Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_34

tripitaka_34

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:35

Description: tripitaka_34

Search

Read the Text Version

พระสตุ ตนั ตปฎก อังคตุ รนกิ าย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 457 พระขีณาสพตองอาบตั ิ ก็ในบทวา ตานิ อาปชชฺ ติป วฏุ  าตปิ  นี้ มอี ธิบายวา พระ-ขณี าสพไมตอ งอาบัตทิ ่เี ปนโลกวัชชะเลย จะตอ งก็แตอาบัตทิ เี่ ปน ปณณตั ติวัชชะเทา นัน้ และเมอ่ื ตองกต็ อ งทางกายบาง ทางวาจาบา ง ทางใจบาง คือ เมอ่ืตองทางกาย ก็ตอ งกฏุ กิ ารสิกขาบทและสหไสยลกิ ขาบทเปนตน เมอ่ื ตอ งทางวาจา ก็ตองสัญจรติ ตสิกขาบท และปทโสธัมมสกิ ขาบทเปน ตน เมอ่ื ตอ งทางใจก็ตอง (เพราะ) รับรูปย ะ. แมในบทที่เหลือก็มีนยั นแ้ี ล. บทวา น หิเมตถฺ ภกิ ขฺ เว อภพพฺ ตา วตุ ฺตา ความวา ดูกอ นภกิ ษุท้ังหสาย ก็ในทีน่ ้ีเราตถาคตมไิ ดกลาววา พระอรยิ บคุ คลไมค วรทง้ั ในการตองและการออกจากอาบัตเิ ห็นปานน.้ี บทวา อาทิพรฺ หฺมจรยิ กานิ ความวา สกิ ขาบทที่เปนมหาศีล ๔ซงึ่ เปน เบ้อื งตน ของมรรคพรหมจรรย. บทวา พรฺ หฺมจริยสารปุ ปฺ านิความวา สิกขาบททีเ่ ปน มหาศลี เหลานั้นแล เหมาะสม คือ สมควรแกมรรคพรหมจรรยท ่ี ๔. บทวา ตฺตถฺ ไดแ ก ในสกิ ขาบทเหลา น้ัน. ลกั ษณะพระโสดาบนั บทวา ธวุ สีโล แปลวา ผูมีศีลประจาํ . บทวา ติ สโี ล แปลวาผมู ีศีลมั่นคง. บทวา โสตาปนโฺ น ไดเ เก ผูเขาถึงผล ดวยมรรคที่เรยี กวา โสตะ. บทวา อวนิ ิปาตธมโฺ ม ไดแก มีอันไมต กไปในอบาย ๔เปนสภาพ. บทวา นิยโต ไดแก ผูเท่ยี งดว ยคณุ ธรรมเครื่องกาํ หนด คือโสดาปตตมิ รรค. บทวา สมฺโพธิปรายโน ไดแกมปี ญญาเครื่องตรสั รพู รอมคอื มรรค ๓ เบอ้ื งสูง ทีเ่ ปน ไปในเบอื้ งหนา .

พระสตุ ตันตปฎ ก องั คุตรนิกาย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 458 ลักษณะพระสกทาคามี บทวา ตนุตฺตา แปลวา เพราะ (กเิ ลสท้งั หลาย) เบาบาง. อธบิ ายวากิเลสท้ังหลายมรี าคะเปน ตน ของพระสกทาคามีเบาบางไมแนนหนา เปรยี บ-เหมือนชน้ั แผน เมฆและเปรยี บเหมอื นปก แมลงวนั . ลักษณะของพระอนาคามี บทวา โอรมฺภาคยิ าน ไดแก เปนไปในสว นเบื้องตา่ํ . บทวาส โยชนาน ไดแ ก สังโยชน (เครอ่ื งผูกทั้งหลาย).บทวา ปรกิ ฺขยา แปลวาเพราะความสิน้ ไป. บทวา โอปปาติโก โหติ ไดแ ก เปน ผอู บุ ตั ิขนึ้ .บทวา ตตถฺ ปรนิ พิ ฺพายี ไดแก มอี ันไมล งมาเกดิ ในภพช้ันตํ่า ๆ จะปรนิ ิพพานในภพช้นั สูงนั้นแล. บทวา อนาวตฺติธมฺโม ไดแก มอี นั ไมหวนกลบั มาอีกเปน ธรรมดา ดว ยอํานาจกําเนดิ และคติ. ผูทําไดเ ปนบางสว น - ผทู าํ ไดสมบรู ณ ในบทวา ปเทส ปเทสฺการี เปนตน มอี ธิบายวา พระโสดาบนัพระสกทาคามี และพระอนาคามี ชือ่ วา เปน บุคคลผมู ีปกติทาํ ไดเ ปนบางสวนคือ พระโสดาบัน พระสกทาคามี และพระอนาคามนี น้ั ทําไตรสกิ ขาใหสมบูรณไดเปนบางสวนเทา นนั้ (สวน) พระอรหนั ต ชอื่ วา เปนผมู ปี กตทิ ําใหบรบิ ูรณคอื พระอรหนั ตน้นั ทาํ ไตรสกิ ขาใหส มบูรณไดบ ริบูรณท ีเดียว. บทวาอวฌฺ านิ คือ ไมเ ปลา อธิบายวา มีผล มกี ําไร. แมใ นสตู รนี้ พระผมู ีพระภาคเจากต็ รัสสิกขา ๓ ไวคละกัน. จบอรรถกถาทุติยเสขสูตรท่ี ๖

พระสตุ ตันตปฎก องั คุตรนิกาย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 459 ๗. ตติยเสขสตู ร วาดวยเสขบคุ คล [๕๒๗] ดกู อ นภกิ ษุทงั้ หลาย สิกขาบทที่สําคญั ๑๕๐ น้ี ยอมมาสูอุทเทสทกุ ก่ึงเดอื น ฯลฯ* นีแ้ ล สิกขา ๓ ท่ีสกิ ขาบททั้งปวงนัน่ รวมกนั อยู ภกิ ษุทง้ั หลาย ภิกษุในพระธรรมวนิ ัยน้ี ทเี่ ปน ผูท ําใหบ รบิ รู ณในศีลทําพอประมาณในสมาธิและในปญญา ฯลฯ สมาทานศึกษาอยใู นสิกขาบททั้งหลาย ภกิ ษนุ ัน้ เพราะสนิ้ สังโยชน ๓ เปนสตั ตักขตั ตุปรมะ เวียนวายตายเกดิ ไปในเทวโลกและมนุษยโลก ๗ ชาตเิ ปนอยางมาก ก็ทาํ ที่สดุ ทกุ ข(คือทาํ ทกุ ขใหส ิ้น. สาํ เรจ็ พระอรหัต) ได เปน โกลงั โกละ เวียนวา ยตายเกดิ ไป ๒ หรอื ๓ ชาติ กท็ ําท่สี ุดทุกขได เปนเอกพชี ี เกิดเปนมนษุ ยอีกชาตเิ ดยี ว ก็ทาํ ท่ีสุดทุกขได ภกิ ษุนน้ั เพราะสนิ้ สังโยชน ๓ ราคะโทสะโมหะเบาบาง เปนสกทาคามี มาสูโ ลกน้ีอีกคราวเดยี วกท็ าํ ที่สุดทุกขไ ด ภิกษุท้ังหลาย อน่ึง ภกิ ษใุ นพระธรรมวินัยน้ี ท่เี ปนผทู าํ ใหบ รบิ รู ณในศลี และในสมาธิ ทาํ พอประมาณในปญญา ฯลฯ สมาทานศึกษาอยใู นสิกขาบทท้ังหลาย ภกิ ษนุ ้ัน เพราะส้นิ สังโยชนเบอ้ื งตํา่ เปน อทุ ธังโสโต-อกนิฏฐคามี (ผูมกี ระแสในเบ้ืองบนไปถงึ อกนิฏฐภพ) เปน สสังขาร-ปรินพิ พายี (ผปู รินพิ พานดว ยตอ งใชความเพียรเรย่ี วแรง) เปน อสังขาร-ปรนิ ิพพายี (ผูปรินิพพานดวยไมต องใชค วามเพียรนกั ) เปน อุปหจั จ-ปรนิ ิพพายี (ผปู รนิ พิ พานเมือ่ อายพุ น ก่ึงแลว จวนถงึ ท่ีสดุ ) เปน อันตรา-ปรินิพพายี (ผปู รนิ พิ พานในระหวางอายยุ งั ไมถ งึ กึ่ง)* ความพิสดารเหมอื น ทุติยเสขสูตร

พระสตุ ตันตปฎ ก องั คุตรนิกาย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 460 ภกิ ษุทัง้ หลาย อนงึ่ ภิกษใุ นพระธรรมวนิ ัยน้ี ท่ีเปน ผูท ําใหบ รบิ รู ณทง้ั ในศลี ทั้งในสมาธิ ทง้ั ในปญ ญา ฯลฯ สมาทานศกึ ษาอยูในสิกขาบทท้ังหลาย ภิกษุนนั้ กระทาํ ใหแจงซ่งึ เจโตวมิ ุตติปญญาวมิ ตุ ติอนั หาอาสวะมไิ ดเพราะสิน้ อาสวะ ดว ยปญ ญาอนั ย่ิงดว ยตนเองสําเร็จอยูในปจ จบุ ันน้ี อยางนแี้ ล ภิกษทุ งั้ หลาย ภิกษุผทู ําไดเ พยี งเอกเทศ ยอ มทําไดด ีเพียงเอกเทศ ผทู ําไดบริบรู ณ ยอ มทําไดดีบรบิ ูรณ เราจงึ กลาววา สกิ ขาบททัง้ หลายหาเปน หมันไม. จบตติยเสขสูตรที่ ๓ อรรถกถาตตยิ เสขสตู ร พงึ ทราบวินิจฉัยในตติยเสขสตู รท่ี ๗ ดังตอ ไปน้ี :- พระโสดาบัน บทวา โกล โกโล ไดแก (พระโสดาบนั ) ไปจากตระกูลสูตระกูล.กใ็ นบทวา. ตระกลู นี้ ทา นประสงคเ อา ภพ เพราะเหตนุ ้นั แมใ นบทวา๒ หรือ ๓ ตระกูล นี้ พึงทราบความหมายวา ๒ หรือ ๓ ภพ. จรงิ อยูพระโสดาบันนี้ยอ มทองเที่ยวไป ๒ ภพบา ง ๓ ภพบาง หรืออยา งสงู ทสี่ ดุ ก็ ๖ภพ เพราะเหตุน้นั พึงเหน็ วิกปั (ขอ กาํ หนด) ในบทน้อี ยางนีว้ า ๒ ภพบา ง๓ ภพบาง ๔ ภพบา ง ๕ ภพบา ง ๖ ภพบาง. พระสกทาคามี บทวา เอกวีชี มรี ปู วเิ คราะหวา พชื ของภพหนึง่ เทา น้นั ของพระ-อริยะนมี้ อี ยู เหตนุ น้ั พระอรยิ ะนจี้ งึ ชื่อวา เอกวีชี (ผมู ีพืชครัง้ เดียว).

พระสุตตนั ตปฎก องั คตุ รนกิ าย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 461 พระอนาคามี ในบทวา อทุ ฺธ โสโต เปนตน อธบิ ายวา พระอนาคามปี ระเภทอุทธงั โสโตอกนิฏฐคามี มกี ระแสในเบื้องบนและไปถึงอกนิฏฐภพก็มี ๑พระอนาคามีประเภทอทุ ธงั โสโตนอกนฏิ ฐคามี มกี ระแสในเบ้ืองบนแตไปไมถงึ อกนิฏฐภพ กม็ ี ๑ พระอนาคามปี ระเภทนอทุ ธงั โสโตอกนฏิ ฐคามีไมม ีกระแสในเบอ้ื งบนแตไปถึงอกนฏิ ฐภพ กม็ ี ๑ พระอนาคามีประเภทนอทุ ธังโสโตนอกนฏิ ฐคามี ไมมีกระแสในเบอ้ื งบนและไปไมถ งึ อกนฏิ ฐภพก็มี ๑. บรรดาพระอนาคามี ๔ จาํ พวกนั้น พระอนาคามีใดไดบรรลอุ นาคา-มผิ ลในโลกน้ีแลว บงั เกดิ ในช้นั สทุ ธาวาสมีชัน้ อวิหาเปน ตน ดํารงอยูในชัน้ อวิหาน้ัน จนตราบสน้ิ อายแุ ลว ก็บังเกิดในช้นั สทุ ธาวาสชั้นสงู ๆขน้ึ ไปถงึ สทุ ธาวาสชนั้อกนิฏฐะ พระอนาคามนี ช้ี ือ่ วา อทุ ธงั โสโตอนฏิ ฐคามี. สว นพระอนาคามใี ดบังเกดิ ในสุทธาวาสช้ันอวหิ าเปนตน (แต) ไมปรนิ ิพพานในสทุ ธาวาสชน้ั น้นั ไปปรินพิ พานในพรหมโลกชัน้ สงู ๆ ขึน้ ไปโดยยังไมถ งึ สทุ ธาวาสชน้ั อกนิฏฐะ พระอนาคามนี ช้ี ่อื วา อุทธงั โสโตนอก-นฏิ ฐคามี. พระอนาคามใี ดจุติจากโลกน้ีแลว ไปบงั เกิดในสุทธาวาสช้ันอกนฏิ ฐะเลยทีเดยี ว พระอนาคามนี ีช้ ือ่ วา นอทุ ธงั โสโตอกนิฏฐคามี. สวนพระอนาคามใี ดบังเกิดในสทุ ธาวาสชน้ั ใดชนั้ หน่งึ ในบรรดาสทุ ธา-วาส ๔ มอี วหิ าเปนตน แลวปรินพิ พานในสทุ ธาวาสชนั้ น้นั แล พระอนาคามีนี้ช่ือวา นอทุ ธงั โสโตนอลนฏิ ฐคามี. สว นพระอนาคามผี อู ุบตั ิในพรหมโลกชนั้ ใดชน้ั หนง่ึ แลว บรรล-ุอรหตั ผลดวยจิตท่ีเปน สสงั ขารและเปนสปั ปโยค พระอนาคามนี ้ชี ่ือวา สสังขารปรินพิ พายี.

พระสุตตันตปฎก อังคุตรนกิ าย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 462 พระอนาคามผี ูบรรลุอรหตั ผล ดว ยจติ ทเี่ ปนอสงั ขารเปน อสัปปโยคพระอนาคามนี ช้ี ่ือวา อสงั ขารปรนิ ิพพายี. พระอนาคามใี ดบงั เกิดในสทุ ธาวาสช้ันอวหิ า ซึ่งมอี ายุ ๑,๐๐๐ กปัผานพนไปได ๑๐๐ กปั แรก ก็บรรลอุ รหัตผล พระอนาคามนี ีช้ อื่ วา อุปหัจจปรนิ ิพพายี. แมใ นสุทธาวาสชนั้ อตปั ปาเปน ตน กม็ นี ัยน้ีแล. บทวา อนฺตราปรนิ พฺพายี ความวา พระอนาคามใี ด อายุยังไมทนั เลยคร่ึงไปกป็ รนิ พิ พาน พระอนาคามีน้ันมี ๓ ประเภท คอื อันดบั แรกพระอนาคามีทานหนึง่ บังเกิดในสทุ ธาวาสชนั้ อวิหาซงึ่ มอี ายุ ๑,๐๐๐ กัปเเลวก็บรรลุอรหตั ผลในวนั ที่บังเกดิ น้นั เอง หากวา มไิ ดบ รรลุอรหตั ผลในวันทตี่ นบงั เกิด แตวา ไดบรรลใุ นทส่ี ุด ๑๐๐ กปั แรก พระอนาคามนี ้ชี ่อื วา อนั ตราปรินพิ พายี ประเภทที่ ๑. พระอนาคามอี กี ทา นหนง่ึ ไมสามารถบรรลุอรหัตผลไดอยา งนน้ั(แตว า ) ไดบรรลใุ นทส่ี ดุ ๒๐๐ กปั พระอนาคามีน้ีชื่อวา อันตราปรนิ ิพพายีประเภทที่ ๒. พระอนาคามอี ีกทานหนึ่ง แมใ นท่สี ุด ๒๐๐ กปั อยา งนัน้ กไ็ มส ามารถ(บรรลุอรหัตผล) ได (แตวา) ไดบ รรลุในทส่ี ดุ ๔๐๐ กปั พระอนาคามนี ี้ชือ่ วา อนั ตราปรนิ พิ พายี ประเภทที่ ๓. บททเ่ี หลอื มีนัยดังกลา วแลวแล. พระโสดาบัน ๒๔ เปน ตน อนงึ่ นักศึกษาพงึ ดํารงอยใู นฐานะน้ี แลว กลาวถงึ พระโสดาบนั ๒๔จําพวก พระสกทาคามี ๑๒ จําพวก พระอนาคามี ๔๘ จาํ พวก และพระ-อรหนั ต ๑๒ จําพวก. อธิบายวา ในศาสนาน้ี มธี รุ ะ ๒ คอื สทั ธาธรุ ะ ๑ปญ ญาธรุ ะ ๑ มีปฏปิ ทา ๔ มีทุกขาปฏิปทาทนั ธาภิญญา เปน ตน.

พระสุตตันตปฎก องั คุตรนิกาย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 463 ในสัทธาธุระ กบั ปญ ญาธรุ ะนน้ั พระโสดาบนั บคุ คลทานหน่ึงยึดม่ันดวยสัทธาธุระจนไดบ รรสุโสดาปตติผล บงั เกดิ ในภพหนง่ึ แลว ทาํ ทส่ี ดุทุกขไ ด พระโสดาบนั บุคคลทา นนจี้ ัดเปนเอกพีชปี ระเภทหนึง่ พระโสดาบนับคุ คลประเภทเอกพชี นี นั้ มี ๔ ประเภทดว ยอาํ นาจปฏปิ ทา. พระโสดาบันบคุ คลประเภทเอกพชี ผี ยู ดึ มั่น ดว ยสัทธาธรุ ะนเ้ี ปนฉนั ใด แมท า นทย่ี ดึ มัน่ ดว ยปญญาธุระก็เปน ฉนั นั้น รวมเปนวาพระโสดาบันบคุ คลประเภทเอกพีชีมี ๘ประเภท. พระโสดาบันประเภท โกล โกละ และพระโสดาบันประเภทสตั ตักขตั ตุปรมะ กเ็ หมือนกัน คอื มีประเภทละ ๘ รวมเปนวา พระโสดาบันเหลา นีม้ ี ๒๔ ประเภท. ในวิโมกขทง้ั ๓ พระสกทาคามบี ุคคลผบู รรลภุ มู ิ ของพระสกทาคามีก็มี ๔ ดว ยอํานาจปฏปิ ทา ๔ อนงึ่ พระสกทาคามบี คุ คลผบู รรลุภมู ิของพระสกทาคามี ดวยอนิมติ วิโมกขก็มี ๔ ผูบ รรลภุ ูมขิ องพระสกทาคามี ดวยอัปปณิหิตวิโมกขก็มี ๔ รวมเปน วา พระสกทาคามเี หลาน้ี มี ๑๒ ประเภท. สว นในพรหมโลกชน้ั อวหิ า พระอนาคามีมีอยู ๕ คือ พระอนาคามีประเภทอันตราปรินิพพายีมี ๓ พระอนาคามีประเภทอุปหจั จปรนิ ิพพายีมี ๑ พระอนาคามปี ระเภทอทุ ธังโสโตอกนฏิ ฐคามมี ี ๑. พระอนาคามีเหลาน้ันแยกเปน ๑๐ คอื พระอนาคามปี ระเภท อสงั ขารปรนิ ิพพายมี ี ๕พระอนาคามีประเภทสสังขารปรินพิ พายีอกี ๕. ในสุทธาวาสชัน้ อตปั ปาเปน ตน ก็มจี ํานวนเทากัน แตในสทุ ธาวาสช้ันอกนิฏฐะ พระอนาคามีประเภทอทุ ธังโสโตไมม .ี เพราะฉะน้ัน ในสุทธาวาส ชัน้ อกนิฏฐะน้นั จึงมีพระอนาคามี ๘ คอื พระอนาคามปี ระเภท สสังขารปรนิ ิพพายมี ี ๔ พระ-อนาคามปี ระเภทอสงั ขารปรินพิ พายีมี ๔ (เหมอื นกัน ) รวมเปน วา

พระสตุ ตนั ตปฎก อังคตุ รนิกาย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 464พระอนาคามเี หลาน้มี ที ้งั หมด ๔๘. แมพ ระอรหนั ต กพ็ ึงทราบวา มี ๑๒เหมือนพระสกทาคาม.ี แมในสูตรน้ี พระผมู ีพระภารเจา ก็ตรสั สิกขา ๓ไวคละกัน. จบอรรถกถาตตยิ าเสขสูตรท่ี ๗ ๘. จตตุ ถเสขสตุ ร วาดวยเสขบุคคล [๕๒๘] ดูกอนภิกษุท้งั หลาย สิกขาบทท่สี ําคัญ ๑๕๐ นี้ ยอมมาสูอุทเทสทกุ กึ่งเดอื น ฯลฯ นแี้ ล สิกขา ๓ ทส่ี กิ ขาบททงั้ ปวงนั่นรวมกันอยู ภิกษทุ ั้งหลาย ภิกษใุ นพระธรรมวินัยน้ี ทเี่ ปน ผูทาํ ใหบ รบิ รู ณท ัง้ในศีล ท้ังในสมาธิ ทง้ั ในปญ ญา ฯลฯ สมาทานศกึ ษาอยูในสิกขาบทท้งั หลาย ภิกษุนน้ั กระทําใหแ จง ซ่งึ เจโตวิมตุ ตปิ ญญาวิมตุ ติ ฯลฯ ในปจ จุบันน้ีหรือไมเปน พระอรหันต เพราะส้ินสังโยชนเ บอื้ งต่ํา ๕ เธอเปนอันตราปรนิ ิพพาย.ี . อุทธงั โสโตอกนฏิ ฐคามี หรอื ไมเปน ถงึ นนั่ เพราะสนิ้สงั โยชน ๓ ราคะโทสะโมหะเบาบาง เธอเปน สกทาคาม.ี .. หรือไมเปนถึงนัน่ เพราะส้ินสงั โยชน ๓ เธอเปนเอกพชี ี โกลงั โกละ สัตตกั ขัตตุปรมะ. อยา งนแ้ี ล ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ภิกษุผูไดเ พียงเอกเทศ ฯลฯ หาเปนหมันไม. จบจตุตถเสขาสตู รท่ี ๘ี

พระสุตตันตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 465 อรรถกถาจตุตถเสขสูตร พงึ ทราบวินจิ ฉัยในจตตุ ถเสขสตู รที่ ๘ ดังตอไปน้ี :- บทวา ต วา ปน อนภิสมภฺ ว อปปฺ ฏวิ ชิ ฌฺ  ความวาพระอนาคามยี งั ไมบ รรลุ ยังไมแทงตลอดอรหตั ผลน้ัน. นักศึกษาพึงทราบความหมายในทที่ ุกแหง (ทีม่ ีคาํ วา ต วา ปน อนภสิ มภฺ ว อปปฺ ฏวิ ชิ ฺฌ )โดยนยั น.ี้ แมในสูตรนี้ พระผูมีพระภาคเจาตรัสสิกขา ๓ อยางไวค ละกนัทเี ดียว. จบอรรถกถาจตุตถเสขสตู รที่ ๘ ๙. ปฐมสิกขาสูตร วา ดวยไตรสกิ ขา [๕๒๙] ดกู อ นภิกษทุ งั้ หลาย สกิ ขา ๓ น้ี สิกขา ๓ คอื อะไรบา งคืออธิสีลสิกขา อธิจิตตสกิ ขา อธปิ ญญาสกิ ขา อธสิ ลี สิกขานอ้ี ยา งไร ภิกษใุ นพระธรรมวินยั น้ีเปน ผูม ศี ลี ฯลฯสมาทานศกึ ษาอยใู นสกิ ขาบททัง้ หลาย นเ้ี รียกวา อธสิ ีลสกิ ขา อธจิ ติ ตสิกขาเปน อยางไร ? ภิกษุในพระธรรมวินัยน้ี สงดั จากกาม...จากอกศุ ลกรรมท้งั หลาย เขาปฐมฌาน ฯลฯ เขา จตุตถฌาน... น้ีเรยี กอธจิ ติ ตสกิ ขา อธิปญญาสิกขาเปนอยางไร ? ภกิ ษุในพระธรรมวินัยน้รี ตู ามจริงวานท่ี ุกข ฯลฯ น่ที กุ ขนิโรธคามินีปฏิปทา น้เี รียกวาอธิปญญาสกิ ขา ภิกษทุ ้ังหลาย นแ้ี ล สิกขา ๓. จบปฐมสกิ ขาสูตรท่ี ๙

พระสตุ ตันตปฎก อังคตุ รนกิ าย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 466 อรรถกถาปฐมสิกขาสูตร ในสูตรที่ ๙ มีความหมายงายทงั้ นัน้ . แมในสูตรน้ี พระผมู พี ระภาคเจา ตรัสสิกขา ๓ ไวป นกนั แล. จบอรรถกถาปฐมสิกขาสูตรที่ ๙ ๑๐. ทตุ ยิ สกิ ขาสูตร วา ดวยไตรสิกขา [๕๓๐] (สตู รน้ี ตอนตน เหมอื นสูตรกอน ตางกันแตตอนแก อธิ-ปญ ญาสิกขา คอื สตู รกอนแสดงอริยสัจเปน อธปิ ญ ญาสิกขา สว นสตู รน้ีแสดงพระอรหัต เปน อธิปญ ญาสิกขา และมนี คิ มคาถาดงั น)้ี อธปิ ญญาสกิ ขาเปนอยางไร ? ภิกษุในพระธรรมวนิ ยั นี้ กระทาํใหแ จง ซึ่งเจโตวมิ ตุ ติปญ ญาวิมุตติ ฯลฯ ในปจ จบุ ันนี้ นเ้ี รียกวาอธปิ ญ ญา-สิกขา ดกู อ นภิกษุท้งั หลาย นแ้ี ลสกิ ขา ๓ ผูมคี วามเพียร มีกาํ ลัง มปี ญ ญา มี ความพนิ ิจ มีสติ รักษาอันทรยี  พึงประพฤติ อธิศลี อธิจิต และอธิปญ ญา กอ นอยางใด ภายหลงั กอ็ ยา งน้ัน ภายหลงั อยา งใด กอนก็อยา งนั้น ตํ่าอยา งใด สงู ก็อยางนนั้

พระสุตตันตปฎ ก องั คุตรนกิ าย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 467 สงู อยา งใด ต่ํากอ็ ยางน้นั กลางวนั อยาง ใด กลางคนื ก็อยางนน้ั กลางคนื อยา งใด กลางวันกอ็ ยา งน้นั ครอบงําทิศทั้งปวง ดว ยสมาธิอันหาประมาณมไิ ด. บัณฑติ ท้ังหลายกลาววา ผูนน้ั ดาํ เนิน เสขปฏิปทา มคี วามประพฤติหมดจดดี กลา ววา ผูนนั้ เปน ผูตรสั รู เปนปราชญ ปฏบิ ตั สิ ําเรจ็ ในโลก เพราะวญิ ญาณดับ ความพนแหง ใจของผูวมิ ตุ เพราะส้นิ ตัณหา ยอมมเี หมอื นความดับแหง ตะเกยี ง (เพราะสน้ิ เช้อื เพลิง) ฉะนนั้ . จบทตุ ิยสกิ ขาสูตรที่ ๑๐ อรรถกถาทุตยิ สิกขาสตู ร พงึ ทราบวนิ จิ ฉยั ในทตุ ยิ สิกขาสตู รที่ ๑๐ ดังตอ ไปน้ี :- ในบทวา อาสวาน ขยา นี้ มีอธบิ ายวา อรหตั มรรค ชื่อวาอธิปญญาสิกขา. สว นผลไมค วรกลา ววา สกิ ขา เพราะเกิดข้นึ แกบ คุ คลผูไดศ ึกษาสกิ ขาแลว. บทวา ยถา ปุเร ตถา ปจฉฺ า ความวา ในตอนตน ทา นศึกษาในสกิ ขา ๓ อยา ง ภายหลงั ก็ศกึ ษาอยางน้นั เหมอื นกัน. แมในบทที่ ๒ กม็ นี ยัน้แี ล. บทวา ยถา อโธ ตถา อทุ ฺธ ความวา ทา นพจิ ารณาเหน็ กาย

พระสตุ ตันตปฎก องั คตุ รนิกาย ตกิ นบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 468เบ้อื งตํ่า ดว ยสามารถแหง อสภุ ะอยางใด กพ็ จิ ารณาเหน็ กายเบอื้ งสูงอยางนน้ัเหมือนกนั . แมใ นบทที่ ๒ กม็ ีนยั น้ีเหมือนกนั . บทวา ยถา ทิวา ตถารตฺตึ ความวา ในเวลากลางวันทา นศกึ ษาสิขา ๓ อยา ง แมในเวลากลางคืนก็ศึกษาอยา งนั้นเหมือนกัน. บทว1 อภิภุยยฺ ทิสา สพพฺ า ความวาครอบงําทศิ ท้งั ปวง คอื ครอบงํา ดวยอาํ นาจแหงอารมณ. บทวา อปปฺ มาณ-สมาธินา คอื ดวยสมาธอิ นั สัมปยุตดว ยอรหตั มรรค. บทวา เสกฺข ไดแ กผูยังศึกษาอยู คอื ผยู งั มกี จิ ทีจ่ ะตอ งทําอย.ู บทวา ปฏปิ ท ไดแ กผูปฏิบัต.ิบทวา ส สุทธฺ จาริน ไดแ ก ผูม จี รณะบริสุทธ์ิดี คือ ผูมีศลี บรสิ ทุ ธ์.ิ บทวาสมฺพุทธฺ  ไดแกผ ูต รสั รูสัจจะ ๔. บทวา ธรี  ปฏิปทนตฺ คุ . ความวาเปนปราชญ คือผถู ึงพรอ มดวยปญ ญาเปน เคร่อื งทรงจํา ดวยอาํ นาจแหง ปญ ญาเคร่อื งทรงจํา ในขันธธาตุ และอายตนะ เปน ผถู ึงท่ีสุดแหงวัตรปฏิบตั ิ. บทวา วิฺ าณสฺส ไดแ ก แหง จริมกวญิ ญาณ (จิตดวงสุดทา ย).บทวา ตณหฺ กขฺ ยวิมุตตฺ ิโน ไดแ ก ผปู ระกอบดว ย อรหตั ผลวิมตุ ติ กลาวคอืความหลดุ พน เพราะส้นิ ตณั หา. บทวา ปชฺโชตสฺเสว นิพฺพาน หมายความวาเปรยี บเหมอื นการดับไปของดวงประทีป. บทวา วโิ มกฺโข โหติ เจตโสความวา ความหลดุ คือ ความพน ไดแ ก ภาวะคอื ความไมเปนไปแหงจิตมีอย.ู อธบิ ายวา ก็ความหลุดพนไปแหงจติ ทีเ่ ปรยี บเหมือนการดบั ไปของดวงประทีปยอ มมี แกพ ระขณี าสพผหู ลดุ พนเพราะสิน้ ตัณหา เพราะจริมก-วิญญาณดับไป สถานทที่ ่พี ระขณี าสพไปก็ไมป รากฏ ทานเปนผเู ขา ถงึ ความเปนผหู าบญั ญตั มิ ิไดเ ลย. จบอรรถกถาทตุ ยิ สกิ ขาสูตรที่ ๑๐

พระสตุ ตันตปฎก องั คตุ รนิกาย ตกิ นบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 469 ๑๑. ปงกธาสตู ร วาดวยผูสรรเสริญและไมส รรเสริญ [๕๓๑] สมยั หนึง่ พระผมู ีพระภาคเจา เสดจ็ จารกิ ไปในประเทศ-โกศล พรอมดว ยภกิ ษุสงฆหมูใหญ ถึงตาํ บลปง กธา ประทบั พักที่นน่ัคราวนัน้ ภกิ ษุกัสสปโคตรเปน เจาอาวาสในตําบลน้นั ทนี่ นั่ พระผมู พี ระ-ภาคเจาทรงสอนภกิ ษทุ งั้ หลายใหเ หน็ แจงใหส มาทานใหอาจหาญรา เรงิ ดวยธรรมมกี ถาประกอบดวยสกิ ขาบท เม่อื พระองคท รงสอนภกิ ษใุ หเ ห็นแจง ...อยูภิกษกุ สั สปโคตรเกดิ ความไมพ อใจขึ้นวา สมณะนี้ขัดเกลายงิ่ นัก พระผมู ีพระภาคเจาประทบั สําราญพระอริ ิยาบถ ณ ตําบลปงกธาตามพระอธั ยาศัยแลว เสด็จจาริกไปโดยลําดบั ถึงกรุงราชคฤห ประทบั ณภูเขาคชิ กูฏ ฝา ยภิกษกุ ัสสปโคตร เม่ือพระผมู ีพระภาคเจาเสดจ็ ไปแลวไมนานเกิดรอนรําคาญใจไดคิดขึน้ วา เราเสีย ๆ แลว เราไดช ่วั แลว ซ่ึงเมอ่ื พระผมู -ีพระภาคเจา ทรงสอนภกิ ษุทั้งหลายใหเ หน็ แจงสมาทาน อาจหาญรา เริง ดว ยธรรม-มีกถาประกอบดวยสกิ ขาบท เราเกดิ ความไมพ อใจข้นึ วา สมณะนีข้ ดั เกลายงิ่ นักอยา กระนน้ั เลย เราไปเฝา สารภาพโทษเถดิ ครน้ั ตกลงใจแลว จงึ เกบ็ งาํ เสนาสนะถอื บาตรจีวรไปกรงุ ราชคฤห ถงึ ภเู ขาคชิ ฌกฏู เขา เฝาพระผูมีพระภาคเจา ถวายอภวิ าทแลวนง่ั ณ ที่ควรสวนหนึ่ง กราบทูลวา ขา แตพระองคผ ูเจรญิ เมือ่ครั้งท่ีพระผูมีพระภาคเจา ประทับพกั ณ ตาํ บลปง กธา ประเทศโกศล ทีน่ ่นัพระผมู พี ระภาคเจาทรงสอนภิกษทุ ้งั หลายใหเห็นแจง สมาทาน อาจหาญราเรงิดวยธรรมีกถาประกอบดวยสิกขาบท เมอื่ ทรงสอนภิกษ.ุ ..อยู ขา พระพุทธเจา

พระสุตตนั ตปฎก องั คุตรนิกาย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 470เกิดความไมพอใจขึ้นวา สมณะนีข้ ัดเกลายง่ิ นกั คราวนน้ั พระองคป ระทบั สําราญพระอริ ิยาบถ ณ ตาํ บลปงกธาตามพระอธั ยาศัยแลว เสด็จจารกิ มากรุงราชคฤหพอเสด็จแลว ไมนานขา พระพทุ ธเจาก็รูสึกรอนราํ คาญใจไดค ิดวา เราเสียๆ แลวเราไดช วั่ แลว ซ่งึ เม่ือพระผมู ีพระภาคเจาทรงสอนภกิ ษทุ ั้งหลายใหเ หน็ แจงสมาทานอาจหาญราเรงิ ดวยธรรมีกถาประกอบดวยสกิ ขาบทอยู เราเกิดความไมพอใจขึ้นวา สมณะนข้ี ดั เกลายิ่งนัก อยากระนัน้ เลย เราไปเฝา สารภาพโทษเถิดดงั น้ี ขาแตพระองคผ เู จริญ ความผดิ (ฐานนึกลว งเกิน) ไดเ กดิ แกขาพระ-พทุ ธเจา แลว โดยท่ีเขลา โดยทหี่ ลง โดยท่ีไมฉลาด ซ่งึ เม่อื พระผูมพี ระภาคเจาทรงสอน...อยู ขา พระพุทธเจาเกดิ ความไมพอใจขน้ึ วา สมณะนี้ขดั เกลายง่ิ นกัขอพระผูม ีพระภาคเจา ทรงรับโทษโดยความเปนโทษ เพอ่ื ขา พระพุทธเจาจะสังวรตอ ไปเถิด. พ. ตรัสวา จรงิ ละ กัสสป ความผดิ ไดเ กดิ แกท า นแลว โดยที่เขลาโดยท่ีหลง โดยทไี่ มฉลาด ซ่งึ เมื่อเราสอน ...อยู ทานไดเ กิดความไมพอใจข้นึ วา สมณะน้ีเครงเกินไป เมอ่ื ทานเหน็ ความผดิ แลวทาํ คืนตามวิธีท่ีชอบเรารับโทษโดยความเปนโทษ อนั การท่ีเหน็ ความผิดแลว ทําคนื ตามวิธีทช่ี อบถึงความสังวรตอไป นนั่ เปน ความเจริญในวินัยของพระอริย. แนะกสั สป ถาภิกษเุ ถระกด็ ี ภกิ ษมุ ัชฌิมะก็ดี ภิกษนุ วกะก็ดีเปน ผูไ มใ ครศึกษา ไมกลาวคุณแหง การบําเพญ็ สิกขา ไมชักชวนภิกษอุ ื่น ๆที่ไมใครศึกษาใหศกึ ษา ไมยกยองภิกษุอ่ืน ๆ ที่ใครศ กึ ษา โดยทจี่ รงิ ทแ่ี ทตามเวลาอันควร กสั สป เราไมส รรเสริญภกิ ษุเถระ ภิกษุมัชฌมิ ะและภกิ ษนุ วกะรปู นีเ้ ลย เพราะเหตุอะไร เพราะเหตวุ า (ถาเราสรรเสริญ) ภกิ ษุอืน่ ๆ รูวา พระศาสดาสรรเสรญิ ภกิ ษุรูปนัน้ ก็จะพากันคบภกิ ษรุ ปู นน้ั ภกิ ษุเหลาใดคบภกิ ษุรูปน้นั ภกิ ษเุ หลา นนั้ ก็จะถงึ ทิฏฐานุคติ (ไดเ ย่ียงอยาง) ของภิกษรุ ปู นั้น ซ่ึงจะเปน ทางเกิดส่งิ อนั ไมเ ปนประโยชน เกดิ ทุกขแกภิกษุผคู บ

พระสุตตันตปฎก อังคตุ รนกิ าย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 471ตลอดกาลนาน เพราะเหตุนั้น เราจงึ ไมส รรเสริญภิกษรุ ูปนั้น จะเปนเถระมัชฌมิ ะ นวกะก็ตาม แตถาภกิ ษุเถระก็ดี ภิกษุมัชฌมิ ะกด็ ี ภกิ ษุนวกะกด็ ี เปน ผูใ ครศึกษา กลา วคณุ แหง การบําเพญ็ สิกขา ชกั ชวนภกิ ษุอื่น ๆ ท่ไี มใ ครศ กึ ษาใหศกึ ษา ยกยอ งภิกษอุ ่นื ๆ ทีใ่ ครศ ึกษา โดยที่จรงิ ท่ีแทตามเวลาอนั ควรเราสรรเสริญภกิ ษุเถระ ภกิ ษุมชั ฌิมะ และภกิ ษุนวกะ เชนนี้ เพราะเหตอุ ะไรเพราะเหตวุ า ภกิ ษอุ น่ื ๆ รวู าพระศาสดาสรรเสริญเธอ กจ็ ะพงึ คบเธอ ภกิ ษุเหลาใดคบเธอ ภกิ ษเุ หลานั้นกจ็ ะพึงไดเ ยี่ยงอยางของเธอ ซ่งึ จะพึงเปน ทางเกิดประโยชน เกิดสุขแกภ ิกษุผูคบตลอดกาลนาน เพราะเหตุน้นั เราจงึสรรเสรญิ ภกิ ษเุ ชนนน้ั จะเปน เถระ มัชฌมิ ะ นวกะกต็ าม. จบปงกธาสูตรท่ี ๑๑ จบสมณวรรคที่ ๔ อรรถกถาปงกธาสตู ร พึงทราบวินิจฉยั ในปงกธาสูตรที่ ๑๑ ดงั ตอไปน้ี :- บทวา ป กธา นาม โกสลาน นิคโม ความวา นิคมในโกสลรัฐทม่ี ีช่อื อยา งนวี้ า ปง กธา. บทวา อาวาสิโก ความวา ภกิ ษุเจาอาวาสรางอาวาสหลงั ใหม ๆ ข้ึน บาํ รุงรักษาอาวาสหลงั เกาๆ. บทวา สกิ ขฺ าปทปฏิส -ยตุ ตฺ าย ไดแ ก ปฏสิ งั ยตุ ดวยบทกลาวคือสิกขา อธิบายวา ประกอบดว ยสิกขา ๓. บทวา สนฺทสฺเสติ ไดแ ก ทรงใหภ ิกษุท้งั หลายเหน็ เหมอื นอยูพรอมหนา. บทวา สมาทเปติ ไดแ กใหภ ิกษุทง้ั หลายถอื เอา. บทวา สมตุ เฺ ต

พระสุตตนั ตปฎ ก อังคุตรนกิ าย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 472เชติ คอื ใหภ กิ ษทุ ง้ั หลายอาจหาญ. บทวา สมปฺ ห เสติ คอื ตรัสสรรเสรญิทําภิกษทุ ง้ั หลายใหผ อ งใส ดวยคณุ ทต่ี นไดแลว. บทวา อธสิ ลเฺ ลขติ ไดแ กสมณะน้ียอ มขดั เกลาเหลือเกิน อธบิ ายวา สมณะนีย้ อ มกลาวธรรมที่ละเอียดๆทาํ ใหละเมยี ดละไมเหลอื เกนิ . บทวา อจฺจโย คือ ความผิด. บทวา ม อจจฺ คฺคมา คอื ลว งเกนิ เราไดแ กข ม เรา เปนไป. บทวา อหุเทว อกขฺ นฺติ ความวา ความไมอดกล้นัไดมีแลวทเี ดยี ว. บทวา อหุ อปปฺ จจฺ โย ความวา อาการไมยินดีไดม แี ลว.บทวา ปฏิคฺคณหฺ าตุ ความวา ขอพระผูม พี ระภาคเจาจงอดโทษ. บทวาอายตึ ส วราย คอื เพื่อประโยชนแ กค วามสํารวมในอนาคต อธบิ ายวา เพื่อตองการจะไมท ําความผิด คือโทษ ไดแ ก ความพลงั้ พลาด เห็นปานนี้อกี .บทวา ตคฆฺ เปนนบิ าตโดยสว นเดียว. บทวา ยถาธมมฺ  ปฏกิ โรสิ คือ ธรรมดาํ รงอยโู ดยประการใดเธอกท็ าํ โดยประการนัน้ มคี าํ อธิบายวา ใหอ ดโทษ. บทวา ต เต มยปฏิคคฺ ณฺหาม ความวา เราทั้งหลายยอมยกโทษน้ันใหเธอ. บทวา วุฑฒิเหสา กสสฺ ป อรยิ สสฺ วนิ เย ความวา ดกู อ นกัสสปะ นีช้ ่อื วา เปนความเจรญิ ในศาสนาของพระผมู ีพระภาคพุทธเจา. ถามวา ความเจริญเปนไฉน ? ตอบวา การเห็นโทษวาเปน โทษแลว ทําคนื ตามธรรมถึงความสํารวมตอ ไป. ก็ พระผมู พี ระภาคเจาเม่อื จะทรงทาํ เทศนาใหเปน ปคุ คลาธิษฐาน จงึตรัสวา โย อจจฺ ย อรยิ สสฺ ทิสวฺ า ยถาธมมฺ  ปฏกิ โรติ อายตึ ส วรอาปชชฺ ติ แปลวา ผใู ดเหน็ โทษโดยความเปน โทษ กระทาํ คืนตามธรรมเนยี มยอมถงึ ความสํารวมตอไป ดังน้.ี

พระสุตตนั ตปฎ ก องั คุตรนิกาย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 473 บทวา น สิกฺขากาโม ความวา ภกิ ษุไมต องการ คอื ไมป รารถนาไดแก ไมกระหยิม่ ใจตอสกิ ขา ๓. บทวา สิกขาสมาทานสฺส คอื แหงการบําเพ็ญสิกขาใหบ ริบูรณ. บทวา น วณณฺ วาที คือ ไมกลา วคณุ . บทวากาเลน คือ โดยกาลอันเหมาะสม. บทที่เหลือในสูตรนม้ี คี วามหมาย งายทั้งน้นั แล. จบอรรถกถาปง กธาสูตรท่ี ๑๐ จบสมณวรรควรรณนาท่ี ๔ รวมพระสตู รท่ีมใี นวรรคน้ี คือ ๑. สมณสูตร ๒. คัทรภสูตร ๓. เขตตสตู ร ๔. วัชชปี ตุ ตสูตร๕. ปฐมเสขสูตร ๖. ทุติยเสขสูตร ๗. ตตยิ เสขสตู ร ๘. จตุตถเสขสูตร๙. ปฐมสิกขาสตู ร ๑๐. ทตุ ิยสกิ ขาสตู ร ๑๑. ปง กธาสูตร และอรรถกถา

พระสตุ ตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 474 โลณผลวรรคที่ ๕ ๑.อัจจายกิ สตู ร วาดว ยกิจรีบดวนของชาวนาและภกิ ษุ [๕๓๒] ดูกอนภกิ ษุท้งั หลาย อัจจายกิ กรณียะ (กจิ ทีต่ อ งรีบทาํ )ของคฤหบดชี าวนา ๓ นี้ อัจจายกิ กรณยี ะ ๓ คืออะไรบา ง คอื คฤหบดีชาวนารบี ๆ ไถคราดพน้ื ท่ีนาใหดี ครน้ั แลวรบี ๆ ปลกู พืช ครน้ั แลวรีบ ๆไขนํ้าเขาบา ง ไขนา้ํ ออกบาง น้ีแล อัจจายกิ กรณียะ ของคฤหบดีชาวนา ๓แตวาคฤหบดีชาวนานน้ั ไมม ฤี ทธห์ิ รืออานภุ าพท่ีจะบันดาลใหขา วงอกในวนั น้ีต้ังทองพรุงนี้ สุกมะรนื นี้ ทถ่ี ูกยอ มมีสมยั ท่ีขา วนัน้ เปล่ยี นสภาพไปตามฤดูยอมจะงอกบาง ต้ังทอ งบาง สกุ บา ง ฉนั เดยี วกันน่ันแล ภกิ ษุทงั้ หลาย อัจจายิกกรณยี ะของภกิ ษุ ๓ นี้คอื อะไรบาง คอื การบําเพ็ญอธิสีลสิกขา การบาํ เพ็ญอธจิ ติ ตสิกขา การบาํ เพญ็อธิปญญาสกิ ขา นแ้ี ล อัจจายิกกรณียะของภกิ ษุ ๓ แตภกิ ษนุ นั้ ไมมฤี ทธิ์หรอือานุภาพท่ีจะบันดาลใหจิตของตนเลกิ ยดึ ถอื หลุดพน จากอาสวะ ในวันน้ี หรอืพรงุ น้ี หรือมะรืนนไ้ี ด ทถี่ กู ยอมมสี มัย ท่ีเมือ่ ภิกษุน้ันศึกษาอธิศลี ไปศึกษาอธจิ ติ ไป ศึกษาอธปิ ญญาไป จติ ยอมจะเลกิ ยดึ ถอื หลุดพน จากอาสวะได เพราะเหตุน้นั ทานท้ังหลายพงึ สําเหนียกในขอนวี้ า ฉันทะของเราในการบําเพ็ญอธิสลี สิกขา อธจิ ิตตสกิ ขา และอธิปญ ญาสกิ ขาตองกลา แข็งภกิ ษุท้งั หลาย ทานทั้งหลายพงึ สําเหนยี กอยา งน้ีแล. จบอัจจายิกสตู รที่ ๑

พระสุตตนั ตปฎก อังคตุ รนิกาย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 475 โลณผลวรรควรรณนาที่ ๕ อรรถกถาอัจจายกิ สูตร พึงทราบวินิจฉยั ในอัจจายิกสตู รท่ี ๑ ดงั ตอไปน้ี :- บทวา อจจฺ ายกิ านิ แปลวา รีบดว น. บทวา กรณยี านิ แปลวากิจท่ีตองทําอยางแนแ ท ก็ธุระใดไมตอ งทาํ เปนการแนแท ธรุ ะน้นั เรียกวากจิ(งานอดิเรก) ธุระทต่ี องทําเปน การแนแทช่อื วา กรณียะ (งานประจํา). บทวาสีฆสีฆ แปลวา โดยเรว็ ๆ. บทวา ต ในคาํ วา ตสสฺ โข ต น้ี เปนเพยี งนบิ าต. บทวา นตฺถิ สา อิทธฺ ิ วา อานภุ าโว วา ความวาฤทธน์ิ ้นั หรืออานุภาพนั้นไมม .ี บทวา อตุ ฺตรเสวฺ ไดแ ก ในวนั ที่ ๓ (วันมะรืน). บทวา อตุ ุ-ปริณามนี ิ ไดแ ก ธญั ชาตทิ ง้ั หลายไดค วามเปลี่ยนแปลงฤด.ู บทวา ชายนตฺ ิปไดแก มีหนอ สขี าวงอกออกในวันท่ี ๓ เม่อื ครบ ๗ วัน หนอ กก็ ลบั เปน สีเขียว.บทวา คพภฺ นิ ีป โหนฺติ ความวา ถงึ เวลาเดือนครึง่ ก็ตง้ั ทอ ง. บทวาปจนฺตปิ  ความวา ถงึ เวลา ๓ เดือนกส็ กุ . บดั นี้ เพราะเหตุที่ พระพุทธเจาทง้ั หลายไมม ีความตอ งการดว ยคฤหบดีหรอื ดวยขา วกลา แตที่ทรงนาํ อปุ มาน้ัน ๆ มาก็เพ่อื จะทรงแสดงบคุ คลหรืออรรถทเี่ หมาะสมกบั เทศนานัน้ ในศาสนา ฉะนั้น เม่ือจะทรงแสดงความหมายท่ีพระองคทรงประสงคจะแสดง (ซง่ึ เปนเหตใุ ห) นาํ อปุ มานน้ั มาจึงตรสั คาํ วา เอวเมว โข เปนตน. สูตรน้ัน เมือ่ วาโดยอรรถ งา ยทง้ั นน้ั แล.ก็ สิกขา พระผูม พี ระภาคเจาก็ตรัสไวคละกัน แมในสูตรนี้. จบอรรถกถาอจั จายิกสูตรที่ ๑

พระสตุ ตันตปฎ ก อังคุตรนกิ าย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 476 ๒. วิวติ ตสูตร วา ดวยความสงดั จากกิเลส ๓ อยา ง [๕๓๓] ดกู อนภิกษทุ ง้ั หลาย ปริพาชกทง้ั หลายผถู ือลทั ธอิ ่ืน ยอมบัญญตั ปิ วิเวก (ความสงบสงัด) ๓ นี้ ปวเิ วก ๓ คอื อะไร คือ จีวรปวิเวก(ความสงบสงัดเนอื่ งดวยผานุงหม ) บิณฑบาตปวิเวก (ความสงบสงดั เน่ืองดว ยอาหาร) เสนาสนปวิเวก (ความสงบสงดั เน่ืองดวยที่อยูอาศัย) บรรดาปวเิ วก ๓ น้ัน ในจวี รปวเิ วก พวกปรพิ าชกบญั ญัติผา ดงั นี้คอื เขาใช (สาณ) ผาทาํ ดว ยเปลือกปานบาง (มสาณ) ผาทําดวยเปลือกปานแกมดา ยบา ง (ฉวทุสสฺ ) ผา หอศพบาง (ป สกุ ลู ) ผา ทีเ่ ขาทงิ้ แลวบาง(ตริ ฏี ก) เปลอื กไมบ า ง (อชิน) หนงั สัตวบาง (อชนิ กฺขปิ า) หนงั สัตวมเี ลบ็ ติดบาง (กสุ จีร) คากรองบา ง (วากจรี ) เปลือกไมก รองบา ง (ผลกจรี )ผลไมก รองบาง (เกสกมฺพล) ผากมั พลทําดวยผมคนบา ง (วาลกมฺพล)ผา กมั พลทาํ ดว ยขนหางสัตวบา ง (อลุ กู ปกฺข) ปกนกเคา บา ง ในบณิ ฑบาตปวเิ วก เขาบญั ญตั ิอาหารดงั นี้ คอื (สากภกฺขา)กนิ ผกั บา ง (สามากภกขฺ า) กินขาวฟางบา ง (นวิ ารภกขฺ า) กินลูกเดอื ยบา ง(ทททฺ ลุ ภกขฺ า) กินกากหนงั (ทช่ี า งหนงั ขดู ท้ิง) บาง (หฏภกฺขา)กนิ ยางไมบ าง (กณภกขฺ า) กนิ รําขา วบา ง (อาจามภกฺขา) กนิ ขาวตงั บาง(ป ฺ ากภกขฺ า) กินงาปนบาง (ติณภกฺขา) กินหญา บาง (โคมยภกขฺ า)กินมูลโคบาง (วนมลู ผลาหาร) กนิ เงาและผลไมปา บาง (ปวตฺตผลโภช)ีกนิ ผลไมท่มี อี ยู (ในพน้ื เมือง) บา ง ยังชีพใหเ ปนไป

พระสตุ ตันตปฎก องั คตุ รนิกาย ตกิ นบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 477 ในเสนาสนปวเิ วก เขาบญั ญตั ิทอี่ ยดู ังนี้ คอื (อรฺ) ปา(รุกขฺ มูล)โคนไม (สุสาน) ปา ชา (วนปตถฺ ) ปาสูง (อพโภกาส) กลางแจง(ปลาลปุ ฺช) กองฟาง (ภุสาคาร) โรงแกลบ ภิกษทุ ั้งหลาย พวกปรพิ าชกผูถอื ลัทธิอ่นื บญั ญัติปวิเวก ๓ นแี้ ล สวนปวิเวก ๓ ตอไปน้ี เปนปวเิ วกของภิกษุในพระธรรมวนิ ัยน้ีปวเิ วกของภกิ ษุ ๓ คอื อะไรบาง คือ ภิกษุในพระธรรมวนิ ัยน้เี ปน ผูมีศลีละความทศุ ีล และสงบสงดั จากความทุศลี นน้ั ๑ เปนผูมีความเหน็ ชอบ ละ-ความเห็นผดิ และสงบสงดั จากความเหน็ ผิดน้นั ๑ เปน ขีณาสพ ละอาสวะทั้งหลาย และสงบสงัดจากอาสวะท้งั หลายเหลาน้นั ๑ เมือ่ ภกิ ษุเปน ผมู ีศีล ฯลฯและสงบสงัดจากอาสวะทงั้ หลายเหลาน้ันแลว ภกิ ษุนี้เราเรยี กวา เปน ผูถ งึ ยอดถึงแกน บริสทุ ธ์ิ ต้ังอยใู นสาระ ภิกษทุ ้งั หลาย เปรยี บเหมือนนาขา วสาลีของคฤหบดีชาวนามีผลไดท ี่แลว คฤหบดชี าวนากร็ ีบ ๆ เก่ยี วขา วนน้ั ครัน้ แลว กร็ บี ๆ เกบ็ ขนมาข้ึนลานตง้ั นวด สงฟาง ปดขา วลีบ สาดแลว สี ซอม ฝด เม่ือเชนน้ี ขาวเปลือกของคฤหบดชี าวนาน้นั กเ็ ปน ถงึ ทีส่ ุด ถึงแกน สะอาด เปนขา วสาร ฉนั ใดกด็ ีภิกษุเปน ผูมีศลี ฯลฯ และสงบสงัดจากอาสวะท้ังหลายเหลานั้นแลว ภิกษนุ ้ีเราเรยี กวา เปน ผถู งึ ยอด ถงึ แกน บริสุทธ์ิ ต้ังอยใู นสาระ ฉนั น้ันเหมอื นกันแล. จบวิวติ ตสตู รท่ี ๒

พระสตุ ตนั ตปฎ ก อังคุตรนกิ าย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 478 อรรถกถาวิวติ ตสตู ร พึงทราบวนิ จิ ฉยั ในววิ ติ ตสูตรที่ ๒ ดังตอ ไปน้ี :- บทวา จวี รปวิเวก ไดแ ก ความสงัดจากกิเลสทเ่ี กิดข้นึ เพราะอาศัยจวี ร. แมใ นสองบททเ่ี หลือ กม็ นี ยั อยางเดยี วกันน้แี ล. บทวาสาณานิ ไดแ กผ าท่ที อดว ยปา น. บทวา มสาณานิ ไดแ ก ผามเี นอื้ ปนกนั .บทวา ฉวทุสฺสานิ ไดแก ผา ทที่ ิง้ จากรางของคนตาย. หรือผา นงุ ทท่ี ําโดยกรองหญาเอรกะเปนตน . บทวา ป สกุ ูลานิ ไดแก ผา ไมมีชายทท่ี ิง้ ไวบนแผนดิน. บทวา ตริ ีฏกานิ ไดแกผ าเปลอื กไม. บทวา อชินจมฺมานิไดแ ก หนังเสือเหลือง. บทวา อชนิ กฺขิป ไดแ ก หนังเสือเหลอื งน้นั แลที่ผา กลาง อาจารยบางพวกกลา ววา สหขุรก หนังเสือทมี่ ีเล็บติด ดงั น้ีบาง.บทวา กสุ จีร ไดแก จวี รทถี่ ักหญา คาทํา. แมใ นผา คากรองและผา เปลือกไมก็มีนัย นแี้ ล. บทวา เกสกมฺพล ไดแก ผากัมพลที่ทําดว ยผมมนุษย.บทวา วาลกมฺพล ไดแก ผากัมพลทที่ าํ ดว ยหางมา เปน ตน . บทวาอลุ ูกปกฺขิก ไดแก ผา นุงทีท่ ําโดยปก นกฮูก. บทวา สากภกขฺ า ไดแกมี ผักสดเปน ภักษา. บทวา สามากภกขฺ าไดแก มีขาวฟา งเปน ภกั ษา. ในบทวา นิวาระ เปนตน วีหชิ าตทิ ี่งอกข้นึ เองในปา ช่ือวา นวิ าระ (ลูกเดอื ย). บทวา ททฺทุล ไดแก เศษเนอื้ ทพ่ี วกชางหนังแลห นังแลวทง้ิ ไว. ยางเหนยี วก็ดี สาหรายก็ดี ยางไมมีตน กรรณกิ ารเปน ตน ก็ดี เรยี กวา หฏะ. บทวา กณ แปลวา ราํ ขา ว. บทวา อาจาโมไดแก ขาวตังทต่ี ิดหมอ ขาว เดียรถียทัง้ หลายเกบ็ เอาขา วตงั นัน้ ในท่ที เี่ ขาทงิ้ ไวแ ลว เค้ียวกิน. อาจารยบ างพวกกลาววา โอทนกฺชยิ  ดังนบี้ าง. งาปน

พระสุตตันตปฎก องั คตุ รนกิ าย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 479เปน ตน กป็ รากฏชัดแลว แล. บทวา ปวตฺตผลโภชี ไดแก มปี กตบิ รโิ ภคผลไมทห่ี ลน เอง. บทวา ภุสาคาร ไดแ ก โรงแกลบ. บทวา สีลวา ไดแก ประกอบดว ยปารสิ ทุ ธิศีล ๔. บทวาทสุ ฺสลี จฺ สสฺ ปหนี  โหติ ความวา ทุศีล ๕ เปน อนั ภิกษุนั้นละไดแ ลว.บทวา สมฺมาทฏิ โิ ก ไดแ กเ ปนผมู ีทิฏฐิ (ความเหน็ ) ตามความเปน จรงิ .บทวา มิจฉฺ าทิฏ ิ ไดแก เปน ผมู ีทฏิ ฐไิ มเ ปนไปตามความเปน จรงิ . บทวาอาสวา ไดแ ก อาสวะ ๔. บทวา อคฺคปปฺ ตโต ไดแก ถงึ ยอดศลี . บทวาสารปฺปตฺโต ไดแ ก ถงึ สลี สาระ (แกน คือศีล). บทวา สุทโฺ ธ แปลวาบริสุทธ.์ิ บทวา สาเร ปติฏ ิโต ไดแกตัง้ ม่นั อยูในสารธรรม คือ ศลี สมาธิและปญ ญา. บทวา เสยฺยถาปห เทา กบั ยถา นาม (ช่อื ฉันใด). บทวา สมปฺ นฺนคือ บรบิ รู ณ ไดแก เต็มดวยขาวสาลสี ุก. บทวา ส ฆราเปยฺย ไดแกชาวนาพงึ ใหข นมา. บทวา อุพพฺ หาเปยยฺ ไดแ ก พึงใหน ํามาสลู าน.บทวา ภสุ กิ  แปลวา แกลบ. บทวา โกฏฏาเปยฺย ไดแก พงึ ใหเทลงไปในครก แลวเอาสากตํา. บทวา อคฺคปปฺ ตฺตานิ ไดแก (ธญั ชาติท้งั หลาย)ถงึ ความเปน ขา วงาม. แมใ นบทวา สารปฺปตตฺ านิ เปน ตน ก็มีนัยนแ้ี ล.สวนบททเ่ี หลือมคี วามหมายงา ยทงั้ นน้ั . สว นคาํ ใดที่ตรัสไวในสตู รนี้วา ความทุศลี ภกิ ษุนัน้ ละไดแลว และมจิ ฉาทิฏฐภิ กิ ษนุ ัน้ ก็ละไดแ ลว ดงั น้ี คํานน้ั พึงทราบวา พระผมู ีพระภาคเจาตรัสหมายเอาความทุศลี และมิจฉาทิฏฐิอันภกิ ษลุ ะไดแ ลวดวยโสดาปตต-ิมรรค. จบอรรถกถาวิวิตตสตู รท่ี ๒

พระสตุ ตนั ตปฎ ก องั คุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 480 ๓. สรทสตู ร วา ดวยการละสงั โยชน ๓ ดว ยธรรมจกั ษุ [๕๓๔] ดกู อนภกิ ษุทัง้ หลาย ในหนา สารท ทอ งฟา แจม ปราศจากเมฆดวงอาทิตยส องฟา ขจดั ความมืดในอากาศส้นิ ท้ังสวาง ทงั้ สกุ ใส ทง้ั รุง เรอื งฉนั ใด ภิกษุทั้งหลาย เม่อื ธรรมจักษุ (ดวงตาคือปญญาเห็นธรรม) อัน-ปราศจากธุลไี มม ีมลทิน (คือกเิ ลส) เกดิ ขน้ึ แกอริยสาวก ก็ฉนั นน้ั เหมอื นกนัพรอ มกับเกดิ ความเห็นขนึ้ นนั้ สังโยชน ๓ คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกจิ ฉาสลี ัพพตปรามาส อรยิ สาวกยอ มละได ตอไป เธอออกจากธรรมอีก ๒ประการ คอื อภชิ ฌา และพยาบาท. เธอสงัดจากกาม...จากอกุศลธรรมท้งั หลายเขาปฐมฌาน อันมีวติ ก มีวจิ าร มปี ติและสุขเกิดแตวเิ วก. ภกิ ษุท้ังหลายถา อรยิ สาวกทํากาลกิริยา (ตาย) ในสมยั นั้น สังโยชนซงึ่ เปนเหตทุ ําใหอริยสาวกผตู ดิ อยมู าสูโลกนี้อกี ยอ มไมมี... จบสรทสตู รท่ี ๓ อรรถกถาสรทสตู ร พึงทราบวนิ ิจฉัยในสรทสตู รท่ี ๓ ดงั ตอไปน้ี :- บทวา วทิ เฺ ธ คอื ปลอดโปรงเพราะปราศจากเมฆ. บทวา เทเวคอื อากาศ. บทวา อภวิ ิหจจฺ คือ กําจัด. บทวา ยโต คอื ในกาลใด.บทวา วริ ช คอื ปราศจากธุลมี ีธลุ ีคอื ราคะเปนตน ท่ีชอื่ วา ปราศจากมลทนิเพราะมลทนิ เหลา น้นั แล ปราศจากไปแลว . บทวา ธมฺมจกขฺ ุ ไดแ ก จักษุ

พระสตุ ตนั ตปฎก อังคุตรนกิ าย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 481คอื โสดาปต ตมิ รรค ซึ่งกําหนดธรรมคอื สจั จะ ๔. บทวา นตถฺ ิ ต ส โยชนความวา พระอริยสาวกน้นั ไมมีสังโยชน ๒ อยา งแล (อภิชฌา และพยาบาท).อนงึ่ ในสตู รนอกนที้ า นกลาววา ไมมี กเ็ พราะไมส ามารถจะนํามาสูโลกน้ีไดอีก.แทจรงิ ในสตู รนี้ พระผูมพี ระภาคเจาตรสั หมายถึงพระอนาคามี. จบอรรถกถาสรทสูตรที่ ๓ ๔. ปรสิ าสูตร วาดว ยบรษิ ทั ๓ จําพวก [๕๓๕] ดกู อ นภกิ ษุทง้ั หลาย บริษทั ๓ นี้ บรษิ ัท ๓ คืออะไร คอื(อคคฺ วตี ปริสา) บริษัทท่ีมีแตคนดี (วคคฺ า ปริสา) บริษทั ที่เปนพรรค(คอื แตกกนั ) (สมคคฺ า ปริสา) บริษัทท่ีสามัคคกี นั บรษิ ทั ทมี่ แี ตคนดี เปน อยางไร ? ในบรษิ ัทใด ภกิ ษุผใู หญ ๆไมเปน ผสู ะสมบริขาร ไมย อหยอน (ในการบาํ เพ็ญสิกขา) ทอดธรุ ะในทางต่ําทราม มุงไปในทางปวเิ วก ปรารภความเพยี รเพื่อธรรมท่ียงั ไมถ งึ เพื่อบรรลธุ รรมทีย่ งั ไมบ รรลุ เพอื่ ทําใหแ จงซง่ึ ธรรมท่ยี งั มไิ ดท ําใหแ จง ปจฉมิ า-ชนตา (ประชมุ ชนผเู กดิ มาภายหลงั ) ไดเยี่ยงอยา งภิกษผุ ใู หญเ หลา น้นั กพ็ ากนั เปน ผไู มส ะสมบริขาร ไมย อ หยอ น (ในการบาํ เพญ็ สิกขา) ฯลฯ เพอื่ ทาํใหแจง ซึง่ ธรรมทย่ี ังมิไดท ําใหแ จง บริษทั นเ้ี รียกวา บรษิ ัทท่มี แี ตค นดี บรษิ ทั ทีเ่ ปน พรรค เปนอยา งไร ? ในบรษิ ัทใด ภกิ ษทุ ้งั หลายเกดิ แกงแยง ทะเลาะวิวาทกนั ท่มิ แทงกนั และกนั ดวยหอกคือปาก บริษทั นี้เรียกวา บริษทั ทเ่ี ปนพรรค

พระสตุ ตันตปฎก อังคุตรนกิ าย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 482 บรษิ ทั ทีส่ ามคั คีกัน เปน อยา งไร ? ในบริษัทใด ภกิ ษุทัง้ หลายพรอมเพรียงกนั ช่ืนบานตอกัน ไมว ิวาทกนั (กลมเกลียวเปนอนั หนงึ่ อันเดยี วกนั ) เปน ประหนึง่ วา นมประสมกบั นํา้ มองดูกันและกนั ดวยปย จักษุ(คอื สายตาของคนทรี่ ักใครกัน) บริษทั นเี้ รียกวา บรษิ ัทที่สามคั คกี นั ภิกษุทง้ั หลาย ในสมยั ใด ภิกษุทัง้ หลายพรอมเพรียงกัน ฯลฯ มองดูกันและกนั ดว ยปยจักษุ ในสมัยนนั้ ภกิ ษทุ ง้ั หลายยอมไดบ ญุ มาก ในสมยั นน้ัภิกษุทัง้ หลายชื่อวาอยอู ยา งพรหม คอื อยดู ว ยมุทิตา (พรหมวหิ าร) อันเปนเครอื่ งพนแหง ใจ (จากรษิ ยา) ปตยิ อมเกดิ แกผ ปู ราโมทยยนิ ดี กายของผมู ีใจปต ิยอมระงบั ผูม กี ายรํางบั ยอ มเสวยสุข จติ ของผูมสี ุขยอมเปนสมาธิ ภิกษทุ ัง้ หลาย เปรียบเหมอื นเม่อื ฝนเม็ดหนาตกบนภูเขา นาํ้ นน้ั ไหลไปตามที่ลุม ยังซอกเขาและลาํ รางทางนํ้าใหเ ตม็ ซอกเขาและลาํ รางทางน้าํเตม็ แลว ยอมยังหนองใหเตม็ หนองเต็มแลว ยอมยงั บึงใหเ ต็ม บึงเต็มแลวยอ มยงั คลองใหเ ตม็ คลองเต็มแลว ยอ มยงั แมนาํ้ ใหเ ตม็ แมน ํา้ เตม็ แลวยอ มยังทะเลใหเ ต็มฉันใดก็ดี ในสมัยใด ภิกษทุ ง้ั หลายพรอ มเพรียงกนั ฯลฯมองดูกันและกันดว ยปยจกั ษุ ในสมัยน้นั ภกิ ษทุ ้งั หลายยอ มไดบ ญุ มาก ฯลฯจิตของผมู สี ุขยอ มเปนสมาธิ ฉนั นั้นเหมือนกัน ภิกษุท้ังหลาย น้แี ล บริษทั ๓. จบปรสิ าสตู รที่ ๔

พระสตุ ตนั ตปฎ ก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 483 อรรถกถาปริสาสตู ร พงึ ทราบวนิ จิ ฉยั ในปรสิ าสตู รท่ี ๔ ดงั ตอไปนี้ :- บทวา พาหุลฺลกิ า น โหนฺติ ความวา ไมเ ปนผมู กั มากดวยปจ จัย. บทวา น สาถลิกา คือ ไมรับสกิ ขา ๓ ทําใหยอหยอ น. บทวาโอกกฺ มเน นิกขฺ ติ ตฺธรุ า ความวา นิวรณ ๕ เรยี กวา โอกกมนะ เพราะหมายความวา ทาํ ใหตกต่าํ (ภิกษุผูเ ถระ) เปนผทู อดท้ิงธรุ ะในนิวรณซ ่ึงทําใหตกต่าํ เหลานน้ั . บทวา ปวิเวเก ปุพพฺ งคฺ มา ความวา เปน หัวหนาในวเิ วก ๓ อยา ง กลาวคอื กายวิเวก จิตตวิเวก และอุปธิวิเวก. บทวาวิรยิ  อารภนฺติ ไดแ ก เรมิ่ ความเพียรทง้ั ๒ อยา ง. บทวา อปปฺ ตฺตสฺสไดแก ไมบ รรลุคณุ วเิ ศษ กลา วคอื ฌาน วิปสสนา มรรค และผล. แมในสองบททเ่ี หลอื ก็มีนยั นีแ้ ล. บทวา ปจฺฉิมา ชนตา ไดแก ประชมุ ชนภายหลงั มีสัทธวิ ิหาริกและอันเตวาสิกเปนตน. บทวา ทิฏานุคตึ อาปชฺชติ ความวา ทาํ ตามทีอ่ ุปชฌายแ ละอาจารยไ ดท ํามาแลว. ประชุมชนภายหลงั น้ชี ือ่ วา ถึงการดําเนินไปตามสิง่ ที่ประชุมชนนัน้ ไดเหน็ มาแลว ในอุปช ฌายอ าจารย. บทวา อยวุจจฺ ติ ภกิ ขฺ เว อคฺควตี ปรสิ า ความวา ดูกอนภิกษุทัง้ หลาย บริษทั น้ีเรียกวา บริษัททมี่ ีแตค นดี. บทวา ภณฑฺ นชาตา แปลวา เกิดการบาดหมางกัน. บทวากลหชาตา แปลวา เกดิ การทะเลาะกนั กส็ วนเบือ้ งตนของการทะเลาะกันชอื่ วา การบาดหมางในสตู รน้.ี การลว งเกนิ กนั ดวยอาํ นาจ (ถึงขนาด) จับมือกันเปน ตน ชอ่ื วา การทะเลาะกัน. บทวา วิวาทาปนนฺ า ไดแ ก ถงึ การ

พระสุตตันตปฎ ก อังคตุ รนิกาย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 484ทุมเถยี งกัน. บทวา มขุ สตตฺ ีหิ ความวา วาจาทีห่ ยาบคายเรียกวา หอกคือปาก เพราะหมายความวา ทม่ิ แทงคุณ (ภกิ ษุทัง้ หลายทิม่ แทงกนั และกนั )ดว ยหอกคอื ปากเหลานั้น บทวา วิตทฺ นตฺ า วิหรนตฺ ิ คือ เทย่ี วท่มิ แทงกัน. บทวา สมคคฺ า แปลวา พรอ มเพรยี งกัน. บทวา สมโฺ มทมานาไดแกมีความบันเทงิ เปนไปพรอ ม. บทวา ขโี รทกภี ตู า ไดแ ก (เขา กันได)เปนเหมอื นนาํ้ กบั นํา้ นม. บทวา ปย จกขฺ ูหิ ไดแ ก ดว ยจักษอุ ันเจือดวยเมตตาที่สงบเยน็ . บทวา ปติ ชายติ ไดแก ปต ิ ๕ ชนดิ เกดิ ข้นึ . บทวา กาโยปสสฺ มฺภติ ความวา ทง้ั นามกาย ท้ังรูปกาย เปนอันปราศจากความกระวนกระวาย. บทวา ปสสฺ ทธฺ กาโย ไดแก มกี ายไมก ระสบั กระสาย. บทวาสุข เวทิยติ ไดแก เสวยสขุ ทงั้ ทางกายและทางใจ. บทวา สมาธยิ ติความวา ก็จติ (ของภกิ ษุผมู คี วามสุข) ยอ มต้งั ม่นั อยใู นอารมณ. บทวา ถุลฺลผุสิตเก ไดแ ก ฝนเมด็ ใหญ. ในบทวา ปพพฺ ต-กนฺทรปทรสาขา นี้ พงึ ทราบวินิจฉัยดังน้ี ทช่ี อ่ื วา กนั ทระ ไดแก สว น(หนึ่ง) ของภเู ขาท่ถี ูกนาํ้ ซ่ึงไดนามวา ก เซาะแลว คือทําลายแลว ท่ีชาวโลกเรียกวา นติ ัมพะ (ไหลเขา) บาง นทนี ิกุญชะ (โตรกแมน้ํา) บาง. ทีช่ ือ่ วาปทระ ไดแ ก ภูมิประเทศทแ่ี ตกระแหงในเมื่อฝนไมตกเปนเวลาคร่ึงเดือน.ทีช่ อ่ื วา สาขา ไดแ ก ลาํ รางเลก็ ทางสําหรับนาํ้ ไหลไปสูห นอง. ท่ชี อื่ วากุสพุ ภฺ า ไดแก หนอง. ท่ีชอ่ื วา มหาโสพภฺ า ไดแ ก บึง. ทีช่ ือ่ วากนุ ฺนที ไดแก แมน ้าํ นอ ย. ทชี่ ่อื วา มหานที ไดแก แมน า้ํ ใหญ มีแมนา้ํ คงคาและยมุนาเปนตน . จบอรรถกถาปรสิ าสตู รที่ ๔

พระสุตตนั ตปฎ ก อังคุตรนกิ าย ตกิ นบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 485 ๕. ปฐมอาชานียสูตร วา ดวยองค ๓ ของมา ตน และของภกิ ษุ [๕๓๖] ดูกอนภิกษทุ ้งั หลาย มาอาชาไนย ตัวประเสริฐของพระ-ราชา ประกอบพรอ มดว ยองค ๓ จงึ เปน พาหนะคคู วรแกพ ระราชา เปน มา ตนเทา กบั วา เปนองคาพยพของพระราชาทีเดยี ว องค ๓ คอื อะไร คือสีงาม ๑กําลงั ดี ๑ มีฝเทา ๑ มา อาชาไนยตัวประเสริฐของพระราชา ประกอบพรอมดว ยองค ๓ น้ีแล จึงเปนพาหนะคูควรแกพระราชาเปน มาตน เทา กบั วา เปนองคาพยพของพระราชาทเี ดยี ว ฉนั เดียวกนั นั้นแล ภกิ ษทุ งั้ หลาย ภกิ ษุผปู ระกอบพรอมดวยองค ๓จงึ เปน (อาหุเนยฺโย) ผูควรของคํานับ (ปาหุเนยฺโย) ผคู วรของตอ นรับ(ทกขฺ ิเณยโฺ ย) ผูค วรของทําบญุ (อชฺ ลกิ ฺรณีโย) ผคู วรทาํ อญั ชลี (อนตุ ตฺ รปุฺญกฺเขตตฺ  โลกสสฺ ) เปนนาบญุ ของโลก ไมม ีนาบุญอน่ื ยิง่ กวา องค ๓คอื อะไร คือวรรณะงาม ๑ เขม แข็ง ๑ มเี ชาว ๑ ภกิ ษุวรรณะงาม เปนอยา งไร ? ภิกษุในพระธรรมวนิ ัยน้เี ปน ผมู ศี ีลสาํ รวมในพระปาฏโิ มกข ถึงพรอมดว ยมรรยาทและโคจร เห็นภัยในโทษมาตรวา นอย สมาทานศึกษาอยูในสกิ ขาบทท้ังหลาย อยางนเ้ี รยี กวา ภกิ ษุวรรณะงาม ภิกษเุ ขมแขง็ เปน อยา งไร ? ภกิ ษใุ นพระธรรมวนิ ัยนีท้ าํ ความเพียรเพอื่ ละอกศุ ลธรรม บําเพ็ญกุศลธรรม แขง็ ขนั บากบ่นั ม่ันคงไมท อดธรุ ะในกศุ ลธรรมทงั้ หลาย อยา งนี้เรียกวา ภิกษเุ ขม แข็ง

พระสตุ ตันตปฎ ก อังคุตรนิกาย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 486 ภิกษุมีเชาว เปนอยางไร ? ภิกษุในพระธรรมวนิ ัยนีร้ ทู ว่ั ถึงตามจรงิ วา นี่ทุกข ฯลฯ น่ที ุกขนิโรธคามนิ ปี ฏปิ ทา อยางน้ี เรียกวา ภกิ ษมุ ีเชาว ภิกษทุ ้ังหลาย ภิกษุผูประกอบพรอมดวยองค ๓ นีแ้ ล จึงเปน ผคู วรของคาํ นับ ฯลฯ ไมมีนาบญุ อันยง่ิ กวา . จบปฐมอาชานียสตู รที่ ๕ อรรถกถาปฐมอาชานียสูตร พึงทราบวินิจฉยั ในปฐมอาชานยี สตู รท่ี ๕ ดังตอ ไปน;ี้ - บทวา องเฺ คหิ คอื ดว ยองคคณุ ทงั้ หลาย. บทวา ราชารโหคอื (มา อาชาไนย) สมควร คือ เหมาะสมแกพระราชา. บทวา ราชโภคโฺ คคอื เปน มา ตนของพระราชา. บทวา รโฺ  องคฺ  ไดแ ก ถึงการนับวาเปนอังคาพยพของพระราชา เพราะมเี ทาหนา และเทา หลงั เปนตน สมสวน.บทวา วณฺณสมปนฺโน ไดแ กถ ึงพรอมดว ยสรี า งกาย. บทวา พลสมฺปนโฺ นไดแ ก สมบรู ณดว ยกําลงั กาย. บทวา ชวสมฺปนโฺ น ไดแก เพียบพรอ มดว ยพลังความเร็ว. บทวา อาหุเนยฺโย ไดแ ก เปน ผูสมควรรับบณิ ฑบาต กลา วคือของท่ีเขานาํ มาบูชา. บทวา ปาหุเนยโฺ ย ไดแ ก เปนผูส มควร (ทีจ่ ะรบั )ภัตรท่จี ดั ไวต อนรับแขก. บทวา ทกฺขเิ ณยโฺ ย ไดแก เปนผูสมควรแกทักษณิ า กลาวคือของทเี่ ขาถวายดวยศรัทธา ดว ยอํานาจสละทานวตั ถุ ๑๐ อยา ง.บทวา อชฺ ลิกรณีโย ไดแก เปนผสู มควรแกก ารประคองอัญชลี. บทวาอนุตตฺ ร ปุ ฺกเฺ ขตตฺ  โลกสสฺ ไดแก เปนสถานที่งอกงามแหง บุญของชาวโลกทง้ั หมด ไมม ที ่ีใดเสมอเหมอื น.

พระสตุ ตันตปฎ ก องั คตุ รนิกาย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 487 บทวา วณณฺ สมปฺ นโฺ น ไดแ กถงึ พรอมดวยวรรณะคอื คณุ . บทวาพลสมฺปนฺโน ไดแ กสมบรู ณด ว ยพลังวิริยะ. บทวา ชวสมฺปนโฺ น ไดแกเพียบพรอมดวยกาํ ลงั ญาณ. บทวา ถามวา ไดแ ก ถงึ พรอมดวยกาํ ลงัแหงญาณ. บทวา ทฬหฺ ปรกฺกโม ไดแก มีความบากบ่นั ม่นั คง. บทวาอนกิ ฺขติ ฺตธุโร ไดแก ไมวางธรุ ะ คือ ปฏิบัติไปดว ยคดิ อยางน้ีวา เราไมบรรลอุ รหัตผลซึ่งเปน ผลอันเลิศแลว จักไมท อดทิ้งธุระ คือ ความเพยี ร. ในสตู รน้ี โสดาปต ติมรรคพระผูมีพระภาคเจา ตรสั ไวด วยอาํ นาจสจั จะ๔ และความเปน ผูเพยี บพรอ มดว ยความเร็วแหง ญาณ ตรัสไวแลวดวยโสดา-ปต ติมรรคแล. จบอรรถกถาปฐมอาชานียสตู รท่ี ๕ ๖. ทตุ ยิ อาชานียสตู ร วาดว ยองค ๓ ของมาตนและของภิกษุ [๕๓๗] (เหมอื นสตู รกอน ตางกันแตต อนแก ภิกษุมเี ชาว สูตรกอ นแกเปนภิกษรุ อู รยิ สัจ ซงึ่ ทา นวา เปน พระโสดาบนั สตู รนี้แกเปนพระอนาคามีดงั นี้ ) ฯลฯ ภิกษมุ ีเชาวเปนอยางไร ? ภกิ ษใุ นพระธรรมวนิ ัยน้ี เพราะสนิ้โอรัมภาคิยสงั โยชน (สงั โยชนเ บ้อื งต่าํ ) ๕ เปน โอปปาตกิ ะ ปรินพิ พานในโลกท่เี กิดนน้ั มีอันไมก ลับจากโลกน้นั เปน ธรรมดา อยา งน้ีเรยี กวา ภกิ ษมุ เี ชาว. จบทตุ ิยอาชานยี สูตรท่ี ๖

พระสุตตันตปฎก องั คตุ รนิกาย ตกิ นบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 488 อรรถกถาอาชานยี สตู ร ในสตู รที่ ๖ มรรค ๓ ผล ๓ พระผมู พี ระภาคเจา ตรัสไวแ ลว และความเปน ผถู งึ พรอมดว ยความเร็วแหงญาณ พระผูม พี ระภาคเจากต็ รัสไวแ ลวดวยมรรค ๓ ผล ๓. จบอรรถกถาทตุ ยิ อาชานยี สูตรที่ ๖ ๗. ตติยอาชานียสตู ร วา ดว ยองค ๓ ของมา ตนและของภิกษุ[๕๓๘] (สตู รนก้ี เ็ หมอื นกนั ตางกนั แตแ กภ กิ ษมุ เี ชาว เปน พระ-อรหนั ต ดังน)้ี ฯลฯภิกษุมีเชาวเปน อยางไร ? ภิกษุในพระธรรมวินัยนก้ี ระทาํ ใหแ จง ซึ่งเจโตวิมตุ ติปญญาวิมตุ ติ ฯล ฯ ในปจจบุ ันนี้ อยางนเี้ รยี กวา ภิกษุมเี ชาว. จบตติยอาชานียสูตรท่ี ๗ อรรถกถาตตยิ อาชานยี สูตร ในสตู รที่ ๗ อรหตั ผล พระผมู ีพระภาคเจาตรัสไวแลว มรรคกจิพระผมู พี ระภาคเจาตรัสไวแ ลว ดวยอรหตั ผลน่ันเอง. สวนผลไมค วรเรยี กวาเชาว เพราะเกิดขึ้นไดดวยเชาว ท่ีแลนไปแลว. จบอรรถกถาตติยอาชานยี สูตรที่ ๗

พระสุตตนั ตปฎ ก อังคตุ รนิกาย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 489 ๘. นวสูตร วาดวยบคุ คลทเ่ี ปรียบไดก ับผา เปลือกไม ๓ ชนิด [๕๓๙] ดูกอนภกิ ษทุ งั้ หลาย ผาเปลือกไม แมใ หมกส็ ีทราม สัมผสั -หยาบ และราคาถูก แมก ลางใหมก ลางเกากส็ ีทราม สัมผัสหยาบ และราคาถกูแมเกาแลวก็สีทราม สัมผสั หยาบ และราคาถกู ผา เปลือกไมที่ครํา่ ครา แลวเขาก็ทําเปน ผา เช็ดหมอ ขา วบา ง ทงิ้ เสยี ที่กองขยะบา งฉันใด ฉนั นัน้ น่นั แหละ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ภกิ ษนุ วกะกด็ ี ภิกษุมชั ฌิมะก็ดีภกิ ษเุ ถระกด็ ี ถา เปนผทู ศุ ลี มธี รรมอันเลว เรากลา วความทศุ ีลมธี รรมเลวน้ีในความมีสีทรามของภกิ ษุ กลา วบคุ คลน้วี าเหมอื นผาเปลือกไมมีสที รามฉะนน้ั อนง่ึ ชนเหลา ใดคบหาสมาคม ทําตามเยีย่ งอยา งภิกษนุ ้นั ขอ นัน้ยอ มเปนไปเพ่ือสง่ิ อนั ไมเกอ้ื กลู เพอ่ื ทกุ ขแกชนเหลา นั้น ตลอดกาลนาน เรากลาวการคบหาสมาคมทําตามเยย่ี งอยา งทเี่ ปน เหตใุ หเกดิ ส่ิงอนั ไมเกือ้ กลู เกิดทกุ ขน ี้ในความมีสัมผัสหยาบของภิกษุ กลาวบุคคลนี้วา ดจุ ผา เปลือกไมมีสัมผสั หยาบฉะนั้น อน่ึง ภิกษนุ นั้ รับจีวร บณิ ฑบาต เสนาสนะ คิลานปจ จยั ... ของชนเหลาใด ขอน้ัน ยอมไมเ ปนการมีผลานิสงสมากแกชนเหลานั้น เรากลา วการรบั ปจ จัยอนั ไมเ ปนการมีผลานิสงสม ากแกทายกนี้ ในความมรี าคาถกู ของภกิ ษุ กลาวบคุ คลนี้วาเปน ดังผา เปลือกไมมรี าคาถูกฉะน้ัน อนง่ึ ภกิ ษเุ ถระชนดิ นั้น กลา วอะไรในทามกลางสงฆ ภิกษุท้ังหลายกก็ ลาวเอาวา ประโยชนอ ะไรดว ยถอ ยคําของทา นผูโ งเขลาอยา งทา นก็เผยอจะพดู ดวย ภกิ ษุเถระนัน้ โกรธนอ ยใจ ก็จะใชถ อ ยคําชนดิ ท่เี ปนเหตใุ หสงฆล งอกุ -เขปนียกรรม (คอื หา มไมใ หต ดิ ตอเกยี่ วขอ งกบั ภิกษุท้งั หลาย) เหมอื นเขาท้ิงผา เปลอื กไมเ กาเสียทีก่ องขยะฉะน้ัน






















Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook