Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_88

tripitaka_88

Published by sadudees, 2017-01-10 01:17:04

Description: tripitaka_88

Search

Read the Text Version

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 351 ปญ หาวาระ อนุโลมนยั ๑. เหตุปจจยั [๓๔๓] ๑. อาสวธรรม เปน ปจ จยั แกอ าสวธรรม ดว ยอาํ นาจของเหตปุ จ จัย คือ กามาสวะ เปนปจ จยั แกทิฐาสวะ อวชิ ชาสวะ ดว ยอาํ นาจของเหตุปจจยั . ภวาสวะ เปนปจจยั แก อวิชชาสวะ ดว ยอํานาจของเหตปุ จ จยั . พงึ ผูกจกั รนยั . ๒. อาสวธรรม เปน ปจจัยแกธรรมทีไ่ มใ ชอาสวธรรมดวยอาํ นาจของเหตปุ จจยั คอื เหตุท้งั หลายท่ีเปน อาสวธรรม เปนปจ จยั แกส มั ปยุตตขนั ธ และจติ ตสมฏุ ฐานรปู ทัง้ หลาย ดวยอาํ นาจของเหตุปจ จยั . ๓. อาสวธรรม เปนปจ จยั แกอ าสวธรรม และธรรมที่ไมใ ชอ าสวธรรม ดว ยอาํ นาจของเหตปุ จ จยั คือ กามาสวะ เปน ปจ จยั แกทิฏฐาสวะ อวชิ ชาสวะ สมั ปยตุ ตขนั ธและจิตตสมุฏฐานรปู ท้ังหลาย ดวยอาํ นาจของเหตุปจ จยั . ๔. ธรรมท่ไี มใชอ าสวธรรม เปน ปจจยั แกธรรมท่ีไมใชอ าสวธรรม ดว ยอ านาจของเหตปุ จจัย

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 352 คือ เหตทุ งั้ หลายทีไ่ มใชอาสวธรรม เปน ปจจยั แกสัมปยตุ ตขันธ และจิตตสมฏุ ฐานรปู ทั้งหลาย ดว ยอํานาจของเหตุปจจัย. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ๕. ธรรมท่ไี มใชอาสวธรรม เปนปจ จัยแกอ าสวธรรมดว ยอาํ นาจของเหตปุ จจัย คอื เหตุทัง้ หลายทไ่ี มใ ชอ าสวธรรม เปน ปจ จยั แกอาสวธรรมที่เปนสัมปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของเหตุปจ จัย. ๖. ธรรมท่ไี มใ ชอ าสวธรรม เปน ปจ จัยแกอ าสวธรรมและธรรมทไี่ มใชอ าสวธรรม ดวยอ านาจของเหตปุ จ จัย คอื เหตทุ ง้ั หลายที่ไมใ ชอ าสวธรรม เปน ปจ จัยแกส ัมปยุตตขันธทัง้ หลาย อาสวธรรม และจติ ตสมุฏฐานรปู ทัง้ หลาย ดว ยอาํ นาจของเหตุปจจัย. ๗. อาสวธรรม และธรรมทไี่ มใชอ าสวธรรม เปนปจ จยั แกธ รรมทไ่ี มใชอาสวธรรม ดว ยอํานาจของเหตปุ จ จัย คือ เหตทุ ั้งหลายทเี่ ปนอาสวธรรม และธรรมท่ไี มใชอาสวธรรม เปนปจจัยแกสัมปยุตตขันธ และจิตตสมุฏฐานรปู ทัง้ หลาย ดวยอํานาจของเหตุปจ จัย. ๒. อารัมมณปจจยั [๓๔๔] ๑. อาสวธรรม เปน ปจ จัยแกอาสวธรรม ดวยอํานาจของอารมั มณปจ จยั คอื เพราะปรารภอาสวธรรมทัง้ หลาย อาสวธรรมทง้ั หลาย ยอ มเกิดขน้ึ .

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 353 ๒. อาสวธรรม เปนปจ จยั แกธรรมท่ีไมใ ชอาสวธรรมดว ยอํานาจของอารมั มณปจจัย คือ เพราะปรารภอาสวธรรมทงั้ หลาย ขนั ธท ง้ั หลายท่ีไมใชอาสวธรรมยอมเกดิ ขนึ้ . ๓. อาสวธรรม เปน ปจจัยแกอาสวธรรม และธรรมท่ีไมใชอ าสวธรรม ดวยอาํ นาจของอารมั มณปจจยั คือ เพราะปรารภอาสวธรรมทง้ั หลาย อาสวธรรม และสมั ปยตุ ตขันธท้ังหลาย ยอ มเกดิ ขนึ้ . ๔. ธรรมทไี่ มใชอ าสวธรรม เปน ปจ จัยแกธรรมที่ไมใชอ าสวธรรม ดว ยอาํ นาจของอารมั มณปจจยั คอื ทาน ฯลฯ ศลี ฯลฯ อโุ บสถกรรม ฯลฯ จากฌาน ฯลฯ พระอรยิ ะทง้ั หลายออกจากมรรคแลว พิจารณามรรค พจิ ารณาผลพจิ ารณาพิพพาน. นพิ พาน เปน ปจ จยั แกโคตรภ,ู แกโ วทาน, แกมรรค, แกผล, แกอาวชั ชนะ ดว ยอาํ นาจของอารมั มณปจ จยั . พระอริยะท้ังหลายพิจารณากิเลสทลี่ ะแลว ท่ีไมใ ชอาสวธรรม ฯลฯกิเลสทั้งหลายทีข่ มแลว ฯลฯ รูซง่ึ กเิ ลสทัง้ หลายทีเ่ คยเกดิ ขน้ึ แลว ในกาลกอน. บคุ คลพจิ ารณาเหน็ จักษุ ฯลฯ หทยวตั ถุ ฯลฯ ขันธทง้ั หลายท่ไี มใชอาสวธรรม โดยความเปน ของไมเทยี่ ง ฯลฯ โทมนสั ยอมเกิดขน้ึ . บคุ คลเห็นดว ยทพิ ยจกั ษุ, ฟง เสยี งดวยทิพโสตธาต.ุ

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 354 บคุ คลรจู ติ ของบุคคลผพู รอ มเพรยี งดว ยจิต ที่ไมใ ชอาสวธรรม ดว ยเจโตปริยญาณ. อากาสานัญจายตนะ เปนปจจยั แกว ิญญาณญั จายตนะ, อากญิ -จญั ญายตนะ เปนปจ จัยแกเนวสัญญานาสัญญายตนะ. รปู ายตนะ เปนปจ จัยแกจกั ขวุ ญิ ญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เปนปจจัยแกก ายวญิ ญาณ. ขนั ธทั้งหลายท่ไี มใชอาสวธรรม เปน ปจ จัยแกอิทธิวิธญาณ, แกเจโตปริยญาณ, แกบพุ เพนิวาสานุสสติญาณ, แกย ถากมั มปู คญาณ แกอนาคตังสญาณ, แกอ าวชั ชนะ ดวยอํานาจของอารมั มณปจจัย. ๕. ธรรมที่ไมใชอาสวธรรม เปน ปจจัยแกอาสวธรรมดวยอํานาจของอารัมมณปจจยั คือ บุคคลใหท านแลว ยอมยนิ ดี ยอ มเพลิดเพลินย่งิ ซงึ่ ทานนั้นเพราะปรารภทานน้ัน อาสวธรรมทั้งหลาย ยอ มเกิดขึน้ . ศลี ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ฌาน ฯลฯ บคุ คลยอมยนิ ดี ยอ มเพลิดเพลินย่งิ ซงึ่ จักษุ ฯลฯ หทยวตั ถุ ขนั ธทัง้ หลายทีไ่ มใ ชอ าสวธรรม เพราะปรารภจกั ษุเปนตน นัน้ อาสวธรรมท้งั หลายยอมเกดิ ข้ึน. ๖. ธรรมทีไ่ มใชอ าสวธรรม เปนปจจัยแกอ าสวธรรมและธรรมทไี่ มใชอาสวธรรม ดวยอํานาจของอารัมมณปจจยั คอื ทาน ฯลฯ มอี ธบิ ายเหมือนกบั ขอ ความตามบาลีตอนที่สอง.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 355 บุคคลยอ มยินดยี อมเพลิดเพลินยิ่ง ซ่ึงขนั ธท ้ังหลายทไ่ี มใ ชอ าสวธรรมเพราะปรารภขนั ธทงั้ หลายนั้น อาสวธรรม และสัมปยตุ ตขันธท ง้ั หลาย ยอมเกดิ ขึ้น. ๗. อาสวธรรม และธรรมทไี่ มใชอ าสวธรรม เปนปจจยั แกอาสวธรรม ดวยอาํ นาจของอารัมมณปจจัย คือ เพราะปรารภอาสวธรรม และสมั ปยุตตขันธทัง้ หลาย อาสวธรรมท้ังหลาย ยอ มเกิดข้นึ . ๘. อาสวธรรม และธรรมทไ่ี มใ ชอาสวธรรม เปนปจ จัยแกธ รรมท่ีไมใชอ าสวธรรม ดว ยอํานาจของอารัมมณปจจัย คือ เพราะปรารภอาสวธรรม และสัมปยตุ ตขนั ธ ขันธท ัง้ หลายที่ไมใ ชอาสวธรรม ยอมเกดิ ขึ้น. ๙. อาสวธรรม และธรรมท่ีไมใชอ าสวธรรม เปนปจจัยแกอ าสวธรรม และธรรมท่ไี มใ ชอ าสวธรรม ดว ยอํานาจของอารมั มณปจจัย คือ เพราะปรารภอาสวธรรม และสัมปยุตตขันธ อาสวธรรม และสัมปยตุ ตขันธท้งั หลาย ยอ มเกิดขนึ้ . ๓. อธปิ ติปจจยั [๓๔๕] ๑. อาสวธรรม เปนปจ จัยแกอ าสวธรรม ดว ยอาํ นาจของอธปิ ตปิ จจยั

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 356 มีอยา งเดียว คอื ท่เี ปน อารัมมณาธปิ ติ ไดแก เพราะกระทาํ อาสวธรรมทั้งหลายใหเปน อารมณอยางหนักแนน อาสว-ธรรมทั้งหลาย ยอมเกดิ ขึ้น มี ๓ วาระ (วาระท่ี ๑-๓) พงึ กระทําใหเ ปน อารมณอ ยา งหนักแนน เหมอื นกับอารัมมณปจจยั . ๔. ธรรมทไี่ มใ ชอ าสวธรรม เปน ปจ จยั แกธรรมท่ีไมใ ชอ าสวธรรม ดว ยอาํ นาจของอธิปติปจจัย มี ๒ อยา ง คอื ท่เี ปน อารัมมณาธปิ ติ และ สหชาตาธิปติ ท่ีเปน อารัมมณาธปิ ติ ไดแ ก ทาน ฯลฯ ศลี ฯลฯ อโุ บสถกรรม ฯลฯ ในกาลกอน ฯลฯ พระอรยิ ะทง้ั หลายออกจากมรรค ฯลฯ ผล ฯลฯ กระทํานิพพานใหเปนอารมณอ ยางหนักเเนน ฯลฯ นพิ พาน เปนปจจยั แกโ คตรภ,ู แกโ วทาน, แกมรรค, แกผ ล ดวยอํานาจของอธปิ ติปจจัย. บคุ คลยอ มยินดี ยอมเพลดิ เพลินยิง่ เพราะกระทาํ จักษุ ฯลฯ หทยวตั ถุขันธท ง้ั หลายที่ไมใ ชอาสวธรรมใหเ ปน อารมณอยางหนกั แนน ครน้ั กระทําจกั ษเุ ปนตนนัน้ ใหเ ปนอารมณอ ยางหนักแนน แลว ราคะ ยอมเกิดข้ึน ทิฏฐิยอ มเกิดขน้ึ . ทเี่ ปน สหชาตาธปิ ติ ไดแก อธปิ ติธรรมทไ่ี มใ ชอ าสวธรรม เปน ปจ จยั แกส มั ปยตุ ตขันธ และจิตตสมุฏฐานรปู ทั้งหลาย ดวยอํานาจของอธิปติปจจัย.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 357 ๕. ธรรมที่ไมใชอาสวธรรม เปนปจจยั แกอ าสวธรรมดวยอาํ นาจของอธปิ ตปิ จ จยั มี ๒ อยาง คอื ทเี่ ปน อารมั มณาธิปติ และ สหชาตาธปิ ติ ที่เปน อารัมมณาธปิ ติ ไดแ ก บุคคลยอมยนิ ดี ยอมเพลิดเพลินยิง่ เพราะกระทาํ ทาน ฯลฯ ขันธทัง้ หลายที่ไมใชอ าสวธรรมใหเปน อารมณอ ยา งหนักแนน คร้นั กระทาํ ทานเปนตน นนั้ ใหเ ปนอารมณอยา งหนักแนนแลว อาสวธรรมท้ังหลาย ยอ มเกดิ ขน้ึ . ท่เี ปน สหชาตาธิปติ ไดแก อธปิ ตธิ รรมทไ่ี มใชอ าสวธรรม เปนปจจัยแกอ าสวธรรมทเ่ี ปน สมั -ปยตุ ตธรรมทงั้ หลาย ดวยอาํ นาจของอธิปตปิ จ จยั . ๖. ธรรมทไี่ มใ ชอ าสวธรรม เปนปจจยั แกอ าสวธรรมและธรรมท่ไี มใ ชอาสวธรรม ดว ยอาํ นาจของอธิปตปิ จ จยั มี ๒ อยา ง คือทเ่ี ปน อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ที่เปน อารัมมณาธปิ ติ ไดแ ก บุคคลยอ มยนิ ดี ยอมเพลดิ เพลนิ ย่ิง เพราะกระทําซึง่ ทาน ฯลฯ ขนั ธท้งั หลายที่ไมใ ชอาสวธรรมใหเปนอารมณอยางหนกั แนน ครนั้ กระทําทานเปน ตนนัน้ ใหเปนอารมณอ ยา งหนกั แนน แลว ราคะ ยอมเกิดข้ึน ทฏิ ฐิ ยอ มเกดิ ข้ึน. ทีเ่ ปน สหชาตาธิปติ ไดแก อธปิ ตธิ รรมทีไ่ มใชอาสวธรรม เปน ปจ จยั แกส มั ปยุตตขันธ อาสว-ธรรม และจิตตสมฏุ ฐานรูปท้ังหลาย ดว ยอาํ นาจของอธิปติปจ จยั .






















































































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook