Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_88

tripitaka_88

Published by sadudees, 2017-01-10 01:17:04

Description: tripitaka_88

Search

Read the Text Version

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 251 ๖. สหชาตปจ จยั ฯลฯ ๘. นสิ สยปจ จยั [๒๓๘] ๑. สัปปฏฆิ ธรรม เปนปจจัยแกส ปั ปฏิฆธรรม ดว ยอาํ นาจของสหชาตปจจยั มี ๙ วาระ. ฯลฯ เปน ปจจัย ดว ยอํานาจของอญั ญมญั ญปจจัย มี ๖ วาระ. ฯลฯ เปนปจจัย ดวยอํานาจของนิสสยปจ จยั มี ๙ วาระ. ๙. อปุ นิสสยปจ จัย [๒๓๙] ๑. สปั ปฏิฆธรรม เปนปจจัยแกอ ปั ปฏิฆธรรม ดวยอํานาจของอุปนิสสยปจจัย มี ๒ อยาง คือที่เปน อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนสิ สยะ ทเี่ ปน ปกตูปนสิ สยะ ไดแก บคุ คลเขา ไปอาศยั อตุ ุ ฯลฯ เสนาสนะแลว ใหทาน ฯลฯ ทําลายสงฆ. อตุ ุ เสนาสนะ เปนปจจยั แกศ รทั ธา ฯลฯ แกผ ลสมาบัติ ดว ยอํานาจของอุปนสิ สยปจ จยั . ๒. อปั ปฏฆิ ธรรม เปนปจจยั แกอ ัปปฏฆิ ธรรม ดวยอํานาจของอปุ นสิ สยปจจัย มี ๓ อยา ง คือทีเ่ ปน อารัมมณูปนสิ สยะ อนันตรปู นสิ สยะ และปกตปู นิสสยะ ทเี่ ปน ปกตปู นสิ สยะ ไดแก บคุ คลเขาไปอาศยั ศรทั ธาแลว ใหทาน ฯลฯ ถอื ทิฏฐิ.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 252 บคุ คลเขา ไปอาศัย ศีล ฯลฯ สขุ ทางกาย ฯลฯ ทุกขท างกาย ฯลฯ โภชนะแลว ใหท าน ฯลฯ ทําลายสงฆ. ศรัทธา ฯลฯ โภชนะ เปน ปจจัยแกศ รทั ธา ฯลฯ แกผลสมาบัติ ดวยอํานาจของอุปนิสสยปจ จยั . ๑๐. ปุเรชาตปจจยั [๒๔๐] ๑. สปั ปฏิฆธรรม เปน ปจจยั แกอปั ปฏิฆธรรม ดวยอํานาจของปเุ รชาตปจ จัย มี ๒ อยา ง คอื ท่ีเปน อารัมมณปเุ รชาตะ และ วตั ถปุ เุ รชาตะ ทเี่ ปน อารมั มณปุเรชาตะ ไดแ ก บุคคลพจิ ารณาเหน็ จกั ษุ ฯลฯ โผฏฐพั พะท้งั หลาย โดยความเปน ของไมเท่ยี ง ฯลฯ โทมนสั ยอมเกิดขน้ึ . บคุ คลเหน็ รปู ดว ยทิพยจกั ษุ ฟง เสียงดวยทพิ โสตธาตุ. รูปายตนะ เปน ปจจัยแกจักขุวญิ ญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เปนปจ จยั แกก ายวญิ ญาณ ดว ยอํานาจของปุเรชาตปจ จัย. ท่เี ปน วตั ถปุ ุเรชาตะ ไดแก จกั ขายตนะ เปนปจจัยแกจักขวุ ิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เปนปจ จยัแกก ายวิญญาณ ดว ยอํานาจของปเุ รชาตปจจัย. ๒. อปั ปฏิฆธรรม เปนปจ จยั แก อัปปฏิฆธรรม ดวยอํานาจของปุเรชาตปจจัย

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 253 มี ๒ อยาง คอื ท่เี ปน อารัมมณปเุ รชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ทเ่ี ปน อารัมมณปุเรชาตะ ไดแ ก บคุ คลพจิ ารณาเหน็ หทยวัตถุ ฯลฯ อติ ถินทรีย ปุรสิ ินทรยี  ชีวติ นิ ทรยี อาโปธาตุ ฯลฯ กวฬีการาหาร โดยความเปน ของไมเ ทย่ี ง ฯลฯ โทมนัส ยอ มเกดิ ขน้ึ . ทเี่ ปน วัตถุปเุ รชาตะ ไดแ ก หทยวตั ถุ เปนปจจัยแกขันธท งั้ หลายท่ีเปนอัปปฏิฆธรรม ดวยอาํ นาจของปุเรชาตปจจยั . ๓. สปั ปฏฆิ ธรรม และอัปปฏิฆธรรม เปนปจ จัยแกอปั ปฏิฆธรรม ดว ยอาํ นาจของปเุ รชาตปจจยั มี ๒ อยา ง คอื ท่ีเปน อารมั มณปุเรชาตะ และ วตั ถุปุเรชาตะ ทีเ่ ปน วัตถุปุเรชาตะ ไดแก จกั ขายตนะและหทยวัตถุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ และหทยวตั ถุ เปนปจจัยแกข นั ธทง้ั หลายท่เี ปน อปั ปฏิฆธรรม ดวยอาํ นาจของปุเรชาตปจจยั . ๑๑. ปจฉาชาตปจจยั [๒๔๑] ๑. อัปปฏิฆธรรม เปนปจจัยแกอปั ปฏิฆธรรม ดวยอาํ นาจของปจ ฉาชาตปจจัย คือ ขันธทัง้ หลายทเ่ี ปนอปั ปฏฆิ ธรรม ท่ีเกดิ ภายหลัง เปน ปจ จัยแกกายน้ที ี่เปนอัปปฏฆิ ธรรม ท่เี กดิ กอน ดว ยอํานาจของปจฉาชาตปจ จยั .

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 254 ขันธท ัง้ หลายท่เี ปนอัปปฏฆิ ธรรม ทเี่ กดิ ภายหลงั เปนปจ จยั แกก ายนี้ทเี่ ปน สปั ปฏิฆธรรม ท่ีเกดิ กอน ดว ยอาํ นาจของปจฉาชาตปจ จัย. ขันธท งั้ หลายทเี่ ปน อัปปฏฆิ ธรรม ท่ีเกดิ ภายหลัง เปน ปจจัยแกก ายนี้ทเ่ี ปนสปั ปฏิฆธรรม และอัปปฏฆิ ธรรม ทเ่ี กดิ กอ น ดวยอาํ นาจของปจ ฉาชาต-ปจจยั . พงึ กระทาํ มลู แหง วาระทั้งสอง. ๑๒. อาเสวนปจ จยั [๒๔๒] ๑. อัปปฏฆิ ธรรม เปน ปจจยั แกอ ปั ปฏิฆธรรม ดวยอํานาจของอาเสวนปจจยั คอื ขันธท้งั หลายที่เปน อัปปฏฆิ ธรรม ทเ่ี กิดกอ น ๆ ฯลฯ โวทานเปน ปจจยั แกม รรค ดวยอาํ นาจของอาเสวนปจ จัย. ๑๓. กัมมปจจัย [๒๔๓] ๑. อปั ปฏิฆธรรม เปน ปจจัยแกอัปปฏิฆธรรม ดวยอํานาจของกัมมปจ จยั มี ๒ อยาง คือทเี่ ปน สหชาตะ และ นานาขณิกะ ท่เี ปน สหขชาตะ ไดแก เจตนาทเ่ี ปน อัปปฏฆิ ธรรม เปน ปจจัยแกส ัมปยุตตขันธ และจติ ต-สมฏุ ฐานรปู ท้งั หลาย ทเ่ี ปน อัปปฏฆิ ธรรม ดว ยอํานาจของกัมมปจ จยั .

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 255 ท่ีเปน นานาขณิกะ ไดแ ก เจตนาทเ่ี ปน อปั ปฏฆิ ธรรม เปนปจ จยั แกว ิบากขันธ และกฏตั ตารูปทั้งหลาย ทเ่ี ปนอัปปฏิฆธรรม ดว ยอาํ นาจของกมั มปจจยั . ๒. อัปปฏฆิ ธรรม เปน ปจ จยั แกสปั ปฏฆิ ธรรม ดวยอาํ นาจของกมั มปจจยั มี ๒ อยา ง คือทเี่ ปน สหชาตะ และ นานาขณิกะ ที่เปน สหชาตะ ไดแก เจตนาทเี่ ปนอัปปฏฆิ ธรรม เปนปจจยั แกจ ติ ตสมุฏฐานรปู ท้ังหลายทเี่ ปนสปั ปฏฆิ ธรรม ดว ยอาํ นาจของกัมมปจ จยั . ในปฏสิ นธขิ ณะ ฯลฯ ที่เปน นานาขณกิ ะ ไดแก เจตนาทีเ่ ปนอัปปฏิฆธรรม เปน ปจจัยแกก ฏัตตารปู ทัง้ หลาย ท่เี ปนสปั ปฏฆิ ธรรม ดว ยอาํ นาจของกัมมปจจยั . ๓. อปั ปฏฆิ ธรรม เปนปจจยั แกสปั ปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม ดวยอํานาจของกมั มปจ จัย มี ๒ อยาง คือท่ีเปน สหชาตะ และ นานาขณกิ ะ ๑๔. วปิ ากปจ จัย [๒๔๔] ๑. อปั ปฏฆิ ธรรม เปน ปจ จัยแกอัปปฏฆิ ธรรม ดว ยอาํ นาจของวปิ ากปจ จยั คือ อปั ปฏฆิ ธรรมทเี่ ปน วิบาก ฯลฯ มี ๓ วาระ.


























































































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook