Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_88

tripitaka_88

Published by sadudees, 2017-01-10 01:17:04

Description: tripitaka_88

Search

Read the Text Version

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 201 ๘. สังขตทุกะ ปฏจิ จวาระ อนโุ ลมนยั ๑. เหตุปจ จัย [๑๘๔] ๑. สังขตธรรม อาศัยสังขตธรรม เกดิ ข้ึน เพราะเหตปุ จ จัย คอื ขันธ ๓ และจิตตสมฏุ ฐานรปู อาศัยขันธ ๑ ท่ีเปน สงั ขตธรรม ฯลฯ ในปฏิสนธขิ ณะ ฯลฯ หทยวตั ถุ อาศัยขนั ธทง้ั หลาย, ขนั ธทงั้ หลายอาศัยหทยวตั ถุ. มหาภตู รปู ๓ อาศัยมหาภตู รปู ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรปู กฏตั ตารูปทีเ่ ปนอุปาทารูป อาศยั มหาภูตรปู ทงั้ หลาย. ทกุ ะนี้ พึงกระทาํ เหมือนสปั ปจ จยทุกะ ไมมแี ตกตางกนั . สงั ขตทกุ ะ จบ

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 202 ๙. สนิทัสสนทกุ ะ ปฏิจจวาระ อนุโลมนยั ๑. เหตปุ จ จยั [๑๘๕] ๑. อนทิ สั สนธรรม อาศยั อนิทสั สนธรรม เกดิ ข้นึเพราะเหตุปจ จัย คอื ขันธ ๓ และจติ ตสมฏุ ฐานรปู ท่เี ปน อนทิ สั สนธรรม อาศยัขนั ธ ๑ ฯลฯ ท่ีเปน อนิทสสั นธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขนั ธ ๓ และกฏัตตารปู ที่เปนอนิทัสสนธรรม อาศยัขันธ ๑ ท่ีเปน อนิทสั สนธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ หทยวตั ถุ อาศยั ขนั ธท้ังหลาย, ขนั ธท ั้งหลาย อาศยั หทยวตั ถุ. ฯลฯ อาศัยมหาภตู รปู ๑ ฯลฯ จติ ตสมฏุ ฐานรูป กฏัตตารูป ที่เปน อปุ าทารปู ทเี่ ปนอนิทัสสนธรรมอาศัยมหาภูตรปู ทั้งหลาย. ๒. สนทิ สั สนธรรม อาศัยอนทิ ัสสนธรรม เกดิ ข้ึนเพราะเหตุปจ จัย คอื จติ ตสมฏุ ฐานรูป ทีเ่ ปน สนิทัสสนธรรม อาศัยขนั ธทั้งหลายทเ่ี ปนอนิทสัสนธรรม. ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 203 จิตตสมุฏฐานรปู กฏตั ตารปู ทเี่ ปนอปุ าทารูป ทเี่ ปนสนทิ สั สนธรรมอาศัยมหาภตู รปู ทง้ั หลาย. ๓. สนทิ สั สนธรรม และอนทิ สั สนธรรม อาศยัอนทิ ัสสนธรรม เกิดขนึ้ เพราะเหตุปจ จัย คือ ขนั ธ ๓ และจติ ตสมุฏฐานรูป ทเี่ ปนสนิทัสสนธรรม และอนทิ ัสสนธรรม อาศัยขนั ธ ๑ ท่ีเปน อนิทัสสนธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จิตตสมฏุ ฐานรูป กฏตั ตารูป ที่เปน อปุ าทารูป ทีเ่ ปนสนิทัสสนธรรมและอนิทัสสนธรรม อาศัยมหาภตู รปู ท้ังหลาย. ๒. อารมั มณปจจยั [๑๘๖] ๑. อนทิ สั สนธรรม อาศัยอนทิ สั สนธรรม เกิดขึน้เพราะอารัมมณปจ จยั คอื ขนั ธ ๓ อาศยั ขันธ ๑ ที่เปนอนิทัสสนธรรม ฯลฯ ขนั ธ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธขิ ณะ ฯลฯ ขนั ธท ้ังหลาย อาศยั หทยวตั ถ.ุ ๓. อธปิ ติปจจัย [๑๘๗] ๑. อนิทสั สนธรรม อาศัยอนิทสั สนธรรม เกดิ ขึน้เพราะอธปิ ติปจ จัย คือ ขนั ธ ๓ และจิตตสมฏุ ฐานรปู ทเี่ ปนอนทิ ัสสนธรรม อาศัยขนั ธ ๑ ทีเ่ ปนอนิทัสสนธรรม ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 204 มหาภูตรูป ๓ อาศยั มหาภูตรปู ๑ ฯลฯ มหาภูตรปู ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ทเี่ ปน อุปาทารปู ทเี่ ปน อนิทสั สนธรรม อาศยัมหาภูตรปู ทัง้ หลาย. ๒. สนทิ ัสสนธรรม อาศยั อนทิ สั สนธรรม เกิดขึ้นเพราะอธิปตปิ จ จยั คอื จติ ตสมฏุ ฐานรูป ทีเ่ ปนสนทิ ัสสนธรรม อาศยั ขันธท้งั หลายท่เี ปนอนทิ สั สนธรรม. จติ ตสมุฏฐานรูป ทเี่ ปนอปุ าทารปู ทเ่ี ปนสนทิ ัสสนธรรม อาศัยมหาภตู รูปทัง้ หลาย. ๓. สนทิ สั สนธรรม และอนทิ สั สนธรรม อาศัยอนิทสั สนธรรม เกิดขึน้ เพราะอธิปติปจ จัย คอื ขนั ธ ๓ และจติ ตสมฏุ ฐานรูป ท่เี ปนสนิทัสสนธรรม และอนทิ สั สนธรรม อาศัยขนั ธ ๑ ทเ่ี ปน อนทิ ัสสนธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ. จิตตสมุฏฐานรปู ทเ่ี ปน อุปาทารูป ท่ีเปน สนทิ ัสสนธรรม และอนทิ สัสน-ธรรม อาศยั มหาภตู รูปท้ังหลาย. ฯลฯ พงึ กระทําทุกปจ จยั การนับจํานวนวาระในอนุโลม [๑๘๘] ในเหตุปจจยั มี ๓ วาระ ในอารัมมณปจ จัย มี ๑ วาระืน้ อธปิ ติปจ จัย มี ๓ วาระ ในอนนั ตรปจ จยั มี ๑ วาระ ในสมนนั ตรปจจยั

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 205มี ๑ วาระ ในสหชาตปจ จัย มี ๓ วาระ ในอญั ญมญั ญปจ จัย มี ๑ วาระ ในนสิ สยปจจยั มี ๓ วาระ ในอุปนสิ สยปจ จัย มี ๑ วาระ ในปเุ รชาตปจ จยั มี ๑วาระ ในอาเสวนปจ จัย มี ๑ วาระ ในกมั มปจจยั มี ๓ วาระ ในวิปากปจ จยัมี ๓ วาระ ในมคั คปจจยั มี ๓ วาระ ในสัมปยตุ ตปจ จัย มี ๑ วาระ ในวปิ ปยุตตปจ จัย มี ๓ วาระ ในอตั ถปิ จจัย มี ๓ วาระ ในนัตถปิ จจยั มี ๑วาระ ในวิคตปจ จัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปจ จัย มี ๓ วาระ. อนโุ ลมนยั จบ ปจ จนียนยั ๑. เหตุปจจัย [๑๘๙] ๑. อนทิ สั สนธรรม อาศยั อนทิ สั สนธรรม เกิดข้ึนเพราะนเหตุปจ จยั คอื ขันธ ๓ และจิตตสมุฏฐานรปู ทเ่ี ปน อนทิ สั สนธรรม อาศยั ขนั ธ๑ ทเ่ี ปนอนิทสั สนธรรม ซึ่งเปนอเหตุกะ ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ. ในอเหตกุ ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทยวัตถุ อาศยั ขันธท ัง้ หลาย, ขนั ธท้งั หลาย อาศยั หทยวตั ถุ. มหาภตู รูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรปู กฏัตตารปู ทเี่ ปนอปุ าทารูปท่ีเปนอนทิ สั สนธรรมอาศยั มหาภูตรปู ท้งั หลาย. พาหริ รปู ...อาหารสมุฏฐานรูป ...อตุ สุ มุฏฐานรปู ฯลฯ.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 206 สวนอสัญญสตั วท ้งั หลาย ฯลฯ โมหะ ทีส่ หรคตดว ยวจิ ิกจิ ฉา ท่สี หรคตดวยอทุ ธัจจะ อาศัยขนั ธทัง้หลายที่สหรคตดวยวิจิกิจฉา ท่ีสหรคตดว ยอุทธัจจะ. ๒. สนทิ ัสสนธรรม อาศัยอนิทสั สนธรรม เกิดขนึ้เพราะนเหตปุ จจัย คือ จิตตสมฏุ ฐานรูป ท่เี ปน สนทิ ัสสนธรรม อาศยั ขนั ธท ้ังหลายท่ีเปน อนทิ ัสสนธรรม ซึ่งเปน อเหตุกะ ในปฏสิ นธขิ ณะ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏตั ตารปู ที่เปน อปุ าทารปู ที่เปน สนทิ ัสสนธรรมอาศยั มหาภตู รูปทั้งหลาย. พาหิรรูป... อาหารสมฏุ ฐานรูป ... อตุ ุสมฏุ ฐานรปู ฯลฯ สว นอสัญญสตั วท ้ังหลาย กฏัตตารูป ทีเ่ ปน อุปาทารปู ท่เี ปนสนิทัสสน-ธรรม อาศัยมหาภตู รปู ท้ังหลาย. ๓. สนทิ สั สนธรรม และอนทิ สั สนธรรม อาศยัอนิทัสสนธรรม เกิดขน้ึ เพราะนเหตปุ จ จยั คอื ขันธ ๓ และจติ ตสมฏุ ฐานรูป ท่เี ปน สนิทสั สนธรรม และอนิ-ทัสสนธรรมอาศยั ขันธ ๑ ทเ่ี ปน อนทิ สั สนธรรม ซง่ึ เปน อเหตุตกุ ะ ฯลฯ ขันธ๒ ฯลฯ. ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ อาศยั มหาภตู รปู ทั้งหลาย ฯลฯ พาหริ รูป . . .อาหารสมฏุ ฐานรปู . . . อตุ ุสมฏุ ฐานรูป ฯลฯ

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 207 สว นอสญั ญสัตวท ง้ั หลาย กฏัตตารปู ทเ่ี ปนอปุ าทารูป ทีเ่ ปนสนทิ ัสสน-ธรรม และอนิทสั สนธรรม อาศัยมหาภูตรปู ทั้งหลาย. พงึ กระทําอยา งนท้ี ุกปจ จัย. การนับจาํ นวนวาระในปจ จนียะ [๑๙๐] ในนเหตุปจจัย มี ๓ วาระ ในนอารัมมณปจจัย มี ๓ วาระในนอธิปติปจจยั มี ๓ วาระ ในนอนันตรปจ จัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-ปจจยั มี ๓ วาระ ในนอญั ญมัญญปจ จัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปจจยัมี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปจจัย มี ๓ วาระ ในนปจฉาชาตปจจัย มี ๓ วาระในนอาเสวนปจ จยั มี ๓ วาระ ในนกมั มปจจัย มี ๓ วาระ ในนวปิ ากปจจัยมี ๓ วาระ ในนอาหารปจ จยั มี ๓ วาระ ในนอนิ ทริยปจจยั มี ๓ วาระในนฌานปจ จัย มี ๓ วาระ ในนมัคคปจจัย มี ๓ วาระ ในนสัมปยุตตปจ จยัมี ๓ วาระ ในนวปิ ปยตุ ตปจจัย มี ๓ วาระ ในโนนตั ถิปจจยั มี ๓ วาระในโนวิคตปจ จัย มี ๓ วาระ. อนุโลมปจ จนยี นัย การนบั จํานวนวาระในอนโุ ลมปจจนยี ะ [๑๙๑] ๑. เพราะเหตุปจ จยั ในนอารัมมณปจ จัย มี ๓ วาระ...ในนอธิปติปจ จยั มี ๓ วาระ ในปจจยั ท้งั ปวง มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนกมั มปจ จัยมี ๓ วาระ ในนวิปากปจ จัย มี ๓ วาระ ในนสัมปยุตตปจจยั มี ๓ วาระ

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 208ในนวิปปยตุ ตปจจยั มี ๑ วาระ ในโนนัตถปิ จจัย มี ๓ วาระ ในโนวคิ ต-ปจจัย มี ๓ วาระ. อนุโลมปจ จนียนยั จบ ปจ จนยี านุโลมนัย การนับจํานวนวาระในปจ จนยี านุโลม [๑๙๒] เพราะนเหตปุ จ จยั ในอารัมมณปจจัย มี ๑วาระ ในอนนั ตร-ปจจยั มี ๑ วาระ ในสมนนั ตรปจจยั มี ๑ วาระ ในสหชาตปจ จัย มี ๓ วาระในอญั ญมัญญปจ จัย มี ๑ วาระ โนนสิ สยปจจัย มี ๓ วาระ ในอปุ นิสสยปจ จยัมี ๑ วาระ ในปเุ รชาตปจจัย มี ๑ วาระ ในอาเสวนปจ จัย มี ๑ วาระ ในกัมมปจ จยั มี ๓ วาระ ฯลฯ ในฌานปจ จยั มี ๓ วาระ ในมัคคปจจัย มี ๑วาระ ในสัมปยุตตปจ จัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปจ จยั มี ๓ วาระ ในอตั ถปิ จจัย มี ๓ วาระ ในนัตถปิ จ จัย มี ๑ วาระ ในวิคตปจ จัย มี ๑ วาระในอวคิ ตปจจยั มี ๓ วาระ. ปจจนยี านโุ ลมนัย จบ

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 209 ปจจยวาระ อนโุ ลมนยั ๑. เหตปุ จจยั [๑๙๓] ๑. อนิทัสสนธรรม อาศยั อนิทสั สนธรรม เกดิ ข้นึเพราะเหตปุ จจัย คือ ขนั ธ ๓ และจติ ตสมุฏฐานรปู ทเ่ี ปน อนิทสั สนธรรม อาศยั ขนั ธ๑ ทีเ่ ปนอนิทัสสนธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ. ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ หทยวัตถุ อาศัยขันธท ั้งหลาย, ขันธท ง้ั หลาย อาศยั หทยวตั ถุ ฯลฯ. ฯลฯ อาศยั มหาภูตรูป ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏตั ตารปู ท่เี ปนอุปาทารูป ทเี่ ปนอนิทสั สนธรรมอาศยั มหาภตู รูปทง้ั หลาย. ขนั ธท้งั หลายท่ีเปน อนิทัสสนธรรม อาศัยหทยวัตถ.ุ พงึ กระทํา ๒ วาระ แมน อกนี.้ [๑๙๔] ๒. อนิทสั สนธรรม อาศยั อนทิ สั สนธรรม เกดิ ข้ึนเพราะอารมั มณปจจัย คอื ฯลฯ อาศัยขนั ธ ๑ ท่ีเปน อนิทสั สนธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ. ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ ขนั ธท้งั หลาย อาศยั หทยวัตถุ จักขุวญิ ญาณ อาศัยจกั ขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ. ขันธท งั้ หลายท่ีเปน อนิทสั สนธรรม อาศัยหทยวัตถุ ฯลฯ

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 210 การนับจํานวนวาระในอนุโลม [๑๙๕] ในเหตุปจ จัย มี ๓ วาระ ในอารมั มณปจ จยั มี ๑ วาระในอธิปติปจจยั มี ๓ วาระ ฯลฯ ในวิคตปจจัย มี ๓ วาระ. อนุโลมนัย จบ ปจ จนยี นัย ๑. นเหตุปจจยั [๑๙๖] ๑. อนทิ สั สนธรรม อาศยั อนทิ ัสสนธรรม เกดิ ขึน้เพราะนเหตปุ จ จัย คอื ขันธ ๓ และจิตตสมุฏฐานรปู ท่เี ปนอนิทัสสนธรรม อาศยั ขนั ธ๑ ทเ่ี ปน อนิทสั สนธรรม ซ่ึงเปน อเหตุกะ ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ. ในอเหตุกปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ ตลอดถงึ อสญั ญสตั ว. จักขวุ ญิ ญาณ อาศยั จกั ขายตนะ ฯลฯ กายวญิ ญาณ อาศัยกายายตนะ. ขนั ธท ้ังหลายที่เปน อนทิ สั สนธรรม ซ่งึ เปน อเหตกุ ะ อาศัยหทยวัตถุ. โมหะ ท่สี หรคตดว ยวจิ กิ ิจฉา ทส่ี หรคตดว ยอุทธัจจะ อาศยั ขนั ธทงั้หลายท่สี หรคตดว ยวจิ กิ ิจฉา ทีส่ หรคตดว ยอทุ ธจั จะ และหทยวตั ถ.ุ พึงกระทํา ๒ วาระ แมน อกน้ี ฯลฯ. การนับจาํ นวนวาระในปจ จนียะ [๑๙๗] ในนเหตปุ จ จัย มี ๓ วาระ ในนอารมั มณปจ จยั มี ๓ วาระในโนวิคตปจ จัย มี ๓ วาระ. ปจจนียนยั จบ

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 211 อนุโลมปจจนียนยั การนับจํานวนวาระในอนโุ ลมปจ จนียะ [๑๙๘] เพราะเหตุปจ จยั ในนอารัมมณปจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯในนกมั มปจ จยั มี ๑ วาระ ฯลฯ ในนวิปปยตุ ตปจ จยั มี ๑ วาระ ในโนนตั ถิ-ปจ จัย มี ๓ วาระ ในโนวคิ ตปจ จยั มี ๓ วาระ. อนุโลมปจ จนยี นยั จบ ปจจนยี านุโลม การนบั จํานวนวาระในปจจนียานุโลม [๑๙๙] เพราะนเหตปุ จจยั ในอารมั มณปจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯในมัคคปจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวคิ ตปจ จยั มี ๓ วาระ. ปจ จนยี านโุ ลม จบ แมนสิ สยวาระ ก็พึงกระทําอยา งน้ี.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 212 สงั สัฏฐวาระ อนโุ ลมนยั ๑. เหตปุ จจยั [๒๐๐] ๑. อนทิ ัสสนธรรม เจอื กับอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้นเพราะเหตุปจจยั คือ ขันธ ๓ เจอื กบั ขนั ธ ๑ ทีเ่ ปนอนทิ ัสสนธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ. ๒. อารมั มณปจ จยั [๒๐๑] อนิทัสสนธรรม เจือกับอนิทัสสนธรรม เกดิ ขน้ึเพราะอารมั มณปจจัย ทง้ั หมดน้ี พงึ แจกกับดวยจาํ นวนปจจยั รวมกัน อยางทก่ี ลา วมาแลว. แมสมั ปยุตตวาระ กเ็ หมือนกบั สังสัฏฐวาระ.

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 213 ปญ หาวาระ อนโุ ลมนยั ๑. เหตปุ จ จัย [๒๐๒] ๑. อนิทัสสนธรรม เปนปจจัยแกอ นิทสั สนธรรมดวยอาํ นาจของเหตปุ จ จัย คือ เหตุทง้ั หลายที่เปนอนิทัสสนธรรม เปน ปจ จยั แกสมั ปยตุ ตขนั ธและจิตตสมฏุ ฐานรปู ทั้งหลาย ที่เปน อนทิ สั สนธรรม ดว ยอํานาจของเหตุปจ จยั . ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ. ๒. อนทิ สั สนธรรม เปน ปจ จัยแกสนิทสั สนธรรมดว ยอํานาจของเหตปุ จจยั คือ เหตุทงั้ หลายท่เี ปนอนทิ สั สนธรรม เปนปจจัยแกจติ ตสมฏุ ฐานรปูทั้งหลาย ทเี่ ปน สนทิ ัสสนธรรม ดวยอาํ นาจของเหตปุ จ จยั . ในปฏสิ นธขิ ณะ ฯลฯ ๓. อนิทัสสนธรรม เปน ปจจยั แกสนิทสั สนธรรมและอนทิ ัสสนธรรม ดวยอํานาจของเหตุปจ จยั คือ เหตทุ ั้งหลายทีเ่ ปนอนิทัสสนธรรม เปน ปจ จัยแกสมั ปยตุ ตขันธและจติ ตสมฏุ ฐานรปู ทงั้ หลาย ทเ่ี ปนสนทิ สั สนธรรม และอนิทัสสนธรรม ดวยอํานาจของเหตปุ จ จัย. ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ.

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 214 ๒. อารัมมณปจ จัย [๒๐๓] ๑. สนิทัสสนธรรม เปน ปจ จยั แกอนิทัสสนธรรมดว ยอาํ นาจของอารัมมณปจจัย คอื ฯลฯ รปู ท่ีเปน สนทิ ัสสนธรรม โดยความเปนของไมเ ทีย่ ง ฯลฯโทมนัส ยอมเกิดขึน้ . เหน็ รปู ดวยทพิ ยจกั ษุ ฯลฯ รปู ายตนะ เปนปจจยั แกจักขวุ ิญญาณ ดวยอํานาจของอารัมมณปจจัย. ขนั ธท ัง้ หลายท่ีเปน สนทิ ัสสนธรรม เปนปจ จยั แกอ ทิ ธิวิธญาณ แกบุพเพนิวาสานุสสติญาณ แกอ นาคตังสญญาณ และอาวชั ชนะ ดว ยอํานาจของอารมั มณปจ จัย. ๒. อนทิ สั สนธรรม เปนปจจัยแกอ นิทสั สนธรรมดว ยอาํ นาจของอารัมมณปจ จยั คือ บคุ คลใหทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อโุ บสถกรรมแลว . พิจารณาซึง่ กุศลกรรมนั้น. บคุ คลพิจารณากุศลกรรมทงั้ หลาย ท่เี คยเกดิ ข้นึ แลว ในกาลกอ น. บุคคลออกจากฌาน พิจารณาฌาน. พระอริยะท้ังหลายออกจากมรรค พจิ ารณามรรค พิจารณาผลพิจารณานพิ พาน. นพิ พาน เปนปจ จยั แกโคตรภู, แกโ วทาน, แกม รรค, แกผ ล, แกอาวชั ชนะ ดวยอํานาจของอารมั มณปจ จยั .

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 215 พระอริยะทงั้ หลายพิจารณากิเลสทล่ี ะแลว ฯลฯ กิเลสทข่ี มแลว ฯลฯกเิ ลสทัง้ หลายที่เคยเกิดข้นึ แลวในกาลกอ น ฯลฯ. จกั ษุ ฯลฯ กายะ เสียง หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธทง้ั หลายทีเ่ ปน อนิทสั สน-ธรรม โดยความเปน ของไมเ ที่ยง ฯลฯ โทมนสั ยอมเกิดขนึ้ . บคุ คลฟงเสยี ง ดว ยทพิ โสตธาตุ. บคุ คลรจู ติ ของบคุ คลผูพรอ มเพรยี งดวยจติ ท่เี ปน อนิทัสสนธรรมดว ยอํานาจของเจโตปริยญาณ. อากาสานัญจายตนะ เปน ปจจยั แกวญิ ญาณญั จายตนะ, ฯลฯ อากญิ -จญั ญายตนะ เปน ปจ จัยแกเนวสญั ญานาสญั ญายตนะ. สัททายตนะ เปน ปจจัยแกโ สตวญิ ญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เปนปจ จัยแกกายวญิ ญาณ. ขนั ธท ง้ั หลายท่เี ปนอนทิ สั สนธรรม เปนปจ จยั แกอทิ ธิวิธญาณ แกเจโตปริยญาณ แกป พุ เพนวิ าสานุสสติญาณ แกย ถากัมมปู คญาณ แกอ นาคตงั ส-ญาณ แกอ าวัชชนะ ดวยอาํ นาจของอารัมมณปจจัย ฯลฯ. ๓. อธปิ ติปจจยั [๒๐๔] ๑. สนิทสั สนธรรม เปน ปจจัยแกอ นิทัสสนธรรมดวยอาํ นาจของอธปิ ตปิ จจัย มอี ยา งเดียว คอื ทเี่ ปน อารมั มณาธิปติ ไดแ ก

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 216 บคุ คลยอ มยินดี ยอมเพลิดเพลนิ ย่ิง เพราะกระทาํ รปู ที่เปน สนทิ ัสสน-ธรรมใหเ ปนอารมณอ ยางหนกั แนน ครั้นกระทาํ รูปน้ันใหเปน อารมณอยา งหนกั แนนแลว ราคะ ยอมเกิดขนึ้ ทฏิ ฐิ ยอมเกิดขึ้น. ๒. อนิทสั สนธรรม เปน ปจจัยแกอ นทิ สั สนธรรม ดวยอํานาจของอธิปตปิ จ จัย มี ๒ อยา ง คอื ท่ีเปน อารมั มณาธิปติ และ สหชาตาธปิ ติ ที่เปน อารัมมณาธิปติ ไดแ ก ใหท าน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กระทาํ กศุ ลกรรมนั้นใหเ ปนอารมณอ ยา งหนักแนน ฯลฯ. กศุ ลกรรมทง้ั หลายท่ีเคยส่งั สมไวแลวในกาลกอ น ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ. พระอรยิ ะทงั้ หลายออกจากมรรค กระทาํ มรรคใหเ ปน อารมณอยา งหนกั แนน ฯลฯ กระทาํ ผลใหเปนอารมณอ ยา งหนกั แนน ฯลฯ นพิ พาน เปนปจ จยั แกโคตรภู, แกโวทาน, แกม รรค, แกผล ดวยอาํ นาจของอธปิ ตปิ จจัย. บคุ คลยอ มยนิ ดี ยอมเพลิดเพลนิ ยิ่ง เพราะกระทําจกั ษุ ฯลฯ หทยวัตถุขันธทั้งหลายทเี่ ปนอนิทสั สนธรรมใหเปนอารมณอ ยา งหนักแนน คร้นั กระทําจักษุเปน ตน นั้น ใหเ ปน อารมณอยางหนักแนน แลว ราคะ ยอ มเกดิ ขน้ึ ทิฏฐิยอมเกิดข้ึน. ที่เปน สหชาตาธิปติ ไดแ ก

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 217 อธิปตธิ รรมทีเ่ ปน อนทิ สั สนธรรม เปนปจจยั แกสัมปยุตตขนั ธ และจิตตสมุฏฐานรูปทง้ั หลายที่เปนอนทิ สั สนธรรม ดวยอาํ นาจอธปิ ตปิ จจัย. ๓. อนิทัสสนธรรม เปน ปจจยั แกส นทิ ัสสนธรรมดวยอํานาจของอธปิ ติปจจยั มอี ยางเดียว คือท่ีเปน สหชาตาธปิ ติ ไดแก อธปิ ตธิ รรมท่เี ปน อนิทัสสนธรรม เปนปจ จยั แกจติ ตสมฏุ ฐานรปูทัง้ หลายทเ่ี ปนสนิทสั สนธรรม ดวยอํานาจของอธิปติปจจัย. ๔. อนิทัสสนธรรม เปน ปจจัยแกส นิทสั สนธรรมและอนิทัสสนธรรมดวยอาํ นาจของอธปิ ติปจจัย มีอยา งเดยี ว คือทีเ่ ปน สหชาตาธิปติ ไดแ ก อธปิ ติธรรมท่ีเปน อนทิ สั สนธรรม เปน ปจ จยั แกส มั ปยตุ ตขนั ธ และจติ ตสมฏุ ฐานรปู ท้ังหลาย ที่เปนสนทิ ัสสนธรรม และอนทิ ัสสนธรรม ดวยอํานาจของอธิปตปิ จ จัย. ๔. อนันตรปจจยั [๒๐๕] ๑. อนิทสั สนธรรม เปนปจ จัยแกอ นทิ สั สนธรรม ดว ยอํานาจของอนนั ตรปจ จัย คอื ขนั ธท ัง้ หลายทเี่ ปน อนิทสั สนธรรม ท่ีเกิดกอน ๆ เปนปจจัยแกขนั ธท ้งั หลายทีเ่ ปนอนิทัสสนธรรม ที่เกิดหลงั ๆ ดวยอาํ นาจของอนันตรปจ จยั . อนโุ ลม เปนปจจัยแกโ คตรภ,ู โคตรภู เปน ปจ จยั แกม รรค, เนว-สัญญานาสัญญายตนะ เปน ปจ จัยแกผ ลสมาบตั ิ ดวยอํานาจของอนันตรปจจยั .

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 218 ๕. สมนันตรปจจัย ฯลฯ ๘. นสิ สยปจ จัย [๒๐๖] ๑. อนทิ สั สนธรรม เปน ปจ จยั แกอ นิทัสสนธรรม ดว ยอาํ นาจของสมนันตรปจจัย ฯลฯ เปน ปจ จัย ดวยอํานาจของสหชาตปจจยั มี ๓ วาระ. ฯลฯ เปนปจจัย ดว ยอาํ นาจของอัญญมัญญปจจยั มี ๑ วาระ. ฯลฯ เปน ปจจยั ดว ยอํานาจของนสิ สยปจ จยั มี ๓ วาระ. ๙. อุปนสิ สยปจจยั [๒๐๗] ๑. สนทิ ัสสนธรรม เปนปจ จัยแกอนทิ สั สนธรรม ดว ยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจ จัย มี ๒ อยาง คือทีเ่ ปน อารัมมณปู นสิ สยะ และ ปกตูปนิสสยะ ทเ่ี ปน ปกตปู นสิ สยะ ไดแก บุคคลปรารถนาซึง่ ความถงึ พรอมแหง วรรณะ ยอ มใหท าน ฯลฯ ศลีฯลฯ กระทําอุโบสถกรรม. ความถงึ พรอมแหงวรรณะ เปนปจจัยแกศรัทธา ฯลฯ แกค วามปรารถนา แกส ขุ ทางกาย แกทุกขทางกาย แกมรรค แกผ ลสมาบัติ ดว ยอํานาจของอปุ นิสสยปจ จยั . ๒. อนทิ สั สนธรรม เปนปจ จัยแกอนทิ ัสสนธรรม ดวยอาํ นาจของอปุ นิสสยปจจยั มี ๓ อยาง คือทเ่ี ปน อารัมมณูปนสิ สยะ อนนั ตรูปนิสสยะ และปกตปู นิสสยะ

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 219 ทีเ่ ปน ปกตูปนสิ สยะ ไดแ ก บุคคลเขาไปอาศยั ศรัทธาแลว ใหทาน ฯลฯ ยงั สมาบัติใหเ กิดขน้ึ กอมานะ ถือทิฏฐ.ิ บคุ คลเขาไปอาศีล ฯลฯ เสนาสนะแลว ใหท าน ฯลฯ ทาํ ลายสงฆ. ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เปนปจจยั แกศรัทธา ฯลฯ แกผ ลสมาบตั ิ ดว ยอํานาจของอุปนสิ สยปจ จยั . ๑๐. ปเุ รชาตปจจยั [๒๐๘] ๑. สนทิ ัสสนธรรม เปน ปจจยั แกอนิทัสสนธรรม ดวยอํานาจของปเุ รชาตปจ จัย คอื พจิ ารณาเห็นรูปที่เปนสนิทัสสนธรรม โดยความเปน ของไมเ ทีย่ งฯลฯ โทมนัส ยอ มเกิดขึ้น. บคุ คลเหน็ รปู ดวยทิพยจกั ษ.ุ รปู ายตนะ เปน ปจ จยั แกจักขวุ ญิ ญาณ ดว ยอํานาจของปุเรชาตปจจัย. ๒. อนิทสั สนธรรม เปนปจ จยั แกอ นิทัสสนธรรม ดว ยอํานาจของปเุ รชาตปจ จยั มี ๒ อยา ง คอื ทเ่ี ปน อารัมมณปุเรชาตะ และ วตั ถปุ ุเรชาตะ ท่เี ปน อารัมมณปุเรชาตะ ไดแก พจิ ารณาเห็นจกั ษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเปนของไมเท่ียง ฯลฯโทมนัส ยอมเกดิ ขน้ึ .

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 220 บุคคลฟง เสยี ง ดวยทพิ โสตธาตุ. สัททายตนะ เปนปจ จยั แกโ สตวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เปนปจ จัยแกก ายวญิ ญาณ ดวยอํานาจของปุเรชาตปจ จยั . ทเี่ ปน วตั ถปุ เุ รชาตะ ไดแก จกั ขายตนะ เปนปจจัยแกจ ักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเปนปจจยั แกกายวญิ ญาณ. หทยวัตถุ เปน ปจ จัยแกขนั ธทงั้ หลายที่เปนอนิทัสสนธรรม ดวยอํานาจของปเุ รชาตปจจัย. ๓. สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรมเปน ปจ จัยแกอนิทัสสนธรรม ดวยอํานาจของปุเรชาตปจ จัย มี ๒ อยาง คือที่เปน อารมั มณปุเรชาตะ และ วตั ถุปุเรชาตะ ไดแ กรปู ายตนะ และหทยวตั ถุ เปน ปจจัยแกข นั ธทง้ั หลายท่เี ปนอนิทสั สนธรรม ดว ยอาํ นาจของปเุ รชาตปจ จยั . รูปายตนะ และจักขายตนะ เปน ปจจัยแกจกั ขวุ ิญญาณ ดวยอํานาจของปุเรชาตปจจัย. ๑๑. ปจฉาชาตปจ จยั [๒๐๙] ๑. อนทิ สั สนธรรม เปน ปจ จยั แกอนทิ ัสสนธรรม ดว ยอาํ นาจของปจฉาชาตปจจยั คอื ขันธทง้ั หลายทีเ่ ปนอนิทสั สนธรรม ทเ่ี กดิ ภายหลัง เปนปจจัยแกก ายน้ีท่เี ปนอนทิ ัสสนธรรม ทีเ่ กดิ กอ น ดวยอํานาจของปจฉาชาตปจจยั .

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 221 ๒. อนิทัสสนธรรม เปน ปจจัยแกส นิทสั สนธรรม ดว ยอาํ นาจของปจฉาชาตปจ จัย คือ ขันธท้ังหลายทเ่ี ปนอนิทัสสนธรรม ที่เกดิ ภายหลงั เปน ปจ จัยกายนท้ี ี่เปนสนทิ ัสสนธรรม ทเ่ี กิดกอ น ดว ยอํานาจของปจ ฉาชาตปจจยั . ๓. อนิทัสสนธรรม เปนปจจยั แกส นทิ ัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม ดว ยอํานาจของปจฉาชาตปจ จยั คือ ขันธท้งั หลายทเี่ ปน อนิทสั สนธรรม ทเี่ กดิ ภายหลัง เปน ปจ จยั แกกายน้ที เี่ ปนสนทิ ัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม ทีเ่ กดิ กอ น ดว ยอํานาจของปจฉาชาตปจจยั . ๑๒. อาเสวนปจจัย [๒๑๐] ๑. อนทิ ัสสนธรรม เปนปจจยั แกอ นิทสั สนธรรมดวยอํานาจของอาเสวนปจ จยั คือ ขนั ธท้ังหลาย ที่เกิดกอ น ๆ ฯลฯ ๑๓. กมั มปจจัย [๒๑๑] ๑. อนทิ ัสสนธรรม เปน ปจ จัยแกอ นทิ สั สนธรรมดวยอํานาจของกมั มปจจัย มี ๒ อยา ง คอื ที่เปน สหชาตะ และ นานาขณกิ ะ ท่ีเปน สหชาตะ ไดแ ก

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 222 เจตนาท่เี ปน อนทิ ัสสนธรรม เปน ปจ จัยแกสัมปยตุ ตขันธ และจติ ต-สมุฏฐานรปู ทง้ั หลาย ท่ีเปน อนทิ ัสสนธรรม ดวยอํานาจของกัมมปจจยั . ท่ีเปน นานาขณกิ ะ ไดแก เจตนาทเี่ ปน อนิทสั สนธรรม เปน ปจ จัยแกข นั ธท ง้ั หลายท่เี ปนอนทิ ัสสนธรรม ท่เี ปน วิบาก และกฏตั ตารปู ทั้งหลาย ทเ่ี ปนอนทิ ัสสนธรรมดวยอาํ นาจของกัมมปจ จยั . ๒. อนิทัสสนธรรม เปน ปจจัยแกส นิทัสสนธรรมดวยอํานาจของกมั มปจ จยั มี ๒ อยาง คือทีเ่ ปน สหชาตะ และ นานาขณิกะ พงึ ใหพ ิสดาร. ๓. อนิทสั สนธรรม เปน ปจจัยแกส นิทัสสนธรรมและอนิทสั สนธรรม ดวยอํานาจของกมั มปจจยั มี ๒ อยา ง คอื ทีเ่ ปน สหชาตะ และ นานาขณกิ ะ พงึ ใหพสิ ดาร. ๑๔. วิปากปจ จัย ฯลฯ ๑๙. สมั ปยตุ ตปจจัย [๒๑๒] ๑. อนทิ ัสสนธรรม เปนปจ จยั แกอ นิทสั สนธรรมดว ยอาํ นาจของวิปากปจจัย มี ๓ วาระ. ฯลฯ เปน ปจจัย ดว ยอาํ นาจของอาหารปจ จยั มี ๓ วาระพึงกระทาํ กวฬีการาหาร ในแมทัง้ ๓ วาระ. ฯลฯ เปนปจ จัย ดว ยอํานาจของอินทริยปจ จยั มี ๓ วาระพึงกระทาํ รปู ชีวติ นิ ทรีย ในแมทั้ง ๓ วาระ.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 223 ฯลฯ เปน ปจ จัย ดวยอํานาจของฌานปจ จัย มี ๓ วาระ. ฯลฯ เปนปจ จยั ดวยอาํ นาจของมัคคปจจยั มี ๓ วาระ. ฯลฯ เปนปจ จยั ดว ยอํานาจของสัมปยตุ ตปจ จัย มี ๑ วาระ. ๒๐. วปิ ปยตุ ตปจ จยั [๒๑๓] ๑. อนทิ สั สนธรรม เปน ปจจัยแกอนทิ ัสสนธรรมดวยอาํ นาจของวิปปยตุ ตปจจยั มี ๓ อยา ง คือท่เี ปน สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปจ ฉาชาตะ ท่ีเปน สหชาตะ ไดแ ก ขันธทัง้ หลายท่เี ปนอนทิ ัสสนธรรม เปน ปจ จยั แกจ ติ ตสมุฏฐานรปูทงั้ หลาย ทเี่ ปนอนิทสั สนธรรม ดว ยอาํ นาจของวปิ ปยุตตปจ จยั . ในปฏสิ นธิขณะ ขันธทั้งหลายท่เี ปน อนิทัสสนธรรม เปน ปจจัยแกกฏัตตารปู ท้งั หลาย ทเี่ ปนอนิทัสสนธรรม ดวยอํานาจของวิปปยตุ ตปจ จัย. ขนั ธทง้ั หลาย เปน ปจจยั แกหทยวตั ถุ ดวยอาํ นาจของวปิ ปยุตตปจ จยั ,หทยวัตถุ เปน ปจจัยแกข ันธท ้ังหลาย ดว ยอาํ นาจของวิปปยุตตปจ จัย. ทีเ่ ปน ปเุ รชาตะ ไดแก จักขายตนะ เปน ปจ จัยแกจ กั ขวุ ญิ ญาณ ฯลฯ กายายตนะ เปน ปจ จยัแกกายวญิ ญาณ. หทยวตั ถุ เปนปจ จยั แกข ันธทัง้ หลายทเ่ี ปน อนทิ สั สนธรรม ดวยอํานาจของวิปปยตุ ตปจ จัย. ทีเ่ ปน ปจ ฉาชาตะ ไดแก

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 224 ขนั ธทั้งหลายท่ีเปนอนทิ สั สนธรรมทีเ่ กิดภายหลงั เปน ปจจัยแกกายนที้ เ่ี ปนอนิทสั สนธรรม ท่ีเกิดกอน ดวยอํานาจของวปิ ปยุตตปจจยั . ๒. อนทิ ัสสนธรรม เปนปจจัยแกส นิทัสสนธรรมดว ยอาํ นาจของวิปปยตุ ตปจ จัย มี ๒ อยา ง คอื ทเ่ี ปน สหชาตะ และ ปจฉาชาตะ ทเี่ ปน สหชาตะ ไดแ ก ขนั ธท ัง้ หลายท่ีเปน อนิทสั สนธรรม เปน ปจจัยแกจติ ตสมฏุ ฐานรูปทง้ั หลาย ท่ีเปนสนิทสั สนธรรม ดวยอํานาจของวปิ ปยตุ ตปจ จัย. ในปฏิสนธขิ ณะ ฯลฯ ทเี่ ปน ปจ ฉาชาตะ ไดแ ก ขนั ธทั้งหลายทีเ่ ปน อนทิ ัสสนธรรม ท่ีเกดิ ภายหลัง เปนปจ จยั แกก ายนีท้ เ่ี ปน สนิทสั สนธรรม ท่ีเกดิ กอ น ดวยอาํ นาจของวิปปยตุ ตปจ จยั . ๓. อนิทสั สนธรรม เปน ปจจัยแกสนิทสั สนธรรมและอนิทสั สนธรรม ดว ยอาํ นาจของวิปปยุตตปจ จยั มี ๒ อยาง คือท่เี ปน สหชาตะ และ ปจฉาชาตะ ท่เี ปน สหชาตะ ไดแ ก ขันธท ัง้ หลายท่ีเปน อนิทสั สนธรรม เปน ปจ จัยแกจิตตสมฏุ ฐานรูปท้งั หลาย ท่ีเปนสนทิ ัสสนธรรม ดว ยอาํ นาจของวิปปยุตตปจ จยั . ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ท่เี ปน ปจ ฉาชาตะ ไดแ ก ขนั ธท ง้ั หลายท่ีเปน อนทิ สั สนธรรม ทีเ่ กดิ ภายหลงั เปนปจจยั แกก ายนีท้ ี่เปน สนทิ สั สนธรรม และอนิทัสสนธรรม ท่ีเกิดกอน ดวยอาํ นาจของวิปปยุตตปจ จยั .

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 225 ๒๑. อตั ถปิ จจัย [๒๑๔] ๑. สนทิ สั สนธรรม เปนปจ จยั แกอนทิ ัสสนธรรมดวยอาํ นาจของอตั ถิปจ จัย คอื บุคคลพิจารณาเหน็ รปู ท่เี ปนสนิทัสสนธรรม โดยความเปน ของไมเ ที่ยง ฯลฯ โทมนัส ยอมเกิดข้นึ . บุคคลเห็นรูปดวยทพิ ยจกั ษุ. รปู ายตนะ เปนปจ จัยแกจ กั ขวุ ิญญาณ ดว ยอาํ นาจของอัตถิปจ จยั . ๒. อนทิ สั สนธรรม เปนปจจยั แกอ นิทสั สนธรรมดวยอํานาจของอัตถิปจ จยั มี ๕ อยาง คือท่ีเปน สหชาตะ ปุเรชาตะ ปจ ฉาชาตะ อาหาระและ อนิ ทริยะ ที่เปน สหชาตะ ไดแก ขนั ธ ๑ ทีเ่ ปน อนทิ สั สนธรรม เปนปจจยั แก ขนั ธ ๓ และจติ ต-สมฏุ ฐานรปู ทงั้ หลาย ทเ่ี ปน อนิทัสสนธรรม ดวยอํานาจของอัตถิปจ จัย ฯลฯขันธ ๒ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสตั ว. ท่ีเปน ปุเรชาตะ ไดแ ก บคุ คลพิจารณาเห็นจกั ษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเปน ของไมเท่ยี งฯลฯ โทมนสั ยอมเกิดขึ้น. บคุ คลฟงเสยี งดวยทิพโสตธาต.ุ สทั ทายตนะ เปนปจ จยั แกโสตวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เปนปจ จยั แกก ายวิญญาณ.

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 226 จักขายตนะ เปน ปจ จยั แกจักขุวญิ ญาณ ฯลฯ กายายตนะ เปนปจจัยแกก ายวิญญาณ. หทยวตั ถุ เปน ปจ จัยแกข นั ธทั้งหลายที่เปน อนทิ ัสสนธรรม ดว ยอํานาจของอัตถปิ จ จัย. ทีเ่ ปน ปจฉาชาตะ ไดแ ก ขันธทง้ั หลายท่เี ปนอนทิ ัสสนธรรมที่เกิดภายหลัง เปน ปจ จัยแกก ายน้ที ีเ่ ปนอนทิ สั สนธรรม ทเ่ี กดิ กอ น ดว ยอาํ นาจของอัตถิปจจัย. กวฬีการาหาร เปนปจจยั แกก ายนี้ทเ่ี ปน อนิทัสสนธรรม ดวยอํานาจของอัตถิปจ จยั . รูปชวี ิตินทรีย เปนปจจัยแก กฏตั ตารูปทง้ั หลาย ทีเ่ ปน อนทิ ัสสน-ธรรม ดวยอํานาจของอัตถิปจ จัย. ๓. อนิทสั สนธรรม เปน ปจจยั แกส นิทสั สนธรรมดว ยอํานาจของอัตถปิ จจัย มี ๔ อยา ง คือท่ีเปน สหชาตะ ปจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ ทีเ่ ปน สหชาตะ ไดแก ขนั ธท ั้งหลายท่เี ปน อนทิ ัสสนธรรม เปนปจ จยั แกจติ ตสมฏุ ฐานรปูทง้ั หลาย ท่ีเปนสนทิ ัสสนธรรม ดวยอํานาจของอตั ถปิ จ จยั . ในปฏสิ นธขิ ณะ ฯลฯ มหาภตู รปู ทั้งหลาย เปนปจ จยั แกจ ติ ตสมุฏฐานรปู กฏตั ตารปู ท่ีเปนอปุ าทารูปท้ังหลาย ท่เี ปน สนทิ สั สนธรรม ดว ยอํานาจของอตั ถิปจจัย.

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 227 พาหิรรปู ... อาหารสมุฏฐานรูป... อตุ ุสมฏุ ฐานรูป ฯลฯ สวนอสญั ญสตั วท ัง้ หลาย มหาภตู รูปทั้งหลาย เปน ปจ จยั แกกฏัตตารปู -ทีเ่ ปน อุปาทารปู ซงึ่ เปนสนิทสั สนธรรม ดวยอํานาจของอตั ถิปจ จยั . ท่ีเปน ปจฉาชาตะ ไดแก ขันธทง้ั หลายที่เปน อนิทัสสนธรรมทเ่ี กดิ ภายหลัง เปน ปจจัยแกก ายนี้ทเ่ี ปน สนทิ ัสสนธรรม ทีเ่ กิดกอน ดว ยอาํ นาจของอัตถปิ จ จยั . กวฬกี าราหาร เปน ปจ จัยแกก ายนี้ทเี่ ปน สนิทัสสนธรรม ดวยอาํ นาจของอตั ถิปจจัย. รปู ชีวติ นิ ทรีย เปนปจ จัยแกก ฏัตตารูปท้ังหลาย ทีเ่ ปน สนทิ สั สนธรรมดว ยอาํ นาจของอตั ถปิ จจัย. ๔. อนทิ สั สนธรรม เปนปจจัยแกสนทิ สั สนธรรมและอนิทัสสนธรรม ดวยอํานาจของอตั ถิปจ จยั มี ๔ อยา ง คือทีเ่ ปน สหชาตะ ปจ ฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ ทเี่ ปน สหชาตะ ไดแ ก ขันธ ๑ ที่เปน อนทิ สั สนธรรม เปน ปจ จยั แก ขนั ธ ๓ และจิตต-สมฏุ ฐานรปู ท้งั หลาย ทเ่ี ปนสนทิ ัสสนธรรม ดวยอํานาจของอตั ถิปจจัย ฯลฯขนั ธ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูปทงั้ หลาย เปนปจจัยแกจ ติ ตสมฏุ ฐานรูป กฏตั ตารปู ทเ่ี ปนอปุ าทารปู ทัง้ หลาย ท่ีเปน สนิทสั สนธรรม และอนทิ สั สนธรรม ดวยอาํ นาจของอัตถปิ จจยั .

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 228 พาหิรรูป... อาหารสมฏุ ฐานรปู ... อุตุสมฏุ ฐานรูป ฯลฯ สว นอสญั ญสตั วท้ังหลาย มหาภูตรูปท้งั หลาย เปนปจ จยั แกกฏตั ตารปูที่เปนอปุ าทารปู ทง้ั หลาย ทเ่ี ปน สนิทสั สนธรรม และอนิทสั สนธรรม ดวยอาํ นาจของอตั ถปิ จ จยั . ๕. สนิทสั สนธรรม และอนทิ ัสสนธรรม เปน ปจ จัยแกอนิทัสสนธรรม ดว ยอาํ นาจของอัตถปจจัย มอี ยางเดยี ว คือท่เี ปน ปเุ รชาตะ ไดแ ก รปู ายตนะ และหทยวตั ถุ เปน ปจ จยั แกขันธท ง้ั หลายท่ีเปน อนิทสั สน-ธรรม ดวยอาํ นาจของอัตถปิ จจัย. รูปายตนะ และจกั ขายตนะ เปน ปจ จัยแกจ กั ขวุ ิญญาณ ดวยอํานาจของอัตถปิ จจัย. ๒๒. นตั ถิปจ จัย ฯลฯ ๒๔. อวคิ ตปจ จยั ฯลฯ เปนปจ จัย ดว ยอาํ นาจของนัตถิปจ จัย ฯลฯ เปนปจจยั ดวยอาํ นาจของวิคตปจจยั ฯลฯ เปนปจ จยั ดวยอํานาจของอวคิ ตปจ จยั การนับจํานวนวาระในอนุโลม [๒๑๕] ในเหตุปจ จัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปจจัย มี ๒ วาระ ในอธปิ ตปิ จ จยั มี ๔ วาระ ในอนันตรปจจยั มี ๑ วาระ ในสมนนั ตรปจ จยัมี ๑ วาระ ในสหชาตปจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมญั ญปจ จยั มี ๑ วาระ ใน

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 229นสิ สยปจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนสิ สยปจ จยั มี ๒ วาระ นปุเรชาตปจ จัยมี ๓ วาระ ในปจฉาชาตปจ จยั มี ๓ วาระ ในอาเสวนปจจยั มี ๑ วาระ ในกมั มปจจัย มี ๓ วาระ ในวปิ ากปจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปจ จยั มี ๓ วาระในอนิ ทรยิ ปจ จัย มี ๓ วาระ ในฌานปจ จยั มี ๓ วาระ ในมัคคปจ จยั มี ๑ วาระในสัมปยตุ ตปจจยั มี ๑ วาระ ในวปิ ปยตุ ตปจ จัย มี ๓ วาระ ในอตั ถปิ จ จัยมี ๕ วาระ ในนตั ถิปจจัย มี ๑ วาระ ในวคิ ตปจ จยั มี ๑ วาระ ในอวคิ ตปจจยัมี ๕ วาระ. พงึ นบั อยางนี้. อนุโลมนยั จบ ปจจนียนยั การยกปจ จัยในปจ จนยี ะ [๒๑๖] ๑. สนิทัสสนธรรม เปนปจจยั แกอนทิ ัสสนธรรมดวยอาํ นาจของอารัมมณปจ จยั , เปนปจ จยั ดวยอํานาจของอปุ นสิ สย-ปจ จยั . ๒. อนทิ สั สนธรรม เปนปจ จัยแกอนทิ สั สนธรรมดวยอาํ นาจของอารัมมณปจ จัย, เปนปจจัย ดว ยอาํ นาจของสหชาต-ปจ จัย, เปน ปจ จัย ดว ยอํานาจของอุปนิสสยปจ จยั , เปนปจ จัย ดวยอํานาจของปุเรชาตปจจัย, เปนปจ จยั ดว ยอาํ นาจของปจ ฉาชาตปจจัย,

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 230เปน ปจ จยั ดวยอํานาจของกัมมปจ จยั , เปน ปจ จัย ดวยอํานาจของอาหาร-ปจจัย, เปนปจ จยั ดวยอาํ นาจของอินทรยิ ปจจัย. ๓. อนิทัสสนธรรม เปนปจจยั แกสนิทัสสนธรรมดว ยอาํ นาจของสหชาตปจ จยั , เปนปจ จยั ดว ยอํานาจของปจฉาชาต-ปจจัย, เปนปจ จยั ดวยอํานาจของกมั มปจจัย, เปน ปจ จัย ดวยอาํ นาจของอาหารปจ จยั , เปน ปจ จัย ดว ยอํานาจของอนิ ทรยิ ปจ จยั . ๔. อนิทสั สนธรรม เปนปจ จยั แกส นทิ สั สนธรรมและอนิทัสสนธรรม ดวยอํานาจของสหชาตปจ จัย, เปนปจจยั ดว ยอํานาจของปจ ฉาชาตปจ จยั , เปนปจจยั ดว ยอํานาจของกัมมปจจยั ,เปน ปจ จัย ดว ยอํานาจของอาหารปจจัย เปน ปจ จัย ดว ยอาํ นาจของอินทริยปจจยั . ๕. สนิทัสสนธรรม และอนิทสั สนธรรม เปน ปจ จยัแกอนทิ สั สนธรรม ดว ยอํานาจของปเุ รชาตปจ จัย. การนบั จํานวนวาระในปจจนยี ะ [๒๑๗] ในนเหตุปจจัย มี ๕ วาระ ในนอารมั มณปจจัย มี ๔ วาระในนอธิปตปิ จจยั มี ๕ วาระ ในนอนนั ตรปจ จัย มี ๕ วาระ ในนสมนนั ตร-ปจ จัย มี ๕ วาระ ในนสหชาตปจจัย มี ๕ วาระ ในนอญั ญมัญญปจจยั มี๕ วาระ ในนนิสสยปจ จัย มี ๔ วาระ ในนอปุ นิสสยปจจัย มี ๕ วาระ ใน-นปุเรชาตปจจยั มี ๔ วาระ ในนปจฉาชาตปจจยั มี ๕ วาระ ในปจ จัยทัง้ ปวง

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 231มี ๕ วาระ ในนสมั ปยตุ ตปจ จัย มี ๕ วาระ ในนวปิ ปยตุ ตปจ จยั มี ๔ วาระในโนนตั ถิปจ จยั มี ๔ วาระ ในโนนัตถปิ จจยั มี ๕ วาระ ในโนวิคตปจ จยัมี ๕ วาระ ในโนอวิคตปจ จัย มี ๔ วาระ. ปจ จนียนัย จบ อนุโลมปจจนยี นยั การนบั จาํ นวนวาระในอนโุ ลมปจจนยี ะ [๒๑๘] เพราะเหตุปจ จยั ในนอารมั มณปจจัย มี ๓ วาระ ...ในนอธปิ ติปจจยั มี ๓ วาระ ในนอนันตรปจ จัย มี ๓ วาระ ในนสมนนั ตร-ปจจยั มี ๓ วาระ ในนอญั ญมัญญปจจยั มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปจ จัย มี๓ วาระ ฯลฯ ในนสมั ปยตุ ตปจ จัย มี ๓ วาระ ในนวปิ ปยุตตปจ จยั มี ๑ วาระในโนนตั ถิปจ จัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปจ จัย มี ๓ วาระ. อนุโลมปจ จนยี ะ จบ ปจ จนยี านโุ ลมนัย การนับจาํ นวนวาระในปจ จนียานุโลม [๒๑๙] เพราะนเหตุปจจยั ในอารัมมณปจจัย มี ๒ วาระ... ในอธิปตปิ จ จัย มี ๔ วาระ ในอนนั ตรปจจัย มี ๑ วาระ ในสมนนั ตรปจ จยัมี ๑ วาระ ในสหชาตปจ จัย มี ๓ วาระ ในอัญญมญั ญปจ จัย มี ๑ วาระ ในนิสสยปจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนสิ สยปจจยั มี ๒ วาระ ในปเุ รชาตปจ จยั มี ๓

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 232วาระ ในปจ ฉาชาตปจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปจ จัย มี ๓ วาระ ในกมั มปจ จัยมี ๓ วาระ ในมัคคปจจัย มี ๓ วาระ ในสมั ปยตุ ตปจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยตุ ตปจจัย มี ๓ วาระ ในอตั ถิปจจัย มี ๕ วาระ ในนตั ถปิ จจัย มี ๑ วาระในวคิ ตปจจยั มี ๑ วาระ ในอวิคตปจ จยั มี ๕ วาระ. ปจจนยี านุโลม จบ สนิทัสสนทกุ ะ จบ

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 233 ๑๐. สัปปฏฆิ ทุกะ ปฏจิ จวาระ อนโุ ลมนยั ๑. เหตุปจ จยั [๒๒๐] ๑. สปั ปฏฆิ ธรรม อาศัยสปั ปฏิฆธรรม เกิดขน้ึเพราะเหตปุ จ จยั คือ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรปู ๑ ทเี่ ปน สัปปฏิฆธรรม ฯลฯ อาศยัมหาภตู รปู ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ทีเ่ ปนอุปาทารปู ทเ่ี ปน สปั ปฏิฆธรรมอาศยั มหาภตู รปู ทัง้ หลาย ทเ่ี ปนสัปปฏฆิ ธรรม. จกั ขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาศยั โผฏฐัพพายตนะ. ๒. อปั ปฏฆิ ธรรม อาศยั สปั ปฏิฆธรรม เกิดขน้ึ เพราะเหตปุ จ จัย คอื อาโปธาตุ อาศยั มหาภตู รปู ท้ังหลาย ท่ีเปน สปั ปฏฆิ ธรรม. จิตตสมฏุ ฐานรปู กฏัตตารูป ท่เี ปนอปุ าทารูป ที่เปนอปั ปฏฆิ ธรรม.อาโปธาตุ อิตถินทรยี  ฯลฯ กวฬกี าราหาร อาศัยโผฏฐัพพายตนะ. ๓. สปั ปฏิฆธรรม และอัปปฏฆิ ธรรม อาศัยสปั ปฏฆิ -ธรรม เกิดขน้ึ เพราะเหตปุ จ จยั

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 234 คือ มหาภูตรปู ๒ และอาโปธาตุ อาศัยมหาภูตรปู ๑ ทีเ่ ปนสัปปฏิฆ-ธรรม ฯลฯ มหาภูตรปู ๒ ฯลฯ. จติ ตสมุฏฐานรูป กฏตั ตารูป ทีเ่ ปนอุปาทารปู ท่ีเปน สัปปฏิฆธรรมและอปั ปฏฆิ ธรรม อาศัยมหาภูตรปู ทั้งหลาย ทีเ่ ปนสัปปฏฆิ ธรรม. จกั ขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาโปธาตุ อติ ถินทรีย กวฬกี าราหารอาศยั โผฏฐพั พายตนะ. ๔. อปั ปฏฆิ ธรรม อาศยั อปั ปฏฆิ ธรรม เกิดขึน้ เพราะเหตปุ จจยั คือ ขันธ ๓ และจติ ตสมฏุ ฐานรปู ที่เปนอปั ปฏฆิ ธรรม อาศยั ขนั ธ๑ ทเ่ี ปนอปั ปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ. ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธท ัง้ หลาย, ขนั ธท ง้ั หลาย อาศัยหทยวตั ถ.ุ จติ ตสมฏุ ฐานรปู กฏตั ตารูป ท่เี ปนอุปาทารูป ทเ่ี ปนอัปปฏิฆธรรมอาศัยอาโปธาตุ. อิตถนิ ทรีย กวฬกี าราหาร อาศยั อาโปธาตุ. ๕. สปั ปฏิฆธรรม อาศัยอปั ปฏฆิ ธรรม เกดิ ข้ึน เพราะเหตุปจ จัย คอื จิตตสมฏุ ฐานรูป ที่เปนสปั ปฏฆิ ธรรม อาศยั ขันธท ั้งหลาย ท่ีเปนอปั ปฏฆิ ธรรม. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูปท้งั หลาย ที่เปนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาต.ุ

พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 235 จติ ตสมฏุ ฐานรูป กฏัตตารปู ทีเ่ ปนอุปาทารปู ทีเ่ ปนสปั ปฏฆิ ธรรมอาศยั อาโปธาต.ุ จักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ อาศัยอาโปธาตุ. ๖. สปั ปฏฆิ ธรรม และอัปปฏิฆธรรม อาศยั อปั ปฏิฆ-ธรรม เกิดขน้ึ เพราะเหตุปจ จยั คอื ขันธ ๓ และจิตตสมฏุ ฐานรูป ทเ่ี ปน สัปปฏิฆธรรม และอปั ปฏฆิ -ธรรม อาศัยขนั ธ ๑ ทีเ่ ปน อปั ปฏิฆธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธขิ ณะ ฯลฯ จติ ตสมุฏฐานรูป กฏตั ตารปู ทีเ่ ปนอปุ าทารูป ท่ีเปน สัปปฏิฆธรรมและอัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาต.ุ จักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐพั พายตนะ อติ ถินทรีย กวฬกี าราหาร อาศัยอาโปธาตุ. ๗. สปั ปฏิฆธรรม อาศัยสปั ปฏฆิ ธรรม และอัปปฏฆิ -ธรรม เกดิ ข้นึ เพราะเหตุปจจัย คือ จิตตสมฏุ ฐานรปู ทเี่ ปน สัปปฏฆิ ธรรม อาศยั ขันธทง้ั หลายทีเ่ ปนอัปปฏิฆธรรม และมหาภตู รปู ท้ังหลาย. ในปฏสิ นธิขณะ มหาภูตรปู ๒ อาศัยมหาภตู รูป ๑ ทีเ่ ปน สัปปฏิฆธรรมและอาโปธาตุ ฯลฯ. จติ ตสมุฏฐานรปู กฏัตตารูปท่เี ปน อปุ าทารปู ที่เปน สัปปฏฆิ ธรรมอาศยั มหาภตู รปู ทงั้ หลาย ที่เปนสปั ปฏฆิ ธรรม และอาโปธาตุ.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 236 จกั ขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาศยั โผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาต.ุ ๘. อัปปฏิฆธรรม อาศยั สัปปฏฆิ ธรรม และอัปปฏิฆ-ธรรม เกดิ ขึน้ เพราะเหตุปจจยั คือ จิตตสมุฏฐานรปู ท่เี ปน อัปปฏฆิ ธรรม อาศัยขนั ธท้ังหลายทีเ่ ปนสปั ปฏิฆธรรม และมหาภตู รูปท้ังหลาย. ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารปู ทเ่ี ปน อปั ปฏิฆธรรม อาศยั ขนั ธท ง้ั หลายท่เี ปนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรปู ทง้ั หลาย. จติ ตสมฏุ ฐานรปู กฏตั ตารปู ที่เปนอปุ าทารปู ทเ่ี ปนอัปปฏฆิ ธรรมอาศยั โผฏฐพั พายตนะ และอาโปธาตุ. อติ ถินทรีย กวฬกี าราหาร อาศัยโผฏฐพั พายตนะ และอาโปธาตุ. ๙. สปั ปฏฆิ ธรรม และอัปปฏฆิ ธรรม อาศยั สปั ปฏฆิ -ธรรมและอปั ปฏิฆธรรม เกิดข้นึ เพราะเหตปุ จ จัย คอื จิตตสมฏุ ฐานรปู ท่เี ปน สัปปฏฆิ ธรรม และอัปปฏิฆธรรม อาศยัขนั ธท ง้ั หลาย ทเี่ ปน อปั ปฏฆิ ธรรม และมหาภตู รปู ทั้งหลาย. ในปฏิสนธขิ ณะ กฏัตตารูป ท่เี ปนสปั ปฏิฆธรรม และอปั ปฏิฆธรรมอาศยั ขันธทง้ั หลาย ที่เปนอปั ปฏฆิ ธรรม และมหาภตู รูปท้ังหลาย. จิตตสมฏุ ฐานรูป กฏัตตารปู ที่เปน อุปาทารูป ทีเ่ ปน สปั ปฏฆิ ธรรมและอัปปฏิฆธรรม อาศยั โผฏฐพั พายตนะ และอาโปธาตุ. จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อิตถินทรีย กวฬกี าราหาร อาศัยโผฏฐพั พายตนะ และอาโปธาตุ.

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 237 ๒. อารัมมณปจ จัย [๒๒๑] ๑. อปั ปฏฆิ ธรรม อาศัยอัปปฏฆิ ธรรม เกิดขึน้เพราะอารมั มณปจ จยั คือ ขันธ ๓ อาศยั ขนั ธ ๑ ทเี่ ปน อัปปฏฆิ ธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯในปฏสิ นธขิ ณะ ขันธท ้ังหลาย อาศยั หทยวตั ถ.ุ ๓. อธิปตปิ จจัย [๒๒๒] ๑. สัปปฏิฆธรรม อาศัยสัปปฏิฆธรรม เกดิ ขน้ึเพราะอธปิ ตปิ จจัย พึงเวนปฏสิ นธิ และกฏตั ตารูป. ๔. อนันตรปจจยั ฯลฯ ๖. สหชาตปจจยั ฯลฯ เพราะอนันตรปจ จยั ฯลฯ เพราะสมนนั ตรปจจัย ฯลฯ เพราะสหชาตปจ จยั พงึ กระทาํ มหาภูตรปู ทั้งหมด. ๗. อัญญมญั ญปจจยั [๒๒๓] ๑. สัปปฏิฆธรรม อาศยั สัปปฏฆิ ธรรม เกดิ ขน้ึ เพราะอัญญมญั ญปจ จยั คือ มหาภตู รปู ๒ อาศยั มหาภูตรูป ๑ ทีเ่ ปนสัปปฏฆิ ธรรม ฯลฯ อาศยัมหาภตู รปู ๒.

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 238 ๒. อปั ปฏฆิ ธรรม อาศัยสัปปฏฆิ ธรรม เกิดข้ึน เพราะอญั ญมัญญปจจัย คอื อาโปธาตุ อาศยั มหาภตู รูปท้ังหลาย ทเ่ี ปน สปั ปฏฆิ ธรรม. ๓. สัปปฏิฆธรรม และอัปปฏฆิ ธรรม อาศัยสปั ปฏิฆ-ธรรม เกิดขนึ้ เพราะอญั ญมัญญปจจยั คือ มหาภตู รูป ๒ และอาโปธาตุ อาศัยมหาภตู รูป ๑ ท่ีเปน สัปปฏิฆ-ธรรม ฯลฯ มหาภูตรปู ๒ ฯลฯ ๔. อปั ปฏิฆธรรม อาศัยอปั ปฏฆิ ธรรม เกิดข้ึนเพราะอัญญมญั ญปจจยั คือ ขันธ ๓ อาศยั ขนั ธ ๑ ทีเ่ ปน อปั ปฏฆิ ธรรม ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธขิ ณะ หทยวัตถุ อาศัยขนั ธทัง้ หลาย, ขันธท ้ังหลาย อาศยัหทยวัตถ.ุ ๕. สปั ปฏฆิ ธรรม อาศยั อปั ปฏฆิ ธรรม เกิดขน้ึเพราะอัญญมญั ญปจจัย คือ มหาภูตรูปท้ังหลาย ทเ่ี ปน สปั ปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ. พงึ กระทาํ อชั ฌตั ติกพาหริ มหาภูตรูปเหลา น้ี. ๖. สปั ปฏฆิ ธรรม อาศัยสัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆ-ธรรม เกิดข้นึ เพราะอญั ญมญั ญปจ จัย คือ มหาภูตรปู ๒ อาศยั มหาภูตรูป ๑ ท่ีเปน สัปปฏฆิ ธรรม และอาโปธาตุ ฯลฯ.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 239 ๘. นสิ สยปจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปจจัย ฯลฯ เพราะนิสสยปจ จัย ฯลฯ เพราะอวคิ ตปจจัย การนับจํานวนวาระในอนโุ ลม [๒๒๔] ในเหตปุ จ จัย มี ๙ วาระ ในอารมั มณปจ จยั มี ๑ วาระในอธปิ ติปจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปจ จัย มี ๑ วาระ ในสมนนั ตรปจจัยมี ๑ วาระ ในสหชาตปจ จัย มี ๙ วาระ ในอัญญมญั ญปจจัย มี ๖ วาระในนสิ สยปจจยั มี ๙ วาระ ในอุปนสิ สยปจ จยั มี ๑ วาระ ในปุเรชาตปจ จัยมี ๑ วาระ ในอาเสวนปจจัย มี ๑ วาระ ในกมั มปจจยั มี ๙ วาระ ในวิปากปจ จัย มี ๙ วาระ ในอาหารปจจัย มี ๙ วาระ ในอนิ ทริยปจ จยั มี ๙วาระ ในฌานปจจยั มี ๙ วาระ ในมคั คปจ จยั มี ๙ วาระ ในสมั ปยุตต-ปจจยั มี ๑ วาระ ในวปิ ปยุตตปจ จัย มี ๙ วาระ ในอตั ถิปจจัย มี ๙ วาระในนัตถิปจจยั มี ๑ วาระ ในวิคตปจ จยั มี ๑ วาระ ในอวิคตปจจยั มี ๙วาระ. อนุโลมนัย จบ ปจจนยี นยั ๑. เหตุปจ จัย [๒๒๕] ๑. สัปปฏิฆธรรม อาศยั สปั ปฏิฆธรรม เกดิ ข้นึเพราะนเหตปุ จ จัย มี ๓ วาระ (วาระท่ี ๑-๓)

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 240 ๔. อปั ปฏิฆธรรม อาศัยอปั ปฏฆิ ธรรม เกดิ ขน้ึเพราะนเหตุปจ จยั คอื ขนั ธ ๓ และจิตตสมฏุ ฐานรูป ท่เี ปน อัปปฏฆิ ธรรม อาศัยขนั ธ ๑ทีเ่ ปนอปั ปฏฆิ ธรรม ซ่งึ เปนอเหตกุ ะ ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏสิ นธขิ ณะ หทยวัตถุ อาศยั ขนั ธท ง้ั หลาย, ขนั ธทั้งหลายอาศยั หทยวัตถ.ุ จติ ตสมุฏฐานรูป กฏัตตารปู ท่ีเปนอปุ าทารปู ที่เปน อปั ปฏฆิ ธรรมอาศัยอาโปธาตุ. อติ ถนิ ทรีย กวฬกี าราหาร อาศัยอาโปธาตุ. พาหิรรูป... อาหารสมฏุ ฐานรปู ... อตุ ุสมฏุ ฐานรูป ฯลฯ. สว นอสัญญสตั วทง้ั หลาย กฏตั ตารูป ที่เปนอปุ าทารูป ที่เปน อัปปฏิฆ-ธรรม อาศัยอาโปธาต.ุ โมหะ ทส่ี หรคตดว ยวจิ ิกจิ ฉา ทสี่ หรคตดวยอทุ ธจั จะ อาศยั ขันธทง้ั หลายที่สหรคตดว ยวจิ กิ ิจฉา ทส่ี หรคตดว ยอุทธจั จะ อปั ปฏฆิ มลู กนัย พงึ กระทาํ เปน ๒ วาระ แมนอกน,ี้ แมใ นปจ จยัสงเคราะห กพ็ ึงกระทาํ เปน ๓ วาระ อัชฌตั ตกิ มหาภูตรปู และพาหิรมหาภตู รปูทง้ั หมด ผมู ปี ญ ญารูแลว พึงกระทาํ . ๒. นอารัมมณปจ จยั ฯลฯ ๒๐. โนวคิ ตปจ จัย [๒๒๖] ๑. สปั ปฏิฆธรรม อาศัยสัปปฏิฆธรรม เกิดขึน้เพราะนอารมั มณปจจยั ฯลฯ.

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 241 ฯลฯ เพราะโนวคิ ตปจ จัย การนบั จํานวนวาระในปจจนยี ะ [๒๒๗] ในนเหตุปจจัย มี ๙ วาระ ในนอารมั มณปจ จัย มี ๙ วาระในนอธิปตปิ จ จัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปจจยั มี ๙ วาระ ในนสมนันตร-ปจ จยั มี ๙ วาระ ในนอัญญมัญญปจจยั มี ๙ วาระ ในอปุ นิสสยปจ จัยมี ๙ วาระ ในนปเุ รชาตปจ จัย มี ๙ วาระ ในนปจฉาชาตปจ จยั มี ๙ วาระในนอาเสวนปจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปจจยั มี ๙ วาระ ในนวิปากปจจัยมี ๙ วาระ ในนอาหารปจ จยั มี ๙ วาระ ในนอินทริยปจจยั มี ๙ วาระ ในนฌานปจจยั มี ๙ วาระ ในนมคั คปจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยตุ ตปจ จัยมี ๙ วาระ ในนวปิ ปยตุ ตปจจยั มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปจ จยั มี ๙ วาระ ในโนวคิ ตปจ จัย มี ๙ วาระ. ปจจนยี นัย จบ อนโุ ลมปจ จนยี นัย การนบั จ านวนวาระในอนุโลมปจ จนยี ะ [๒๒๘] เพราะเหตุปจ จัย ในนอารมั มณปจจัย มี ๙ วาระ... ในนอธปิ ติปจ จัย มี ๙ วาระ ในนอนนั ตรปจ จัย มี ๙ วาระ ในนสมนนั ตรปจ จยัมี ๙ วาร ะ ในนอัญญมัญญปจจยั มี ๙ วาระ ในนอุปนิสสยปจจัย มี ๙ วาระในนปเุ รชาตปจจยั มี ๙ วาระ ในนปจฉาชาตปจจยั มี ๙ วาระ ในนอาเสวน-

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 242ปจ จัย มี ๙ วาระ ในนกมั มปจ จัย มี ๑ วาระ ในนวปิ ากปจจยั มี ๙ วาระในนสัมปยุตตปจ จยั มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปจ จยั มี ๑ วาระ ในโนนัตถิ-ปจ จยั มี ๙ วาระ ในโนวคิ ตปจ จยั มี ๙ วาระ. อนุโลมปจ จนียนยั จบ ปจ จนียานโุ ลมนัย การนับจํานวนวาระในปจจนียานุโลม [๒๒๙] เพราะนเหตุปจ จยั ในอารัมมณปจจัย มี ๑ วาระ...ในอนันตรปจ จยั มี ๑ วาระ ในสมนันตรปจจยั มี ๑ วาระ ในสหชาตปจ จยัมี ๙ วาระ ในอญั ญมัญญปจ จัย มี ๖ วาระ ในนสิ สยปจ จัย มี ๙ วาระ ในอปุ นสิ สยปจจยั มี ๑ วาระ ในปเุ รชาตปจจัย มี ๑ วาระ ในอาเสวนปจจยั มี ๑วาระ ในกมั มปจจยั มี ๙ วาระ ฯลฯ ในมคั คปจ จยั มี ๑ วาระ ในสมั ปยุตต-ปจ จยั มี ๑ วาระ ในวปิ ปยุตตปจจัย มี ๙ วาระ ในอตั ถปิ จจยั มี ๙ วาระในนัตถิปจจยั มี ๑ วาระ ในวคิ ตปจจัย มี ๑ วาระ ในอวคิ ตปจจยั มี ๙ วาระ. ปจจนยี านโุ ลมนยั จบ แมส หชาตวาระ ก็เหมอื นกับ ปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 243 ปจจยวาระ อนโุ ลมนยั ๑. เหตปุ จจัย [๒๓๐] ๑. สปั ปฏฆิ ธรรม อาศยั สปั ปฏฆิ ธรรม เกดิ ขึน้เพราะเหตุปจ จัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑-๓) ๔. อปั ปฏิฆธรรม อาศัยอปั ปฏิฆธรรม เกิดขน้ึเพราะเหตุปจ จัย คอื ขนั ธ ๓ และจิตตสมฏุ ฐานรูป ทเ่ี ปนอัปปฏิฆธรรม อาศยั ขันธ ๑ที่เปน อัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ ๒ ฯลฯ ในปฏสิ นธขิ ณะ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ทีเ่ ปน อปุ าทารปู ทเี่ ปน อัปปฏฆิ ธรรมอาศยั อาโปธาต.ุ อติ ถินทรยี  กวฬกี าราหาร อาศัยอาโปธาตุ ขนั ธทงั้ หลายทีเ่ ปนอัปปฏิฆธรรม อาศยั หทยวัตถุ. ๕ วาระ ทีเ่ หลอื เหมอื นกับปฏจิ จวาระ. ๒. อารัมมณปจ จยั [๒๓๑] ๑. อัปปฏฆิ ธรรม อาศยั สัปปฏฆิ ธรรม เกดิ ขนึ้เพราะอารมั มณปจ จัย

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 244 คอื จกั ขุวิญญาณ อาศยั จักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศยักายายตนะ. ๒. อัปปฏฆิ ธรรม อาศยั อัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้นเพราะอารมั มณปจ จัย คอื ขันธ ๓ อาศัยขนั ธ ๑ ที่เปน อปั ปฏิฆธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ในปฏสิ นธิขณะ ขนั ธท ัง้ หลายที่เปนอัปปฏฆิ ธรรม อาศัยหทยวัตถุ. ๓. อัปปฏิฆธรรม อาศยั สปั ปฏฆิ ธรรม และอัปปฏฆิ -ธรรม เกดิ ข้ึน เพราะอารัมมณปจจยั คอื ขันธ ๓ อาศยั ขนั ธ ๑ ทส่ี หรคตดวยจักขุวญิ ญาณ และจักขายตนะฯลฯ ขันธ ๓ อาศัยขันธ ๑ ที่สหรคตดวยกายวญิ ญาณ และกายายตนะ. ๓. อธปิ ติปจ จัย ฯลฯ ๒๓. อวคิ ตปจ จัย ฯลฯ เพราะอธิปติปจ จยั ฯลฯ เพราะอวคิ ตปจจัย การนับจ านวนวาระในอนโุ ลม [๒๓๒] ในเหตปุ จ จยั มี ๙ วาระ ในอารมั มณปจ จยั มี ๓ วาระในอธปิ ตปิ จ จยั มี ๙ วาระ ในอนนั ตรปจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปจ จัยมี ๓ วาระ ในสหชาตปจจยั มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปจ จัย มี ๖ วาระ ในนสิ สยปจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนสิ สยปจ จัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปจ จัย มี ๓

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 245วาระ ในอาเสวนปจ จยั มี ๑ วาระ ในกมั มปจ จยั มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคต-ปจจัย มี ๙ วาระ แมการนบั ปจจนยี ะ กพ็ งึ กระทําอยางนี.้ แมน ิสสยวาระก็เหมือนกบั ปจ จยวาระ. แมในสังสัฏฐวาระทั้งหมด แตล ะปจ จัย มี ๑ วาระ. ฯลฯ เพราะอวคิ ตปจจัย ก็มี ๑ วาระ เทานน้ั . แมวาระทง้ั สอง (สหชาตวาระ และ สัมปยตุ ตวาระ) ก็พึงกระทาํ .

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 246 ปญ หาวาระ อนโุ ลมนัย ๑. เหตปุ จ จัย [๒๓๓] ๑. อัปปฏิฆธรรม เปนปจจัยแกอปั ปฏิฆธรรม ดวยอํานาจของเหตุปจจยั คือ เหตทุ ้ังหลายท่ีเปนอัปปฏิฆธรรม เปน ปจ จยั แกส ัมปยตุ ตขนั ธและจติ ตสมุฏฐานรูปทัง้ หลาย ทีเ่ ปน อปั ปฏิฆธรรม ดว ยอํานาจของเหตปุ จ จัย. ในปฏสิ นธขิ ณะ ฯลฯ ๒. อัปปฏฆิ ธรรม เปนปจ จัยแกสปั ปฏิฆธรรม ดว ยอํานาจของเหตปุ จ จยั คอื เหตทุ ง้ั หลายท่เี ปน อปั ปฏิฆธรรม เปนปจจยั แกจ ติ ตสมุฏฐานรูปทง้ั หลาย ทเ่ี ปน สปั ปฏิฆธรรม ดว ยอํานาจของเหตปุ จจัย. ในปฏิสนธขิ ณะ ฯลฯ ๓. อัปปฏฆิ ธรรม เปนปจ จยั แกส ัปปฏิฆธรรม และอปั ปฏฆิ ธรรม ดว ยอํานาจของเหตปุ จจยั คอื เหตทุ ้งั หลายทเี่ ปนอัปปฏฆิ ธรรม เปนปจจัยแกสมั ปยุตตขนั ธและจิตตสมุฏฐานรูปทัง้ หลาย ทีเ่ ปน สัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม ดวยอาํ นาจของเหตุปจ จยั . ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 247 ๒. อารมั มณปจจยั [๒๓๔] ๑. สปั ปฏฆิ ธรรม เปน ปจ จยั แกอ ปั ปฏฆิ ธรรม ดวยอํานาจของอารมั มณปจจยั คอื บุคคลพจิ ารณาเห็นจกั ษุ ฯลฯ โผฏฐัพพะทัง้ หลาย โดยความเปนของไมเทีย่ ง ฯลฯ โทมนสั ยอ มเกิดข้ึน. บุคคลเห็นรูปดว ยทิพยจักษุ ฟงเสยี งดวยทพิ โสตธาต.ุ รูปายตนะ เปนปจ จยั แกจ กั ขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐพั พายตนะ เปน ปจจัยแกกายวญิ ญาณ. ขนั ธท ัง้ หลายที่เปน สปั ปฏฆิ ธรรม เปนปจจยั แกอ ทิ ธวิ ิธญาณ แกปพุ เพนวิ าสานสุ สติญาณ แกอ นาคตังสญาณ แกอาวัชชนะ ดวยอํานาจของอารัมมณปจจยั . ๒. อัปปฏฆิ ธรรม เปนปจจยั แกอัปปฏิฆธรรม ดวยอํานาจของอารัมมณปจ จัย คือ บคุ คลใหทาน ฯลฯ ศลี ฯลฯ กระทําอุโบสถกรรม ฯลฯ แลวพจิ ารณาซ่งึ กศุ ลกรรมนั้น. บุคคลพจิ ารณาซึ่งกุศลกรรมทง้ั หลายทเ่ี คยสัง่ สมไวแลว ในกาลกอน. บุคคลออกจากฌาน แลว พิจารณาฌาน. พระอริยะทง้ั หลายออกจากมรรคแลว พิจารณามรรค, พจิ ารณาผล,พิจารณานิพพาน. นิพพาน เปน ปจ จัยแกโ คตรภ,ู แกโ วทาน, แกม รรค, แกผล, แกอาวชั ชนะ ดว ยอาํ นาจของอารัมมณปจจัย.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 248 พระอรยิ ะทง้ั หลายพิจารณากเิ ลสทีล่ ะแลว, กเิ ลสทขี่ ม แลว, รูซึง่ กิเลสทง้ั หลายท่เี คยเกิดขึ้นแลว ในกาลกอน. บคุ คลพจิ ารณาเห็นหทยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรยี  ปุริสนิ ทรีย ชวี ติ นิ ทรียอาโปธาตุ ฯลฯ กวฬีการาหาร โดยความเปนของไมเทีย่ ง ฯลฯ โทมนสั ยอมเกิดข้ึน. บุคคลรูจติ ของบคุ คลผูพรอมเพรียงดวยจติ ที่เปน อปั ปฏิฆธรรม ดว ยเจโตปรยิ ญาณ. อากาสานญั จายตนะ เปนปจจัยแกวิญญาณญั จายตนะ, อากิญจญั ญา-ยตนะเปนปจ จัยแกเ นวสญั ญานาสญั ญายตนะ. ขนั ธท ั้งหลายทเ่ี ปน อัปปฏิฆธรรม เปน ปจจัยแกอ ิทธิวธิ ญาณ แกเจโต-ปริยญาณ, แกปพุ เพนิเวสานสุ สติญาณ, แกย ถากัมมูปคญาณ, แกอ นาคตงั ส-ญาณ, แกอาวัชชนะ ดวยอํานาจของอารมั มณปจ จัย. ๓. อธิปติปจ จยั [๒๓๕] ๑. สปั ปฏฆิ ธรรม เปน ปจจยั แกอ ปั ปฏฆิ ธรรม ดว ยอาํ นาจของอธปิ ตปิ จจัย มีอยา งเดยี ว คือทีเ่ ปน อารัมมณาธิปติ ไดแ ก บุคคล ยอมยินดี ยอมเพลิดเพลนิ ยิ่ง เพราะกระทาํ จักษุ ฯลฯโผฏฐัพพะทง้ั หลายใหเ ปนอารมณอ ยา งหนกั แนน ครน้ั กระทาํ จักษเุ ปน ตนน้นัใหเ ปน อารมณอยางหนกั แนนแลว ราคะ ยอ มเกิดขึ้น ทฏิ ฐิ ยอ มเกดิ ข้ึน.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 249 ๒. อัปปฏฆธรรม เปน ปจจัยแกอัปปฏิฆธรรม ดวยอ านาจของอธปิ ติปจจัย มี ๒ อยาง คือทเี่ ปน อารัมมณธปิ ติ และ สหชาตาธปิ ติ ท่เี ปน อารัมมณาธปิ ติ ไดแ ก ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ แลว กระทํากศุ ลกรรมนนั้ ใหเปน อารมณอยา งหนกั แนน ฯลฯ กศุ ลกรรมทั้งหลายที่เคยส่ังสมไวแลวในกาลกอ น ฯลฯ ออกจากฌานแลว กระทําฌานใหเปน อารมณอ ยางหนักแนนแลวพจิ ารณา. พระอริยะท้งั หลายออกจากมรรคแลว กระทาํ มรรคใหเ ปนอารมณอยางหนกั แนน ฯลฯ. นพิ พาน เปนปจจยั แกโคตรภ,ู แกโวทาน, แกมรรค, แกผ ล ดวยอํานาจของอธปิ ติปจจยั . บุคคลยอมยนิ ดี ยอมเพลิดเพลินยงิ่ เพราะกระทาํ หทยวัตถุ ฯลฯอิตถินทรยี  ปรุ ิสินทรยี  ชีวติ นิ ทรยี  อาโปธาตุ ฯลฯ กวฬกี าราหารใหเ ปนอารมณอ ยางหนกั แนน ครัน้ กระทาํ หทยวัตถเุ ปนตนนั้นใหอารมณอยา งหนักแนน แลว ราคะ ยอมเกิดข้นึ ทิฏฐิ ยอ มเกดิ ขน้ึ . ท่เี ปน สหชาตาธปิ ติ ไดแก อธิปติธรรมทเ่ี ปนอัปปฏิฆธรรม เปนปจ จยั แกส มั ปยุตตขนั ธ และจิตตสมฏุ ฐานรูปทัง้ หลาย ทเ่ี ปน อัปปฏิฆธรรม ดวยอํานาจของอธปิ ตปิ จ จยั .

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 250 ๓. อปั ปฏฆิ ธรรม เปนปจจยั แกสัปปฏฆิ ธรรม ดว ยอาํ นาจของอธิปตปิ จ จยั มอี ยางเดียว คือท่เี ปน สหชาตาธิปติ ไดแก คอื อธปิ ตธิ รรมท่ีเปนอัปปฏิฆธรรม เปนปจ จยั แกจิตตสมฏุ ฐานรปูทง้ั หลาย ทเ่ี ปนสัปปฏฆิ ธรรม ดวยอาํ นาจของอธปิ ติปจ จัย. ๔. อัปปฏิฆธรรม เปนปจ จัยแกสปั ปฏิฆธรรม และอัปปฏฆิ ธรรม ดว ยอํานาจของอธิปตปิ จจยั มอี ยา งเดยี ว คอื ที่เปน สหชาตาธิปติ ไดแก อธปิ ตธิ รรมทเ่ี ปนอัปปฏฆิ ธรรม เปนปจ จัยแกสัมปยตุ ตขันธ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ท่เี ปนสัปปฏฆิ ธรรม และอัปปฏิฆธรรม ดวยอํานาจของอธิปติปจจัย ๔. อนนั ตรปจจัย [๒๓๖] ๑. อัปปฏฆิ ธรรม เปนปจ จยั แกอ ปั ปฏิฆธรรม ดว ยอํานาจของอนันตรปจ จยั คอื ขันธทั้งหลายทีเ่ ปน อัปปฏิฆธรรม ท่ีเกดิ กอน ๆ ฯลฯ เปนปจจยัแกผลสมาบัติ ดว ยอํานาจของอนันตรปจ จัย. ๕. สมนันตรปจจัย [๒๓๗] ๑. อัปปฏฆิ ธรรม เปน ปจ จยั แกอ ัปปฏิฆธรรม ดว ยอาํ นาจของสมนันตรปจจัย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook