Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_88

tripitaka_88

Published by sadudees, 2017-01-10 01:17:04

Description: tripitaka_88

Search

Read the Text Version

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 501 คือ เหตทุ ง้ั หลายที่เปน สัญโญชนวปิ ปยตุ ตธรรม เปนปจจัยแกสมั ปยตุ ตขันธ และจิตตสมุฏฐานรูปทงั้ หลาย ดว ยอํานาจของเหตุปจ จยั . โมหะ ทีส่ หรคตดวยอุทธัจจะ เปน ปจจยั แกจ ติ ตสมุฏฐานรูปท้งั หลายดว ยอาํ นาจของเหตปุ จ จยั . ปฏสิ นธิ ฯลฯ ๕. สญั โญชนวิปปยตุ ตธรรม เปนปจ จยั แกส ัญโญชน-สมั ปยตุ ตธรรม ดว ยอาํ นาจของเหตปุ จจยั คือ โมหะ ที่สหรคตดวยอทุ ธจั จะ เปน ปจจยั แกส ัมปยุตตขนั ธท งั้ หลายดว ยอาํ นาจของเหตปุ จจัย. ๖. สัญโญชนวปิ ปยุตตธรรม เปนปจจัยแกส ญั โญชน-สมั ปยุตตธรรม และสัญโญชนวิปปยุตตธรรม ดวยอาํ นาจของเหตุปจ จยั คอื โมหะ ที่สหรคตดวยอุทธัจจะ เปนปจจยั แกสัมปยุตตขันธ และจติ ตสมฏุ ฐานรปู ทงั้ หลาย ดว ยอาํ นาจของเหตปุ จจยั . ๒. อารัมมณปจจยั [๔๖๕] ๑. สญั โญชนสัมปยตุ ตธรรม เปนปจจัยแกสญั โญชน-สัมปยุตตธรรม ดวยอาํ นาจของอารมั มณปจจัย คอื เพราะปรารภขันธท ั้งหลายท่เี ปนสัญโญชนสมั ปยตุ ตธรรม ขันธทั้งหลายที่เปน สัญโญชนสมั ปยุตตธรรม ยอมเกดิ ข้ึน. พึงกระทาํ มลู (วาระที่ ๒)

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 502 เพราะปรารภขันธทง้ั หลายทีเ่ ปน สญั โญชนสัมปยุตตธรรม ขันธทัง้ หลายที่เปนสัญโญชนวปิ ปยุตตธรรม และโมหะ ยอ มเกดิ ข้ึน. พึงกระทํามลู (วาระที่ ๓) เพราะปรารภขนั ธทั้งหลายทเ่ี ปน สญั โญชนสมั ปยุตตธรรม ขนั ธทง้ั หลายทีส่ หรคตดว ยอุทธัจจะ และโมหะ ยอมเกิดข้ึน. ๔. สญั โญชนวิปปยุตตธรรม เปน ปจจัยแกส ัญโญชน-วิปปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของอารัมมณปจ จยั คือ บุคคลใหท าน สมาทานศีล ฯลฯ อโุ บสถกรรม ฯลฯ แลวพิจารณาซงึ่ กศุ ลกรรมนน้ั . บุคคลพจิ ารณากุศลกรรมท้งั หลายที่เคยสั่งสมไวแ ลวในกาลกอน. บุคคลออกจากฌานแลว พจิ ารณาฌาน. พระอริยะท้งั หลายออกจากมรรคแลว พจิ ารณามรรค, พจิ ารณาผล,พจิ ารณานพิ พาน. นพิ พาน เปนปจ จัยแกโคตรภู, แกโ วทาน, แกมรรค, แกผล, แกอาวชั ชนะ ดวยอาํ นาจของอารัมมณปจ จัย. พระอรยิ ะท้ังหลายพจิ ารณากเิ ลสท่ลี ะแลว ทเี่ ปนสัญโญชนวิปปยุตต-ธรรม พจิ ารณากเิ ลสท่ขี ม แลว รซู ง่ึ กเิ ลสทัง้ หลายท่เี คยเกิดข้นึ แลว ในกาลกอน. บุคคลพิจารณาเหน็ จักษุ ฯลฯ หทยวตั ถุ ขันธท้งั หลายทเี่ ปนสญั โญชนวิปปยตุ ตธรรม และโมหะ โดยความเปน ของไมเ ทยี่ ง ฯลฯ บุคคลเหน็ รปู ดว ยทิพยจักษ,ุ ฟง เสยี งดว ยทิพโสตธาตุ.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 503 บุคคลรจู ิตของบคุ คลผพู รอมเพรียงดวยจติ ท่เี ปนสญั โญชนวปิ ปยุตต-ธรรม ดวยเจโตปรยิ ญาณ. อากาสานญั จายตนะ เปน ปจ จัยแกวิญญาณญั จายตนะ. รปู ายตนะ ฯลฯ โผฏฐพั พายตนะ ฯลฯ ขนั ธทง้ั หลายทีเ่ ปน สญั โญชนวิปปยุตตธรรม เปนปจจัยแกอิทธิวิธญาณแกเจโตปรยิ ญาณ แกบุพเพนวิ าสานุสสติญาณ แกยถากัมมูปคญาณ แกอนาคตงั สญาณ แกอ าวชั ชนะ ดว ยอํานาจของอารมั มณปจ จยั . ๕. สัญโญชนวปิ ปยุตตธรรม เปน ปจจัยแกส ัญโญชน-สัมปยตุ ตธรรม ดวยอาํ นาจของอารัมมณปจจยั คอื บคุ คลใหทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อโุ บสถกรรม ฯลฯ กศุ ลกรรมท้งั หลายทีเ่ คยสง่ั สมไวแ ลว ในกาลกอ น ฯลฯ ออกจากฌานแลว ฯลฯ บคุ คลพิจารณาซ่ึงจกั ษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขนั ธทัง้ หลายทีเ่ ปน สญั โญ-ชนวิปปยตุ ตธรรม และโมหะ ฯลฯ ยอมยินดี ยอมเพลดิ เพลินย่ิง เพราะปรารภซ่งึ จกั ษุเปน ตนนัน้ ราคะ ยอมเกิดข้ึน โทมนัส ยอมเกิดขนึ้ . ๖. สญั โญชนวปิ ปยุตตธรรม เปน ปจ จัยแกสัญโญชน-สมั ปยุตตธรรม และสัญโญชนวิปปยุตตธรรม ดวยอํานาจของอารัมมณปจจยั คอื เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธท ้งั หลายทเี่ ปนสญั โญชน-วิปปยตุ ตธรรม และโมหะ ขันธท ัง้ หลายทีส่ หรคตดว ยอุทธัจจะ และโมหะยอมเกิดขึน้ .

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 504 ๗. สัญโญชนสมั ปยุตตธรรม และสัญโญชนวิปปยตุ ต-ธรรม เปนปจจัยแกสัญโญชนสัมปยุตตธรรม ดว ยอํานาจของอารมั มณปจจยั คอื เพราะปรารภขนั ธท ้ังหลายที่สหรคตดวยอุทธัจจะ และโมหะ ขนั ธทัง้ หลายทเ่ี ปน สญั โญชนสมั ปยุตตธรรม ยอ มเกดิ ข้นึ . พึงกระทํามูล (วาระท่ี ๘) เพราะปรารภขนั ธท ้ังหลายทีส่ หรคตดวยอุทธจั จะ และโมหะ ขันธท้ังหลายที่เปนสญั โญชนวปิ ปยุตตธรรม และโมหะ ยอมเกดิ ขนึ้ . พึงกระทาํ มูล (วาระที่ ๙) เพราะปรารภขนั ธท ั้งหลายที่สหรคตดวยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธทง้ั หลายท่ีสหรคตดวยอทุ ธจั จะ และโมหะ ยอมเกิดขนึ้ . ๓. อธิปติปจจัย [๔๖๖] ๑. สญั โญชนสมั ปยตุ ตธรรม เปนปจจยั แกสัญโญชน-สมั ปยตุ ตธรรม ดว ยอํานาจของอธปิ ติปจ จัย มี ๒ อยา ง คอื ท่ีเปน อารมั มณาธปิ ติ และ สหชาตาธิปติ ท่ีเปน อารมั มณาธปิ ติ ไดแก บคุ คลยอ มยนิ ดี ยอ มเพลิดเพลนิ ย่งิ เพราะกระทํา ราคะ ฯลฯ ทฏิ ฐิใหเปนอารมณอ ยา งหนกั แนน แลว ครนั้ กระทาํ ราคะเปนตน น้นั ใหเ ปนอารมณอยา งหนกั แนนแลว ราคะ ยอมเกดิ ขน้ึ ทฏิ ฐิ ยอมเกดิ ขนึ้ .

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 505 ท่ีเปน สหชาตาธิปติ ไดแก อธิปติธรรมท่ีเปนสัญโญชนสมั ปยุตตธรรม เปนปจจัยแกสมั ปยตุ ตขันธท้ังหลาย ดว ยอ านาจของอธปิ ติปจ จัย. ๒. สญั โญชนสมั ปยุตตธรรมเปนปจจยั แกส ญั โญชน-วปิ ปยตุ ตธรรม ดว ยอาํ นาจของอธปิ ติปจจัย มอี ยางเดยี ว คอื ทเี่ ปน สหชาตาธิปติ ไดแ ก อธิปติธรรมที่เปนสญั โญชนสมั ปยุตตธรรม เปน ปจ จัยแกจ ติ ต-สมฏุ ฐานรูปท้ังหลาย ดว ยอาํ นาจของอธิปตปิ จจยั . ๓. สญั โญชนสัมปยตุ ตธรรม เปนปจจัยแกส ัญโญชน-สัมปยตุ ตธรรม และสัญโญชนวิปปยตุ ตธรรม ดวยอาํ นาจของอธิปตปิ จจยั มีอยา งเดยี ว คือทีเ่ ปน สหชาตาธิปติ ไดแ ก อธิปตธิ รรมทเ่ี ปน สัญโญชนสัมปยตุ ตธรรม เปนปจจยั แกสัมปยุตตขนั ธและจติ ตสมุฏฐานรปู ท้ังหลาย ดวยอาํ นาจของอธปิ ตปิ จ จยั . ๔. สัญโญชนวิปปยตุ ตธรรม เปนปจจยั แกสญั โญชน-วปิ ปยุตตธรรม ดวยอาํ นาจของอธปิ ตปิ จจัย มี ๒ อยา ง คือท่ีเปน อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธปิ ติ ที่เปน อารมั มณาธิปติ ไดแก บุคคลใหทาน ฯลฯ ศลี ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ แลว กระทาํกุศลกรรมนน้ั ใหเปนอารมณอ ยา งหนกั แนนแลว พิจารณา.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 506 พิจารณากศุ ลกรรมทง้ั หลายที่เคยส่งั สมไวแลวในกาลกอ น ฯลฯ ออกจากฌานแลว ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ ผล ฯลฯ นพิ พาน ฯลฯ นพิ พาน เปน ปจ จัยแกโ คตรภ,ู แกโ วทาน, แกม รรค, แกผ ล, ดวยอาํ นาจของอธิปติปจ จยั . ที่เปน สหชาตาธปิ ติ ไดแ ก อธิปตธิ รรมท่เี ปน สญั โญชนวิปปยตุ ตธรรม เปน ปจจยั แกสัมปยตุ ตขนั ธและจติ ตสมุฏฐานรปู ท้งั หลาย ดว ยอาํ นาจของอธิปตปิ จ จยั . ๕. สญั โญชนวิปปยตุ ตธรรม เปน ปจจยั แกส ญั โญชน-สมั ปยุตตธรรม ดว ยอาํ นาจของอธิปติปจ จยั มอี ยางเดียว คือท่ีเปน อารมั มณาธิปติ ไดแก บุคคลใหทานแลว ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทาํ อโุ บสถกรรม แลว ยอมยนิ ดียอมเพลดิ เพลนิ ย่ิง เพราะกระทํากุศลกรรมนนั้ ใหเ ปน อารมณอ ยางหนกั แนนคร้นั กระทาํ ทานเปนตน นัน้ ใหเปนอารมณอยา งหนกั แนน แลว ราคะ ยอ มเกิดขน้ึ ทฏิ ฐิ ยอมเกิดขน้ึ . พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายทีเ่ คยสัง่ สมไวแลว ในกาลกอ น ฯลฯ ออกจากฌานแลว ฯลฯ บุคคลยอ มยินดี ยอ มเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทาํ จกั ษุ ฯลฯ หทยวัตถุขันธทง้ั หลายทเี่ ปน สัญโญชนวิปปยตุ ตธรรม ใหเปน อารมณอยางหนกั แนนครั้นกระทําจักษเุ ปน ตน นนั้ ใหเ ปนอารมณอยา งหนกั แนน แลว ราคะ ยอมเกดิข้ึน ทิฏฐิ ยอ มเกิดขน้ึ .

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 507 ๔. อนนั ตรปจจัย [๔๖๗] ๑. สัญโญชนสมั ปยุตตธรรมเปน ปจจัยแกสัญโญชน-สัมปยุตตธรรม ดวยอํานาจของอนนั ตรปจ จยั คอื ขันธทงั้ หลายที่เปน สญั โญชนสัมปยตุ ตธรรม ทเ่ี กิดกอน ๆ เปนปจ จยั แกขันธทั้งหลายที่เปน สญั โญชนสัมปยุตตธรรม ท่เี กดิ หลงั ๆ ดว ยอาํ นาจของอนันตรปจ จยั . ๒. สญั โญชนสมั ปยตุ ตธรรม เปน ปจ จยั แกสัญโญชน-วปิ ปยตุ ตธรรม ดวยอาํ นาจของอนนั ตรปจ จยั คอื ขนั ธทั้งหลายที่สหรคตดวยอทุ ธัจจะ ทีเ่ กิดกอ น ๆ เปน ปจ จยั แกโมหะ ท่ีสหรคตดวยอทุ ธัจจะ ทเ่ี กดิ หลัง ๆ ดวยอาํ นาจของอนันตรปจ จยั . ขันธท ้งั หลายที่เปนสญั โญชนสมั ปยตุ ตธรรม เปนปจจัยแกว ฏุ ฐานะดว ยอาํ นาจของอนันตรปจจัย. ๓. สัญโญชนสมั ปยตุ ตธรรม เปน ปจ จัยแกสญั โญชน-สัมปยุตตธรรม และสัญโญชนวปิ ปยุตตธรรม ดวยอาํ นาจของอนนั ตรปจจัย คอื ขนั ธท้งั หลายท่ีสหรคตดวยอทุ ธจั จะ ท่เี กิดกอน ๆ เปน ปจ จัยแกขันธท้ังหลายท่สี หรคตดวยอทุ ธัจจะ ท่ีเกดิ หลัง ๆ และโมหะ ดวยอ านาจของอนนั ตรปจ จยั . ๔. สัญโญชนวปิ ปยตุ ตธรรม เปน ปจ จยั แกสัญโญชน-วปิ ปยตุ ตธรรม ดว ยอํานาจของอนนั ตรปจจัย

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 508 คือ โมหะ ท่สี หรคตดวยอุทธัจจะ ที่เกดิ กอน ๆ เปนปจ จยั แก โมหะทสี่ หรคตดวยอทุ ธัจจะ ที่เกดิ หลงั ๆ ดวยอํานาจของอนันตรปจ จยั . ขันธท ้ังหลายท่ีเปน สัญโญชนวิปปยตุ ตธรรม ทีเ่ กดิ กอ น ๆ เปนปจ จัยแก ฯลฯ ท่ีเกดิ หลงั ๆ ฯลฯ แกผ ลสมาบตั ิ ดว ยอาํ นาจของอนนั ตรปจจัย. ๕. สัญโญชนวิปปยตุ ตธรรม เปน ปจ จยั แกสญั โญชน-สมั ปยตุ ตธรรม ดว ยอาํ นาจของอนนั ตรปจจัย คือ โมหะ ทส่ี หรคตดว ยอุทธจั จะ ทเ่ี กดิ กอน ๆ เปน ปจจัยแกข ันธทงั้ หลายทส่ี หรคตดว ยอุทธัจจะ ทเ่ี กิดหลัง ๆ ดว ยอํานาจของอนันตรปจ จยั . อาวชั ชนะ เปน ปจ จัยแกขนั ธท งั้ หลายทเ่ี ปน สญั โญชนสัมปยตุ ตธรรมดวยอาํ นาจของอนันตรปจจยั . ๖. สัญโญชนวปิ ปยตุ ตธรรม เปน ปจจัยแกสญั โญชน-สมั ปยุตตธรรม และสญั โญชนวิปปยุตตธรรม ดวยอาํ นาจของอนนั ตรปจ จัย คือ โมหะ ทสี่ หรคตดว ยอทุ ธจั จะ ท่เี กิดกอ น ๆ เปน ปจจัยแกขันธทัง้ หลายทส่ี หรคตดว ยอทุ ธัจจะ ทเ่ี กดิ หลงั ๆ และโมหะ ดวยอาํ นาจของอนนั ตรปจจยั . อาวัชชนะ เปน ปจจยั แกขันธท งั้ หลายทีส่ หรคตดวยอุทธจั จะ และโมหะ ดวยอํานาจของอนันตรปจ จัย. ๗. สญั โญชนสัมปยุตตธรรม และสัญโญชนวปิ ปยตุ ต-ธรรม เปน ปจจัยแกส ัญโญชนสัมปยตุ ตธรรม ดว ยอาํ นาจของอนนั ตรปจ จยั

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 509 คือ ขันธทง้ั หลายทสี่ หรคตดว ยอุทธัจจะ ทเี่ กิดกอน ๆ และโมหะเปนปจจัยแกขันธท ัง้ หลายท่สี หรคตดวยอุทธัจจะ ทีเ่ กดิ หลงั ๆ ดว ยอํานาจของอนันตรปจ จัย. ๘. สัญโญชนสมั ปยุตตธรรมและสัญโญชนวิปปยุตต-ธรรม เปน ปจ จยั แกสญั โญชนวิปปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของอนนั ตรปจ จัย คือ ขนั ธท ง้ั หลายทสี่ หรคตดว ยอุทธัจจะ ทเี่ กดิ กอน ๆ และโมหะเปน ปจ จัยแกโ มหะ ที่สหรคตดว ยอุทธัจจะ ทเ่ี กิดหลัง ๆ ดว ยอาํ นาจของอนันตรปจ จยั . ขันธท ง้ั หลายทส่ี หรคตดว ยอุทธจั จะ และโมหะ เปน ปจ จัยแกว ุฏฐานะดวยอาํ นาจของอนันตรปจ จยั . ๙. สัญโญชนสมั ปยุตตธรรมและสัญโญชนวิปปยุตต-ธรรม เปน ปจ จัยแกสญั โญชนสมั ปยตุ ตธรรม และสญั โญชน-วิปปยตุ ตธรรม ดวยอาํ นาจของอนนั ตรปจ จยั คือ ขนั ธท ั้งหลายที่สหรคตดว ยอทุ ธัจจะ ทีเ่ กิดกอ น ๆ และโมหะเปนปจ จยั แกขนั ธทัง้ หลายทีส่ หรคตดว ยอทุ ธจั จะ ท่ีเกิดหลัง ๆ และโมหะดว ยอํานาจของอนันตรปจ จยั . ๕. สมนนั ตรปจ จัย ๑. สญั โญชนสมั ปยุตตธรรม เปนปจจยั แกส ัญโญชน-สมั ปยุตตธรรม ดวยอํานาจของสมนันตรปจ จัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 510 ๖. สหชาตปจ จยั ฯลฯ ๘. นสิ สยปจจยั ฯลฯ เปนปจจัย ดว ยอาํ นาจของสหชาตปจจยั มี ๙ วาระ. ฯลฯ เปน ปจ จัย ดว ยอํานาจของอญั ญมัญญปจ จัย มี ๖ วาระ. ฯลฯ เปนปจจัย ดวยอาํ นาจของนิสสยปจจัย มี ๙ วาระ. ๙. อปุ นสิ สยปจ จยั [๔๖๘] ๑. สญั โญชนสัมปยตุ ตธรรม เปนปจจัยแกส ัญโญชน-สมั ปยุตตธรรม ดวยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจจัย มี ๓ อยาง คอื ทเ่ี ปน อารมั มณปู นิสสยะ อนนั ตรูปนสิ สยะ และปกตูปนสิ สยะ ทีเ่ ปน ปกตปู นสิ สยะ ไดแก ขนั ธท ้งั หลายท่เี ปนสญั โญชนสมั ปยตุ ตธรรม เปน ปจจัยแกขนั ธทงั้ หลายที่เปน สัญโญชนสมั ปยุตตธรรม ดวยอาํ นาจของอุปนสิ สยปจจัย. ๒. สัญโญชนสัมปยุตตธรรม เปน ปจจัยแกส ญั โญชน-วิปปยุตตธรรม ดว ยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจ จัย มี ๒ อยา ง คอื ทีเ่ ปน อนนั ตรปู นสิ สยะ และ ปกตูปนิสสยะ ทเี่ ปน ปกตูปนสิ สยะ ไดแ ก ขนั ธทัง้ หลายท่ีเปนสัญโญชนสมั ปยตุ ตธรรม เปน ปจจัยแกขนั ธทงั้ หลายที่เปนสัญโญชนวปิ ปยุตตธรรม และโมหะ ดวยอํานาจของอปุ นิสสย-ปจจัย.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 511 ๓. สัญโญชนสัมปยตุ ตธรรม เปน ปจจัยแกสัญโญชน-สมั ปยตุ ตธรรม และสัญโญชนวปิ ปยุตตธรรม ดว ยอาํ นาจของอปุ นิสสยปจ จัย มี ๒ อยา ง คือที่เปน อนันตรปู นิสสยะ และ ปกตปู นิสสยะ ท่เี ปน ปกตปู นสิ สยะ ไดแก ขันธท งั้ หลายทเี่ ปน สญั โญชนสมั ปยตุ ตธรรม เปน ปจ จยั แกขันธทั้งหลายท่ีสหรคตดวยอทุ ธจั จะ และโมหะ ดวยอํานาจของอุปนิสสยปจจยั . ๔. สัญโญชนวปิ ปยตุ ตธรรม เปน ปจ จยั แกส ัญโญชน-วปิ ปยตุ ตธรรม ดว ยอาํ นาจของอปุ นิสสยปจ จัย มี ๓ อยาง คอื ท่ีเปน อารมั มณูปนสิ สยะ อนันตรปู นสิ สยะ และปกตปู นสิ สยะ ท่ีเปน ปกตูปนสิ สยะ ไดแ ก บคุ คลเขาไปอาศยั ศรทั ธาแลว ใหท าน ฯลฯ ยงั สมาบัติใหเ กดิ ข้นึ . บุคคลเขาไปอาศยั ศีล ฯลฯ ปญ ญา สุขทางกาย ทุกขทางกายเสนาสนะ ฯลฯ โมหะแลว ใหท าน ฯลฯ ยงั สมาบตั ิใหเ กิดข้ึน. ศรทั ธา ฯลฯ เสนาสนะ และโมหะ เปน ปจจัยแกศ รทั ธา ฯลฯ แกผลสมาบตั ิ ดวยอํานาจของอปุ นสิ สยปจ จยั . ๕. สญั โญชนวปิ ปยตุ ตธรรม เปนปจจัยแกสญั โญชน-สัมปยตุ ตธรรม ดว ยอาํ นาจของอปุ นิสสยปจจยั มี ๓ อยาง คอื ท่ีเปน อารมั มณปู นิสสยะ อนนั ตรปู นิสสยะ และปกตูปนิสสยะ

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 512 ท่เี ปน ปกตปู นสิ สยะ ไดแ ก บุคคลเขา ไปอาศัยศรัทธาแลว กอ มานะ ถอื ทิฏฐิ. บุคคลเขา ไปอาศยั ศลี ฯลฯ ปญญา สขุ ทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯโมหะ แลว ฆาสัตว ฯลฯ ทาํ ลายสงฆ. ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ และโมหะ เปนปจจัยแก ราคะ ฯลฯ แกความปรารถนา ดว ยอํานาจของอปุ นสิ สยปจจยั . ๖. สัญโญชนวปิ ปยตุ ตธรรม เปน ปจจยั แกส ัญโญชน-สมั ปยุตตธรรม และสญั โญชนวปิ ปยุตตธรรม ดว ยอํานาจของอุปนิสสยปจ จยั มี ๒ อยา ง คือท่ีเปน อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนสิ สยะ ทเี่ ปน ปกตปู นสิ สยะ ไดแ ก ศรัทธา ฯลฯ ปญญา สขุ ทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ และโมหะ เปนปจจยั แกขนั ธทั้งหลายทีส่ หรคตดว ยอุทธัจจะ และโมหะ ดว ยอํานาจของอุปนิสสยปจจัย. ๗. สญั โญชนสัมปยตุ ตธรรม และสัญโญชนวิปปยุตต-ธรรม เปนปจ จัยแกส ญั โญชนสมั ปยตุ ตธรรม ดว ยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจจยั มี ๒ อยา ง คือทเ่ี ปน อนนั ตรูปนสิ สยะ และ ปกตปู นสิ สยะ ทีเ่ ปน ปกตูปนสิ สยะ ไดแก ขนั ธทั้งหลายท่ีสหรคตดวยอทุ ธัจจะ และโมหะ เปนปจ จยั แกข นั ธท้ังหลายท่เี ปนสัญโญชนสมั ปยตุ ตธรรม ดวยอาํ นาจของอุปนิสสยปจ จยั .

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 513 ๘. สญั โญชนสัมปยุตตธรรม และสัญโญชนวปิ ปยุตต-ธรรม เปนปจ จยั แกส ญั โญชนวิปปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของอุปนสิ สยปจ จัย มี ๒ อยาง คอื ท่เี ปน อนันตรปู นิสสยะ และ ปกตปู นิสสยะ ท่ีเปน ปกตูปนิสสยะ ไดแก ขันธท งั้ หลายที่สหรคตดว ยอทุ ธจั จะ และโมหะ เปนปจจยั แกข ันธท้ังหลายท่ีเปนสัญโญชนวปิ ปยุตตธรรม และโมหะ ดวยอํานาจของอปุ นิสสย-ปจจยั . ๙. สญั โญชนสัมปยตุ ตธรรมและสัญโญชนวิปปยตุ ต-ธรรม เปนปจจยั แกสญั โญชนสัมปยุตตธรรม และสญั โญชน-วิปปยุตตธรรม ดว ยอาํ นาจของอุปนสิ สยปจจัย มี ๒ อยา ง คือท่เี ปน อนนั ตรปู นสิ สยะ และ ปกตปู นิสสยะ ท่ีเปน ปกตูปนิสสยะ ไดแก ขนั ธท งั้ หลายที่สหรคตดว ยอทุ ธัจจะ และโมหะ เปน ปจ จัยแกขนั ธท้ังหลายทสี่ หรคตดวยอทุ ธัจจะ และโมหะ ดวยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจจยั . ๑๐. ปุเรชาตปจจยั [๔๖๙] ๑. สญั โญชนวปิ ปยตุ ตธรรม เปนปจ จัยแกส ัญโญชน-วปิ ปยุตตธรรม ดว ยอาํ นาจของปเุ รชาตปจจยั มี ๒ อยาง คอื ที่เปน อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ทีเ่ ปน อารัมมณปุเรชาตะ ไดแ ก

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 514 บุคคลเหน็ รูปดวยทพิ ยจกั ษุ ฟงเสยี งดวยทพิ โสตธาตุ. รูปายตนะ เปน ปจ จยั แกจ กั ขวุ ญิ ญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เปนปจ จัยแกก ายวิญญาณ. ท่เี ปน วตั ถปุ ุเรชาตะ ไดแก จักขายตนะ เปนปจจยั แกจ ักขวุ ญิ ญาณ ฯลฯ กายายตนะ เปน ปจ จัยแกกายวญิ ญาณ. หทยวัตถุ เปนปจจยั แกขันธท ั้งหลายท่ีเปนสัญโญชนวปิ ปยตุ ธรรมและโมหะ ดว ยอํานาจของปเุ รชาตปจจยั . ๒. สัญโญชนวปิ ปยุตตธรรม เปนปจ จยั แกสญั โญชน-สัมปยุตตธรรม ดวยอํานาจของปุเรชาตปจ จยั มี ๒ อยาง คือทีเ่ ปน อารมั มณปุเรชาตะ และ วตั ถปุ เุ รชาตะ ท่เี ปน อารมั มณปุเรชาตะ ไดแ ก บคุ คลพจิ ารณาซงึ่ จกั ษุ ฯลฯ หทยวตั ถุ ยอ มยินดี ยอมเพลดิ เพลินยง่ิเพราะปรารภจกั ษเุ ปน ตนน้นั ราคะ ฯลฯ โทมนัส ยอมเกิดข้นึ . ที่เปน วตั ถปุ ุเรชาตะ ไดแก หทยวัตถุ เปน ปจ จัยแกขันธท งั้ หลายท่ีเปนสัญโญชนสัมปยุตตธรรมดว ยอาํ นาจของปุเรชาตปจ จยั . ๓. สัญโญชนวปิ ปยตุ ตธรรม เปนปจจยั แกส ัญโญชน-สัมปยุตตธรรม และสัญโญชนวิปปยตุ ตธรรม ดว ยอํานาจของปเุ รชาตปจจยั

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 515 มี ๒ อยาง คอื ท่เี ปน อารมั มณปุเรชาตะ และ วัตถุปเุ รชาตะ ท่ีเปน อารมั มณปเุ รชาตะ ไดแ ก เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทยวตั ถุ ขนั ธท้ังหลายท่สี หรคตดวยอทุ ธัจจะและโมหะ ยอ มเกิดขน้ึ . หทยวตั ถุ เปน ปจ จยั แกขนั ธทัง้ หลายทสี่ หรคตดว ยอุทธัจจะ และโมหะดวยอํานาจของปุเรชาตปจจัย. ๑๑. ปจ ฉาชาตปจ จยั [๔๗๐] ๑. สญั โญชนสมั ปยตุ ตธรรม เปนปจจยั แกส ัญโญชน-วปิ ปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของปจ ฉาชาตปจ จยั คอื ขันธท ้งั หลายท่เี ปน สญั โญชนสมั ปยุตตธรรม ทีเ่ กิดภายหลัง เปนปจ จัยแกกายนี้ ท่ีเกิดกอน ดวยอาํ นาจของปจ ฉาชาตปจจยั . ๒. สญั โญชนวิปปยตุ ตธรรม เปนปจจยั แกสัญโญชน-วปิ ปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของปจฉาชาตปจจัย คือ ขันธท ง้ั หลายที่เปน สัญโญชนวิปปยตุ ตธรรม และโมหะ ทเี่ กดิภายหลัง เปนปจ จยั แกกายน้ี ท่ีเกิดกอน ดว ยอาํ นาจของปจฉาชาตปจจยั . ๓. สัญโญชนสัมปยตุ ตธรรม และสญั โญชนวปิ ปยตุ ต-ธรรม เปน ปจจยั แกส ญั โญชนวิปปยตุ ตธรรม ดว ยอาํ นาจของปจฉาชาตปจจัย คือ ขันธท ้งั หลายที่สหรคตดว ยอทุ ธจั จะ และโมหะ ทเ่ี กิดภายหลงัเปน ปจจัยแกก ายนี้ ท่ีเกดิ กอ น ดวยอาํ นาจของปจ ฉาชาตปจจัย.

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 516 ๑๒. อาเสวนปจจยั [๔๗๑] ๑. สญั โญชนสัมปยตุ ตธรรม เปน ปจ จัยแกสญั โญชน-สมั ปยตุ ตธรรม ดว ยอํานาจของอาเสวนปจ จัย มี ๙ วาระ อาวชั ชนะก็ดีวฏุ ฐานะก็ดี ไมมี. ๑๓. กัมมปจจัย [๔๗๒] ๑. สัญโญชนสัมปยุตตธรรม เปนปจ จัยแกส ญั โญชน-สัมปยุตตธรรม ดว ยอํานาจของกัมมปจจัย คอื เจตนาทีเ่ ปนสัมปยุตตธรรม เปนปจ จัยแกข นั ธท ้ังหลายที่เปนสญั โญชนสัมปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของกัมมปจ จัย. ๒. สัญโญชนสมั ปยุตตธรรม เปน ปจจยั แกส ญั โญชน-วปิ ปยุตตธรรม ดว ยอํานาจของกัมมปจ จยั มี ๒ อยาง คือท่ีเปน สหชาตะ และ นานาขณิกะ ทเี่ ปน สหชาตะ ไดแก เจตนาทีเ่ ปนสญั โญชนสมั ปยตุ ตธรรม เปน ปจ จัยแกจิตตสมฏุ ฐานรปูทง้ั หลาย ดว ยอาํ นาจของกมั มปจจยั . เจตนาที่สหรคตดว ยอุทธัจจะ เปน ปจจัยแกโ มหะ และจิตตสมุฏฐานรูปท้งั หลาย ดว ยอาํ นาจของกัมมปจ จยั . ท่เี ปน นานาขณกิ ะ ไดแก เจตนาท่เี ปน สญั โญชนสมั ปยุตตธรรม เปน ปจ จยั แกว ิบากขันธ และกฏัตตารูปทง้ั หลาย ดวยอาํ นาจของกัมมปจ จัย.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 517 ๓. สญั โญชนสัมปยตุ ตธรรม เปนปจ จยั แกส ัญโญชน-สัมปยตุ ตธรรม และสัญโญชนวปิ ปยตุ ตธรรม ดว ยอํานาจของกัมมปจจัย คอื เจตนาทีเ่ ปนสญั โญชนสัมปยตุ ตธรรม เปนปจ จยั แกสัมปยตุ ตขันธและจิตตสมุฏฐานรูปทงั้ หลาย ดวยอํานาจของกมั มปจจัย. เจตนาท่ีสหรคตดว ยอทุ ธัจจะ เปนปจจยั แกส ัมปยตุ ตขันธท ง้ั หลาย และโมหะ และจติ ตสมุฏฐานรูปทง้ั หลาย ดวยอาํ นาจของกัมมปจจัย. ๘. สัญโญชนวปิ ปยุตตธรรม เปนปจจัยแกสัญโญชน-วปิ ปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของกัมมปจจัย มี ๒ อยา ง คือที่เปน สหชาตะ และ นานาขณิกะ ท่ีเปน สหชาตะ ไดแก เจตนาทเี่ ปนสญั โญชนวปิ ปยุตตธรรม เปนปจจัยแกสัมปยุตตขนั ธ และจติ ตสมฏุ ฐานรปู ท้ังหลาย ดวยอาํ นาจของกัมมปจ จัย. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ทเ่ี ปน นานาขณิกะ ไดแ ก เจตนาที่เปน สญั โญชนวปิ ปยุตตธรรม เปน ปจ จัยแกวิบากขันธ และกฏัตตารูปท้ังหลาย ดว ยอํานาจของกมั มปจจัย. ๑๔. วิปากปจ จยั [๔๗๓] ๑. สญั โญชนวิปปยตุ ตธรรม เปน ปจจยั แกส ัญโญชน-วิปปยตุ ตธรรม ดว ยอาํ นาจของวปิ ากปจจยั มี ๑ วาระ.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 518 ๑๕. อาหารปจจัย [๔๗๔] ๑. สญั โญชนสัมปยุตตธรรม เปน ปจ จัยแกส ญั โญชน-สมั ปยุตตธรรม ดวยอํานาจของอาหารปจ จัย มี ๔ วาระ. ๑๖. อินทริยปจจยั ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปจจัย ฯลฯ เปน ปจ จัย ดวยอาํ นาจของอนิ ทรยิ ปจ จัย มี ๔ วาระ. ฯลฯ เปน ปจ จยั ดวยอํานาจของฌานปจจัย มี ๔ วาระ. ฯลฯ เปน ปจจยั ดว ยอาํ นาจของมคั คปจจัย มี ๔ วาระ. ฯลฯ เปน ปจ จยั ดวยอาํ นาจของสัมปยตุ ตปจจัย มี ๖ วาระ. ๒๐. วปิ ปยตุ ตปจ จัย [๔๗๕] ๑. สัญโญชนสัมปยตุ ตธรรม เปนปจ จัยแกส ัญโญชน-วปิ ปยตุ ตธรรม ดว ยอํานาจของวปิ ปยตุ ตปจ จัย มี ๒ อยา ง คอื ท่ีเปน สหชาตะ และ ปจฉาชาตะ ๒. สญั โญชนวปิ ปยตุ ตธรรม เปนปจจัยแกสัญโญชน-วปิ ปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของวิปปยตุ ตปจจยั มี ๓ อยาง คือที่เปน สหชาตะ ปเุ รชาตะ และ ปจ ฉาชาตะ ๓. สญั โญชนวิปปยุตตธรรม เปนปจจยั แกส ัญโญชน-สัมปยุตตธรรม ดวยอํานาจของวปิ ปยตุ ตปจจยั มอี ยา งเดยี ว คือท่ีเปน ปุเรชาตะ ไดแ ก

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 519 หทยวตั ถุ เปน ปจ จยั แกขันธท้งั หลายท่เี ปน สญั โญชนสัมปยตุ ตธรรมดว ยอํานาจของวปิ ปยตุ ตปจ จยั . ๔. สัญโญชนวิปปยตุ ตธรรม เปนปจ จัยแกส ัญโญชน-สมั ปยุตตธรรม และสญั โญชนวิปปยตุ ตธรรม ดว ยอํานาจของวิปปยตุ ตปจจยั มอี ยางเดียว คอื ทเ่ี ปน ปุเรชาตะ ไดแ ก หทยวัตถุ เปน ปจ จยั แกขนั ธท ้งั หลายทีส่ หรคตดวยอุทธจั จะ และโมหะดวยอํานาจของวปิ ปยตุ ตปจจัย. ๕. สญั โญชนสมั ปยตุ ตธรรม และสญั โญชนวิปปยตุ ต-ธรรม เปน ปจ จยั แกสญั โญชนวปิ ปยุตตธรรม ดว ยอํานาจของวิปปยตุ ตปจจยั มี ๒ อยาง คือทีเ่ ปน สหชาตะ และ ปจ ฉาชาตะ ๒๑. อตั ถปิ จ จัย [๕๗๖] ๑. สัญโญชนสมั ปยุตตธรรม เปน ปจจยั แกส ญั โญชน-สมั ปยตุ ตธรรม ดว ยอํานาจของอัตถิปจ จัย มี ๑ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ. ๒. สัญโญชนสมั ปยตุ ตธรรม เปนปจ จยั แกสัญโญชน-วปิ ปยุตตธรรม ดวยอาํ นาจของอัตถิปจ จัย มี ๒ อยาง คือท่ีเปน สหชาตะ และ ปจฉาชาตะ ทเี่ ปน สหชาตะ ไดแ ก

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 520 ขนั ธท ้งั หลายทเี่ ปนสญั โญชนสัมปยุตตธรรม เปน ปจจัยแกจติ ต-สมุฏฐานรูปทงั้ หลาย ดว ยอาํ นาจของอัตถิปจจัย. ขันธท ัง้ หลายทีส่ หรคตดวยอทุ ธัจจะ เปน ปจจัยแกโ มหะ และจติ ต-สมุฏฐานรูปทง้ั หลาย ดวยอํานาจของอัตถิปจ จัย. ทีเ่ ปน ปจฉาชาตะ ไดแ ก ขนั ธท้งั หลายท่เี ปนสัญโญชนสัมปยุตตธรรม เปน ปจจัยแกกายนี้ที่เกิดกอน ดว ยอาํ นาจของอัตถปิ จ จยั . ๓. สญั โญชนสัมปยตุ ตธรรมเปน ปจจัยแกส ญั โญชน-สมั ปยุตตธรรม และสญั โญชนวิปปยุตตธรรม ดว ยอาํ นาจของอัตถิปจ จัย คอื ขนั ธ ๑ ท่เี ปน สัญโญชนสัมปยตุ ตธรรม เปน ปจ จัยแกข ันธ ๓และจติ ตสมฏุ ฐานรูปทัง้ หลาย ดว ยอาํ นาจของอัตถปิ จจยั ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ ขันธ ๑ ท่สี หรคตดวยอุทธัจจะ เปนปจ จัยแกข นั ธ ๓ โมหะ และจิตตสมุฏฐานรปู ท้งั หลาย ดวยอาํ นาจของอัตถิปจ จัย ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ ๔. สัญโญชนวปิ ปยตุ ตธรรม เปน ปจจัยแกส ญั โญชน-วปิ ปยตุ ตธรรม ดวยอาํ นาจของอัตถิปจ จัย มี ๕ อยาง คอื ทีเ่ ปน สหชาตะ ปุเรชาตะ ปจ ฉาชาตะ อาหาระและ อนิ ทริยะ พึงใหพ สิ ดาร. ๕. สญั โญชนวปิ ปยตุ ตธรรม เปนปจ จัยแกส ัญโญชน-สัมปยุตตธรรม ดวยอํานาจของอตั ถิปจจัย

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 521 มี ๒ อยา ง คอื ทเ่ี ปน สหชาตะ และ ปุเรชาตะ ท่ีเปน สหชาตะ ไดแก โมหะ ทสี่ หรคตดว ยอุทธัจจะ เปน ปจจยั แกส ัมปยุตตขันธท ้งั หลายดว ยอํานาจของอัตถปิ จ จัย. ทเ่ี ปน ปเุ รชาตะ ไดแ ก บุคคลยอ มยนิ ดี ยอ มเพลิดเพลนิ ยิ่งซึง่ จกั ษุ ฯลฯ หทยวตั ถุ เพราะปรารภจักษุเปนตนน้ัน ราคะ ฯลฯ โทมนัส ยอ มเกดิ ขนึ้ . หทยวัตถุ เปน ปจ จัยแกข ันธท ้งั หลายที่เปนสัญโญชนสัมปยตุ ธรรมดว ยอํานาจของอัตถิปจจยั . ๖. สัญโญชนวปิ ปยตุ ตธรรม เปน ปจจยั แกสญั โญชน-สัมปยตุ ตธรรม และสญั โญชนวิปปยตุ ตธรรม ดว ยอํานาจของอตั ถิปจจัย มี ๒ อยา ง คือท่ีเปน สหชาตะ และ ปเุ รชาตะ ทเี่ ปน สหชาตะ ไดแ ก โมหะ ท่ีสหรคตดว ยอทุ ธัจจะ เปน ปจ จัยแกส ัมปยุตตขันธ และจิตตสมฏุ ฐานรูปทง้ั หลาย ดว ยอํานาจของอตั ถปิ จจยั . ทีเ่ ปน ปเุ รชาตะ ไดแ ก เพราะปรารภจกั ษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขนั ธท งั้ หลายท่สี หรคตดว ยอุทธัจจะและโมหะ ยอ มเกดิ ข้นึ . หทยวตั ถุ เปนปจ จยั แกขนั ธทัง้ หลายทสี่ หรคตดว ยอุทธจั จะ และโมหะดวยอาํ นาจของอตั ถปิ จ จัย.

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 522 ๗. สญั โญชนสมั ปยตุ ตธรรมและสัญโญชนวปิ ปยุตต-ธรรม เปน ปจ จยั แกสัญโญชนสมั ปยุตตธรรม ดว ยอํานาจของอตั ถิปจ จัย มี ๒ อยาง คอื ท่ีเปน สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกบั ปุเรชาตะ ท่ีเปน สหชาตะ รวมกับ ปเุ รชาตะ ไดแก ขนั ธ ๑ ท่ีเปนสัญโญชนสมั ปยุตตธรรม และหทยวัตถุ เปน ปจจัยแกขันธ ๓ ดวยอํานาจของอัตถิปจ จยั ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ที่เปน สหชาตะ ไดแก ขันธ ๑ ท่สี หรคตดว ยอุทธจั จะ และโมหะ เปนปจจยั แกขันธ ๓ดว ยอํานาจของอัตถปิ จจัย ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ ๘. สญั โญชนสมั ปยุตตธรรมและสญั โญชนวปิ ปยตุ ต-ธรรม เปน ปจจัยแกสัญโญชนวปิ ปยุตตธรรม ดว ยอาํ นาจของอัตถิปจ จัย มี ๕ อยา ง คอื ทเ่ี ปน สหชาตะ, สหชาตะ รวมกับ ปเุ รชาตะ,ปจฉาชาตะ, ปจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกบั อนิ ทริยะ ท่ีเปน สหชาตะ ไดแ ก ขนั ธท ง้ั หลายทีเ่ ปนสัญโญชนสมั ปยตุ ตธรรม, โมหะและมหาภูตรูปทง้ั หลาย ทีเ่ กดิ พรอมกัน เปน ปจ จยั แกจติ ตสมุฏฐานรปู ทง้ั หลาย ดว ยอาํ นาจของอัตถิปจจยั . ขนั ธทงั้ หลายที่สหรคตดว ยอทุ ธัจจะ และโมหะ เปนปจ จัยแกจติ ต-สมฏุ ฐานรูปทงั้ หลาย ดว ยอาํ นาจของอตั ถิปจ จยั .

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 523 ท่ีเปน สหชาตะ รวมกับ ปเุ รชาตะ ไดแ ก ขนั ธทงั้ หลายท่สี หรคตดวยอทุ ธัจจะ และหทยวัตถุ เปน ปจ จยั แกโ มหะดวยอาํ นาจของอตั ถิปจจัย. ท่เี ปน ปจฉาชาตะ ไดแ ก ขันธท ้ังหลายท่สี หรคตดวยอทุ ธจั จะ และโมหะ ทเ่ี กิดภายหลงั เปนปจ จยั แกกายนี้ ท่เี กิดกอ น ดว ยอาํ นาจของอัตถิปจ จัย. ทีเ่ ปน ปจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ไดแก ขนั ธท งั้ หลายท่ีเปน สญั โญชนสัมปยุตตธรรม ทเ่ี กิดภายหลัง และกวฬีการาหาร เปน ปจ จัยแกก ายนี้ ดวยอาํ นาจของอตั ถิปจ จัย. ที่เปน ปจฉาชาตะ รวมกบั อินทริยะ ไดแก ขนั ธท้ังหลายท่เี ปน สญั โญชนสัมปยุตตธรรม ที่เกดิ ภายหลงั และรปู ชวี ิตินทรยี  เปนปจ จยั แกกฏตั ตารปู ท้งั หลาย ดว ยอาํ นาจของอัตถปิ จ จยั . ๙. สัญโญชนสมั ปยตุ ตธรรม และสญั โญชนวปิ ปยตุ ต-ธรรม เปนปจ จัยแกส ัญโญชนสมั ปยุตตธรรม และสัญโญชน-วิปปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของอตั ถปิ จจัย มี ๒ อยาง คือที่เปน สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกบั ปเุ รชาตะ ที่เปน สหชาตะ ไดแ ก ขนั ธ ๑ ที่สหรคตดวยอทุ ธจั จะ และโมหะ เปนปจ จัยแกขันธ ๓ และจิตตสมฏุ ฐานรปู ท้ังหลาย ดวยอาํ นาจของอัตถปิ จจัย ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ท่ีเปน สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ไดแ ก

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 524 ขันธ ๑ ท่สี หรคตดวยอุทธัจจะ และหทยวตั ถุ เปนปจจยั แกขนั ธ ๓และโมหะ ดวยอํานาจของอัตถิปจจยั ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ ๒๒. นตั ถปิ จจยั ฯลฯ ๒๔. อวคิ ตปจ จยั ฯลฯ เปนปจจยั ดวยอาํ นาจของนตั ถปิ จจยั ฯลฯ เปนปจจยั ดวยอาํ นาจของวิคตปจจัย ฯลฯ เปนปจ จัย ดว ยอาํ นาจของอวิคตปจ จัย การนับจ านวนวาระในอนโุ ลม [๔๗๗] ในเหตปุ จ จัย มี ๖ วาระ ในอารัมมณปจ จยั มี ๙ วาระในอธปิ ติปจจยั มี ๕ วาระ ในอนันตรปจ จยั มี ๙ วาระ ในสมนนั ตรปจ จยัมี ๙ วาระ ในสหชาตปจ จัย มี ๙ วาระ ในอญั ญมญั ญปจจยั มี ๖ วาระ ในนิสสยปจ จยั มี ๙ วาระ ในอปุ นิสสยปจ จยั มี ๙ วาระ ในปเุ รชาตปจ จัยมี ๓ วาระ ในปจฉาชาตปจจยั มี ๓ วาระ ในอาเสวนปจ จยั มี ๙ วาระในกมั มปจจัย มี ๔ วาระ ในวปิ ากปจจยั มี ๑ วาระ ในอาหารปจ จยั มี ๔ วาระในอินทรยิ ปจ จยั มี ๔ วาระ ในฌานปจจัย มี ๔ วาระ ในมคั คปจจัย มี ๔ วาระในสัมปยุตตปจ จยั มี ๖ วาระ ในวิปปยุตตปจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถปิ จ จยัมี ๙ วาระ ในนัตถิปจ จยั มี ๙ วาระ ในวิคตปจ จยั มี ๙ วาระ ในอวคิ ตปจจัยมี ๙ วาระ.

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 525 ปจ จนียนัย การยกปจจยั ในปจจนยี ะ [๔๗๘] ๑. สญั โญชนสัมปยุตตธรรม เปนปจจยั แกส ัญโญชน-สมั ปยุตตธรรม ดว ยอํานาจของอารมั มณปจจยั , เปนปจ จัย ดวยอํานาจของสหชาตปจจยั , เปน ปจจัย ดวยอาํ นาจของอุปนิสสยปจจยั . ๒. สัญโญชนสัมปยุตตธรรม เปนปจ จัยแกส ญั โญชน-วปิ ปยตุ ตธรรม ดว ยอํานาจของอารมั มณปจจยั , เปน ปจ จัย ดวยอํานาจของสหชาตปจ จยั , เปนปจ จยั ดว ยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจจยั ,เปน ปจจัย ดวยอาํ นาจของปจ ฉาชาตปจ จยั , เปน ปจ จยั ดว ยอาํ นาจของกมั มปจจยั . ๓. สัญโญชนสัมปยุตตธรรม เปน ปจจัยแกสัญโญชน-สัมปยุตตธรรม และสญั โญชนวิปปยุตตธรรม ดว ยอํานาจของอารมั มณปจ จัย เปน ปจ จัย ดวยอํานาจของสหชาตปจจัย, เปนปจ จัยดวยอาํ นาจของอปุ นิสสยปจ จัย. ๔. สญั โญชนวปิ ปยตุ ตธรรม เปนปจ จัยแกสญั โญชน-วิปปยตุ ตธรรม ดว ยอํานาจของอารัมมณปจ จัย, เปนปจ จยั ดวยอํานาจของสหชาตปจจัย, เปน ปจ จัย ดว ยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจจัย,เปน ปจจยั ดว ยอาํ นาจของปุเรชาตปจ จัย, เปนปจ จยั ดวยอํานาจของปจฉาชาตปจ จยั , เปน ปจจยั ดว ยอาํ นาจของกมั มปจจัย, เปน ปจจัยดวยอํานาจของอาหารปจ จยั , เปนปจ จยั ดว ยอาํ นาจของอินทริยปจจยั .

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 526 ๕. สัญโญชนวปิ ปยตุ ตธรรม เปนปจจัยแกสญั โญชน-สัมปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของอารมั มณปจจัย, เปน ปจ จยั ดว ยอํานาจของสหชาตปจจัย, เปน ปจ จยั ดวยอํานาจของอุปนสิ สยปจจัย,เปน ปจจัย ดว ยอํานาจของปุเรชาตปจ จัย. ๖. สัญโญชนวปิ ปยตุ ตธรรม เปน ปจ จัยแกสญั โญชน-สมั ปยตุ ตธรรม และสัญโญชนวปิ ปยุตตธรรม ดวยอาํ นาจของอารัมมณปจ จัย เปน ปจ จัย ดว ยอํานาจของสหชาตปจจัย, เปนปจจยัดวยอํานาจของอุปนิสสยปจจยั , เปนปจจยั ดวยอํานาจของปุเรชาต-ปจจัย. ๗. สญั โญชนสมั ปยตุ ตธรรมและสญั โญชนวิปปยุตต-ธรรม เปนปจ จยั แกส ญั โญชนสมั ปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของอารัมมณปจจัย, เปน ปจจัย ดว ยอาํ นาจของสหชาตปจจัย, เปนปจจัยดวยอํานาจของอุปนิสสยปจจยั . ๘. สญั โญชนสมั ปยุตตธรรม และสัญโญชนวิปปยตุ ต-ธรรม เปนปจ จยั แกส ัญโญชนวิปปยุตตธรรม ดว ยอํานาจของอารมั มณปจจยั , เปน ปจจัย ดวยอํานาจของสหชาตปจ จัย, เปนปจจยัดว ยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจจัย, เปน ปจจยั ดว ยอาํ นาจของปจฉาชาต-ปจจยั . ๙. สัญโญชนสมั ปยุตตธรรม และสัญโญชนวิปปยตุ ต-ธรรม เปนปจ จยั แกส ัญโญชนสัมปยุตตธรรม และสัญโญชนวิปปยุตต-ธรรม ดวยอาํ นาจของอารัมมณปจจัย, เปนปจ จยั ดว ยอาํ นาจของสหชาตปจ จยั , เปนปจจัย ดวยอํานาจของอปุ นสิ สยปจจัย.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 527 การนับจาํ นวนวาระในปจ จนียะ [๔๔๗] ในนเหตุปจจยั มี ๙ วาระ ในนอารมั มณปจ จัย มี ๙ วาระในปจ จยั ทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนวิคตปจ จยั มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปจ จยัมี ๙ วาระ. อนโุ ลมปจจนียนยั การนับจาํ นวนวาระในอนุโลมปจจนยี ะ [๔๘๐] เพราะเหตปุ จ จัย ในนอารัมมณปจจัย มี ๖ วาระ... ในนสมนันตรปจจยั มี ๖ วาระ ในนอัญญมัญญปจ จัย มี ๒วาระ ในนอุปนสิ สย-ปจจัย มี ๖ วาระ ในนมคั คปจจัย มี ๖ วาระ ในนสมั ปยุตตปจ จัย มี ๒ วาระในนวปิ ปยตุ ตปจจยั มี ๓ วาระ ในโนนัตถปิ จ จยั มี ๖ วาระ ในโนวคิ ตปจจัยมี ๖ วาระ. ปจจนียานุโลมนัย การนับจํานวนวาระในปจจนยี านุโลม [๔๘๑] เพราะนเหตปุ จ จยั ในอารัมมณปจ จยั มี ๙ วาระ... ในอธปิ ติปจ จัย มี ๕ วาระ พงึ นบั บททเ่ี ปน อนุโลม ฯลฯ ในอวิคตปจ จยั มี ๙ วาระ. สัญโญชนสมั ปยตุ ตทุกะ จบ

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 528 ๒๓. สญั โญชนสญั โญชนิยทุกะ ปฏิจจวาระ อนโุ ลมนัย ๑. เหตุปจ จยั [๔๘๒] ๑. ธรรมท่เี ปนท้ังสญั โญชนธรรม และสัญโญชนิย-ธรรม อาศยั ธรรมท่เี ปน ทง้ั สัญใญชนธรรม และสัญโญชนยิ ธรรมเกดิ ข้นึ เพราะเหตุปจ จยั คอื ทิฏฐิสญั โญชน อวชิ ชาสญั โญชน อาศัยกามราคสัญโญชน. พงึ ผูกจกั รนยั ๒. ธรรมที่เปน สญั โญชนิยธรรม แตไ มใชส ัญโญชน-ธรรม อาศยั ธรรมท่ีเปน สัญโญชนธรรมและสญั โญชนยิ ธรรม เกิดข้ึนเพราะเหตปุ จ จัย คอื สมั ปยตุ ตขนั ธท ง้ั หลาย และจิตตสมุฏฐานรปู อาศัยสญั โญชน-ธรรมท้งั หลาย. ๓. ธรรมที่เปนทงั้ สัญโญชนธรรมและสญั โญชนยิ ธรรมและธรรมท่ีเปน สญั โญชนยิ ธรรม แตไ มใ ชสญั โญชนธรรม อาศัยธรรมท่เี ปนทัง้ สัญโญชนธรรม และสญั โญชนยิ ธรรม เกดิ ขน้ึ เพราะเหตุปจจัย คือ ทิฏฐิสัญโญชน อวชิ ชาสัญโญชน สมั ปยตุ ตขนั ธทงั้ หลาย และจิตตสมฏุ ฐานรปู อาศยั กามราคสญั โญชน.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 529 พงึ ผูกจักรนยั ๔. ธรรมทเี่ ปน สัญโญชนยิ ธรรม แตไมใชสญั โญชน-ธรรม อาศัยธรรมทีเ่ ปน สัญโญชนยิ ธรรม แตไ มใชส ัญโญชนธรรมเกิดข้นึ เพราะเหตุปจจยั คือ ขันธ ๓ และจิตตสมฏุ ฐานรูป อาศัยขันธ๑ ที่เปน สัญโญชนิย-ธรรมแตไ มใ ชสัญโญชนธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ ฯลฯ ตลอดถงึ มหาภตู รปู . ๕. ธรรมทเี่ ปน ทัง้ สญั โญชนธรรม และสญั โญชนยิ -ธรรม อาศัยธรรมท่เี ปนสัญโญชนิยธรรม แตไมใชสัญโญชนธรรมเกดิ ข้ึน เพราะเหตปุ จจัย คอื สัญโญชนธรรมทัง้ หลาย อาศัยขันธท ั้งหลายที่เปนสญั โญชนยิ -ธรรมแตไ มใ ชสัญโญชนธรรม. ๖. ธรรมที่เปนท้งั สญั โญชนธรรม และสัญโญชนยิ -ธรรม และธรรมทเ่ี ปน สัญโญชนยิ ธรรม แตไ มใ ชส ัญโญชนธรรมอาศัยธรรมทเ่ี ปน สัญโญชนิยธรรม แตไมใชสัญโญชนธรรม เกดิ ขึน้เพราะเหตุปจจัย คอื ขนั ธ ๓ สญั โญชนธรรมท้ังหลาย และจิตตสมฏุ ฐานรปู อาศยัขันธ ๑ ทเี่ ปน สญั โญชนยิ ธรรม แตไ มใชส ัญโญชนธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ๗. ธรรมทเ่ี ปน ทั้งสัญโญชนธรรม และสญั โญชนยิ -ธรรม อาศัยธรรมทเี่ ปนสัญโญชนธรรม และสญั โญชนิยธรรม และธรรมทเี่ ปนสญั โญชนิยธรรม แตไ มใ ชส ัญโญชนธรรม เกิดขึ้นเพราะเหตปุ จ จยั

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 530 คือ ทิฏฐสิ ัญโญชน อวชิ ชาสญั โญชน อาศยั กามราคสัญโญชน และสัมปยุตตขันธทงั้ หลาย. พึงผกู จกั รนยั ๘. ธรรมท่ีเปนสญั โญชนิยธรรม แตไมใชสัญโญชน-ธรรม อาศัยธรรมที่เปนท้ังสัญโญชนธรรมและสญั โญชนิยธรรม และธรรมทเ่ี ปนสญั โญชนิยธรรม แตไมใ ชส ญั โญชนยิ ธรรม เกิดขึ้นเพราะเหตุปจจยั คือ ขันธ ๓ และจิตตสมฏุ ฐานรูป อาศัยขนั ธ ๑ ทเ่ี ปนสัญโญชนยิ -ธรรม แตไมใ ชส ญั โญชนธรรม และสญั โญชนธรรมทงั้ หลาย ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ ๙. ธรรมที่เปน สญั โญชนธรรม และสัญโญชนยิ ธรรมและธรรมท่เี ปน สญั โญชนิยธรรม แตไ มใ ชส ญั โญชนธรรม อาศยัธรรมทเี่ ปน ท้ังสญั โญชนธรรม และสัญโญชนยิ ธรรม และธรรมที่เปน สัญโญชนยิ ธรรม แตไมใชส ญั โญชนธรรม เกดิ ขนึ้ เพราะเหตุปจจัย คือ ขนั ธ ๓ ทฏิ ฐิสญั โญชน อวิชชาสัญโญชน และจติ ตสมุฏฐานรปูอาศัยขันธ ๑ ท่เี ปน สญั โญชนิยธรรม แตไ มใ ชสญั โญชนธรรม และกามราค-สัญโญชน ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ พึงผูกจกั รนัย เหมอื นปฐมทกุ ะในสัญโญชนโคจฉกะ ทกุ ะแมน พี้ ึงใหพสิ ดารอยางน้นัไมม แี ตกตางกัน เวน โลกุตตระ. สัญโญชนสญั โญชนิยทกุ ะ จบ

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 531 ๒๔. สัญโญชนสญั โญชนสัมปยุตตทุกะ ปฏิจจวาระ อนุโลมนยั ๑. เหตุปจ จัย [๔๘๓] ๑. ธรรมท่ีเปนทั้งสญั โญชนธรรม และสัญโญชน-สมั ปยุตตธรรม อาศยั ธรรมท่ีเปน ท้ังสัญโญชนธรรมและสัญโญชน-สัมปยตุ ตธรรม เกดิ ขึ้น เพราะเหตปุ จ จัย คือ ทฏิ ฐสิ ญั โญชน อวชิ ชาสัญโญชน อาศยั กามราคสญั โญชน พงึ ผูกจักรนยั ๒. ธรรมทเ่ี ปนสัญโญชนสัมปยตุ ตธรรม แตไมใชสัญโญชนธรรม อาศยั ธรรมท่เี ปนทงั้ สญั โญชนธรรม และสญั โญชน-สมั ปยตุ ตธรรม เกิดข้นึ เพราะเหตปุ จจัย คือ สัมปยุตตขนั ธท ง้ั หลาย อาศยั สญั โญชนธรรมทง้ั หลาย. ๓. ธรรมทีเ่ ปนทัง้ สัญโญชนธรรม และสญั โญชน-สัมปยุตตธรรม และธรรมท่ีเปน สญั โญชนสมั ปยุตตธรรม แตไ มใ ชสัญโญชนธรรม อาศัยธรรมทเ่ี ปน ท้งั สัญโญชนธรรม และสัญโญชน-สมั ปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตปุ จจยั คอื ทฏิ ฐสิ ัญโญชน อวิชชาสัญโญชน และสัมปยุตตขันธท ้ังหลายอาศัยกามราคสญั โญชน. ๔. ธรรมทเี่ ปนสญั โญชนสมั ปยุตตธรรม แตไมใ ชสัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่เปน ทั้งสัญโญชนสมั ปยุตตธรรม แตไมใชสัญโญชนธรรม เกดิ ข้นึ เพราะเหตปุ จ จยั

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 532 คอื ขนั ธ ๓ อาศัยขันธ ๑ ทเี่ ปน สัญโญชนสัมปยุตตธรรม แตไ มใชสญั โญชนธรรม ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ ๕. ธรรมทีเ่ ปนทง้ั สญั โญชนธรรม และสัญโญชน-สมั ปยุตตธรรม อาศัยธรรมท่เี ปนสญั โญชนสัมปยตุ ตธรรม แตไมใ ชสญั โญชนธรรม เกดิ ขน้ึ เพราะเหตุปจจยั คอื สัญโญชนธรรมท้ังหลาย อาศยั ขันธทัง้ หลายทีเ่ ปนสัญโญชน-สัมปยุตตธรรมแตไ มใชส ญั โญชนธรรม. ๖. ธรรมทเี่ ปนทงั้ สัญโญชนธรรม และสัญโญชน-สมั ปยุตตธรรม และธรรมท่ีเปนสญั โญชนสมั ปยุตตธรรม แตไมใ ชสัญโญชนธรรม อาศัยธรรมทเี่ ปนสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แตไ มใชสญั โญชนธรรม เกิดข้ึน เพราะเหตุปจ จยั คือ ขันธ ๓ และสญั โญชนธรรมท้ังหลาย อาศัยขันธ ๑ ทีเ่ ปนสญั โญชนสัมปยตุ ตธรรมแตไมใชส ัญโญชนธรรม ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ ๗. ธรรมที่เปน ทัง้ สญั โญชนธรรม และสญั โญชน-สมั ปยตุ ตธรรม อาศยั ธรรมทเ่ี ปน สัญโญชนธรรม และสญั โญชน-สมั ปยตุ ตธรรม และธรรมทีเ่ ปน สัญโญชนสัมปยุตตธรรม แตไ มใชสญั โญชนธรรม เกดิ ขน้ึ เพราะเหตปุ จจยั คือ ทิฏฐิสัญโญชน อวชิ ชาสญั โญชน อาศัยกามราคสัญโญชน และสัมปยตุ ตขนั ธทงั้ หลาย. พึงผูกจกั รนยั

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 533 ๘. ธรรมทเ่ี ปนสญั โญชนสมั ปยุตตธรรม แตไมใชสัญโญชนธรรม อาศยั ธรรมทเี่ ปน ทัง้ สัญโญชนธรรม และสัญโญชน-สัมปยุตตธรรม และธรรมทีเ่ ปน สญั โญชนสมั ปยุตตธรรม แตไมใชสัญโญชนธรรม เกดิ ขึ้น เพราะเหตปุ จจยั คอื ขันธ ๓ อาศยั ขันธ ๑ ท่เี ปน สญั โญชนสัมปยตุ ตธรรมแตไ มใ ชสัญโญชนธรรม และสญั โญชนธรรมท้ังหลาย ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ ๙. ธรรมท่เี ปน ทั้งสญั โญชนธรรม และสัญโญชน-สมั ปยตุ ตธรรม และธรรมท่ีเปนสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แตไมใ ชสัญโญชนธรรม อาศัยธรรมทเี่ ปนท้งั สัญโญชนธรรม และสญั โญชน-สมั ปยุตตธรรม และธรรมทเี่ ปนสัญโญชนสัมปยตุ ตธรรม แตไมใชสญั โญชนธรรม เกดิ ขึน้ เพราะเหตปุ จ จัย คอื ขนั ธ ๓ ทฏิ ฐิสญั โญชน อวิชชาสญั โญชน อาศัยขันธ ๑ ทีเ่ ปนสญั โญชนสมั ปยตุ ตธรรม แตไมใ ชส ญั โญชนธรรม และกามราคสญั โญชน ฯลฯขันธ ๒ ฯลฯ พงึ ผกู จกั รนยั การนบั จํานวนวาระในอนโุ ลม [๔๘๔] ในเหตุปจจยั มี ๙ วาระ ในอารัมมณปจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปตปิ จ จยั มี ๙ วาระ ในปจจยั ท้ังปวง มี ๙ วาระ ในกมั มปจจัย มี ๙ วาระในอาหารปจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปจจยั มี ๙ วาระ.

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 534 ปจจนียนยั ๑. นเหตุปจจยั [๔๘๕] ๑. ธรรมทเ่ี ปนทง้ั สัญโญชนธรรม และสญั โญชน-สมั ปยุตตธรรม อาศัยธรรมทเ่ี ปนทงั้ สญั โญชนธรรม และสัญโญชน-สมั ปยุตตธรรม เกดิ ขึน้ เพราะนเหตปุ จจยั คอื อวชิ ชาสัญโญชน อาศยั วจิ ิกิจฉาสญั โญชน. ๒. ธรรมทเ่ี ปนท้ังสญั โญชนธรรม และสัญโญชน-สมั ปยตุ ตธรรม อาศยั ธรรมทเี่ ปนสญั โญชนสมั ปยตุ ตธรรม แตไมใ ชสัญโญชนธรรม เกดิ ขึ้น เพราะนเหตุปจ จยั คอื โมหะ ทส่ี หรคตดวยวิจกิ จิ ฉา อาศัยขนั ธท งั้ หลายที่สหรคตดว ยวจิ กิ จิ ฉา. ๓. ธรรมทเี่ ปนทง้ั สัญโญชนธรรม และสัญโญชน-สมั ปยุตตธรรม อาศยั ธรรมทเ่ี ปน ทัง้ สัญโญชนธรรม และสัญโญชน-สัมปยุตตธรรม และธรรมทเี่ ปน สญั โญชนสัมปยตุ ตธรรม แตไ มใ ชสัญโญชนธรรม เกิดข้นึ เพราะนเหตปุ จจยั คือ อวิชชาสัญโญชน อาศยั วจิ ิกจิ ฉาสัญโญชน และสัมปยตุ ตขันธทั้งหลาย. การนบั จ านวนวาระในปจจนยี ะ [๔๘๖] ในนเหตปุ จ จยั มี ๓ วาระ ในนอธปิ ตปิ จ จัย มี ๙ วาระในนปุเรชาตปจจยั มี ๙ วาระ ในนปจ ฉาชาตปจ จัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวน-

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 535ปจ จัย มี ๙ วาระ ในนกมั มปจจัย มี ๓ วาระ ในนวปิ ากปจจยั มี ๙ วาระในนวิปปยุตตปจจัย มี ๙ วาระ. การนบั จาํ นวนวาระทง้ั สองนัย นอกนก้ี ็ดี สหชาตวาระกด็ ี พงึ กระทําอยางท่ีกลาวมาแลว. ปจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สงั สัฏฐวาระกด็ ี สมั ปยตุ ตวาระกด็ ีเหมอื นกับปฏิจจวาระ.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 536 ปญ หาวาระ อนโุ ลมนัย ๑. เหตุปจ จัย [๔๘๗] ๑. ธรรมทเี่ ปนท้ังสญั โญชนธรรม และสญั โญชน-สัมปยุตตธรรม เปนปจ จัยแกธรรมท่เี ปน ทั้งสญั โญชนธรรม และสัญโญชนสมั ปยตุ ตธรรม ดว ยอํานาจของเหตุปจจัย คอื กามราคสัญโญชน เปน ปจจัยแกท ฏิ ฐสิ ัญโญชน อวชิ ชาสญั โญชนดว ยอํานาจของเหตปุ จ จัย. พึงผกู จกั รนยั ๒. ธรรมทเี่ ปน ทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชน-สัมปยตุ ตธรรม เปนปจ จัยแกธรรมทเ่ี ปน สญั โญชนสมั ปยุตตธรรมแตไ มใชส ัญโญชนธรรม ดว ยอาํ นาจของเหตุปจ จัย คือ เหตทุ ้งั หลายท่เี ปน ท้งั สญั โญชนธรรมและสญั โญชนสัมปยตุ ตธรรมเปน ปจจยั แกสัมปยุตตขนั ธทัง้ หลาย ดว ยอาํ นาจของเหตปุ จจยั . ๓. ธรรมทีเ่ ปนทง้ั สญั โญชนธรรม และสญั โญชน-สัมปยุตตธรรม เปนปจ จยั แกธรรมท่ีเปน ทั้งสัญโญชนธรรม และสญั โญชนสัมปยตุ ตธรรม และธรรมท่ีเปน สญั โญชนสมั ปยตุ ตธรรมแตไ มใ ชสัญโญชนธรรม ดว ยอํานาจของเหตุปจ จัย คอื กามราคสัญโญชน เปนปจ จัยแกทิฏฐิสญั โญชน อวชิ ชาสัญโญชนและสมั ปยตุ ตขันธทงั้ หลาย ดว ยอํานาจของเหตุปจ จยั .

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 537 ๒. อารัมมณปจ จยั [๔๘๘] ๑. ธรรมที่เปนทง้ั สญั โญชนธรรม และสญั โญชน-สมั ปยตุ ตธรรม เปนปจ จัยแกธรรมทีเ่ ปน ทง้ั สญั โญชนธรรม และสัญโญชนสมั ปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของอารัมมณปจ จัย คอื เพราะปรารภสญั โญชนธรรมท้ังหลาย สญั โญชนธรรมท้งั หลายยอ มเกิดข้ึน. พงึ กระทํามูล (วาระท่ี ๒) เพราะปรารภสัญโญชนธรรมทง้ั หลาย ขนั ธท ้งั หลายท่เี ปน สญั โญชน-สัมปยุตตธรรมแตไ มใชสญั โญชนธรรม ยอมเกดิ ขน้ึ . พึงกระทํามลู (วาระท่ี ๓) เพราะปรารภสญั โญชนธรรมทัง้ หลาย ขนั ธท ัง้ หลายท่ีเปนทัง้ สญั โญชน-ธรรมและสัญโญชนสมั ปยตุ ตธรรม ยอ มเกดิ ขน้ึ . ๔. ธรรมทเ่ี ปน สญั โญชนสมั ปยตุ ตธรรม แตไ มใ ชสัญโญชนธรรม เปนปจจัยแกธ รรมทีเ่ ปนสัญโญชนสัมปยตุ ตธรรมแตไ มใชสญั โญชนธรรม ดวยอาํ นาจของอารมั มณปจจัย คือ เพราะปรารภขันธท้งั หลาย ที่เปน สัญโญชนสัมปยตุ ตธรรม แตไมใ ชส ญั โญชนธรรม ขันธท ้งั หลายทีเ่ ปน สญั โญชนสัมปยุตตธรรม แตไมใ ชสญั โญชนธรรม ยอมเกดิ ขน้ึ . ๕. ธรรมทเี่ ปนสัญโญชนสัมปยตุ ตธรรม แตไมใชสญั โญชนธรรม เปน ปจจยั แกธ รรมที่เปน ทัง้ สัญโญชนธรรม และสญั โญชนสัมปยุตตธรรม ดวยอาํ นาจของอารัมมณปจ จัย

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 538 คือ เพราะปรารภขนั ธท ั้งหลาย ที่เปนสัญโญชนสัมปยตุ ตธรรม แตไมใ ชสญั โญชนธรรม สัญโญชนธรรมท้งั หลาย ยอมเกิดขนึ้ . ๖. ธรรมทีเ่ ปนสญั โญชนสมั ปยุตตธรรม แตไ มใชสัญโญชนธรรม เปน ปจจยั แกธรรมทเ่ี ปนทั้งสญั โญชนธรรม และสญั โญชนสมั ปยตุ ตธรรม และธรรมที่เปนสัญโญชนสัมปยตุ ตธรรมแตไมใ ชส ัญโญชนธรรม ดวยอ านาจของอารมั มณปจ จัย คือ เพราะปรารภขันธท ้ังหลาย ทีเ่ ปนสัญโญชนสมั ปยตุ ตธรรม แตไมใ ชสัญโญชนธรรม สัญโญชนธรรมทั้งหลาย และขันธทง้ั หลายทีเ่ ปนสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แตไ มใชสัญโญชนธรรม ยอ มเกดิ ขน้ึ . ๗. ธรรมท่ีเปนท้งั สัญโญชนธรรม และสญั โญชน-สัมปยตุ ตธรรม และธรรมทเี่ ปนทั้งสัญโญชนสัมปยตุ ตธรรม แตไ มใ ชสญั โญชนธรรม เปนปจ จยั แกธ รรมท่ีเปนทัง้ สัญโญชนธรรม และสัญโญชนสมั ปยตุ ตธรรม ดวยอาํ นาจของอารมั มณปจ จยั มี ๓ วาระ.(วาระท่ี ๗-๙) ๓. อธปิ ตปิ จ จัย [๔๘๙] ๑. ธรรมที่เปน ทงั้ สญั โญชนธรรม และสัญโญชน-สมั ปยตุ ตธรรม เปน ปจ จยั แกธรรมทีเ่ ปน ท้ังสัญโญชนธรรม และสญั โญชนสัมปยุตตธรรม ดว ยอ านาจของอธิปติปจจยั มีอยางเดียว คอื ท่ีเปน อารมั มณาธิปติ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑-๓)

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 539 ๔. ธรรมท่ีเปน สัญโญชนสมั ปยตุ ตธรรม แตไมใชสญั โญชนธรรม เปนปจจยั แกธรรมทเี่ ปน สัญโญชนสมั ปยุตตธรรมแตไมใชสญั โญชนธรรม ดวยอาํ นาจของอธิปตปิ จจยั มี ๒ อยาง คือทเี่ ปน อารมั มณาธปิ ติ และ สหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ(วาระท่ี ๔-๖) อารัมมณาธปิ ตกิ ด็ ี สหชาตาธิปตกิ ด็ ี พึงกระทาํ ในวาระ แมท ง้ั ๓เหลา น.้ี ๗. ธรรมที่เปน ทัง้ สัญโญชนธรรม และ สญั โญชน-สัมปยตุ ตธรรม และธรรมทเ่ี ปนสัญโญชนสัมปยตุ ตธรรม แตไมใ ชสญั โญชนธรรม เปน ปจ จยั แกธ รรมทีเ่ ปน ทงั้ สัญโญชนธรรม และสัญโญชนสมั ปยตุ ตธรรม ดว ยอํานาจของอธปิ ติปจ จยั มีอยา งเดยี ว คอื ที่เปน อารมั มณาธิปติ มี ๓ วาระ (วาระท่ี ๗-๙) ๔. อนนั ตรปจจยั [๔๙๐] ๑. ธรรมทีเ่ ปนทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชน-สมั ปยตุ ตธรรม เปน ปจ จัยแกธ รรมทเ่ี ปน ทงั้ สัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม ดว ยอาํ นาจของอนนั ตรปจจยั มี ๙ วาระ. การจําแนกไมมี เหมอื นกบั อารมั มณปจจยั ไมมีแตกตางกนั . ๕. สมนนั ตรปจจยั ฯลฯ ๑๐. อาเสวนปจ จยั ฯลฯ เปนปจ จัย ดว ยอาํ นาจของสมนนั ตรปจ จยั มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 540 ฯลฯ เปน ปจ จยั ดวยอาํ นาจของสหชาตปจ จัย มี ๙ วาระ. ฯลฯ เปน ปจจัย ดวยอํานาจของอญั ญมญั ญปจจัย มี ๙ วาระ. ฯลฯ เปน ปจจัย ดว ยอาํ นาจของนสิ สยปจจัย มี ๙ วาระ. ฯลฯ เปน ปจ จัย ดว ยอํานาจของอปุ นิสสยปจ จยั มี ๙ วาระ. พึงกระทาํ โดยนัยแหงอารัมมณปจ จัย. ฯลฯ เปนปจจัย ดว ยอํานาจของอาเสวนปจ จัย มี ๙ วาระ. ๑๑. กมั มปจ จัย [๔๙๑] ๑. ธรรมทเ่ี ปน สัญโญชนสมั ปยุตตธรรม แตไมใ ชสญั โญชนธรรม เปนปจจัยแกธรรมที่เปน สญั โญชนสมั ปยตุ ตธรรมแตไ มใ ชสญั โญชนธรรม ดวยอาํ นาจของกมั มปจจยั มี ๓ วาระ. ๑๒. อาหารปจจัย ฯลฯ ๒๑. อวิคตปจจยั ฯลฯ เปนปจจยั ดว ยอํานาจของอาหารปจจยั มี ๓ วาระ. ฯลฯ เปนปจ จยั ดว ยอาํ นาจของอนิ ทรยิ ปจ จัย มี ๓ วาระ. ฯลฯ เปนปจ จยั ดว ยอาํ นาจของฌานปจ จัย มี ๓ วาระ. ฯลฯ เปน ปจจัย ดวยอาํ นาจของมคั คปจ จัย มี ๙ วาระ. ฯลฯ เปน ปจ จัย ดว ยอาํ นาจของสัมปยตุ ตปจ จัย มี ๙ วาระ. ฯลฯ เปนปจจัย ดว ยอาํ นาจของวปิ ปยุตตปจจยั มี ๙ วาระ. ฯลฯ เปน ปจ จยั ดวยอํานาจของอธิปติปจจยั มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 541 ฯลฯ เปนปจ จยั ดวยอาํ นาจของนตั ถปิ จ จยั มี ๙ วาระ ฯลฯ เปน ปจจยั ดว ยอํานาจของวิคตปจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ เปน ปจจัย ดว ยอาํ นาจของอวิคตปจ จยั มี ๙ วาระ การนับจาํ นวนวาระในอนุโลม [๔๙๒] ในเหตปุ จจยั มี ๓ วาระ ในอารัมมณปจจัย มี ๙ วาระในอธปิ ตปิ จจยั มี ๙ วาระ ในอนันตรปจจยั มี ๙ วาระ ในสมนนั ตรปจจยัมี ๙ วาระ ในสหชาตปจ จยั มี ๙ วาระ ในอัญญมญั ญปจจยั มี ๙ วาระ ในนสิ สยปจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปจ จยั มี ๙ วาระ ในอาเสวนปจจยัมี ๙ วาระ ในกัมมปจ จยั มี ๓ วาระ ในอาหารปจจยั มี ๓ วาระ ในอนิ ทริย-ปจ จัย มี ๓ วาระ ในฌานปจ จัย มี ๓ วาระ ในมคั คปจจยั มี ๙ วาระ ในสมั ปยตุ ตปจ จยั มี ๙ วาระ ในอตั ถปิ จจัย มี ๙ วาระ ในนัตถปิ จ จยั มี ๙ วาระในวิคตปจ จัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปจ จัย มี ๙ วาระ. ปจ จนยี นยั การยกปจ จัยในปจจนียะ [๔๙๓] ๑. ธรรมที่เปน ทัง้ สัญโญชนธรรม และสัญโญชน-สัมปยตุ ตธรรม เปน ปจจัยแกธรรมท่เี ปนท้งั สัญโญชนธรรม และสญั โญชนสมั ปยตุ ตธรรม ดวยอาํ นาจของอารมั มณปจจัย, เปน ปจ จัยดวยอํานาจของสหชาตปจจัย, เปนปจจยั ดวยอาํ นาจของอุปนิสสย-ปจ จยั ฯลฯ

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 542 ๙ วาระ พงึ กระทําอยางทก่ี ลา วมาแลว พงึ เปลยี่ นแปลง ในบททงั้ ๓นน่ั เทยี ว นานาขณกิ ะ ไมม ี. การนับจํานวนวาระในปจ จนยี ะ [๔๙๔] ในนเหตปุ จจัย มี ๙ วาระ ในนอารมั มณปจจยั มี ๙ วาระในปจ จัยทัง้ ปวง มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปจจัย มี ๙ วาระ. อนโุ ลมปจ จนยี นัย การนยั จาํ นวนวาระในปจจนยี ะ [๔๙๕] เพราะเหตุปจ จยั ในนอารมั มณปจจยั มี ๓ วาระ... ฯลฯในนสมนนั ตรปจ จัย มี ๓ วาระ ในนอุปนสิ สยปจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาต-ปจ จัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปจจยั มี ๓ วาระ ในนสมั ปยุตตปจ จยั มี ๓วาระ ในนวิปปยตุ ตปจ จัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปจ จัย มี ๓ วาระ ในโนวคิ ต-ปจ จยั มี ๓ วาระ. ปจจนียานุโลมนยั การนบั จํานวนวาระในปจ จนยี านโุ ลม [๔๙๖] เพราะนเหตุปจจยั ในอารัมมณปจ จัย มี ๙ วาระ. . . ในอธปิ ตปิ จจัย มี ๙ วาระ พงึ กระทาํ บทท่ีเปนอนุโลม ฯลฯ ในอวคิ ตปจ จยั มี ๙วาระ. สญั โญชนสญั โญชนสมั ปยตุ ตทกุ ะ จบ

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 543 ๒๕. สัญโญชนวิปปยตุ ตสัญโญชนิยทุกะ ปฏจิ จวาระ อนุโลมนัย ๑. เหตปุ จ จัย [๔๙๗] ๑. ธรรมท่ีเปนสัญโญชนวปิ ปยตุ ตสญั โญชนยิ ธรรมอาศัยธรรมที่เปน สญั โญชนวปิ ปยตุ ตสญั โญชนิยธรรม เกิดขึน้ เพราะเหตปุ จจยั คอื ขนั ธ ๓ และจิตตสมุฏฐานรปู อาศยั ขนั ธ ๑ ทเี่ ปนสญั โญชน-วปิ ปยุตตสญั โญชนยิ ธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ปฏสิ นธิ ฯลฯ ตลอดถงึ อสัญญสตั ว มหาภตู รปู ทั้งหลาย. ๒. ธรรมท่ีเปนสญั โญชนวิปปยตุ ตอสญั โญชนิยธรรมอาศัยธรรมทีเ่ ปน สญั โญชนวิปปยตุ ตอสญั โญชนยิ ธรรม เกดิ ขึน้เพราะเหตุปจจัย คือ ขนั ธ ๓ อาศัยขนั ธ ๑ ท่ีเปน สญั โญชนวิปปยุตตอสัญโญชนยิ -ธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ๓. ฯลฯ ธรรมทีเ่ ปน สัญโญชนวิปปยุตตอสัญโญ-ชนิยธรรม ฯลฯ พงึ กระทํา ๒ วาระ. ทกุ ะน้เี หมือนกับโลกยิ ทุกะในจฬู ันตรทกุ ะ ไมม แี ตกตา งกนั . สัญโญชนวิปปยตุ ตสญั โญชนิยทกุ ะ จบ

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 544 ๒๖. คันถทุกะ ปฏจิ จวาระ อนโุ ลมนยั ๑. เหตปุ จ จยั [๔๙๘] ๑. คันถธรรม อาศยั คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปจ จยั คือ อภิชฌากายคนั ถะ อาศัยสลี พั พตปรามาสกายคนั ถะ, สีลพั พต-ปรามาสกายคันถะ อาศัยอภิชฌากายคันถะ, อภิชฌากายคันถะ อาศยั อิทังสจั จา-ภนิ เิ วสกายคันถะ, อิทงั สัจจาภนิ ิเวสกายคนั ถะ อาศยั อภชิ ฌากายคันถะ. ๒. ธรรมท่ไี มใ ชค นั ถธรรม อาศยั คนั ถธรรม เกดิ ข้ึนเพราะเหตปุ จ จยั คอื สมั ปยุตตขันธ และจติ ตสมุฏฐานรปู ทงั้ หลาย อาศยั คันถธรรมท้ังหลาย. ๓. คนั ถธรรม และธรรมท่ไี มใชค นั ถธรรม อาศยัคันถธรรม เกิดขึน้ เพราะเหตุปจจยั คอื อภิชฌากายคันถะ สมั ปยุตตขนั ธทัง้ หลาย และจิตตสมุฏฐานรปูอาศยั สีลัพพตปรามาสกายคนั ถธรรม. พงึ ผูกจกั รนยั ๔. ธรรมทีไ่ มใชคนั ถธรรม อาศยั ธรรมท่ไี มใ ชค นั ถ-ธรรม เกิดขนึ้ เพราะเหตุปจ จยั

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 545 คือ ขันธ ๓ และจติ ตสมุฏฐานรปู อาศัยขนั ธ ๑ ทไี่ มใชค ันถธรรม ฯลฯอาศัยขันธ ๒. ในปฏสิ นธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธทง้ั หลาย, ขนั ธท ัง้ หลายอาศัยหทยวัตถุ. ฯลฯ มหาภตู รูป ๑ ฯลฯ ๕. คันถธรรม อาศัยธรรมทไี่ มใ ชคันถธรรม เกิดขน้ึเพราะเหตปุ จจัย คือ คนั ถธรรมท้ังหลาย อาศัยขันธท ั้งหลายทไ่ี มใชคนั ถธรรม. ๖. คันถธรรม และธรรมท่ไี มใ ชค ันถธรรม อาศยัธรรมท่ีไมใ ชค ันถธรรม เกดิ ขึน้ เพราะเหตุปจ จัย คือ ขันธ ๓ และจติ ตสมฏุ ฐานรูป อาศัยขันธ ๑ ทไ่ี มใ ชค ันถธรรม ฯลฯอาศัยขนั ธ ๒. ๗. คนั ถธรรม อาศยั คันถธรรม และธรรมท่ีไมใ ชคันถธรรม เกดิ ขึน้ เพราะเหตปุ จ จยั คอื อภชิ ฌากายคันถะ อาศยั สลี พั พตปรามาสกายคันถะ และสัมปยุตต-ขันธทงั้ หลาย. พึงผกู จักรนัย ๘. ธรรมท่ไี มใ ชคนั ถธรรม อาศัยคนั ถธรรม และธรรมท่ไี มใ ชคนั ถธรรม เกดิ ขน้ึ เพราะเหตุปจ จัย คอื ขนั ธ ๓ และจิตตสมฏุ ฐานรูป อาศยั ขันธ ๑ ทไ่ี มใ ชค ันถธรรมและคันถธรรมท้ังหลาย ฯลฯ อาศยั ขนั ธ ๒. จติ ตสมุฏฐานรูป อาศัยคันถะและสัมปยตุ ตขันธท ั้งหลาย.

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 546 ๙. คนั ถธรรม และธรรมทไี่ มใชค ันถธรรม อาศัยคันถธรรม และธรรมทไ่ี มใชคนั ถธรรม เกิดขนึ้ เพราะเหตปุ จจยั คือ ขันธ ๓ อภชิ ฌากายคันถะ และจติ ตสมฏุ ฐานรูป อาศยั ขันธ ๑ทีไ่ มใ ชคนั ถธรรม และสลี ัพพตปรามาสกายคันถะ ฯลฯ อาศยั ขนั ธ ๒. พงึ ผูกจักรนัย ฯลฯ เพราะอารัมมณปจ จยั ฯลฯ เพราะอวคิ ตปจ จยั การนบั จ านวนวาระในอนโุ ลม [๔๙๙] ในเหตปุ จ จัย มี ๙ วาระ ในอารมั มณปจจยั มี ๙ วาระในอธิปตปิ จจัย มี ๙ วาระ ในปจจัยท้ังปวง มี ๙ วาระ ในวปิ ากปจ จยัมี ๑ วาระ ในอาหารปจจยั มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปจจัย มี ๙ วาระ. ปจจนยี นยั ๑. นเหตุปจจัย [๕๐๐] ๑. ธรรมท่ไี มใชค ันถธรรม อาศยั ธรรมท่ไี มใชคันถ-ธรรม เกิดข้นึ เพราะนเหตปุ จจยั คอื ขันธ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศยั ขนั ธ ๑ ทีไ่ มใ ชคนั ถธรรมซึ่งเปนอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ อเหตุกปฏสิ นธิ ตลอดถึงอสญั ญสตั ว. โมหะ ท่ีสหรคตดว ยวิจิกิจฉา ท่สี หรคตดว ยอุทธัจจะ อาศยั ขนั ธท้ังหลายที่สหรคตดวยวจิ ิกจิ ฉา ที่สหรคตดว ยอทุ ธจั จะ.

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 547 ๒. นอารมั มณปจ จัย [๕๐๑] ๑. ธรรมท่ีไมใชค นั ถธรรม อาศยั คนั ถธรรม เกิดขน้ึเพราะนอารมั มณปจจัย คือ จติ ตสมฏุ ฐานรูป อาศยั คนั ถธรรมทง้ั หลาย. ๒. ธรรมทไ่ี มใ ชคันถธรรม อาศัยธรรมทีไ่ มใ ชคันถ-ธรรม เกิดข้นึ เพราะนอารัมมณปจ จยั คอื จติ ตสมฏุ ฐานรูป อาศยั ขันธทัง้ หลายท่ไี มใ ชค ันถธรรม. ในปฏิสนธขิ ณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสตั ว. ๓. ธรรมทไ่ี มใชคนั ถธรรม อาศยั คนั ถธรรม และธรรมที่ไมใชคนั ถธรรม เกดิ ขน้ึ เพราะนอารัมมณปจ จัย คือ จิตตสมฏุ ฐานรูป อาศัยคันถธรรม และสมั ปยตุ ตขันธทัง้ หลาย ฯลฯ ๓. นอธปิ ตปิ จ จัย ฯลฯ ๗. อุปนสิ สยปจจัย ฯลฯ เพราะนอธิปติปจจยั มี ๙ วาระ. ฯลฯ เพราะนอนนั ตรปจจัย มี ๓ วาระ. ฯลฯ เพราะนสมนนั ตรปจ จยั มี ๓ วาระ. ฯลฯ เพราะนอัญญมญั ญปจจัย มี ๓ วาระ. ฯลฯ เพราะนอปุ นสิ สยปจ จัย มี ๓ วาระ. ๘. นปุเรชาตปจ จัย [๕๐๒] ๑. คันถธรรม อาศยั คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปจ จัย

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 548 คอื ในอรปู ภูมิ อภิชฌากายคันถะ อาศยั อทิ งั สจั จาภินเิ วสกายคนั ถะอทิ ังสัจจาภนิ ิเวสกายคนั ถะ อาศยั อภิชฌากายคันถะ, ในอรปู ภมู ิ สีลัพพตปรามาสไมม ี. พึงกระทาํ ๙ วาระ อยางนี.้ ๙. นปจฉาชาตปจ จัย ฯลฯ ๒๐. โนวคิ ตปจจยั ฯลฯ เพราะนปจฉาชาตปจจยั มี ๙ วาระ. ฯลฯ เพราะนอาเสวนปจจัย มี ๙ วาระ. ฯลฯ เพราะนกมั มปจจัย มี ๓ วาระ. ฯลฯ เพราะนวิปากปจจยั มี ๙ วาระ. ฯลฯ เพราะนอาหารปจ จยั มี ๑ วาระ. ฯลฯ เพราะนอนิ ทรยิ ปจ จัย มี ๑ วาระ. ฯลฯ เพราะนฌานปจจยั มี ๑ วาระ. ฯลฯ เพราะนมัคคปจ จัย มี ๑ วาระ. ฯลฯ เพราะนสมั ปยุตตปจ จัย มี ๓ วาระ. ฯลฯ เพราะโนวิปปยตุ ตปจ จยั มี ๙ วาระ. ฯลฯ เพราะโนนัตถิปจจยั มี ๓ วาระ. ฯลฯ เพราะโนวคิ ตปจจยั มี ๓ วาระ. การนบั จํานวนวาระในปจ จนยี ะ [๕๐๓] ในนเหตุปจ จัย มี ๑ วาระ ในนอารมั มณปจจัย มี ๓ วาระในนอธิปติปจ จัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปจ จยั มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 549ปจ จัย มี ๓ วาระ ในนอญั ญมญั ญปจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนสิ สยปจ จัยมี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปจ จัย มี ๙ วาระ ในนปจฉาชาตปจจัย มี ๙ วาระในนอาเสวนปจ จยั มี ๙ วาระ ในนกัมมปจจยั มี ๓ วาระ ในนวปิ ากปจ จยัมี ๙ วาระ ในนอาหารปจ จัย มี ๑ วาระ ในนอินทรยิ ปจจยั มี ๑ วาระในนฌานปจจยั มี ๑ วาระ ในนมคั คปจ จยั มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปจ จยัมี ๓ วาระ ในนวิปปยตุ ตปจ จัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปจจยั มี ๓ วาระในโนวิคตปจ จยั มี ๓ วาระ. อนโุ ลมปจจนียนยั การนบั จ านวนวาระในอนโุ ลมปจจนียะ [๕๐๕] เพราะเหตุปจ จัย ในนอารัมมณปจ จัย มี ๓ วาระ...ในนอธิปติปจจัย มี ๙ วาระ พึงนับอยางที่กลา วมาแลว . ปจ จนียานโุ ลม การนับจํานวนวาระในปจ จนียานุโลม [๕๐๕] เพราะนเหตปุ จจัย ในอารมั มณปจจยั มี ๑ วาระ... ในอนันตรปจ จยั มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวคิ ตปจจัย มี ๑ วาระ. สหชาตวาระ เหมอื นกบั ปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 550 ปจ จยวาระ อนุโลมนยั ๑. เหตุปจจัย [๕๐๖] ๑. คันถธรรม อาศยั คันถธรรม เกดิ ข้นึ เพราะเหตุปจ จัย มี ๓ วาระ เหมือนกับ ปฏจิ จวาระ. ๔. ธรรมท่ไี มใชคนั ถธรรม อาศยั ธรรมทไี่ มใ ชคนั ถ-ธรรม เกดิ ขน้ึ เพราะเหตุปจ จัย คือ ขนั ธ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขนั ธ๑ ทไี่ มใชคนั ถธรรม ฯลฯขนั ธ ๒ ฯลฯ ในปฏสิ นธขิ ณะ หทยวตั ถุ อาศยั ขันธท ัง้ หลาย, ขันธทง้ั หลาย อาศัยหทยวตั ถุ. มหาภตู รูป ๑ ฯลฯ ขนั ธท้งั หลายทไ่ี มใชค ันถธรรม อาศยั หทยวัตถ.ุ ๕. คนั ถธรรม อาศยั ธรรมทไี่ มใ ชค ันถธรรม เกดิ ข้ึนเพราะเหตปุ จจัย คอื คันถธรรมทงั้ หลาย อาศัยขันธท ้งั หลายทไี่ มใ ชค ันถธรรมคันถธรรมท้ังหลาย อาศยั หทยวัตถ.ุ ๖. คนั ถธรรม และธรรมทีไ่ มใ ชค นั ถธรรม อาศยัธรรมทไี่ มใชคันถธรรม เกดิ ขึน้ เพราะเหตปุ จ จัย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook