Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_88

tripitaka_88

Published by sadudees, 2017-01-10 01:17:04

Description: tripitaka_88

Search

Read the Text Version

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 101 ๔. อเหตุกธรรม เปนปจจยั แกอ เหตุกธรรม ดว ยอาํ นาจของอุปนิสสยปจจยั มี ๒ อยาง คอื ที่เปน อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนสิ สยะ ท่ีเปน ปกตูปนิสสยะ ไดแก สขุ ทางกาย เปน ปจจยั แกส ขุ ทางกาย แกท กุ ขท างกาย และแกโ มหะดวยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจ จัย. ทกุ ขท างกาย ฯลฯ อตุ ุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เปนปจ จัยแกส ขุ ทางกาย แกท ุกขทางกาย และแกโมหะ ดว ยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจ จยั . โมหะ เปนปจจยั แกสุขทางกาย แกทุกขทางกาย และแกโ มหะ ดว ยอํานาจของอปุ นิสสยปจจยั . สขุ ทางกาย ทุกขท างกาย อุตุ โภชนะ เสนาสนะ และโมหะ เปนปจ จยั แกส ขุ ทางกาย แกทุกขท างกาย และแกโ มหะ ดว ยอํานาจของอุปนสิ สยะปจจยั . ๕. อเหตกุ ธรรม เปน ปจ จยั แกสเหตุกธรรม ดว ยอํานาจของอปุ นิสสยปจจยั มี ๓ อยา ง คือท่ีเปน อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรปู นิสสยะ และปกตปู นิสสยะ ทีเ่ ปน ปกตูปนสิ สยะ ไดแก บคุ คลเขาไปอาศยั สุขทางกายแลว ใหทาน ฯลฯ ทาํ ลายสงฆ. บุคคลเขาไปอาศัยทุกขท างกาย ฯลฯ อุตุ โภชนะ เสนาสนะ ฯลฯโมหะแลว ใหทาน ฯลฯ ทาํ ลายสงฆ.

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 102 สขุ ทางกาย ฯลฯ และโมหะ เปน ปจ จัยแกศรัทธา ฯลฯ แกปญ ญาแกราคะ ฯลฯ แกความปรารถนา แกมรรค แกผลสมาบัติ ดวยอาํ นาจของอปุ นิสสยปจ จยั . ๖. อเหตกุ ธรรม เปน ปจ จัยแกส เหตุกธรรม และอเหตกุ ธรรม ดว ยอํานาจของอปุ นสิ สยปจจยั มี ๒ อยา ง คือท่ีเปน อนนั ตรปู นิสสยะ และ ปกตปู นสิ สยะ ทเี่ ปน ปกตปู นิสสยะ ไดแ ก สุขทางกาย และโมหะ เปนปจ จัยแกข นั ธทั้งหลาย ที่สหรคตดว ยวิจิกจิ ฉา ที่สหรคตดว ยอุทธจั จะ และโมหะ ดวยอํานาจของอุปนิสสยปจ จัย. ๗. สเหตุกธรรม และอเหตกุ ธรรม เปนปจ จยั แกสเหตุกธรรม ดว ยอาํ นาจของอุปนิสสยปจ จัย มี ๒ อยาง คือท่เี ปน อนนั ตรูปนิสสยะ และ ปกตปู นิสสยะ ที่เปน ปกตูปนิสสยะ ไดแ ก ขนั ธท ้งั หลายทส่ี หรคตดว ยวิจิกิจฉา ที่สหรคตดว ยอุทธจั จะ และโมหะเปน ปจจยั แกขันธท ง้ั หลายท่เี ปน สเหตุกธรรม ดวยอาํ นาจของอปุ นิสสยปจจยั . ๘. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เปน ปจจยั แกอเหตุกธรรม ดวยอํานาจของอปุ นิสสยปจจัย มี ๒ อยา ง คอื ทเ่ี ปน อนันตรปู นิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ ทีเ่ ปน ปกตปู นิสสยะ ไดแก

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 103 ขันธท ั้งหลายท่สี หรคตดวยวจิ กิ จิ ฉา ที่สหรคตดว ยอุทธจั จะ และโมหะเปน ปจ จยั แกขนั ธท ัง้ หลายที่เปนอเหตกุ ธรรม และโมหะ ดวยอํานาจของอปุ นสิ สยปจ จยั . ๙. สเหตุกธรรม และอเหตกุ ธรรม เปน ปจจัยแกสเหตกุ ธรรม และอเหตกุ ธรรม ดวยอาํ นาจของอุปนสิ สยปจจยั มี ๒ อยา ง คือทเี่ ปน อนนั ตรปู นสิ สยะ และ ปกตูปนิสสยะ ที่เปน ปกตปู นิสสยะ ไดแก ขนั ธท้ังหลายทส่ี หรคตดวยวิจกิ จิ ฉา ท่ีสหรคตดวยอทุ ธัจจะ และโมหะเปน ปจจยั แกข ันธท้งั หลายทสี่ หรคตดวยวจิ ิกจิ ฉา ทส่ี หรคตดวยอุทธัจจะ และโมหะ ดว ยอาํ นาจของอุปนสิ สยปจ จัย. ๑๐. ปเุ รชาตปจ จยั [๘๖] ๑. อเหตกุ ธรรม เปน ปจจัยแกอเหตกุ ธรรม ดวยอาํ นาจของปเุ รชาตปจจัย มี ๒ อยาง คือทเ่ี ปน อารัมมณปุเรชาตะ และ วตั ถปุ เุ รชาตะ ทเ่ี ปน อารมั มณปเุ รชาตะ ไดแก บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวตั ถุ โดยความเปนของไมเ ทยี่ งฯลฯ โทมนัส ยอ มเกดิ ขนึ้ เม่ือกศุ ลและอกศุ ลดบั ไปแลว ตทารมั มณจิตท่ีเปนวบิ าก ท่ีเปน อเหตกุ ธรรม ยอมเกดิ ข้นึ .

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 104 รูปายตนะ เปนปจ จัยแกจกั ขุวญิ ญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เปนปจจยั แกก ายวิญญาณ ดวยอาํ นาจของปเุ รชาตปจ จัย. ที่เปน วตั ถุปุเรชาตะ ไดแก จักขายตนะ เปน ปจ จยั แกจักขวุ ญิ ญาณ ฯลฯ กายายตนะ เปนปจจัยแกก ายวญิ ญาณ ดวยอํานาจของปเุ รชาตปจจยั . หทยวตั ถุ เปน ปจจัยแกข นั ธท งั้ หลายท่เี ปน อเหตกุ ธรรม และโมหะดว ยอาํ นาจของปุเรชาตปจจยั . ๒. อเหตุกธรรม เปนปจ จยั แกสเหตุกธรรม ดวยอํานาจของปเุ รชาตปจจยั มี ๒ อยา ง คือท่ีเปน อารมั มณปเุ รชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ท่เี ปน อารัมมณปุเรชาตะ ไดแ ก บุคคลพจิ ารณาเหน็ จกั ษุ ฯลฯ หทยวตั ถุ โดยความเปนของไมเทย่ี งฯลฯ โทมนัส ยอมเกิดขึ้น , เมือ่ กศุ ลและอกศุ ลดับไปแลว ตทารัมมณจติ ท่ีเปนวบิ าก ซงึ่ เปน สเหตุกธรรม ยอมเกดิ ข้นึ . บคุ คลเหน็ รปู ดวยทิพยจักษ,ุ ฟง เสียงดวยทพิ โสตธาต.ุ ท่เี ปน วตั ถปุ เุ รชาตะ ไดแก หทยวตั ถุ เปนปจจัยแกข ันธทัง้ หลายท่ีเปน สเหตกุ ธรรม ดว ยอํานาจของปุเรชาตปจ จยั . ๓. อเหตุกธรรม เปนปจจยั แกสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม ดวยอาํ นาจของปุเรชาตปจ จยั

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 105 มี ๒ อยา ง คือทีเ่ ปน อารัมมณปุเรชาตะ และ วตั ถุปุเรชาตะ ที่เปน อารมั มณปเุ รชาตะ ไดแก เพราะปรารภจกั ษุ ฯลฯ หทยั วตั ถุ ขันธท ้งั หลายทส่ี หรคตดวยวิจิกจิ ฉาที่สหรคตดวยอทุ ธจั จะ และโมหะ ยอ มเกดิ ขนึ้ . ท่ีเปน วตั ถุปเุ รชาตะ ไดแ ก หทยวัตถุ เปน ปจ จยั แกข ันธทง้ั หลายทสี่ หรคตดวยวิจิกจิ ฉา ทส่ี หรคตดว ยอทุ ธจั จะ และโมหะ ดว ยอํานาจของปุเรชาตปจจยั . ๑๑. ปจ ฉาชาตปจจัย [๘๗] ๑. สเหตกุ ธรรม เปน ปจจยั แกอ เหตุกธรรม ดว ยอาํ นาจของปจ ฉาชาตปจ จยั คอื ขันธทัง้ หลายที่เปนสเหตกุ ธรรม ท่ีเกิดภายหลัง เปน ปจ จัยแกกายนี้ ท่เี กิดกอ น ดว ยอํานาจของปจฉาชาตปจ จยั . ๒. อเหตุกธรรม เปน ปจ จยั แกอเหตกุ ธรรม ดวยอํานาจของปจฉาชาตปจ จัย คอื ขันธท ัง้ หลายที่เปน อเหตกุ ธรรม ท่ีเกิดภายหลงั และโมหะ เปนปจ จัยแกกายน้ี ทเี่ กิดกอน ดวยอํานาจของปจฉาชาตปจ จยั . ๓. สเหตกุ ธรรม และอเหตุกธรรม เปนปจ จยั แกอเหตกุ ธรรม ดวยอํานาจของปจฉาชาตปจจัย

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 106 คอื ขนั ธทั้งหลายทีส่ หรคตดวยวจิ ิกิจฉา ท่สี หรคตดว ยอุทธัจจะ ที่เกดิ ภายหลงั และโมหะ เปน ปจจยั แกกายนี้ ที่เกดิ กอ น ดวยอาํ นาจของปจ ฉาชาตปจจยั . ๑๒. อาเสวนปจ จยั [๘๘] ๑. สเหตุกธรรม เปน ปจจยั แกสเหตุกธรรม ดวยอาํ นาจของอาเสวนปจจยั เหมือนกบั อนันตรปจ จยั . อาวัชชนะกด็ ี ภวังคก ็ดี ไมมี ในอาเสวนปจจัย พงึ เวน ท้ัง ๙ วาระ. ๑๓. กมั มปจ จยั [๘๙] ๑. สเหตุกธรรม เปน ปจจัยแกส เหตกุ ธรรม ดว ยอํานาจของกมั มปจจยั มี ๒ อยา ง คอื ท่เี ปน สหชาตะ และ นานาขณะิ ทีเ่ ปน สหชาตะ ไดแก เจตนาท่เี ปน สเหตุกธรรม เปนปจจยั แกสัมปยุตตขันธท งั้ หลาย ดว ยอาํ นาจของกมั มปจจยั . ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ที่เปน นานาขณิกะ ไดแก เจตนาที่เปนสเหตุกธรรม เปนปจจัยแกข นั ธท ั้งหลายท่เี ปนสเหตกุ -ธรรม ซงึ่ เปน วบิ าก ดว ยอํานาจของกมั มปจ จยั .

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 107 ๒. สเหตกุ ธรรม เปนปจ จยั แกอ เหตกุ ธรรม ดว ยอํานาจของกมั มปจจัย มี ๒ อยาง คอื ทเี่ ปน สหชาตะ และ นานาขณิกะ ท่เี ปน สหชาตะ ไดแก เจตนาทเ่ี ปนสเหตุกธรรม เปนปจจยั แกจติ ตสมฏุ ฐานรปู ท้งั หลาย ดว ยอาํ นาจของกมั มปจจยั . ในปฏสิ นธขิ ณะ ฯลฯ ทเ่ี ปน นานาขณิกะ ไดแก เจตนาทเ่ี ปนสเหตุกธรรม เปนปจจัยแกขนั ธท้งั หลายท่เี ปน อเหตุก-ธรรม ซง่ึ เปนวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ดว ยอํานาจของกมั มปจจัย. ๓. สเหตุกธรรม เปนปจจัยแกส เหตุกธรรม และอเหตกุ ธรรม ดว ยอาํ นาจของกัมมปจ จัย มี ๒ อยาง คอื ที่เปน สหชาตะ และ นานาขณกิ ะ ที่เปน สหาชาตะ ไดแ ก เจตนาที่เปนสเหตุกธรรม เปนปจ จัยแกสมั ปยตุ ตขันธ และจติ ต-สมุฏฐานรปู ทั้งหลาย ดว ยอาํ นาจของกมั มปจจัย. ท่เี ปน นานาขณิกะ ไดแ ก เจตนาท่ีเปน สเหตุกธรรม เปน ปจ จยั แกขันธท ัง้ หลายทีเ่ ปนสเหตุก-ธรรม ซึ่งเปนวบิ าก และกฏตั ตารปู ทั้งหลาย ดว ยอาํ นาจของกัมมปจ จัย. ๔. อเหตุกธรรม เปน ปจ จัยแกอ เหตกุ ธรรม ดว ย-อาํ นาจของกมั มปจ จัย

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 108 คือ เจตนาที่เปนอเหตกุ ธรรม เปน ปจ จยั แกสัมปยตุ ตขนั ธ และจิตต-สมุฏฐานรปู ทัง้ หลาย ดว ยอาํ นาจของกมั มปจจยั . ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ๑๔. วปิ ากปจ จยั [๙๐] ๑. สเหตกุ ธรรม เปนปจ จยั แกส เหตกุ ธรรม ดว ยอาํ นาจของวิปากปจ จัย คือ ขนั ธ ๑ ทเี่ ปน สเหตกุ ธรรม ซง่ึ เปน วิบาก เปนปจ จยั แกขันธ ๓ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ. ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ ๒. สเหตกุ ธรรม เปน ปจจยั แกอเหตุกธรรม ดว ยอาํ นาจของวปิ ากปจจัย คือ ขันธท้งั หลายทเ่ี ปนสเหตุกธรรม ซ่งึ เปนวบิ าก เปน ปจ จยั แกจติ ตสมุฏฐานรูปทัง้ หลาย ดว ยอาํ นาจของวิปากปจ จยั . ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ ๓. สเหตกุ ธรรม เปน ปจจัยแกส เหตุกธรรม และอเหตุกธรรม ดว ยอํานาจของวปิ ากปจ จัย คือ ขนั ธ ๑ ท่เี ปนสเหตุกธรรม ซงึ่ เปนวบิ าก เปนปจจยั แกขนั ธ ๓และจิตตสมุฏฐานรปู ทงั้ หลาย ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ในปฏสิ นธขิ ณะ ฯลฯ ๔. อเหตกุ ธรรม เปนปจ จยั แกอเหตกุ ธรรม ดวยอาํ นาจของวปิ ากปจ จยั

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 109 คือ ขันธ ๑ ทเ่ี ปน อเหตุกธรรม ซึ่งเปน วิบาก เปน ปจจัยแกขนั ธ ๓และจติ ตสมุฏฐานรปู ทง้ั หลาย ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ. ในปฏิสนธิขณะ ขนั ธท ง้ั หลาย เปน ปจ จยั แกหทยวตั ถุ ดวยอํานาจของวปิ ากปจ จยั . ๑๕. อาหารปจ จัย [๙๑] ๑. สเหตุกธรรม เปนปจ จยั แกส เหตุธรรม ดว ยอาํ นาจของอาหารปจ จยั มี ๓ วาระ (วาระท่ี ๑-๓) ๔. อเหตุกธรรม เปนปจ จยั แกอเหตกุ ธรรม ดวยอาํ นาจของอาหารปจ จัย คอื อาหารท้ังหลาย ที่เปน อเหตุกธรรม เปน ปจจัยแกสมั ปยตุ ตขนั ธและจติ ตสมุฏฐานรูปทงั้ หลาย ดวยอาํ นาจของอาหารปจจัย. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กวฬีการาหารเปน ปจ จยั แกก ายน้ี ดว ยอํานาจของอาหารปจ จัย. ๑๖. อนิ ทริยปจจยั [๙๒] ๑. สเหตกุ ธรรม เปน ปจ จยั แกส เหตุกธรรม ดวยอํานาจของอนิ ทริยปจจัย มี ๓ วาระ (วาระท่ี ๑-๓) ๔. อเหตุกธรรม เปนปจจัยแกอเหตกุ ธรรม ดวยอาํ นาจของอินทรยิ ปจ จยั

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 110 คือ อินทรียท ้ังหลายท่เี ปนอเหตุกธรรม เปนปจ จยั แกส ัมปยตุ ตขันธและจิตตสมุฏฐานรปู ทั้งหลาย ดวยอาํ นาจของอนิ ทริยปจจัย. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จักขุนทรียเปนปจจัยแกจ ักขวุ ญิ ญาณ ฯลฯ กายินทรยี  เปน ปจจัยแกกายวญิ ญาณ ดว ยอาํ นาจของอินทริยปจจยั . รูปชวี ติ นิ ทรยี  เปนปจ จยั แกกฏตั ตารูปทัง้ หลาย ดว ยอํานาจของอินทริยปจจยั ๑๗. ฌานปจจยั [๙๓] ๑. สเหตกุ ธรรม เปน ปจ จยั แกส เหตุกธรรม ดวยอํานาจของฌานปจจยั มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑-๓) ๔. อเหตกุ ธรรม เปน ปจจยั แกอเหตุกธรรม ดว ยอํานาจของฌานปจ จยั คอื องคฌานทงั้ หลายทีเ่ ปน อเหตุกธรรม เปน ปจจยั แกส ัมปยุตตขนั ธและจิตตสมฏุ ฐานรูปทงั้ หลาย ดว ยอํานาจของฌานปจ จยั . ในปฏิสนธขิ ณะ ฯลฯ ๑๘. มัคคปจจยั [๙๔] ๑. สเหตุกธรรม เปนปจจัยแกสเหตกุ ธรรม ดว ยอาํ นาจของมคั คปจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑-๓)

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 111 ๑๙. สัมปยตุ ตปจจยั [๙๕] ๑. สเหตุกธรรม เปนปจ จัยแกสเหตุกธรรม ดวย-อาํ นาจของสมั ปยุตตปจจัย เหมอื นกับสัมปยตุ ตปจจยั ในปฏจิ จวาระ. พงึ กระทาํ เปน ๖ วาระ. ๒๐. วปิ ปยุตตปจ จยั [๙๖] ๑. สเหตุกธรรม เปน ปจจัยแกอเหตกุ ธรรม ดว ยอาํ นาจของวิปปยุตตปจ จัย มี ๒ อยา ง คอื ที่เปน สหชาตะ และ ปจฉาชาตะ ทเ่ี ปน สหชาตะ ไดแก ขนั ธท้งั หลายทเ่ี ปนสเหตกุ ธรรม เปน ปจจยั แกจิตตสมุฏฐานรปู ทงั้หลาย ดว ยอาํ นาจของวปิ ปยุตตปจจยั . ในปฏสิ นธขิ ณะ ขนั ธทงั้ หลายท่ีเปนสเหตกุ ธรรม เปนปจจัยแกกฏตั ตารูปทงั้ หลาย ดวยอาํ นาจของวิปปยตุ ตปจจยั . ท่ีเปน ปจฉาชาตะ ไดแก ขนั ธทง้ั หลายท่เี ปนสเหตุกธรรมท่ีเกิดภายหลงั เปน ปจจยั แกก ายนี้ทเี่ กดิ กอน ดว ยอาํ นาจของวิปปยุตตปจ จัย. ๒. อเหตกุ ธรรม เปนปจ จัยแกอเหตุกธรรม ดว ยอํานาจของวปิ ปยตุ ตปจ จยั

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 112 มี ๓ อยา ง คือทเ่ี ปน สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปจฉาชาตะ ทเ่ี ปน สหชาตะ ไดแ ก ขันธท งั้ หลายท่ีเปน อเหตกุ ธรรม เปน ปจจัยแกจ ิตตสมุฏฐานรปูทัง้ หลาย ดวยอาํ นาจของวปิ ปยุตตปจ จยั . ในปฏิสนธิขณะ ขนั ธท ั้งหลายทเี่ ปนอเหตุกธรรม เปนปจ จยั แกก ฏตั ตารปู ทง้ั หลาย ดว ยอํานาจของวปิ ปยุตตปจจยั . ขันธท ั้งหลาย เปน ปจจัยแกหทยวตั ถุ ดวยอํานาจของวปิ ปยุตตปจจัย,หทยวัตถุ เปนปจจยั แกข ันธท ง้ั หลาย ดวยอํานาจของวปิ ปยตุ ตปจ จยั . ท่ีเปน ปุเรชาตะ ไดแ ก จักขายตนะ เปน ปจจยั แกจ กั ขวุ ิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เปน ปจ จยั แกกายวิญญาณ หทยวตั ถุ เปนปจ จยั แกขนั ธทง้ั หลายทเี่ ปนอเหตุกธรรม และโมหะดว ยอาํ นาจของวปิ ปยุตตปจ จยั . ที่เปน ปจฉาชาตะ ไดแก ขนั ธท ้งั หลายที่เปน อเหตุกธรรมทีเ่ กดิ ภายหลงั และโมหะ เปน ปจจยัแกกายนท้ี เ่ี กดิ กอน ดว ยอาํ นาจของวปิ ปยตุ ตปจ จยั . ๓. อเหตกุ ธรรม เปนปจจัยแกส เหตกุ ธรรม ดว ยอาํ นาจของวปิ ปยุตตปจ จัย มี ๒ อยา ง คือทเ่ี ปน สหชาตะ และ ปุเรชาตะ ท่ีเปน สหชาตะ ไดแ ก ในปฏิสนธขิ ณะ หทยวตั ถุ เปนปจ จัยแกข ันธท ัง้ หลาย ทเ่ี ปน สเหตุก-ธรรม ดวยอาํ นาจของวิปปยตุ ตปจจัย.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 113 ท่ีเปน ปเุ รชาตะ ไดแก หทยวตั ถุ เปน ปจจัยแกขนั ธท ้ังหลายทเ่ี ปนสเหตกุ ธรรม ดว ยอํานาจของวิปปยตุ ตปจจัย. ๔. อเหตุกธรรม เปน ปจ จยั แกส เหตุกธรรม และอเหตุกธรรม ดว ยอํานาจของวิปปยตุ ตปจจยั มอี ยา งเดียว คือทเ่ี ปน ปุเรชาตะ ไดแก หทัยวตั ถุ เปน ปจจัยแกขันธท ั้งหลายทส่ี หรคตดว ยวจิ ิกจิ ฉา ทส่ี หรคตดวยอุทธจั จะ และโมหะ ดวยอํานาจของวปิ ปยตุ ตปจจัย. ๕. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เปน ปจจยั แกอเหตุกธรรม ดวยอํานาจของวปิ ปยุตตปจ จยั มี ๒ อยา ง คือทเ่ี ปน สหชาตะ และ ปจฉาชาตะ ท่เี ปน สหชาตะ ไดแก ขันธท้ังหลายท่ีสหรคตดวยวจิ กิ จิ ฉา ทีส่ หรคตดวยอุทธจั จะ และโมหะเปน ปจ จัยแกจิตตสมุฏฐานรปู ทง้ั หลาย ดว ยอํานาจของวิปปยุตตปจจยั . ท่เี ปน ปจฉาชาตะ ไดแก ขนั ธท้ังหลายท่สี หรคตดว ยวจิ ิกิจฉา ที่สหรคตดวยอุทธจั จะทเี่ กดิ ภายหลงั และโมหะ เปน ปจจยั แกกายน้ี ที่เกิดกอน ดวยอาํ นาจของวิปปยุตตปจ จยั . ๒๑. อัตถิปจ จัย [๙๗] ๑. สเหตกุ ธรรม เปน ปจจัยแกสเหตกุ ธรรม ดวยอํานาจของอัตถปิ จจยั

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 114 คอื ขนั ธ ๑ ท่เี ปนสเหตกุ ธรรม เปนปจ จัยแกขันธ ๓ ฯลฯ ขนั ธ๒ ฯลฯ. ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ ๒. สเหตุกธรรม เปนปจจัยแกอ เหตุกธรรม ดวย-อํานาจของอัตถิปจ จัย มี ๒ อยา ง คอื ที่เปน สหชาตะ และ ปจฉาชาตะ ทีเ่ ปน สหชาตะ ไดแ ก ขนั ธทง้ั หลายท่ีเปนสเหตกุ ธรรม เปน ปจจัยแกจิตตสมุฏฐานรปู ท้งัหลาย ดว ยอาํ นาจของอตั ถปิ จ จยั , ขันธท ้งั หลาย ทส่ี หรคตดวยวจิ ิกิจฉา ที่สหรคตดวยอทุ ธัจจะ เปน ปจจัยแกโ มหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทัง้ หลาย ดว ยอาํ นาจของอตั ถปิ จจัย. ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ ทีเ่ ปน ปจฉาชาตะ ไดแก ขันธทงั้ หลายที่เปน สเหตกุ ธรรมท่เี กดิ ภายหลัง เปน ปจจยั แกก ายน้ีท่ีเกดิ กอน ดว ยอาํ นาจของอตั ถปิ จ จยั . ๓. สเหตุกธรรม เปนปจ จยั แกส เหตกุ ธรรม และอเหตุกธรรม ดว ยอาํ นาจของอตั ถปิ จ จัย คือ ขนั ธ ๑ ที่เปนสเหตุกธรรม เปนปจจยั แกข นั ธ ๓ และจิตต-สมุฏฐานรปู ท้ังหลาย ดวยอาํ นาจของอัตถปิ จจยั ฯลฯ.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 115 ขันธ ๑ ทีส่ หรคตดวยวิจิกจิ ฉา ที่สหรคตดวยอทุ ธจั จะ เปนปจจัยแกขนั ธ ๓, โมหะ และจติ ตสมฏุ ฐานรูปท้ังหลาย ดวยอาํ นาจของอตั ถปิ จ จยั ฯลฯขนั ธ ๒ ฯลฯ. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ๔. อเหตกุ ธรรม เปนปจจัยแกอ เหตุกธรรม ดว ยอาํ นาจของอตั ถิปจ จัย มี ๕ อยา ง คอื ที่เปน สหชาตะ ปุเรชาตะ ปจฉาชาตะ อาหาระและ อนิ ทริยะ ทเี่ ปน สหชาตะ ไดแ ก ขนั ธ ๑ ทีเ่ ปนอเหตุกธรรม เปนปจจยั แกขนั ธ ๓ และจิตตสมฏุ ฐาน-รูปท้ังหลาย ดวยอาํ นาจของอัตถิปจจัย ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ. โมหะ ทส่ี หรคตดว ยวิจกิ จิ ฉา ทีส่ หรคตดวยอุทธจั จะ เปน ปจจยั แกจิตตสมฏุ ฐานรูปท้ังหลาย ดวยอํานาจของอัตถปิ จ จยั . ในปฏิสนธขิ ณะ พึงกระทําตลอดถึงอสญั ญสตั ว. ทเ่ี ปน ปุเรชาตะ ไดแก บุคคลพิจารณาเหน็ จักษุ ฯลฯ หทยั วัตถโุ ดยความเปนของไมเ ท่ยี งฯลฯ โทมนัส ยอมเกิดข้นึ เมอ่ื กศุ ลและอกุศลดับไปแลว ตทารมั มณจติทเ่ี ปนวบิ าก ซ่งึ เปน อเหตุกธรรม ยอ มเกิดขน้ึ . รูปายตนะ เปนปจ จยั แกจ กั ขวุ ิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เปนปจจัยแกก ายวญิ ญาณ. จกั ขายตนะ เปน ปจ จยั แกจกั ขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เปน ปจ จยัแกก ายวญิ ญาณ ดว ยอํานาจของอัตถิปจจยั .

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 116 หทยวตั ถุ เปน ปจ จยั แกขันธทงั้ หลายท่เี ปนอเหตุกธรรม และโมหะดวยอํานาจของอัตถิปจจัย. ทเ่ี ปน ปจฉาชาตะ ไดแ ก ขันธทัง้ หลายท่ีเปนอเหตกุ ธรรม และโมหะ ที่เกดิ ภายหลัง เปน ปจจัยแกกายนี้ ทเี่ กดิ กอน ดวยอํานาจของอตั ถปิ จ จัย. กวฬกี าราหาร เปนปจ จยั แกก ายนี้ ดว ยอาํ นาจของอตั ถิปจจัย. รปู ชีวิตินทรีย เปน ปจ จัยแกกฏตั ตารปู ทั้งหลาย ดว ยอาํ นาจของอตั ถิ-ปจจยั ๕. อเหตุกธรรม เปนปจจัยแกส เหตุกธรรม ดว ยอํานาจของอตั ถปิ จจยั มี ๒ อยาง คือท่ีเปน สหชาตะ และ ปุเรชาตะ ทเ่ี ปน สหชาตะ ไดแก โมหะทสี่ หรคตดวยวจิ กิ จิ ฉา ที่สหรคตดวยอทุ ธจั จะทเ่ี กิดพรอ มกนัเปน ปจ จัยแกส มั ปยตุ ตขนั ธท ้ังหลาย ดวยอาํ นาจของอัตถปิ จ จยั . ในปฏสิ นธิขณะ หทัยวัตถเุ ปนปจจยั แกข ันธทงั้ หลายท่ีเปนสเหตุกธรรมดวยอํานาจของอตั ถปิ จจัย. ทเ่ี ปน ปเุ รชาตะ ไดแ ก บคุ คลพิจารณาเห็นจกั ษุ ฯลฯ หทยวตั ถุ โดยความเปน ของไมเทีย่ งฯลฯ โทมนัส ยอ มเกิดข้นึ เม่ือกศุ ลและอกศุ ลดบั ไปแลว ตทารมั มณจติ ที่เปน วบิ าก ซึง่ เปน สเหตกุ ธรรม ยอ มเกิดขึ้น. บุคคลเหน็ รปู ดวยทพิ ยจักษุ ฟง เสียงดว ยทิพโสตธาตุ.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 117 หทยวตั ถุ เปนปจ จยั แกขันธท ้งั หลายที่เปน สเหตกุ ธรรม ดว ยอํานาจของอัตถิปจจัย. ๖. อเหตกุ ธรรม เปนปจจัยแกสเหตุกธรรม และอเหตกุ ธรรม ดว ยอาํ นาจของอตั ถปิ จ จัย มี ๒ อยา ง คือทเี่ ปน สหชาตะ และ ปุเรชาตะ ท่ีเปน สหชาตะ ไดแก โมหะ ทส่ี หรคตดวยวจิ กิ จิ ฉา ท่สี หรคตดวยอุทธจั จะทีเ่ กดิ พรอ มกนัเปน ปจจัยแกส มั ปยุตตขันธ และจิตตสมุฏฐานรูปทง้ั หลาย ดว ยอาํ นาจของอัตถปิ จ จัย. ทเ่ี ปน ปุเรชาตะ ไดแก เพราะปรารภจกั ษุ ฯลฯ หทยวตั ถุ ขนั ธท ัง้ หลายทส่ี หรคตดว ยวิจิกจิ ฉาท่สี หรคตดวยอทุ ธัจจะ และโมหะ ยอมเกดิ ขึน้ . หทยวัตถุ เปนปจจยั แกขันธทัง้ หลาย ทสี่ หรคตดว ยวจิ กิ จิ ฉา ท่ีสหรคตดว ยอทุ ธัจจะ และโมหะ ดว ยอํานาจของอตั ถปิ จจัย. ๗. สเหตกุ ธรรม และอเหตุกธรรม เปนปจ จยั แกสเหตุกธรรม ดวยอาํ นาจของอัตถิปจ จัย มี ๒ อยา ง คือท่ีเปน สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกบั ปุเรชาตะ ทีเ่ ปน สหชาตะ ไดแก ขันธ ๑ ท่ีสหรคตดวยวจิ กิ จิ ฉา ทสี่ หรคตดวยอุทธัจจะ ทเ่ี กิดพรอ มกันและโมหะ เปน ปจ จัยแกข ันธ ๓ ดว ยอาํ นาจของอัตถปิ จ จัย ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 118 ในปฏิสนธขิ ณะ ขนั ธ ๑ ทเี่ ปนสเหตุกธรรม และหทยวัตถุ เปนปจจยั แกข ันธ ๓ ดวยอาํ นาจของอัตถิปจจัย ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ที่เปน สหชาตะ รวมกบั ปุเรชาตะ ไดแ ก ขันธ ๑ ที่เปน สเหตุกธรรม ท่เี กิดพรอ มกนั และหทยวัตถุ เปนปจจยัแกขันธ ๓ ดวยอํานาจของอัตถปิ จ จัย ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ๘. สเหตุกธรรม และอเหตกุ ธรรม เปน ปจจยั แกอเหตกุ ธรรม ดวยอํานาจของอตั ถปิ จจัย มี ๕ อยาง คือท่เี ปน สหชาตะ ปุเรชาตะ ปจ ฉาชาตะ, ปจ ฉาชาตะรวมกับ อาหาระ และรวมกบั อนิ ทรยิ ะ ทีเ่ ปน สหชาตะ ไดแ ก ขนั ธทงั้ หลายทเ่ี ปนสเหตกุ ธรรม ที่เกิดพรอ มกนั และมหาภูตรูปทัง้ หลาย เปน ปจจยั แกจติ ตสมุฏฐานรปู ทงั้ หลาย ดว ยอํานาจของอตั ถปิ จ จยั . ขันธท งั้ หลายทสี่ หรคตดวยวิจกิ ิจฉา ทสี่ หรคตดว ยอทุ ธัจจะ และโมหะเปน ปจจยั แกจ ิตตสมุฏฐานรูปทง้ั หลาย ดว ยอํานาจของอตั ถปิ จจยั . ในปฏิสนธิขณะ ขันธท ั้งหลายที่เปนสเหตกุ ธรรม และมหาภูตรูปท้ังหลาย เปน ปจจัยแกก ฏัตตารูปท้ังหลาย ดวยอาํ นาจของอัตถปิ จ จยั . ทีเ่ ปน สหชาตะ ไดแ ก ขนั ธท ้ังหลายทสี่ หรคตดวยวิจกิ จิ ฉา ทีส่ หรคตดว ยอุทธัจจะ ทเ่ี กดิพรอ มกนั และหทยวตั ถุ เปนปจ จัยแกโมหะ ดวยอาํ นาจของอัตถปิ จ จยั . ทเี่ ปน ปจ ฉาชาตะ ไดแ ก

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 119 ขันธท้งั หลายท่สี หรคตดว ยวจิ ิกจิ ฉา ทีส่ หรคตดวยอุทธจั จะ ทเี่ กดิภายหลัง และโมหะ เปนปจ จยั แกกายน้ี ท่เี กดิ กอ น ดว ยอาํ นาจของอัตถปิ จ จัย. ท่เี ปน ปจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ไดแ ก ขันธท ้ังหลายทเ่ี ปนสเหตกุ ธรรม ทเ่ี กิดภายหลัง และกวฬีการาหารเปนปจจยั แกกายนี้ ดวยอํานาจของอตั ถิปจจัย. ท่เี ปน ปจ ฉาชาตะ รวมกับ อนิ ทรยิ ะ ไดแก ขนั ธทัง้ หลายที่เปนสเหตุกธรรม ทีเ่ กดิ ภายหลัง และรูปชีวติ นิ ทรียเปน ปจจยั แกก ฏัตตารปู ท้ังหลาย ดว ยอํานาจของอัตถิปจจัย. ๙. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เปนปจ จัยแกสเหตุกธรรม และอเหตกุ ธรรม ดว ยอํานาจของอัตถปิ จจัย มี ๒ อยา ง คือท่เี ปน สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปเุ รชาตะ ทีเ่ ปน สหชาตะ ไดแ ก ขนั ธ ๑ ที่สหรคตดว ยวจิ กิ จิ ฉา ท่ีสหรคตดว ยอทุ ธจั จะ ท่เี กิดพรอ มกัน และโมหะ เปน ปจจยั แกข นั ธ ๓ และจิตตสมฏุ ฐานรปู ท้ังหลาย ดวยอํานาจของอัตถิปจ จัย ฯลฯ ที่เปน สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ไดแ ก ขันธ ๑ ทส่ี หรคตดวยวิจกิ ิจฉา ทส่ี หรคตดวยอุทธจั จะ ทเี่ กิดพรอ มกนั และหทยวัตถุ เปน ปจจัยแกขันธ ๓ และโมหะ ดว ยอํานาจของอตั ถปิ จ จยัฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ.

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 120 การนบั จาํ นวนวาระในอนุโลม [๙๘] ในเหตปุ จ จัย มี ๖ วาระ ในอารมั มณปจ จยั มี ๙ วาระในอธิปตปิ จ จัย มี ๔ วาระ ในอนันตรปจ จยั มี ๙ วาระ ในสมนนั ตรปจจัยมี ๙ วาระ ในสหชาตปจจยั มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปจจัย มี ๖ วาระในนสิ สยปจ จยั มี ๙ วาระ ในอปุ นสิ สยปจจยั มี ๙ วาระ ในปเุ รชาตปจจัยมี ๓ วาระ ในปจ ฉาชาตปจ จยั มี ๓ วาระ ในอาเสวนปจจัย มี ๙ วาระ ในกมั มปจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปจจัย มี ๔ วาระ ในอาหารปจ จยั มี ๔วาระ ในอนิ ทรยิ ปจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปจจยั มี ๔ วาระ ในมคั คปจจยัมี ๓ วาระ ในสมั ปยตุ ตปจจัย มี ๖ วาระ ในวิปปยุตตปจจัย มี ๕ วาระในอตั ถปิ จ จยั มี ๙ วาระ ในนัตถิปจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปจ จยั มี ๙วาระ ในอวิคตปจ จยั มี ๙ วาระ. พงึ นบั อยา งน้.ี อนุโลมนยั จบ ปจ จนยี นัย การยกปจจยั ในปจจนยี ะ [๙๙] ๑. สเหตกุ ธรรม เปนปจจัยแกส เหตุกธรรม ดวยอํานาจของอารมั มณปจ จัย, เปน ปจจยั ดว ยอาํ นาจของสหชาตปจจัย,เปนปจจยั ดวยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจจยั , เปนปจ จัย ดว ยอํานาจของกัมมปจ จัย.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 121 ๒. สเหตกุ ธรรม เปน ปจ จยั แกอ เหตุกธรรม ดวยอาํ นาจของอารัมมณปจ จัย, เปนปจ จัย ดวยอํานาจของสหชาตปจจัย,เปนปจ จัย ดว ยอํานาจของอุปนสิ สยปจจัย, เปน ปจ จยั ดวยอํานาจของปจฉาชาตปจ จัย, เปน ปจจัย ดวยอํานาจของกมั มปจ จัย. ๓. สเหตุกธรรม เปน ปจจัยแกสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม ดวยอาํ นาจของอารัมมณปจจยั , เปนปจจัย ดวยอํานาจของสหชาตปจจยั , เปน ปจจยั ดว ยอํานาจของอปุ นิสสยปจ จยั , เปนปจจยั ดว ยอาํ นาจของกัมมปจจัย. ๔. อเหตุกธรรม เปน ปจจัยแกอ เหตุกธรรม ดวยอาํ นาจของอารัมมณปจ จยั , เปนปจจยั ดวยอํานาจของสหชาตปจจัย,เปนปจ จัย ดว ยอํานาจของอุปนิสสยปจจยั , เปน ปจจยั ดวยอํานาจของปุเรชาตปจ จัย, เปนปจจยั ดวยอํานาจของปจฉาชาตปจ จัย, เปน ปจ จัยดวยอาํ นาจของอาหารปจจัย, เปน ปจ จยั ดวยอาํ นาจของอนิ ทรยิ ปจ จัย. ๕. อเหตกุ ธรรม เปน ปจ จัยแกส เหตกุ ธรรม ดว ยอํานาจของอารมั มณปจ จัย, เปนปจจัย ดว ยอาํ นาจของสหชาตปจ จยั ,เปนปจ จยั ดว ยอ านาจของอปุ นิสสยปจ จยั , เปนปจ จัย ดวยอํานาจของปุเรชาตปจจยั . ๖. อเหตุกธรรม เปน ปจจยั แกส เหตกุ ธรรม และอเหตุกธรรม ดวยอาํ นาจของอารมั มณปจจยั , เปน ปจจัย ดว ยอาํ นาจของสหชาตปจ จยั , เปน ปจ จัย ดวยอํานาจของอุปนสิ สยปจ จยั , เปนปจจยั ดว ยอาํ นาจของปุเรชาตปจ จัย.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 122 ๗. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เปนปจ จัยแกสเหตุกธรรม ดว ยอาํ นาจของอารมั มณปจจัย, เปนปจ จยั ดวยอํานาจของสหชาตปจจยั , เปนปจจยั ดว ยอํานาจของอุปนสิ สยปจจยั . ๘. สเหตกุ ธรรม และอเหตุกธรรม เปน ปจจัยแกอเหตกุ ธรรม ดว ยอํานาจของอารัมมณปจจยั , เปน ปจ จัย ดวยอาํ นาจของสหชาตปจ จัย เปนปจจัย ดว ยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจ จยั , เปนปจ จยั ดว ยอํานาจของปจ ฉาชาตปจ จัย. ๙. สเหตกุ ธรรม และอเหตุกธรรม เปนปจจยั แกสเหตกุ ธรรม และอเหตกุ ธรรม ดวยอํานาจของอารมั มณปจ จัย, เปนปจ จยั ดวยอํานาจของสหชาตปจจยั , เปนปจ จยั ดว ยอํานาจของอุปนิสสยปจ จัย. การนับจาํ นวนวาระในปจจนยี ะ [๑๐] ในนเหตุปจจัย มี ๙ วาระ ในปจจัยท้งั ปวง มี ๙ วาระในโนอวคิ ตปจจยั มี ๙ วาระ. พงึ นับอยางนี้. ปจจนียนัย จบ อนุโลมปจ จนยี นัย การนบั จาํ นวนวาระในอนโุ ลมปจ จนยี ะ [๑๐๑] เพราะเหตุปจ จัย ในนอารมั มณปจจยั มี ๖ วาระ... ในนอธิปติปจจยั มี ๖ วาระ ในนอนันตรปจ จยั มี ๖ วาระ ในนสมนนั ตรปจจัย

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 123มี ๖ วาระ ในนอัญญมญั ญปจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนสิ สยปจ จยั มี ๖ วาระฯลฯ ในนมัคคปจ จยั มี ๖ วาระ ในนสมั ปยุตตปจ จยั มี ๒ วาระ ในนวปิ ปยตุ ต-ปจ จัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปจ จยั มี ๖ วาระ ในโนวิคตปจ จยั มี ๖ วาระ. พงึ นับอยา งน้ี. อนุโลมปจจนยี นัย จบ ปจจนียานุโลมนัย การนับจาํ นวนวาระในปจจนียานุโลม [๑๐๒] เพราะนเหตปุ จจยั ในอารมั มณปจ จยั มี ๙ วาระ... ในอธิปติปจ จยั มี ๔ วาระ ในอนันตรปจจัย มี ๙ วาระ ในสมนนั ตรปจ จัยมี ๙ วาระ ในสหชาตปจ จยั มี ๙ วาระ ในอญั ญมญั ญปจจัย มี ๖ วาระ ในนิสสยปจ จัย มี ๙ วาระ ในอปุ นิสสยปจ จยั มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปจ จัยมี ๓ วาระ ในปจฉาชาตปจ จยั มี ๓ วาระ ในอาเสวนปจ จยั มี ๙ วาระ ในกัมมปจ จัย มี ๔ วาระ ในวปิ ากปจ จยั มี ๔ วาระ ในอาหารปจจยั มี ๔ วาระในอินทรยิ ปจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปจจยั มี ๔ วาระ ในมัคคปจ จยั มี ๓ วาระในสัมปยุตตปจ จัย มี ๖ วาระ ในวปิ ปยตุ ตปจ จยั มี ๕ วาระ ในอตั ถปิ จจยัมี ๙ วาระ ในนัตถิปจ จัย มี ๙ วาระ ในวิคตปจ จยั มี ๙ วาระ ในอวิคต-ปจจยั มี ๙ วาระ. พงึ นับอยางน้ี. ปจจนียานโุ ลมนยั จบ สเหตุกทกุ ะ จบ

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 124 ๓. เหตสุ ัมปยุตตทกุ ะ ปฏิจจวาระ อนโุ ลมนัย ๑. เหตุปจ จัย [๑๐๓] ๑. เหตสุ มั ปยุตตธรรม อาศัยเหตุสัมปยตุ ตธรรม เกิดขึน้ เพราะเหตปุ จ จยั คือ ขนั ธ ๓ อาศัยขันธ ๑ ท่เี ปนเหตุสัมปยุตตธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯในปฏสิ นธขิ ณะ ฯลฯ ๒. เหตุวปิ ปยตุ ตธรรม อาศัยเหตุสัมปยุตตธรรม เกิดขน้ึ เพราะเหตุปจ จัย คอื จิตตสมฏุ ฐานรปู อาศัยขันธท ั้งหลายท่เี ปนเหตุสมั ปยตุ ตธรรม. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ พึงใหพ ิสดาร ดวยเหตุนี้ เหมือนกับสเหตุกทกุ ะ ไมมีแตกตา งกนั . เหตสุ มั ปยุตตทกุ ะ จบ

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 125 ๔. เหตุสเหตุกทุกะ ปฏิจจวาระ อนโุ ลมนยั ๑. เหตุปจ จัย [๑๐๔] ๑. ธรรมทีเ่ ปน ทั้งเหตุธรรม และสเหตกุ ธรรม อาศยัธรรม ที่เปนท้งั เหตธุ รรม และสเหตุกธรรม เกดิ ข้นึ เพราะเหตุปจจยั คือ อโทสะ อโมหะ อาศัย อโลภะ. พงึ ผูกจกั รนยั โมหะ อาศยั โลภะ. พงึ ผกู จกั รนัย ในปฏสิ นธิขณะ อโทสะ อโมหะ อาศัย อโลภะ. พึงผกู จักรนัย ๒. ธรรมที่เปนสเหตกุ ธรรม แตไมใ ชเ หตุธรรม อาศัยธรรมทีเ่ ปน ทง้ั เหตธุ รรมและสเหตกุ ธรรม เกดิ ขึน้ เพราะเหตุปจจัย คือ สัมปยุตตขันธท ัง้ หลาย อาศยั เหตุธรรม. ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ ๓. ธรรมท่ีเปนเหตธุ รรม และสเหตุกธรรม และธรรมทีเ่ ปนสเหตกุ ธรรม แตไ มใชเหตุธรรม อาศยั ธรรมท่เี ปนท้งัเหตุธรรม และสเหตธุ รรม เกิดข้ึน เพราะเหตปุ จ จัย

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 126 คือ อโทสะ อโมหะ และสมั ปยุตตขนั ธท งั้ หลาย อาศัย อโลภะ. พงึ ผกู จักรนยั โมหะ และสัมปยตุ ตขันธท งั้ หลาย อาศยั โลภะ. พึงผูกจกั รนยั ในปฏสิ นธขิ ณะ ฯลฯ ๔. ธรรมทีเ่ ปน สเหตุกธรรมแตไมใชเ หตธุ รรม อาศัยธรรมที่เปนสเหตุกธรรมแตไ มใ ชเหตุธรรม เกดิ ขึ้น เพราะเหตุปจจยั คอื ขันธ ๓ อาศัยขันธ ๑ ทีเ่ ปนสเหตกุ ธรรมแตไมใ ชเ หตธุ รรม ขนั ธ๒ ฯลฯ ในปฏสิ นธขิ ณะ ฯลฯ. ๕. ธรรมท่เี ปนทงั้ เหตธุ รรม และสเหตกุ ธรรม อาศัยธรรมทีเ่ ปนสเหตกุ ธรรม แตไมใ ชเหตธุ รรม เกิดขน้ึ เพราะเหตุปจ จยั คือ เหตธุ รรม อาศยั ขนั ธท ง้ั หลายที่เปนสเหตกุ ธรรมแตไ มใ ชเหตุ-ธรรม. ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ ๖. ธรรมท่ีเปน ทงั้ เหตธุ รรม และสเหตุกธรรม และธรรมทีเ่ ปน สเหตุกธรรม แตไมใ ชเ หตุธรรม อาศัยธรรมท่ีเปนสเหตกุ ธรรมแตไ มใชเหตุธรรม เกิดข้ึน เพราะเหตปุ จจยั คือ ขันธ ๓ และเหตธุ รรม อาศัยขันธ ๑ ท่ีเปน สเหตุกธรรมแตไมใชเ หตธุ รรม ขันธ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธขิ ณะ ฯลฯ

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 127 ๗. ธรรมที่เปน ทัง้ เหตุธรรม และสเหตุกธรรม อาศยัธรรมท่เี ปน ทัง้ เหตธุ รรม และสเหตกุ ธรรม และธรรมทเ่ี ปนสเหตุก-ธรรมแตไ มใชเ หตธุ รรม เกดิ ขน้ึ เพราะเหตุปจจัย คือ อโทสะ อโมหะ อาศยั อโลภะ และสมั ปยุตตขันธท ง้ั หลาย. พงึ ผูกจักรนยั . โมหะ อาศัยโลภะ และสัมปยตุ ตขนั ธท ั้งหลาย. พงึ ผกู จกั รนยั . ในปฏิสนธขิ ณะ ฯลฯ ๘. ธรรมท่เี ปนสเหตกุ ธรรมแตไมใชเหตธุ รรม อาศยัธรรมที่เปนทง้ั เหตธุ รรม และสเหตุกธรรม และธรรมท่ีเปน สเหตกุ -ธรรมแตไ มใ ชเหตุธรรม เกดิ ขนึ้ เพราะเหตปุ จจยั คอื ขนั ธ ๓ อาศัยขันธ ๑ ทเี่ ปนสเหตุกธรรมแตไ มใ ชเ หตุธรรม และเหตุธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ. ๙. ธรรมทเ่ี ปนทง้ั เหตุธรรม และสเหตกุ ธรรม และธรรมทเ่ี ปนสเหตุกธรรม แตไ มใชเหตุธรรม อาศยั ธรรมทเ่ี ปนทั้งเหตธุ รรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เปนสเหตกุ ธรรมแตไ มใ ชเหตุธรรม เกดิ ข้นึ เพราะเหตุปจจัย คอื ขันธ ๓ และอโทสะ อโมหะ อาศยั ขนั ธ ๑ ท่เี ปน สเหตกุ ธรรมแตไ มใชเหตธุ รรม และอโลภะ ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ. ในปฏสิ นธขิ ณะ ฯลฯ พึงใหพิสดารอยา งทกี่ ลา วมาแลว.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 128 การนับจํานวนวาระในอนุโลม [๑๐๕] ในเหตุปจ จยั มี ๙ วาระ ในอารัมมณปจจยั มี ๙ วาระในอธิปตปิ จ จยั มี ๙ วาระ ในอนนั ตรปจ จยั มี ๙ วาระ ฯลฯ ในปจ จัยทง้ั ปวงมี ๙ วาระ ในอวิคตปจ จยั มี ๙ วาระ. พงึ นบั อยางน้ี. อนโุ ลมนัย จบ ปจ จนียนยั ๑. นอธปิ ติปจ จัย [๑๐๖] ๑. ธรรมที่เปนท้งั เหตธุ รรม และสเหตกุ ธรรม อาศยัธรรมทีเ่ ปนทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม เกิดข้นึ เพราะนอธปิ ติปจ จัย คือ อโทสะ อโมหะ อาศัยอโลภะ. พงึ ผกู จกั รนยั . ในปฏสิ นธขิ ณะ ฯลฯ พงึ กระทาํ เปน ๙ วาระ ใหบ ริบรู ณ. ๒. นปเุ รชาตปจ จัย ฯลฯ ๔. นอาเสวนปจ จัย ฯลฯ เพราะนปเุ รชาตปจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ เพราะนปจฉาชาตปจจยั มี ๙ วาระ ฯลฯ เพราะนอาเสวนปจจยั มี ๙ วาระ

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 129 ๕. นกัมมปจ จัย [๑๐๗] ๑. ธรรมท่เี ปนสเหตกุ ธรรมแตใ ชเ หตุธรรม อาศยัธรรมทเ่ี ปนทง้ั เหตุธรรม และสเหตกุ ธรรมเกิดขึ้น เพราะนกัมมปจจยั คอื สัมปยุตตเจตนา อาศยั เหตุธรรม. ๒. ธรรมที่เปน สเหตกุ ธรรมแตไ มใ ชเ หตธุ รรม อาศัยธรรมท่ีเปนสเหตกุ ธรรมแตไมใ ชเหตธุ รรม เกดิ ข้ึน เพราะนกมั ม-ปจ จยั คือ สัมปยุตตเจตนา อาศยั ขนั ธทง้ั หลายทเ่ี ปนสเหตุกธรรม แตไมใ ชเหตธุ รรม. ๓. ธรรมทเี่ ปนสเหตกุ ธรรมแตไ มใชเหตุธรรม อาศยัธรรมแตไมใชเ หตุธรรม เกิดข้นึ เพราะนกัมมปจ จยั คือ สมั ปยตุ ตเจตนา อาศยั เหตธุ รรม และสัมปยตุ ตขนั ธทัง้ หลาย. ๖. นวิปากปจ จยั ๗. นวิปปยุตตปจจยั ฯลฯ เพราะนวปิ ากปจจัย ฯลฯ เพราะนวปิ ปยตุ ตปจจัย การนบั จํานวนวาระในปจ จนยี ะ [๑๐๘] ในนอธิปตปิ จจยั มี ๙ วาระ ในนปุเรชาตปจจัย มี ๙วาระ ในนปจ ฉาชาตปจ จัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปจ จัย มี ๘ วาระ ในนกมั มปจจยั มี ๓ วาระ ในนวปิ ากปจ จัย มี ๙ วาระ ในนวปิ ปยตุ ตปจ จัยมี ๙ วาระ.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 130 พึงนบั อยา งน้ี. ปจจนียนัย จบ อนุโลมปจจนียนยั การนบั จํานวนวาระในอนโุ ลมปจ จนียนยั [๑๐๙] เพราะเหตปุ จ จยั ในนอธิปติปจ จัย มี ๙ วาระ ในน-ปุเรชาตปจ จยั มี ๙ วาระ ในนปจ ฉาชาตปจ จัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวน-ปจ จยั มี ๙ วาระ ในนกัมมปจจัย มี ๓ วาระ ในนวปิ ากปจ จยั มี ๙ วาระในนวปิ ปยตุ ตปจจัย มี ๙ วาระ. พึงนบั อยา งนี้. อนโุ ลมปจจนยี นยั จบ ปจจนยี านุโลมนยั การนับจํานวนวาระในปจ จนียานุโลม [๑๑๐] เพราะนอธปิ ติปจจัย ในเหตุปจจัย มี ๙ วาระ ในน-อารัมมณปจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปจจยั มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปจจัยมี ๙ วาระ. พงึ นับอยา งน้ี. ปจจนยี านโุ ลม จบ สหชาตวาระก็ดี นสิ สยวาระกด็ ี สงั สัฏฐวาระก็ดี สมั ปยตุ ตวาระกด็ ีเหมือนกับปฏจิ จวาระ.

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 131 ปญ หาวาระ อนุโลมนยั ๑. เหตปุ จ จยั [๑๑๑] ๑. ธรรมท่เี ปนทงั้ เหตธุ รรมและสเหตุกธรรม เปนปจ จยั แกธรรมทเี่ ปนท้ังเหตุธรรม และสเหตกุ ธรรม ดวยอํานาจของเหตุปจ จัย คือ อโลภะ เปน ปจ จยั แกอโทสะ อโมหะ ดว ยอาํ นาจของเหตุปจจยั .เหมือนกับปฏจิ จวาระ. ๒. ธรรมทีเ่ ปนทงั้ เหตธุ รรมและสเหตกุ ธรรม เปนปจจัยแกธ รรมทีเ่ ปน ทง้ั สเหตกุ ธรรมและเหตธุ รรม ดว ยอาํ นาจของเหตุปจ จยั คอื เหตธุ รรม เปน ปจจยั แกส มั ปยุตตขนั ธท ้ังหลาย ดวยอํานาจของเหตุปจจยั . ในปฏิสนธขิ ณะ ฯลฯ ๓. ธรรมท่ีเปน ทงั้ เหตธุ รรมและสเหตุกธรรม เปนปจ จยั แกธ รรมท่ีเปน ทงั้ เหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เปนสเหตุกธรรมแตไ มใ ชเหตุธรรม ดว ยอาํ นาจของเหตุปจ จัย คือ อโลภะ เปน ปจจัยแกอ โทสะ อโมหะ และสัมปยุตตขนั ธทง้ั หลาย ดว ยอาํ นาจของเหตปุ จจยั . พึงใหพ ิสดาร.

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 132 ๒. อารัมมณปจจยั [๑๑๒] ๑. ธรรมทีเ่ ปน ทัง้ เหตธุ รรมและสเหตุหกธรรม เปนปจ จัยแกธ รรมทเ่ี ปน ทัง้ เหตธุ รรม และสเหตกุ ธรรม ดว ยอํานาจของอารัมมณปจจัย คอื เพราะปรารภเหตธุ รรม เหตุธรรมทั้งหลาย ยอมเกดิ ข้นึ . ๒. ธรรมทเี่ ปน ทั้งเหตุธรรมและสเหตกุ ธรรม เปนปจ จัยแกธรรมทเ่ี ปนสเหตุกธรรมแตไมใ ชเหตุธรรม ดว ยอํานาจของอารัมมณปจจัย คือ เพราะปรารภเหตุธรรม ขันธทั้งหลายท่ีเปน สเหตุกธรรมแตไมใชเหตธุ รรม ยอ มเกิดขน้ึ ๓. ธรรมทีเ่ ปน ทง้ั เหตธุ รรมและสเหตุกธรรม เปนปจจยั แกธรรมท่ีเปนทั้งเหตธุ รรมและสเหตกุ ธรรม และธรรมทเ่ี ปนสเหตุกธรรมแตไมใชเหตธุ รรม ดวยอาํ นาจของอารมั มณปจ จัย คือ เพราะปรารภเหตุธรรม เหตธุ รรม และสัมปยุตตขันธท ั้งหลายยอมเกดิ ขน้ึ . ๔. ธรรมทเี่ ปน สเหตุธรรมแตไ มใชเหตธุ รรม เปนปจจัยแกธรรมที่เปน สเหตุกธรรมแตไมใ ชเ หตุธรรม ดวยอํานาจของอารมั มณปจจยั คือ บคุ คลใหทาน สมาทานศีล ฯลฯ อโุ บสถกรรม ฯลฯ พิจารณากุศลกรรมน้ัน.

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 133 บคุ คลพจิ ารณากศุ ลกรรมท้งั หลายท่ีเคยสั่งสมไวแลว ในกาลกอน. บคุ คลออกจากฌานแลว พจิ ารณาฌาน. พระอรยิ ะทัง้ หลายออกจากมรรคแลว พิจารณามรรค, พจิ ารณาผล,พจิ ารณากเิ ลสท่ลี ะแลว , พิจารณากิเลสท่ีขม แลว , รูซ ง่ึ กเิ ลสทั้งหลายทเ่ี คยเกดิขน้ึ แลว ในกาลกอน. พิจารณาขันธท ั้งหลายที่เปน สเหตกุ ธรรมแตไ มใชเ หตุธรรม โดยความเปน ของไมเทย่ี ง ฯลฯ โทมนัส ยอ มเกิดข้นึ . บคุ คลรูจติ ของบคุ คลผพู รอ มเพรยี งดวยจิต ที่เปน สเหตุกธรรมแตไมใชเ หตุธรรม ดว ยเจโตปริยญาณ. อากาสานัญจายตนะ เปนปจจยั แกวิญญาณัญจายตนะ, อากิญ-จัญญายตนะ เปน ปจ จัยแกเนวสัญญานาสัญญายตนะ ดว ยอาํ นาจของอารมั มณปจ จยั . ขนั ธท ั้งหลายทเ่ี ปนสเหตกุ ธรรมแตไ มใ ชเหตธุ รรม เปน ปจจัยแกอิทธิวิธญาณ แกเ จโตปรยิ ญาณ แกบพุ เพนิวาสานุสสตญิ าณ แกยถากัมมูปค-ญาณ แกอ นาคตังสญาณ ดวยอาํ นาจของอารัมมณปจ จยั . ๕. ธรรมทเี่ ปน สเหตุกธรรมแตไ มใ ชเ หตุธรรม เปนปจ จยั แกธ รรมทเ่ี ปน ท้งั เหตุธรรมและสเหตกุ ธรรม ดว ยอํานาจของอารัมมณปจจัย คอื บุคคลใหท าน ฯลฯ มีอธบิ ายเหมอื นขอความตามบาลตี อนตนไมม แี ตกตา งกัน.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 134 ๖. ธรรมที่เปน สเหตุกธรรมแตไ มใ ชเ หตธุ รรม เปนปจ จัยและธรรมทเ่ี ปน ทงั้ เหตธุ รรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เปนสเหตกุ ธรรมแตไ มใชเหตธุ รรม ดว ยอํานาจของอารัมมณปจ จัย คอื บคุ คลใหทาน ฯลฯ มอี ธิบายเหมอื นกับขอความตามบาลตี อนตนไมมแี ตกตางกัน. ๗. ธรรมที่เปนทัง้ เหตธุ รรมและสเหตกุ ธรรม และธรรมทีเ่ ปน สเหตกุ ธรรมแตไ มใชเหตธุ รรม เปน ปจ จยั แกธรรมท่ีเปนทงั้ เหตุธรรมและสเหตกุ ธรรม ดวยอํานาจของอารมั มณปจจยั คือ เพราะปรารภเหตุธรรม และสัมปยุตตขันธท้งั หลาย เหตุธรรมทัง้ หลาย ยอ มเกดิ ข้ึน. ๘. ธรรมทีเ่ ปน ทัง้ เหตุธรรมและสเหตุกธรรม, ธรรมท่เี ปน สเหตกุ ธรรม และธรรมที่เปนสเหตุกธรรมแตไมใ ชเหตธุ รรมเปน ปจจยั แกธรรมทีเ่ ปนสเหตกุ ธรรมแตไ มใชเหตุธรรม ดว ยอาํ นาจของอารัมมณปจ จยั คอื เพราะปรารภเหตุธรรม และสัมปยตุ ตขันธท ัง้ หลาย ขนั ธท งั้ หลายทีเ่ ปน สเหตกุ ธรรมแตไมใชเหตธุ รรม ยอ มเกิดข้ึน. ๙. ธรรมท่ีเปน ท้งั เหตธุ รรมและสเหตกุ ธรรม และธรรมที่เปน สเหตุกธรรมแตไมใ ชเหตธุ รรม เปนปจ จยั แกธรรมทเี่ ปนท้งั เหตุธรรมและสเหตกุ ธรรม และธรรมท่เี ปนสเหตุกธรรมแตไ มใชเหตธุ รรม ดว ยอาํ นาจของอารมั มณปจ จยั

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 135 คอื เพราะปรารภเหตธุ รรม และสมั ปยุตตขนั ธท้ังหลาย เหตุธรรมและสมั ปยตุ ตขนั ธทงั้ หลาย ยอ มเกิดข้นึ . ๓. อธิปติปจ จัย [๑๑๓] ๑. ธรรมที่เปนทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เปนปจจยั แกธรรมท่ีเปนทง้ั เหตุธรรม และสเหตุกธรรม ดวยอํานาจของอธิปตปิ จจยั มี ๒ อยาง คอื ท่ีเปน อารัมมณาธปิ ติ และ สหชาตาธปิ ติ ท่ีเปน อารัมมณาธปิ ติ ไดแ ก เพราะกระทําเหตุธรรมทัง้ หลายใหเปน อารมณอยางหนักแนน เหต-ุธรรมทัง้ หลาย ยอมเกดิ ข้นึ . ท่เี ปน สหชาตาธิปติ ไดแก อธิปติธรรมท่ีเปนทงั้ เหตธุ รรมและสเหตกุ ธรรม เปนปจ จยั แกส มั -ปยตุ ตเหตทุ ง้ั หลาย ดวยอํานาจของอธปิ ติปจจัย. ๒. ธรรมทีเ่ ปน ทั้งเหตุธรรมและสเหตกุ ธรรม เปนปจ จยั และธรรมทเี่ ปนสเหตุกธรรมแตไมใชเ หตธุ รรม ดว ยอํานาจของอธปิ ติปจ จยั มี ๒ อยาง คอื ทเ่ี ปน อารัมมณาธปิ ติ และ สหชาตาธปิ ติ ทีเ่ ปน อารัมมณาธปิ ติ ไดแก

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 136 เพราะกระทําเหคุธรรมใหเปนอารมณอ ยา งหนักแนน ขนั ธท้งั หลายทเ่ี ปนสเหตกุ ธรรมแตไมใชเหตธุ รรม ยอมเกดิ ขึน้ . ท่ีเปน สหชาตาธิปติ ไดแ ก อธิปตธิ รรมทเี่ ปนท้ังเหตุธรรม และสเหตุกธรรม เปนปจจัยแกสมั ปยุตตขนั ธท ง้ั หลาย ดว ยอํานาจของอธิปติปจจัย. ๓. ธรรมทเี่ ปน ท้ังเหตุธรรมและสเหตกุ ธรรม เปนปจ จยั แกธ รรมท่เี ปนทง้ั เหตธุ รรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เปนสเหตุกธรรม แตไมใ ชเหตธุ รรม ดว ยอาํ นาจของอธิปติปจ จัย มี ๒ อยา ง คอื ท่เี ปน อารมั มณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ทเ่ี ปน อารมั มณาธปิ ติ ไดแก เพราะกระทําเหตธุ รรมท้ังหลายใหเ ปน อารมณอ ยา งหนักแนน เหตุ-ธรรมท้ังหลาย และสัมปยุตตขันธท ้ังหลาย ยอ มเกดิ ข้นึ . ทเ่ี ปน สหชาตาธิปติ ไดแ ก อธปิ ติธรรมท่เี ปนทง้ั เหตธุ รรมและสเหตุกธรรม เปนปจ จยั แกสัมปยุตตขันธทั้งหลาย และเหตุธรรมทง้ั หลาย ดวยอํานาจของอธปิ ติปจ จยั . ๔. ธรรมทเ่ี ปน สเหตุกธรรมแตไ มใชเ หตธุ รรม เปนปจจยั แกธ รรมท่เี ปนสเหตุกธรรมแตไ มใชเหตุธรรม ดวยอํานาจของอธิปติปจจยั มี ๒ อยาง คือท่เี ปน อารมั มณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ทีเ่ ปน อารมั มณาธิปติ ไดแก

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 137 บคุ คลใหท าน สมาทานศลี ฯลฯ กระทาํ อโุ บสถกรรมแลว กระทาํกศุ ลกรรมนัน้ ใหเปน อารมณอยางหนักแนน แลว พิจารณา. บุคคลพจิ ารณากศุ ลกรรมทั้งหลายที่เคยส่ังสมไวในกาลกอ น ฯลฯ ออกจากฌานแลว กระทําฌานใหเปนอารมณอยางหนักแนน แลวพจิ ารณา. พระอรยิ ะทั้งหลายออกจากมรรค กระทาํ มรรคใหเปนอารมณอยา งหนักแนน แลวพจิ ารณา ฯลฯ กระทาํ ผลใหเ ปนอารมณอยา งหนักแนน แลวพิจารณา. บุคคลยอ มยนิ ดี ยอมเพลดิ เพลินยิ่ง เพราะกระทําขนั ธท้ังหลายที่เปนสเหตกุ ธรรมแตไมใ ชเหตธุ รรม ใหเ ปน อารมณอยางหนักแนน ครั้นกระทําขนั ธเ หลานนั้ ใหเ ปน อารมณอ ยา งหนักแนน แลว ราคะ ยอมเกดิ ขึ้น ทิฏฐิยอ มเกิดขน้ึ . ท่เี ปน สหชาตาธปิ ติ ไดแก อธิปติธรรมท่เี ปนสเหตกุ ธรรมแตไมใ ชเ หตธุ รรม เปน ปจจัยแกสัมปยุตตขนั ธทั้งหลาย ดว ยอํานาจของอธิปติปจจยั . ๕. ธรรมทีเ่ ปน สเหตุกธรรมแตไ มใ ชเหตธุ รรม เปนปจ จยั แกธ รรมที่เปน ทง้ั เหตธุ รรมและสเหตกุ ธรรม ดวยอํานาจของอธิปติปจ จยั มี ๒ อยา ง คอื ท่เี ปน อารมั มณาธิปติ และ สหชาตาธปิ ติ ท่เี ปน อารัมมณาธิปติ ไดแ ก บคุ คลใหทาน ฯลฯ มอี ธบิ ายเหมือนขอ ความตามบาลตี อนตนน่ันเอง. ท่ีเปน สหชาตาธปิ ติ ไดแ ก

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 138 อธิปตธิ รรมทีเ่ ปนสเหตุกธรรมแตไมใ ชเหตุธรรม เปนปจจัยแกสมั ปยุตตเหตุทงั้ หลาย ดวยอาํ นาจของอธิปติปจจยั . ท่ีเปน สหชาตาธิปติ ไดแก อธิปติธรรมที่เปน สเหตกุ ธรรมแตไมใชเหตุธรรม เปน ปจ จัยแกสมั ปยตุ ตเหตุท้ังหลาย ดวยอํานาจของอธิปติปจ จยั . ๖. ธรรมทีเ่ ปนสเหตกุ ธรรมแตไมใ ชเหตธุ รรม เปนปจจยั แกธ รรมทเี่ ปนทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมทเี่ ปนสเหตุกธรรมแตไมใ ชเ หตธุ รรม ดว ยอาํ นาจของอธิปตปิ จ จยั มี ๒ อยา ง คอื ทเ่ี ปน อารมั มณาธปิ ติ และ สหชาตาธิปติ ท่ีเปน อารมั มณาธิปติ ไดแ ก บคุ คลใหท าน ฯลฯ มอี ธิบายเหมือนขอ ความตามบาลตี อนตนนน่ั เอง. ท่เี ปน สหชาตาธิปติ ไดแก อธิปตธิ รรมที่เปนสเหตุกธรรมแตไมใ ชเ หตธุ รรม เปน ปจ จยั แกสมั ปยุตตขันธท ้ังหลาย และเหตธุ รรมทงั้ หลาย ดวยอาํ นาจของอธปิ ติปจ จยั . ๗. ธรรมทเ่ี ปน ท้ังเหตุธรรมและสเหตกุ ธรรม และธรรมที่เปนสเหตุกธรรมแตไมใ ชเ หตุธรรม เปน ปจจยั แกธรรมท่ีเปนทง้ั เหตธุ รรมและสเหตุกธรรม ดวยอาํ นาจของอธิปติปจจัย มอี ยางเดียว คอื ที่เปน อารัมมณาธปิ ติ ไดแ ก เพราะกระทําเหตธุ รรมและสัมปยุตตขนั ธทง้ั หลายใหเปน อารมณอ ยางหนกั แนน เหตุธรรมท้ังหลาย ยอมเกดิ ข้ึน.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 139 ๘. ธรรมที่เปน ท้งั เหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมทีเ่ ปน สเหตกุ ธรรมแตไ มใชเหตุธรรม เปนปจ จยั แกธ รรมทเ่ี ปนสเหตุกธรรมแตไ มใ ชเ หตธุ รรม ดวยอาํ นาจของอธิปติปจ จัย มอี ยางเดียว คือที่เปน อารมั มณาธปิ ติ ไดแก เพราะกระทาํ เหตธุ รรมและสมั ปยตุ ตขันธทัง้ หลายใหเ ปน อารมณอ ยางหนกั แนน ขันธท ั้งหลายทเ่ี ปน สเหตุกธรรมแตไ มใชเหตุธรรม ยอมเกดิ ขน้ึ . ๙. ธรรมที่เปน ทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมทเ่ี ปน สเหตุกธรรมแตไ มใ ชเหตุธรรม เปนปจ จัยแกธ รรมทเี่ ปนทงั้ เหตธุ รรมและสเหตกุ ธรรม และธรรมทีเ่ ปนสเหตุกธรรมแตไ มใชเหตุธรรม ดว ยอํานาจของอธปิ ตปิ จ จยั มอี ยา งเดยี ว คือทเ่ี ปน อารัมมณาธิปติ ไดแก เพราะกระทําเหตุธรรมและสัมปยุตตขันธทั้งหลายใหเปน อารมณอยา งหนกั แนน เหตธุ รรมทั้งหลาย และสมั ปยุตตขนั ธทง้ั หลาย ยอมเกิดข้ึน. ๔. อนันตรปจ จัย ๕. สมนนั ตรปจ จัย [๑๑๔] ๑. ธรรมทีเ่ ปนทงั้ เหตุธรรมและสเหตุกธรรม เปนปจ จยั แกธรรมทเ่ี ปนท้งั เหตธุ รรมและสเหตกุ ธรรม ดวยอาํ นาจของอนันตรปจ จยั คอื เหตธุ รรมทงั้ หลาย ที่เกดิ กอน ๆ เปนปจจยั แกเ หตุธรรมท้ังหลายทีเ่ กดิ หลัง ๆ ดว ยอํานาจของอนันตรปจ จัย.

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 140 ๒. ธรรมท่ีเปนทง้ั เหตุธรรมและสเหตกุ ธรรม เปนปจจัยแกธ รรมท่เี ปน สเหตกุ ธรรมแตไ มใ ชเ หตธุ รรม ดวยอาํ นาจของอนันตรปจจยั คือ เหตุธรรมท้ังหลาย ท่ีเกดิ กอ น ๆ เปน ปจจัยแกขันธทัง้ หลายทเ่ี ปนสเหตุกธรรมแตไมใชเ หตธุ รรม ท่ีเกิดหลัง ๆ ดว ยอํานาจของอนนั ตร-ปจ จัย. ๓. ธรรมท่เี ปนทัง้ เหตุธรรมและสเหตุกธรรม เปนปจจัยแกธ รรมท่เี ปนทั้งเหตุธรรมและสเหตกุ ธรรม และธรรมที่เปนสเหตุกธรรมแตไมใ ชเ หตุธรรม ดวยอาํ นาจของอนันตรปจ จยั คือ เหตธุ รรมทง้ั หลาย ทีเ่ กิดกอน ๆ เปนปจจัยแกเ หตุธรรมท้งั หลายทเ่ี กิดหลงั ๆ และสัมปยุตตขันธทั้งหลาย ดวยอํานาจของอนันตรปจ จยั . ๔. ธรรมทเี่ ปน สเหตกุ ธรรมแตไมใ ชเหตธุ รรม เปนปจจัยแกธรรมท่เี ปนสเหตุกธรรมแตไมใชเหตุธรรม ดวยอาํ นาจของอนนั ตรปจ จัย คือ ขนั ธท้ังหลายทีเ่ ปนสเหตกุ ธรรมแตไมใ ชเ หตธุ รรม ที่เกดิ กอ น ๆเปน ปจจยั แกขันธทั้งหลายทเี่ ปน สเหตุกธรรมแตไมใ ชเ หตุธรรม ท่ีเกดิ หลงั ๆดว ยอํานาจของอนนั ตรปจ จัย. อนุโลม เปนปจ จยั แกโคตรภู, อนุโลม เปน ปจ จัยแกโ วทาน ฯลฯเนวสัญญานาสญั ญายตนะ ของบคุ คลผอู อกจากนโิ รธเปนปจจยั แกผ ลสมาบตั ิดวยอํานาจของอนันตรปจ จยั .

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 141 ๕. ธรรมทเี่ ปน สเหตุกธรรมแตไ มใชเ หตุธรรม เปนปจ จัยแกธ รรมทเี่ ปน ทั้งเหตุธรรมและสเหตกุ ธรรม ดว ยอํานาจของอนนั ตรปจ จัย คอื ขันธท ั้งหลายท่เี ปนสเหตกุ ธรรมแตไมใชเ หตุธรรม ท่เี กดิ กอน ๆเปน ปจ จยั แกเ หตธุ รรมทั้งหลาย ทเี่ กดิ หลงั ๆ ดว ยอาํ นาจของอนันตรปจ จยั . อนโุ ลมเปน ปจ จัยแกโ คตรภู ฯลฯ ๖. ธรรมท่ีเปน สเหตกุ ธรรมแตไมใ ชเหตธุ รรม เปนปจจัยแกธรรมทเี่ ปน ทั้งเหตุธรรมและสเหตกุ ธรรม และธรรมทเ่ี ปนสเหตุกธรรมแตไมใ ชเหตธุ รรม ดวยอํานาจของอนันตรปจ จยั คอื ขันธท ั้งหลายที่เปน สเหตกุ ธรรมแตไ มใ ชเหตธุ รรม ทเี่ กดิ กอน ๆเปน ปจ จัยแกเหตุธรรมทั้งหลาย ทเี่ กดิ หลงั ๆ และสมั ปยตุ ตขนั ธทั้งหลายดว ยอํานาจของอนันตรปจจัย. อนโุ ลม เปนปจจัยแกโ คตรภู. สเหตกุ นเหตุมลู กนยั แมทง้ั ๓ ก็เปน เชน เดยี วกัน. ๗. ธรรมทเ่ี ปน ท้งั เหตุธรรมเละสเหตุกธรรม และธรรมทเ่ี ปนสเหตกุ ธรรมแตไมใ ชเ หตธุ รรม เปน ปจ จัยแกธ รรมท่ีเปน ทงั้ เหตุธรรมและสเหตุกธรรม ดว ยอาํ นาจของอนันตรปจ จยั คือ เหตุธรรมท้ังหลายทเ่ี กิดกอน ๆ และสัมปยตุ ตขันธท ัง้ หลาย เปนปจ จัยแกเหตุธรรมทง้ั หลาย ที่เกดิ หลัง ๆ ดว ยอํานาจของอนันตรปจจยั .

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 142 ๘. ธรรมทเี่ ปน ทั้งเหตธุ รรมและสเหตุกธรรม และธรรมท่ีเปนสเหตุกธรรมแตไ มใชเ หตธุ รรม เปน ปจ จยั แกธ รรมท่ีเปนสเหตุกธรรมแตไมใ ชเ หตธุ รรม ดวยอาํ นาจของอนันตรปจ จยั คือ เหตุธรรมท้งั หลายทีเ่ กดิ กอ น ๆ และสัมปยตุ ตขันธท ั้งหลาย เปนปจ จยั แกขันธท ้ังหลายที่เปนสเหตุกธรรมแตไ มใชเหตุธรรม ท่เี กิดหลัง ๆ ดวยอํานาจของอนันตรปจ จัย. ๙. ธรรมที่เปนท้งั เหตธุ รรมและสเหตกุ ธรรม และธรรมท่ีเปนสเหตุกธรรมแตไ มใชเ หตธุ รรม เปน ปจ จยั แกธ รรมท่เี ปนทั้งเหตธุ รรมและสเหตกุ ธรรม และธรรมที่เปน สเหตกุ ธรรมแตไมใ ชเหตธุ รรม ดวยอาํ นาจของอนันตรปจจัย คือ เหตุธรรมทง้ั หลายทเี่ กิดกอน ๆ และสัมปยุตตขันธท งั้ หลาย เปนปจจยั แกเหตธุ รรมทัง้ หลายทเ่ี กิดหลงั ๆ และสัมปยุตตขนั ธท ัง้ หลาย ดวยอาํ นาจของอนนั ตรปจจัย. สมนันตรปจ จยั เหมือน อนันตรปจจยั . ๖. สหชาตปจ จัย ฯลฯ ๘. นิสสยปจ จยั [๑๑๕] ธรรมท่ีเปน ท้งั เหตธุ รรมและสเหตุกธรรม เปน ปจ จัยแกธรรมท่ีเปนทัง้ เหตธุ รรมและสเหตุกธรรม ดว ยอาํ นาจของสหชาต-ปจจัย

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 143 ฯลฯ เปนปจ จยั ดวยอํานาจของอัญญมัญญปจจัย ฯลฯ เปนปจจยั ดวยอํานาจของนสิ สยปจ จัย ท้งั ๓ ปจจัย เหมอื นกบั เหตปุ จจยั ในปฏิจจวาระ. ๙. อุปนิสสยปจจยั [๑๑๖] ๑. ธรรมท่เี ปนท้งั เหตธุ รรมและสเหตกุ ธรรม เปนปจจยั แกธ รรมทีเ่ ปนทง้ั เหตุธรรมและสเหตกุ ธรรม ดว ยอาํ นาจของอุปนิสสยปจ จยั มี ๓ อยา ง คอื ที่เปน อารมั มณูปนิสสยะ อนันตรูปนสิ สยะ และปกตูปนสิ สยะ ทีเ่ ปน ปกตูปนสิ สยะ ไดแก เหตุธรรมทง้ั หลาย เปน ปจ จยั แกเหตุธรรมทง้ั หลาย ดว ยอาํ นาจของอปุ นิสสยปจ จยั . เหตุธรรมทัง้ หลาย เปน ปจจยั แกขันธท ้งั หลายทเ่ี ปนสเหตกุ ธรรมแตไมใ ชเ หตธุ รรม ดว ยอํานาจของอปุ นิสสยปจ จยั . เหตธุ รรมท้ังหลาย เปน ปจ จยั แกเ หตุธรรมทง้ั หลายและสัมปยตุ ตขนั ธท้งั หลาย ดวยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจจยั . พงึ ถามถึงมลู ทั้งหลาย แหงหวั ขอ ปจ จยั ทัง้ หลาย แมทั้ง ๒ เหลา น.้ี ๒. ธรรมท่ีเปนสเหตกุ ธรรมแตไ มใ ชเ หตุธรรม เปนปจจยั แกธ รรมที่เปนสเหตุกธรรมแตไมใชเ หตธุ รรม ดวยอํานาจของอุปนิสสยปจจัย

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 144 มี ๓ อยาง คอื ที่เปน อารมั มณปู นิสสยะ อนนั ตรูปนสิ สยะ และปกตปู นิสสยะ ทเี่ ปน ปกตูปนสิ สยะ ไดแ ก บุคคลเขาไปอาศยั ศรทั ธาแลว ใหทาน ฯลฯ ยงั สมาบตั ใิ หเ กิดขนึ้ กอมานะ ถือทฏิ ฐิ. บุคคลเขา ไปอาศัยศลี ฯลฯ ความปรารถนา แลว ใหทาน ฯลฯ ทาํ ลายสงฆ. ศรทั ธา ฯลฯ ความปรารถนา เปนปจ จัยแกศรัทธา ฯลฯ แกค วามปรารถนา แกมรรค แกผลสมาบัติ ดวยอํานาจของอปุ นสิ สยปจ จัย. ในสเหตมุ ลู กนัย พึงใหพ ิสดารโดยเหตุนี้ ทีเ่ หลือนอกนั้น มี ๒ วาระ. ๓. ธรรมที่เปนทัง้ เหตธุ รรมและสเหตกุ ธรรม และธรรมทเ่ี ปน สเหตกุ ธรรมแตไ มใ ชเ หตธุ รรม เปน ปจจยั แกธ รรมท่ีเปนทั้งเหตุธรรมและสเหตกุ ธรรม ดวยอาํ นาจของอุปนสิ สยปจ จัย มี ๓ อยาง คือที่เปน อารมั มณปู นิสสยะ อนนั ตรูปนสิ สยะ และปกตูปนิสสยะ ท่ีเปน ปกตูปนิสสยะ ไดแก เหตุธรรมทง้ั หลาย และสมั ปยุตตขันธท้งั หลาย เปนปจ จยั แกเ หตุธรรมทั้งหลาย ดวยอาํ นาจของอุปนสิ สยปจ จัย. พึงถามถงึ มูล ๒.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 145 เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขนั ธท งั้ หลาย เปนปจจัยแกขันธท้ังหลายท่เี ปนสเหตุกธรรมแตไมใชเหตุธรรม ดว ยอํานาจของอปุ นิสสยปจ จัย. พึงถามถึงมลู . เหตธุ รรมทั้งหลาย และสมั ปยุตตขนั ธทง้ั หลาย เปน ปจจัยแกเหตุธรรมท้ังหลาย และสมั ปยุตตขันธท ง้ั หลาย ดว ยอาํ นาจของอุปนสิ สยปจ จยั . ๑๐. อาเสวนปจจยั [๑๑๗] ๑. ธรรมท่ีเปนทง้ั เหตธุ รรมและสเหตุกธรรม เปนปจจยั แกธ รรมท่เี ปนท้ังเหตุธรรมและสเหตุกธรรม ดว ยอาํ นาจของอาเสวนปจจัย (เหมือนอนนั ตรปจ จัย) ๑๑. กัมมปจ จัย [๑๑๘] ๑. ธรรมทเี่ ปนสเหตกุ ธรรมแตไมใ ชเหตธุ รรม เปนปจ จยั แกธรรมที่เปน สเหตุกธรรมแตไ มใ ชเ หตธุ รรม ดวยอํานาจของกัมมปจจัย มี ๒ อยา ง คอื ที่เปน สหชาตะ และ นานาขณิกะ ท่เี ปน สหชาตะ ไดแก เจตนาทีเ่ ปนสเหตุกธรรมแตไ มใชเ หตุธรรม เปนปจจัยแกส ัมปยุตต-ขันธทงั้ หลาย ดวยอํานาจของกมั มปจจยั .

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 146 ทเี่ ปน นานาขณกิ ะ ไดแก เจตนาท่เี ปนสเหตกุ ธรรมแตไมใ ชเหตธุ รรม เปน ปจ จยั แกข ันธทงั้ หลายทเ่ี ปน สเหตกุ ธรรมแตไมใชเหตุธรรม ซงึ่ เปนวิบาก ดว ยอํานาจของกัมมปจจยั . ๒. ธรรมท่เี ปนสเหตกุ ธรรมแตไมใชเหตุธรรม เปนปจจัยและธรรมท่ีเปนทงั้ เหตธุ รรมและสเหตุกธรรม ดว ยอาํ นาจของกมั มปจ จยั มี ๒ อยา ง คือที่เปน สหชาตะ และ นานาขณกิ ะ ที่เปน สหชาตะ ไดแ ก เจตนาทเี่ ปน สเหตกุ ธรรมแตไมใ ชเหตุธรรม เปนปจ จัยแกส ัมปยุตต-เหตทุ ัง้ หลาย ดว ยอาํ นาจของกัมมปจจยั . ทีเ่ ปน นานาขณกิ ะ ไดแก เจตนาท่เี ปนสเหตุกธรรมแตไมใ ชเ หตธุ รรม เปนปจจัยแกเหตุทั้งหลายทเี่ ปน สเหตุกธรรมแตไมใ ชเ หตธุ รรม ซ่ึงเปนวบิ าก ดว ยอาํ นาจของกมั มปจจยั . ๓. ธรรมที่เปนสเหตุกธรรมแตไมใชเหตธุ รรม เปนปจจยั แกธรรมทเ่ี ปน เหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมท่เี ปนสเหตุกธรรมแตไมใชเ หตธุ รรม ดวยอํานาจของกมั มปจ จยั มี ๒ อยา ง คือที่เปน สหชาตะ และ นานาขณกิ ะ ท่เี ปน สหชาตะ ไดแ ก

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 147 เจตนาทเี่ ปน สเหตกุ ธรรมแตไมใ ชเ หตุธรรม เปนปจจยั แกสมั ปยตุ ต-ขนั ธท ั้งหลาย และเหตุธรรมทั้งหลาย ดวยอํานาจของกัมมปจจยั . ท่เี ปน นานาขณิกะ ไดแก เจตนาทเ่ี ปน สเหตุกธรรมแตไ มใ ชเ หตุธรรม เปน ปจจัยแกวบิ ากขันธทงั้ หลาย และเหตธุ รรมทั้งหลาย ดว ยอํานาจของกัมมปจ จัย. ๑๒. วิปากปจ จยั [๑๑๙] ๑. ธรรมท่ีเปนทัง้ เหตธุ รรมและสเหตกุ ธรรม เปนปจ จัยแกธ รรมที่เปนท้งั เหตธุ รรมและสเหตกุ ธรรม ดว ยอาํ นาจของวิปากปจ จยั คือ อโลภะที่เปนวบิ าก เปนปจ จยั แกอ โทสะ อโมหะ ดว ยอาํ นาจของ วิปากปจ จัย. ในปฏสิ นธิขณะ อโลภะ ฯลฯ พงึ ใหพิสดาร เหมือนกับเหตุปจจยั พึงกําหนดวา วิบากทัง้ ๙ วาระ. ๑๓. อาหารปจ จยั [๑๒๐] ๑. ธรรมที่เปน สเหตกุ ธรรมแตไ มใชเ หตุธรรม เปนปจ จยั แกธรรมทเ่ี ปน สเหตุกธรรมแตไมใ ชเหตุธรรม ดว ยอํานาจของอาหารปจจัย

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 148 ๔. อินทรยิ ปจจยั [๑๒๑] ๑. ธรรมท่ีเปนท้งั เหตุธรรมและสเหตุกธรรม เปนปจ จัยแกธรรมทเ่ี ปนท้ังเหตุธรรมและสเหตกุ ธรรม ดว ยอาํ นาจของอินทริยปจจยั พึงกําหนดวา อนิ ทรีย. พงึ กระทาํ ๙ วาระใหบริบรู ณ. ๑๕. ฌานปจ จยั [๑๒๒] ๑. ธรรมทเี่ ปนสเหตุกธรรมแตไ มใชเ หตุธรรม เปนปจ จัยแกธ รรมท่ีเปนสเหตกุ ธรรมแตไมใ ชเ หตุธรรม ดว ยอํานาจของฌานปจจยั มี ๓ วาระ. ๑๖. มัคคปจ จัย ฯลฯ ๒๑. อวิคตปจจัย [๑๒๓] ๑. ธรรมทเ่ี ปน ท้งั เหตุธรรมและสเหตุกธรรม เปนปจ จยั แกธรรมท่ีเปน ท้งั เหตธุ รรมและสเหตุกธรรม ดว ยอาํ นาจของมัคคปจ จัย, เปนปจ จยั ดว ยอํานาจของสัมปยตุ ตปจจยั , เปนปจจยั ดว ยอาํ นาจของอัตถปิ จ จยั , เปน ปจจัย ดวยอาํ นาจของนตั ถิปจ จัย, เปน ปจจยัดวยอํานาจของวคิ ตปจ จัย, เปน ปจ จัย ดวยอํานาจของอวิคตปจ จัย. การนับจาํ นวนวาระในอนุโลม [๑๒๔] ในเหตปุ จจัย มี ๓ วาระ ในอารมั มณปจจยั มี ๙ วาระในอธปิ ตปิ จ จยั มี ๙ วาระ ในอนันตรปจจยั มี ๙ วาระ ในสมนนั ตรปจ จัย

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 149มี ๙ วาระ ในสหชาตปจจยั มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปจจัย มี ๙ วาระในนสิ สยปจ จยั มี ๙ วาระ ในอปุ นสิ สยปจ จยั มี ๙ วาระ ในอาเสวนปจ จยัมี ๙ วาระ ในกมั มปจ จยั มี ๓ วาระ ในวปิ ากปจจยั มี ๙ วาระ ในอาหาร-ปจจัย มี ๓ วาระ ในอินทรยิ ปจจยั มี ๙ วาระ ในฌานปจ จัย มี ๓ วาระในมคั คปจ จยั มี ๙ วาระ ในสมั ปยุตตปจจยั มี ๙ วาระ ในอัตถิปจจัย มี๙ วาระ ในนัตถปิ จจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปจจัย มี ๙ วาระ ในอวคิ ตปจ จยัมี ๙ วาระ. พึงนบั อยางน.ี้ อนโุ ลมนัย จบ ปจ จนียนีย การยกปจ จัยในปจ จนยี ะ [๑๒๕] ๑. ธรรมที่เปนทัง้ เหตธุ รรมและสเหตุกธรรม เปนปจจยั แกธรรมท่เี ปน ทง้ั เหตธุ รรมและสเหตุกธรรม ดว ยอาํ นาจของอารัมมณปจ จยั , เปนปจ จัย ดวยอํานาจของสหชาตปจจยั , เปน ปจ จยัดวยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจ จยั . ๒. ธรรมที่เปน ทง้ั เหตุธรรมและสเหตุกธรรม เปนปจจัยแกธ รรมทเี่ ปน สเหตกุ ธรรมแตไมใ ชเ หตุธรรม ดว ยอาํ นาจของอารัมมณปจ จัย, เปน ปจจัย ดว ยอาํ นาจของสหชาตปจจยั , เปน ปจจัยดว ยอํานาจของอุปนิสสยปจ จยั .

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 150 ๓. ธรรมท่ีเปน ทง้ั เหตุธรรมและสเหตุกธรรม เปนปจจยั แกธรรมทเ่ี ปนท้งั เหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมทเี่ ปนสเหตุกธรรมแตไ มใ ชเ หตุธรรม ดวยอํานาจของอารมั มณปจจยั , เปนปจจัย ดว ยอํานาจของสหชาตปจ จยั , เปนปจ จัย ดวยอาํ นาจของอุปนิสสยปจจัย. ๔. ธรรมที่เปน สเหตุธรรมแตไ มใ ชเ หตธุ รรม เปนปจ จยั แกธ รรมที่เปนสเหตุกธรรมแตไมใ ชเหตุธรรม ดวยอํานาจของอารมั มณปจ จัย, เปนปจจยั ดว ยอํานาจของสหชาตปจ จัย, เปน ตนดวยอาํ นาจของอุปนสิ สยปจ จัย, เปนปจ จยั ดว ยอาํ นาจของกมั มปจ จัย. ๕. ธรรมทีเ่ ปนสเหตุกธรรมแตไมใ ชเหตธุ รรม เปนปจ จยั แกธรรมท่ที ง้ั เหตุธรรมและสเหตกุ ธรรม ดว ยอาํ นาจของอารัมมณปจ จัย, เปน ปจจัย ดวยอํานาจของสหชาตปจ จยั , เปนปจจัยดวยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจจัย, เปน ปจ จยั ดว ยอํานาจของกมั มปจจยั . ๖. ธรรมทีเ่ ปนสเหตุกธรรมแตไ มใชเ หตุธรรม เปนปจจยั แกธรรมท่ีเปน ทง้ั เหตุธรรมและสเหตกุ ธรรม และธรรมที่เปนสเหตกุ ธรรมแตไมใ ชเ หตุธรรม ดวยอํานาจของอารมั มณปจจยั , เปนปจจยั ดว ยอาํ นาจของสหชาตปจ จยั , เปนปจจยั ดว ยอํานาจของอปุ นสิ สยปจจัย, เปนปจ จยั ดวยอาํ นาจของกมั มปจ จัย. ๗. ธรรมทีเ่ ปนทัง้ เหตธุ รรมและสเหตุกธรรม และธรรมทเ่ี ปนสเหตุกธรรม แตไ มใชเหตธุ รรม เปน ปจจยั แกธรรมท่ีเปน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook