมเท่ียง อาการเปนทกุ ข อาการเปนอนัตตา อันเปนวิปส สนานมิ ติ แกบคุ คลผูเ ปน ญาณจริต. บุคคลยืนอยบู นยอดภเู ขาศลิ า พึงเห็นหมชู นโดย รอบ แมฉ ันใด ขาแตพ ระสเุ มธ ผูม ีพระสมนั ตจกั ษุ พระองคเ สดจ็ ขน้ึ สปู ราสาทอนั สําเร็จดวยธรรม ปราศจาก ความโศก กท็ รงเห็นหมูชนท่ีอาเกยี รณด วยความโศก ผูอันชาตแิ ละชราครอบงํา เปรียบฉนั นั้น.

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย จฬู นเิ ทส เลม ๖ - หนาท่ี 384พระผมู ีพระภาคเจา มพี ระจักษุแมดว ยพุทธจักษอุ ยา งน.ี้ พระผูมีพระภาคเจามีพระจักษแุ มด วยสมนั ตจักษอุ ยา งไร พระ-สัพพัญตุ ญาตญาณทานกลาววา สมันตจกั ษุ พระผูมพี ระภาคเจาทรงเขา ไปเขาไปพรอ ม เขา มา เขามาพรอ ม เขา ถงึ เขาถึงพรอม ประกอบดวยพระสัพพัญุตญาณ. บทธรรมอะไร ๆ อันพระผูมีพระภาคเจา น้ันไมทรง เหน็ ไมท รงรแู จง หรือไมพ ึงทราบ มไิ ดม ีเลย พระ- ผมู พี ระภาคเจา ทรงรเู ฉพาะซง่ึ บทธรรมท้งั ปวง เนยยบทใด มอี ยู พระผมู พี ระภาคเจา ทรงทราบเนยยบทนัน้ เพราะ- เหตุนัน้ พระตถาคตจึงเปน พระสมันตจกั ษุ พระผมู พี ระภาคเจา มพี ระจกั ษแุ มดวยสมันตจักษอุ ยางน้ี เพราะ-ฉะนัน้ จึงชือ่ วา พระผูมีพระภาคเจา มพี ระจักษุ ไมทรงพยากรณแ กขา พระองค. [๔๙๓] คาํ วา ขาพระองคไดย นิ มาวา พระผูมีพระภาคเจา ผเู ปนพระเทพฤาษี (เม่อื มผี ถู ามปญหา) เปนคร้ังที่ ๓ ยอ มทรงพยากรณดังน้ีความวา ขาพระองคไดศ ึกษา ทรงจาํ เขาไปกาํ หนดไวแลวอยางน้วี าพระพุทธเจาใครทูลถามปญ หา อนั ชอบแกเ หตเุ ปน ครง้ั ท่ี ๓ ยอมพยากรณมิไดตรัสหาม. คาํ วา ผูเปน พระเทพฤๅษี ความวา พระผูมพี ระภาคเจาเปน ทง้ั เทพเปนทั้งฤๅษี เพราะฉะนนั้ จึงชอื่ วา เปนพระเทพฤๅษี พระราชาทรงผนวชแลว เรียกกนั วาพระราชฤๅษี พราหมณบวชแลว กเ็ รียกกนั วา พราหมณ

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย จฬู นิเทส เลม ๖ - หนา ที่ 385ฤๅษี ฉันใด พระผูมีพระภาคเจา เปนท้งั เทพ เปนทางฤๅษี ก็ฉันนน้ัเหมอื นกนั เพราะฉะนน้ั จงึ ชอ่ื วา เปนพระเทพฤๅษี. อีกอยา งหน่ึง พระผมู พี ระภาคเจา ทรงผนวชแลว แมเพราะเหตุดงั น้ี พระองคจงึ ช่ือวา พระฤๅษี พระผูม ีพระภาคเจา ทรงแสวงหา เสาะหาคน หา ซึง่ ศีลขันธใ หญ แมเ พราะเหตุอยา งนี้ พระองคจึงชอื่ วาเปน พระ-ฤๅษี พระผมู ีพระภาคเจา ทรงแสวงหา เสาะหา คนหา ซ่งึ สมาธิขันธใหญปญ ญาขนั ธใหญ วมิ ุตติขนั ธใ หญ วิมตุ ตญิ าณทสั สนขนั ธใ หญ แมเพราะเหตดุ งั นี้ พระองคจ งึ ชื่อวา เปน พระฤๅษี พระผมู พี ระภาคเจา ทรงแสวงหาเสาะหา คน หาซงึ่ การทาํ ลายกองแหง ความมืดใหญ การทาํ ลายวิปลาสใหญการถอนลกู ศรคือตณั หาใหญ การคลายกองทฏิ ฐใิ หญ การลมมานะเพียงดังวาธงใหญ การสงบอภสิ งั ขารใหญ การสลัดออกซึ่งโอฆกิเลสใหญการปลงภาระใหญ การตดั เสยี ซ่ึงสังสารวัฏใหญ การดับความเดอื ดรอ นการระงบั ความเรารอ นใหญ การใหย กธรรมดงั วา ธงใหญข้นึ แมเ พราะเหตนุ ้นั พระองคจ ึงชื่อวา เปน พระฤๅษี พระผมู ีพระภาคเจา ทรงแสวงหาเสาะหา คน หาซึ่งสตปิ ฏ ฐานใหญ สัมมปั ปธานใหญ อิทธิบาทใหญอนิ ทรียใหญ พละใหญ โพชฌงคใหญ อรยิ มรรคมีองค ๘ ใหญนิพพานใหญ แมเพราะเหตดุ ังนี้ พระองคจ งึ ชื่อวา พระฤๅษ.ี อีกประการหนง่ึ พระผมู ีพระภาคเจา อนั สตั วท ง้ั หลายทีม่ อี านภุ าพมากแสวงหา เสาะหา คน หาวา พระพุทธเจา ประทบั อยู ณ ทีไ่ หน พระ-ผมู พี ระภาคเจาเปน เทวดา ลวงเทวดาประทับอยู ณ ทไ่ี หน พระผมู พี ระ-ภาคเจาผูองอาจกวา นรชนประทบั อยู ณ ทีไ่ หน แมเพราะเหตุดงั น้ี พระ-องคจงึ ช่ือวา เปน พระฤๅษี เพราะฉะนั้น จึงชือ่ วา ขา พระองคไดยนิ มา

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย จฬู นิเทส เลม ๖ - หนา ท่ี 386วา พระผมู ีพระภาคเจา ผูเปน พระฤๅษี (มีผทู ูลถามปญหา) เปนครงั้ ที่ ๓ยอ มทรงพยากรณ เพราะเหตุนัน้ พราหมณน ้นั จงึ กลาววา ขาแดพระสกั กะ ขาพระองคไดท ลู ถาม ๒ คร้งั แลว พระผูมีพระภาคเจามีพระจักษุ มไิ ดทรงพยากรณแ กข า- พระองค ขา พระองคไ ดย ินมาวา พระผมู พี ระภาคเจา เปน พระเทพฤๅษี (มผี ทู ูลถามปญหา) เปนครง้ั ท่ี ๓ ยอ ม ทรงพยากรณ.[๔๙๔] โลกน้ี โลกอื่น พรหมโลกกบั เทวโลก ยอ มไมทราบ ความเห็นของพระโคดมผมู ียศ. [๔๙๕ ] คาํ วา โลกน้ี ในอเุ ทศวา อย โลโก ปโร โลโก ดังนี้คือ มนษุ ยโลก คาํ วา โลกอ่นื คอื โลกทัง้ หมด ยกมนษุ ยโลกน้ี เปนโลกอนื่ เพราะฉะน้นั จึงช่อื วา โลกนี้ โลกอ่ืน. [๔๙๖] คาํ วา พรหมโลกกับเทวโลก ความวา พรหมโลก พรอ มท้งั เทวโลก มารโลก หมสู ตั วพ รอมทัง้ สมณพราหมณเทวดาและมนุษยเพราะฉะนนั้ จึงชื่อวา พรหมโลกกับเทวโลก. [๔๙๗] คําวา ยอมไมทราบความเห็นของพระองค ความวาโลกยอ มไมท ราบซง่ึ ความเห็น ความควร ความชอบใจ ลทั ธิ อัธยาศัยความประสงคของพระองค พระผูมีพระภาคเจานี้มีความเห็นอยา งน้ี มีความควรอยา งนี้ มคี วามชอบใจอยา งนี้ มีลัทธิอยา งนี้ มีอัธยาศยั อยางน้ีมคี วามประสงคอ ยา งนี้ เพราะฉะน้นั จงึ ช่อื วา ยอมไมทราบความเห็นของพระองค.

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย จูฬนิเทส เลม ๖ - หนาท่ี 387 [๔๙๘] คําวา พระโคดมผูมียศ ความวา พระผมู พี ระภาคเจาทรงถงึ ยศแลว เพราะฉะนนั้ ทรงมียศ. อกี อยา งหนง่ึ พระผมู ีพระภาคเจา อันเทวดาและมนษุ ยส ักการะเคารพ นบั ถือ บชู า ยาํ เกรง ทรงเปน ผูไดจ ีวร บณิ ฑบาต เสนาสนะและคลิ านปจ จยั เภสชั บรขิ าร เพราะเหตุนั้น จึงชอ่ื วา พระโคดมเปนผูมยี ศเพราะเหตนุ น้ั พราหมณน ้ันจงึ กลาววา โลกนี้ โลกอ่ืน พรหมโลกกบั เทวโลก ยอ มไมทราบ ความเห็นของพระโคดมผูมยี ศ. [๔๙๙] ขา พระองคมีความตองการดว ยปญ หา จึงมาเฝา พระ- องคผเู หน็ ธรรมอันงามอยางนี้ เมือ่ บุคคลพิจารณาเหน็ โลกอยา งไร มจั จรุ าชจึงไมเหน็ . [๕๐๐] คําวา ผเู ห็นธรรมอันงามอยางน้ี ความวา ผเู หน็ ธรรมอันงาม เห็นธรรมอันเลิศ เห็นธรรมอนั ประเสริฐ เห็นธรรมอนั วเิ ศษเหน็ ธรรมเปนประธาน เหน็ ธรรมอันอดุ ม เห็นธรรมอยา งยง่ิ อยางนี้เพราะฉะนนั้ จึงช่อื วา ผูเ ห็นธรรมอันงามอยา งนี.้ [๕๐๑] คําวา ขา พระองคม ีความตองการดวยปญ หาจึงมาเฝาความวา พวกขา พระองคเ ปน ผูมีความตองการดวยปญ หาจงึ มาเฝา ฯ ล ฯเพือ่ ใหท รงชแ้ี จงเพือ่ ตรัส แมเพราะเหตุอยางนี้ ดงั นจ้ี งึ ชื่อวา ขา พระองคมคี วามตองการดวยปญหา จึงมาเฝา. [๕๐๒] คําวา พจิ ารณาเห็นโลกอยางไร ความวา ผูมองเห็น

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย จฬู นิเทส เลม ๖ - หนาท่ี 388เห็นประจักษ พจิ ารณา เทยี บเคยี ง เจริญ ทําใหแ จมแจงอยางไร เพราะ-ฉะนั้น จงึ ชอื่ วา พจิ ารณาเห็นโลกอยา งไร. [๕๐๓] คาํ วา มจั จรุ าชจึงไมเ หน็ ความวา มจั จรุ าชยอมไมเ ห็นไมแ ลเห็น ไมประสบ ไมพ บ ไมไ ดเฉพาะ เพราะฉะนัน้ จึงช่อื วา มจั จรุ าชจงึ ไมเ หน็ เพราะเหตุน้นั พราหมณจ งึ กลา ววา ขาพระองคม ีความตอ งการดวยปญหา จงึ มาเฝา พระองคผ เู หน็ ธรรมอนั งามอยางน้ี เมือ่ บุคคลพิจารณา เห็นโลกอยา งไร มจั จุราชจึงไมเ ห็น. [๕๐๔] ดกู อ นโมฆราช ทา นจงเปน ผมู สี ติพิจารณาเหน็ โลก โดยความเปน ของสญู ถอนอัตตานทุ ิฏฐเิ สียแลว พึงขา ม พน มัจจรุ าชไดดว ยอบุ ายอยา งนี้ เมอื่ บคุ คลพิจารณาเหน็ โลกอยางนี้ มจั จุราชจึงไมเห็น. [๕๐๕] คาํ วา โลก ในอเุ ทศวา สุ ฺโต โลก อเวกฺขสฺสุ ดงั น้ีคือ นิรยโลก ดริ จั ฉานโลก ปตติวิสยโลก มนษุ ยโลก เทวโลก ขันธโลกธาตโุ ลก อายตนโลก โลกนี้ โลกอื่น พรหมโลกพรอ มทัง้ เทวโลก. ภกิ ษรุ ูปหนึง่ ทูลถามพระผูม พี ระภาคเจา วา ขาแตพ ระองคผ ูเจริญพระผูมพี ระภาคเจาตรสั วา โลก โลก ดงั นี้ ขา แตพ ระองคผ ูเจรญิพระองคตรัสวา โลก เพราะเหตุเทาไรหนอแล พระผมู พี ระภาคเจาตรสัตอบวา ดกู อ นภกิ ษุ เรากลา ววา โลก เพราะเหตวุ า ยอมแตก อะไรแตกจกั ษแุ ตก รูปแตก จกั ษวุ ญิ ญาณแตก จกั ษุสัมผสั แตก สุขเวทนาก็ดี

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย จฬู นเิ ทส เลม ๖ - หนา ท่ี 389ทกุ ขเวทนาก็ดี อทุกขมสุขเวทนากด็ ี ท่เี กิดขึน้ เพราะจกั ษสุ มั ผสั เปน ปจ จยัแมเ วทนาน้ันกแ็ ตก หแู ตก เสยี งแตก จมูกแตก กลิ่นแตก ลน้ิ แตกรสแตก กายแตก โผฎฐัพพะแตก มนะแตก ธรรมารมณแตก มโน-วิญญาณแตก มโนสัมผสั แตก สขุ เวทนากด็ ี ทุกขเวทนากด็ ี อทุกขม-สุขเวทนากด็ ี ท่เี กิดขึ้นเพราะมโนสัมผสั เปนปจ จยั แมเ วทนานัน้ ก็แตกดูกอ นภกิ ษุ ธรรมมีจกั ษุเปนตนนัน้ ยอ มแตกดังนี้แล เพราะเหตนุ ้ัน เราจึงกลาววาโลก. คาํ วา จงพิจารณาเหน็ โลกโดยความเปน ของสูญ ความวา บุคคลพจิ ารณาเหน็ โลกโดยความเปน ของสูญ ดวยเหตุ ๒ ประการ คอื ดว ยสามารถความกาํ หนดวา ไมเ ปน ไปในอํานาจ ๑ ดว ยสามารถพจิ ารณาเหน็สงั ขารโดยเปนของวา งเปลา ๑. บคุ คลยอมพจิ ารณาเห็นโลกโดยความเปน ของสูญ ดวยสามารถการกําหนดวา ไมเปนไปในอํานาจ อยา งไร. ใคร ๆ ยอ มไมไดอ าํ นาจในรูปในเวทนา ในสญั ญา ในสงั ขาร ในวิญญาณ. สมจริงตามพระพทุ ธพจนทพ่ี ระผมู ีพระภาคเจา ตรัสวา ดกู อนภกิ ษุทงั้ หลาย รปู เปนอนตั ตา ดูกอนภิกษุท้งั หลาย ถารูปน้จี ักเปนอัตตาแลวไซร รปู น้ีกไ็ มพึงเปน ไปเพ่อื อาพาธ และจะพึงไดใ นรปู วา ขอรูปของเราจงเปนอยา งน้ี รปู ของเราอยาไดเปน อยา งน้ีเลย ดกู อ นภิกษทุ ั้งหลายแตเ พราะรูปเปนอนัตตา ฉะนั้น รูปจึงเปน ไปเพื่ออาพาธ และยอ มไมไดในรูปวา ขอรูปของเราจงเปน อยางน้ี รปู ของเราจงอยาไดเปนอยางนเ้ี ลยเวทนาเปนอนตั ตา ดูกอ นภกิ ษุทัง้ หลาย ถา เวทนาน้ีจกั เปนอนัตตาแลวไซร เวทนานี้ไมพึงเปนไปเพ่อื อาพาธ และพึงไดในเวทนาวา ขอเวทนา

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย จูฬนเิ ทส เลม ๖ - หนา ท่ี 390ของเราจงเปนอยา งนี้ เวทนาของเราอยาไดเปนอยา งนเ้ี ลย ดกู อนภิกษุทัง้ หลาย แตเ พราะเวทนาเปนอนตั ตา ฉะน้นั เวทนาจงึ เปน ไปเพอ่ื อาพาธและยอ มไมไ ดในเวทนาวา ขอเวทนาของเราจงเปน อยา งนี้ เวทนาของเราอยา ไดเปน อยา งนแ้ี ล สญั ญาเปนอนัตตา ดกู อนภิกษุท้ังหลาย ถาสัญญานจ้ี กั เปนอตั ตาแลว ไซร สญั ญาน้ีก็ไมพงึ เปน ไปเพ่อื อาพาธ และพงึไดใ นสญั ญาวา ขอสญั ญาของเราจงเปนอยา งน้ี สญั ญาของเราอยาไดเ ปนอยางน้เี ลย ดกู อนภกิ ษุทัง้ หลาย แตเพราะสญั ญาเปนอนตั ตา ฉะนน้ัสญั ญาจงึ เปนไปเพอื่ อาพาธ และยอ มไมไดใ นสญั ญาวา ขอสัญญาของเราจงเปน อยางน้ี สัญญาของเราอยาไดเ ปน อยา งนเ้ี ลย สังขารเปน อนัตตาดูกอ นภิกษทุ ้งั หลาย ถาสงั ขารนจี้ ักเปนอัตตาแลว ไซร สงั ขารนกี้ ็ไมพ งึเปน ไปเพอ่ื อาพาธ และจะพงึ ไดใ นสงั ขารวา ขอสงั ขารของเราจงเปนอยา งนี้ สงั ขารของเราอยาไดเปน อยา งนี้เลย ดกู อ นภิกษทุ ัง้ หลาย แตเพราะสงั ขารเปนอนัตตา ฉะน้ัน สงั ขารจึงเปน ไปเพ่อื อาพาธ และยอมไมไ ดใ นสังขารวา ขอสงั ขารของเราจงเปน อยา งน้ี สงั ขารของเราอยา ไดเปน อยา งนเี้ ลย วญิ ญาณเปนอนัตตา ดูกอนภิกษทุ ัง้ หลาย ถา วญิ ญาณนี้จกั เปน อนัตตาแลว ไซร วิญญาณนก้ี ็ไมพ งึ เปน ไปเพื่ออาพาธ และจะพงึไดในวญิ ญาณวา ขอวิญญาณของเราจงเปนอยา งน้ี วญิ ญาณของเราอยาไดเปน อยางนีเ้ ลย ดูกอนภกิ ษทุ ้ังหลาย แตเ พราะวญิ ญาณเปน อนตั ตาฉะนั้น วิญญาณจึงเปนไปเพือ่ อาพาธ และยอ มไมไดในวญิ ญาณวา ขอวญิ ญาณของเราจงเปนอยา งน้ี วิญญาณของเราอยาไดเ ปนอยางนเ้ี ลย. และสมจรงิ ตามพระพทุ ธพจนท่ีพระผูมีพระภาคเจา ตรสั วา ดูกอ นภกิ ษทุ งั้ หลาย กายนไ้ี มใ ชของทา นท้ังหลาย ท้งั ไมใ ชข องผอู ื่น ดกู อน

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย จฬู นิเทส เลม ๖ - หนาท่ี 391ภิกษทุ ้งั หลาย กรรมเกาน้ี อันปจ จยั ปรุงแตงแลว มเี จตนาเปน มลู เหตุทานทั้งหลายพึงเห็นวาเปนทตี่ ้งั แหง เวทนา ดกู อนภกิ ษทุ ง้ั หลาย ในกายนน้ัอรยิ สาวกผไู ดส ดบั แลว ยอ มมนสิการโดยแยบคายดว ยดี ถึงปฏจิ จสมุปบาทนั่นแหละวา เพราะเหตดุ งั นี้ เมือ่ สง่ิ นม้ี ี ส่ิงน้ีก็มี เพราะสิ่งน้ีเกดิ สงิ่ นี้กเ็ กิด เมอ่ื สง่ิ นี้ไมมี สง่ิ นกี้ ็ไมม ี เพราะสิ่งนีด้ บั สง่ิ นี้ก็ดบั คอื เพราะอวชิ ชาเปนปจ จัยจึงมสี งั ขาร เพราะสงั ขารเปน ปจจัยจึงมีวิญญาณ เพราะวญิ ญาณเปนปจจัยจึงมีนามรูป เพราะนามรปู เปนปจจยั จึงมสี ฬายตนะเพราะสฬายตนะเปนปจ จยั จึงมผี ัสสะ เพราะผสั สะเปนปจจยั จงึ มเี วทนาเพราะเวทนาเปน ปจ จัยจึงมตี ัณหา เพราะตัณหาเปน ปจ จัยจงึ มอี ปุ าทานเพราะอปุ าทานเปนปจ จยั จึงมีภพ เพราะภพเปนปจ จยั จงึ มีชาติ เพราะชาติเปนปจ จยั จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทกุ ข โทมนสั และอปุ ายาสความเกดิ ข้นึ แหง กองทุกขท ั้งส้ินน้ันยอ มมีดว ยอาการอยางนี้ ก็เพราะอวชิ ชานนั้ แล ดับโดยสาํ รอกไมเหลอื สังขารจงึ ดบั เพราะสังขารดับวิญญาณจงึ ดบั เพราะวิญญาณดับนามรปู จึงดบั เพราะนามรปู ดับสฬาย-ตนะจึงดับ เพราะสฬายตนะดับผัสสะจงึ ดับ เพราะผัสสะดับเวทนาจงึ ดบัเพราะเวทนาดับตัณหาจงึ ดับ เพราะตัณหาดบั อปุ าทานจึงดบั เพราะอปุ าทานดบั ภพจงึ ดบั เพราะภพดบั ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะทกุ ข โทมนสั และอุปายาสจงึ ดับ ความดับแหงกองทกุ ขทง้ั ส้นิ นนั้ ยอ มมีดวยอาการอยา งนี้ บุคคลยอมพิจารณาเห็นโลกโดยความเปน ของสูญ ดวยสามารถการกําหนดวา ไมเ ปนไปในอาํ นาจอยางนี.้ บุคคลยอมพจิ ารณาเหน็ โลกโดยความเปน ของสูญ ดว ยสามารถการพจิ ารณาเห็นสงั ขารโดยความเปน ของวา งเปลา อยา งไร. ใคร ๆ ยอ ม

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย จูฬนิเทส เลม ๖ - หนาที่ 392ไมไ ดแกน สารในรปู ในเวทนา ในสญั ญา ในสงั ขาร ในวญิ ญาณรปู ไมม ีแกน สาร ไรแกน สาร ปราศจากแกน สาร โดยสาระวาความเทีย่ งเปนแกน สาร โดยสาระวาความสุขเปน แกน สาร โดยสาระวาตนเปน แกนสาร โดยความเที่ยง โดยความยงั่ ยืน โดยความมั่นคง หรือโดยมคี วามไมแปรปรวนเปนธรรมดา เวทนาไมม ีแกนสาร ไรแกน สาร ปราศจากแกน สาร สญั ญาไมมีแกนสาร ไรแกนสาร ปราศจากแกน สาร สงั ขารไมมแี กนสาร ไรแ กนสาร ปราศจากแกนสาร วญิ ญาณไมมแี กนสารไรแ กนสาร ปราศจากแกน สาร โดยสาระวา ความเท่ยี งเปนแกน สารโดยสาระวา ความสขุ เปน แกนสาร โดยสาระวา ตนเปนแกน สาร โดยความเที่ยง โดยความยงั่ ยนื โดยความมนั่ คง หรือโดยมีความไมแ ปรปรวนเปน ธรรมดา ตนออ ไมม ีแกนสาร ไรแ กน สาร ปราศจากแกนสาร อนึ่งตน ละหุงไมมีแกน สาร ไรแ กน สาร ปราศจากแกน สาร อน่งึ ตนมะเด่ือไมมีแกนสาร ไรแกนสาร ปราศจากแกน สาร อนึ่ง ตนรักไมมีแกน สารไรแกนสาร ปราศจากแกน สาร อนึ่ง ตน ทองหลางไมมแี กน สาร ไรแกนสาร ปรากจากแกนสาร อนึง่ ฟองนาํ้ ไมมีแกนสาร ไรแ กนสารปราศจากแกนสาร อน่ึง คอมนํ้าไมม ีแกน สาร ไรแกนสาร ปราศจากแกน สาร อนึง่ ตน กลว ยไมมแี กนสาร ไรแกนสาร ปราศจากแกน สารอนึ่ง พยบั แดดไมมแี กน สาร ไรแกน สาร ปราศจากแกนสาร ฉันใดรูปไมม ีแกนสาร ไรแกนสาร ปราศจากแกนสาร โดยสาระวา ความเทีย่ งเปน แกน สาร โดยสาระวาความสุขเปน แกนสาร โดยสาระวาตนเปนแกน สาร โดยความเท่ยี ง โดยความยัง่ ยนื โดยความมั่นคง หรอื โดยมีความไมแปรปรวนเปน ธรรมดา เวทนาไมม แี กนสาร ไรแ กน สาร

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย จฬู นเิ ทส เลม ๖ - หนา ที่ 393ปราศจากแกน สาร สญั ญาไมมแี กน สาร ไรแ กนสาร ปราศจากแกน สารสังขารไมม ีแกนสาร ไรแ กน สาร ปราศจากแกน สาร วญิ ญาณไมมีแกน สาร ไรแกนสาร ปราศจากแกน สาร โดยสาระวาความเทย่ี งเปนแกน สาร โดยสาระวา ความสขุ เปน แกน สาร โดยสาระวา ตนเปนแกนสารโดยความเท่ียง โดยความยง่ั ยืน โดยความมนั่ คง หรือโดยมีความไมแปรปรวนเปนธรรมดา ฉนั นนั้ เหมือนกัน บคุ คลยอมพจิ ารณาเห็นโลกโดยความเปนของสญู ดวยสามารถการพจิ ารณาเห็นสังขารโดยเปนของวางเปลา อยา งนี้ บคุ คลยอมพจิ ารณาเห็นโลกโดยความเปนของสูญดว ยเหตุ ๒ ประการนี.้ อีกประการหนึ่ง บคุ คลยอ มพิจารณาเห็นโลกโดยความเปน ของสูญโดยอาการ ๖ อยาง คอื บคุ คลยอ มเห็นรูปโดยความท่ีตนไมเปน ใหญ ๑โดยทาํ ตามความชอบใจไมไ ด ๑ โดยเปนที่ตงั้ แหง ความไมส บาย ๑ โดยไมเปน ไปในอาํ นาจ ๑ โดยเปน ไปตามเหตุ ๑ โดยวางเปลา ๑ บุคคลยอ มพจิ ารณาเหน็ เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณ โดยความที่ตนไมเ ปนใหญ... โดยวา งเปลา บุคคลยอมพิจารณาเห็นโลกโดยความเปน ของสูญโดยอาการ ๖ อยา งน้ี. อกี ประการหน่ึง บคุ คลยอ มพจิ ารณาเหน็ โลกโดยความเปน ของสญูโดยอาการ ๑๐ อยาง คือ บุคคลยอ มพิจารณาเหน็ รูป โดยความวา ง ๑โดยความเปลา ๑ โดยความสูญ ๑ โดยไมใ ชต น ๑ โดยไมเปนแกนสาร ๑ โดยเปนดังผูฆา ๑ โดยความเสื่อม ๑ โดยเปน มูลแหง ทกุ ข ๑โดยมอี าสวะ ๑ โดยความเปนขนั ธอ นั ปจ จยั ปรงุ แตง ๑ บุคคลยอ มพจิ ารณาเหน็ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ โดยความวา ง ... โดย

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย จูฬนเิ ทส เลม ๖ - หนา ท่ี 394ความเปน ขนั ธอ ันปจ จยั ปรุงแตง บคุ คลยอมพิจารณาเห็นโลกโดยความเปน ของสูญ โดยอาการ ๑๐ อยางนี้. อกี ประการหน่งึ บุคคลยอมพิจารณาเหน็ โลกโดยความเปนของสูญโดยอาการ ๑๒ อยาง คอื ยอ มพิจารณาเหน็ วา รปู ไมใชส ัตว ๑ ไมใชชวี ิต ๑ ไมใชบ รุ ุษ๑ ไมใ ชค น๑ ไมใชมาณพ ๑ ไมใ ชหญงิ ๑ ไมใชชาย ๑ ไมใชต น ๑ ไมใชข องที่เนือ่ งกบั ตน ๑ ไมใชเรา ๑ ไมใชของเรา ๑ ไมมใี คร ๆ ๑ บุคคลยอ มพิจารณาเหน็ วา เวทนา สญั ญาสังขาร วญิ ญาณ ไมใ ชสัตว ... ไมม ีใคร ๆ บุคคลยอ มพิจารณาเหน็ โลกโดยความเปน ของสูญ โดยอาการ ๑๒ อยา งนี้. และสมจรงิ ตามพระพทุ ธพจนทพ่ี ระผมู พี ระภาคเจา ตรสั วา ดกู อ นภิกษทุ ้ังหลาย ส่ิงใดไมใ ชข องทานท้งั หลาย ทานทั้งหลายจงละสง่ิ นั้นเสียส่งิ นน้ั อนั ทานทงั้ หลายละเสียแลว จักเปนไปเพื่อประโยชน เพอ่ื ความสขุตลอดกาลนาน ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย สิ่งอะไรเลาไมใ ชข องทา นทัง้ หลายดูกอ นภกิ ษุทง้ั หลาย รปู ไมใ ชของทานทง้ั หลาย ทานทัง้ หลายจงละรปูนน้ั เสีย รปู นนั้ อันทา นทงั้ หลายละเสียแลว จักเปน ไปเพ่อื ประโยชนเ พื่อความสขุ ตลอดกาลนาน ดูกอนภกิ ษุท้ังหลาย เวทนาไมใชข องทานทั้งหลาย ... สัญญาไมใ ชของทา นท้งั หลาย... สังขารไมใ ชข องทานทง้ั หลาย... ดกู อนภิกษุทง้ั หลาย วญิ ญาณไมใชของทา นท้งั หลาย ทานทั้งหลายจงละวิญญาณน้ันเสยี วิญญาณนนั้ อันทานทัง้ หลายละเสียแลวจักเปนไปเพ่อื ประโยชน เพอ่ื ความสุขตลอดกาลนาน ดกู อ นภิกษทุ ั้งหลายทานทั้งหลายจะสาํ คญั ความขอ นัน้ เปนไฉน หญา ไม กิ่งไม และใบไมใดที่มอี ยูในเชตวันวหิ ารนี้ ชนพึงนําหญา ไม กง่ิ ไม และใบไมนั้น

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย จูฬนิเทส เลม ๖ - หนา ท่ี 395ไปเสีย เผาเสียหรือพงึ ทาํ ตามควรแกเ หตุ ทานทง้ั หลายพงึ มคี วามคิดอยา งนี้วา ชนนําเราทั้งหลายไปเสยี เผาเสีย หรือทําตามควรแกเ หตบุ า งหรือหนอ ภกิ ษทุ ง้ั หลายกราบทลู วา ไมใชอ ยางน้นั พระพทุ ธเจาขา นนั่เปน เพราะเหตุอะไร เพราะสิง่ เหลานน้ั ไมใ ชต นหรอื ส่งิ ท่ีเนื่องกบั ตนของขา พระองคท ้ังหลายอยางนน้ั พระพทุ ธเจา ขา . ดกู อนภิกษทุ งั้ หลาย ฉนั นนั้เหมอื นกนั แล สิง่ ใดไมใ ชของทานทง้ั หลาย ทา นท้งั หลายจงละส่ิงน้ันเสียสง่ิ นัน้ อันทา นท้งั หลายละเสียแลว จักเปน ไปเพื่อประโยชนเ พอื่ ความสุขตลอดกาลนาน ดกู อ นภิกษทุ ้งั หลาย รปู ไมใชของทา นท้งั หลาย ทา นท้งั หลายจงละรูปน้ันเสีย รูปนัน้ อันทานท้ังหลายละเสยี แลว จกั เปนไปเพอ่ื ประโยชน เพ่อื ความสุขตลอดกาลนาน ดูกอนภิกษุท้งั หลาย เวทนาสญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณไมใชของทานทง้ั หลาย ทานทง้ั หลายจงละส่ิงนนั้ เสีย สง่ิ น้ันอนั ทานทัง้ หลายละเสยี แลว จักเปน ไปเพอ่ื ประโยชนเพ่ือความสขุ ตลอดกาลนาน บคุ คลยอมพจิ ารณาเหน็ โลกโดยความเปนของสญู แมอ ยา งน.ี้ ทา นพระอานนทท ลู ถามพระผมู ีพระภาคเจาวา ขา แตพ ระองคผูเจริญ พระองคตรัสวา โลกสญู ดงั นี้ ขา แตพ ระองคผเู จรญิ พระองคตรัสวา โลกสูญ ดวยเหตเุ พียงเทา ไรหนอ. พระผูมพี ระภาคเจาตรสั ตอบวา ดูกอนอานนท เพราะสญู จากตนหรือจากสิ่งทเ่ี นอื่ งกับตน ฉะนนั้ จงึ กลาววา โลกสญู ดูกอนอานนทส่ิงอะไรเลาสูญจากตน หรือจากส่ิงท่เี น่ืองกับตน จักษุสญู รปู สูญ จกั ษ-ุวญิ ญาณสญู จักษุสมั ผสั สญู สุขเวทนาก็ดี ทกุ ขเวทนาก็ดี อทุกขมสุข-เวทนากด็ ี ทเ่ี กดิ ขน้ึ เพราะจักษุสัมผัสเปนปจ จยั แมเ วทนาน้ันกส็ ูญจากตน

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย จฬู นิเทส เลม ๖ - หนา ท่ี 396หรอื ส่ิงทเี่ นื่องกับตน หูสูญ เสียงสูญ จมกู สญู กลิน่ สญู ลน้ิ สญู รสสญูกายสูญ โผฏฐัพพะสูญ ใจสญู ธรรมารมณสญู มโนวญิ ญาณสูญสุขเวทนากด็ ี ทกุ ขเวทนากด็ ี อทกุ ขมสขุ เวทนากด็ ี ท่ีเกดิ ขึน้ เพราะมโนสัมผัสเปนปจ จยั แมเวทนานนั้ กส็ ญู จากตนหรือจากสิ่งทเ่ี นื่องกับตนดกู อ นอานนท เพราะสูญจากตนหรอื จากสิ่งท่ีเน่ืองกับตนนนั่ แล ฉะนนั้จึงกลา ววา โลกสญู บคุ คลยอ มพิจารณาเห็นโลกโดยความเปน ของสญูแมอยางน้.ี ดกู อ นคามณี เมอื่ บคุ คลเหน็ ซ่งึ ความเกดิ ข้นึ พรอ ม แหง ธรรมทงั้ สิน้ ซงึ่ ความสบื ตอ แหง สงั ขารทงั้ สิน้ ตาม ความเปน จริง ภยั นนั้ ยอ มไมม ี เมื่อใด บุคคลยอ ม พจิ ารณาเห็นโลกเสมอหญา และไมดวยปญญา เมอ่ื นั้น บคุ คลนั้นกไ็ มพ งึ ปรารถนาภพหรอื อตั ภาพอะไร ๆ อ่ืน เวน ไวแ ตน ิพพานอนั ไมม ีปฏสิ นธ.ิบคุ คลยอมพจิ ารณาเห็นโลกโดยความเปน ของสูญแมอยางน้.ี และสมจริงตามพระพทุ ธพจนท ีพ่ ระผูมีพระภาคเจาตรัสวา ดูกอนภิกษทุ ั้งหลาย ภิกษุยอ มตามคน หารปู คตขิ องรูปมอี ยเู ทา ไร ตามคนหาเวทนา คติของเวทนามีอยูเ ทา ไร ตามคนหาสัญญา คติของสัญญามอี ยูเทา ไร ตามคนหาสังขาร คติของสงั ขารมีอยูเทาไร ตามคนหาวญิ ญาณคติของวิญญาณมอี ยเู ทา ไร กเ็ หมือนอยา งน้ันนัน่ แหละ เมื่อภิกษุตามคนหารปู คติของรปู มอี ยูเ ทา ไร ตามคนหาเวทนา คติของเวทนามอี ยเู ทาไรตามคน หาสัญญา คติของสญั ญามอี ยูเ ทาไร ตามคน หาสงั ขาร คติของสงั ขารมอี ยเู ทาไร ตามคน หาวญิ ญาณ คติของวญิ ญาณมีอยเู ทาไร แม

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย จฬู นเิ ทส เลม ๖ - หนาที่ 397ความถอื ใดดวยอาํ นาจทิฏฐิวา เรากด็ ี ดว ยอาํ นาจตัณหาวา ของเรากด็ ีดวยอาํ นาจมานะวา เปน เราก็ดี ของภิกษุใดมีอยู ความถือแมนั้นยอ มไมม ีแกภ กิ ษุนนั้ บคุ คลยอมพจิ ารณาเห็นโลกโดยความเปน ของสูญแมอ ยางน.้ี คําวา จงพจิ ารณาเหน็ โลกโดยความเปนของสูญ ความวา จงมองดู จงพจิ ารณา จงเทยี บเคียง จงตรวจตรา จงใหเ เจมแจง จงทาํใหป รากฏ ซง่ึ โลกโดยความเปน ของสูญ เพราะฉะน้นั จงึ ชื่อวา จงพิจารณาเหน็ โลกโดยความเปน ของสญู . [๕๐๖] พระผมู พี ระภาคเจา ตรสั เรียกพราหมณน นั้ โดยช่อื วา โมฆ-ราช ในอุเทศวา โมฆราช สทา สโต ดังนี้ คําวา ทุกเมอ่ื คอื ตลอดกาลทง้ั ปวง ฯ ล ฯ ในตอนวัยหลัง. คาํ วา ผมู สี ติ คอื มีสตดิ วยเหตุ ๔ ประการคือ มีสตเิ จรญิ สติปฏ ฐาน เคร่ืองพิจารณาเหน็ กายในกาย ฯ ล ฯ บคุ คลน้ันตรสั วา เปน ผูม สี ติ เพราะฉะนั้น จึงชอ่ื วา ดูกอนโมฆราช... มีสตทิ ุกเม่ือ. [๕๐๗] ทฏิ ฐมิ วี ัตถุ ๒๐ ตรัสวา อตั ตานุทฏิ ฐิ ในอุเทศวา อตฺตา-นุทิฏึ อหู จฺจ ดงั นี้ ปุถชุ นผไู มไ ดสดับในโลกน้ี ไมไ ดเห็นพระอริยเจาไมฉลาดในธรรมของพระอริยเจา ไมไดร ับแนะนําในธรรมของพระ-อริยเจา ไมไ ดเ ห็นสตั บุรุษ ไมฉ ลาดในธรรมของสัตบุรษุ ไมไ ดร บั แนะนาํในธรรมของสตั บรุ ุษ ยอมตามเหน็ รูปโดยความเปน ตนบาง ตามเห็นตนวามรี ปู บาง ตามเหน็ รูปในตนบา ง ตามเหน็ ตนในรปู บา ง ตามเห็นเวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ โดยความเปน ตนบาง ตามเหน็ ตนวามวี ิญญาณบาง ตามเห็นวญิ ญาณในตนบาง ตามเห็นตนในวญิ ญาณบางทิฏฐอิ นั ไปแลว ทฏิ ฐิอันรกชัฏ ทฏิ ฐเิ ปนทางกันดาร ทิฏฐิเปนขาศกึ

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย จูฬนเิ ทส เลม ๖ - หนาท่ี 398(เส้ยี นหนาม) ทฏิ ฐิอันแสไ ปผิด ทิฏฐเิ ปนเคร่ืองประกอบไว ความถือความยดึ ถอื ความถอื มน่ั ความจับตองทางชว่ั ทางผิด ความเปน ผดิลัทธแิ หงเดยี รถีย ความถอื โดยการแสวงหาผิด ความถือวิปริต ความถอื วิปลาส ความถือผิด ความถือในวตั ถไุ มจ รงิ วา เปนจริง ทิฏฐิ ๖๒มเี ทาไร ทิฏฐนิ ้เี ปน อตั ตานทุ ิฏฐิ. คําวา ถอนอตั ตานุทฏิ ฐิเสียแลว ความวา รอื้ ถอน ฉดุ ชกัลากออก เพิกขึ้น ละ บรรเทา ทาํ ใหสน้ิ สดุ ใหถงึ ความไมมี ซ่งึ อัตตา-นุทฏิ ฐิ เพราะฉะนั้น จึงชือ่ วา ถอนอตั ตานุทิฏฐเิ สียแลว. [๕๐๘] คําวา พึงขา มพนมจั จุไดดวยอบุ ายอยา งน้ี ความวาพงึ ขามข้ึน กา วลว ง เปนไปลว ง แมซงึ่ มัจจุ แมซ ่งึ ชรา แมซึ่งมรณะดวยอบุ ายอยา งนี้ เพราะฉะนน้ั จึงช่ือวา พึงขา มพนมจั จไุ ดด ว ยอบุ ายอยา งน.้ี [๕๐๙] คําวา พจิ ารณาเห็นโลกอยา งน้ี ความวา มองเหน็พิจารณาเห็น เทยี บเคยี ง พิจารณา ใหเ จริญ ทําใหแจม แจง ซ่ึงโลกดวยอยางนี้ เพราะฉะนั้น จงึ ชื่อวา พจิ ารณาเหน็ โลกอยา งนี้. [๕๑๐] แมม ารกช็ ื่อวา มัจจรุ าช แมค วามตายกช็ ือ่ วา มัจจรุ าชในอุเทศวา มจจฺ รุ าชา น ปสฺสติ ดงั นี้. คาํ วา ยอมไมเหน็ ความวามจั จุราชยอ มไมเ ห็น คอื ไมป ระสบ ไมพ บ ไมป ะ ไมไดเฉพาะ. สมจริงตามพระพุทธพจนท่พี ระผูมีพระภาคเจาตรสั วา ดูกอนภิกษุทง้ั หลาย เนือ้ ทอ่ี ยใู นปา เม่อื เทยี่ วอยใู นปา ใหญ เดินไปกไ็ มร ะแวงยืนอยูก ไ็ มร ะแวง น่ังพกั อยูก ไ็ มระแวง นอนอยูก ไ็ มระแวง ขอน้นัเพราะเหตุอะไร เพราะเนอื้ น้ันไมไปในทางของพราน แมฉันใด ดกู อ น

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย จูฬนิเทส เลม ๖ - หนา ที่ 399ภิกษุทงั้ หลาย ภิกษุกเ็ หมือนฉนั นัน้ แล สงดั จากกาม สงดั จากอกศุ ลธรรมเขาปฐมฌานอนั มวี ิตก มีวิจาร มีปติและสุขเกิดแตว ิเวกอยู ดูกอ นภกิ ษุทั้งหลาย ภิกษนุ เ้ี รากลาววา ทาํ มารใหมดื กําจัดมารไมใ หมที างไปแลวสูส ถานเปนทีไ่ มเ หน็ ดวยจักษแุ หงมารผูลามก ดกู อนภิกษทุ ้ังหลาย อีกประการหนึ่ง ภิกษเุ ขาทตุ ิยฌาน อนั มคี วามผองใสแหงจติ ในภายในเปน ธรรมเอกผุดขึน้ ไมม ีวิตก ไมม ีวจิ าร เพราะวติ กวจิ ารสงบไป มปี ต ิและสขุ เกิดแตส มาธิอยู เขา ตติยฌาน เขา จตุตถฌาน ดูกอนภิกษทุ ง้ั หลายภกิ ษุนีเ้ รากลาววา ทาํ มารใหมดื กําจัดมารไมใ หมที าง ไปแลว สูสถานเปน ทีไ่ มเ หน็ ดวยจักษขุ องมารผลู ามก. อกี ประการหนง่ึ ภิกษเุ ขาอากาสานญั จายตนฌานดวยมนสิการวาอากาศไมม ที สี่ ุด เพราะลว งรปู สัญญา เพราะดบั ปฏิฆสญั ญา เพราะไมมนสกิ ารถึงนานัตตสญั ญา โดยประการทง้ั ปวงอยู ดกู อนภกิ ษุทงั้ หลายภิกษนุ ีเ้ รากลาววา ทาํ มารใหม ดื กําจัดมารไมใหม ีทาง ไปแลว สสู ถานเปน ทไี่ มเ ห็นดว ย จกั ษุของมารผูลามก. อีกประการหน่ึง ภกิ ษุลว งอากาสานัญจายตนฌานโดยประการทง้ั ปวง เขา วิญญาณัญจายตนฌานดวยมนสกิ ารวา วญิ ญาณหาทส่ี ดุ ไมไ ดลวงวญิ ญาณัญจายตนฌานโดยประการทั้งปวง เขา อากญิ จัญญายตนฌานดวยมนสกิ ารวา อะไร ๆ นอยหนงึ่ ไมมี ลว งอากญิ จญั ญายตนฌานโดยประการท้ังปวง เขา เนวสญั ญานาสญั ญายตนฌานอยู ลว งเนวสัญญานา-สญั ญายตนฌานโดยประการทง้ั ปวง เขาสัญญาเวทยติ นิโรธอยู และอาสวะของภิกษุน้นั กห็ มดสน้ิ ไป เพราะเห็นดว ยปญ ญา ดกู อนภกิ ษุทง้ั หลาย ภกิ ษุนีเ้ รากลา ววา ทํามารใหม ืด กําจดั มารไมใหม ที าง ไปแลว

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย จูฬนเิ ทส เลม ๖ - หนา ท่ี 400สสู ถานเปน ทไ่ี มเ ห็นดวยจักษขุ องมารผลู ามก ขา มแลว ซงึ่ ตัณหาอนั ซา นไปในอารมณต าง ๆ ภิกษนุ ั้นเดินอยูก ไ็ มร ะแวง ยนื อยกู ็ไมระแวง นัง่ อยูก็ไมระแวง นอนอยกู ไ็ มระแวง ขอ น้นั เพราะเหตุไร เพราะภิกษุน้ันไมไ ปในทางแหง มารผูลามก เพราะฉะนนั้ จงึ ชอื่ วา มจั จุราชยอ มไมเ ห็นเพราะเหตุน้นั พระผูมีพระภาคเจา จงึ ตรสั วา ดูกอ นโมฆราช ทา นจงเปนผูม สี ติ พิจารณาเหน็ โลก โดยความเปน ของสญู ทกุ เมือ่ ถอนอตั ตานุทฏิ ฐเิ สยี แลว พงึ ขา มพน มัจจุไดด ว ยอุบายอยา งนี้ เมื่อบคุ คลพจิ ารณา เห็นโลกอยา งนี้ มัจจุราชจงึ ไมเ ห็น. พรอ มดวยเวลาจบพระคาถา ฯ ล ฯ ขา แตพระองคผ เู จริญ พระ-ผูมพี ระภาคเจา เปน ศาสดาของขาพระองค ขาพระองคเ ปน สาวกฉะน้ีแล. จบโมฆราชมาณวกปญหานิทเทสท่ี ๑๕ อรรถกถาโมฆราชมาณวกปญหานทิ เทสท่ี ๑๕ พงึ ทราบวนิ ิจฉยั ในโมฆราชสตู รที่ ๑๕ ดงั ตอไปน้.ี บทวา ทฺวาห คอื เทวฺ วาเร อห ขา พระองคไ ดทลู ถาม ๒ ครง้ัแลว. เพราะวาโมฆราชมาณพนนั้ คราวกอนทลู ถามพระผูม พี ระภาคเจา ถึง๒ คร้งั เมอื่ จบอชติ สูตรและติสสเมตเตยยสูตร. แตพ ระผมู พี ระภาคเจาทรงรอใหโมฆราชมาณพมอี ินทรยี แกก ลา กอ น จงึ ไมทรงพยากรณ. ดวยเหตุนนั้ โมฆราชมาณพจึงทลู วา ทฺวาห สกฺก อปจุ ฺฉิสฺส ขา แตพ ระสกั กะขา พระองคไ ดทลู ถาม ๒ คร้งั แลว. บทวา ยาวตติยจฺ เทวสิ ิ พยฺ ากโร-


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook