พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 301 ๑๒. โลกิยทกุ ะ ปฏิจจวาระ อนุโลมนัย ๑. เหตุปจจยั [๒๙๐] ๑. โลกิยธรรม อาศยั โลกิยธรรม เกดิ ขนึ้ เพราะเหตุปจจัย คอื ขนั ธ ๓ และจิตตสมฏุ ฐานรปู อาศยั ขนั ธ๑ทีเ่ ปนโลกิยธรรม ฯลฯขันธ ๒ ฯลฯ. ในปฏิสนธขิ ณะ หทยวตั ถุ อาศัยขนั ธท้ังหลาย, ขันธทง้ั หลาย อาศัยหทยวัตถ.ุ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จติ ตสมุฏฐานรปู กฏัตตารูปที่เปนอุปาทารปู อาศยั มหาภตู รปู ทงั้ หลาย. ๒. โลกตุ ตรธรรม อาศัยโลกุตตรธรรม เกดิ ขึน้เพราะเหตุปจจัย คือ ขันธ ๓ อาศยั ขนั ธ ๑ ทเ่ี ปนโลกตุ ตรธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ๓. โลกิยธรรม อาศยั โลกตุ ตรธรรม เกิดขนึ้ เพราะเหตุปจจยั คอื จิตตสมฏุ ฐานรูป อาศยั ขันธทงั้ หลายทีเ่ ปน โลกตุ ตรธรรม.
พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 302 ๔. โลกิยธรรม และโลกุตตรธรรม อาศยั โลกตุ ตร-ธรรม เกิดขน้ึ เพราะเหตุปจ จัย คือ ขันธ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขนั ธ ๑ ท่ีเปน โลกตุ รธรรมฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ. ๕. โลกิยธรรม อาศัยโลกิยธรรม และโลกุตตรธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปจ จยั คือ จติ ตสมฏุ ฐานรปู อาศยั ขนั ธท้งั หลายทเ่ี ปน โลกุตตรธรรม และมหาภูตรปู ท้ังหลาย. การนบั จํานวนวาระในอนุโลม [๒๙๑] ในเหตุปจ จัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปจ จยั มี ๒ วาระในอธิปติปจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปจจยั มี ๒ วาระ ในสมนันตรปจ จัยมี ๒ วาระ ในสหชาตปจ จัย มี ๕ วาระ ในอญั ญมญั ญปจ จัย มี ๒ วาระในนิสสยปจ จัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปจ จยั มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปจ จัยมี ๒ วาระ ในอาเสวนปจ จัย มี ๒ วาระ ในกมั มปจจยั มี ๕ วาระ ในวิปาก-ปจจัย มี ๕ วาระ ในอาหารปจจยั มี ๕ วาระ ในอนิ ทริยปจจัย มี ๕ วาระ ในฌานปจ จัย มี ๕ วาระ ในมคั คปจ จัย มี ๕ วาระ ในสัมปยตุ ตปจ จัย มี ๒วาระ ในวปิ ปยุตตปจจัย มี ๕ วาระ ในอตั ถปิ จ จยั มี ๕ วาระ ในนตั ถิปจจยัมี ๒ วาระ ในวคิ ตปจ จัย มี ๒ วาระ ในอวคิ ตปจ จัย มี ๕ วาระ. อนโุ ลมนัย จบ
พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 303 ปจจนียนยั ๑. นเหตปุ จ จัย [๒๙๒] ๑. โลกิยธรรม อาศยั โลกิยธรรม เกดิ ขึน้ เพราะนเหตุปจ จยั คือ ขันธ ๓ และจิตตสมุฏฐานรปู อาศัยขนั ธ ๑ ท่เี ปนโลกิยธรรมซงึ่ เปนอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ. อเหตุกปฏิสนธิ ตลอดถึงอสัญญสตั ว. โมหะทีส่ หรคตดว ยวจิ ิกจิ ฉา ที่สหรคตดว ยอทุ ธจั จะ อาศยั ขันธท้ังหลายท่สี หรคตดว ยวิจิกจิ ฉา ทีส่ หรคตดว ยอทุ ธัจจะ. การนับจํานวนวาระในปจ จนยี ะ [๒๙๓] ในนเหตปุ จ จัย มี ๑ วาระ ในนอารมั มณปจจยั มี ๓ วาระในนอธปิ ติปจ จัย มี ๒ วาระ ในนอนนั ตรปจจยั มี ๓ วาระ ในนสมนนั ตร-ปจ จัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปจจยั มี ๓ วาระ ในนอุปนสิ สยปจ จยั มี๓ วาระ ในนปุเรชาตปจ จัย มี ๔ วาระ ในนปจ ฉาชาตปจจัย มี ๕ วาระในนอาเสวนปจ จัย มี ๕ วาระ. ในอาเสวนมลู กนยั ในโลกตุ ตระ ในสทุ ธกอรูปภมู ิ พึงกาํ หนดคําวา วบิ าก สว นที่เหลือนอกนั้น พึงกระทําตามปรกติ. ในนกมั มปจ จัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปจจยั มี ๕ วาระ ในนอาหาร-ปจจยั มี ๑ วาระ ในนอินทริยปจ จยั มี ๑ วาระ ในนฌานปจ จัย มี ๑ วาระ
พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 304ในนมคั คปจจยั มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปจ จยั มี ๓ วาระ ในนวปิ ปยุตต-ปจ จัย มี ๒ วาระ ในโนนตั ถิปจ จัย มี ๓ วาระ ในโนวคิ ตปจจัย มี ๓ วาระ. ปจ จนียนยั จบ อนโุ ลมปจจนียนัย การนบั จาํ นวนวาระในอนุโลมปจ จนียะ [๒๙๔] เพราะเหตุปจ จยั ในนอารมั มณปจ จยั มี ๓ วาระ... ในน-อธิปติปจจัย มี ๒ วาระ ในนอนนั ตรปจจัย เปนตน เหมือนกับปจจนียะ ในนวปิ ากปจ จยั มี ๕ วาระ ในนสมั ปยุตตปจ จยั มี ๓ วาระ ในนวปิ ปยุตตปจจยัมี ๒ วาระ ในโนนตั ถิปจ จัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปจ จัย มี ๓ วาระ. อนุโลมปจจนียนยั จบ ปจ จนียานุโลมนยั การนับจํานวนวาระในปจ จนยี านโุ ลม [๒๙๕] เพราะนเหตปุ จจยั ในอารัมมณปจ จัย มี ๑ วาระ... ใน-อนันตรปจจยั มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปจจัย มี ๑ วาระ. ปจจนยี านุโลมนยั จบ สหชาตะ เหมือนกับปฏิจจวาระ.
พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 305 ปจ จยวาระ อนุโลมนยั ๑. เหตปุ จ จัย [๒๙๖] ๑. โลกิยธรรม อาศัยโลกิยธรรม เกดิ ข้ึน เพราะเหตุปจ จัย คอื ฯลฯ อาศยั ขนั ธ ๑ ทเ่ี ปนโลกยิ ธรรม ฯลฯ. มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จติ ตสมฏุ ฐานรปู กฏตั ตารปู ท่ีเปน อปุ าทารูปทั้งหลาย อาศัยมหาภูต-รูปท้ังหลาย ขนั ธท ้งั หลายท่ีเปนโลกยิ ธรรม อาศยั หทยวัตถุ. ๒. โลกตุ ตรธรรม อาศัยโลกยิ ธรรม เกิดขน้ึ เพราะเหตปุ จ จัย คอื ขันธท ั้งหลายทีเ่ ปน โลกุตตรธรรม อาศัยหทยวตั ถุ. ๓. โลกยิ ธรรม และโลกตุ ตรธรรม อาศยั โลกิยธรรมเกิดขน้ึ เพราะเหตุปจจัย คอื ขันธท ง้ั หลายท่ีเปนโลกุตตรธรรม อาศัยหทยวัตถ.ุ จิตตสมุฏฐานรูป อาศยั มหาภูตรูปทัง้ หลาย. ๔. โลกุตตรธรรม อาศัยโลกตุ ตรธรรม เกดิ ขนึ้เพราะเหตปุ จ จยั มี ๓ วาระ (วาระท่ี ๔-๖) ๗. โลกิยธรรม อาศัยโลกยิ ธรรม และโลกุตตรธรรมเกิดข้นึ เพราะเหตปุ จจัย
พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 306 คอื จิตตสมฏุ ฐานรปู อาศัยขันธท ้งั หลายท่เี ปนโลกุตตรธรรม และมหาภูตรปู ทงั้ หลาย. ๘. โลกตุ ตรธรรม อาศยั โลกิยธรรม และโลกุตตร-ธรรม เกดิ ขน้ึ เพราะเหตุปจ จยั คือ ขันธ ๓ อาศยั ขันธ ๑ ทเี่ ปนโลกุตตรธรรม และหทยวตั ถุฯลฯ อาศยั ขันธ ๒. ๙. โลกยิ ธรรม และโลกตุ ตรธรรม อาศัยโลกยิ ธรรมและ โลกตุ ตรธรรม เกดิ ข้นึ เพราะเหตุปจ จยั คอื ขนั ธ ๓ อาศัยขนั ธ ๑ ทเ่ี ปน โลกุตตรธรรม และหทยวตั ถุ ฯลฯอาศยั ขันธ ๒. จติ ตสมุฏฐานรปู อาศยั ขันธท ง้ั หลายทเ่ี ปน โลกตุ ตรธรรม และมหาภูตรปู ท้งั หลาย. การนบั จ านวนวาระในอนโุ ลม [๒๙๗] ในเหตปุ จจยั มี ๙ วาระ ในอารมั มณปจจัย มี ๔ วาระ ในอธปิ ตปิ จจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปจ จยั มี ๔ วาระ ในสมนนั ตรปจ จัยมี ๔ วาระ ในสหชาตปจ จยั มี ๙ วาระ ในอญั ญมญั ญปจ จัย มี ๔ วาระ ในนิสสยปจจยั มี ๙ วาระ ในอปุ นสิ สยปจ จยั มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปจจยัมี ๔ วาระ ในอาเสวนปจจยั มี ๔ วาระ ในกมั มปจ จยั มี ๙ วาระ ในวปิ าก-ปจจัย มี ๙ วาระ ในมคั คปจ จยั มี ๙ วาระ ในสมั ปยุตตปจจยั มี ๔ วาระ
พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 307ในวิปปยตุ ตปจ จยั มี ๙ วาระ ในอัตถิปจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปจจัย มี ๔ วาระในวคิ ตปจ จยั มี ๔ วาระ ในอวคิ ตปจจัย มี ๙ วาระ. อนุโลมนยั จบ ปจ จนยี นัย ๑. นเหตุปจ จยั [๒๙๘] ๑. โลกิยธรรม อาศยั โลกยิ ธรรม เกิดขนึ้ เพราะนเหตปุ จจัย คอื ฯลฯ อาศยั ขันธ ๑ ทีเ่ ปน โลกิยธรรม ซึ่งเปน อเหตกุ ะ ฯลฯตลอดถึงอสญั ญสตั ว. จักขุวญิ ญาณ อาศัยจกั ขายตนะ ฯลฯ กายวญิ ญาณ อาศัยกายายตนะ. ขันธทง้ั หลายที่เปน โลกยิ ธรรม ซง่ึ เปนอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ. โมหะ ทส่ี หรคตดว ยวจิ ิกจิ ฉา ท่สี หรคตดว ยอทุ ธจั จะ อาศัยขันธทงั้ หลายท่ีสหรคตดวยวจิ กิ ิจฉา ท่ีสหรคตดว ยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ. การนับจาํ นวนวาระในปจ จนียะ [๒๙๙] ในนเหตปุ จ จัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปจ จัย มี ๓ วาระในนอธปิ ตปิ จจัย มี ๔ วาระ ในนอนันตรปจจยั มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนอปุ นสิ สย-ปจจัย มี ๓ วาระ ในนปเุ รชาตปจ จยั มี ๔ วาระ ในนปจฉาชาตปจจยั มี ๙วาระ ในนอาเสวนปจ จัย มี ๙ วาระ. ในโลกุตตระ ในอรปู ภมู ิ พึงกําหนดวา วิบาก.
พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 308 ในนกมั มปจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทรยิ ปจ จยั มี ๑ วาระ ในนฌานปจ จัย มี ๑ วาระในนมคั คปจ จยั มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปจ จัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปจจัยมี ๒ วาระ ในโนนัตถปิ จจยั มี ๓ วาระ ในโนวิคตปจจัย มี ๓ วาระ. ปจ จนยี นยั จบ อนโุ ลมปจ จนยี นัย การนบั จํานวนวาระในอนโุ ลมปจ จนียะ [๓๐๐] เพราะเหตปุ จจยั ในนอารัมมณปจจัย มี ๓ วาระ... ในนอธิปตปิ จจยั มี ๔ วาระ ในนอนันตรปจจัย เปนตน เหมือนกบั ในปจ จ-นยี ะ ในนวิปากปจจยั มี ๙ วาระ ในนสมั ปยุตตปจ จยั มี ๓ วาระ ในนวิปปยตุ ตปจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถปิ จ จัย มี ๓ วาระ ในโนวคิ ตปจ จัยมี ๓ วาระ. อนโุ ลมปจจนยี นยั จบ ปจจนียานุโลม การนบั จาํ นวนวาระในปจ จนียานุโลม [๓๐๑] เพราะนเหตปุ จ จัย ในอารมั มณปจ จัย มี ๑ วาระ.... ในอนนั ตรปจจยั มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปจ จัย มี ๑ วาระ. ปจจนียานโุ ลมนัย จบ
พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 309 สงั สัฏฐวาระ อนโุ ลมนัย ๑. เหตปุ จจัย [๓๐๒] ๑. โลกยิ ธรรม เจอื กบั โลกยิ ธรรม เกดิ ขน้ึ เพราะเหตุปจจัย คอื ขันธ ๓ เจอื กับขนั ธ ๑ ท่ีเปนโลกยิ ธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ ๒. โลกตุ ตรธรรม เจอื กับโลกุตตรธรรม เกิดข้ึนเพราะเหตุปจจัย คอื ขันธ ๓ เจือกบั ขนั ธ ๑ ทเ่ี ปน โลกตุ ตรธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ สงั สัฏฐวาระพงึ ใหพ สิ ดารอยางนี้ พรอ มดวยการนับ มี ๒ วาระ. สัมปยตุ ตวาระ เหมอื นกับสงั สฏั ฐวาระ.
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 310 ปญ หาวาระ อนโุ ลมนัย ๑. เหตุปจ จัย [๓๐๓] ๑. โลกยิ ธรรม เปนปจจยั แกโลกิยธรรม ดวยอํานาจของเหตุปจจัย คือ เหตทุ ัง้ หลายทเี่ ปน โลกิยธรรม เปน ปจจัยแกสัมปยตุ ตขันธ และจิตตสมฏุ ฐานรปู ท้ังหลาย ดว ยอาํ นาจของเหตุปจ จัย. ในปฏสิ นธขิ ณะ ฯลฯ ๒. โลกตุ ตรธรรม เปนปจจยั แกโลกุตตรธรรม ดว ยอํานาจของเหตปุ จจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๒-๔) ๒. อารัมมณปจจยั [๓๐๔] ๑. โลกิยธรรม เปน ปจ จัยแกโ ลกิยธรรม ดวยอํานาจของอารัมมณปจจยั คือ บคุ คลใหทาน ฯลฯ ศลี ฯลฯ กระทาํ อโุ บสถกรรม ฯลฯ แลวพจิ ารณาซงึ่ กศุ ลกรรมนัน้ . บุคคลพจิ ารณากุศลกรรมทัง้ หลาย ทีเ่ คยส่งั สมไวแ ลวในกาลกอน. ออกจากฌานแลว ฯลฯ พระอรยิ ะท้งั หลายพจิ ารณาโคตรภ,ู พิจารณาโวทาน, พิจารณากิเลสท่ลี ะแลว, พิจารณากิเลสท่ขี ม แลว, รูซ งึ่ กเิ ลสท้ังหลายท่ีเคยเกิดขน้ึ แลว ในกาลกอ น.
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 311 บุคคลพิจารณาเห็นจกั ษุ ฯลฯ หทยวตั ถุ ขนั ธทง้ั หลายทเ่ี ปนโลกยิ -ธรรม โดยความเปนของไมเ ทย่ี ง ฯลฯ โทมนสั ยอมเกิดขึ้น. บคุ คลเห็นรูปดว ยทิพยจกั ษุ, ฟง เสียงดวยทพิ โสตธาต.ุ บคุ คลรจู ติ ของบคุ คลผูพ รอ มเพรยี งดว ยจิต ที่เปนโลกิยธรรม ดวยเจโตปรยิ ญาณ. อากาสานญั จายตนะ เปน ปจจยั แกว ญิ ญาณญั จายตนะ, อากญิ จัญญาย-ตนะ เปนปจจยั แกเนวสัญญานาสญั ญายตนะ. รปู ายตนะ เปน ปจ จยั แกจ กั ขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เปนปจ จยั แกกายวญิ ญาณ. ขนั ธทัง้ หลายท่เี ปนโลกิยธรรม เปนปจ จยั แกอ ิทธวิ ธิ ญาณ, แกเ จโต-ปริยญาณ, แกบุพเพนวิ าสานสุ สติญาณ แกย ถากัมมปู คญาณ, แกอนาคตตงั สญาณ,แกอ าวัชชนะ ดวยอาํ นาจของอารัมมณปจจัย. ๒. โลกตุ ตรธรรม เปน ปจจัยแกโ ลกตุ ตรธรรม ดวยอํานาจของอารมั มณปจ จยั คือ นพิ พานเปนปจจัยแกม รรค แกผ ล ดว ยอํานาจของอารัมมณปจ จัย. ๓. โลกตุ ตรธรรม เปนปจ จัยแกโลกยิ ธรรม ดวยอํานาจของอารมั มณปจจัย คอื พระอริยะท้ังหลายออกจากมรรค แลวพิจารณามรรค, พิจารณาผล, พจิ ารณานพิ พาน. นพิ พาน เปนปจจัยแกโ คตรภ,ู แกโวทาน, แกอ าวชั ชนะ ดว ยอาํ นาจของอารัมมณปจจยั .
พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 312 พระอรยิ ะทง้ั หลายรจู ติ ของบคุ คลผพู รอมเพรียงดวยจติ ท่เี ปนโลกตุ ตร-ธรรม ดว ยเจโตปริยญาณ. ขนั ธท้ังหลายท่เี ปน โลกุตตรธรรม เปน ปจจยั แกเ จโตปริยญาณ แกบพุ เพนิวาสานสุ สตญิ าณ แกอ นาคตงั สญาณ แกอาวชั ชนะ ดวยอาํ นาจของอารมั มณปจ จยั . ๓. อธิปตปิ จ จยั [๓๐๕] ๑. โลกิยธรรม เปน ปจ จัยแกโ ลกิยธรรม ดวยอํานาจของอธปิ ตปิ จ จัย มี ๒ อยา ง คือท่ีเปน อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ทเี่ ปน อารมั มณาธิปติ ไดแก บุคคลใหท าน ฯลฯ ศลี ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พจิ ารณากุศลทเ่ี คยทําแลวในกาลกอน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระเสกขบุคคลทง้ั หลาย กระทําโคตรภูใหเปน อารมณอยางหนกั แนนฯลฯ กระทําโวทานใหเ ปนอารมณอ ยางหนกั แนน แลวพจิ ารณา. บคุ คลยอ มยนิ ดี ยอมเพลดิ เพลนิ ย่ิง เพราะกระทําจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุขนั ธท้ังหลายท่ีเปนโลกิยธรรม ใหเปน อารมณอ ยา งหนกั แนน คร้นั กระทาํจักษเุ ปนตน น้นั ใหเ ปนอารมณอยางหนักแนน แลว ราคะ ยอมเกิดข้นึ ทิฏฐิยอ มเกิดขึ้น.
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 313 ที่เปน สหชาตาธปิ ติ ไดแ ก อธิปตธิ รรมที่เปน โลกยิ ธรรม เปน ปจจยั แกสมั ปยุตตขันธ และจิตต-สมฏุ ฐานรูปท้ังหลาย ดวยอํานาจของอธิปติปจ จัย. ๒. โลกุตตรธรรม เปน ปจจัยแกโลกุตตรธรรม ดว ยอาํ นาจของอธปิ ติปจจยั มี ๒ อยา ง คอื ท่ีเปน อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธปิ ติ ทเี่ ปน อารัมมณาธิปติ ไดแ ก นิพพาน เปน ปจ จัยแกมรรค, แกผล ดวยอํานาจของอธปิ ตปิ จ จยั . ทเ่ี ปน สหชาตาธิปติ ไดแ ก อธิปตธิ รรมท่เี ปนโลกุตตรธรรม เปน ปจ จัยแกสมั ปยตุ ตขนั ธท ้ังหลายดว ยอาํ นาจของอธิปติปจจยั . ๓. โลกุตตรธรรม เปนปจ จยั แกโ ลกยิ ธรรม ดว ยอํานาจของอธปิ ตปิ จจยั มี ๒ อยา ง คือทีเ่ ปน อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธปิ ติ ทีเ่ ปน อารมั มณาธิปติ ไดแก พระอริยะท้งั หลายออกจากมรรคแลว กระทาํ มรรคใหเปนอารมณอยา งหนกั แนน กระทําผลใหเปน อารมณอ ยา งหนักแนน ยอ มพิจารณา. นพิ พาน เปนปจ จยั แกโ คตรภ,ู แกโ วทาน ดวยอํานาจของอธิปติปจจัย. ท่เี ปน สหชาตาธปิ ติ ไดแก อธปิ ตธิ รรมท่เี ปนโลกุตตรธรรม เปนปจ จยั แกจ ิตตสมุฏฐานรูปท้ังหลาย ดวยอํานาจของอธปิ ติปจ จยั .
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 314 ๔. โลกตุ ตรธรรม เปน ปจ จัยแกโ ลกยิ ธรรม และโลกตุ ตรธรรม ดว ยอาํ นาจของอธปิ ตปิ จจยั มอี ยางเดยี ว คือท่ีเปน สหชาตาธปิ ติ ไดแก อธปิ ตธิ รรมทเ่ี ปน โลกตุ ตรธรรม เปน ปจ จยั แกสมั ปยตุ ตขันธ และจติ ตสมุฏฐานรปู ทงั้ หลาย ดว ยอํานาจของอธิปติปจ จัย. ๔. อนันตรปจ จัย [๓๐๖] ๑. โลกยิ ธรรม เปนปจ จัยแกโลกยิ ธรรม ดวยอํานาจของอนนั ตรปจจยั คือ ขันธท้งั หลายทเี่ ปนโลกยิ ธรรม ที่เกิดกอ น ๆ เปน ปจจยั แกขนั ธท้ังหลายที่เปน โลกยิ ธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ฯลฯ อนโุ ลมเปน ปจจัยแกโคตรภ,ู อนุโลมเปน ปจ จัยแกโวทาน ดวยอํานาจของอนนั ตรปจจัย. ๒. โลกยิ ธรรม เปนปจจัยแกโลกตุ ตรธรรม ดวยอํานาจของอนันตรปจจยั คือ โคตรภู เปนปจ จัยแกม รรค, โวทาน เปน ปจ จยั แกมรรค. อนโุ ลม เปนปจ จยั แกผลสมาบัต.ิ เนวสัญญานาสญั ญายตนะ ของบุคคลผอู อกจากนิโรธ เปนปจจัยแกผลสมาบัติ ดวยอํานาจของอนันตรปจจยั . ๓. โลกุตตรธรรม เปนปจ จัยแกโลกุตตรธรรม ดวยอ านาจของอนนั ตรปจ จยั
พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 315 คอื ขันธท ง้ั หลายท่เี ปน โลกุตตรธรรม ทเี่ กดิ กอ น ๆ เปนปจจยั แกขนั ธท้ังหลายท่ีเปน โลกุตตรธรรม ท่ีเกิดหลงั ๆ ดว ยอํานาจของอนันตรปจ จัย. มรรค เปน ปจจัยแกผ ล, ผล เปน ปจ จยั แกผล ดวยอาํ นาจของอนนั ตรปจจัย. ๔. โลกตุ ตรธรรม เปน ปจ จัยแกโ ลกยิ ธรรม ดว ยอํานาจของอนันตรปจ จัย คือ ผล เปนปจจยั แกวฏุ ฐานะ ดวยอํานาจของอนนั ตรปจ จัย. ๕. สมนันตรปจจัย ๑. โลกยิ ธรรม เปนปจจยั แกโ ลกยิ ธรรม ดวยอํานาจของสมนนั ตรปจ จัย ๖. สหชาตปจ จัย ฯลฯ ๘. นิสสยปจจยั ฯลฯ เปนปจจยั ดว ยอํานาจของสหชาตปจจยั มี ๕ วาระ. ปจจยั สงเคราะห ไมม.ี ฯลฯ เปนปจจัย ดวยอํานาจของอัญญมญั ญปจจยั มี ๒ วาระ. ฯลฯ เปน ปจจยั ดว ยอาํ นาจของนสิ สยปจจยั มี ๗ วาระ. ๙. อุปนิสสยปจ จัย [๓๐๗] ๑. โลกยิ ธรรม เปน ปจจัยแกโ ลกิยธรรม ดว ยอาํ นาจของอุปนิสสยปจจัย
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 316 มี ๓ อยา ง คอื ทเี่ ปน อารมั มณูปนิสสยะ อนนั ตรปู นสิ สยะ และปกตูปนสิ สยะ ทเี่ ปน ปกตูปนสิ สยะ ไดแ ก บคุ คลเขา ไปอาศยั ศรัทธาทเี่ ปน โลกยิ ธรรม แลว ใหทาน ฯลฯ ยงัวิปส สนาใหเกดิ ข้นึ ยังอภญิ ญาใหเ กิดขน้ึ ยังสมาบตั ใิ หเ กดิ ขน้ึ กอมานะถือทิฏฐ.ิ บุคคลเขา ไปอาศยั ศลี ทีเ่ ปนโลกิยธรรม ฯลฯ เสนาสนะ แลว ใหท านฯลฯ ทําลายสงฆ. ศรทั ธาทีเ่ ปน โลกยิ ธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เปนปจ จัยแกศ รทั ธาทเี่ ปนโลกยิ ธรรม ฯลฯ แกทุกขท างกาย ดว ยอาํ นาจของอุปนสิ สยปจ จยั . กรรมท่เี ปนกศุ ลและอกศุ ล เปน ปจจยั แกวบิ าก ดว ยอาํ นาจของอปุ นิสสยปจจยั . ๒. โลกยิ ธรรม เปนปจ จัยแกโลกตุ ตรธรรม ดวยอาํ นาจของอุปนิสสยปจจัย มี ๒ อยา ง คือทเี่ ปน อนนั ตรปู นสิ สยะ และ ปกตปู นสิ สยะ ท่เี ปน ปกตูปนสิ สยะ ไดแ ก บรกิ รรมแหง ปฐมมรรค เปนปจ จยั แกปฐมมรรค ดวยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจจัย ฯลฯ บรกิ รรมแหง จตตุ ถมรรค เปนปจจยั แกจ ตตุ ถมรรค ดว ยอาํ นาจของอุปนสิ สยปจจัย. ๓. โลกุตตรธรรม เปน ปจจยั แกโลกุตตรธรรม ดวยอํานาจของอปุ นิสสยปจจยั
พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 317 มี ๓ อยาง คอื ทีเ่ ปน อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรปู นสิ สยะ และปกตปู นสิ สยะ ทีเ่ ปน ปกตปู นิสสยะ ไดแก ปฐมมรรคเปน ปจ จยั แกท ุตยิ มรรค ดวยอาํ นาจของอุปนสิ สยปจ จัย ฯลฯตติยมรรคเปน ปจจยั แกจตตุ ถมรรค ดวยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจ จยั . ๔. โลกุตตรธรรม เปน ปจจัยแกโ ลกิยธรรม ดว ยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจจยั มี ๓ อยาง คอื ท่ีเปน อารมั มณปู นสิ สยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตปู นสิ สยะ ทีเ่ ปน ปกตูปนิสสยะ ไดแก พระอรยิ ะทง้ั หลายเขาไปอาศยั มรรคแลว ยังสมาบตั ิทย่ี งั ไมเกิดใหเ กดิขึ้น เขา สมาบตั ทิ ่ีเกดิ ขึ้นแลว พจิ ารณาเห็นสังขาร โดยความเปน ของไมเทย่ี งเปน ทุกข เปน อนัตตา. มรรคของพระอรยิ ะเหลา น้นั ฯลฯ เปนปจจยั แกความฉลาดในฐานะและอฐานะ ดว ยอํานาจของอปุ นิสสยปจจัย. ผลสมาบตั ิ เปน ปจ จยั แกส ขุ ทางกาย ดว ยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจ จัย. ๑๐. ปุเรชาตปจจยั [๓๐๘] ๑. โลกิยธรรม เปนปจ จยั แกโลกิยธรรม ดว ยอํานาจของปุเรชาตปจ จัย
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 318 มี ๒ อยา ง คอื ท่ีเปน อารมั มณปเุ รชาตะ และ วัตถปุ ุเรชาตะ ทเ่ี ปน อารัมมณปุเรชาตะ ไดแ ก บุคคลพิจารณาเห็นจกั ษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเปน ของไมเ ทยี่ งเปนทกุ ข เปนอนตั ตา ฯลฯ โทมนัส ยอมเกดิ ข้นึ . บุคคลเห็นรปู ดว ยทพิ ยจกั ษุ ฟงเสยี งดวยทิพโสตธาตุ. รูปายตนะ เปนปจจัยแกจ กั ขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐพั พายตนะ เปนปจ จยั แกก ายวญิ ญาณ. ทเ่ี ปน วัตถุปเุ รชาตะ ไดแก จักขายตนะ เปน ปจ จยั แกจักขวุ ิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เปนปจจยัแกก ายวิญญาณ. หทยวตั ถุ เปน ปจ จัยแกขันธท้งั หลายทีเ่ ปนโลกยิ ธรรม ดว ยอํานาจของปเุ รชาตปจจัย. ๒. โลกิยธรรม เปน ปจจัยแกโลกุตตรธรรม ดว ยอาํ นาจของปเุ รชาตปจจัย มีอยา งเดียว คือท่ีเปน วตั ถปุ เุ รชาตะ ไดแก หทยวัตถุ เปน ปจ จยั แกขนั ธทงั้ หลายท่เี ปน โลกตุ ตรธรรม ดว ยอาํ นาจของปุเรชาตปจ จัย. ๑๑. ปจฉาชาตปจ จยั [๓๐๙] ๑. โลกิยธรรม เปนปจจยั แกโลกยิ ธรรม ดวยอาํ นาจของปจ ฉาชาตปจ จัย
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 319 คือ ขันธท งั้ หลายท่ีเปนโลกยิ ธรรม ท่ีเกิดภายหลงั เปน ปจ จัยแกก ายน้ีทเี่ กิดกอ น ดวยอํานาจของปจฉาชาตปจจยั . ๒. โลกุตตรธรรม เปนปจจัยแกโลกิยธรรม ดวยอาํ นาจของปจฉาชาตปจ จยั คอื ขันธท้งั หลายทีเ่ ปนโลกตุ ตรธรรม ที่เกิดภายหลงั เปน ปจจยั แกกายน้ที เ่ี กดิ กอน ดว ยอํานาจของปจ ฉาชาตปจ จยั . ๑๒. อาเสวนปจจัย [๓๑๐] ๑. โลกิยธรรม เปน ปจจยั แกโ ลกิยธรรม ดว ยอํานาจของอาเสวนปจจัย คอื ขันธท้งั หลายท่ีเปน โลกยิ ธรรม ท่เี กิดกอน ๆ เปนปจ จัยแกขันธท้ังหลายทเี่ ปนโลกิยธรรม ท่ีเกิดหลงั ๆ ดว ยอาํ นาจของอาเสวนปจจัย. อนโุ ลม เปน ปจ จัยแกโ คตรภู. อนุโลม เปนปจจยั แกโ วทาน ดวยอาํ นาจของอาเสวนปจจยั . ๒. โลกยิ ธรรม เปนปจ จยั แกโลกตุ ตรธรรม ดวยอํานาจของอาเสวนปจจยั คอื โคตรภู เปนปจ จัยแกมรรค, โวทาน เปน ปจ จยั แกม รรค ดว ยอาํ นาจของอาเสวนปจจยั .
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 320 ๑๓. กัมมปจ จัย [๓๑๑] ๑. โลกิยธรรม เปนปจ จัยแกโ ลกยิ ธรรม ดวยอาํ นาจของกมั มปจจัย มี ๒ อยาง คือท่ีเปน สหชาตะ และ นานาขณกิ ะ ทเ่ี ปน สหชาตะ ไดแก เจตนาที่เปนโลกยิ ธรรม เปนปจจยั แกส มั ปยุตตขนั ธ และจติ ต-สมุฏฐานรปู ทง้ั หลาย ดว ยอํานาจของกัมมปจจัย. ท่ีเปน นานาขณิกะ ไดแ ก เจตนาท่เี ปน โลกิยธรรม เปน ปจจยั แกว บิ ากขนั ธ และกฏัตตารปูทั้งหลาย ดว ยอํานาจของกัมมปจ จัย. ๒. โลกตุ ตรธรรม เปน ปจจัยแกโ ลกตุ ตรธรรม ดว ยอํานาจของกมั มปจจยั มี ๒ อยาง คอื ที่เปน สหชาตะ และ นานาขณกิ ะ ทเ่ี ปน สหชาตะ ไดแก เจตนาท่ีเปนโลกุตตรธรรม เปนปจจัยแกสัมปยตุ ตขันธท ัง้ หลาย ดวยอํานาจของกมั มปจ จยั . ที่เปน นานาขณกิ ะ ไดแ ก เจตนาท่เี ปน โลกตุ ตรธรรม เปน ปจ จยั แกว บิ ากขันธท งั้ หลาย ดว ยอํานาจของกมั มปจจัย. ๓. โลกุตตรธรรม เปนปจจัยแกโลกิยธรรม ดว ยอํานาจของกมั มปจ จัย
พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 321 คอื เจตนาทเ่ี ปน โลกตุ ตรธรรม เปน ปจจยั แกจ ติ ตสมฏุ ฐานรูปทง้ั หลายดวยอํานาจของกัมมปจ จัย. ๔. โลกตุ ตรธรรม เปนปจ จัยแกโลกยิ ธรรม และโลกุตตรธรรม ดว ยอาํ นาจของกัมมปจจัย คือ เจตนาทเ่ี ปนโลกตุ ตรธรรม เปน ปจ จัยแกสมั ปยุตตขันธ และจิตตสมฏุ ฐานรปู ท้งั หลาย ดว ยอํานาจของกัมมปจ จัย. ๑๔. วิปากปจจยั [๓๑๒] ๑. โลกิยธรรม เปน ปจจยั แกโลกยิ ธรรม ดว ยอาํ นาจของวิปากปจ จยั คอื ขันธ ๑ ที่เปนโลกิยธรรม ซึ่งเปนวิบาก เปน ปจ จยั แกข ันธ ๓และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ดวยอาํ นาจของวปิ ากปจ จัย ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ ๒. โลกุตตรธรรม เปนปจจยั แกโลกตุ ตรธรรม ดวยอํานาจของวปิ ากปจ จัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๒-๔) ๑๕. อาหารปจจยั [๓๑๓] ๑. โลกิยธรรม เปนปจ จยั แกโลกยิ ธรรม ดว ยอํานาจของอาหารปจ จยั
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 322 คอื อาหารทัง้ หลายทเ่ี ปนโลกยิ ธรรม เปนปจ จยั แกส ัมปยตุ ตขนั ธและจิตตสมฏุ ฐานรปู ทงั้ หลาย ดว ยอาํ นาจของอาหารปจจยั . ในปฏิสนธิขณะ กวฬกี าราหาร เปน ปจจัยแกกายนี้ ดว ยอํานาจของอาหารปจจัย. ๒. โลกุตตรธรรม เปน ปจจยั แกโลกตุ ตรธรรม ดว ยอํานาจของอาหารปจจัย มี ๓ วาระ (วาระท่ี ๒-๔) ๑๖. อนิ ทรยิ ปจจัย [๓๑๔] ๑. โลกยิ ธรรม เปนปจจยั แกโ ลกยิ ธรรม ดวยอาํ นาจของอินทริยปจ จยั พึงกระทาํ ปฏสิ นธขิ ณะ ฯลฯ จกั ขนุ ทรยี เปนปจ จัยแกจ ักขุวญิ ญาณ ฯลฯกายินทรยี เปน ปจ จัยแกกายวญิ ญาณ ดวยอํานาจของอินทริยปจจยั . รูปชวี ติ ินทรีย เปน ปจจัยแกก ฏตั ตารปู ทง้ั หลาย ดวยอาํ นาจของอินทรยิ ปจ จัย. ๒. โลกตุ ตรธรรม เปนปจจัยแกโ ลกตุ ตรธรรม ดวยอาํ นาจของอินทรยิ ปจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๒-๔) ๑๗. ฌานปจ จยั [๓๑๕] ๑. โลกิยธรรม เปน ปจจัยแกโลกิยธรรม ดวยอํานาจของฌานปจจัย มี ๑ วาระ.
พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 323 ๒. โลกุตตรธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ (วาระท่ี ๒-๔) ๑๘. มคั คปจจัย ๑. โลกิยธรรม เปนปจ จัยแกโลกิยธรรม ดว ยอํานาจของมคั คปจจัย ในโลกิยธรรมเปน ปจ จยั มี ๑ วาระ. ในโลกุตตรธรรมเปน ปจจัย มี ๓ วาระ (วาระท่ี ๒-๔) ๑๙. สัมปยุตตปจ จัย ๑. โลกิยธรรม เปนปจ จัยแกโ ลกิยธรรม ดว ยอํานาจของสัมปยุตตปจจยั มี ๑ วาระ. ๒. โลกตุ ตรธรรม เปน ปจจยั ฯลฯ มี ๑ วาระ. ๒๐. วิปปยุตตปจจัย [๓๑๖] ๑. โลกิยธรรม เปนปจจัยแกโลกิยธรรม ดวยอาํ นาจของวิปปยตุ ตปจ จัย มี ๓ อยาง คือทเ่ี ปน สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปจ ฉาชาตะ ทเี่ ปน สหชาตะ ไดแ ก ขนั ธท ั้งหลายที่เปน โลกิยธรรม เปน ปจ จยั แกจติ ตสมฏุ ฐานรปู ทง้ั หลายดวยอาํ นาจของวิปปยตุ ตปจ จยั . ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธท ้ังหลายเปนปจจยั แกห ทยวตั ถุ ดว ยอาํ นาจของวิปปยุตตปจจยั .
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 324 หทยวัตถุ เปนปจจัยแกขันธท้งั หลาย ดวยอาํ นาจของวปิ ปยตุ ตปจจยั . ที่เปน ปุเรชาตะ ไดแก จกั ขายตนะ เปน ปจจัยแกจ กั ขวุ ญิ ญาณ ฯลฯ กายายตนะ เปน ปจ จยั แกกายวญิ ญาณ. หทยวัตถุ เปนปจจยั แกข นั ธท งั้ หลายท่ีเปน โลกยิ ธรรม ดว ยอํานาจของวปิ ปยุตตปจจัย. ที่เปน ปจ ฉาชาตะ ไดแ ก ขนั ธท ั้งหลายทเ่ี ปน โลกิยธรรมทเ่ี กดิ ภายหลัง เปนปจ จยั แกก ายนีท้ เ่ี กดิกอ น ดว ยอํานาจของวปิ ปยุตตปจ จยั . ๒. โลกิยธรรม เปน ปจ จยั แกโลกุตตรธรรม ดว ยอาํ นาจของวปิ ปยุตตปจจยั มอี ยางเดยี ว คือทีเ่ ปน ปเุ รชาตะ ไดแ ก หทยวัตถุ เปนปจจัยแกข ันธท ้งั หลายที่เปน โลกิยธรรม ดว ยอํานาจของวิปปยุตตปจ จัย. ๓. โลกตุ ตรธรรม เปน ปจจัยแกโ ลกิยธรรม ดวยอาํ นาจของวปิ ปยุตตปจ จัย มี ๒ อยาง คือท่เี ปน สหชาตะ และ ปจฉาชาตะ ท่เี ปน สหชาตะ ไดแก ขนั ธทง้ั หลายท่ีเปน โลกตุ ตรธรรม เปนปจ จัยแกจติ ตสมฏุ ฐานรปูทัง้ หลาย ดวยอํานาจของวปิ ปยุตตปจจยั .
พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 325 ที่เปน ปจ ฉาชาตะ ไดแ ก ขนั ธท้งั หลายทเี่ ปนโลกตุ ตรธรรมท่เี กิดภายหลงั เปนปจจยั แกก ายนี้ที่เกิดกอน ดวยอํานาจของวิปปยตุ ตปจ จัย. ๒๑. อตั ถปิ จจัย [๓๑๗] ๑. โลกิยธรรม เปนปจ จยั แกโ ลกิยธรรม ดวยอํานาจของอตั ถิปจ จยั มี ๕ อยาง คือที่เปน สหชาตะ ปุเรชาตะ ปจฉาชาตะ อาหาระและ อินทริยะ ทเ่ี ปน สหชาตะ ไดแ ก ขนั ธ ๑ ที่เปนโลกยิ ธรรม ท่ีเกิดพรอ มกนั เปน ปจ จยั แกขนั ธ ๓และจติ ตสมุฏฐานรปู ท้งั หลาย ฯลฯ ตลอดถึงอสญั ญสัตว. ท่ีเปน ปเุ รชาตะ ไดแก บุคคลพจิ ารณาเหน็ จกั ษุ ฯลฯ หทยวตั ถุ ฯลฯ เหมือนกบั ปเุ รชาตปจ จัย. หทยวตั ถุ เปนปจ จัยแกขนั ธท ั้งหลายทีเ่ ปนโลกยิ ธรรม ดว ยอํานาจของอัตถปิ จจัย. ทเี่ ปน ปจ ฉาชาตะ ไดแก ขันธทั้งหลายทเี่ ปนโลกิยธรรม ที่เกดิ ภายหลงั เปนปจ จยั แกก ายนี้ทีเ่ กดิ กอ น ดวยอาํ นาจของอตั ถปิ จจยั . กวฬกี าราหาร เปนปจ จยั แกกายนี้ ดวยอํานาจของอตั ถิปจ จยั .
พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 326 รูปชีวิตนิ ทรยี เปนปจ จยั แกก ฏตั ตารูปทง้ั หลาย ดว ยอาํ นาจของอัตถิปจจัย. ๒. โลกยิ ธรรม เปน ปจจยั แกโลกุตตรธรรม ดว ยอาํ นาจของอัตถิปจ จัย มอี ยางเดยี ว คือทีเ่ ปน ปเุ รชาตะ ไดแก หทยวตั ถุ ทเ่ี กดิ กอน เปนปจจัยแกข ันธท้ังหลายท่ีเปนโลกตุ ตรธรรมดวยอํานาจของอตั ถปิ จจัย. ๓. โลกุตตรธรรม เปนปจ จยั แกโ ลกุตตรธรรม ดว ยอาํ นาจของอตั ถิปจ จยั คอื ขนั ธ ๑ ทีเ่ ปน โลกตุ ตรธรรม เปน ปจ จัยแกขนั ธ ๓ ดวยอํานาจของอตั ถปิ จจัย ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ ๔. โลกุตตรธรรม เปนปจ จัยแกโลกิยธรรม ดวยอํานาจของอัตถปิ จจัย มี ๒ อยาง คือทเ่ี ปน สหชาตะ และ ปจ ฉาชาตะ ทีเ่ ปน สหชาตะ ไดแก ขันธท งั้ หลายทีเ่ ปน โลกตุ ตรธรรม ท่ีเกดิ พรอ มกนั เปนปจ จัยแกจติ ตสมฏุ ฐานรปู ทั้งหลาย ดว ยอาํ นาจของอตั ถิปจ จยั . ที่เปน ปจฉาชาตะ ไดแก ขันธท ้งั หลายที่เปน โลกตุ ตรธรรม ทีเ่ กิดภายหลงั เปน ปจจัยแกกายน้ีทเี่ กดิ กอ น ดว ยอํานาจของอตั ถปิ จจยั .
พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 327 ๕. โลกตุ ตรธรรม เปนปจ จยั แกโ ลกยิ ธรรม และโลกุตตรธรรม ดวยอํานาจของอตั ถิปจจยั คือ ขนั ธ ๑ ทเี่ ปน โลกตุ ตรธรรม เปนปจจยั แกข นั ธ ๓ และจติ ต-สมุฏฐานรปู ทง้ั หลาย ดวยอาํ นาจของอัตถปิ จจัย ฯ ฯ ขันธ ๒ ฯลฯ ๖. โลกิยธรรม และโลกตุ ตรธรรม เปน ปจ จัยแกโลกิยธรรม ดวยอํานาจของอัตถปิ จ จยั มี ๓ อยา ง คือท่ีเปน สหชาตะ, ปจ ฉาชาตะ รวมกบั อาหาระและรวมกบั อินทริยะ ท่เี ปน สหชาตะ ไดแ ก ขนั ธท งั้ หลายทเี่ ปนโลกุตตรธรรม ท่ีเกิดพรอ มกัน และมหาภตู รปูท้ังหลาย เปน ปจจยั แกจ ติ ตสมฏุ ฐานรูปทง้ั หลาย ดว ยอํานาจของอตั ถปิ จจยั . ท่ีเปน ปจฉาชาตะ รวมกบั อาหาระ ไดแ ก ขันธท ัง้ หลายท่เี ปน โลกตุ ตรธรรม ทเี่ กดิ ภายหลัง และกวฬีการาหารเปนปจ จัยแกกายนี้ ดวยอํานาจของอตั ถิปจ จยั . ทเ่ี ปน ปจ ฉาชาตะ รวมกบั อนิ ทริยะ ไดแ ก ขันธทั้งหลายท่เี ปนโลกตุ ตรธรรม ที่เกดิ ภายหลงั และรปู ชีวติ ินทรยี เปนปจ จยั แกก ฏตั ตารูปท้งั หลาย ดว ยอํานาจของอตั ถปิ จจัย. ๗. โลกยิ ธรรม และโลกตุ ตรธรรม เปน ปจจยั แกโลกตุ ตรธรรม ดว ยอาํ นาจของอตั ถปิ จ จยั มีอยางเดียว คือทเี่ ปน สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ไดแก
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 328 ขันธ ๑ ทเี่ ปนโลกุตตรธรรม ทีเ่ กิดพรอมกัน และหทยวัตถุ เปนปจจยั แกข ันธ ๓ ดวยอาํ นาจของอตั ถิปจ จัย ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ๒๒. นตั ถปิ จ จัย ฯลฯ ๒๔. อวคิ ตปจจัย ฯลฯ เปนปจ จยั ดวยอาํ นาจของนตั ถิปจ จยั , ฯลฯ เปน ปจ จยั ดวยอํานาจของวคิ ตปจ จัย, ฯลฯ เปน ปจ จัย ดวยอาํ นาจของอวิคตปจ จัย. การนับจาํ นวนวาระในอนุโลม [๓๑๘] ในเหตปุ จจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปจจัย มี ๓ วาระ ในอธปิ ติปจ จยั มี ๔ วาระ ในอนันตรปจจัย มี ๔ วาระ ในสมนนั ตรปจจยัมี ๔ วาระ ในสหชาตปจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมญั ญปจจัย มี ๒ วาระ ในนิสสยปจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนสิ สยปจ จัย มี ๔ วาระ ในปเุ รชาตปจจยัมี ๒ วาระ ในปจฉาชาตปจ จยั มี ๒ วาระ ในอาเสวนปจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปจจยั มี ๔ วาระ ในวปิ ากปจ จยั มี ๔ วาระ ในอาหารปจจัย มี ๔ วาระในอนิ ทริยปจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปจจยั มี ๔ วาระ ในมัคคปจ จยั มี ๔ วาระในสัมปยตุ ตปจ จัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปจจยัมี ๗ วาระ ในนัตถปิ จจัย มี ๔ วาระ ในวิคตปจจัย มี ๔ วาระ ในอวคิ ต-ปจ จยั มี ๗ วาระ. อนโุ ลมนัย จบ
พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 329 ปจ จนยี นัย การยกปจ จยั ในปจ จนียะ [๓๑๙] ๑. โลกยิ ธรรม เปนปจจยั แกโ ลกิยธรรม ดวยอํานาจของอารัมมณปจจยั , เปน ปจจยั ดว ยอาํ นาจของสหชาตปจจยั , เปนปจจยั ดวยอาํ นาจของอปุ นิสสยปจจยั , เปน ปจจยั ดวยอ านาจของปเุ รชาตปจ จัย, เปน ปจจยั ดว ยอํานาจของปจ ฉาชาตปจ จัย, เปนปจจัยดวยอํานาจของกัมมปจจยั , เปนปจ จัย ดว ยอาํ นาจของอาหารปจจยั ,เปนปจ จัย ดวยอาํ นาจของอินทรยิ ปจจัย. ๒. โลกยิ ธรรม เปนปจจยั แกโ ลกุตตรธรรม ดวยอํานาจของอุปนิสสยปจ จยั , เปนปจจัย ดวยอํานาจของปเุ รชาตปจจัย. ๓. โลกตุ ตรธรรม เปน ปจจัยแกโลกุตตรธรรม ดวยอํานาจของอารมั มณปจจยั , เปนปจ จัย ดวยอาํ นาจของสหชาตปจ จยั ,เปน ปจ จยั ดว ยอํานาจของอปุ นิสสยปจจยั . ๔. โลกตุ ตรธรรม เปน ปจ จัยแกโลกยิ ธรรม ดวยอํานาจของอารัมมณปจ จัย, เปนปจจยั ดวยอาํ นาจของสหชาตปจจยั ,เปนปจ จยั ดว ยอาํ นาจของอุปนิสสยปจ จัย, เปนปจ จัย ดวยอํานาจของปจฉาชาตปจจยั . ๕. โลกุตตรธรรม เปน ปจจัยแกโลกยิ ธรรม และโลกุตตรธรรม ดว ยอํานาจของสหชาตปจ จยั . ๖. โลกยิ ธรรม และโลกุ ตุ ตรธรรม เปนปจ จัยแกโลกิยธรรม ดว ยอํานาจของสหชาตปจ จัย, เปน ปจจัย ดวยอาํ นาจของ
พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 330ปจ ฉาชาตปจ จยั , เปนปจ จยั ดว ยอํานาจของอาหารปจจยั , เปนปจ จัยดวยอาํ นาจของอินทรยิ ปจ จยั . ๗. โลกิยธรรม และ โลกุตตรธรรม เปนปจจยั แกโลกุตตรธรรม ดวยอาํ นาจของสหชาตปจจัย, เปน ปจจัย ดว ยอาํ นาจของปเุ รชาตปจจัย. การนับจํานวนวาระในปจจนียะ [๓๒๐] ในนเหตปุ จจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนสมนนั ตรปจ จัย มี ๗วาระ ในนสหชาตปจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมญั ญปจ จัย มี ๕ วาระ ในน-นิสสยปจจยั มี ๕ วาระ ในนอปุ นสิ สยปจ จยั มี ๗ วาระ ในนปุเรชาตปจจัย มี๖ วาระ ในนปจ ฉาชาตปจ จัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ในนมคั คปจจัย มี ๗ วาระในนสัมปยุตตปจจัย มี ๕ วาระ ในนวปิ ปยตุ ตปจ จัย มี ๔ วาระ ในโนอัตถิปจ จยั มี ๔ วาระ ในโนนตั ถิปจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปจ จัย มี ๗ วาระในโนอวคิ ตปจจยั มี ๔ วาระ. ปจจนยี นยั จบ อนุโลมปจ จนยี นัย การนับจ านวนวาระในอนโุ ลมปจ จนยี ะ [๓๒๑] เพราะเหตุปจ จัย ในนอารมั มณปจจยั มี ๔ วาระ ฯลฯ ในนสมนนั ตรปจ จยั มี ๔ วาระ ในนอญั ญมญั ญปจจัย มี ๒ วาระ ในนอปุ นิสสย-
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 331ปจ จัย มี ๔ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปจจยั มี ๔ วาระ ในนสมั ปยุตตปจจัย มี ๒วาระ ในนวิปปยุตตปจจยั มี ๒ วาระ ในโนนตั ถปิ จจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปจ จยั มี ๔ วาระ. ปจ จนยี านโุ ลมนัย จบ ปจ จนียานโุ ลม การนับจํานวนวาระในปจจนยี านโุ ลม [๓๒๒] เพราะนเหตุปจ จยั ในอารมั มณปจ จัย มี ๓ วาระ... ในอธปิ ตปิ จจัย มี ๔ วาระ พงึ กระทําอนโุ ลมมาติกา ในอวิคตปจ จัย มี ๗ วาระ. ปจจนียานุโลมนัย จบ โลกิยทกุ ะ จบ อรรถกถาโลกยิ ทุกะเปน ตน อกี อยางหนง่ึ ทุกะเหลา น้คี อื โลกยิ ทุกะ สาสวทกุ ะ สัญโญชนียทุกะคันถนียทุกะ นวี รณยี ทุกะ ปรามัฏฐทกุ ะ สงั กเิ ลสกิ ทุกะ อาสววิปปยตุ ตสาสวทกุ ะสัญโญชนวปิ ปยตุ ตสญั โญชนยี ทกุ ะ คันถวปิ ปยุตตคนั ถนียทุกะ นีวรณวิปป-ยุตตนวี รณยี ทกุ ะ ปรามาสวิปปยุตตปรามฏั ฐทกุ ะ กเิ ลสวปิ ปยตุ ตสังกิเลสิกทุกะปริยาปนนทุกะ และสอุตตรทุกะ เหมือนกนั กิเลสทุกะเหมือนสัญโญชนทุกะสงั กลิ ิฏฐทุกะ กิเลสสัมปยุตตทุกะ นวี รณสมั ปยตุ ตทุกะ ทสั สเนนปหาตพั พทกุ ะ
พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 332และสรณทุกะ เหมือนกัน อนึ่ง กิเลสทุกะ สังกลิ ิฏฐนวี รณทกุ ะ นีวรณ-สมั ปยตุ ตกิเลสทกุ ะ และกิเลสสมั ปยตุ ตทุกะ เหมือนกนั โดยนัยนี้ ผูศกึ ษาพึงทราบวา วิสชั นาแหงทกุ ะทั้งปวงทม่ี ีเนอื้ ความเหมอื นกัน ยอมเปน เชนเดียวกันนัน่ เอง. ก็ในปฏ ฐานท้งั หมด ยอมไมไดเ กนจิวญิ เญยยทุกะ. ในทุกะอันมรี ูปอยางน้ี เหลา นค้ี ือ \" อาสวา เจว อาสวสมฺปยุตตฺ า จ, สโฺ ชนาเจว สฺโชนสมปฺ ยตุ ตฺ า จ, คนฺถา เจว คนฺถสมฺปยุตฺตา จ,นวิ รณา เจว นวี รณสมฺปยุตฺตา จ, กเิ ลสา เจว สงฺกลิ ิฏา จ \"ยอ มไมไดวปิ ากปจ จยั และนานากขณิกกมั มปจจัย. ในนเหตุสเหตุกทกุ ะนเหตอุ เหตกุ ทกุ ะ ไมมีเหตุปจ จยั . ในทกุ ะเหลานีค้ อื เหตุเหตุสมั ปยตุ ทกุ ะอาสวอาสวสัมปยตุ ตทุกะ, คันถคันถสัมปยตุ ตทกุ ะ ยอ มไมไดนเหตปุ จจัยนฌานปจจัย และ นมคั คปจ จัย. สวนในทุกะเหลานี้คอื สญั โญชน-สญั โญชนสัมปยตุ ตทุกะ, นีวรณนีวรณสัมปยตุ ตทุกะ กิเลสกิเลสสมั ปยุตตทุกะกิเลสสงั กลิ ฏิ ฐทุกะ ยอ มไดนเหตปุ จ จัย ดวยอาํ นาจแหง โมหะ ท่สี หรคตดว ยวิจกิ จิ ฉาและอุทธจั จะ ยอ มไมไ ดน ฌานปจจัย และนมัคคปจ จัย. ผศู กึ ษากาํ หนดวสิ ัชนาท่มี ไี ดแ ละมีไมไ ดใ นทกุ ะท้ังปวง ดงั อธิบายมาแลว พงึ ทราบการนับวาระดว ยอาํ นาจแหง บาลีแล. อรรถกถาทกุ ปฏฐาน จบ
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 333 ๑๓. เกนจวิ ญิ เญยยทุกะ ปฏิจจวาระ อนโุ ลมนยั [๓๒๓] ๑. เกนจิวิญเญยยธรรม อาศัยเกนจิวิญเญยยธรรมเกดิ ขึ้น เพราะเหตุปจจัย คอื ขนั ธ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศยั ขันธ ๑ ท่เี ปนเกนจิวิญเญยย-ธรรม ฯลฯ อาศัยขนั ธ ๒ ฯลฯ ในปฏสิ นธิขณะ หทยวตั ถุ อาศยั ขนั ธท้ังหลาย, ขันธท ง้ั หลาย อาศัยหทยวัตถ.ุ มหาภูตรูป ๓ อาศยั มหาภูตรปู ๑ ฯลฯ จติ ตสมฏุ ฐานรปู กฏตั ตารูป ท่ีเปน อุปาทารปู อาศยั มหาภูตรปูทง้ั หลาย. ๒. เกนจินวิญเญยยธรรม อาศยั เกนจิวิญเญยยธรรมเกดิ ขน้ึ เพราะเหตปุ จ จยั คือ ขนั ธ ๓ ท่เี ปน เกนจินวิญเญยยธรรม และจติ ตสมฏุ ฐานรูปอาศัยขันธ ๑ ท่เี ปนเกนจวิ ญิ เญยยธรรม ฯลฯ อาศยั ขนั ธ ๒ ฯลฯ ในปฏสิ นธขิ ณะ หทยวัตถุ อาศยั ขันธท ้งั หลาย, ขนั ธท ั้งหลาย อาศยัหทยวัตถ.ุ
พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 334 มหาภูตรปู ๑ ฯลฯ จิตตสมฏุ ฐานรปู กฏตั ตารปู ทีเ่ ปน อุปาทารปู อาศยั มหาภตู รูปทัง้ หลาย. ๓. เกนจิวิญเญยยธรรม และเกนจนิ วิญเญยยธรรมอาศัยเกนจวิ ญิ เญยยธรรม เกิดขนึ้ เพราะเหตุปจ จัย คือ ขนั ธ ๓ ทเ่ี ปนเกนจิวญิ เญยยธรรม, เกนจนิ วิญเญยยธรรมและจิตตสมุฏฐานรูป อาศยั ขนั ธ ๑ ทเี่ ปนเกนจนิ วญิ เญยยธรรม ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทยวตั ถุ อาศยั ขันธท้งั หลาย, ขันธทั้งหลาย อาศยัหทยวตั ถุ. มหาภูตรปู ฯลฯ จติ ตสมุฏฐานรปู กฏตั ตารปู ที่เปน อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทงั้ หลาย. ๔. เกนจินวิญเญยยธรรม อาศยั เกนจนิ วิญเญยยธรรมเกิดขนึ้ เพราะเหตุปจจัย คอื ขันธ ๓ ท่เี ปน เกนจนิ วญิ เญยยธรรม และจิตตสมฏุ ฐานรูปอาศัยขนั ธ ๑ ทเ่ี ปนเกนจินวญิ เญยยธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศยั ขนั ธท ั้งหลาย, ขนั ธท ัง้ หลาย อาศัยหทยวัตถุ. มหาภูตรปู ๑ ฯลฯ จติ ตสมฏุ ฐานรูป กฏตั ตารปู ท่เี ปน อปุ าทารูป อาศยั มหาภูตรปูทงั้ หลาย.
พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 335 ๕. เกนจวิ ิญเญยยธรรม อาศัยเกนจนิ วิญเญยยธรรมเกดิ ขน้ึ เพราะเหตปุ จ จยั คอื ขันธ ๓ ท่เี ปน เกนจวิ ิญเญยยธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขนั ธ ๑ ทเ่ี ปน เกนจินวิญเญยยธรรม ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทยวตั ถุ อาศยั ขนั ธท้งั หลาย ขันธท ้งั หลาย อาศยัหทยวัตถุ. มหาภูตรปู ๑ ฯลฯ จติ ตสมุฏฐานรปู กฏตั ตารปู ท่เี ปนอุปาทารูป อาศยั มหาภูตรปูทัง้ หลาย. ๖. เกนจวิ ิญเญยยธรรม และเกนจินวิญเญยยธรรมอาศัยเกนจนิ วญิ เญยยธรรม เกดิ ขน้ึ เพราะเหตปุ จจยั คือ ขนั ธ ๓ ทีเ่ ปนเกนจิวญิ เญยยธรรม เกนจินวญิ เญยยธรรมและจติ ตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ๑ ที่เปน เกนจนิ วญิ เญยยธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ฯลฯ ในปฏสิ นธขิ ณะ หทยวตั ถุ อาศยั ขันธท ้งั หลาย, ขนั ธท้ังหลาย อาศยัหทยวัตถ.ุ มหาภตู รปู ๑ ฯลฯ จติ ตสมฏุ ฐานรปู กฏัตตารูป ที่เปน อุปาทารูป อาศยัมหาภูตรูปท้งั หลาย. ๗. เกนจิวญิ เญยยธรรม อาศยั เกนจิวญิ เญยยธรรมและเกนจนิ วิญเญยยธรรม เกิดข้นึ เพราะเหตุปจจยั
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 336 คอื ขนั ธ ๓ ทเ่ี ปน เกนจิวญิ เญยยธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศยัขันธ ๑ ท่ีเปนเกนจิวญิ เญยยธรรม และเกนจนิ วญิ เญยยธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ในปฏสิ นธขิ ณะ หทยวตั ถุ อาศยั ขันธท ง้ั หลาย, ขนั ธทง้ั หลาย อาศยัหทยวัตถุ. มหาภูตรปู ๑ ฯลฯ จติ ตสมฏุ ฐานรปู กฏตั ตารูป ทเี่ ปน อปุ าทารปู อาศยั มหาภตู รูปทง้ั หลาย. ๘. เกนจินวญิ เญยยธรรม อาศัยเกนจิวิญเญยยธรรมและเกนจินวิญเญยยธรรม เกิดขึน้ เพราะเหตปุ จจัย คือ ขันธ ๓ ทีเ่ ปน เกนจินวิญเญยยธรรม และจติ ตสมฏุ ฐานรูป อาศยัขนั ธ ๑ ทเ่ี ปน เกนจินวิญเญยยธรรม และเกนจวิ ญิ เญยยธรรม ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธขิ ณะ หทยวัตถุ อาศยั ขันธทัง้ หลาย, ขนั ธทง้ั หลาย อาศัยหทยวตั ถุ. มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ จติ ตสมฏุ ฐานรปู กฏัตตารปู ท่ีเปนอปุ าทารูป อาศยั มหาภตู รูปทง้ั หลาย. ๙. เกนจวิ ญิ เญยยธรรม และเกนจนิ วญิ เญยยธรรมอาศยั เกนจิวิญเญยยธรรม และเกนจนิ วญิ เญยยธรรม เกดิ ข้นึ เพราะเหตุปจจัย คือ ขนั ธ ๓ ทีเ่ ปน เกนจวิ ญิ เญยยธรรม เกนจินวญิ เญยยธรรมและจิตตสมฏุ ฐานรปู อาศัยขนั ธ ๑ ทเ่ี ปน เกนจวิ ญิ เญยยธรรม และเกนจนิ วิญ-เญยยธรรม ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 337 ในปฏสิ นธขิ ณะ หทยวัตถุ อาศยั ขันธท้ังหลาย, ขันธทง้ั หลายอาศยัหทยวัตถุ. มหาภตู รูป ๑ ฯลฯ จติ ตสมุฏฐานรปู กฏัตตารูป ท่เี ปน อปุ าทารูป อาศยั มหาภตู รปูท้ังหลาย. การนับจ านวนวาระในอนโุ ลม [๓๒๙] ในเหตปุ จจยั มี ๙ วาระ ในอารัมมณปจ จยั มี ๙ วาระฯลฯ ในอวคิ ตปจ จัย มี ๙ วาระ. อนโุ ลมนัย จบ ปจ จนียนยั การนับจํานวนวาระในปจ จนยี ะ [๓๒๕] ในนเหตปุ จจยั มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปจ จยั มี ๙ วาระฯลฯ ในโนวคิ ตปจ จัย มี ๙ วาระ การนับพึงกระทาํ ใหบริบรู ณอ ยางนี้. สหชาตวาระก็ดี ปจ จัยวาระกด็ ี นสิ สยวาระกด็ ี สังสัฏฐวาระก็ดีสมั ปยุตตวาระก็ดี พึงใหพ สิ ดารอยา งน.ี้ ปจ จยวาระ พงึ แสดง หทยวตั ถุ และอายตนะหา พึงกระทําตามท่ีได. ปจจนียนัย จบ
พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 338 ปญหาวาระ อนุโลมนัย ๑. เหตุปจจัย [๓๒๖] ๑. เกนจิวญิ เญยยธรรม เปนปจจัยแกเกนจวิ ิญเญยย-ธรรม ดว ยอํานาจของเหตุปจจัย คือ เหตทุ ้ังหลายท่ีเปนเกนจวิ ิญเญยยธรรม เปนปจ จยั แกสมั ปยุตต-ขนั ธ และจติ ตสมฏุ ฐานรูปทั้งหลาย ดว ยอํานาจของเหตุปจจัย. ในปฏิสนธขิ ณะ ฯลฯ. การนบั จํานวนวาระในอนุโลม [๓๒๗] ในเหตุปจ จัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปจ จยั มี ๙ วาระฯลฯ ในอวคิ ตปจ จัย มี ๙ วาระ. อนโุ ลมนัย จบ ปจ จนียนัย การนับจ านวนวาระในปจจนียะ [๓๒๘] ในนเหตุปจจยั มี ๙ วาระ ฯลฯ ในโนวคิ ตปจจัย มี ๙ วาระ. ปจ จนยี นยั จบ การนบั ทงั้ ส่นี ัยพงึ กระทําใหบริบูรณอ ยางน.ี้ เกนจวิ ญิ เญยยทกุ ะ จบ
พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 339 ๑๔. อาสวทกุ ะ ปฏจิ จวาระ อนโุ ลมนัย ๑. เหตุปจ จยั [๓๒๙] ๑. อาสวธรรม อาศัยอาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปจ จัย คือ ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ อาศัยกามาสวะ, กามาสวะ อวิชชาสวะอาศัยทฏิ ฐาสวะ, กามาสวะ ทฏิ ฐาสวะ อาศัยอวชิ ชาสวะ, อวชิ ชาสวะ อาศยัภวาสวะ, อวชิ ชิ าสวะ อาศยั ทิฏฐาสวะ. พึงผกู จกั รนัย แมอ ยา งหนึง่ ๆ. ๒. ธรรมท่ีไมใชอ าสวธรรม อาศัยอาสวธรรม เกิดขึน้เพราะเหตปุ จ จัย คอื อาสวสัมปยุตตขนั ธท้ังหลาย และจิตตสมุฏฐานรปู อาศัยอาสวธรรม. ๓. อาสวธรรม และธรรมทไ่ี มใชอ าสวธรรม อาศัยอาสวธรรม เกดิ ขนึ้ เพราะเหตปุ จ จัย คอื ทฏิ ฐาสวะ อวิชชาสวะ สมั ปยตุ ตขนั ธ และจติ ตสมุฏฐานรปูอาศยั กามาสวะ. พงึ ผกู จักรนัย. ๔. ธรรมที่ไมใชอ าสวธรรม อาศัยธรรมทีไ่ มใ ชอาสวธรรม เกดิ ขึ้น เพราะเหตปุ จ จยั
พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 340 คือ ขนั ธ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขนั ธ ๑ ทีไ่ มใชอาสวธรรมฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ในปฏสิ นธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธท ัง้ หลาย, ขนั ธทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ. มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรปู กฏตั ตารปู ท่เี ปนอุปาทารปู อาศยั มหาภูตรปูทั้งหลาย. ๕. อาสวธรรม อาศยั ธรรมท่ไี มใชอ าสวธรรม เกิดข้นึ เพราะเหตปุ จ จัย คือ อาสวะ ๔ อาศัยขนั ธทั้งหลายทีไ่ มใชอ าสวธรรม. ๖. อาสวธรรม และธรรมท่ไี มใชอาสวธรรม อาศัยธรรมทไี่ มใ ชอาสวธรรม เกดิ ขน้ึ เพราะเหตปุ จจยั คือ ขนั ธ ๓ ท่เี ปน อาสวธรรม และจติ ตสมุฏฐานรปู อาศัยขนั ธ ๑ทไี่ มใ ชอ าสวธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ๗. อาสวธรรม อาศยั อาสวธรรม และธรรมทไี่ มใ ชอาสวธรรม เกิดขนึ้ เพราะเหตุปจ จยั คอื ทฏิ ฐาสวะ อวชิ ชาสวะ อาศัยกามาสวะ และสัมปยตุ ตขันธท ัง้ หลาย. พงึ ผกู จกั รนัย. ๘. ธรรมทไ่ี มใชอาสวธรรม อาศยั อาสวธรรม และธรรมท่ไี มใชอ าสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปจจยั คือ ขันธ ๓ และจิตตสมฏุ ฐานรูป อาศัยขันธ ๑ ที่ไมใ ชอ าสวธรรมและอาสวธรรมท้ังหลาย ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 341 ๙. อาสวธรรม และธรรมทไี่ มใชอ าสวธรรม อาศยัอาสวธรรม และธรรมที่ไมใชอาสวธรรม เกดิ ขึน้ เพราะเหตปุ จ จัย คือ ขนั ธ ๓ ทิฏฐาสวะ อวชิ ชาสวะ และจติ ตสมุฏฐานรปู อาศัยขันธ ๑ ทไ่ี มใชอ าสวธรรม และกามาสวะ ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ พงึ ผกู จักรนัย. ฯลฯ การนับจํานวนวาระในอนุโลม [๓๓๐] ในเหตปุ จจัย มี ๙ วาระ ในอารมั มณปจ จัย มี ๙ วาระในปจ จยั ทั้งปวง มี ๙ วาระ ในวปิ ากปจ จัย มี ๑ วาระ ในอาหารปจ จัย มี๙ วาระ ฯลฯ ในอวคิ ตปจจยั มี ๙ วาระ. อนโุ ลมนัย จบ ปจจนยี นัย ๑. นเหตุปจ จัย [๓๓๑] ๑. ธรรมทไ่ี มใ ชอาสวธรรม อาศัยธรรมทไี่ มใ ชอาสว-ธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปจจยั คอื ขนั ธ ๓ และจิตตสมฏุ ฐานรปู อาศัยขันธ ๑ ท่ีไมใ ชอาสวธรรมซึง่ เปนอเหตกุ ะ ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธขิ ณะ หทยวตั ถุ อาศยั ขันธท งั้ หลาย, ขนั ธท ง้ั หลายอาศยั หทยวัตถุ. มหาภตู รูป ๑ ฯลฯ ตลอดถงึ อสัญญสตั ว.
พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 342 ๒. อาสวธรรม อาศัยธรรมทีไ่ มใชอาสวธรรม เกดิ ขึ้นเพราะนเหตปุ จจัย คือ โมหะ ท่สี หรคตดว ยวจิ กิ ิจฉา ทส่ี หรคตดวยอทุ ธจั จะ อาศยัขนั ธท งั้ หลายทสี่ หรคตดวยวจิ กิ ิจฉา ที่สหรคตดว ยอทุ ธจั จะ. ๒. อารมั มณปจจยั [๓๓๒] ๑. ธรรมที่ไมใชอาสวธรรม อาศยั อาสวธรรมเกดิ ขึน้เพราะนอารมั มณปจจยั คือ จติ ตสมุฏฐานรูป อาศยั อาสวธรรมท้ังหลาย. ๒. ธรรมท่ไี มใชอาสวธรรม อาศัยธรรมทไ่ี มใชอาสวธรรม เกดิ ข้ึน เพราะนอารมั มณปจ จยั คอื จติ ตสมุฏฐานรปู อาศยั ขนั ธทง้ั หลายทีไ่ มใชอ าสวธรรม. ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศยั ขนั ธท้ังหลาย. มหาภตู รูป ฯลฯ ตลอดถงึ อสญั ญสัตว. ๓. ธรรมท่ีไมใชอาสวธรรม อาศยั อาสวธรรม และธรรมทไ่ี มใชอ าสวธรรม เกดิ ข้นึ เพราะนอารัมมณปจ จัย คอื จติ ตสมฏุ ฐานรูป อาศัยอาสวธรรม และสัมปยุตตขันธท ้ังหลาย. ฯลฯ
พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 343 การนับจาํ นวนวาระในปจจนียะ [๓๓๓] ในนเหตปุ จจยั มี ๒ วาระ ในนอารมั มณปจจัย มี ๓ วาระในนอธปิ ติปจจยั มี ๙ วาระ ในนอนันตรปจ จัย มี ๓ วาระ ในนสมนนั ตร-ปจ จัย มี ๓ วาระ ในนอญั ญมัญญปจจยั มี ๓ วาระ ในนอปุ นิสสยปจจยัมี ๓ วาระ ในนปเุ รชาตปจ จัย มี ๙ วาระ ในนปจฉาชาตปจ จยั มี ๙ วาระในนอาเสวนปจ จัย มี ๙ วาระ ในนกมั มปจ จยั มี ๓ วาระ ในนวิปากปจ จยัมี ๙ วาระ ในนอาหารปจ จัย มี ๑ วาระ ในนอินทรยิ ปจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปจ จยั มี ๑ วาระ ในนมคั คปจ จยั มี ๑ วาระ ในนสมั ปยตุ ตปจ จยัมี ๓ วาระ ในนวิปปยตุ ตปจ จยั มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปจ จัย มี ๓ วาระในโนวคิ ตปจจยั มี ๓ วาระ. ปจจนยี นัย จบ อนุโลมปจ จนียนยั การนับจํานวนวาระในอนุโลมปจจนียะ [๓๓๔] เพราะเหตปุ จจยั ในนอารัมมณปจ จยั มี ๓ วาระ... ในนอธปิ ติปจจยั มี ๙ วาระ ในนอนันตรปจ จยั มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปจ จยัมี ๓ วาระ ในนอญั ญมญั ญปจจยั มี ๓ วาระ ในนอปุ นิสสยปจจัย มี ๓ วาระในนปุเรชาตปจ จัย มี ๙ วาระ ในนปจ ฉาชาตปจ จยั มี ๙ วาระ ในนอาเสวน-ปจจัย มี ๙ วาระ ในนกมั มปจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปจ จัย มี ๙ วาระ
พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 344ในนสมั ปยุตตปจ จยั มี ๓ วาระ ในนวปิ ปยุตตปจจัย มี ๙ วาระ ในโนนตั ถ-ิปจ จัย มี ๓ วาระ ในโนวคิ ตปจจัย มี ๓ วาระ. อนุโลมปจจนยี นยั จบ ปจจนียานุโลมนัย การนับจาํ นวนวาระในปจจนยี านุโลม [๓๓๕] เพราะนเหตุปจ จยั ในอารัมมณปจจยั มี ๒ วาระ... ในอนันตรปจ จัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในวิปากปจ จยั มี ๑ วาระ ในมคั คปจ จัย มี ๑วาระ ฯลฯ ในอวคิ ตปจจัย มี ๒ วาระ. ปจจนียานุโลมนยั จบ สหชาตวาระ เหมือนกบั ปฏจิ จวาระ.
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 345 ปจจยวาระ อนโุ ลมนัย ๑. เหตปุ จ จยั [๓๓๖] ๑. อาสวธรรม อาศยั อาสวธรรม เกิดขึน้ เพราะเหตุปจ จยั อาสวมูลกนัย มี ๓ วาระ เหมอื นกับ ปฏิจจวาระ (วาระที่ ๑-๓) ๔. ธรรมทไ่ี มใ ชอาสวธรรม อาศัยธรรมท่ไี มใชอาสว-ธรรม เกดิ ข้นึ เพราะเหตุปจ จยั คือ ขนั ธ ๓ และจติ ตสมุฏฐานรูป อาศยั ขนั ธ ๑ ทีไ่ มใ ชอาสวธรรมฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ ในปฏสิ นธิขณะ หทยวตั ถุ อาศัยขนั ธท งั้ หลาย ขนั ธท ั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ. จติ ตสมฏุ ฐานรูป กฏัตตารปู ที่เปน อปุ าทารูป อาศยั มหาภูตรูปทั้งหลาย. ขนั ธท ้ังหลายท่ไี มใ ชอาสวธรรม อาศัยหทยวัตถุ. ๕. อาสวธรรม อาศยั ธรรมทไ่ี มใ ชอาสวธรรม เกิดขึ้นเพราะเหตปุ จจยั คือ อาสวธรรมทัง้ หลาย อาศยั ขนั ธทั้งหลายทไี่ มใ ชอ าสวธรรม. อาสวธรรมท้งั หลาย อาศัยหทยวตั ถุ.
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 346 ๖. อาสวธรรม และธรรมที่ไมใ ชอาสวธรรม อาศยัธรรมท่ไี มใชอ าสวธรรม เกดิ ขน้ึ เพราะเหตปุ จจัย คอื ขันธ ๓ ท่เี ปน อาสวธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขนั ธ ๑ท่ีไมใ ชอ าสวธรรม ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ อาสวธรรม และสัมปยตุ ตขนั ธท ้ังหลายอาศัยหทยวัตถุ. ๗. อาสวธรรม อาศยั อาสวธรรม และธรรมทไ่ี มใ ชอาสวธรรม เกดิ ขนึ้ เพราะเหตุปจ จัย คือ ทฏิ ฐาสวะ อวิชชาสวะ อาศัยกามาสวะ และสมั ปยุตตขันธทัง้ หลาย. พงึ ผกู จกั รนยั . ทิฏฐาสวะ อวชิ ชาสวะ อาศัยกามาสวะ และหทยวัตถ.ุ พึงผกู จักรนัย. ๘. ธรรมทไี่ มใ ชอ าสวธรรม อาศยั อาสวธรรม และธรรมทไ่ี มใ ชอ าสวธรรม เกิดขน้ึ เพราะเหตปุ จ จัย คือ ขันธ ๓ และจิตตสมฏุ ฐานรปู อาศยั ขนั ธ ๑ ท่ีไมใชอาสวธรรมและอาสวธรรมทงั้ หลาย ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ขนั ธท ง้ั หลายที่ไมใ ชอ าสวธรรมอาศยั อาสวธรรม และหทยวตั ถุ. ๙. อาสวธรรม และธรรมท่ีไมใ ชอ าสวธรรม อาศยัอาสวธรรม และธรรมทีไ่ มใ ชอาสวธรรม เกิดข้นึ เพราะเหตุปจ จัย คือ ขนั ธ ๓ ทิฏฐาสวะ อวชิ ชาสวะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศยัขันธ ๑ ท่ไี มใ ชอาสวธรรม และกามาสวะ ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ
พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 347 พึงผูกจักรนัย. ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ และสมั ปยตุ ตขันธทั้งหลาย อาศยั กามาสวะและหทยวัตถุ. พงึ ผกู จักรนยั . ฯลฯ การนบั จาํ นวนวาระในอนุโลม [๓๓๗] ในเหตปุ จ จัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปจจยั มี ๙ วาระ ในอธิปตปิ จ จยั มี ๙ วาระ ฯลฯ ในวิปากปจจยั มี ๑ วาระ ฯลฯ ในวคิ ตปจจัยมี ๙ วาระ. อนุโลมนัย จบ ปจจนยี นยั ๑. นเหตปุ จจัย [๓๓๘] ๑. ธรรมทีไ่ มใชอ าสวธรรม อาศยั ธรรมทไ่ี มใชอาสวธรรม เกิดข้ึน เพราะนเหตุปจจยั คือ ขันธ ๓ และจิตตสมฏุ ฐานรปู อาศยั ขนั ธ ๑ ทีไ่ มใ ชอาสวธรรมซ่ึงเปนอเหตกุ ะ ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ในอเหตกุ ปฏิสนธิขณะ ตลอดถงึ อสัญญสัตว. จกั ขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวญิ ญาณ อาศัยกายายตนะ. ขนั ธทั้งหลายท่ีไมใชอาสวธรรม ซ่งึ เปน อเหตกุ ะ อาศยั หทยวัตถ.ุ
พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 348 ๒. อาสวธรรม อาศยั ธรรมท่ไี มใชอ าสวธรรม เกดิ ขึ้นเพราะนเหตปุ จจัย คือ โมหะ ท่สี หรคตดว ยวิจิกจิ ฉา ท่ีสหรคตดวยอุทธัจจะ อาศยัขนั ธทั้งหลายท่สี หรคตดว ยวจิ กิ ิจฉา ทีส่ หรคตดวยอทุ ธัจจะ และหทยวตั ถ.ุ ฯลฯ การนบั จํานวนวาระในปจจนียะ [๓๓๙] ในนเหตุปจจยั มี ๒ วาระ ในนอารัมมณปจจยั มี ๓ วาระในนอธิปติปจจยั มี ๙ วาระ ฯลฯ ในนกัมมปจ จยั มี ๓ วาระ ฯลฯ ในน-วปิ ปยุตตปจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปจ จยั มี ๓ วาระ ในโนวคิ ตปจ จยั มี๓ วาระ. การนบั ท้ังปวง พงึ นบั อยางน้.ี นสิ สยวาระ เหมือนกบั ปจ จยวาระ.
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 349 สงั สัฏฐวาระ อนโุ ลมนัย ๑. เหตุปจจยั [๓๔๐] ๑. อาสวธรรม เจือกับอาสวธรรม เกดิ ขึน้ เพราะเหตปุ จจัย คือ ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ เจอื กบั กามาสวะ. พึงผูกจักรนัย. ฯลฯ การนับจํานวนวาระในอนุโลม [๓๔๑] ในเหตปุ จ จยั มี ๙ วาระ ในอารมั มณปจ จยั มี ๙ วาระในปจจยั ทัง้ ปวง มี ๙ วาระ ในวิปากปจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปจ จยั มี ๙วาระ. ปจจนียนัย การนับจาํ นวนวาระในปจ จนยี ะ [๓๔๒] ในนเหตปุ จ จัย มี ๒ วาระ ในนอธปิ ตปิ จ จัย มี ๙ วาระในนปเุ รชาตปจ จยั มี ๙ วาระ ในนปจฉาชาตปจ จัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวน-
พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 350ปจจัย มี ๙ วาระ ในนกมั มปจ จยั มี ๓ วาระ ในนวิปากปจจยั มี ๙ วาระในนฌานปจจยั มี ๑ วาระ ในนมัคคปจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปจจยัมี ๙ วาระ. การนับก็ดี สมั ปยตุ ตวาระกด็ ี เหมือนกบั สังสฏั ฐวาระ.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 656
- 657
- 658
- 659
- 660
- 661
- 662
- 663
- 664
- 665
- 666
- 667
- 668
- 669
- 670
- 671
- 672
- 673
- 674
- 675
- 676
- 677
- 678
- 679
- 680
- 681
- 682
- 683
- 684
- 685
- 686
- 687
- 688
- 689
- 690
- 691
- 692
- 693
- 694
- 695
- 696
- 697
- 698
- 699
- 700
- 701
- 702
- 703
- 704
- 705
- 706
- 707
- 708
- 709
- 710
- 711
- 712
- 713
- 714
- 715
- 716
- 717
- 718
- 719
- 720
- 721
- 722
- 723
- 724
- 725
- 726
- 727
- 728
- 729
- 730
- 731
- 732
- 733
- 734
- 735
- 736
- 737
- 738
- 739
- 740
- 741
- 742
- 743
- 744
- 745
- 746
- 747
- 748
- 749
- 750
- 751
- 752
- 753
- 754
- 755
- 756
- 757
- 758
- 759
- 760
- 761
- 762
- 763
- 764
- 765
- 766
- 767
- 768
- 769
- 770
- 771
- 772
- 773
- 774
- 775
- 776
- 777
- 778
- 779
- 780
- 781
- 782
- 783
- 784
- 785
- 786
- 787
- 788
- 789
- 790
- 791
- 792
- 793
- 794
- 795
- 796
- 797
- 798
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 700
- 701 - 750
- 751 - 798
Pages: