Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_88

tripitaka_88

Published by sadudees, 2017-01-10 01:17:04

Description: tripitaka_88

Search

Read the Text Version

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 401 สงั สฏั ฐวาระ อนุโลมนยั ๑. เหตปุ จ จัย [๓๘๐] ๑. อาสวสมั ปยุตตธรรม เจอื กบั อาสวสมั ปยตุ ตธรรมเกดิ ขน้ึ เพราะเหตปุ จจัย ฯลฯ. การนับจ านวนวาระในอนโุ ลม [๓๘๑] ในเหตุปจ จัย มี ๖ วาระ ในอารัมมณปจ จยั มี ๖ วาระ ในอธปิ ติปจจัย มี ๖ วาระ ในปจ จยั ทงั้ ปวง มี ๖ วาระ ในวปิ ากปจจัย มี ๑ วาระฯลฯ ในอวคิ ตปจ จัย มี ๖ วาระ. อนุโลมนัย จบ ปจจนียนยั ๑. นเหตุปจ จัย [๓๘๒] ๑. อาสววิปปยตุ ตธรรม เจือกับอาสวสมั ปยุตตธรรมเกดิ ขนึ้ เพราะนเหตปุ จจัย คอื โมหะ ทส่ี หรคตดวยวจิ กิ ิจฉา ท่ีสหรคตดว ยอทุ ธัจจะ เจือกบัขนั ธทง้ั หลาย ท่สี หรคตดว ยวจิ กิ ิจฉา ทีส่ หรคตดว ยอุทธัจจะ.

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 402 ๒. อาสววิปปยตุ ตธรรม เจอื กับอาสววปิ ปยุตตธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตปุ จ จยั ฯลฯ การนับจ านวนวาระในปจจนยี ะ [๓๘๓] ในนเหตปุ จ จยั มี ๒ วาระ ในนอธปิ ตปิ จจัย มี ๖ วาระ ในนปเุ รชาตปจ จัย มี ๖ วาระ ในนปจฉาชาตปจ จัย มี ๖ วาระ ในนอาเสวน-ปจจยั มี ๖ วาระ ในนกมั มปจจัย มี ๔ วาระ ในนวปิ ากปจจยั มี ๖ วาระในนฌานปจจยั มี ๑ วาระ ในนมคั คปจ จัย มี ๑ วาระ ในนวปิ ปยุตตปจจัยมี ๖ วาระ. การนบั วาระในนยั ทงั้ สอง แมน อกน้ี พึงกระทําอยางที่กลา วมาแลว. แม สัมปยตุ ตวาระ ก็เหมอื นกับ สังสฏั ฐวาระ.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 403 ปญ หาวาระ อนโุ ลมนยั ๑. เหตปุ จ จัย [๓๘๔] ๑. อาสวสมั ปยตุ ตธรรม เปนปจจยั แกอาสวสมั ปยตุ ต-ธรรม ดวยอาํ นาจของเหตปุ จจัย คือ เหตทุ ง้ั หลายทเ่ี ปนอาสวสัมปยตุ ตธรรม เปนปจจัยแกส ัมปยตุ ต-ขนั ธท้งั หลาย ดวยอาํ นาจของเหตุปจ จยั . ๒. อาสวสมั ปยตุ ตธรรม เปนปจ จยั แกอ าสววิปปยุตต-ธรรม ดว ยอํานาจของเหตุปจจัย คอื เหตุท้ังหลายท่ีเปนอาสวสมั ปยุตตธรรม เปนปจ จยั แกจ ิตต-สมฏุ ฐานรูปทั้งหลาย ดวยอํานาจของเหตปุ จจยั . โทสะ เปน ปจจยั แกโมหะและจติ ตสมุฏฐานรปู ทง้ั หลาย ดว ยอํานาจของเหตปุ จจยั . ๓. อาสวสมั ปยุตตธรรม เปนปจจัยแกอ าสวสมั ปยุตต-ธรรม และอาสววปิ ปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของเหตปุ จ จยั คือ เหตทุ ง้ั หลายทเ่ี ปนอาสวสัมปยตุ ตธรรม เปน ปจ จัยแกสมั ปยุตต-ขันธ และจติ ตสมุฏฐานรปู ท้งั หลาย ดว ยอํานาจของเหตปุ จ จยั . โทสะ เปนปจ จยั แกสมั ปยุตตขนั ธ โมหะ และจิตตสมุฏฐานรปูท้ังหลาย ดว ยอาํ นาจของเหตปุ จจัย.

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 404 ๔. อาสววิปปยตุ ตธรรม เปน ปจ จยั แกอาสววิปปยตุ ต-ธรรม ดวยอาํ นาจของเหตุปจจัย คือ เหตุทงั้ หลายท่เี ปน อาสววปิ ปยตุ ตธรรม เปน ปจจยั แกส มั ปยตุ ต-ขนั ธ และจติ ตสมฏุ ฐานรูปท้ังหลาย ดว ยอํานาจของเหตปุ จ จยั . โมหะ ท่สี หรคตดว ยโทมนสั ท่ีสหรคตดวยวจิ กิ ิจฉา ที่สหรคตดวยอุทธัจจะ เปน ปจจยั แกจ ติ ตสมุฏฐานรปู ทัง้ หลาย ดวยอาํ นาจของเหตุปจ จยั . ปฏิสนธิ ฯลฯ. ๕. อาสววิปปยุตตธรรม เปนปจจัยแกอ าสวสัมปยุตต-ธรรม ดวยอาํ นาจของเหตปุ จจัย คอื โมหะ ท่ีสหรคตดว ยโทมนสั ที่สหรคตดวยวจิ ิกิจฉา ทีส่ หรคตดวยอทุ ธจั จะ เปนปจ จัยแกส มั ปยตุ ตขันธท ง้ั หลาย ดว ยอํานาจของเหตปุ จ จัย. ๖. อาสววิปปยุตตธรรม เปน ปจจยั แกอ าสวสัมปยุตต-ธรรม และอาสววปิ ปยตุ ตธรรม ดวยอาํ นาจของเหตปุ จจยั คือ โมหะ ท่ีสหรคตดว ยโทมนสั ทส่ี หรคตดว ยวจิ กิ จิ ฉา ท่ีสหรคตดว ยอทุ ธจั จะ เปนปจจัยแกสมั ปยตุ ตขันธ และจติ ตสมฏุ ฐานรูปทง้ั หลาย ดว ยอาํ นาจของเหตปุ จจยั . ๗. อาสวสมั ปยตุ ตธรรม และอาสววปิ ปยตุ ตธรรมเปน ปจ จยั แกอ าสวสมั ปยุตตธรรม ดว ยอาํ นาจของเหตุปจจยั คือ โทสะ และโมหะ เปน ปจจัยแกข นั ธท ั้งหลายทเี่ ปนอาสวสัมปยุตต-ธรรม ดว ยอํานาจของเหตปุ จจัย.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 405 ๘. อาสวสัมปยตุ ตธรรม และอาสววิปปยตุ ตธรรมเปนปจ จยั แกอ าสววิปปยตุ ตธรรม ดว ยอาํ นาจของเหตุปจจยั คอื โทสะ และโมหะ เปนปจจยั แกจ ิตตสมุฏฐานรูปทัง้ หลาย ดวยอํานาจของเหตุปจ จัย. ๙. อาสวสมั ปยุตตธรรม และอาสววปิ ปยุตตธรรมเปนปจ จยั แกอาสวสมั ปยุตตธรรม และอาสววิปปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของเหตุปจ จัย คือ โทสะ และโมหะ เปนปจจยั แกส ัมปยุตตขนั ธ และจติ ต-สมฏุ ฐานรปู ทง้ั หลาย ดว ยอาํ นาจของเหตุปจจยั . ๒. อารมั มณปจจัย [๓๘๕] ๑. อาสวสัมปยตุ ตธรรม เปน ปจจัยแกอ าสวสัมปยุตต-ธรรม ดวยอาํ นาจของอารมั มณปจ จยั คือ เพราะปรารภขนั ธทง้ั หลาย ท่เี ปนอาสวสัมปยุตตธรรม ขนั ธทั้งหลายทเ่ี ปนอาสวสัมปยุตตธรรม ยอ มเกดิ ขน้ึ . ๒. อาสวสมั ปยุตตธรรม เปน ปจ จัยแกอ าสววิปปยุตต-ธรรม ดว ยอํานาจของอารมั มณปจจัย คอื เพราะปรารภขนั ธท ัง้ หลาย ทเี่ ปน อาสวสัมปยตุ ตธรรม ขนั ธทงั้ หลายทเ่ี ปน อาสววิปปยตุ ตธรรม และโมหะ ยอมเกดิ ข้ึน.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 406 ๓. อาสวสัมปยตุ ตธรรม เปน ปจจยั แกอ าสวสมั ปยุตต-ธรรม และอาสววิปปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของอารัมมณปจ จัย คือ เพราะปรารภขนั ธท้งั หลาย ที่เปนอาสวสมั ปยตุ ตธรรม ขันธทัง้ หลายทส่ี หรคตดวยโทมนัส ที่สหรคตดว ยวิจิกจิ ฉา ท่ีสหรคตดวยอทุ ธจั จะและโมหะ ยอ มเกดิ ขน้ึ . ๔. อาสววิปปยุตตธรรม เปน ปจจยั แกอาสววปิ ปยตุ ต-ธรรม ดวยอาํ นาจของอารมั มณปจจัย คือ บุคคลใหท าน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ แลว พจิ ารณาซ่ึงกุศลกรรมนน้ั . บคุ คลพิจารณากุศลธรรมท้ังหลาย ทเ่ี คยสง่ั สมไวแ ลว ในกาลกอ น,ออกจากฌานแลว ฯลฯ พระอริยะท้ังหลายออกจากมรรคแลว พจิ ารณามรรค ฯลฯ ผล ฯลฯนิพพาน ฯลฯ นิพพาน เปน ปจ จัยแกโ คตรภ,ู แกโวทาน, แกม รรค, แกผล, แกอาวชั ชนะ ดวยอํานาจของอารมั มณปจ จยั . พระอริยะท้งั หลายพจิ ารณากิเลสท่ลี ะแลว ท่เี ปนอาสววิปปยุตตธรรม,พิจารณากเิ ลสทั้งหลายที่ขมแลว ในกาลกอน ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นจกั ษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธท งั้ หลายที่เปน อาสว-วิปปยุตตธรรม โดยความเปนของไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนตั ตา. ในทน่ี ้ี ความยินดไี มม .ี

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 407 บุคคลเหน็ รูปดวยทพิ ยจกั ษุ ฟงเสียงดวยทิพโสตธาต.ุ บุคคลรูจิตของบุคคลผพู รอ มเพรยี งดว ยจติ ทเี่ ปน อาสววปิ ปยตุ ตธรรมดว ยอาํ นาจของเจโตปรยิ ญาณ. อากาสานัญจายตนะ เปนปจ จัยแกวญิ ญาณญั จายตนะ ฯลฯ อากญิ -จญั ญายตนะ เปน ปจ จยั แกเนวสัญญานาสญั ญายตนะ. รูปายตนะ เปนปจ จัยแกจักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐพั พายตนะ เปนปจ จยั แกก ายวญิ ญาณ. ขันธทงั้ หลายที่เปน อาสววปิ ปยตุ ตธรรม เปน ปจจยั แก อทิ ธิวิธญาณแกเจโตปรยิ ญาณ แกบ ุพเพนวิ าสานสุ สติญาณ แกยถากัมมปู คญาณ แกอนาคตังสญาณ แกอาวัชชนะ แกโมหะ ดวยอํานาจของอารัมมณปจจัย. ๕. อาสววปิ ปยุตตธรรม เปนปจ จัยแกอาสวสัมปยุตต-ธรรม ดวยอํานาจของอารัมมณปจ จัย คอื บคุ คลใหทาน ฯลฯ ศลี ฯลฯ กระทําอุโบสถกรรมแลว ยอมยนิ ดี ยอมเพลดิ เพลนิ ยิ่งซึง่ กุศลกรรมน้ัน เพราะปรารภทานเปนตน นัน้ ราคะยอ มเกิดข้ึน ทิฏฐิ ยอ มเกดิ ขนึ้ วจิ กิ ิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสยอ มเกิดขึน้ . พจิ ารณากศุ ลธรรมทัง้ หลาย ท่ีเคยสง่ั สมไวแ ลว ในกาลกอน ฯลฯ ออกจากฌานแลว พิจารณาฌาน ฯลฯ บุคคลยอ มยินดี ยอมเพลิดเพลินยิง่ ซ่ึงจักษุ ฯลฯ หทยวตั ถุ ขนั ธทงั้ หลายทีเ่ ปนอาสววปิ ปยตุ ตธรรม เพราะปรารภจักษุเปน ตนน้นั ราคะ ฯลฯทิฏฐิ โทมนสั วิจิกจิ ฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ยอมเกดิ ขึน้ .

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 408 ๖. อาสววปิ ปยุตตธรรม เปนปจจัยแกอาสวสัมปยตุ ต-ธรรม และอาสววปิ ปยตุ ตธรรม ดวยอาํ นาจของอารัมมณปจจัย คอื เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทยวตั ถุ ขันธท ง้ั หลายทเ่ี ปน อาสว-วิปปยุตตธรรม ขันธท ้ังหลายท่ีสหรคตดวยโทมนสั ทสี่ หรคตดวยวิจิกจิ ฉาท่ีสหรคตดวยอุทธัจจะ และโมหะ ยอ มเกดิ ขึ้น. ๗. อาสวสมั ปยุตตธรรม และอาสววปิ ปยุตตธรรมเปน ปจ จัยแกอาสวสัมปยตุ ตธรรม ดว ยอาํ นาจของอารัมมณปจ จัย คือ เพราะปรารภขนั ธท ง้ั หลาย ท่ีสหรคตดวยโทมนัส ทส่ี หรคตดว ยวจิ ิกจิ ฉา ทสี่ หรคตดว ยอทุ ธจั จะ และโมหะ ขนั ธท งั้ หลายที่เปน อาสวสมั ปยตุ ต-ธรรม ยอ มเกดิ ขน้ึ . ๘. อาสวสัมปยุตตธรรม และอาสววิปปยตุ ตธรรมเปน ปจจัยแกอ าสววิปปยุตตธรรม ดวยอาํ นาจของอารัมมณปจจัย คือ เพราะปรารภขันธทงั้ หลาย ท่สี หรคตดว ยโทมนสั ทส่ี หรคตดว ยวจิ ิกิจฉา ที่สหรคตดวยอทุ ธจั จะ และโมหะ ขนั ธท ง้ั หลายทเ่ี ปนอาสววปิ ปยุตต-ธรรม และโมหะ ยอ มเกิดขึ้น. ๙. อาสวสัมปยุตตธรรม และอาสววิปปยุตตธรรมเปน ปจ จยั แกอาสวสมั ปยุตตธรรม และอาสววิปปยตุ ตธรรม ดว ยอํานาจของอารัมมณปจ จัย คือ เพราะปรารภขันธทง้ั หลาย ทส่ี หรคตดว ยโทมนัส ทีส่ หรคตดว ยวจิ กิ ิจฉา ทสี่ หรคตดวยอทุ ธจั จะ และโมหะ ขันธท ั้งหลายท่สี หรคตดว ยโทมนสัทสี่ หรคตดว ยวิจิกจิ ฉา ท่ีสหรคตดวยอทุ ธัจจะ และโมหะ ยอ มเกดิ ข้ึน.

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 409 ๓. อธิปตปิ จ จัย [๓๘๖] ๑. อาสวสมั ปยุตตธรรม เปนปจ จยั แกอ าสวสัมปยตุ ต-ธรรม ดวยอาํ นาจของอธปิ ติปจ จัย มี ๒ อยาง คอื ทีเ่ ปน อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ทีเ่ ปน อารมั มณาธิปติ ไดแก เพราะกระทาํ ขันธท้ังหลายทเ่ี ปน อาสวสมั ปยุตตธรรมใหเ ปนอารมณอยางหนกั แนน ขันธท้งั หลายทีเ่ ปนอาสวสัมปยตุ ตธรรม ยอ มเกดิ ข้ึน. ทเี่ ปน สหชาตาธปิ ติ ไดแ ก อธปิ ติธรรมท่เี ปนอาสวสัมปยุตตธรรม เปน ปจ จยั แกส มั ปยุตตขนั ธท้ังหลาย ดวยอาํ นาจของอธิปติปจจัย. ๒. อาสวสมั ปยุตตธรรม เปน ปจจยั แกอ าสววิปปยุตต-ธรรมทง้ั หลาย ดว ยอาํ นาจของอธิปตปิ จ จยั มอี ยา งเดียว คือทเี่ ปน สหชาตาธิปติ ไดแก อธปิ ติธรรมท่ีเปนอาสวสมั ปยตุ ตธรรม เปนปจ จยั แกจ ติ ตสมฏุ ฐานรูปทง้ั หลาย ดวยอาํ นาจของอธิปติปจ จัย. อธปิ ตธิ รรมทส่ี หรคตดวยโทมนัส เปน ปจจัยแกโมหะ และจิตต-สมฏุ ฐานรูปท้งั หลาย ดว ยอํานาจของอธปิ ตปิ จจัย. ๓. อาสวสมั ปยุตตธรรม เปนปจจัยแกอ าสวสัมปยุตต-ธรรม และอาสววปิ ปยุตตธรรม ดวยอาํ นาจของอธิปตปิ จจยั

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 410 มอี ยา งเดียว คือทเี่ ปน สหชาตาธิปติ ไดแ ก อธปิ ตธิ รรมทีเ่ ปนอาสวสมั ปยตุ ตธรรม เปนปจ จัยแกสัมปยตุ ตขันธและจติ ตสมฏุ ฐานรูปทงั้ หลาย ดว ยอํานาจของอธิปตปิ จจัย. อธปิ ติธรรมทส่ี หรคตดว ยโทมนัส เปนปจ จัยแกส มั ปยุตตขันธ โมหะและจติ ตสมุฏฐานรูปทงั้ หลาย ดวยอํานาจของอธปิ ตปิ จจัย ๔. อาสววปิ ปยตุ ตธรรม เปน ปจจัยแกอาสววิปปยุตต-ธรรม ดวยอาํ นาจของอธิปติปจ จัย มี ๒ อยาง คอื ที่เปน อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ท่ีเปน อารมั มณาธปิ ติ ไดแ ก บุคคลใหท าน ฯลฯ ศลี ฯลฯ อโุ บสถกรรม ใหเปนอารมณอยา งหนักแนน แลว พจิ ารณา. กศุ ลกรรมทงั้ หลายท่ีเคยส่ังสมไวแลวในกาลกอ น ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอรยิ ะท้งั หลายออกจากมรรค กระทํามรรค ฯลฯ ผล ฯลฯ นิพพานใหเปนอารมณอ ยางหนกั แนนแลว พจิ ารณา. นิพพาน เปนปจ จัยแกโคตรภ,ู แกโวทาน, แกมรรค, แกผ ล ดว ยอํานาจของอธปิ ติปจ จยั . ทีเ่ ปน สหชาตาธิปติ ไดแ ก อธิปตธิ รรมทเ่ี ปน อาสววิปปยตุ ตธรรม เปนปจ จยั แกส มั ปยตุ ตขันธและจติ ตสมุฏฐานรูปทัง้ หลาย ดว ยอํานาจของอธิปติปจ จัย.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 411 ๕. อาสววปิ ปยุตตธรรม เปน ปจ จยั แกอาสวสมั ปยตุ ต-ธรรม ดว ยอาํ นาจของอธิปติปจจัย มอี ยางเดียว คือทีเ่ ปน อารมั มณาธิปติ ไดแ ก บคุ คลยอ มยินดี ยอมเพลิดเพลินยิง่ เพราะกระทําทาน ฯลฯ ศลีฯลฯ อุโบสถกรรม ใหเปนอารมณอ ยา งหนักแนน คร้ัน กระทํากศุ ลกรรมน้ันใหเปนอารมณอยางหนกั แนน แลว ราคะ ยอ มเกดิ ข้ึน ทิฏฐิ ยอมเกดิ ขึ้น. กุศลกรรมทง้ั หลายทเ่ี คยสั่งสมไวแ ลว ในกาลกอน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ บคุ คลยอ มยินดี ยอ มเพลดิ เพลินยงิ่ เพราะกระทําจกั ษุ ฯลฯ หทยวตั ถุขันธท ้งั หลายทเี่ ปน อาสววปิ ปยตุ ตธรรมใหเปนอารมณอ ยา งหนกั แนน คร้ันกระทําจักษเุ ปนตน น้นั ใหเปน อารมณอ ยางหนักแนน แลว ราคะ ยอมเกดิ ข้ึนทิฏฐิ ยอมเกิดขึน้ . ๔. อนันตรปจ จยั [๓๘๗] ๑. อาสวสมั ปยตุ ตธรรม เปนปจ จัยแกอาสวสัมปยตุ ต-ธรรม ดวยอาํ นาจของอนันตรปจ จัย คอื ขนั ธท้ังหลายทีเ่ ปนอาสวสัมปยุตตธรรม ที่เกิดกอ น เปนปจ จยั แกขนั ธทง้ั หลายทเี่ ปนอาสวสมั ปยตุ ตธรรม ทเี่ กดิ ข้นึ หลัง ๆ ดว ยอํานาจของอนนั ตรปจ จัย. ๒. อาสวสมั ปยุตตธรรม เปนปจ จัยแกอาสววิปปยุตต-ธรรม ดว ยอํานาจของอนนั ตรปจจยั

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 412 คอื ขนั ธทัง้ หลายท่สี หรคตดวยโทมนัส ท่สี หรคตดว ยวจิ กิ ิจฉา ที่สหรคตดวยอุทธจั จะ ทีเ่ กดิ กอ น ๆ เปน ปจ จยั แกโ มหะ ท่สี หรคตดวยโทมนสัทีส่ หรคตดว ยวจิ กิ จิ ฉา ทสี่ หรคตดวยอุทธจั จะ ทีเ่ กิดหลงั ๆ ดวยอํานาจของอนนั ตรปจจัย. ขันธท งั้ หลายที่เปน อาสวสัมปยตุ ตธรรม เปนปจจัยแกวุฏฐานะ ดวยอาํ นาจของอนันตรปจ จัย. ๓. อาสวสมั ปยตุ ตธรรม เปน ปจ จัยแกอาสวสัมปยตุ ต-ธรรม และอาสววิปปยตุ ตธรรม ดว ยอํานาจของอนันตรปจจัย คือ ขันธทั้งหลายที่สหรคตดวยโทมนัส ท่สี หรคตดวยวจิ กิ ิจฉา ท่ีสหรคตดวยอุทธัจจะ ท่ีเกดิ กอน ๆ เปน ปจ จยั แกขนั ธท ั้งหลายทสี่ หรคตดวยโทมนสั ทสี่ หรคตดว ยวจิ กิ จิ ฉา ท่ีสหรคตดว ยอุทธัจจะ ทเ่ี กดิ หลงั ๆ และโมหะ ดวยอํานาจของอนนั ตรปจจัย. ๔. อาสววปิ ปยุตตธรรม เปน ปจ จัยแกอ าสววิปปยุตต-ธรรม ดว ยอํานาจของอนนั ตรปจจัย คือ โมหะ ทีส่ หรคตดว ยโทมนัส ท่สี หรคตดว ยวิจกิ ิจฉา ทส่ี หรคตดวยอทุ ธัจจะ ท่เี กดิ กอ น ๆ เปน ปจจยั แกโ มหะ ทีส่ หรคตดวยโทมนสั ท่ีสหรคตดว ยวิจกิ จิ ฉา ทส่ี หรคตดว ยอุทธจั จะ ทีเ่ กิดหลัง ๆ ดวยอาํ นาจของอนันตรปจ จัย. ขันธทง้ั หลายทเ่ี ปนอาสววปิ ปยตุ ตธรรม ที่เกิดกอ น ๆ เปน ปจ จยั แกขนั ธท ้งั หลายที่เปน อาสววปิ ปยุตตธรรม ทเ่ี กดิ หลงั ๆ ดวยอาํ นาจของอนันตร-ปจจยั .

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 413 อนโุ ลม เปน ปจจัยแกโ คตรภ,ู ฯลฯ แกผลสมาบตั ิ ดว ยอํานาจของอนนั ตรปจ จัย. ๕. อาสววิปปยุตตธรรม เปน ปจจยั แกอ าสวสมั ปยุตต-ธรรม ดว ยอาํ นาจของอนันตรปจจยั คอื โมหะ ท่สี หรคตดวยโทมนัส ทีส่ หรคตดวยวจิ ิกจิ ฉา ทสี่ หรคตดวยอุทธัจจะ ทเ่ี กดิ กอน ๆ เปนปจ จยั แกข นั ธท ั้งหลายทสี่ หรคตดวยโทมนสัทีส่ หรคตดวยวิจกิ ิจฉา ทีส่ หรคตดว ยอุทธจั จะ ท่ีเกิดหลัง ๆ ดว ยอํานาจของอนนั ตรปจ จยั . อาวชั ชนะ เปนปจจยั แกข ันธท้งั หลายที่เปน อาสวสมั ปยุตตธรรม ดว ยอาํ นาจของอนนั ตรปจ จยั . ๖. อาสววปิ ปยุตตธรรม เปน ปจ จยั แกอาสวสมั ปยตุ ต-ธรรม และอาสววิปปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของอนันตรปจจัย คือ โมหะ ท่สี หรคตดวยโทมนัส ท่สี หรคตดว ยวจิ กิ จิ ฉา ที่สหรคตดว ยอทุ ธจั จะ ท่ีเกิดกอน ๆ เปน ปจจัยแกข นั ธทั้งหลายท่ีสหรคตดว ยโทมนสัที่สหรคตดว ยวจิ กิ จิ ฉา ท่ีสหรคตดว ยอทุ ธจั จะ ที่เกิดหลงั ๆ และโมหะ ดวยอาํ นาจของอนันตรปจ จยั . อาวัชชนะ เปน ปจ จัยแกข ันธท ง้ั หลายทส่ี หรคตดว ยโทมนัส ทีส่ หรคตดวยวิจกิ ิจฉา ทส่ี หรคตดวยอทุ ธจั จะ และโมหะ ดว ยอํานาจของอนนั ตรปจ จัย. ๗. อาสวสัมปยุตตธรรม และอาสววิปปยตุ ตธรรมเปน ปจ จัยแกอ าสวสมั ปยุตตธรรม ดวยอาํ นาจของอนนั ตรปจจัย

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 414 คือ ขนั ธทง้ั หลายท่สี หรคตดวยโทมนสั ที่สหรคตดวยวจิ ิกิจฉา ท่ีสหรคตดว ยอุทธัจจะ ท่เี กดิ กอน ๆ และโมหะ เปนปจ จัยแกขันธท ง้ั หลายที่สหรคตดว ยโทมนัส ทสี่ หรคตดวยวจิ ิกิจฉา ท่ีสหรคตดวยอทุ ธจั จะ ทเ่ี กดิ หลัง ๆดวยอาํ นาจของอนนั ตรปจจัย. ๘. อาสวสัมปยตุ ตธรรม และอาสววิปปยตุ ตธรรมเปน ปจ จยั แกอาสววิปปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของอนนั ตรปจจัย คอื ขนั ธท ังหลายที่สหรคตดว ยโทมนสั ท่ีสหรคตดว ยวิจิกิจฉา ท่ีสหรคตดวยอุทธจั จะ ที่เกดิ กอ น ๆ และโมหะ เปน ปจจัยแกโ มหะ ทส่ี หรคตดว ยโทมนัส ท่สี หรคตดว ยวจิ ิกิจฉา ที่สหรคตดว ยอุทธจั จะ ท่ีเกิดหลงั ๆดว ยอํานาจของอนนั ตรปจ จัย. ขันธท ง้ั หลายท่ีสหรคตดว ยโทมนสั ที่สหรคตดวยวจิ กิ จิ ฉา ที่สหรคตดวยอุทธัจจะ และโมหะ เปนปจจยั แกวฏุ ฐานะ ดว ยอํานาจของอนนั ตรปจ จัย. ๙. อาสวสมั ปยุตตธรรม และอาสาวววปิ ปยตุ ตธรรมเปนปจ จัยแกอ าสวสมั ปยตุ ตธรรม และอาสววปิ ปยตุ ตธรรม ดว ยอํานาจของอนันตรปจ จัย คอื ขันธท้ังหลายทสี่ หรคตดว ยโทมนัส ท่ีสหรคตดวยวิจกิ จิ ฉา ที่สหรคตดว ยอทุ ธัจจะ ที่เกดิ กอน ๆ และโมหะ เปน ปจจัยแกข นั ธท ั้งหลายทีส่ หรคตดวยโทมนัส ทส่ี หรคตดว ยวิจิกจิ ฉา ท่ีสหรคตดวยอุทธัจจะ ที่เกิดหลัง ๆ ดว ยอํานาจของอนนั ตรปจ จัย.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 415 ๕. สมนนั ตรปจ จยั ๑. อาสวสัมปยตุ ตธรรม เปน ปจ จัยแกอาสวสมั ปยตุ ต-ธรรม ดวยอาํ นาจของสมนนั ตรปจจยั ๖. สหชาตปจ จัย ฯลฯ ๘. นิสสยปจจัย ฯลฯ เปนปจจยั ดว ยอํานาจของสหชาตปจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ เปนปจจัย ดว ยอํานาจของอัญญมัญญปจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ เปนปจ จยั ดวยอํานาจของนสิ สยปจ จยั มี ๙ วาระ ๙. อุปนิสสยปจจยั [๓๘๘] ๑. อาสวสมั ปยตุ ตธรรม เปน ปจจยั แกอ าสวสมั ปยุตต-ธรรม ดวยอาํ นาจของอปุ นิสสยปจ จัย มี ๓ อยา ง คือทเี่ ปน อารัมมณปู นิสสยะ อนันตรปู นิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ทเ่ี ปน ปกตปู นิสสยะ ไดแ ก ขนั ธท งั้ หลายที่เปนอาสวสมั ปยตุ ตธรรม เปน ปจจัยแกขนั ธทงั หลายทีเ่ ปน อาสวสัมปยุตตธรรม ดว ยอํานาจของอปุ นสิ สยปจ จยั . ๒. อาสวสมั ปยุตตธรรม เปน ปจ จยั แกอาสววิปปยุตต-ธรรม ดวยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจ จัย

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 416 มี ๒ อยาง คอื ทีเ่ ปน อนันตรูปนสิ สยะ และ ปกตปู นสิ สยะ ท่เี ปน ปกตูปนสิ สยะ ไดแก ขนั ธท้งั หลายทีเ่ ปนอาสวสมั ปยตุ ตธรรม เปน ปจจัยแกข ันธท ้ังหลายท่ีเปน อาสววิปปยุตตธรรม และโมหะ ดวยอํานาจของอปุ นิสสยปจ จยั . ๓. อาสวสัมปยุตตธรรม เปน ปจจัยแกอาสวสมั ปยุตต-ธรรม และอาสววิปปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของอปุ นสิ สยปจจยั มี ๒ อยา ง คือทเี่ ปน อนันตรปู นิสสยะ และ ปกตปู นิสสยะ ท่ีเปน ปกตปู นสิ สยะ ไดแก ขันธท้งั หลายทเ่ี ปนอาสวสัมปยุตตธรรม เปน ปจจยั แกข นั ธท ัง้ หลายทส่ี หรคตดวยโทมนสั ท่ีสหรคตดวยวจิ ิกจิ ฉา ที่สหรคตดว ยอทุ ธัจจะ และโมหะดวยอาํ นาจของอุปนิสสยปจ จัย. ๔. อาสววิปปยุตตธรรม เปน ปจ จัยแกอ าสววิปปยุตต-ธรรม ดว ยอํานาจของอปุ นสิ สยปจจยั มี ๓ อยา ง คอื ทเ่ี ปน อารัมมณปู นิสสยะ อนันตรปู นสิ สยะ และปกตปู นิสสยะ ทเี่ ปน ปกตูปนสิ สยะ ไดแ ก บคุ คลเขา ไปอาศัยศรัทธาแลว ใหทาน บคุ คลเขา ไปอาศยั ศีล ฯลฯปญญา สุขทางกาย เสนาสนะ ฯลฯ โมหะแลว ยงั สมาบัตใิ หเกดิ ข้นึ . ศรทั ธา ฯลฯ ปญ ญา สขุ ทางกาย ทกุ ขทางกาย โมหะ เปน ปจ จัยแกศรัทธา แกโ มหะ ดว ยอาํ นาจของอุปนิสสยปจ จยั .

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 417 ๕. อาสววปิ ปยุตตธรรม เปนปจ จัยแกอ าสวสมั ปยุตต-ธรรม ดว ยอาํ นาจของอุปนิสสยปจจยั มี ๓ อยาง คือทีเ่ ปน อารัมมณูปนิสสยะ อนนั ตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ทเ่ี ปน ปกตูปนสิ สยะ ไดแก บุคคลเขา ไปอาศัยศรทั ธาแลว กอ มานะ ถอื ทิฏฐิ. บคุ คลเขาไปอาศัยศีล ฯลฯ ปญ ญา สขุ ทางกาย ทุกขท างกาย อตุ ุโภชนะ เสนาสนะ ฯลฯ โมหะแลว ฆา สัตว ฯลฯ ทาํ ลายสงฆ. ศรทั ธา และโมหะ เปน ปจจัยแกร าคะ ฯลฯ แกค วามปรารถนาดวยอํานาจของอุปนสิ สยปจ จัย. ๖. อาสววิปยุตตธรรม เปนปจ จัยแกอ าสวสัมปยตุ ต-ธรรม และอาสววปิ ปยตุ ตธรรม ดวยอาํ นาจของอปุ นิสสยปจจัย มี ๒ อยาง คือที่เปน อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตปู นสิ สยะ ทเ่ี ปน ปกตูปนิสสยะ ไดแก ศรทั ธา ฯลฯ ศลี ฯลฯ โมหะ เปน ปจ จัยแกขนั ธทัง้ หลายท่สี หรคตดว ยโทมนัส ท่ีสหรคตดวยวิจกิ จิ ฉา ทสี่ หรคตดวยอุทธจั จะ และโมหะ ดวยอาํ นาจของอุปนสิ สยปจจัย. ๗. อาสวสมั ปยตุ ตธรรม และอาสววิปปยุตตธรรมเปนปจจยั แกอ าสวสมั ปยุตตธรรม ดว ยอํานาจของอปุ นสิ สยปจ จัย มี ๒ อยา ง คอื ท่ีเปน อนันตรูปนสิ สยะ และ ปกตูปนิสสยะ ทีเ่ ปน ปกตูปนสิ สยะ ไดแ ก

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 418 ขนั ธทัง้ หลายท่ีสหรคตดว ยโทมนัส ทสี่ หรคตดว ยวจิ ิกจิ ฉา ที่สหรคตดวยอทุ ธจั จะ และโมหะ เปน ปจ จัยแกข ันธทั้งหลายท่ีเปนอาสวสัมปยตุ ตธรรมดว ยอาํ นาจของอปุ นิสสยปจจยั . พงึ ถามถึงมลู ๘. อาสวสัมปยตุ ตธรรม ฯลฯ ดวยอาํ นาจของอปุ -นิสสยปจ จัย ขนั ธท ้ังหลายทส่ี หรคตดวยโทมนสั ที่สหรคตดวยวิจกิ ิจฉา ที่สหรคตดวยอุทธัจจะ และโมหะ เปน ปจ จยั แกขันธทง้ั หลายที่เปน อาสววปิ ปยุตตธรรมและโมหะ ดว ยอาํ นาจของอุปนสิ สยปจ จยั . ๙. อาสวสมั ปยตุ ตธรรม และอาสววิปปยตุ ตธรรมเปน ปจจยั แกอาสวสมั ปยุตตธรรม และอาสววปิ ปยตุ ตธรรม ดวยอาํ นาจของอุปนิสสยปจ จัย มี ๒ อยา ง คอื ท่ีเปน อนันตรปู นิสสยะ และ ปกตปู นิสสยะ ทีเ่ ปน ปกตปู นสิ สยะ ไดแก ขนั ธท ั้งหลายที่สหรคตดว ยโทมนสั ทส่ี หรคตดวยวจิ กิ ิจฉา ท่สี หรคตดว ยอุทธจั จะ และโมหะ เปน ปจจัยแกข ันธทัง้ หลายทส่ี หรคตดว ยโทมนัส ที่สหรคตดวยวจิ กิ ิจฉา ทส่ี หรคตดว ยอุทธจั จะ และโมหะ ดว ยอาํ นาจของอุปนิสสยปจจยั . ๑๐. ปุเรชาตปจ จยั [๓๘๙] ๑. อาสววิปปยตุ ตธรรม เปนปจจยั แกอ าสววิปปยุตต-ธรรม ดว ยอาํ นาจของปุเรชาตปจจยั

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 419 มี ๒ อยา ง คือทีเ่ ปน อารมั มณปเุ รชาตะ และ วตั ถปุ ุเรชาตะ ทเี่ ปน อารัมมณปุเรชาตะ ไดแ ก พิจารณาเห็นซึ่งจกั ษุ ฯลฯ หทยวตั ถุ โดยความเปนของไมเท่ยี งเปน ทุกข เปนอนตั ตา. บุคคลเหน็ รูปดว ยทพิ ยจกั ษุ ฟงเสยี งดวยทพิ โสตธาต.ุ รูปายตนะ เปน ปจจยั แกจกั ขวุ ิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เปนปจ จัยแกก ายวิญญาณ. ที่เปน วตั ถปุ เุ รชาตะ ไดแ ก จกั ขายตนะ เปนปจ จยั แกจกั ขุวญิ ญาณ ฯลฯ กายายตนะ เปน ปจ จัยแกกายวญิ ญาณ. หทยวตั ถุ เปนปจจัยแกข ันธทงั้ หลายท่เี ปน อาสววิปปยุตตธรรม และโมหะ ดว ยอาํ นาจของปุเรชาตปจ จัย. ๒. อาสววิปปยตุ ตธรรม เปนปจ จยั แกอ าสวสมั ปยุตต-ธรรม ดว ยอํานาจของปเุ รชาตปจ จยั มี ๒ อยา ง คือที่เปน อารมั มณปเุ รชาตะ และ วัตถปุ ุเรชาตะ ทเ่ี ปน อารมั มณปเุ รชาตะ ไดแ ก บคุ คลยอมยนิ ดี ยอ มเพลิดเพลนิ ยงิ่ ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะปรารภจกั ษเุ ปน ตนน้ัน ราคะ ยอมเกิดข้ึน ฯลฯ โทมนัส ยอ มเกิดข้นึ . ท่เี ปน วตั ถุปุเรชาตะ ไดแก

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 420 หทยวัตถุ เปน ปจจยั แกข นั ธท ัง้ หลายท่ีเปนอาสวสัมปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของปเุ รชาตปจจยั . ๓. อาสววิปปยตุ ตธรรม เปนปจ จัยแกอาสวสัมปยุตต-ธรรม และอาสววิปปยุตตธรรม ดวยอาํ นาจของปุเรชาตปจจยั มี ๒ อยา ง คอื ทเ่ี ปน อารมั มณปุเรชาตะ และ วัตถุปเุ รชาตะ ทีเ่ ปน อารมั มณปุเรชาตะ ไดแ ก เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธท ั้งหลายทส่ี หรคตดว ยโทมนสัที่สหรคตดว ยวจิ ิกิจฉา ทส่ี หรคตดวยอุทธัจจะ และโมหะ ยอ มเกดิ ขึ้น. ทีเ่ ปน วตั ถปุ เุ รชาตะ ไดแก หทยวัตถุ เปนปจ จยั แกข ันธท ั้งหลายทส่ี หรคตดว ยโทมนสั ทสี่ หรคตดว ยวิจกิ ิจฉา ท่สี หรคตดว ยอุทธจั จะ และโมหะ ดว ยอํานาจของปุเรชาตปจ จัย. ๑๑. ปจ ฉาชาตปจ จัย [๓๙๐] ๑. อาสวสมั ปยุตตธรรม เปน ปจ จยั แกอ าสววปิ ปยุตต-ธรรม ดวยอํานาจของปจฉาชาตปจจยั คือ ขนั ธทง้ั หลายทเ่ี ปน อาสวสัมปยุตตธรรม ทเี่ กิดภายหลัง เปนปจจัยแกก ายน้ี ทเ่ี กดิ กอ น ดวยอํานาจของปจ ฉาชาตปจ จัย. ๒. อาสววิปปยตุ ตธรรม เปนปจ จยั แกอาสววิปปยุตต-ธรรม ดวยอาํ นาจของปจ ฉาชาตปจ จัย

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 421 คือ ขนั ธท ง้ั หลายท่ีเปน อาสววิปปยตุ ตธรรม ทเ่ี กดิ ภายหลงั และโมหะเปน ปจ จัยแกก ายน้ี ท่ีเกดิ กอน ดวยอาํ นาจของปจ ฉาชาตปจจัย. ๓. อาสวสัมปยุตตธรรม และอาสววปิ ปยุตตธรรมเปนปจ จยั แกอาสววปิ ปยตุ ตธรรม ดว ยอาํ นาจของปจฉาชาตปจ จยั คือ ขนั ธท้ังหลายที่สหรคตดว ยโทมนสั ทีส่ หรคตดว ยวิจกิ ิจฉา ที่สหรคตดวยอุทธจั จะ ท่เี กิดภายหลงั และโมหะ เปน ปจจยั แกก ายนี้ ทีเ่ กดิ กอนดวยอาํ นาจของปจ ฉาชาตปจ จยั . ๑๒. อาเสวนปจ จยั [๓๙๑] ๑. อาสวสมั ปยุตตธรรม เปนปจ จยั แกอาสวสมั ปยุตต-ธรรม ดวยอาํ นาจของอาเสวนปจ จัย มี ๙ วาระ อาวัชชนะก็ดี วฏุ ฐานะกด็ ี ไมม.ี ๑๓. กมั มปจจยั [๓๙๒] ๑. อาสวสมั ปยุตตธรรม เปนปจ จยั แกอาสวสัมปยตุ ต-ธรรม ดวยอาํ นาจของกมั มปจ จัย คือ เจตนาทีเ่ ปน อาสวสมั ปยุตตธรรม เปนปจจัยแกส ัมปยุตตขนั ธทง้ั หลาย ดว ยอาํ นาจของกมั มปจ จัย. ๒. อาสวสัมปยุตตธรรม เปน ปจ จยั แกอ าสววปิ ปยตุ ต-ธรรม ดว ยอํานาจของกมั มปจจยั

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 422 มี ๒ อยาง คือที่เปน สหชาตะ และ นานาขณิกะ ทเ่ี ปน สหชาตะ ไดแก เจตนาทเี่ ปนอาสวสัมปยุตตธรรม เปน ปจจัยแกจ ิตตสมฏุ ฐานรปูทงั้ หลาย ดวยอํานาจของกมั มปจจัย. เจตนาที่สหรคตดว ยโทมนัส ท่ีสหรคตดว ยวิจกิ ิจฉา ที่สหรคตดวยอุทธัจจะ เปน ปจ จัยแก โมหะ และจติ ตสมฏุ ฐานรูปทงั้ หลาย ดว ยอาํ นาจของกัมมปจ จยั . ที่เปน นานาขณกิ ะ ไดแก เจตนาทเี่ ปนอาสวสมั ปยุตตธรรม เปนปจจยั แกวิบากขันธ และกฏัตตารูปทง้ั หลาย ดว ยอํานาจของกัมมปจ จัย. ๓. อาสวสมั ปยตุ ตธรรม เปน ปจ จยั แกอ าสวสัมปยุตต-ธรรม และอาสววิปปยุตตธรรม ดว ยอํานาจของกัมมปจ จยั คือ เจตนาทเี่ ปนอาสวสัมปยุตตธรรม เปน ปจ จัยแกส มั ปยตุ ตขันธและจติ ตสมุฏฐานรูปทัง้ หลาย ดว ยอาํ นาจของกมั มปจจยั . เจตนาทสี่ หรคตดว ยโทมนัส ท่สี หรคตดว ยวิจกิ จิ ฉา ท่สี หรคตดวยอุทธจั จะ เปนปจจยั แกส ัมปยตุ ตขันธท ้งั หลาย และโมหะ และจติ ตสมฏุ ฐานรูปทง้ั หลาย ดวยอํานาจของกัมมปจ จยั . ๔. อาสววิปปยุตตธรรม เปน ปจจยั แกอ าสววปิ ปยตุ ต-ธรรม ดว ยอํานาจของกมั มปจ จัย

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 423 มี ๒ อยาง คือที่เปน สหชาตะ และ นานาขณกิ ะ ทเี่ ปน สหชาตะ ไดแ ก เจตนาทีเ่ ปนอาสววปิ ปยุตตธรรม เปนปจ จัยแกส ัมปยตุ ตขนั ธ และจิตตสมฏุ ฐานรปู ทงั้ หลาย ดวยอํานาจของกมั มปจจยั . ท่เี ปน นานาขณกิ ะ ไดแ ก เจตนาที่เปนอาสววิปปยุตตธรรม เปน ปจ จัยแกวิบากขนั ธ และกฏตั ตารปู ทงั้ หลาย ดว ยอาํ นาจของกัมมปจ จัย. ๑๔. วปิ ปยตุ ตปจ จัย [๓๙๓] ๑. อาสววปิ ปยุตตธรรม เปนปจจยั แกอาสววปิ ปยตุ ต-ธรรม ดวยอาํ นาจของวปิ ากปจ จยั มี ๑ วาระ. ๑๕. อาหารปจจยั [๓๙๔] ๑. อาสวสมั ปยุตตธรรม เปนปจ จยั แกอ าสวสัมปยตุ ต-ธรรม ดว ยอาํ นาจของอาหารปจ จยั คือ อาหารทัง้ หลายท่ีเปนอาสวสมั ปยุตตธรรม เปน ปจจยั แกส มั ปยุตต-ขนั ธทงั้ หลาย ดวยอํานาจของอาหารปจ จัย. ๒. อาสวสัมปยุตตธรรม เปนปจจัยแกอาสววิปปยุตต-ธรรม ดว ยอาํ นาจของอาหารปจจยั คอื อาหารท้ังหลายทเ่ี ปน อาสวสมั ปยุตตธรรม เปนปจ จยั แกจ ิตต-สมฏุ ฐานรปู ท้งั หลาย ดว ยอาํ นาจของอาหารปจจยั .

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 424 อาหารทงั้ หลาย ท่ีสหรคตดว ยโทมนสั ทสี่ หรคตดว ยวิจกิ จิ ฉา ที่สหรคตดวยอุทธัจจะ เปน ปจ จัยแกโ มหะ และจิตตสมฏุ ฐานรปู ท้งั หลาย ดว ยอาํ นาจของอาหารปจ จยั . ๓. อาสวสมั ปยุตตธรรม เปนปจ จยั แกอาสวสมั ปยุตต-ธรรม และอาสววิปปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของอาหารปจ จยั คือ อาหารทั้งหลายที่เปน อาสวสมั ปยตุ ตธรรม เปนปจ จยั แกสัมปยุตต-ขนั ธ และจิตตสมฏุ ฐานรูปทั้งหลาย ดวยอํานาจของอาหารปจจัย. อาหารทั้งหลายทส่ี หรคตดว ยโทมนสั ทส่ี หรคตดวยวจิ ิกจิ ฉา ทีส่ หรคตดวยอทุ ธจั จะ เปน ปจจัยแกสัมปยตุ ตขันธท ง้ั หลาย, โมหะ และจติ ตสมุฏฐาน-รปู ท้ังหลาย ดว ยอํานาจของอาหารปจจัย. ๔. อาสววปิ ปยตุ ตธรรม เปน ปจจยั แกอ าสววปิ ปยตุ ต-ธรรม ดวยอํานาจของอาหารปจ จยั คอื อาหารทั้งหลายทเ่ี ปน อาสววิปปยุตตธรรม เปน ปจ จัยแกส มั ปยตุ ต-ขันธ และจติ ตสมุฏฐานรปู ทัง้ หลาย ดวยอํานาจของอาหารปจจยั . ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ กวฬีการาหาร เปน ปจ จัยแกกายน้ี ดวยอํานาจของอาหารปจจัย. ๑๖. อินทรยิ ปจจยั [๓๙๕] ๑. อาสวสัมปยตุ ตธรรม เปนปจจัยแกอาสวสมั ปยตุ ต-ธรรม ดว ยอาํ นาจของอนิ ทริยปจ จัย มี ๔ วาระ.

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 425 ๑๗. ฌานปจจยั ฯลฯ ๑๙. สัมปยตุ ตปจจัย ฯลฯ เปน ปจจยั ดวยอํานาจของฌานปจจัย มี ๔ วาระ. ฯลฯ เปน ปจ จยั ดวยอาํ นาจของมคั คปจจยั มี ๔ วาระ. ฯลฯ เปน ปจจยั ดว ยอํานาจของสัมปยุตตปจจัย มี ๖ วาระ. ๒๐. วปิ ปยตุ ตปจ จัย [๓๙๖] ๑. อาสวสมั ปยตุ ตธรรม เปน ปจจยั แกอาสววปิ ปยุตต-ธรรม ดว ยอาํ นาจของวปิ ปยตุ ตปจจัย มี ๒ อยาง คอื ทีเ่ ปน สหชาตะ และ ปจฉาชาตะ ที่เปน สหชาตะ ไดแ ก ขนั ธทัง้ หลายท่ีเปนอาสวสัมปยุตตธรรม ท่ีเกดิ พรอ มกนั เปนปจจยั แกจติ ตสมฏุ ฐานรูปทงั้ หลาย ดวยอํานาจของวปิ ปยุตตปจจัย. ทีเ่ ปน ปจ ฉาชาตะ ไดแ ก ขนั ธทั้งหลายทีเ่ ปนอาสวสมั ปยตุ ตธรรม ที่เกดิ ภายหลัง เปน ปจจัยแกกายน้ี ท่เี กดิ กอ น ดวยอํานาจของวิปปยุตตปจจัย. ๒. อาสววปิ ปยุตตธรรม เปนปจจัยแกอาสววิปปยุตต-ธรรม ดวยอาํ นาจของวิปปยุตตปจ จัย มี ๓ อยาง คอื ทเ่ี ปน สหชาตะ ปเุ รชาตะ และ ปจ ฉาชาตะ พงึ ใหพิสดาร. ๓. อาสสววปิ ปยตุ ตธรรม เปน ปจจัยแกอาสวสมั ปยตุ ต-ธรรม ดวยอาํ นาจของวิปปยตุ ตปจจัย

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 426 มีอยางเดียว คือทีเ่ ปน ปุเรชาตะ ไดแ ก หทยวตั ถุ เปน ปจจยั แกขนั ธท ้ังหลายท่ีเปน อาสวสัมปยตุ ตธรรม ดวยอํานาจของวิปปยตุ ตปจจยั . ๔. อาสววปิ ปยตุ ตธรรม เปน ปจ จยั แกอ าสวสมั ปยตุ ต-ธรรม และอาสววปิ ปยตุ ตธรรม ดว ยอาํ นาจของวปิ ปยตุ ตปจจัย มอี ยางเดยี ว คือท่เี ปน ปุเรชาตะ ไดแ ก หทยวตั ถุ เปนปจจยั แกขันธท ัง้ หลายทีส่ หรคตดว ยโทมนสั ทสี่ หรคตดวยวจิ ิกิจฉา ที่สหรคตดวยอทุ ธัจจะ และโมหะ ดว ยอาํ นาจของวิปปยุตตปจจัย. ๕. อาสวสมั ปยุตตธรรม และอาสววิปปยตุ ตธรรมเปนปจจัยแกอ าสววปิ ปยุตตธรรม ดว ยอาํ นาจของวิปปยุตตปจจัย มี ๒ อยา ง คอื ท่ีเปน สหชาตะ และ ปจฉาชาตะ ท่เี ปน สหชาตะ ไดแ ก ขันธท ง้ั หลายท่สี หรคตดวยโทมนสั ทสี่ หรคตดว ยวจิ กิ ิจฉา ทสี่ หรคตดว ยอุทธัจจะ และโมหะ เปนปจจยั แกจติ ตสมุฏฐานรปู ทั้งหลาย ดวยอํานาจของวปิ ปยุตตปจจัย. ทเ่ี ปน ปจฉาชาตะ ไดแ ก ขันธท้งั หลายที่สหรคตดว ยโทมนัส ที่สหรคตดวยวิจกิ ิจฉา ทส่ี หรคตดว ยอุทธัจจะ ทเี่ กิดภายหลัง และโมหะ เปน ปจจยั แกก ายน้ี ท่เี กดิ กอน ดวยอํานาจของวปิ ปยตุ ตปจจัย.

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 427 ๒ . อัตถปิ จ จยั [๓๙๗] ๑. อาสวสมั ปยุตตธรรม เปนปจจยั แกอ าสวสัมปยตุ ต-ธรรม ดว ยอาํ นาจของอัตถิปจ จัย มี ๑ วาระ. ๒. อาสวสมั ปยตุ ตธรรม เปน ปจ จัยแกอาสววปิ ปยตุ ต-ธรรม ดว ยอาํ นาจของอตั ถิปจ จัย มี ๒ อยา ง คือที่เปน สหชาตะ และ ปจ ฉาชาตะ ทีเ่ ปน สหชาตะ ไดแ ก ขันธทง้ั หลายทีเ่ ปนอาสวสมั ปยุตตธรรม ที่เกดิ พรอ มกนั เปนปจจัยแกจติ ตสมฏุ ฐานรปู ทง้ั หลาย ดวยอาํ นาจของอัตถปิ จจยั . ขนั ธท ้งั หลายทีส่ หรคตดว ยโทมนัส ทส่ี หรคตดว ยวจิ ิกจิ ฉา ทส่ี หรคตดว ยอทุ ธจั จะ เปนปจ จัยแก โมหะ และจิตตสมฏุ ฐานรปู ทง้ั หลาย ดวยอาํ นาจของอัตถปิ จ จยั . ท่เี ปน ปจ ฉาชาตะ ไดแก ขนั ธท ้ังหลายทเี่ ปน อาสวสมั ปยุตตธรรม ทีเ่ กิดภายหลัง เปนปจจยัแกก ายน้ี ที่เกิดกอน ดว ยอํานาจของอตั ถปิ จจยั . ๓. อาสวสัมปยุตตธรรม เปน ปจ จยั แกอ าสวสมั ปยตุ ต-ธรรม และอาสววิปปยุตตธรรม ดว ยอํานาจของอตั ถิปจจยั เหมือนกับสหชาตปจ จยั ๔. อาสววปิ ปยตุ ตธรรม เปนปจ จัยแกอาสววิปปยุตต-ธรรม ดวยอาํ นาจของอตั ถปิ จ จัย

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 428 มี ๕ อยาง คอื ท่เี ปน สหชาตะ ปเุ รชาตะ ปจฉาชาตะ อาหาระและ อนิ ทรยิ ะ พึงใหพ สิ ดาร. ๕. อาสววปิ ปยตุ ตธรรม เปนปจ จัยแกอ าสวสมั ปยตุ ต-ธรรม ดวยอาํ นาจของอตั ถปิ จจยั มี ๒ อยาง คอื ทเี่ ปน สหชาตะ และ ปุเรชาตะ ทเ่ี ปน สหชาตะ ไดแ ก โมหะ ทส่ี หรคตดว ยโทมนัส ทีส่ หรคตดวยวิจิกิจฉา ทสี่ หรคตดว ยอทุ ธัจจะ เปนปจจัยแกส มั ปยตุ ตขนั ธท้งั หลาย ดว ยอาํ นาจของอัตถิปจจัย. ทเี่ ปน ปุเรชาตะ ไดแก บุคคลยอมยินดี ยอ มเพลดิ เพลนิ ยิ่งซ่งึ จกั ษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะปรารภจักษเุ ปนตนนั้น ราคะ ยอมเกดิ ขึน้ ทฏิ ฐิ ยอมเกิดขึ้น วจิ กิ ิจฉาฯลฯ อทุ ธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ยอ มเกิดขน้ึ . หทยวตั ถุ เปน ปจ จัยแกข นั ธทง้ั หลายทเ่ี ปน อาสวสัมปยุตตธรรม ดวยอาํ นาจของอตั ถิปจจยั . ๖. อาสววิปปยตุ ตธรรม เปน ปจ จยั แกอ าสวสมั ปยตุ ต-ธรรม และอาสววปิ ปยุตตธรรม ดวยอํานาจของอตั ถปิ จ จยั มี ๒ อยาง คอื ทีเ่ ปน สหชาตะ และ ปเุ รชาตะ ทีเ่ ปน สหชาตะ ไดแก

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 429 โมหะ ท่ีสหรคตดว ยโทมนสั ท่สี หรคตดวยวิจิกจิ ฉา ทีส่ หรคตดวยอุทธจั จะ ทเี่ กดิ พรอ มกัน เปน ปจ จยั แกส ัมปยุตตขันธ และจิตตสมฏุ ฐานรปูท้ังหลาย ดว ยอาํ นาจของอตั ถปิ จจัย. ทเี่ ปน ปเุ รชาตะ ไดแ ก เพราะปรารภจกั ษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขนั ธท้ังหลายทีส่ หรคตดว ยโทมนสัที่สหรคตดว ยวิจิกจิ ฉา ท่ีสหรคตดว ยอทุ ธจั จะ และโมหะ ยอมเกดิ ขนึ้ . ๗. อาสวสัมปยุตตธรรม และอาสววิปปยุตตธรรมเปน ปจ จยั แกอาสวสัมปยุตตธรรมดว ยอํานาจของอัตถิปจ จยั มี ๒ อยาง คอื ทเ่ี ปน สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ท่เี ปน สหชาตะ รวมกับ ปเุ รชาติ ไดแ ก ขนั ธ ๑ ท่ีเปน อาสวสมั ปยุตตธรรม ทเ่ี กิดพรอมกัน และหทยวตั ถุเปนปจ จยั แกข ันธ ๓ ดว ยอํานาจของอัตถปิ จจัย ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ ที่เปน สหชาตะ ไดแก ขนั ธ ๑ ทีส่ หรคตดวยโทมนสั ทีส่ หรคตดวยวจิ กิ ิจฉา ที่สหรคตดว ยอุทธจั จะ และโมหะ เปนปจ จยั แกข ันธ ๓ ดวยอาํ นาจของอตั ถิปจจัย ฯลฯขันธ ๒ ฯลฯ ๘. อาสวสมั ปยตุ ตธรรม และอาสววปิ ปยตุ ตธรรมเปน ปจ จยั แกอ าสววิปปยุตตธรรม ดวยอํานาจของอตั ถปิ จ จยั มี ๔ อยาง คือทีเ่ ปน สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ,ปจฉาชาตะ รวมกบั อาหาระ และรวมกับ อินทรยิ ะ ที่เปน สหชาตะ ไดแ ก

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 430 ขนั ธทง้ั หลายท่ีเปนอาสวสัมปยตุ ตธรรม ที่เกิดพรอมกัน และมหาภูตรปู ท้ังหลาย เปน ปจจัยแกจติ ตสมฏุ ฐานรูปท้ังหลาย ดว ยอาํ นาจของอตั ถปิ จจัย. ขันธท้ังหลายทีส่ หรคตดวยโทมนสั ท่สี หรคตดวยวจิ กิ จิ ฉา ทส่ี หรคตดว ยอุทธจั จะ และโมหะ เปน ปจจัยแกจติ ตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ดว ยอาํ นาจของอตั ถปิ จ จยั . ท่ีเปน สหชาตะ รวมกับ ปเุ รชาตะ ไดแก ขนั ธท้งั หลายทส่ี หรคตดว ยโทมนสั ทส่ี หรคตดวยวจิ กิ จิ ฉา ท่สี หรคตดว ยอทุ ธัจจะ และหทยวตั ถุ เปนปจจัยแกโมหะ ดวยอํานาจของอตั ถปิ จ จยั . ท่ีเปน ปจ ฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ไดแก ขนั ธท ้ังหลายทเี่ ปนอาสวสัมปยตุ ธรรม ทีเ่ กิดภายหลัง และกวฬีการาหาร เปนปจ จัยแกกายนี้ ดว ยอาํ นาจของอัตถปิ จ จัย. ทเ่ี ปน ปจฉาชาตะ รวมกับ อนิ ทริยะ ไดแก ขันธท้ังหลายทเ่ี ปน อาสวสัมปยุตตธรรม ทเี่ กดิ ภายหลงั และรปู -ชวี ิตินทรยี  เปน ปจจัยแกก ฏัตตารปู ท้งั หลาย ดว ยอาํ นาจของอัตถิปจจัย. ๙. อาสวสมั ปยตุ ตธรรม และอาสววปิ ปยุตตธรรมเปนปจจัยแกอ าสวสมั ปยตุ ตธรรม และอาสววิปปยุตตธรรม ดว ยอาํ นาจของอัตถิปจ จยั มี ๒ อยา ง คือท่เี ปน สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกบั ิ ทีเ่ ปน สหชาตะ ไดแก

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 431 ขันธ ๑ ท่สี หรคตดวยโทมนัส ทส่ี หรคตดวยวจิ ิกจิ ฉา ท่สี หรคตดว ยอทุ ธัจจะ ทเี่ กดิ พรอมกัน และโมหะ เปน ปจ จัยแกขันธ ๓ และจติ ตสมุฏฐาน-รูปทั้งหลาย ดว ยอํานาจของอตั ถิปจจยั ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ การนบั จาํ นวนวาระในอนุโลม [๓๙๘] ในเหตุปจ จยั มี ๙ วาระ ในอารัมมณปจ จยั มี ๙ วาระในอธิปติปจ จยั มี ๕ วาระ ในอนันตรปจ จัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปจ จัยมี ๙ วาระ ในสหชาตปจ จัย มี ๙ วาระ ในอญั ญมัญญปจ จยั มี ๖ วาระ ในนิสสยปจจัย มี ๙ วาระ ในอปุ นิสสยปจ จยั มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปจ จัยมี ๓ วาระ ในปจฉาชาตปจจยั มี ๓ วาระ ในอาเสวนปจจยั มี ๙ วาระ ในกมั มปจจัย มี ๔ วาระ ในวปิ ากปจ จยั มี ๑ วาระ ในอาหารปจ จัย มี ๔ วาระในอินทริยปจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปจ จัย มี ๔ วาระ ในมัคคปจจยั มี ๔ วาระในสมั ปยุตตปจ จยั มี ๖ วาระ ในวปิ ปยตุ ตปจ จัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปจ จยัมี ๙ วาระ ในนัตถิปจจยั มี ๙ วาระ ในวคิ ตปจจัย มี ๙ วาระ ในอวคิ ตปจ จัยมี ๙ วาระ. อนุโลมนัย จบ ปจ จนยี นยั การยกปจ จยั ในปจ จนยี ะ [๓๙๙] ๑. อาสวสัมปยตุ ตธรรม เปน ปจ จัยแกอาสวสัมปยุตต-ธรรม ดวยอํานาจของอารัมมณปจจยั , เปน ปจ จยั ดวยอาํ นาจของสหชาตปจจัย, เปน ปจ จัย ดว ยอาํ นาจของอุปนิสสยปจ จัย.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 432 ๒. อาสวสัมปยุตตธรรม เปน ปจ จยั แกอ าสววิปปยุตต-ธรรม ดวยอํานาจของอารัมมณปจจยั , เปน ปจ จัย ดวยอาํ นาจของสหชาตปจจยั , เปน ปจ จัย ดว ยอํานาจของอุปนสิ สยปจจยั , เปนปจจัยดวยอํานาจของปจ ฉาชาตปจ จัย, เปนปจ จัย ดว ยอาํ นาจของกมั มปจ จยั . ๓. อาสวสมั ปยุตตธรรม เปนปจ จัยแกอาสวสมั ปยตุ ต-ธรรม และอาสววิปปยุตตธรรม ดวยอาํ นาจของอารัมมณปจจัย, เปนปจจยั ดวยอาํ นาจของสหชาตปจ จัย, เปนปจจยั ดวยอํานาจของอุปนิสสยปจ จยั . ๔. อาสววิปปยุตตธรรม เปน ปจจยั แกอาสววปิ ปยุตต-ธรรม ดว ยอํานาจของอารัมมณปจจยั , เปน ปจจัย ดวยอํานาจของสหชาตปจจยั , เปน ปจจัย ดว ยอํานาจของอปุ นสิ สยปจ จยั , เปนปจจัยดวยอํานาจของปุเรชาตปจจัย, เปนปจจัย ดวยอํานาจของปจฉาชาตปจ จัย, เปนปจจยั ดว ยอํานาจของอินทรยิ ปจ จยั . ๕. อาสววปิ ปยุตตธรรม เปน ปจ จยั แกอ าสวสมั ปยุตต-ธรรม ดวยอํานาจของอารัมมณปจ จัย, เปน ปจจัย ดวยอาํ นาจของสหชาตปจ จยั , เปนปจ จยั ดวยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจ จัย, เปน ปจจัยดวยอํานาจของปุเรชาตปจ จัย. ๖. อาสววปิ ปยตุ ตธรรม เปน ปจ จัยแกอาสวสัมปยตุ ต-ธรรม และอาสววปิ ปยตุ ตธรรม ดว ยอํานาจของอารมั มณปจจัย,

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 433เปน ปจ จยั ดวยอํานาจของสหชาตปจ จัย, เปนปจ จยั ดวยอํานาจของอปุ นสิ สยปจจยั , เปนปจจยั ดว ยอํานาจของปเุ รชาตปจ จยั . ๗. อาสวสัมปยุตตธรรม และอาสววิปปยตุ ตธรรมเปน ปจ จัยแกอาสวสมั ปยตุ ตธรรม ดว ยอํานาจของอารัมมณปจจยั ,เปนปจจัย ดว ยอาํ นาจของสหชาตปจจยั , เปน ปจ จยั ดว ยอาํ นาจของอุปนสิ สยปจจัย. ๘. อาสวสัมปยุตตธรรม และอาสววปิ ปยตุ ตธรรมเปนปจจัย แกอ าสววิปปยุตตธรรม ดวยอํานาจของอารัมมณปจ จัย,เปน ปจจัย ดวยอํานาจของสหชาตปจจัย, เปน ปจจยั ดวยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจจัย, เปน ปจจยั ดวยอํานาจของปจฉาชาตปจจยั . ๙. อาสวสัมปยุตตธรรม และอาสววิปปยุตตธรรมเปนปจจัยแกอ าสวสมั ปยตุ ตธรรม และอาสววิปปยุตตธรรม ดว ยอ านาจของอารัมมณปจจยั , เปน ปจจัย ดว ยอํานาจของสหชาตปจจัย,เปนปจ จัย ดว ยอํานาจของอปุ นสิ สยปจ จัย. การนบั จาํ นวนวาระในปจจนยี ะ [๔๐๐] ในนเหตุปจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปจจัย มี ๙ วาระในนอธิปติปจ จัย มี ๙ วาระ ในปจ จยั ท้ังปวง มี ๙ วาระ ในโนวิคตปจ จยัมี ๙ วาระ. ปจ จนยี นยั จบ

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 434 อนุโลมปจ จนยี นัย การนับจาํ นวนวาระในอนุโลมปจจนียะ [๔๐๑] เพราะเหตปุ จ จยั ในนอารัมมณปจจยั มี ๙ วาระ.... ในนอธิปติปจ จยั มี ๙ วาระ ในนสมนันตรปจ จัย มี ๙ วาระ ในนอญั ญมญั ญ-ปจจัย มี ๓ วาระ ในนอปุ นสิ สยปจ จยั มี ๙ วาระ ในนมคั คปจจัย มี ๙ วาระในนสัมปยตุ ตปจ จัย มี ๓ วาระ ในนวปิ ปยตุ ตปจ จัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิ-ปจจัย มี ๙ วาระ ในโนวคิ ตปจ จยั มี ๙ วาระ. อนุโลมปจ จนยี นยั จบ ปจจนียานุโลมนยั การนบั จาํ นวนวาระในปจจนียานุโลม [๔๐๒] เพราะนเหตปุ จจยั ในอารมั มณปจ จัย มี ๙ วาระ... ในอธิปติปจจัย มี ๕ วาระ พึงกระทาํ การนบั จาํ นวนอนโุ ลม ในอวคิ ตปจ จยัมี ๙ วาระ. ปจจนียานโุ ลมนยั จบ อาสวสัมปยุตตทุกะ จบ

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 435 ๑๗. อาสวสาสวทุกะ ปฏจิ จวาระ อนุโลมนัย ๑. เหตุปจจัย [๔๐๓] ๑. ธรรมทเ่ี ปน ทงั้ อาสวธรรมและสาสวธรรม อาศัยธรรมทเ่ี ปน ทั้งอาสวธรรมและสาสวธรรม เกดิ ขน้ึ เพราะเหตุปจ จัย คอื ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ อาศัยกามาสวะ ฯลฯ พงึ ผูกจักรนัย อวชิ ชาสวะ อาศยั ภวาสวะ ฯลฯ พงึ ผกู จกั รนยั อวิชชาสวะ อาศัยทิฏฐาสวะ ฯลฯ ๒. ธรรมท่เี ปน สาสวธรรมแตไ มใชอาสวธรรม อาศัยธรรมทเ่ี ปนทงั้ อาสวธรรมและสาสวธรรม เกิดขนึ้ เพราะเหตปุ จ จัย คือ สัมปยตุ ตขนั ธ และจติ ตสมฏุ ฐานรปู ทง้ั หลาย อาศยั อาสวธรรมทัง้ หลาย. ๓. ธรรมที่เปน ท้งั อาสวธรรมและสาสวธรรม และธรรมท่ีเปน สาสวธรรมแตไ มใชอ าสวธรรม อาศัยธรรมที่เปน ทง้ัอาสวธรรมและสาสวธรรม เกดิ ขนึ้ เพราะเหตปุ จ จยั คือ ทฏิ ฐาสวะ อวิชชาสวะ ทีเ่ ปน สัมปยุตตขันธ และจิตตสมฏุ ฐาน-รูปทง้ั หลาย อาศยั กามาสวะ ภวาสวะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 436 พึงผกู จกั รนยั ๔. ธรรมท่ีเปนสาสวธรรมแตไ มใชอาสวธรรม อาศัยธรรมท่เี ปนสาสวธรรมแตไ มใ ชอ าสวธรรม เกิดขึน้ เพราะเหตุปจ จยั คือ ขนั ธ ๓ และจติ ตสมุฏฐานรปู อาศัยขันธ ๑ ที่เปนสาสวธรรมแตไมใ ชอาสวธรรม ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธขิ ณะ หทยวตั ถุ อาศัยขนั ธท้งั หลาย, ขนั ธท ั้งหลายอาศัยหทยวัตถ.ุ มหาภูตรปู ๑ ฯลฯ ๕. ธรรมที่เปน ทงั้ อาสวธรรมและสาสวธรรม อาศัยธรรมทเ่ี ปนสาสวธรรมแตไมใชอาสวธรรม เกิดขนึ้ เพราะเหตุปจจัย คือ อาสวธรรมทง้ั หลาย อาศยั ขนั ธท้งั หลายท่เี ปน สาสวธรรม แตไมใ ชอาสวธรรม. ๖. ธรรมท่ีเปนท้ังอาสวธรรมและสาสวธรรม และธรรมที่เปน สาสวธรรมแตไ มใชอาสวธรรม อาศัยธรรมทีเ่ ปน อาสว-ธรรมแตไมใ ชอาสวธรรม เกิดข้นึ เพราะเหตปุ จจัย คือ ขนั ธ ๓ และอาสวธรรมท้ังหลาย และจิตตสมฏุ ฐานรปู อาศยัขันธ ๑ ทเี่ ปน สาสวธรรมแตไมใชอาสวธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ๗. ธรรมที่เปนทง้ั อาสวธรรมและสาสวธรรม อาศยัธรรมที่เปนทง้ั อาสวธรรมและสาสวธรรม และธรรมที่เปน สาสวธรรมแตไมใ ชอ าสวธรรม เกิดข้นึ เพราะเหตุปจจยั

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 437 คอื ทฏิ ฐาสวะ อวชิ ชาสวะ อาศยั กามาสวะ และสัมปยตุ ตขนั ธทัง้ หลาย. พงึ ผกู จักรนยั อยา งน.้ี ๘. ธรรมท่เี ปนสาสวธรรมแตไมใชอาสวธรรม อาศัยธรรมท่ีเปน ทง้ั อาสวธรรมและสาสวธรรม และธรรมทเ่ี ปนสาสวธรรมแตไ มใชอาสวธรรม เกดิ ข้นึ เพราะเหตุปจจัย คือ ขนั ธ ๓ และจิตตสมุฏฐานรปู อาศยั ขันธ ทีเ่ ปน สาสวธรรมแตไมใ ชอาสวธรรม และอาสวธรรมทงั้ หลาย ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ ๙. ธรรมท่เี ปนท้งั อาสวธรรมและสาสวธรรม และธรรมท่เี ปน สาสวธรรมแตไมใ ชอาสวธรรม อาศัยธรรมท่เี ปน ทง้ัอาสวธรรมและสาสวธรรม และธรรมท่ีเปน สาสวธรรมแตไมใ ชอาสวธรรม เกิดขนึ้ เพราะเหตปุ จจัย คือ ขันธ ๓ ทฏิ ฐาสวะ อวิชชาสวะ และจิตตสมฏุ ฐานรปู อาศัยขันธ ๑ ทเ่ี ปน สาสวธรรม แตไ มใ ชอ าสวธรรม และกามาสวะ ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ พงึ ผูกจกั รนัย. ฯลฯ ปฏิจจวาระกด็ ี สหชาตวาระก็ดี ปจจัยวาระกด็ ี นิสสยวาระก็ดีสงสั ฏั ฐวาระ ก็ดี สมั ปยุตตวาระกด็ ี พงึ กระทาํ อยา งท่กี ลาวมาแลว . อาสวทกุ ะ ฉันใด พงึ กระทําฉนั นนั้ ไมม ีแตกตา งกัน.

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 438 ปญ หาวาระ อนุโลมนัย ๑. เหตปุ จ จยั ฯลฯ ๓. อธปิ ติปจ จยั ในปญหาวาระ ในเหตุปจ จัย ก็ดี ในอารมั มณปจจยั ก็ดี ไมพงึกระทําโลกตุ ตระ ควรกระทําวา \" พระเสกขะท้ังหลาย \" ยอ มพจิ ารณาโคตรภูยอมพิจารณาโวทาน แมในอธปิ ตปิ จ จยั ผทู ่ีรปู จ จยั ทุกอยางแลว พงึ กระทํา. ๔. อนันตรปจจยั [๔๐๔] ๑. ธรรมทเี่ ปนทงั้ อาสวธรรมและสาสวธรรม เปนปจ จยั แกธ รรมทเี่ ปน ท้ังอาสวธรรม และสาสวธรรม ดว ยอาํ นาจของอนนั ตรปจจัย คอื อาสวธรรมท้งั หลาย ที่เกดิ กอ น ๆ เปนปจจัยแกอาสวธรรมทง้ั หลาย ทเ่ี กดิ หลงั ๆ ดว ยอาํ นาจของอนนั ตรปจ จยั . ๒. ธรรมที่เปน ท้งั อาสวธรรมและสาสวธรรม เปนปจจัยแกธ รรมทีเ่ ปน สาสวธรรมแตไ มใชอ าสวธรรม ดวยอาํ นาจของอนันตรปจ จัย คอื อาสวธรรมทงั้ หลาย ทเี่ กดิ กอน ๆ เปน ปจ จยั แกข ันธทัง้ หลายทเ่ี ปนสาสวธรรมแตไมใชอาสวธรรม ท่เี กิดหลงั ๆ ดว ยอํานาจของอนนั ตร-ปจ จัย.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 439 อาสวธรรมท้ังหลาย เปนปจ จยั แกว ุฏฐานะ ดวยอาํ นาจของอนันตร-ปจ จยั . ๓. ธรรมท่ีเปน ท้ังอาสวธรรมและสาสวธรรม เปนปจจยั แกธ รรมท่เี ปนท้งั อาสวธรรมและสาสวธรรม และธรรมทเี่ ปนสาสวธรรมแตไมใ ชอ าสวธรรม ดวยอาํ นาจของอนนั ตรปจจยั คอื อาสวธรรมทงั้ หลาย ที่เกิดกอน ๆ เปนปจจยั แกอ าสวธรรมท้ังหลาย ทีเ่ กดิ หลัง ๆ และสมั ปยุตตขนั ธท ัง้ หลาย ดวยอาํ นาจของอนนั ตร-ปจ จยั . ๔. ธรรมทเ่ี ปนสาสวธรรมแตไ มใ ชอ าสวธรรม เปนปจ จยั แกธรรมทเ่ี ปน สาสวธรรมแตไ มใ ชอ าสวธรรม ดว ยอาํ นาจของอนันตรปจจยั คอื ขันธทัง้ หลายที่เปน สาสวธรรมแตไมใ ชอ าสวธรรม ทีเ่ กิดกอ น ๆเปนปจจยั แกข นั ธทง้ั หลายทเ่ี ปนสาสวธรรมแตไ มใชอาสวธรรม ทเ่ี กิดหลัง ๆดวยอาํ นาจของอนันตรปจ จัย. อนุโลม เปน ปจ จยั แกโ คตรภู, อนุโลม เปน ปจจยั แกโ วทาน,อาวชั ชนะ เปน ปจจัยแกขนั ธท ง้ั หลายทเี่ ปนสาสวธรรม แตไ มใชอ าสวธรรมดว ยอํานาจของอนันตรปจจัย. ๕. ธรรมท่ีเปนสาสวธรรมแตไมใ ชอ าสวธรรม เปนปจจยั แกธ รรมท่ีเปน ทั้งอาสวธรรมและสาสวธรรม ดว ยอํานาจของอนันตรปจจัย

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 440 คือ ขันธท ั้งหลายทเี่ ปนสาสวธรรมแตไ มใ ชอาสวธรรม ทีเ่ กดิ กอน ๆเปน ปจจัยแกอาสวธรรมท้ังหลาย ทเ่ี กดิ หลัง ๆ ดว ยอาํ นาจของอนนั ตรปจจยั . อาวชั ชนะ เปน ปจจยั แกอาสวธรรมทั้งหลาย ดวยอํานาจของอนนั ตร-ปจ จยั . ๖. ธรรมทเ่ี ปนสาสวธรรมแตไ มใชอ าสวธรรม เปนปจจัยแกธ รรมท่เี ปนทัง้ อาสวธรรมและสาสวธรรม และธรรมท่เี ปนสาสวธรรมแตไ มใ ชอาสวธรรม ดวยอาํ นาจของอนนั ตรปจ จยั คอื ขันธท งั้ หลายท่เี ปนสาสวธรรมแตไมใชอาสวธรรม ทเ่ี กิดกอ น ๆเปนปจจัยแกอาสวธรรมทง้ั หลาย ที่เกิดหลงั ๆ และสัมปยุตตขันธทั้งหลายดวยอาํ นาจของอนันตรปจจัย. อาวชั ชนะ เปน ปจจยั แกอาสวธรรมและสมั ปยุตตขนั ธทงั้ หลาย ดวยอํานาจของอนันตรปจจยั . ๗. ธรรมที่เปน ทัง้ อาสวธรรมและสาสวธรรม และธรรมทีเ่ ปน สาสวธรรมแตไ มใ ชอ าสวธรรม เปนปจจัยแกธรรมที่เปนท้งั อาสวธรรมและสาสวธรรม ดวยอํานาจของอนันตรปจ จัย คอื อาสวธรรมทงั้ หลาย ทเี่ กดิ กอ น ๆ และสัมปยุตตขนั ธท ง้ั หลายเปน ปจจยั แกอาสวธรรมทัง้ หลาย ที่เกิดหลัง ๆ ดว ยอํานาจของอนันตรปจจัย. ๘. ธรรมท่เี ปนท้ังอาสวธรรมและสาสวธรรม และธรรมท่ีเปนสาสวธรรมแตไมใชอ าสวธรรม เปน ปจ จัยแกธ รรมท่ีเปนสาสวธรรมแตไ มใ ชอ าสวธรรม ดว ยอาํ นาจของอนนั ตรปจ จยั

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 441 คือ อาสวธรรมท้งั หลาย ที่เกดิ กอน ๆ และสัมปยุตตขันธท งั้ หลายเปน ปจ จยั แกขันธท ง้ั หลายทเี่ ปน สาสวธรรมแตไ มใชอ าสวธรรม ที่เกิดหลงั ๆดว ยอํานาจของอนันตรปจ จัย. อาสวธรรม และสมั ปยตุ ตขันธท้งั หลาย เปน ปจจยั แกว ฏุ ฐานะ ดวยอาํ นาจของอนันตรปจ จัย. ๙. ธรรมทีเ่ ปนทั้งอาสวธรรมและสาสวธรรม และธรรมทเี่ ปนสาสวธรรมแตไมใ ชอ าสวธรรม เปน ปจจัยแกธ รรมทเ่ี ปนทั้งอาสวธรรมและสาสวธรรม และธรรมทเี่ ปนสาสวธรรมแตไ มใชอาสวธรรม ดวยอํานาจของอนันตรปจจัย คือ อาสวธรรมท้งั หลาย ท่ีเกดิ กอน ๆ และสัมปยตุ ตขนั ธท้ังหลายเปน ปจ จัยแกอ าสวธรรมทั้งหลาย ท่เี กิดหลงั ๆ และสมั ปยุตตขนั ธท งั้ หลายดว ยอํานาจของอนนั ตรปจจัย. พงึ ใหพสิ ดารอยา งนีท้ ัง้ หมด. อนนั ตรปจ จยั แมในอาสวทกุ ะ กพ็ งึ ใหพสิ ดาร เหมอื นกับทกุ ะนี.้ อาวชั ชนะก็ดี วฏุ ฐานะกด็ ี ทานแสดงไวเหมือนกนั อยา งนี้ ขอ ท่ียอไวท้งั หมด พึงกระทําใหพ สิ ดาร เหมือนกบั อาสวทกุ ะ ไมมแี ตกตางกนั . อาสวสาสวทกุ ะ จบ

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 442 ๑๘. อาสวอาสวสมั ปยุตตทกุ ะ ปฏิจจวาระ อนโุ ลมนัย ๑. เหตปุ จ จัย [๔๐๕] ๑. ธรรมทีเ่ ปน ทงั้ อาสวธรมและอาสวสัมปยตุ ตธรรมอาศัยธรรมทเ่ี ปนท้ังอาสวธรรมและอาสวสมั ปยตุ ตธรรม เกิดขน้ึเพราะเหตปุ จจยั คือ ทิฏฐาสวะ อวชิ ชาสวะ อาศัยกามาสวะ. พึงผกู จกั รนัย อวชิ ชาสวะ อาศยั ภวาสวะ. พึงผกู จักรนัย อวิชชาสวะ อาศัยทิฏฐาสวะ ๒. ธรรมทเี่ ปนอาสวสัมปยุตตธรรมแตไมใชอาสว-ธรรม อาศัยธรรมทีเ่ ปนทงั้ อาสวธรรมและอาสวสัมปยตุ ตธรรม เกิดขน้ึ เพราะเหตุปจ จัย คือ สมั ปยตุ ตขนั ธท ้ังหลาย อาศยั อาสวธรรมทั้งหลาย. ๓. ธรรมทีเ่ ปน ท้ังอาสวธรรมและอาสวสมั ปยตุ ตธรรมและธรรมทเ่ี ปนอาสวสมั ปยุตตธรรมแตไ มใชอาสวธรรม อาศัยธรรม

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 443ท่ีเปน ทัง้ อาสวธรรมและอาสวสมั ปยตุ ตธรรม เกดิ ขึน้ เพราะเหตุปจจัย คอื ทฏิ ฐาสวะ อวิชชาสวะ และสัมปยตุ ตขนั ธท ง้ั หลาย อาศยัอาสวสมั ปยุตตกามาสวธรรมทงั้ หลาย. พึงผูกจักรนัย ๔. ธรรมท่ีเปน อาสวสัมปยุตตธรรมแตไ มใชอาสว-ธรรม อาศัยธรรมทเ่ี ปน อาสวสมั ปยตุ ตธรรมแตไมใ ชอ าสวธรรมเกดิ ข้ึน เพราะเหตุปจจัย คือ ขันธ ๓ อาศัยขนั ธ ๑ ท่ีเปน อาสวสัมปยุตตธรรมแตไ มใชอาสวธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ๕. ธรรมทีเ่ ปน ท้งั อาสวธรรมและอาสวสมั ปยตุ ตธรรมอาศยั ธรรมทีเ่ ปน อาสวสมั ปยตุ ตธรรมแตไ มใชอาสวธรรม เกิดข้ึนเพราะเหตุปจ จยั คือ อาสวธรรมทัง้ หลาย อาศัยขนั ธท้ังหลายท่ีเปนอาสวสัมปยุตตธรรมแตไมใ ชอ าสวธรรม. ๖. ธรรมที่เปนทงั้ อาสวธรรมและอาสวสมั ปยุตตธรรมและธรรมทีเ่ ปน อาสวสัมปยุตตธรรมแตไ มใชอาสวธรรม อาศัยธรรมท่ีเปนอาสวสัมปยุตตธรรมแตไ มใชอ าสวธรรม เกิดขน้ึ เพราะเหตุปจ จยั

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 444 คือ ขันธ ๓ และอาสวธรรมทงั้ หลาย อาศัยขันธ ๑ ทีเ่ ปนอาสว-สัมปยุตตธรรมแตไมใ ชอาสวธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ๗. ธรรมทีเ่ ปนอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรมอาศัยธรรมทเี่ ปน ทงั้ อาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เปน อาสวสัมปยุตตธรรมแตไ มใชอาสวธรรม เกดิ ขึ้น เพราะเหตุปจจยั คอื ทฏิ ฐาสวะ อวิชชาสวะ อาศัยกามาสวะ และสัมปยุตตขนั ธท้ังหลาย. พึงผกู จักรนยั ทั้งหมด ๘. ธรรมทเ่ี ปนอาสวสัมปยุตตธรรมแตไมใชอ าสว-ธรรม อาศัยธรรมที่เปน ทง้ั อาสวธรรมและอาสวสมั ปยุตตธรรม และธรรมท่เี ปนอาสวสัมปยตุ ตธรรมแตไ มใ ชอาสวธรรม เกดิ ขึน้ เพราะเหตปุ จจัย คอื ขนั ธ ๓ อาศัยขันธ ๑ ท่ีเปนอาสวสมั ปยุตตธรรมแตไมใ ชอาสวธรรม และอาสวธรรมทัง้ หลาย ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ๙. ธรรมท่เี ปน ท้งั อาสวธรรมและอาสวสมั ปยตุ ตธรรมและธรรมทเี่ ปน อาสวสัมปยุตตธรรมแตไ มใชอาสวธรรม อาศัยธรรมท่เี ปน ทง้ั อาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม และธรรมทีเ่ ปน อาสว-สมั ปยุตตธรรมแตไ มใ ชอ าสวธรรม เกิดขน้ึ เพราะเหตปุ จจยั

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 445 คือ ขันธ ๓ ทฏิ ฐาสวะ อวชิ ชาสวะ อาศยั ขนั ธ ๑ ทีเ่ ปนอาสว-สัมปยุตตธรรมแตไ มใชอาสวธรรม และกามาสวะ ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ พงึ ผูกจักรนัย ทกุ ปจ จัยพึงกระทําอยางน้.ี การนบั จํานวนวาระในอนุโลม [๔๐๖] ในเหตปุ จ จัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปจ จัย มี ๙ วาระในอธปิ ตปิ จ จยั มี ๙ วาระ ในปจจัยท้งั ปวง มี ๙ วาระ ในกัมมปจจยัมี ๙ วาระ ในวิปากปจ จยั ไมมี ในอาหารปจ จัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคต-ปจ จัย มี ๙ วาระ. ปจ จนยี นยั ๑. นอธิปติปจ จยั [๔๐๗] ธรรมทีเ่ ปน ท้งั อาสวธรรมและอาสวสมั ปยตุ ตธรรมอาศยั ธรรมทีเ่ ปน ทงั้ อาสวธรรมและอาสวสมั ปยุตตธรรม เกิดขน้ึเพราะนอธิปติปจ จัย นเหตมุ ูลกะ ไมม.ี ฯลฯ เพราะนปเุ รชาตปจจยั ฯลฯ เพราะนปจ ฉาชาตปจ จยั ฯลฯ

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 446 การนับจํานวนวาระในปจ จนียะ [๔๐๘] ในนอธปิ ติปจจยั มี ๙ วาระ ในนปเุ รชาตปจจัย มี ๙ วาระในนปจ ฉาชาตปจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปจ จยัมี ๓ วาระ ในนวิปากปจจยั มี ๙ วาระ ในนวิปปยตุ ตปจจยั มี ๙ วาระ. แมก ารนบั ทั้งสองนัยนอกน้กี ด็ ี สหชาตวาระก็ดี ปจจยวาระกด็ ีนิสสยวาระกด็ ี สังสัฏฐวาระก็ดี สมั ปยุตตวาระกด็ ี พงึ กระทําใหบริบูรณอยา งน้ี เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 447 ปญ หาวาระ อนโุ ลมนัย ๑. เหตปุ จ จยั [๔๐๙] ๑. ธรรมท่เี ปนทั้งอาสวธรรมและอาสวสมั ปยตุ ตธรรมเปน ปจจัยแกธรรมท่เี ปน ทงั้ อาสวธรรมและอาสวสัมปยตุ ตธรรม ดว ยอาํ นาจของเหตปุ จจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑-๓) ๔. ธรรมทเี่ ปนอาสวสัมปยุตตธรรม แตไ มใ ชอ าสว-ธรรม เปนปจ จัยแกธ รรมทีเ่ ปน อาสวสัมปยตุ ตธรรม แตไมใ ชอาสว-ธรรม ดวยอํานาจของเหตปุ จ จัย คือ เหตทุ ั้งหลาย ท่เี ปนอาสวสมั ปยตุ ตธรรมแตไมใ ชอ าสวธรรมเปน ปจ จยั แกส มั ปยตุ ตขนั ธท ัง้ หลาย ดวยอาํ นาจของเหตปุ จ จัย. ๒. อารมั มณปจ จัย [๔๑๐] ๑. ธรรมท่เี ปน ทัง้ อาสวธรรมและอาสวสมั ปยตุ ตธรรมเปน ปจจยั แกธ รรมทเี่ ปนทั้งอาสวธรรมและอาสวสมั ปยตุ ตธรรม ดว ยอํานาจของอารมั มณปจจัย มี ๓ วาระ (วาระท่ี ๑-๓) ๔. ธรรมท่ีเปน อาสวสมั ปยตุ ตธรรม แตไมใชอ าสว-ธรรม เปนปจจยั แกธ รรมทีเ่ ปน อาสวสัมปยุตตธรรม แตไ มใ ชอ าสว-ธรรม ดว ยอ านาจของอารมั มณปจจัย

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 448 คอื เพราะปรารภขนั ธท งั้ หลายทีเ่ ปน อาสวสมั ปยุตตธรรม แตไ มใชอาสวธรรม ขนั ธทงั้ หลายที่เปนอาสวสัมปยตุ ตธรรม แตไมใชอ าสวธรรมยอมเกิดขนึ้ . ๕. ธรรมท่ีเปน อาสวสัมปยุตตธรรม แตไ มใ ชอ าสว-ธรรม เปน ปจจัยแกธรรมทเ่ี ปน ทัง้ อาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรมดว ยอาํ นาจของอารัมมณปจจยั คือ เพราะปรารภขันธท งั้ หลายทเี่ ปน อาสวสัมปยตุ ตธรรม แตไ มใ ชอาสวธรรม อาสวธรรมท้งั หลาย ยอ มเกดิ ข้ึน. ๖. ธรรมทเ่ี ปน อาสวสัมปยุตตธรรม แตไมใ ชอาสว-ธรรม เปน ปจ จยั แกธรรมท่เี ปน ทั้งอาสวธรรมและอาสวสมั ปยุตตธรรมและธรรมทเ่ี ปนอาสวสมั ปยุตตธรรมแตไมใชอ าสวธรรม ดวยอํานาจของอารมั มณปจ จัย คอื เพราะปรารภขนั ธท ้ังหลายที่เปนอาสวสัมปยุตตธรรม แตไมใ ชอาสวธรรม อาสวธรรมและขันธท งั้ หลายทเ่ี ปน อาสวสมั ปยตุ ตธรรม ยอมเกดิ ข้นึ . ๗. ธรรมทีเ่ ปน ทั้งอาสวธรรมและอาสวสมั ปยตุ ตธรรมและธรรมที่เปน อาสวสมั ปยุตตธรรมแตไ มใ ชอ าสวธรรม เปนปจ จัยแกธ รรมที่เปนทัง้ อาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม ดว ยอํานาจของอารัมมณปจ จยั มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗-๘-๙) ๓. อธปิ ตปิ จจยั ฯลฯ ๑๐. อาเสวนปจจยั อธิปตปิ จ จยั มีการกระทําใหเ ปน อารมณอ ยา งหนกั แนน เหมอื นกบัอารัมมณปจจัย.

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 449 อนันตรปจจัย พงึ กระทําวา ที่เกดิ กอ น ๆ เหมือนกับ อารมั มณ-ปจจยั น่นั เทยี ว. สมนนั ตรปจ จยั สหชาตปจ จัย อญั ญมัญญปจ จยั นสิ สยปจ จยัเหมอื นกับอารมั มณปจจัยนน่ั เทียว การจาํ แนก ไมมี มี ๓ วาระ. พงึ กระทาํ อปุ นิสสยปจ จยั ท้งั หมด. ๑๑. กัมมปจจยั [๔๑๑] ๑. ธรรมทเ่ี ปนอาสวสมั ปยตุ ตธรรม แตไมใ ชอ าสว-ธรรม เปนปจจยั แกธรรมทเ่ี ปนอาสวสัมปยุตตธรรม แตไ มใชอ าสว-ธรรม ดว ยอาํ นาจของกมั มปจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ฯลฯ เปนปจ จยั ดวยอาํ นาจของอาหารปจจยั มี ๓ วาระ. ฯลฯ เปน ปจจยั ดว ยอาํ นาจของอนิ ทรยิ ปจ จัย มี ๓ วาระ. ฯลฯ เปน ปจจยั ดวยอํานาจของฌานปจจยั มี ๓ วาระ. ฯลฯ เปน ปจจยั ดว ยอาํ นาจของมคั คปจจยั มี ๙ วาระ. ฯลฯ เปนปจจัย ดวยอาํ นาจของสมั ปยตุ ตปจ จยั มี ๙ วาระ. ฯลฯ เปนปจจยั ดว ยอํานาจของอัตถิปจจัย มี ๙ วาระ. ฯลฯ เปนปจจัย ดวยอาํ นาจของนัตถิปจจยั มี ๙ วาระ. ฯลฯ เปน ปจ จยั ดวยอํานาจของวิคตปจจัย มี ๙ วาระ. ฯลฯ เปนปจ จัย ดวยอาํ นาจของอวิคตปจจยั มี ๙ วาระ.

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 450 การนบั จาํ นวนวาระในอนุโลม [๔๑๒] ในเหตุปจ จยั มี ๔ วาระ ในอารัมมณปจจยั มี ๙ วาระในอธิปติปจ จัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปจจยั มี ๙ วาระ ในสมนันตรปจ จัยมี ๙ วาระ ในสหชาตปจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมญั ญปจจยั มี ๙ วาระในนสิ สยปจจัย มี ๙ วาระ ในอปุ นิสสยปจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปจจยัมี ๙ วาระ ในกมั มปจจยั มี ๓ วาระ ในอาหารปจจยั มี ๓ วาระ ในอินทริย-ปจ จยั มี ๓ วาระ ในฌานปจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปจจัย มี ๙ วาระ ในสมั ปยุตตปจ จัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปจ จัย มี ๙ วาระในวคิ ตปจ จยั มี ๙ วาระ ในอวคิ ตปจ จัย มี ๙ วาระ. ปจ จนยี นัย การยกปจจยั ในปจจนียะ [๔๑๓] ๑. ธรรมท่ีเปนทง้ั อาสวธรรมและอาสวสัมปยตุ ตธรรมเปน ปจ จัยแกธรรมท่เี ปน ทงั้ อาสวธรรมและอาสวสมั ปยตุ ตธรรม ดว ยอาํ นาจของอารมั มณปจ จัย, เปน ปจจัย ดว ยอาํ นาจของสหชาตปจจัยเปนปจ จัย ดวยอาํ นาจของอปุ นิสสยปจจยั . ๒. ธรรมทเ่ี ปน ท้งั อาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรมเปน ปจจยั แกธ รรมเปน อาสวสัมปยตุ ตธรรม แตไ มใชอ าสวธรรมดว ยอํานาจของอารัมมณปจจยั , เปน ปจ จยั ดวยอํานาจของสหชาต-ปจจยั , เปน ปจ จัย ดวยอํานาจของอปุ นสิ สยปจ จัย.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook