Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_34

tripitaka_34

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:35

Description: tripitaka_34

Search

Read the Text Version

พระสตุ ตนั ตปฎก องั คุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 101ตง้ั ตน (เทศนา) ชือ่ วา เบ้ืองตน ทามกลางแหง กถา ช่ือวา ทา มกลาง ตอนจบ ชอ่ื วา ทีส่ ุด. ภกิ ษเุ หลานั้น เมือ่ กลา วธรรมแกบ ุคคลนน้ั อยางน้ี ชอ่ื วากลา วทําใหง าม คอื ใหเจริญ ไดแ กไมม ีโทษเลย ทงั้ ในวาระเริ่มตน ทง้ั ในวาระทา มกลาง ทัง้ ในวาระท่ีสุด. อนง่ึ ในสูตรน้ีมีเบื้องตน ทามกลาง และทส่ี ดุ แหง เทศนา และมเี บ้ืองตน ทามกลาง และท่สี ุดแหงสาสนธรรม. บรรดาเทศนาและสาสนธรรมทัง้ สองน้นั (จะกลา ว) เทศนากอ น บทแรก ของคาถา ๔ บทเปน เบอ้ื งตน บททงั้ สองเปน ทามกลาง (และ) บทสุดทายเปนท่ีสดุ สําหรบั พระสตู รทีม่ ีอนสุ นธิเดยี ว นทิ านเปนเบ้อื งตน อนสุ นธเิ ปนทามกลาง ตอนจบพระสูตรทว่ี า อิทมโวจ เปนทีส่ ดุ . สาํ หรับพระสูตรทม่ี อี นุสนธิหลายอนสุ นธิ อนสุ นธทิ ี่ ๑ เปนเบ้ืองตนมากกวา นนั้ ไป หนึง่ หรอื หลายอนุสนธเิ ปนทามกลาง อนสุ นธิสุดทายเปนที่สุด. นเี้ ปน นยั แหง เทศนากอน. สวนสาสนธรรม ศีลเปน เบอื้ งตน สมาธเิ ปน ทา มกลาง วิปส สนาเปนทสี ดุ . อกี อยา งหน่ึง สมาธิเปนเบื้องตน วปิ ส สนาเปนทา มกลาง มรรคเปนทสี่ ุด. อีกอยางหนึ่ง วปิ สสนาเปน เบื้องตน มรรคเปนทา มกลาง ผลเปนท่ีสุด. อกี อยา งหนงึ่ มรรคเปน เบอื้ งตน ผลเปน ทามกลาง นพิ พานเปน ท่สี ุด.อกี อยางหนงึ่ เมอ่ื ทําธรรมใหเ ปน คู ๆ กัน ศลี กบั สมาธิเปน เบื้องตน วิปส สนากับมรรค เปน ทามกลาง ผลกบั นิพพาน เปน ทส่ี ุด. บทวา สาตฺถ ความวา ภิกษุท้ังหลายแสดงธรรมใหมปี ระโยชน.บทวา สพฺยฺชน ความวา แสดงธรรมใหอักษรบรบิ รู ณ. บทวา เกวล-ปริปุณณฺ  ความวา แสดงธรรมใหบรบิ ูรณท้ังหมด คอื ไมข าด. บทวา

พระสตุ ตันตปฎ ก องั คตุ รนิกาย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 102ปรสิ ทุ ฺธ ความวา แสดงธรรมใหบ ริสทุ ธิ์ คือไมใหยุงเหยิงไมม เี งอ่ื นงาํ .บทวา พฺรหมฺ จรยิ  ปกาเสนฺติ ความวา และเม่ือแสดงอยางนั้น ชื่อวาประกาศอรยิ มรรคมอี งค ๘ ซึ่งสงเคราะหดว ยไตรสิกขา อันเปน จรยิ าที่ประเสรฐิ ทส่ี ุด. บทวา เนวาทึ มนสิกโรติ ความวา เรม่ิ ตนเทศนก ็ไมใสใ จ. บทวา กมุ โฺ ภ แปลวา หมอ . บทวา นิกุชฺโช คอื วางคว่าํ ปากลง.ในบทวา เอวเมว โข น้ี พงึ ทราบวนิ จิ ฉยั ดงั ตอไปนี้ บคุ คลผมู ีปญญาต่าํพึงเหน็ เหมอื นหมอคว่าํ ปากลง. เวลาทีไ่ ด (ฟง) พระธรรมเทศนา พงึ เหน็เหมอื นเวลาทเี่ ทน้ํา (บนกนหมอ ). เวลาทบี่ คุ คลนัง่ อยบู นอาสนะน้นั ยงั ไมสามารถเรยี นเอาได พงึ เหน็ เหมอื นเวลาทน่ี ํา้ ไหลออกไปหมด. เวลาทีบ่ ุคคลผูน นั้ ลกุ ข้นึ แลว จําไมไ ด พึงเหน็ เหมือนเวลาท่นี ้ําไมข งั อยู (บนกน หมอ ).บทวา อากณิ ฺณานิ แปลวา ที่เกบ็ ไว. บทวา สติสมโฺ มสาย ปกเิ รยฺยความวา (ของควรเคย้ี วนัน้ ) พึงตกเกล่ือนไป เพราะความเปน ผูเผลอตวั . ในบทวา เอวเมว โข นี้ พงึ ทราบวินิจฉยั ดังตอไปนี้ บุคคลผูมีปญญาดังตัก พึงเห็นเหมอื นตัก. พระพทุ ธพจนม ีประการตาง ๆ พงึ เห็นเหมือนของกนิ ชนิดตาง ๆ. เวลาที่บคุ คลนัง่ เรยี นอยบู นอาสนะนน้ั พึงเห็นเหมือนเวลาท่ีบคุ คลนั่งเคี้ยว ของเคย้ี วชนดิ ตา ง ๆ (ท่ีอย)ู บนตัก. เวลาท่ีบุคคลลกุ จากอาสนะนั้นมาแลว จาํ ไมไ ด พึงเห็นเหมือนเวลาทบี่ คุ คลลุกขึ้นทาํ ของหกเรย่ี ราด เพราะเผลอตวั . บทวา อุกกฺ ุชโฺ ช ไดแก(หมอ ) วางหงายปากข้นึ . บทวา สณฺ าติคือ น้าํ ยอ มขงั อยู.

พระสตุ ตันตปฎ ก องั คุตรนิกาย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 103 ในบทวา เอวเมว โข น้ี พึงทราบวินจิ ฉัยดงั ตอไปนี้ บคุ คลผูมีปญ ญามาก พงึ เหน็ เหมอื นหมอทวี่ างหงายปากข้ึน. เวลาที่ไดฟงเทศนา พึงเห็นเหมือนเวลาทเี่ ทนา้ํ ลง. เวลาทบ่ี คุ คลนั่งเรียนอยบู นอาสนะน้นั พงึ เหน็เหมือนเวลาที่นํ้าขังอย.ู เวลาท่ีบคุ คลลกุ ขึน้ เดินไป ยงั จําไดพึงเห็นเหมือนเวลาท่นี ํ้าไมไ หลออกไป. บทวา ทุมฺเมโธ ไดแก ไมมีปญญา. บทวา อวจิ กขฺ โณ ไดแ กขาดปญญาเครอื่ งจัดการ. บทวา คนตฺ า ไดแก มกี ารไปเปน ปกติ. บทวาเสยโฺ ย เอเตน วจุ ฺจติ ความวา (บุคคลผมู ีปญญาดงั ตกั ) พระพุทธเจาตรัสวา ยอดเยี่ยมกวาบคุ คลนั้น (คอื คนปญ ญาดงั หมอ ควา่ํ ). บทวา ธมฺมานุธมมฺ ปฏิปนฺโน ความวา ปฏิบตั ิธรรมสมควรแกโลกุตรธรรม ๙ คือบฏ ิบตั ิขอปฏบิ ัตเิ บอื้ งตนพรอ มท้งั ศลี . บทวา ทุกขฺ สสฺไดแ ก วฏั ทุกข. บทวา อนตฺ กโร สิยา ความวา บุคคลพึงเปน ผูท าํ ที่สดุคือพงึ เปนผทู ําใหข าดตอน ไดแ กพงึ เปนผูท าํ ใหสดุ ทาง (ทุกข) . จบอรรถกภาอวกชุ ชติ สูตรที่ ๑๐ จบปคุ คลวรรควรรณนาท่ี ๓

พระสุตตันตปฎก องั คตุ รนกิ าย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 104 รวมพระสตู รที่มใี นปุคคลวรรคนี้ คือ ๑. สวฏิ ฐสตู ร ๒. คลิ านสูตร ๓. สงั ขารสตู ร ๔. พหกุ ารสตู ร๕. วชิรสตู ร ๖. เสวติ พั พสูตร ๗. ชคิ ุจฉติ พั พสูตร ๘. คูถภาณสี ตู ร๙. อันธสูตร ๑๐. อวกชุ ชติ สตู ร และอรรถกถา.

พระสตุ ตนั ตปฎก อังคุตรนกิ าย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 105 เทวทูตวรรคที่ ๔ ๑.พรหมสูตร วาดว ยพรหมของบตุ ร [๔๗๐] ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย มารดาบดิ า อนั บุตรแหงตระกลูทง้ั หลายใด บูชาอยูในเรือนของตน ตระกูลทัง้ หลายน้ัน ช่ือวามพี รหม ...มีบรุ พาจารย ... มอี าหุไนย คาํ วา พรหม ... บรุ พาจารย ... อาหไุ นย นี่ เปนคําเรียกมารดาบดิ าทง้ั หลา น่นั เพราะเหตอุ ะไร เพราะมารดาบิดาท้ังหลายเปน ผูมีอุปการะมาก เปนผฟู ูมฟก เลย้ี งดู แสดงโลกนแี้ กบตุ รทัง้ หลาย. (นิคมคาถา) มารดาบดิ าทง้ั หลายผูเ อ็นดปู ระชา ชอ่ื วาเปน พรหม เปน บุรพาจารย และเปน อาหไุ นยของบุตรท้ังหลาย เพราะเหตนุ น้ั แหละ บุตรผูมปี ญ ญา พึงนอบนอมสกั การะทาน ดว ยขา ว ดว ย น้ํา ดวยผา ดว ยที่นอน ดวยเครื่องอบ ดวยนํ้าสนานกาย และดวยการลางเทา เพราะการบํารงุ มารดาบิดานนั้ บัณ- ฑติ ทงั้ หลายยอมสรรเสริญบตุ รน้นั ใน โลกนีเ้ ทยี ว บตุ รนน้ั ละ (โลกนี้) ไปแลว ยอ มบนั เทงิ ในสวรรค. จบพรหมสตู รที่ ๑

พระสุตตนั ตปฎก องั คุตรนกิ าย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 106 เทวทตู วรรควรรณนาท่ี ๔ อรรถกถาพรหมสตู ร พงึ ทราบวนิ ิจฉยั ในพรหมสตู รที่ ๑ แหง เทวทูตวรรคท่ี ๔ ดังตอไปน้ี :- บทวา อชฺฌาคาเร ไดแกในเรือนของตน. บทวา ปูชติ า โหนตฺ ิความวา มารดาบดิ าเปนผอู ันบตุ รปฏบิ ตั บิ ํารงุ ดวยสง่ิ ของทอ่ี ยใู นเรือน. พระผูมพี ระภาคเจา ครนั้ ทรงประกาศตระกลู ท่บี ูชามารดาบดิ า วาเปนตระกูลมพี รหม (ประจําบาน) โดยมมี ารดาบดิ า (เปน พรหม) อยา งน้แี ลวบัดน้ี เมอ่ื จะทรงแสดงถงึ ขอทีม่ ารดาบิดาเหลานนั้ เปนบรุ พาจารยเ ปนตนจึงตรัสคาํ มอี าทิวา สปุพฺพาจรยิ กานิ (มีบรุ พาจารย) ดังน.้ี บรรดาบทเหลา นั้น บทวา พฺรหฺมา เปน ตน พระผมู ีพระภาคเจา ตรัสไว เพอื่ ใหส าํ เรจ็ความเปน พรหมเปน ตน แกตระกูลเหลาน้นั . บทวา พหกุ ารา ไดแ กมีอปุ การะมากแกบตุ รท้ังหลาย. บทวา อาปาทกา ไดแ ก ถนอมชีวิตไว.อธิบายวา มารดาบดิ าถนอมชวี ติ บตุ ร คอื เลยี้ งดู ประคบประหงม ไดแกใหเปน ไปโดยตอเนือ่ งกัน. บทวา โปสกา ความวา เล้ียงดูใหมือเทา เตบิ โตใหด่ืมเลอื ดในอก. บทวา อิมสสฺ โลกสสฺ ทสเฺ สตาโร ความวา เพราะชือ่ วา การทีบ่ ตุ รท้งั หลายไดเหน็ อิฎฐารมณ และอนฏิ ฐารมณ ในโลกนีเ้ กดิมขี ้ึน เพราะไดอ าศยั มารดาบิดา เพราะฉะนั้น มารดาบิดาจงึ ช่อื วา เปนผแู สดงโลกน.้ี คําวา พรหม ในบทคาถาวา พฺรหมาติ มาตาปต โร น้ี เปน ชื่อของทานผปู ระเสรฐิ สุด. พระพรหมจะไมล ะภาวหา ๔ อยาง คือ เมตตา กรุณา

พระสตุ ตันตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 107มทุ ติ า อุเบกขา ฉันใด มารดาบดิ าทงั้ หลายกฉ็ ันน้นั เหมอื นกนั จะไมละภาวนา ๔ ในบตุ รท้ังหลาย ภาวนา ๔ เหลา นนั้ พงึ ทราบตามระยะกาลดงั ตอไปน้ี. อธิบายวา ในเวลาท่บี ุตรยังอยใู นทอง มารดาบิดาจะเกิดเมตตาจติอยา งน้ีวา เม่อื ไรหนอ เราจะไดเหน็ บุตรนอ ยปลอดภัย มอี วยั วะนอยใหญค รบบริบรู ณ. แตเมอ่ื ใดบตุ รนอยนั้นยงั เยาว นอนแบเบาะ มีเลอื ดไรไตต อมหรอืนอนกระสบั กระสา ย สงเสียงรองจา เม่ือนน้ั มารดาบดิ าคร้นั ไดย ินเสียงบตุ รน้นัจะเกิดความกรณุ า. แตใ นเวลาทีบ่ ตุ รวิ่งเลน ไปมา หรือในเวลาทบ่ี ตุ รตงั้ อยใู นวัยหนมุ วยั สาว มารดาบดิ ามองดูแลว จะมจี ติ ออนไหว บันเทงิ เรงิ ใจเหมอื นกับสาํ ลี และปุยนนุ ทเี่ ขายตี งั้ ๑๐๐ คร้ัง หยอ นลงในฟองเนยใสเมอื่ นน้ั มารดาบดิ าจะมีมุทติ า (จติ ). แตเมื่อใด บตุ รเริม่ มีครอบครวั แยก-เรอื นออกไป เม่ือนนั้ มารดาบดิ าจะเกิดความวางใจ วาบัดนี้ บตุ รของเราจะสามารถ จะเปนอยไู ดต ามลาํ พงั เมื่อเปนเชนนนั้ แลว เวลานัน้ มารดาบดิ าจะมอี ุเบกขา. ดว ยเหตดุ งั กลา วมานี้ พระผมู ีพระภาคเจา จงึ ตรัสวา พฺรหฺมาติมาตาปต โร ดงั นี้. บทวา ปุพฺพาจรยิ าติ วจุ ฺจเร ความวา แทจรงิ มารดาบดิ าทัง้ หลายจําเดิมแตบ ตุ รเกดิ แลว ยอ มใหบ ุตรเรยี น ใหบตุ รสาํ เหนียกวา จงนงั่ อยา งนี้จงยืนอยา งนี้ จงเดินอยางน้ี จงนอนอยา งน้ี จงเค้ยี วอยา งนี้ จงกนิ อยางน้ีคนนีบ้ ุตรควรเรียกพอ คนน้ีควรเรยี กพ่ี คนนคี้ วรเรียกนอง บตุ รควรทาํ สิง่ น้ีไมค วรทาํ สิ่งน้ี ควรเขาไปหาคนช่อื โนน คนช่ือโนนไมควรเขา ไปหา. ในเวลาตอ มา อาจารยเหลา อ่นื จงึ ใหศกึ ษาศลิ ปะเรือ่ งชาง ศลิ ปะเรื่องมา ศิลปะเร่ืองรถ ศิลปะเรื่องธนู และการนบั ดว ยนวิ้ มือเปน ตน. อาจารยเหลาอน่ื ใหสรณะอาจารยอ่ืนใหตงั้ อยใู นศลี อาจารยอ่นื ใหบรรพชา อาจารยอนื่ ใหเ รยี นพุทธพจน

พระสุตตนั ตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 108อาจารยอ่ืนใหอุปสมบท อาจารยอื่นใหบรรลโุ สดาปต ตมิ รรคเปน ตน. ดังนัน้อาจารยเ หลานั้นแมท งั้ หมด จึงชื่อวา เปนปจ ฉาจารย สวนมารดาบิดาเปนอาจารยกอ นกวาทกุ อาจารย (บรุ พาจารย) ดว ยเหตุนน้ั พระผูมีพระภาคเจาจงึ ตรัสวา ปุพฺพาจริยาติ วุจจฺ เร ดงั น.้ี บรรดาบทเหลา นั้น บทวา วจุ จฺ เรแปลวา เรียก คอื กลาว. บทวา อาหุเนยฺยา จ ปุตฺตาน ความวา ยอ มควรไดร ับ ขา วน้าํ เปนตน ที่บตุ รจดั มาเพือ่ บชู า เพอ่ื ตอนรบั คอื เปนผูเหมาะสมเพ่อื จะรบัขาวและนาํ้ เปน ตนน้นั เพราะฉะน้นั พระผูม พี ระภาคเจาจึงตรัสวา อาหุเนยยฺ า จ ปตุ ฺตาน ดงั นี้. บทวา ปชาย อนกุ มฺปกา ความวา มารดาบดิ ายอมฟมู ฟก รักษาบุตรของตน แมโดยการฆา ชวี ิตของสตั วเหลา อน่ื เพราะฉะนน้ั พระผมู ีพระภาคเจา จึงตรัสวา ปชาย อนุกมปฺ กา ดังน.้ี บทวานมสฺเสยยฺ แปลวา ทาํ ความนอบนอม. บทวา สกกฺ เรยฺย ความวา พงึนบั ถอื โดยสกั การะ. บัดนี้ เพื่อจะทรงแสดงสักการะนนั้ จงึ ตรัสคาํ มอี าทวิ า อนเฺ นนดังน.้ี บรรดาบทเหลาน้ัน บทวา อนเฺ นน ไดแก ขา วยาคู ภัตร และของควรเคย้ี ว. บทวา ปาเนน ไดแ กปานะ ๘ อยาง. บทวา วตฺเถน ไดแกผาสาํ หรบั นงุ และผา สําหรบั หม . บทวา สยเนน ไดแ ก เครอ่ื งรองรับ คือเตียงและตงั่ . บทวา อจุ ฺฉาทเนน ไดแ ก เคร่ืองลูบไล สาํ หรบั กําจัดกลนิ่ เหมน็ ทาํ ใหมกี ลิ่นหอม. บทวา นหาปเนน ความวา ดวยการใหอาบรดตวั ดวยน้าํ อุนในหนาหนาว ดวยนํา้ เย็นในหนารอ น. บทวา ปาทานโธวเนน ความวา ดวยการใหลางเทา ดว ยนาํ้ อุนและน้ําเย็น และดว ยการทาดวยนํ้ามัน.

พระสตุ ตันตปฎ ก องั คตุ รนกิ าย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 109 บทวา เปจจฺ คือไปสูปรโลก. บทวา สคเฺ ค ปโมทติ ความวากอ นอื่นในโลกน้ี มนษุ ยผเู ปน บัณฑติ เห็นการปรนนบิ ตั ใิ นมารดาบดิ า(ของเขา) แลว ก็สรรเสริญเขาในโลกนแ้ี หละ. เพราะมีการปรนนิบตั ิเปนเหตุ.ก็บุคคลผูบํารุงมารดาบิดานัน้ ไปสูปรโลกแลว สถติ อยูในสวรรค ยอ มราเรงิบันเทิงใจ ดวยทิพยส มบตั ดิ งั น้.ี จบอรรถกถาพรหมสตู รที่ ๑ ๒. อานนั ทสตู ร วา ดวยการเขาเจโตวมิ ตุ ติ และ ปญญาวิมตุ ติ [๔๗๑] ครั้งน้นั แล ทา นอานนทเ ขา ไปเฝาพระผมู ีพระภาคเจาครน้ั เขาไปถึงแลวถวายอภวิ าทพระผูม พี ระภาคเจา แลว นั่ง ณ ท่คี วรสว นหน่ึงทานอานนทผ ูน ั่ง ณ ทคี่ วรสว นขางหนึง่ แลว ไดก ราบทูลถามพระผมู พี ระ-ภาคเจา วา จะพงึ มีหรอื พระพุทธเจาขา การไดส มาธแิ หง ภกิ ษอุ ยางท่ีเปนเหตใุ หอ หังการ มมงั การ และ มานานสุ ัย ไมพงึ มใี นกายอนั มีวิญญาณนี้และ ... ในสรรพนิมิตภายนอก อนึ่ง เมือ่ ภิกษเุ ขา ถึงเจโตวมิ ตุ ติ ปญญาวมิ ตุ ติอนั ใหอ ยู อหังการ มมังการ และมานานุสยั ยอ มไมมี ภกิ ษุพึงเขา ถึงเจโตวมิ ตุ ติปญ ญาวิมุตติอันน้นั อยู (มหี รอื ). \"มไี ด อานนท การไดสมาธิอยา งน้ัน...\" \"มอี ยางไร พระพุทธเจาขา ...\" อานนท ความตรกึ อยางน้ียอ มมีแกภ กิ ษใุ นศาสนาน้ีวา นนั่ ละเอียดนัน่ ประณีต น่คี อื อะไร นี่คอื ธรรมเปน ทรี่ ะงบั สังขารท้งั ปวง เปน ท่ี

พระสตุ ตันตปฎ ก อังคุตรนกิ าย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 110สละอุปธิท้ังหมด เปนท่สี น้ิ ตัณหา เปน ทีห่ มดกําหนัด เปนที่ดับ คอื นิพพานมีอยา งนีแ้ ล อานนท การไดส มาธิอยา งน้ัน... กแ็ ล คาํ ที่เราหมายเอาความทก่ี ลา วมานี้ ไดก ลาวในปณุ ณกปญ หาในปารายนวรรควา ความหว่นั ไหวในโลกไหน ๆ ของ ผูใ ดไมมี เพราะพจิ ารณาเหน็ อารมณ อันยงิ่ และหยอ นในโลก เรากลาววา ผนู ั้น ซึ่งเปนคนสงบไมม ีโทษดุจควัน ไมมี ทกุ ขใจ ไมม คี วามหวงั ขา มชาตแิ ละชรา ได ดังน.้ี จบอานนั ทสูตรที่ ๒ อรรถกถาอานนั ทสตู ร พงึ ทราบวนิ ิจฉัยในอานันทสตู รที่ ๒ ดังตอ ไปนี้ :- บทวา ตถารโู ป แปลวา ชนดิ นนั้ . บทวา สมาธปิ ฏลิ าโภแปลวา การไดเ อกัคคตาแหงจิต. ในบทวา อมิ สมฺ ึ จ สวิ ฺ าณเก นี้พึงทราบอธิบายวา ในรา งกายท้ังสองฝาย คอื ทง้ั ของตน และของคนอ่นืทพี่ ระอานันทเถระเจากลาวไวว า อมิ สฺมึ (น้ี) โดยรวม (รา งกายทั้งสอง)เขา ดวยกัน เพราะมคี วามหมายวา เปนสวิญญาณกะ (มวี ญิ ญาน) เหมอื นกัน.บทวา อหงกฺ ารมมงกฺ ารมานานสุ ยา ไดแ ก กิเลสเหลาน้ี คอื ทฏิ ฐิ คอือหังการ ๑ ตัณหา คือ มมังการ ๑ อนุสัย คือ มานะ ๑. บทวา นาสฺสุ

พระสตุ ตันตปฎ ก องั คตุ รนิกาย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 111แปลวา ไมพึงม.ี บทวา พหิทธฺ า จ สพฺพนิมติ เฺ ตสุ ไดแ ก ในนมิ ิตท้ังหมดในภายนอกเหน็ ปานนี้ คอื รปู นิมติ ๑ สทั ทนมิ ิต ๑ คนั ธนมิ ิต ๑รสนิมิต ๑ โผฏฐัพพนมิ ิต ๑ สสั สตาทนิ ิมิต (นิมติ วา เที่ยงเปน ตน ) ๑ปคุ คลนมิ ติ ๑ ธรรมนิมติ ๑. บทวา เจโตวมิ ุตตฺ ึ ปฺาวมิ ุตฺตึ ไดแ ก ผลสมาธิ และผลญาณ.บทวา สยิ า แปลวา พงึ ม.ี บทวา อธิ านนฺท ภกิ ฺขโุ น ความวาดูกอ นอานนท ภิกษุในศาสนาน.ี้ ลกั ษณะของนิพพาน พระผมู พี ระภาคเจา เม่อื จะทรงแสดงพระนิพพานจึงตรัสวา เอต สนตฺ เอต ปณตี  ดงั นี้. กน็ พิ พาน ชื่อวา สันตะ เพราะกิเลสทงั้ หลายสงบ. นิพพานช่ือวา สนั ตะ เพราะจิตตปุ บาทของผแู อบองิ สมาบตั ิ โดยคํานงึ วา พระ-นพิ พานเปนแดนสงบ แลว นั่งตลอดทงั้ วัน เปน ไปวา สงบแลวนัน่แหละ ดังนี้บา ง. บทวา ปณตี  ความวา นพิ พานชื่อวาประณีต เพราะจติ ตปุ บาทของบคุ คลท่ีนงั่ เขา สมาบตั ิ ยอ มเปนไปวา ประณตี \". แมบ ทวา สพฺพสงขฺ าร-สมโถ เปน ตน ก็เปนไวพจนของนพิ พานนนั้ เหมือนกนั . ก็จิตตุปบาท ของบคุ คลผูน ่งั เขาสมาบตั ิท้ังวนั โดยคาํ นงึ วา ความสงบแหงสังขารท้ังหมดดังน้ี ยอมเปน ไปวา \"ระงับสงั ขารท้งั ปวง\" ฯลฯ อนงึ่เพราะความไมม ีแหง ตัณหากลา ว คือ เครือ่ งรอยรัดไวในภพ ๓ อันไดน ามวานิพพาน จติ ตุปบาทของบคุ คลผูน ง่ั เขา สมาบัตใิ นนพิ พานน้ันยอมเปนไปวานพิ พาน เพราะเหตุนัน้ นิพพานจึงไดนามวา สพฺพสงฺขารสมโถ เปนตน.ก็ในการพิจารณา คอื การคาํ นงึ ทงั้ แปดอยา งน้ี ในที่นจ้ี ะคํานงึ อยา งเดียวกไ็ ด ๒ อยางก็ได ท้ังหมดก็ไดเ หมอื นกนั .














































































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook