Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_88

tripitaka_88

Published by sadudees, 2017-01-10 01:17:04

Description: tripitaka_88

Search

Read the Text Version

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 601 ๒. คนั ถสัมปยุตตธรรม เปน ปจ จยั แกคนั ถวปิ ปยุตต-ธรรม ดวยอาํ นาจของอธปิ ติปจ จยั มี ๒ อยาง คือทเี่ ปน อารมั มณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ท่ีเปน อารมั มณาธปิ ติ ไดแ ก เพราะกระทาํ ขนั ธทัง้ หลายทเี่ ปน คันถสมั ปยตุ ตธรรมใหเ ปน อารมณอยางหนกั แนน โลภะทเี่ ปน ทิฏฐคิ ตวิปปยุตตธรรม ยอ มเกดิ ขึ้น. ท่เี ปน สหชาตาธปิ ติ ไดแก อธปิ ติธรรมทเี่ ปน คันถสัมปยุตตธรรม เปน ปจจยั แกจิตตสมฏุ ฐานรูปทัง้ หลาย ดวยอํานาจของอธปิ ติปจจัย. อธปิ ติธรรมท่สี หรคตดว ยโลภะที่เปน ทิฏฐคิ ตวปิ ปยุตตธรรม เปนปจจัยแกโ ลภะ และจิตตสมฏุ ฐานรปู ท้ังหลาย ดว ยอาํ นาจของอธปิ ตปิ จ จยั . อธิปติธรรมทส่ี หรคตดวยโทมนัส เปน ปจ จยั แกป ฏิฆะ และจติ ตสมฏุ -ฐานรปู ทง้ั หลาย ดว ยอํานาจของอธิปติปจ จยั . ๓. คนั ถสมั ปยุตตธรรม เปนปจ จัยแกคันถสมั ปยุตต-ธรรม และคนั ถวิปปยตุ ตธรรม ดวยอาํ นาจของอธิปตปิ จ จัย มี ๒ อยาง คือท่ีเปน อารมั มณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ทเ่ี ปน อารัมมณาธปิ ติ ไดแ ก เพราะกระทาํ ขันธท ้ังหลายทเ่ี ปน คนั ถสัมปยตุ ตธรรมใหเปนอารมณอยางหนักแนน ขันธท้ังหลายทสี่ หรคตดวยโลภะ ท่ีเปนทิฏฐิคตวปิ ปยตุ ตธรรมและโลภะ ยอ มเกดิ ขน้ึ .

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 602 ท่เี ปน สหชาตาธิปติ ไดแ ก อธิปตธิ รรมที่สหรคตดว ยโลภะท่เี ปน ทฏิ ฐคิ ตวปิ ปยุตตธรรม เปนปจ จยั แกสัมปยตุ ตขันธท้ังหลาย, โลภะ และจติ ตสมุฏฐานรปู ทงั้ หลาย ดว ยอํานาจของอธิปติปจจัย. อธปิ ตธิ รรมท่ีสหรคตดว ยโทมนสั เปนปจ จัยแกสัมปยุตตขันธท ้งั หลาย,ปฏฆิ ะ และจิตตสมฏุ ฐานรูปทงั้ หลาย ดวยอาํ นาจของอธิปตปิ จจยั . ๔. คนั ถวปิ ปยุตตธรรม เปน ปจ จยั แกค นั ถวิปปยตุ ต-ธรรม ดวยอาํ นาจของอธปิ ตปิ จจัย มี ๒ อยา ง คือที่เปน อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ทเ่ี ปน อารัมมณาธิปติ ไดแ ก บุคคลใหทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อโุ บสถกรรมแลว ฯลฯ กระทํากุศลกรรมน้นั ใหเปน อารมณอ ยางหนักแนนแลว พิจารณา. บคุ คลกระทาํ กศุ ลกรรมทั้งหลาย ท่ีเคยส่ังสมไวแ ลวในกาลกอนใหเปนอารมณอ ยางหนกั แนน แลว พิจารณา. บุคคลออกจากฌาน กระทําฌานใหเปนอารมณอยา งหนักแนน แลวพจิ ารณา. พระอริยะท้ังหลาย ออกจากมรรค กระทาํ มรรคใหเปน อารมณอยางหนักแนนแลวพจิ ารณา, กระทําผลใหเปน อารมณอยางหนักแนน แลวพจิ ารณา,กระทํานิพพานใหเปนอารมณอยางหนักแนน แลว พิจารณา. นิพพาน เปนปจ จัยแกโ คตรภู, แกโ วทาน, แกมรรค, แกผ ล, ดวยอํานาจของอธปิ ตปิ จจัย.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 603 บุคคลยอมยินดี ยอมเพลิดเพลนิ ย่งิ เพราะกระทําจักษุ ฯลฯ หทยวตั ถุขนั ธท้ังหลายทเ่ี ปนคันถวปิ ปยตุ ตธรรม และโลภะใหเ ปน อารมณอ ยา งหนักแนนคร้ันกระทําจกั ษุเปน ตนน้ัน ใหเ ปนอารมณอยา งหนกั แนนแลว ราคะทเ่ี ปนคันถวิปปยตุ ตธรรม ยอ มเกิดขึ้น. ทเี่ ปน สหชาตาธิปติ ไดแก อธิปติธรรมท่เี ปนคันถวปิ ปยตุ ตธรรม เปน ปจ จยั แกส ัมปยุตตขนั ธและจติ ตสมฏุ ฐานรปู ทงั้ หลาย ดวยอํานาจของอธิปตปิ จ จัย ๕. คันถวิปปยุตตธรรม เปนปจ จัยแกคันถสัมปยุตต-ธรรม ดว ยอํานาจของอธิปตปิ จ จัย มีอยางเดยี ว คือที่เปน อารมั มณาธิปติ ไดแ ก ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กุศลกรรมทัง้ หลายที่เคยสง่ั สมไวแลวในกาลกอน ฯลฯ ออกจากฌาน พจิ ารณาฌาน ฯลฯ บคุ คลยอมยนิ ดี ยอมเพลิดเพลนิ ยิ่ง เพราะกระทาํ จกั ษุ ฯลฯ หทยวตั ถุขันธท ง้ั หลายที่เปน คันถวปิ ปยตุ ตธรรม และโลภะ ใหเ ปน อารมณอยางหนกัแนน ครนั้ กระทําจกั ษุเปนตน นั้นใหเปน อารมณอ ยา งหนกั แนน แลว ราคะที่เปน คนั ถสมั ปยุตตธรรม ยอมเกิดข้ึน ทฏิ ฐิ ยอมเกิดขึน้ . ๖. คนั ถวิปปยุตตธรรม เปน ปจจัยแกค ันถสัมปยตุ ต-ธรรม และคันถวิปปยุตตธรรม ดว ยอํานาจของอธปิ ตปิ จจยั มอี ยางเดียว คือทเ่ี ปน อารมั มณาธิปติ ไดแก

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 604 เพราะกระทําจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธท้งั หลายที่เปนคนั ถวปิ ปยุตต-ธรรม และโลภะ ใหเปนอารมณอ ยา งหนกั แนน ขนั ธท ้ังหลายที่สหรคตดวยโลภะทีเ่ ปนทฏิ ฐคิ ตวปิ ปยตุ ตธรรม และโลภะ ยอมเกิดขน้ึ . ๗. คนั ถสมั ปยตุ ตธรรม และคนั ถวิปปยุตตธรรมเปนปจจัยแกค ันถสมั ปยุตตธรรม ดวยอาํ นาจของอธิปติปจจัย มีอยางเดียว คือทเี่ ปน อารัมมณาธปิ ติ ไดแ ก เพราะกระทําขันธท ้งั หลาย ที่สหรคตดว ยโลภะท่ีเปนทิฏฐิคตวิปปยุตต-ธรรม และโลภะ ใหเปนอารมณอ ยา งหนักแนน ขันธทง้ั หลายที่เปน คันถสมั -ปยตุ ตธรรม ยอมเกิดขึ้น. พึงถามถึงมูล (วาระท่ี ๘) เพราะกระทําขนั ธท ้ังหลายที่สหรคตดวยโลภะ ที่เปนทฏิ ฐคิ ตวิปปยตุ ต-ธรรม และโลภะใหเปน อารมณอยา งหนักแนน โลภะทเ่ี ปน ทฏิ ฐคิ ตวปิ ปยตุ ต-ธรรม ยอ มเกดิ ข้นึ . พงึ ถามถงึ มูล (วาระท่ี ๙) เพราะกระทาํ ขนั ธท ้งั หลายทีส่ หรคตดวยโลภะ ทเี่ ปน ทิฏฐคิ ตวปิ ปยุตต-ธรรม และโลภะใหเปน อารมณอ ยา งหนกั แนน ขันธท ัง้ หลายที่สหรคตดว ยโลภะ ท่เี ปนทฏิ ฐิคตวปิ ปยตุ ตธรรม และโลภะ ยอมเกดิ ขึน้ . ๔. อนันตรปจจยั [๕๔๙] ๑. คนั ถสมั ปยตุ ตธรรม เปน ปจจัยแกค นั ถสัมปยตุ ต-ธรรม ดว ยอํานาจของอนันตรปจจัย

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 605 คือ ขันธทั้งหลายที่เปน คันถสัมปยุตตธรรม ทเ่ี กิดกอ น ๆ เปนปจจยั แกขันธท้ังหลายทเี่ ปนคนั ถสมั ปยุตตธรรม ที่เกดิ หลงั ๆ ดวยอาํ นาจของอนนั ตรปจจยั . พงึ ถามถงึ มูล (วาระที่ ๒) ขนั ธทั้งหลายทสี่ หรคตดวยโลภะ ท่เี ปน ทฏิ ฐิคตวปิ ปยตุ ตธรรม ท่ีเกดิ กอน ๆ เปน ปจจยั แกโ ลภะท่เี ปน ทฏิ ฐคิ ตวปิ ปยุตตธรรม ท่ีเกดิ หลงั ๆดว ยอาํ นาจของอนนั ตรปจจัย. ขนั ธทง้ั หลายที่สหรคตดว ยโทมนสั ทีเ่ กิดกอน ๆ เปนปจจัยแกป ฏิฆะที่เกดิ หลงั ๆ ดวยอาํ นาจของอนนั ตรปจจัย. ขันธท ้งั หลายที่เปนคันถสัมปยุตตธรรม เปน ปจ จยั แกว ฏุ ฐานะ ดว ยอํานาจของอนนั ตรปจจัย. พงึ ถามถงึ มลู (วาระที่ ๓) ขันธท ้งั หลายท่สี หรคตดว ยโลภะ ทีเ่ ปน ทฏิ ฐคิ ตวปิ ปยตุ ตธรรม ทีเ่ กิดกอน ๆ เปนปจจยั แกขันธท ้งั หลายทสี่ หรคตดว ยโลภะ ทเี่ ปนทฏิ ฐิคตวปิ ปยุตต-ธรรม ที่เกิดหลัง ๆ และโลภะ ดวยอาํ นาจของอนันตรปจจัย. ขนั ธทง้ั หลายทส่ี หรคตดวยโทมนัส ท่ีเกดิ กอน ๆ เปน ปจจยั แกข ันธทง้ั หลายทส่ี หรคตดวยโทมนัส ทเ่ี กิดหลงั ๆ และปฏฆิ ะ ดว ยอํานาจของอนันตรปจ จยั . ๔. คันถวปิ ปยตุ ตธรรม เปน ปจ จยั แกค ันถวปิ ปยุตต-ธรรม ดวยอํานาจของอนันตรปจจยั

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 606 คอื โลภะทเี่ ปน ทิฏฐิคตวปิ ปยุตตธรรม ทีเ่ กิดกอน ๆ เปนปจ จยั แกโลภะทเ่ี ปน ทฏิ ฐิคตวปิ ปยุตตธรรม ทเ่ี กิดหลัง ๆ ดวยอํานาจของอนนั ตรปจจยั . ปฏฆิ ะที่สหรคตดวยโทมนัส ทเ่ี กดิ กอน ๆ เปน ปจ จัยแกป ฏฆิ ะ ทเี่ กิดหลงั ๆ ดวยอํานาจของอนันตรปจ จัย. ขนั ธทง้ั หลายทีเ่ ปน คนั ถวปิ ปยุตตธรรม ทีเ่ กิดกอ น ๆ เปน ปจ จัยแกขันธท ัง้ หลายที่เปนคันถวปิ ปยตุ ตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ดวยอํานาจของอนนั ตร-ปจ จัย. อนโุ ลม เปน ปจจัยแกโ คตรภู แกผ ลสมาบัติ ดว ยอาํ นาจของอนันตร-ปจ จยั . ๕. คันถวปิ ปยตุ ตธรรม เปนปจ จัยแกคยั ถสัมปยตุ ต-ธรรม ดว ยอํานาจของอนนั ตรปจจัย คอื โลภะทเ่ี ปนทิฏฐคิ ตวปิ ปยุตตธรรม ท่เี กิดกอ น ๆ เปนปจ จยั แกขันธทง้ั หลายทส่ี หรคตดวยโลภะ ที่เปนทฏิ ฐคิ ตวปิ ปยุตตธรรม ที่เกิดหลัง ๆดวยอํานาจของอนันตรปจ จัย. ปฏฆิ ะ ทเ่ี กิดกอ น ๆ เปน ปจจัยแกข นั ธทั้งหลายที่สหรคตดว ยโทมนสัทเี่ กดิ หลงั ๆ ดวยอาํ นาจของอนันตรปจ จัย. อาวัชชนะ เปนปจ จยั แกข ันธท งั้ หลายท่เี ปน คันถสมั ปยตุ ตธรรม ดว ยอาํ นาจของอนนั ตรปจ จยั . ๖. คนั ถวิปปยุตตธรรม เปนปจ จัยแกค ันถสมั ปยตุ ต-ธรรม และคันถวปิ ปยุตตธรรม ดว ยอาํ นาจของอนันตรปจจัย

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 607 คอื โลภะทเ่ี ปน ทิฏฐคิ ตวปิ ปยุตตธรรม ท่ีเกดิ กอ น ๆ เปน ปจจยั แกขันธท ั้งหลายท่สี หรคตดวยโลภะทเ่ี ปน ทฏิ ฐิคตวปิ ปยุตตธรรม ทเ่ี กิดหลัง ๆ และโลภะ ดวยอาํ นาจของอนันตรปจ จัย. ปฏิฆะ ท่ีเกิดกอ น ๆ เปน ปจ จัยแกขนั ธทงั้ หลายทส่ี หรคตดว ยโทมนัสที่เกิดหลัง ๆ และปฏฆิ ะ ดวยอํานาจของอนนั ตรปจ จัย. อาวัชชนะ เปนปจจยั แกข ันธทง้ั หลายที่สหรคตดว ยโลภะ ที่เปนทิฏฐคิ ตวิปปยตุ ตธรรม และโลภะ ขนั ธท ั้งหลายท่ีสหรคตดว ยโทมนสั และปฏิฆะ ดว ยอํานาจของอนนั ตรปจจยั . ๕. คนั ถสัมปยตุ ตธรรม และคนั ถวิปปยตุ ตธรรมเปนปจ จัยแกค นั ถสัมปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของอนันตรปจ จยั คอื ขนั ธทงั้ หลายทส่ี หรคตดวยโลภะที่เปนทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม ที่เกดิ กอ น ๆ และโลภะ เปน ปจจัยแกข ันธท้ังหลายทสี่ หรคตดวยโลภะ ท่ีเปนทฏิ ฐิคตวปิ ปยตุ ตธรรม ท่เี กดิ หลัง ๆ ดวยอํานาจของอนันตรปจจยั . ขันธท ้งั หลายทีส่ หรคตดว ยโทมนัส ทเ่ี กิดกอ น ๆ และปฏฆิ ะ เปนปจจัยแกขนั ธทง้ั หลายท่สี หรคตดว ยโทมนัส ท่เี กดิ หลงั ๆ ดว ยอาํ นาจของอนันตรปจ จยั . พึงถามถึงมลู (วาระท่ี ๗) ขนั ธท ั้งหลายท่ีสหรคตดวยโลภะ ทีเ่ ปนทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม ทเี่ กดิกอ น ๆ และโลภะ เปนปจ จัยแกโลภะท่เี ปน ทิฏฐคิ ตวปิ ปยตุ ตธรรม ท่เี กดิหลัง ๆ ดวยอํานาจของอนนั ตรปจจยั .

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 608 ขันธท้ังหลายท่สี หรคตดวยโทมนัส ท่ีเกิดกอ น ๆ และปฏิฆะ เปนปจจยั แกปฏฆิ ะ ท่เี กดิ หลงั ๆ ดวยอาํ นาจของอนันตรปจจยั . ขนั ธท ้งั หลายทีส่ หรคตดวยโลภะ ทีเ่ ปนทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม และโลภะ, ขันธทง้ั หลายทีส่ หรคตดวยโทมนัส และปฏิฆะ เปน ปจ จยั แกวฏุ ฐานะดวยอาํ นาจของอนันตรปจจัย. พึงถามถึงมลู (วาระที่ ๙) ขันธท ง้ั หลายท่สี หรคตดวยโลภะ ทเ่ี ปนทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม ทเี่ กิดกอ น ๆ และโลภะ เปน ปจจยั แกข ันธท ั้งหลายท่สี หรคตดว ยโลภะ ท่ีเปนทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม ที่เกดิ หลงั ๆ และโลภะ ดวยอํานาจของอนันตรปจ จัย. ขันธท ้งั หลายที่สหรคตดว ยโทมนัส ท่ีเกดิ กอ นๆ และปฏิฆะ เปนปจจยั แกข นั ธทัง้ หลายที่สหรคตดวยโทมนัส ท่ีเกดิ หลัง ๆ และปฏิฆะ ดว ยอาํ นาจของอนันตรปจจยั . ๕. สมนันตรปจจยั ฯลฯ ๘. นสิ สยปจ จัย ๑. คันถสมั ปยตุ ตธรรม เปนปจจัยแกค ันถสมั ปยุตต-ธรรม ดว ยอาํ นาจของสมนนั ตรปจ จยั ฯลฯ เปน ปจ จัย ดว ยอาํ นาจของสหชาตปจ จยั ฯลฯ เปน ปจ จยั ดวยอํานาจของอัญญมัญญปจ จัย ฯลฯ เปนปจจัย ดวยอํานาจของนสิ สยปจจัย

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 609 ๙. อปุ นสิ สยปจจัย [๕๕๐] ๑. คันถสมั ปยตุ ตธรรม เปนปจ จัยแกคนั ถสัมปยตุ ต-ธรรม ดวยอาํ นาจของอุปนิสสยปจ จัย มี ๓ อยา ง คอื ทีเ่ ปน อารัมมณปู นิสสยะ อนนั ตรปู นิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ท่เี ปน ปกตปู นิสสยะ ไดแ ก ขนั ธท ั้งหลายทเ่ี ปนคนั ถสมั ปยุตตธรรม เปนปจ จัยแกขนั ธท้งั หลายท่เี ปนคนั ถสมั ปยตุ ตธรรม ดว ยอาํ นาจของอุปนิสสยปจจยั . พงึ ถามถึงมลู (วาระที่ ๒) พงึ กระทําอปุ นิสสยปจ จยั ท้งั ๓ นัย ขันธทง้ั หลายทเ่ี ปนคนั ถสมั ปยตุ ตธรรม เปนปจจัยแกข นั ธท ัง้ หลายที่เปนคนั ถวิปปยตุ ตธรรม ดว ยอํานาจของอุปนสิ สยปจ จยั . พึงถามถงึ มลู (วาระท่ี ๓) พงึ กระทาํ อุปนิสสยปจจัย ท้ัง ๓ นัย ขันธท ้ังหลายทเ่ี ปน คนั ถสัมปยตุ ตธรรม เปน ปจ จัยแกข ันธท ง้ั หลายท่ีสหรคตดว ยโลภะ ที่เปน ทิฏฐคิ ตวิปปยตุ ตธรรม และโลภะ ดว ยอาํ นาจของอุปนสิ สยปจ จยั , เปน ปจจยั แกข นั ธท ัง้ หลายทสี่ หรคตดวยโทมนัส และปฏิฆะดวยอํานาจของอปุ นสิ สยปจ จยั . ๔. คนั ถวิปปยุตตธรรม เปนปจ จัยแกค ันถวิปปยตุ ต-ธรรม ดว ยอาํ นาจของอุปนิสสยปจจยั

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 610 มี ๓ อยาง คอื ทเี่ ปน อารัมมณูปนสิ สยะ อนันตรูปนสิ สยะ และปกตูปนิสสยะ ทเ่ี ปน ปกตูปนสิ สยะ ไดแก บุคคลเขาไปอาศยั ศรัทธาแลว ใหทาน ฯลฯ ยงั สมาบตั ใิ หเกิดขึ้นกอ มานะ. บุคคลเขาไปอาศัยศลี ฯลฯ ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ความปรารถนาสขุ ทางกาย ทุกขท างกาย อตุ ุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ แลว ใหท าน ฯลฯยังสมาบัตใิ หเกิดข้นึ ฆา สตั ว ฯลฯ ทําลายสงฆ. ศรัทธา ฯลฯ ปญญา ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา เสนาสนะ เปนปจ จัยแกศรทั ธา ฯลฯ แกปญ ญา แกร าคะ แกโ ทสะ แกโ มหะ แกมานะแกค วามปรารถนา ดว ยอํานาจของอปุ นิสสยปจจยั . ๕. คันถวปิ ปยตุ ตธรรม เปน ปจจยั แกคันถสมั ปยตุ ต-ธรรม ดวยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจ จยั มี ๓ อยาง คอื ที่เปน อารัมมณปู นิสสยะ อนนั ตรูปนสิ สยะ และปกตูปนสิ สยะ ทีเ่ ปน ปกตปู นิสสยะ ไดแก บุคคลเขาไปอาศยั ศรทั ธาแลว กอ มานะ ถอื ทฏิ ฐิ. บุคคลเขาไปอาศยั ศีล ฯลฯ ปญญา ราคะ ฯลฯ มานะ ความปรารถนา ฯลฯ เสนาสนะแลว ฆาสตั ว ฯลฯ ทําลายสงฆ. ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เปน ปจ จัยแก ราคะ แกโ ทสะ แกโมหะแกม านะ แกทฏิ ฐิ แกความปรารถนา ดวยอาํ นาจของอุปนิสสยปจ จยั .

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 611 ๖. คันถวปิ ปยตุ ตธรรม เปนปจจัยแกค ันถสมั ปยุตต-ธรรม และคนั ถวปิ ปยตุ ตธรรม ดวยอาํ นาจของอุปนิสสยปจ จัยมอี ปุ นสิ สยะทง้ั ๓ นัย. บุคคลเขา ไปอาศัยศรทั ธาแลว กอ มานะ. บุคคลเขา ไปอาศัยศลี ฯลฯ ปญ ญา ราคะ โทสะ โมหะ มานะ.ความปรารถนา สขุ ทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแลว ฆาสตั ว ฯลฯ ทําลายสงฆ. ศรทั ธา ฯลฯ ปญ ญา ราคะ โทสะ โมหะ ความปรารถนา เสนาสนะเปนปจจัยแกขนั ธท ้ังหลายทส่ี หรคตดว ยโลภะ ท่ีเปนทฏิ ฐคิ ตวิปปยุตตธรรมและโลภะ เปน ปจจัยแกขันธทั้งหลายทีส่ หรคตดวยโทมนัส และปฏิฆะ ดว ยอาํ นาจของอุปนิสสยปจ จัย. ๗. คันถสัมปยุตตธรรม และคันถวิปปยุตตธรรมเปน ปจจยั แกค ันถสัมปยตุ ตธรรม ดวยอาํ นาจของอุปนิสสยปจ จัย มี ๓ อยาง คอื ทีเ่ ปน อารมั มณปู นิสสยะ อนนั ตรปู นิสสยะ และปกตปู นิสสยะ ทเี่ ปน ปกตปู นสิ สยะ ไดแ ก ขนั ธท้งั หลายที่สหรคตดวยโลภะ ท่ีเปนทิฏฐคิ ตวิปปยุตตธรรม และโลภะ, ขันธทั้งหลายทสี่ หรคตดวยโทมนสั และปฏฆิ ะ เปน ปจ จัยแกขนั ธท งั้ หลายทีเ่ ปน คันถสมั ปยุตตธรรม ดว ยอํานาจของอุปนิสสยปจ จยั . พงึ ถามถงึ มูล (วาระที่ ๘)

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 612 ขันธทัง้ หลายที่สหรคตดวยโลภะ ทเ่ี ปนทฏิ ฐิคตวปิ ปยตุ ตธรรม และโลภะ และขนั ธทัง้ หลายท่สี หรคตดวยโทมนัส และปฏิฆะ เปน ปจจัยแกขนั ธทั้งหลายทเ่ี ปนคนั ถวปิ ปยตุ ตธรรม แกโลภะ ท่เี ปนทิฏฐคิ ตวปิ ปยุตตธรรม และปฏฆิ ะ ดวยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจจยั . พงึ ถามถงึ มูล (วาระที่ ๙) ขันธท ้งั หลายท่สี หรคตดวยโลภะ ทเี่ ปนทฏิ ฐคิ ตวปิ ปยตุ ตธรรม และโลภะ และขนั ธท งั้ หลายท่สี หรคตดว ยโทมนสั และปฏฆิ ะ เปน ปจจัยแกข ันธท้ังหลายทสี่ หรคตดว ยโลภะ ทเ่ี ปนทฏิ ฐคิ ตวปิ ปยุตตธรรม และโลภะ เปนปจ จยั แกข ันธทงั้ หลายทส่ี หรคตดวยโทมนสั และปฏิฆะ ดวยอาํ นาจของอปุ นิสสยปจจยั . ๑๐. ปเุ รชาตปจ จยั [๕๕๑] ๑. คนั ถวิปปยตุ ตธรรม เปน ปจ จัยแกคันถวปิ ปยุตต-ธรรม ดวยอาํ นาจของปุเรชาตปจ จัย มี ๒ อยาง คือทเี่ ปน อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ทเ่ี ปน อารมั มณปุเรชาตะ ไดแก บคุ คลพจิ ารณาเหน็ จกั ษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเปน ของไมเ ทยี่ งฯลฯ ยอมยนิ ดี ยอมเพลดิ เพลนิ ย่ิง เพราะปรารภจกั ษเุ ปน ตน น้ัน ราคะทเ่ี ปน คนั ถวิปปยตุ ตธรรม ยอ มเกิดขึ้น วิจกิ ิจฉา ฯลฯ อทุ ธจั จะ ฯลฯ โทมนัสยอ มเกดิ ขน้ึ .

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 613 บคุ คลเหน็ รูปดว ยทพิ ยจกั ษุ, ฟงเสยี งดว ยทิพโสตธาต.ุ รูปายตนะ เปนปจจยั แกจักขวุ ิญญาณ ฯลฯ โผฏฐพั พายตนะ เปนปจ จัยแกก ายวญิ ญาณ. ที่เปน วัตถุปเุ รชาตะ ไดแ ก จักขายตนะ เปน ปจ จยั แกจกั ขวุ ญิ ญาณ ฯลฯ กายายตนะ เปน ปจจยัแกก ายวญิ ญาณ. หทยวัตถุ เปนปจ จยั แกขนั ธทงั้ หลายท่ีเปน คนั ถวปิ ปยตุ ตธรรม และโลภะ ที่เปนทฏิ ฐิคตวิปปยตุ ตธรรม และปฏฆิ ะ ดว ยอํานาจของปเุ รชาตปจจัย. ๒. คนั ถวปิ ปยุตตธรรม เปนปจจัยแกค นั ถสมั ปยตุ ต-ธรรม ดวยอาํ นาจของปเุ รชาตปจ จยั มี ๒ อยา ง คอื ทีเ่ ปน อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถปุ ุเรชาตะ ท่เี ปน อารมั มณปเุ รชาตะ ไดแ ก บคุ คลยอมยินดี ยอมเพลดิ เพลินยงิ่ ซึ่งจกั ษุ ฯลฯ หทยวตั ถุ เพราะปรารภจกั ษุเปน ตน นน้ั ราคะทีเ่ ปนคันถสัมปยตุ ตธรรม ยอมเกดิ ข้นึ ทิฏฐิ ฯลฯโทมนสั ยอมเกิดขน้ึ . ท่ีเปน วตั ถปุ ุเรชาตะ ไดแ ก หทยวตั ถุ เปนปจจัยแกข ันธท ้ังหลายทีเ่ ปน คันถสมั ปยตุ ตธรรม ดว ยอํานาจของปุเรชาตปจจัย. ๓. คันถวปิ ปยุตตธรรม เปนปจ จยั แกคันถสมั ปยุตต-ธรรม และคันถวปิ ปยุตตธรรม ดวยอาํ นาจของปเุ รชาตปจ จัย

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 614 มี ๒ อยา ง คือที่เปน อารมั มณปุเรชาตะ และ วัตถปุ ุเรชาตะ ที่เปน อารัมมณปุเรชาตะ ไดแ ก เพราะปรารภจกั ษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขนั ธท้ังหลายทสี่ หรคตดว ยโลภะทเ่ี ปน ทฏิ ฐิคตวปิ ปยตุ ตธรรม, โลภะ, ขนั ธทงั้ หลายทสี่ หรคตดว ยโทมนัส และปฏิฆะ ยอ มเกดิ ขน้ึ . ทเ่ี ปน วตั ถปุ เุ รชาตะ ไดแก หทยวัตถุ เปนปจจัยแกขนั ธท ้งั หลายทส่ี หรคตดว ยโลภะ ทีเ่ ปนทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม, โลภะ, ขันธท ้งั หลายท่สี หรคตดว ยโทมนัส และปฏิฆะดวยอํานาจของปเุ รชาตปจจยั . ๑๑. ปจฉาชาตปจจยั [๕๕๒] ๑. คนั ถสัมปยตุ ตธรรม เปนปจจัยแกคันถวปิ ปยตุ ต-ธรรม ดว ยอํานาจของปจ ฉาชาตปจจยั มี ๑ วาระ. ๒. คันถวปิ ปยุตตธรรม เปน ปจ จยั แกคันถวิปปยุตต-ธรรม ดวยอํานาจของปจฉาชาตปจจยั มี ๑ วาระ. ๓. คันถสัมปยตุ ตธรรม และคันถวปิ ปยตุ ตธรรมเปน ปจจัยแกคันถวปิ ปยตุ ตธรรม ดวยอาํ นาจของปจฉาชาตปจ จยั คอื ขันธท ัง้ หลายท่สี หรคตดว ยโลภะ ท่เี ปนทฏิ ฐิคตวิปปยุตตธรรมท่เี กดิ ภายหลงั และโลภะ, ขนั ธท ง้ั หลายทีส่ หรคตดวยโทมนัส และปฏิฆะเปน ปจจัยแกกายนี้ ทีเ่ กดิ กอน ดวยอํานาจของปจฉาชาตปจ จยั .

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 615 ๑๒. อาเสวนปจจยั [๕๕๓] ๑. คนั ถสัมปยุตตธรรม เปน ปจ จยั แกค ันถสมั ปยตุ ต-ธรรม ดว ยอํานาจของอาเสวนปจจยั เหมือนกบั อารมั มณปจจัย. อาวชั ชนะก็ดี วุฏฐานะกด็ ี ไมม .ี ๑๓. กัมมปจจยั [๕๕๔] ๑. คนั ถสมั ปยตุ ตธรรม เปนปจ จัยแกคันถสัมปยุตต-ธรรม ดวยอํานาจของกัมมปจจัย คอื เจตนาทเ่ี ปน คันถสัมปยุตตธรรม เปนปจ จยั แกส มั ปยตุ ตขนั ธท้งั หลาย ดว ยอาํ นาจของกัมมปจ จัย. ๒. คนั ถสัมปยุตตธรรม เปนจั จยั แกคันถวิปปยุตต-ธรรม ดว ยอํานาจของกัมมปจจยั มี ๒ อยา ง คือทเ่ี ปน สหชาตะ และ นานาขณิกะ ที่เปน สหชาตะ ไดแ ก เจตนาท่เี ปนคนั ถสัมปยุตตธรรม เปน ปจจยั แก จิตตสมฏุ ฐานรปูทงั้ หลาย ดว ยอํานาจของกัมมปจ จัย. เจตนาท่สี หรคตดว ยโลภะ ที่เปนทิฏฐิคตวปิ ปยตุ ตธรรม เปนปจจยัแกโลภะ และจติ ตสมุฏฐานรปู ท้ังหลาย ดว ยอํานาจของกัมมปจ จัย.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 616 เจตนาทส่ี หรคตดว ยโทมนสั เปน ปจจัยแกป ฏฆิ ะ และจิตตสมุฏฐานรูปทงั้ หลาย ดวยอํานาจของกมั มปจจัย. ทเ่ี ปน นานาขณิกะ ไดแ ก เจตนาทเี่ ปนคันถสัมปยตุ ตธรรม เปนปจจัยแกว บิ ากขันธ และกฏตั ตารูปท้ังหลาย ดว ยอํานาจของกัมมปจจยั . ๓. คนั ถสมั ปยุตตธรรม เปนปจ จยั แกค นั ถสมั ปยุตต-ธรรม และคันถวปิ ปยตุ ตธรรม ดวยอาํ นาจของกมั มปจจยั คือ เจตนาทเ่ี ปน คันถสมั ปยตุ ตธรรม เปน ปจ จยั แกสมั ปยุตตขันธและจติ ตสมุฏฐานรูปทงั้ หลาย ดว ยอาํ นาจของกมั มปจจยั . เจตนาท่ีสหรคตดวยโลภะ ท่ีเปนทฏิ ฐิคตวิปปยตุ ตธรรม เปนปจจัยแกสมั ปยุตตขันธท ัง้ หลาย, โลภะ และจติ ตสมุฏฐานรูปทัง้ หลาย ดว ยอาํ นาจของกัมมปจ จัย. เจตนาทส่ี หรคตดวยโทมนสั เปน ปจ จัยแกส มั ปยุตตขนั ธทงั้ หลาย,ปฏิฆะ และจติ ตสมุฏฐานรูปท้งั หลาย ดวยอํานาจของกมั มปจจยั . ๔. คนั ถวปิ ปยตุ ตธรรม เปน ปจจยั แกค นั ถวปิ ปยตุ ต-ธรรม ดวยอาํ นาจของกมั มปจ จยั มี ๒ อยาง คือทเี่ ปน สหชาตะ และ นานาขณิกะ ทเ่ี ปน สหชาตะ ไดแก เจตนาท่เี ปน คนั ถวิปปยุตตธรรม เปนปจ จยั แกสมั ปยุตตขันธ และจิตตสมุฏฐานรปู ท้งั หลาย ดวยอํานาจของกัมมปจ จยั . ท่เี ปน นานาขณิกะ ไดแ ก

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 617 เจตนาท่ีเปนคนั ถวปิ ปยุตตธรรม เปนปจ จยั แกวบิ ากขันธ และกฏตั ตารปู ทง้ั หลาย ดว ยอํานาจของกัมมปจ จยั . ๑๔. วิปากปจจยั [๕๕๕] ๑. คันถวิปปยุตตธรรม เปน ปจ จัยแกค นั ถวิปปยตุ ต-ธรรม ดวยอาํ นาจของวิปากปจจัย มี ๑ วาระ. ๑๕. อาหารปจจัย ฯลฯ ๑๙. สมั ปยุตตปจจัย [๕๕๖] ๑. คันถสัมปยุตตธรรม เปนปจ จัยแกคันถสมั ปยตุ ต-ธรรม ดว ยอาํ นาจของอาหารปจ จัย มี ๔ วาระ. ฯลฯ เปน ปจ จัย ดว ยอาํ นาจของอนิ ทรยิ ปจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ เปน ปจ จยั ดว ยอํานาจของฌานปจ จยั มี ๔ วาระ ฯลฯ เปนปจจัย ดวยอํานาจของมคั คปจจยั มี ๖ วาระ ฯลฯ เปนปจจยั ดวยอาํ นาจของสมั ปยตุ ตปจจัย มี ๖ วาระ ๒๐. วปิ ปยตุ ตปจ จัย [๕๕๗] ๑. คันถสมั ปยตุ ตธรรม เปน ปจ จยั แกค นั ถวิปปยุตต-ธรรม ดวยอาํ นาจของวปิ ปยุตตปจ จยั มี ๒ อยา ง คือท่ีเปน สหชาตะ และ ปจ ฉาชาตะ ฯลฯ พึงจําแนก.

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 618 ๒. คนั ถวิปปยตุ ตธรรม เปน ปจ จยั แกคนั ถวิปปยตุ ต-ธรรม ดวยอํานาจของวปิ ปยตุ ตปจจยั ๓. คันถวิปปยตุ ตธรรม เปน ปจจัยแกค ันถสมั ปยตุ ต-ธรรม ดวยอํานาจของวิปปยุตตปจ จัย มีอยางเดียว คือท่ีเปน ปุเรชาตะ ไดแ ก หทยวตั ถุ เปนปจจัยแกข นั ธทง้ั หลายทเ่ี ปนคันถสมั ปยุตตธรรม ดว ยอํานาจของวปิ ปยุตตปจ จัย. ๔. คันถวปิ ปยุตตธรรม เปนปจจัยแกค ันถสัมปยุตต-ธรรม และคนั ถวิปปยุตตธรรม ดว ยอํานาจของวิปปยตุ ตปจจยั มอี ยา งเดียว คือทเี่ ปน ปุเรชาตะ ไดแ ก หทยวตั ถุ เปน ปจ จยั แกข นั ธทั้งหลายทส่ี หรคตดว ยโลภะ ที่เปนทฏิ ฐคิ ตวิปปยุตตธรรมและ โลภะ, แกข นั ธท ั้งหลายท่ีสหรคตดวยโทมนัส และปฏิฆะ ดวยอํานาจของวิปปยตุ ตปจ จยั . มี ๓ อยาง คือทเ่ี ปน สหชาตะ ปเุ รชาตะ และ ปจ ฉาชาตะ ฯลฯ ๕. คันถสัมปยุตตธรรม และคนั ถวปิ ปยุตตธรรมเปนปจจัยแกคนั ถวปิ ปยตุ ตธรรม ดว ยอํานาจของวิปปยุตตปจจัย มี ๒ อยา ง คือท่เี ปน สหชาตะ และ ปจ ฉาชาตะ ท่เี ปน สหชาตะ ไดแ ก ขันธท ้ังหลายทีส่ หรคตดว ยโลภะ ทเ่ี ปน ทฏิ ฐคิ ตวิปปยตุ ตธรรม และโลภะ เปน ปจ จัยแกจิตตสมุฏฐานรูปทงั้ หลาย ดว ยอํานาจของวปิ ปยุตตปจจัย.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 619 ขันธทงั้ หลายทีส่ หรคตดว ยโทมนสั และปฏฆิ ะ เปนปจจัยแกจ ติ ต-สมุฏฐานรปู ทัง้ หลาย ดว ยอาํ นาจของวปิ ปยตุ ตปจจัย. ท่เี ปน ปจฉาชาตะ ไดแ ก ขนั ธท ง้ั หลายท่สี หรคตดวยโลภะ ที่เปน ทิฏฐิคตวปิ ปยตุ ตธรรม และโลภะ และขนั ธท ้ังหลายทสี่ หรคตดวยโทมนสั และปฏิฆะทเ่ี กดิ ภายหลงั เปนปจจัยแกก ายนท้ี ี่เกิดกอ น ดวยอาํ นาจของวิปปยตุ ตปจ จยั . ๒๑. อัตถปิ จ จยั [๕๕๘] ๑. คันถสัมปยุตตธรรม เปนปจ จัยแกค ันถสัมปยตุ ต-ธรรม ดว ยอํานาจของอตั ถปิ จ จัย มี ๑ วาระ เหมอื นกบั ปฏจิ จวาระ. ๒. คันถสัมปยุตตธรรม เปน ปจ จัยแกค ันถวปิ ปยตุ ต-ธรรม ดวยอาํ นาจของอัตถิปจจัย มี ๒ อยา ง คอื ทีเ่ ปน สหชาตะ และ ปจฉาชาตะ ฯลฯ พงึ จาํ แนก. ๓. คนั ถสมั ปยุตตธรรม เปน ปจ จัยแกค ันถสัมปยตุ ต-ธรรม และคันถวิปปยุตตธรรม โดยอัตถิปจจัย มี ๑ วาระ เหมือนกบั ปฏิจจวาระ. ๔. คันถวปิ ปยุตตธรรม เปน ปจจยั แกคันถวิปปยตุ ต-ธรรม ดวยอํานาจของอตั ถปิ จ จัย มี ๕ อยาง คือทเี่ ปน สหชาตะ ปุเรชาตะ ปจฉาชาตะ อาหาระและ อินทริยะ ฯลฯ พงึ จําแนก.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 620 ๕. คันถวิปปยตุ ตธรรม เปนปจจัยแกคนั ถสมั ปยตุ ต-ธรรม ดวยอาํ นาจของอัตถปิ จ จัย มี ๒ อยาง คือทเี่ ปน สหชาตะ และ ปเุ รชาตะ ท่เี ปน สหชาตะ ไดแก โลภะทเี่ ปน ทิฏฐคิ ตวิปปยตุ ตธรรม เปนปจ จัยแกสมั ปยตุ ตขนั ธทั้งหลาย ดวยอํานาจของอัตถิปจจยั . ปฏิฆะทสี่ หรคตดวยโทมนัส เปนปจจยั แกสมั ปยุตตขันธทั้งหลายดว ยอํานาจของอัตถปิ จ จัย. ที่เปน ปุเรชาตะ ไดแ ก บุคคลยอมยินดี ยอ มเพลดิ เพลินยงิ่ ซึง่ จักษุ ฯลฯ หทยวตั ถุ เพราะปรารภจักษเุ ปนตนนัน้ ราคะทีเ่ ปนคันถสัมปยุตตธรรม ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯโทมนัส ยอ มเกดิ ขน้ึ . หทยวตั ถุ เปนปจจยั แกข ันธท ้งั หลายทีเ่ ปนคนั ถสัมปยตุ ตธรรม ดวยอาํ นาจของอัตถิปจ จัย. ๖. คนั ถวปิ ปยุตตธรรม เปนปจ จยั แกค ันถสัมปยุตต-ธรรม และคันถวิปปยตุ ตธรรม ดว ยอาํ นาจของอตั ถิปจจัย มี ๒ อยาง คอื ทเ่ี ปน สหชาตะ และ ปุเรชาตะ ท่เี ปน สหชาตะ ไดแก โลภะทเ่ี ปนทิฏฐคิ ตวปิ ปยตุ ตธรรม ทเี่ กดิ พรอมกนั เปน ปจ จยั แกสัมปยุตตขนั ธ และจติ ตสมฏุ ฐานรปู ทั้งหลาย ดวยอํานาจของอตั ถิปจ จยั .

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 621 ปฏฆิ ะเปนปจ จยั แกส ัมปยตุ ตขนั ธ และจติ ตสมฏุ ฐานรปู ทง้ั หลาย ดว ยอํานาจของอตั ถปิ จ จัย. ทีเ่ ปน ปเุ รชาตะ ไดแ ก เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทยวตั ถุ ขนั ธทง้ั หลายที่สหรคตดว ยโลภะท่ีเปนทิฏฐิคตวิปปยตุ ตธรรม และ โลภะ และขันธทงั้ หลายที่สหรคตดว ยโทมนัสและปฏฆิ ะ ยอมเกดิ ขน้ึ หทยวัตถุ เปนปจจยั แกข นั ธทั้งหลายทีส่ หรคตดว ยโลภะที่เปน ทิฏฐ-ิคตวปิ ปยุตตธรรม และ โลภะ, แกข นั ธทง้ั หลายทีส่ หรคตดวยโทมนัส และปฏฆิ ะ ดวยอาํ นาจของอัตถปิ จ จัย. ๗. คันถสมั ปยตุ ตธรรม และคันถวิปปยตุ ตธรรมเปนปจจัยแกค นั ถสัมปยุตตธรรม ดว ยอ านาจของอตั ถปิ จจัย มี ๒ อยา ง คือ สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกบั ปุเรชาตะ ที่เปน สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ไดแ ก ขันธ ๑ ทีเ่ ปนคนั ถสัมปยุตตธรรมท่เี กิดพรอมกนั และหทยวตั ถุเปนปจ จยั แกข นั ธ ๓ ดว ยอาํ นาจของอัตถปิ จ จยั ฯลฯ. ท่ีเปน สหชาตะ ไดแ ก ขันธ ๑ ท่สี หรคตดว ยโลภะท่ีเปนทฏิ ฐคิ ตวปิ ปยุตตธรรม และโลภะเปน ปจจัยแกขนั ธ ๓ ดว ยอํานาจของอตั ถิปจจยั ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ขนั ธ ๑ ทสี่ หรคตดวยโทมนัส และปฏฆิ ะ เปนปจ จยั แกข นั ธ ๓ดว ยอํานาจของอัตถิปจ จยั ฯลฯ ขนั ธ ๒.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 622 ๘. คันถสมั ปยตุ ตธรรม และคันถวปิ ปยุตตธรรมเปน ปจ จยั แกค ันถวิปปยตุ ตธรรม ดว ยอาํ นาจของอัตถิปจ จยั มี ๕ อยาง คือทีเ่ ปน สหชาตะ, ปจฉาชาตะ รวมกบั ปเุ รชาตะปจ ฉาชาตะ และ ปจฉาชาตะ รวมกบั อาหาระ และรวมกบั อินทริยะ ที่เปน สหชาตะ ไดแก ขนั ธทง้ั หลายทีเ่ ปน คนั ถสมั ปยตุ ตธรรม ทเี่ กิดภายหลงั และมหาภตู -รปู ท้ังหลาย เปนปจ จยั แกจติ ตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ดวยอํานาจของอตั ถปิ จจัย. ที่เปน สหชาตะ ไดแก ขนั ธท้ังหลายทส่ี หรคตดว ยโลภะที่เปน ทฏิ ฐิคตวิปปยตุ ตธรรม และโลภะ เปนปจจัยแกจิตตสมุฏฐานรปู ทั้งหลาย ดวยอํานาจของอัตถิปจ จัย. ทเี่ ปน สหชาตะ ไดแก ขนั ธทง้ั หลายทีส่ หรคตดวยโทมนสั ที่เกดิ พรอมกัน และปฏิฆะ เปนปจ จัยแกจติ ตสมฏุ ฐานรูปท้ังหลาย ดว ยอํานาจของอตั ถปิ จจยั . ที่เปน สหชาตะ รวมกบั ปเุ รชาตะ ไดแก ขันธท ง้ั หลายทสี่ หรคดวยโลภะทเ่ี ปน ทฏิ ฐิคตวปิ ปยตุ ตธรรม และหทยวตั ถุ เปนปจ จัยแกโลภะ ดวยอํานาจของอตั ถปิ จจยั . ขันธท ั้งหลายทีส่ หรคตดวยโทมนัส และหทยวัตถุ เปนปจจัยแกป ฏฆิ ะดวยอํานาจของอตั ถิปจจัย. ทเี่ ปน ปจฉาชาตะ ไดแ ก

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 623 ขันธท ้งั หลายท่ีสหรคตดวยโลภะ ทเี่ ปน ทฏิ ฐคิ ตวปิ ปยุตตธรรม และโลภะ และขนั ธท ง้ั หลายท่ีสหรคตดว ยโทมนสั และปฏฆิ ะทเี่ กิดภายหลัง, เปนปจ จัยแกก ายน้ี ท่เี กดิ กอ น ดว ยอาํ นาจของอตั ถปิ จจัย. ท่เี ปน ปจฉาชาตะ ไดแ ก ขนั ธท้งั หลายทเี่ ปน คันถสัมปยุตตธรรมท่ีเกิดภายหลัง และกวฬกี ารา-หาร เปนปจจยั แกกายน้ี ดว ยอํานาจของอัตถปิ จจัย. ทีเ่ ปน ปจฉาชาตะ ไดแก ขนั ธท ง้ั หลายท่ีเปน คันถสมั ปยตุ ตธรรมทเี่ กิดภายหลัง และรปู ชวี ติ นิ -ทรยี  เปน ปจ จยั แกกฏตั ตารปู ท้งั หลาย ดว ยอาํ นาจของอตั ถิปจจัย. ๙. คนั ถสัมปยุตตธรรม และคนั ถวปิ ปยุตตธรรมเปน ปจ จัยแกคันถสัมปยตุ ตธรรม และคนั ถวปิ ปยุตตธรรม ดวยอํานาจของอตั ถปิ จจัย มี ๒ อยา ง คือ สหชาตะ และ ปจ ฉาชาตะ รวมกบั ปุเรชาตะ ทเี่ ปน สหชาตะ ไดแ ก ขนั ธ ๑ ท่ีสหรคตดวยโลภะทีเ่ ปน ทิฏฐคิ ตวิปปยตุ ตธรรมทีเ่ กดิ พรอ มกนั และโลภะ เปน ปจจยั แกข นั ธ ๓ และจติ ตสมฏุ ฐานรปู ทงั้ หลาย ดว ยอาํ นาจของอัตถปิ จจัย ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ ท่เี ปน สหชาตะ ไดแก ขนั ธ ๑ ที่สหรคตดวยโทมนัส และปฏฆิ ะ เปนปจ จยั แกขันธ ๓และจติ ตสมฏุ ฐานรปู ท้ังหลาย ดวยอํานาจของอัตถิปจ จยั ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 624 ทเ่ี ปน สหชาตะ รวมกัน ปุเรชาตะ ไดแก ขนั ธ ๑ ท่ีสหรคตดว ยโลภะท่ีเปนทฏิ ฐคิ ตวิปปยุตตธรรม และหทย-วัตถุ เปน ปจจัยแกขันธ ๓ และโลภะ ดว ยอาํ นาจของอัตถปิ จจยั ฯลฯ ขนั ธ ๒ฯลฯ ทเ่ี ปน สหชาตะ รวมกับ ปเุ รชาตะ ไดแก ขันธ ๑ ทีส่ หรคตดว ยโทมนสั และหทยวตั ถุ เปน ปจ จัยแกข ันธ ๓และปฏฆิ ะ ดวยอาํ นาจของอัตถปิ จจยั ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ การนับจ านวนวาระในอนโุ ลม [๕๕๙] ในเหตุปจ จยั มี ๙ วาระ ในอารัมมณปจ จัย มี ๙ วาระในอธปิ ติปจจัย มี ๙ วาระ ในอนนั ตรปจ จัย มี ๙ วาระ ในสมนนั ตรปจ จัยมี ๙ วาระ ในสหชาตปจจัย มี ๙ วาระ ในอญั ญมญั ญปจ จยั มี ๙ วาระ ในนิสสยปจจยั มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปจจยั มี ๙ วาระ ในปเุ รชาตปจ จัย มี๓ วาระ ในปจฉาชาตปจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปจ จยั มี ๙ วาระ ในกัมมปจจยั มี ๔ วาระ ในวปิ ากปจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปจจยั มี ๔ วาระในอินทรยิ ปจ จยั มี ๔ วาระ ในฌานปจ จัย มี ๔ วาระ ในมัคคปจ จยั มี๔ วาระ ในสัมปยตุ ตปจ จัย มี ๖ วาระ ในวิปปยตุ ตปจ จยั มี ๕ วาระ ในอัตถิปจ จยั มี ๙ วาระ ในนัตถิปจ จยั มี ๙ วาระ ในวคิ ตปจจัย มี ๙ วาระในอวิคตปจจยั มี ๙ วาระ.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 625 ปจ จนยี นยั การยกปจ จัยในปจ จนียะ [๕๖๐] ๑. คันถสัมปยุตตธรรม เปน ปจ จัยแกคนั ถสมั ปยตุ ต-ธรรม ดว ยอาํ นาจของอารมั มณปจจัย, เปน ปจจัย ดวยอํานาจของสหชาตปจจัย, เปนปจจยั ดวยอาํ นาจของอุปนสิ สยปจจัย ๒. คันถสัมปยตุ ตธรรม เปนปจจัยแกค ันถวิปปยตุ ต-ธรรม ดวยอาํ นาจของอารัมมณปจ จยั , เปน ปจ จยั ดวยอํานาจของสหชาตปจจัย, เปนปจจยั ดว ยอํานาจของอุปนสิ สยปจ จยั , เปนปจจยัดวยอาํ นาจของปจ ฉาชาตปจ จยั , เปนปจจยั ดว ยอํานาจของกัมมปจจยั . ๓. คันถสัมปยตุ ตธรรม เปน ปจจยั แกคนั ถสัมปยุตต-ธรรม และคันถวิปปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของอารัมมณปจ จยั , เปนปจจัย ดวยอํานาจของสหชาตปจ จยั , เปน ปจจัย ดว ยอาํ นาจของอปุ -นิสสยปจ จยั . ๔. คันถวปิ ปยุตตธรรม เปน ปจ จัยแกคนั ถวิปปยตุ ต-ธรรม ดวยอาํ นาจของอารมั มณปจ จยั , เปนปจ จยั ดว ยอาํ นาจของสหชาตปจจัย, เปน ปจ จยั ดวยอาํ นาจของอุปนิสสยปจจยั , เปน ปจจัยดวยอ านาจของปเุ รชาตปจ จัย, เปนปจ จัย ดวยอํานาจของปจฉาชาตปจจัย, เปน ปจ จัย ดว ยอ านาจของกมั มปจ จัย, เปน ปจ จัย ดวยอํานาจของอาหารปจ จัย, เปนปจ จัย ดว ยอาํ นาจของอินทรยิ ปจจยั .

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 626 ๕. คนั ถวปิ ปยตุ ตธรรม เปนปจจัยแกคนั ถสัมปยุตต-ธรรม ดวยอาํ นาจของอารมั มณปจจยั , เปน ปจจัย ดวยอาํ นาจของสหชาตปจ จยั , เปน ปจจยั ดวยอาํ นาจของอปุ นิสสยปจจยั , เปนปจจยัดว ยอํานาจของปุเรชาตปจจัย. ๖. คันถวปิ ปยตุ ตธรรม เปนปจ จยั แกคันถสมั ปยตุ ต-ธรรม และคันถวิปปยุตตธรรม ดวยอาํ นาจของอารมั มณปจจยั ,เปน ปจ จยั ดว ยอาํ นาจของสหชาตปจจัย, เปน ปจจยั ดวยอํานาจของอุปนสิ สยปจจยั , เปน ปจ จัย ดว ยอาํ นาจของปุเรชาตปจจยั . ๗. คนั ถสมั ปยตุ ตธรรม และคนั ถวิปปยุตตธรรมเปน ปจจัยแกคนั ถสมั ปยุตตธรรม ดว ยอาํ นาจของอารมั มณปจ จยั ,เปน ปจ จัย ดว ยอาํ นาจของสหชาตปจ จัย, เปน ปจจยั ดวยอํานาจของอปุ นสิ สยปจจยั . ๘. คนั ถสมั ปยุตตธรรม และคันถวิปปยตุ ตธรรมเปนปจจยั แกคนั ถวปิ ปยุตตธรรม ดวยอาํ นาจของอารัมมณปจจยั ,เปนปจ จยั ดว ยอํานาจของสหชาตปจจัย, เปนปจจยั ดว ยอํานาจของอุปนิสสยปจจยั , เปนปจ จัย ดวยอํานาจของปจฉาชาตปจจยั . ๙. คันถสมั ปยุตตธรรม และคันถวิปปยตุ ตธรรมเปนปจ จัยแกคนั ถสมั ปยุตตธรรม และวิปปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของอารมั มณปจ จยั , เปน ปจ จยั ดว ยอาํ นาจของสหชาตปจจยั , เปนปจ จยั ดว ยอ านาจของอุปนสิ สยปจ จัย.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 627 การนบั จํานวนวาระในปจ จนียะ [๕๖๑] ในนเหตปุ จจยั มี ๙ วาระ ในนอารมั มณปจ จยั มี ๙ วาระในปจจยั ทงั้ ปวง มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปจจยั มี ๙ วาระ. อนุโลมปจ จนียนัย การนบั จาํ นวนวาระในอนโุ ลมปจ จนยี ะ [๕๖๒] เพราะเหตปุ จจยั ในนอารัมมณปจ จยั มี ๙ วาระ... ในนอธิปติปจ จัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในนสมนันตรปจ จยั มี ๙ วาระ ในนอัญญ-มัญญปจ จยั มี ๓ วาระ ในนนิสสยปจ จัย มี ๙ วาระ ในนอปุ นสิ สยปจจัยมี ๙ วาระ ฯลฯ ในนมคั คปจจยั มี ๙ วาระ ในนสมั ปยตุ ตปจจัย มี ๓ วาระในนวิปปยุตตปจ จยั มี ๖ วาระ ในโนนัตถปิ จ จยั มี๙ วาระ ในโนวิคตปจ จยัมี ๙ วาระ. ปจจนียานโุ ลม การนบั จาํ นวนวาระในปจ จนียานุโลม [๕๖๓] เพราะนเหตปุ จจยั ในอารัมมณปจจยั มี ๙ วาระ.... ในอธปิ ติปจจยั มี ๙ วาระ พึงกระทาํ อนโุ ลมมาติกาใหพ ิสดาร ในอวคิ ตปจ จยัมี ๙ วาระ. คันถสมั ปยตุ ตทุกะ จบ

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 628 ๒๙. คนั ถคนั ถนิยทกุ ะ ปฏจิ จวาระ อนโุ ลมนัย ๑. เหตุปจจัย [๕๖๔] ๑. ธรรมที่เปน ท้ังคันถธรรมและคนั ถนิยธรรม อาศัยธรรมท่เี ปน ทงั้ คันถธรรมและคนั ถนิยธรรม เกิดขน้ึ เพราะเหตุปจจยั คือ อภชิ ฌากายคันถะ อาศยั สลี พั พตปรามาสกายคนั ถะ, สลี ัพพต-ปรามาสกายคันถะ อาศัยอภชิ ฌากายคันถะ, อภชิ ฌากายคันถะ อาศัยอิทงั สัจจา-ภนิ เิ วสกายคันถะ, อิทงั สัจจาภนิ ิเวสกายคนั ถะ อาศัยอภิชฌากายคันถะ. ๒. ธรรมทเ่ี ปน คนั ถนิยธรรม แตไมใ ชคนั ถธรรมอาศัยธรรมท่เี ปน ทง้ั คนั ถธรรมและคันถนิยธรรม เกิดขึน้ เพราะเหตุปจจยั คอื สมั ปยตุ ตขันธท ้งั หลาย และจิตตสมุฏฐานรปู อาศัยคันถธรรมทั้งหลาย. ๓. ธรรมทเี่ ปนทง้ั คันถธรรมและคนั ถนยิ ธรรม และธรรมทีเ่ ปนคนั ถนยิ ธรรม แตไ มใชคนั ถธรรม อาศยั ธรรมท่ีเปนคันถธรรมและคนั ถนิยธรรม เกิดข้ึน เพราะเหตุปจ จัย ปฏจิ จวาระก็ดี สหชาตวาระก็ดี ปจ จยวาระกด็ ี นิสสยวาระกด็ ีสังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยตุ ตวาระก็ดี เหมือนกับ คนั ถทกุ ะ ไมม แี ตกตางกนั .

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 629 ปญ หาวาระ อนโุ ลมนยั ๑. เหตุปจจัย [๕๖๕] ๑. ธรรมท่ีเปนท้งั คนั ถธรรม และคันถนยิ ธรรม เปนปจจยั แกธ รรมท่ีเปน ทงั้ คันถธรรม และคนั ถนยิ ธรรม ดวยอาํ นาจของเหตุปจจัย คอื เหตุทัง้ หลายทเี่ ปนคันถธรรม เปนปจ จัยแกค ันถะทีเ่ ปนสัมปยตุ ต-ธรรมท้งั หลาย ดว ยอาํ นาจของเหตุปจ จัย. ๙ วาระ พึงใหพ ิสดารอยางท่กี ลา วมาแลว . ๒. อารมั มณปจจัย [๕๖๖] ๑. ธรรมทเ่ี ปนทั้งคนั ถธรรม และคนั ถนยิ ธรรม เปนปจ จัยแกธ รรมที่เปนท้ังคันถธรรม และคนั ถนิยธรรม ดวยอาํ นาจของอารมั มณปจ จยั คอื เพราะปรารภคันถธรรมท้งั หลาย คันถธรรมท้ังหลาย ยอ มเกดิ ขึน้ . พงึ ถามถงึ มูล (วาระท่ี ๒) เพราะปรารภคนั ถธรรมท้ังหลาย ขันธทง้ั หลายทเ่ี ปน คนั ถนยิ ธรรมแตไ มใ ชค นั ถธรรม ยอ มเกิดขึน้ . พึงถามถงึ มูล (วาระท่ี ๓)

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 630 เพราะปรารภคนั ถธรรมท้ังหลาย คันถธรรมและสมั ปยุตตขันธท งั้ หลายยอ มเกิดข้นึ . ๔. ธรรมทเ่ี ปนคนั ถนยิ ธรรม แตไ มใ ชคนั ถธรรมเปนปจ จยั แกธ รรมทเ่ี ปน คันถนยิ ธรรม แตไมใ ชคันถธรรม ดว ยอ านาจของอารมั มณปจ จัย คอื บุคคลใหทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อโุ บสถกกรรม ฯลฯ แลว พิจารณาซ่งึ กศุ ลกรรมนั้น. กศุ ลกรรมทั้งหลายทเ่ี คยสงั่ สมไวแลวในกาลกอน ฯลฯ ฌาน ฯลฯ พระอรยิ ะท้ังหลาย พจิ ารณาโคตรภู, พิจารณาโวทาน, พจิ ารณากเิ ลสทีล่ ะแลว ฯลฯ พิจารณากเิ ลสทข่ี ม แลว, รซู ง่ึ กิเลสทั้งหลายทเ่ี คยเกดิ ขึน้ แลวในกาลกอ น. บุคคลพิจารณาเหน็ จกั ษุ ฯลฯ หทยวตั ถุ ขันธทั้งหลายทีเ่ ปน คันถนิย-ธรรม แตไ มใชค ันถธรรม โดยความเปนของไมเ ท่ยี ง ฯลฯ โทมนัส ยอ มเกิดขึน้ . บุคคลเห็นรูปดว ยทิพยจกั ษ,ุ ฟง เสียงดว ยทพิ โสตธาต.ุ ทั้งหมด พงึ ใหพ ิสดาร. ฯลฯ เปน ปจ จยั แกอ าวชั ชนะ ดวยอํานาจของอารัมมณปจ จัย. ๕. ธรรมท่เี ปน คนั ถนยิ ธรรม แตไ มใ ชคันถธรรมเปนปจ จัยแกธ รรมทีเ่ ปน ท้ังคนั ถธรรมและคนั ถนิยธรรม ดวยอํานาจของอารัมมณปจ จัย

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 631 คือ บุคคลใหท าน ฯลฯ ศลี ฯลฯ กระทําอุโบสถกรรม ฯลฯ แลวยอ มยินดี ยอ มเพลิดเพลนิ ย่ิงซึ่งกศุ ลกรรมน้นั เพราะปรารภกุศลกรรมน้ันราคะ ยอ มเกิดขน้ึ ทฏิ ฐิ ฯลฯ วจิ กิ จิ ฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนสั ยอ มเกดิ ข้ึน. พิจารณากศุ ลกรรมทง้ั หลายทเ่ี คยสงั่ สมไวแลว ในกาลกอ น. ออกจากฌานแลว พจิ ารณาฌาน. บุคคลพจิ ารณาเหน็ จกั ษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธท้งั หลาย ทเ่ี ปนคันถนิยธรรม แตไ มใชค นั ถธรรม ยอ มยินดี ยอ มเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเปน ตนนนั้ ราคะ ยอ มเกดิ ขนึ้ ทิฏฐิ ฯลฯ โทมนสั ยอมเกดิ ขน้ึ . ๖. ธรรมท่เี ปน คนั ถนยิ ธรรม แตไ มใ ชค นั ถธรรมเปน ปจ จยั แกธ รรมทเ่ี ปน ทั้งคันถธรรมและคนั ถนยิ ธรรม และธรรมทีเ่ ปน คันถนยิ ธรรม แตไมใ ชค นั ถธรรม ดว ยอํานาจของอารัมมณ-ปจจัย คอื บคุ คลใหท าน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อโุ บสถกรรม ฯลฯ พิจารณากศุ ลกรรมท้ังหลายทเ่ี คยส่ังสมไวแ ลว ในกาลกอ น ฯลฯ ออกจากฌานแลว พจิ ารณาฌาน ฯลฯ บุคคลพจิ ารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขนั ธทัง้ หลาย ที่เปนคันถนยิ ธรรม แตไมใ ชค นั ถธรรม ยอ มยินดี ยอมเพลิดเพลินย่งิ เพราะปรารภจกั ษุเปนตน นัน้ คันถธรรม และสมั ปยตุ ตขนั ธท ัง้ หลาย ยอมเกดิ ข้ึน.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 632 ๓ วาระ แมนอกนี้ (วาระที่ ๗-๘-๙) พึงใหพสิ ดารอยางท่กี ลา วมาแลว พึงกระทาํ เพราะปรารภ. ในทกุ ะน้ี โลกตุ ตระไมมี เหมอื นกับคันถทุกะ ไมมีแตกตา งกนั พึงก าหนดคําวา คันถนิยะ. ในมัคคปจจัย พงึ กระทาํ ๙ วาระ. คันถคนั ถนิยทุกะ จบ

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 633 ๓๐. คันถคนั ถสัมปยุตตทกุ ะ ปฏิจจวาระ อนุโลมนัย ๑. เหตุปจจยั [๕๖๗] ๑. ธรรมท่เี ปน ทง้ั คันถธรรม และคันถสมั ปยตุ ตธรรมอาศยั ธรรมทเ่ี ปน ทัง้ คันถธรรม และคนั ถสมั ปยตุ ตธรรม เกิดข้ึนเพราะเหตปุ จ จัย คือ อภิชฌากายคันถะ อาศยั สีลัพพตปรามาสกายคันถะ, สีลัพพต-ปรามาสกายคนั ถะ อาศัยอภชิ ฌากายคนั ถะ, อภิชฌากายคันถะ อาศัยอทิ งั สัจจาภินิเวสกายคนั ถะ, อทิ ังสจั จาภนิ เิ วสกายคันถะ อาศยั อภิชฌากายคันถะ. ๒. ธรรมที่เปนคนั ถสัมปยตุ ตธรรม แตไมใชคนั ถ-ธรรม อาศยั ธรรมที่เปนทงั้ คันถธรรมและคนั ถสมั ปยุตตธรรม เกดิ ขนึ้เพราะเหตปุ จจยั คือ สมั ปยตุ ตขนั ธท้ังหลาย อาศัยคันถธรรมทงั้ หลาย. ๓. ธรรมทเี่ ปน ทงั้ คันถธรรม และคนั ถสัมปยตุ ตธรรมและธรรมทีเ่ ปน คันถสัมปยตุ ตธรรม แตไ มใ ชคันถธรรม อาศยัธรรมทเ่ี ปน ทัง้ คันถธรรมและคนั ถสมั ปยตุ ตธรรม เกดิ ขึ้น เพราะเหตุปจจัย คอื อภิชฌากายคนั ถะ และสมั ปยุตตขันธท ้งั หลาย อาศยั สีลพั พต-ปรามาสกายคนั ถะ.

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 634 พงึ ผูกจกั รนัย ๔. ธรรมที่เปน คนั ถสัมปยตุ ตธรรม แตไมใ ชค นั ถ-ธรรม อาศัยธรรมที่เปน คนั ถสมั ปยุตตธรรม แตไมใชค ันถธรรมเกดิ ข้ึน เพราะเหตุปจจยั คอื ขันธ ๓ อาศัยขนั ธ ๑ ท่ีเปน คนั ถสัมปยุตตธรรม แตไมใ ชคันถธรรม ฯลฯ ขันธ ๒. ๕. ธรรมทเ่ี ปนท้ังคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรมอาศัยธรรมท่เี ปน คนั ถสัมปยุตตธรรม แตไ มใ ชคันถธรรม เกิดขนึ้เพราะเหตปุ จจัย คอื คันถธรรมท้งั หลาย อาศัยขนั ธทง้ั หลายท่ีเปน คนั ถสัมปยตุ ตธรรมแตไมใ ชคันถธรรม. ๖. ธรรมท่ีเปนทั้งคนั ถธรรม และคันถสมั ปยตุ ตธรรมและธรรมที่เปนคนั ถสมั ปยตุ ตธรรม แตไมใชคนั ถธรรม อาศัยธรรมท่เี ปนคนั ถสัมปยตุ ตธรรม แตไมใ ชค นั ถธรรม เกิดข้นึ เพราะเหตุปจ จยั คือ ขันธ ๓ และคนั ถธรรมท้งั หลาย อาศยั ขนั ธ ๑ ท่ีเปนคนั ถ-สมั ปยุตตธรรม แตไมใ ชค ันถธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒. ๗. ธรรมท่เี ปนทง้ั คนั ถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรมอาศยั ธรรมทีเ่ ปน ทง้ั คันถธรรม และคันถสัมปยตุ ตธรรม และธรรมท่เี ปนคันถสมั ปยุตตธรรม แตไมใชคนั ถธรรม เกดิ ขึ้น เพราะเหตุปจ จัย

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 635 คือ คันถธรรมท้ังหลาย อาศัยคนั ถธรรม และสัมปยตุ ตขนั ธท ้งั หลาย. ๘. ธรรมท่เี ปนคนั ถสัมปยุตตธรรม แตไ มใ ชค นั ถ-ธรรม อาศยั ธรรมทีเ่ ปนท้ังคนั ถธรรมและคันถสมั ปยุตตธรรม และธรรมท่เี ปน คันถสมั ปยตุ ตธรรม แตไ มใ ชค ันถธรรม เกิดข้นึ เพราะเหตปุ จจัย คอื ขันธ ๓ อาศัยขันธ ๑ ทเ่ี ปนคันถสัมปยุตตธรรม แตไ มใ ชคันถธรรม และคันถธรรมทงั้ หลาย ฯลฯ ขนั ธ ๒. ๙. ธรรมท่ีเปนทั้งคนั ถธรรม และคันถสัมปยตุ ตธรรมและธรรม เปน คันถสมั ปยตุ ตธรรม แตไ มใชคันถธรรม อาศัยธรรมท่ีเปน ท้งั คันถธรรมและคนั ถสัมปยตุ ตธรรม และธรรมทเ่ี ปน คนั ถ-สัมปยุตตธรรม แตไ มใชค นั ถธรรม เกิดขน้ึ เพราะเหตุปจ จัย คอื ขันธ ๓ และอภชิ ฌากายคันถะ อาศัยขันธ ๑ ทีเ่ ปนคันถ-สมั ปยุตตธรรม แตไมใชค นั ถธรรม และสีลพั พตปรามาสกายคันถะ ฯลฯขนั ธ ๒. พงึ ผูกจักรนัย ฯลฯ การนับจาํ นวนวาระในอนโุ ลม [๕๖๘] ในเหตุปจ จัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปจจยั มี ๙ วาระในปจจยั ทงั้ ปวง มี ๙ วาระ ในกัมมปจจยั มี ๙ วาระ ในอาหารปจจัยมี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปจ จัย ม๙ี วาระ.

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 636 ปจ จนียนยั ๑. นอธิปตปิ จจยั [๕๖๙] ๑. ธรรมที่ เปน ทั้งคนั ถธรรม และคันถสัมปยุตตธรรมอาศัยธรรมที่เปน ทง้ั คันถธรรม และคนั ถสัมปยุตตธรรม เกดิ ขึ้นเพราะนอธปิ ติปจจัย ฯลฯ ในที่นี้ นเหตุปจ จัย ไมม.ี [๕๗๐] ในนอธิปตปิ จจัย มี ๙ วาระ ในนปเุ รชาตปจ จัย มี ๙ วาระในนปจ ฉาชาตปจ จยั มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปจจยั มี ๙ วาระ ในนกมั ม-ปจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปจจัย มี ๙ วาระ ในนวปิ ปยตุ ตปจ จยั มี ๙ วาระ. การนับทงั้ สองนยั แมน อกน้ีก็ดี สหชาตวาระกด็ ี ปจจยวาระก็ดีนสิ สยวาระก็ดี สังสฏั ฐวาระกด็ ี สมั ปยุตตวาระกด็ ี เหมอื นกบั ปฏจิ จ-วาระอยางท่กี ลา วมาแลว.

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 637 ปญหาวาระ อนุโลมนยั ๑. เหตุปจ จยั [๕๗๑] ๑. ธรรมท่ีเปน ท้ังคันถธรรม และคันถสมั ปยุตตธรรมเปน ปจจัยแกธรรมทเี่ ปนท้ังคนั ถธรรมและคนั ถสัมปยุตตธรรม ดวยอาํ นาจของเหตุปจ จยั คอื เหตุท้งั หลายทเ่ี ปนทัง้ คนั ถธรรม และคันถสัมปยตุ ตธรรม เปนปจ จยั แกคันถะที่เปนสัมปยุตตธรรมทง้ั หลาย ดวยอาํ นาจของเหตปุ จ จยั . ๒. ธรรมที่เปน ทั้งคันถธรรมและคนั ถสมั ปยตุ ตธรรมเปนปจจยั แกธ รรมท่เี ปน คนั ถสัมปยุตตธรรม แตไ มใ ชคนั ถธรรมดวยอาํ นาจของเหตุปจ จัย คอื เหตุทงั้ หลายทเี่ ปนทั้งคนั ถธรรม และคนั ถสมั ปยุตตธรรม เปนปจจยั แกส ัมปยุตตขันธท ้ังหลาย ดว ยอาํ นาจของเหตปุ จจัย. ๓. ธรรมทีเ่ ปนท้งั คนั ถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรมเปนปจจัยแกธรรมทเ่ี ปน ทัง้ คันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม และธรรมท่ีเปนคันถสมั ปยุตตธรรม แตไมใชค ันถธรรม ดว ยอาํ นาจของเหตุปจ จัย คือ เหตทุ ั้งหลายท่เี ปนทั้งคันถธรรม และคนั ถสมั ปยตุ ตธรรม เปนปจจยั แกส ัมปยตุ ตขนั ธ และคนั ถธรรมท้งั หลาย ดวยอํานาจของเหตุปจ จัย.

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 638 ๔. ธรรมท่เี ปน คันถสัมปยุตตธรรม แตไ มใ ชค ันถ-ธรรม เปน ปจ จัยแกธรรมท่ีเปนคนั ถสมั ปยุตตธรรม แตไ มใ ชคนั ถธรรม ดวยอาํ นาจของเหตปุ จจยั คอื เหตุทงั้ หลายทีเ่ ปนคันถสมั ปยตุ ตธรรม แตไ มใ ชคนั ถธรรม เปนปจ จัยแกส มั ปยุตตขนั ธท ั้งหลาย ดวยอาํ นาจของเหตปุ จจัย. ๕. ธรรมทีเ่ ปน คนั ถสัมปยตุ ตธรรม แตไมใชค ันถ-ธรรม เปนปจจยั แกธรรมท่เี ปนทง้ั คนั ถธรรมและคนั ถสัมปยุตตธรรมดว ยอาํ นาจของเหตปุ จจยั คือ เหตุทั้งหลายท่เี ปน คันถสมั ปยุตตธรรม แตไ มใชค ันถธรรม เปนปจจัยแกค นั ถะที่เปน สมั ปยตุ ตธรรมทัง้ หลาย ดวยอาํ นาจของเหตปุ จจัย. ๖. ธรรมท่เี ปนคนั ถสมั ปยุตตธรรม แตไมใชค นั ถ-ธรรม เปนปจจัยแกธ รรมทเ่ี ปนทั้งคันถธรรมและคนั ถสัมปยตุ ตธรรมและธรรมท่เี ปน คนั ถสมั ปยุตตธรรม แตไมใชคันถธรรม ดวยอํานาจของเหตุปจจยั คือ เหตทุ ้ังหลายท่เี ปนคนั ถสัมปยุตตธรรม แตไมใชค นั ถธรรม เปนปจ จยั แกส ัมปยตุ ตขนั ธ และคันถธรรมทง้ั หลาย ดวยอาํ นาจของเหตุปจ จัย. ๗. ธรรมทเ่ี ปนคันถธรรมและคันถสัมปยตุ ตธรรมและธรรมท่เี ปน คันถสัมปยตุ ตธรรม แตไมใชค ันถธรรม เปน ปจ จัยแกธรรมทเี่ ปน ทัง้ คนั ถธรรม และคนั ถสัมปยุตตธรรม ดว ยอาํ นาจของเหตปุ จ จัย

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 639 คอื เหตุทั้งหลายท่ีเปน ท้งั คนั ถธรรม และคันถสัมปยุตตธรรม และทเ่ี ปนคันถสัมปยุตตธรรม แตไมใ ชคนั ถธรรม เปน ปจจยั แกค นั ถะท่ีเปนสมั ปยุตตธรรมทง้ั หลาย ดว ยอ านาจของเหตุปจ จยั . ๘. ธรรมท่เี ปนทงั้ คนั ถธรรมและคนั ถสัมปยตุ ตธรรมและธรรมทเ่ี ปนคันถสัมปยตุ ตธรรม แตไ มใชค ันถธรรม เปนปจจัยแกธรรมท่เี ปน คันถสมั ปยุตตธรรม แตไมใ ชคันถธรรม ดว ยอาํ นาจของเหตุปจ จยั คือ เหตทุ ัง้ หลายทีเ่ ปน ท้ังคันถธรรม และคนั ถสมั ปยุตตธรรม และท่ีเปน คนั ถสมั ปยุตตธรรม แตไมใ ชคนั ถธรรม เปน ปจจยั แกส มั ปยุตตขันธท้ังหลาย ดวยอาํ นาจของเหตปุ จ จัย. ๙. ธรรมทเ่ี ปน ทั้งคันถธรรมและคนั ถสัมปยตุ ตธรรมและธรรมทีเ่ ปน คันถสัมปยุตตธรรม แตไมใชค ันถธรรม เปนปจจัยแกธรรมทเ่ี ปน ทั้งคนั ถธรรมและคันถสมั ปยุตตธรรม และธรรมที่เปนคนั ถสมั ปยตุ ตธรรม แตไมใ ชคนั ถธรรม ดว ยอาํ นาจของเหตุปจจยั คือ เหตทุ ้ังหลายที่เปน ทง้ั คันถธรรม และคนั ถสัมปยตุ ตธรรม และท่เี ปน คนั ถสมั ปยุตตธรรม แตไ มใชค นั ถธรรม เปนปจ จยั แกสมั ปยตุ ตขนั ธและคันถธรรมทั้งหลาย ดว ยอาํ นาจของเหตุปจจัย.

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 640 ๒. อารัมมณปจ จยั [๕๗๒] ๑. ธรรมท่ีเปนท้งั คันถธรรม และคนั ถสมั ปยตุ ต-ธรรม เปนปจ จยั แกธ รรมทเี่ ปน ทั้งคนั ถธรรมและคันถสัมปยตุ ตธรรมดว ยอาํ นาจของอารมั มณปจจัย คอื เพราะปรารภคนั ถธรรมทง้ั หลาย คนั ถธรรมทั้งหลาย ยอมเกิดขนึ้ . พงึ กระทาํ มูล (วาระที่ ๒) เพราะปรารภคันถธรรมท้ังหลาย ขันธท งั้ หลายที่เปน คันถสัมปยตุ ต-ธรรม แตไ มใ ชคนั ถธรรม ยอ มเกิดขึน้ . พงึ กระทาํ มลู (วาระท่ี ๓) เพราะปรารภคนั ถธรรมทง้ั หลาย คนั ถธรรมทัง้ หลาย และขันธทง้ัหลายทเ่ี ปน คันถสัมปยุตตธรรม ยอ มเกิดข้ึน. ๔. ธรรมที่เปน คันถสัมปยุตตธรรม แตไ มใชคนั ถ-ธรรม เปนปจ จัยแกธ รรมท่ีเปนคนั ถสัมปยุตตธรรม แตไมใ ชค ันถ-ธรรม ดว ยอาํ นาจของอารมั มณปจจยั คอื เพราะปรารภขันธท ัง้ หลาย ทเ่ี ปนคนั ถสมั ปยุตตธรรม แตไ มใชคนั ถธรรม ขนั ธท ้ังหลายท่ีเปนคันถสมั ปยตุ ตธรรม แตไมใ ชค นั ถธรรมยอมเกิดขนึ้ . พึงกระทาํ มลู (วาระท่ี ๕) เพราะปรารภขันธท งั้ หลาย ทเี่ ปน คนั ถสมั ปยุตตธรรม แตไ มใชคันถ-ธรรม คันถธรรมท้งั หลาย ยอ มเกิดขึ้น. พึงกระทํามูล (วาระที่ ๖)

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 641 เพราะปรารภขันธท ง้ั หลาย ท่ีเปนคันถสัมปยตุ ตธรรม แตไมใ ชคันถธรรม คันถธรรมและขนั ธท งั้ หลายท่ีเปนคนั ถสมั ปยตุ ตธรรม ยอ มเกดิ ขนึ้ . ๓ วาระ แมนอกน้ี ก็พึงกระทําอยา งทกี่ ลา วมาแลว. ๓. อธิปตปิ จจยั ฯลฯ ๒๐. อวคิ ตปจจยั ในอธิปติปจ จัยก็ดี ในอนันตรปจจัยก็ดี ในอุปนสิ สยปจจยั ก็ดี เหมอื นกบั อารัมมณปจ จัย วภิ ังคไ มมี. การนับจ านวนวาระในอนุโลม [๕๗๓] ในเหตุปจจยั มี ๙ วาระ ในอารัมมณปจจยั มี ๙ วาระในอธิปติปจ จัย มี ๙ วาระ ในอนนั ตรปจจยั มี ๙ วาระ ในสมนันตรปจ จยัมี ๙ วาระ ในสหชาตปจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปจ จัย มี ๙ วาระในนสิ สยปจจยั มี ๙ วาระ ในอปุ นิสสยปจจยั มี ๙ วาระ ในอาเสวนปจ จัยมี ๙ วาระ ในกัมมปจ จัย มี ๓ วาระ ในอาหารปจ จยั มี ๓ วาระ ในอินทริยปจ จยั มี ๓ วาระ ในฌานปจ จัย มี ๓ วาระ ในมัคคปจจัย มี ๙วาระ ในสัมปยุตตปจจัย มี ๙ วาระ ในอตั ถปิ จจัย มี ๙ วาระ ในนตั ถิปจจัย มี ๙ วาระ ในวคิ ตปจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปจจยั มี ๙ วาระ. อรปู ธรรมเทานั้นเปนปจ จัย. แตล ะอยางพึงกระทาํ อยางละ ๓ นยัในอารัมมณะ สหชาตะ อุปนิสสยะ พึงเปล่ยี นแปลงทง้ั ๙ วาระ แมในปญ หาวาระ ก็พึงกระทาํ อยา งทก่ี ลา วมาแลว ท้งั หมด. คนั ถคนั ถสัมปยุตตทุกะ จบ

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 642 ๓๑. คันถวปิ ปยตุ ตคันถนยิ ทกุ ะ ปฏิจจวาระ อนโุ ลมนัย ๑. เหตปุ จ จยั [๕๗๔] ๑. ธรรมท่ีเปน คันถวิปปยุตตคนั ถนยิ ธรรม อาศยัธรรมทเี่ ปน คนั ถวปิ ปยุตตคันถนิยธรรม เกดิ ขน้ึ เพราะเหตุปจ จยั คือ ขันธ ๓ และจติ ตสมุฏฐานรูป อาศยั ขันธ ๑ ทเี่ ปนคนั ถวปิ ป-ยตุ ตคันถนิยธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภตู รปู ๑ ฯลฯ โลกิยทุกะในจูฬันตรทกุ ะ ฉันใด พงึ ใหพ ิสดารฉนั นน้ั ไมมีแตกตา งกัน. คันถวิปปยตุ ตคันถนยิ ทุกะ จบ

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 643 ๓๒. โอฆและโยคโคจฉกทุกะ๑ ปฏจิ จวาระ ๑. เหตุปจจัย [๕๗๕] โอฆธรรม อาศยั โอฆธรรม เกดิ ขึ้นเพราะเหตปุ จ จัย. โยคธรรม อาศัยโยคธรรม เกดิ ขึ้น เพราะเหตปุ จจัย โคจฉกะทงั้ ๒ เหมือนกบั อาสวโคจฉกะ ไมม แี ตกตางกนั . โอฆและโยคโคจฉกทุกะ จบ๑. โอฆโคจฉกทุกะ มี ๖ ทุกะ (ทกุ ะท่ี ๓๒ ถึง ๓๗). โยคโคจฉกทกุ ะ มี ๖ ทกุ ะ (ทกุ ะที่ ๓๘ ถึง ๔๓) ทุกะตอ ไปคือนวี รณทุกะ จงึ เปนทุกะท่ี ๔๔

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 644 ๔๔. นีวรณทุกะ ปฏิจจวาระ อนุโลมนยั ๑. เหตปุ จ จัย [๕๗๖] ๑. นวี รณธรรม อาศยั นวี รณธรรม เกิดขน้ึ เพราะเหตปุ จจยั คอื ถีนมทิ ธนิวรณ อุทธัจจนวิ รณ อวิชชานวิ รณ อาศยั กามฉันท-นวิ รณ. อุทธจั จนวิ รณ อวิชชานิวรณ อาศัยกามฉันทนิวรณ. ถีนมทิ ธนวิ รณ อทุ ธัจจนิวรณ อวิชชานวิ รณ อาศยั พยาบาทนิวรณ. อุทธจั จนวิ รณ อวิชชานวิ รณ อาศัยพยาบาทนวิ รณ. ถีนมิทธนวิ รณ อุทธัจจนวิ รณ อวิชชานิวรณ อาศยัพยาบาทนิวรณ. อุทธัจจนิวรณ กกุ กุจจนวิ รณ อวิชชานิวรณ อาศยั พยาบาทนิวรณ. อุทธจั จนิวรณ อาศัยวิจกิ ิจฉานวิ รณ. อวชิ ชานวิ รณ อาศยั อทุ ธจั จนวิ รณ. ๒. ธรรมท่ีไมใชน วี รณธรรม อาศยั นีวรณธรรม เกดิข้ึน เพราะเหตปุ จจัย คือ สมั ปยุตตขนั ธทัง้ หลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยนวี รณธรรมท้ังหลาย.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 645 ๓. นีวรณธรรม และธรรมทไ่ี มใ ชน วี รณธรรม อาศยันีวรณธรรม เกดิ ขนึ้ เพราะเหตุปจจัย คือ ถนี มทิ ธนวิ รณ อทุ ธัจจนวิ รณ อวชิ ชานวิ รณ สัมปยุตตขันธท้ังหลาย และจิตตสมุฏฐานรปู อาศยั กามฉันทนวิ รณ. พงึ ผูกจักรนัย ๔. ธรรมทไ่ี มใ ชน ีวรณธรรม อาศัยธรรมที่ไมใ ชนีวรณธรรม เกดิ ขน้ึ เพราะเหตปุ จ จัย คือ ขันธ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขนั ธ ๑ ทไ่ี มใ ชนีวรณ-ธรรม ฯลฯ อาศัยขนั ธ ๒. ในปฏิสนธขิ ณะ ฯลฯ ๕. นวี รณธรรม อาศยั ธรรมที่ไมใชน ีวรณธรรมเกิดข้ึน เพราะเหตุปจ จัย คอื นีวรณธรรมทั้งหลาย อาศยั ขนั ธท้งั หลายทีไ่ มใ ชนวี รณธรรม. ๖. นีวรณธรรม และธรรมท่ีไมใ ชน ีวรณธรรม อาศยัธรรมท่ีไมใ ชนีวรณธรรม เกดิ ขนึ้ เพราะเหตุปจ จยั คอื ขันธ ๓, นวี รณธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ ๑ ที่ไมใ ชน ีวรณธรรม ฯลฯ อาศัยขนั ธ ๒. ๗. นีวรณธรรม อาศยั นวี รรณธรรม และธรรมท่ไี มใชนวี รณธรรม เกิดขน้ึ เพราะเหตุปจจยั

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 646 คอื ถีนมิทธนิวรณ อุทธจั จนิวรณ อวิชชานิวรณ อาศัยกามฉนั ท-นิวรณ และสัมปยุตตขนั ธท ง้ั หลาย. พึงผกู จกั รนยั . ๘. ธรรมที่ไมใ ชนีวรณธรรม อาศัยนีวรณธรรม และธรรมทีไ่ มใชนีวรณธรรม เกิดข้นึ เพราะเหตปุ จจัย คอื ขันธ ๓ และจติ ตสมฏุ ฐานรูป อาศยั ขันธ ๑ ที่ไมใชนวี รณธรรมและนวี รณธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ ๒. ๙. นีวรณธรรม และธรรมทไ่ี มใ ชน ีวรณธรรม อาศยันวี รณธรรม และธรรมทีไ่ มใ ชนวี รณธรรม เกดิ ขน้ึ เพราะเหตุปจจยั คือ ขันธ ๓ ถนี มทิ ธนิวรณ อทุ ธจั จนวิ รณ อวิชชานิวรณ อาศยัขันธ ๑ ท่ีไมใชนีวรณธรรม และกามฉนั ทนวิ รณ ฯลฯ อาศัยขนั ธ ๒. พึงผูกจักรนัย. ฯลฯ การนับจาํ นวนวาระในอนโุ ลม [๕๗๗] ในเหตปุ จจยั มี ๙ วาระ ในอารมั มณปจจัย มี ๙ วาระในอธิปติปจ จัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปจ จยั มี ๙ วาระ ในสมนนั ตรปจจยัมี ๙ วาระ ในปจ จยั ทงั้ ปวง มี ๙ วาระ ในวปิ ากปจ จยั มี ๑ วาระ ในอาหารปจ จัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปจ จยั มี ๙ วาระ.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 647 ปจ จนยี นัย ๑. นเหตปุ จ จยั [๕๗๘] ๑. นีวรณธรรม อาศัยนวี รณธรรม เกิดข้นึ เพราะนเหตปุ จจยั คอื อวชิ ชานวิ รณ อาศัยวจิ ิกจิ ฉานวิ รณ, อวิชชานวิ รณ อาศยัอุทธจั จนิวรณ. ๒. ธรรมทีไ่ มใ ชนวี รณธรรม อาศยั ธรรมท่ีไมใชนีวรณธรรม เกดิ ข้ึน เพราะนเหตปุ จจยั คือ ขนั ธ ๓ และจิตตสมฏุ ฐานรูป อาศัยขนั ธ ๑ ที่ไมใ ชนีวรณธรรมซึ่งเปน อเหตกุ ะ ฯลฯ อาศัยขนั ธ ๒. ในอเหตกุ ปฏสิ นธขิ ณะ ตลอดถึงอสัญญสัตว. ๓. นวี รณธรรม อาศัยธรรมท่ีไมใชนีวรณธรรม เกดิขนึ้ เพราะนเหตปุ จ จยั คือ อวชิ ชานวิ รณ อาศัยขนั ธทัง้ หลายท่ีสหรคตดว ยวิจิกิจฉา ท่ีสหรคตดว ยอทุ ธจั จะ. ๔. นีวรณธรรมอาศัยนีวรณธรรม และธรรมทีไ่ มใชนวี รณธรรม เกิดขึน้ เพราะนเหตปุ จจัย คอื อวิชชานิวรณ อาศยั วิจิกจิ ฉานิวรณ และสัมปยุตตขันธทั้งหลาย. อวชิ ชานิวรณ อาศัยอุทธัจจนิวรณ และสัมปยุตตขนั ธท้งั หลาย.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 648 ๒. นอารัมมณปจจัย [๕๗๙] ๑. ธรรมทไี่ มใชน วี รณธรรม อาศยั นวี รณธรรม เกิดขนึ้ เพราะนอารมั มณปจจยั คอื จิตตสมุฏฐานรปู อาศยั นวี รณธรรมทงั้ หลาย. ๒. ธรรมทีไ่ มใชน ีวรณธรรม อาศัยธรรมทไ่ี มใชนวี รณธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารมั มณปจ จัย คอื จติ ตสมุฏฐานรปู อาศัยขนั ธท งั้ หลายท่ีไมใ ชนีวรณธรรม. ในปฏิสนธขิ ณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว. ๓. ธรรมท่ไี มใชนวี รณธรรม อาศยั นีวรณธรรม และธรรมทีไ่ มใชน ีวรณธรรม เกดิ ขน้ึ เพราะนอารมั มณปจ จยั คือ จติ ตสมฏุ ฐานรูป อาศัยนีวรณธรรม และสมั ปยุตตขนั ธทัง้ หลายฯลฯ ๓. นอธปิ ติปจจยั ฯลฯ ๗. นอปุ นสิ สยปจ จยั ฯลฯ เพราะนอธปิ ติปจ จัย ฯลฯ เพราะนอนันตรปจ จยั ฯลฯ เพราะนสมนนั ตรปจจัย ฯลฯ เพราะนอัญญมัญญปจ จยั ฯลฯ เพราะนอปุ นิสสยปจจัย

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 649 ๘. นปเุ รชาตปจจยั [๕๘๐] ๑. นีวรณธรรม อาศัยนีวรณธรรม เกดิ ขึ้น เพราะนปเุ รชาตปจจยั คอื ในอรปู ภูมิ ถีนมทิ ธนวิ รณ อุทธจั จนิวรณ อวิชชานิวรณ อาศัยกามฉนั ทนวิ รณ. ในอรูปภูมิ อุทธจั จนิวรณ อวิชชานิวรณ อาศยั กามฉันทนิวรณ. ในอรปู ภูมิ อทุ ธจั จนวิ รณ อวชิ ชานวิ รณ อาศยั วจิ กิ ิจฉานวิ รณ. ในอรูปภูมิ อวชิ ชานวิ รณ อาศยั อุทธัจจนิวรณ. ๒. ธรรมทไี่ มใชนวี รณธรรม อาศัยนีวรณธรรม เกิดขน้ึ เพราะนปุเรชาตปจจยั คอื ในอรูปภมู ิ สัมปยตุ ตขนั ธท ้งั หลาย อาศัยนวี รณธรรมท้งั หลาย. จติ ตสมฏุ ฐานรปู อาศยั นีวรณธรรมทั้งหลาย. วาระทเ่ี หลอื ท้ังหมด (คือวาระที่ ๓-๖) พงึ ใหพิสดาร. อรปู ภมู ิ พงึ กระทํากอ น สวนรปู ภูมิ พึงกระทาํ ภายหลงั ตามที่จะพงึ กระทําได. ๗. นีวรณธรรม อาศัยนีวรณธรรม และธรรมท่ีไมใชนวี รณธรรม เกดิ ขึ้น เพราะนปเุ รชาตปจจัย คอื ในอรปู ภมู ิ ถีนมทิ ธนวิ รณ อทุ ธจั จนวิ รณ อาศัยขนั ธท ง้ั หลายท่ไี มใชนวี รณธรรม และกามฉนั ทนวิ รณ. พึงผูกจกั รนัย.

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 650 ๘. ธรรมท่ีไมใ ชนีวรณธรรน อาศัยนีวรณธรรม และธรรมท่ีไมใชน วี รณธรรม เกดิ ขึน้ เพราะนปเุ รชาตปจจยั คือ ในอรปู ภูมิ ขนั ธ ๓ อาศัยขนั ธ ๑ ทไ่ี มใ ชนีวรณธรรม และนวี รณธรรมทง้ั หลาย ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ จิตตสมฏุ ฐานรูป อาศัยนวี รณธรรม และสัมปยตุ ตขันธท ัง้ หลาย. จติ ตสมฏุ ฐานรปู อาศยั นีวรณธรรม และมหาภตู รปู ทั้งหลาย. ๙. นวี รณธรรม และธรรมทีไ่ มใ ชนีวรณธรรม อาศยันีวรณธรรม และธรรมที่ไมใชนวี รณธรรม เกดิ ข้ึน เพราะนปุเรชาตปจ จยั คอื ในอรปู ภมู ิ ขันธ ๓ ถีนมทิ ธนวิ รณ อุทธัจจนิวรณ อวชิ ชา-นิวรณ อาศยั ขนั ธ ๑ ทไ่ี มใชน วี รณธรรม และกามฉนั ทนวิ รณ ฯลฯ พงึ ผูกจักรนัย. ฯลฯ การนับจาํ นวนวาระในปจจนยี ะ [๕๘๑] ในนเหตุปจจยั มี ๔ วาระ ในนอารัมมณปจ จัย มี ๓ วาระในนอธปิ ติปจ จยั มี ๙ วาระ ในนอนนั ตรปจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนนั ตร-ปจจยั มี ๓ วาระ ในนอัญญปจจัย มี ๓ วาระ ในอปุ นสิ สปจ จยัมี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปจจยั มี ๙ วาระ ในนปจ ฉาชาตปจ จยั มี ๙ วาระในนอาเสวนปจจัย มี ๙ วาระ ในนกมั มปจจยั มี ๓ วาระ ในนวิปากปจ จัย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook