พระสุตตนั ตปฎ ก องั คุตรนกิ าย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 551สัมพุทธเจา คงเขาพระทัยวา ธรรมกถาของเราตถาคต ยอ มนาํ สัตวออกไปจากทกุ ข จึงตรสั พระธรรมเทศนาทค่ี ลอ งพระโอฐเทาน้ัน. พระศาสดาทรงรูใจของภิกษเุ หลานนั้ แลว จึงทรงเรมิ่ พระสูตรนี.้ บรรดาบทเหลานัน้ บทวา อภิ ฺาย ความวา รู คือแทงตลอดไดแกกระทาํ ใหประจกั ษ วา ธรรมเหลานี้ คือ ขันธ ๕ อายตนะ ๑๒ธาตุ ๑๘ อินทรยี ๒๒ อริยสัจ ๔ เหตุ ๙ ผัสสะ ๗ เวทนา ๗ เจตนา ๗สัญญา ๗ จติ ๗. อนง่ึ อธิบายวา รู คือแทงตลอด ไดแ กกระทําใหแ จงนั่นแหละซ่ึงธรรมเหลาน้ัน ๆ โดยนัยมีอาทิวา สติปฏ ฐาน ๔ เหลาน้ี ดงั น.้ีบทวา สนิทาน ความวา เราตถาคตกลา วธรรมพรอ มทง้ั ปจจัยนน่ั แล ไมใ ชไมม ีปจ จยั . บทวา สปฺปาฏิหาริย ความวา เราตถาคตกลาวธรรมมปี าฏหิ าริยนั่นแหละ เพราะขจัดขาศึกได ไมใชไมมีปาฏิหาริย. บทวา อลฺจ ปน โวความวา กแ็ ล (โอวาทานสุ าสน)ี ควรแกเธอทง้ั หลาย. บทวา ตุฏยิ ามีอรรถาธบิ ายวา ควรทีเดยี ว เพ่ือจะทําความยนิ ดีแกเ ธอทง้ั หลาย ผูระลกึ ถึงเนอื ง ๆ ซ่งึ รตนะทงั้ ๓ โดยพระคุณวา พระผมู ีพระภาคเจา เปนผูตรัสรชู อบดว ยพระองคเอง พระธรรมอนั พระผูม พี ระภาคเจาตรสั ดแี ลว พระสงฆเปนผปู ฏบิ ัติดแี ลว ดังนี้ แมใ นบทท้ังสองทเ่ี หลือ ก็มีนยั นแ้ี หละ. บทวา อกมฺปต ถฺ ไดแ ก ไดห วน่ั ไหวแลวดว ยอาการ ๖ อยางอธบิ ายวา ความหว่ันไหวแหง ปฐพเี หน็ ปานน้ี ไดมีแลวที่โพธิมณฑล ไดย นิ วาเมื่อพระโพธสิ ัตว เสด็จข้ึนสูโพธิมณฑล ทางดานทศิ ใต ดานทิศใตเ บอ้ื งลางก็ไดเปนเหมอื นลงไปถงึ อเวจีมหานรก ดา นทศิ เหนอื ไดเปน เหมือนจะยกขึ้นจดภวคั คพรหม ดานทศิ ตะวันตกเบอ้ื งลาง ไดเปน เหมือนลงไปถงึ อเวจีมหานรก ดานทิศตะวันออกกไ็ ดเปนเหมือนจะยกขนึ้ จดภวัคคพรหม ทศิ เหนอืดานลาง กไ็ ดเปนเหมือนลงไปถงึ อเวจีมหานรก ดานทิศใต ก็ไดเปน
พระสุตตันตปฎ ก องั คตุ รนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 552เหมือนจะยกข้นึ จดภวคั คพรหม ทศิ ตะวันออกเบ้ืองลาง ไดเ ปนเหมอื นลงไปถงึ อเวจีมหานรก ดา นทศิ ตะวนั ตก ไดเ ปนเหมอื นจะยกขึน้ จดภวคั คพรหมแมโพธพิ ฤกษเ บอื้ งลา ง กไ็ ดเ ปน เหมอื นจมลงไปถงึ เวจีมหานรกคราวเดยี วกนั(ดานบน) ไดเ ปน เหมือนพุงข้ึนไปจดภวคั คพรหมคราวเดียวกนั . แมในวันน้นัมหาปฐพี ในพนั แหง จกั รวาลไดห ว่นั ไหวแลว ดว ยอาการ ๖ อยาง ดงั พรรณนามาฉะน้ี. จบอรรถกถาโคตมกเจตยิ สตู รท่ี ๓ ๔. ภรณั ฑุสูตร วา ดว ยศาสดา ๓ จาํ พวก [๕๖๖] สมยั หนึ่ง พระผมู ีพระภาคเจา เสด็จจารกิ ไปในประเทศโกศล ถึงกรงุ กบิลพสั ดุ เจามหานาม ศากยะ ไดทรงทราบวา พระผูม ี-พระภาคเจา เสดจ็ ถงึ กรุงกบลิ พัสดแุ ลว เสด็จไปเฝา ถวายอภิวาทแลว ประทบัยืนอยู ณ ทคี่ วรสวนหนึ่ง พระผมู ีพระภาคเจา ตรัสกะเจามหานาม ศากยะวา มหานาม เธอจงไปหาเรอื นทพี่ กั ในกรงุ กบลิ พสั ดุ ทพี่ อพวกเรา จะพกัในวันนส้ี กั คนื หนงึ่ . เจามหานาม ศากยะ รบั พระดํารสั แลว เสด็จเขากรงุ กบลิ พัสดุเทีย่ วเสาะหาทั่วกรงุ ไมเหน็ เรอื นทีพ่ อจะเปนทป่ี ระทบั พักไดสกั แหง จงึ เสดจ็ กลบั ไปกราบทูลวา ไมมี พระพทุ ธเจาขา เรือนในกรงุ กบลิ พัสดุ ทีพ่ อจะเปนที่ประทบั พัก ในวนั นี้ พระพุทธเจา ขา ทานภรัณฑุกาลามะ เพอ่ื นประพฤติพรหมจรรยเ กาแกของพระผมู ีพระภาคเจามีอยู ขอพระผูมพี ระภาคเจา จงประทบัพักในอาศรมของทานสกั คืนเถดิ .
พระสตุ ตันตปฎ ก อังคุตรนิกาย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 553 พ. เธอจงไปจดั การปูลาด. เจา มหานาม ศากยะ รบั พระดาํ รสั แลวเสดจ็ ไปอาศรมของภรัณฑกุ าลามะจดั การปูลาด ตั้งน้าํ ชาํ ระพระยคุ ลบาทแลว ไปกราบทลู วา พระพทุ ธเจาขาขา พระพทุ ธเจาไดจัดการปลู าด ต้งั นาํ้ ชาํ ระพระยคุ ลบาทแลว แลว แตจ ะโปรด. ลําดับนั้น พระผูมพี ระภาคเจา เสดจ็ ไปอาศรมของภรัณฑุ กาลามะประทับ ณ อาสนะทีจ่ ัดไว ครน้ั ประทับนั่งแลว ทรงลา งพระบาท เจา มหานาม ศากยะ ทรงดํารวิ า วันนไี้ มใ ชเวลาอนั ควรทจ่ี ะเฝาสนทนา พระผูมีพระภาคเจา ทรงเมื่อยลา พรุงน้ีจึงคอ ยเฝาเถดิ จงึ ถวายอภิวาททาํ ประทักษณิ เสดจ็ กลบั ไป ลว งราตรนี ั้นแลว เจามหานาม ศากยะ เขา เฝาพระผูมีพระภาคเจาถวายอภวิ าทแลว ประทบั นง่ั ณ ที่ควรสวนหนง่ึ พระผมู พี ระภาคเจาตรสั กะเจามหานาม ศากยะ วา มหานาม ศาสดา๓ จาํ พวกนม้ี ีปรากฏอยูในโลก ศาสดา ๓ จําพวก เปนไฉน ศาสดาลางพวกบญั ญัตกิ ามปรญิ ญา (ความกําหนดรเู รอื่ งกามท้ังหลาย) แตไมบ ญั ญตั ิรปู ปริญญา (ความกาํ หนดรูเร่ืองรปู ทั้งหลาย) ไมบ ญั ญัตเิ วทนาปรญิ ญา(ความกําหนดรเู ร่อื งเวทนาทงั้ หลาย) ศาสดาพวกหนึ่งบญั ญัติกามปริญญา และรปู ปรญิ ญา ไมบ ญั ญตั ิเวทนาปรญิ ญา ศาสดาพวกหนงึ่ บัญญัตทิ ้ังกามปริญญาทง้ั รูปปรญิ ญาทง้ั เวทนาปริญญา น้ีแล ศาสดา ๓ จําพวกมปี รากฏอยใู นโลกดกู อ นมหานาม ความสาํ เร็จของศาสดา ๓ นี้เปนอยา งเดียวกนั หรอื ตา งกนั .พอส้ินกระแสพระพทุ ธดาํ รสั ภรัณฑุ กาลามะ บอกเจามหานาม ศากยะวา ทานมหานาม ทานจงกราบทลู วา เปนอยางเดียวกัน. พระผมู พี ระภาคเจาตรสั วา มหานาม เธอจงตอบวาตา งกนั .
พระสตุ ตันตปฎก องั คตุ รนกิ าย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 554 ภรณั ฑุ กาลามะ และพระผมู ีพระภาคเจา ตางก็พดู และรบั ส่งั ยืนคําอยอู ยางนน้ั ถงึ ๓ คร้ัง ภรัณฑุ กาลามะ สาํ นึกขึน้ วา เราหนอถูกพระ-สมณโคดมรกุ รานเอาถงึ ๓ คร้งั ตอหนา เจา มหานาม ศากยะ ผมู เหสกั ขไฉนหนอ เราพงึ ไปจากกรงุ กบลิ พสั ดุเถดิ ไมช า ภรัณฑุ กาลามะ กห็ ลีกไปจากกรงุ กบิลพสั ดุ เขาไดห ลกี ไปเหมือนอยางนั้นทเี ดยี ว ไมก ลบั มาอีก. จบภรัณฑสุ ูตรท่ี ๔ อรรถกถาภรัณฑสุ ตู ร พงึ ทราบวนิ จิ ฉัยในภรัณฑุสูตรท่ี ๔ ดงั ตอ ไปนี:้ - บทวา เกวลกปฺป ไดแก รอบดานทัง้ สิ้น. บทวา อาหิณฺฑนโฺ ตไดแกเ สด็จเท่ียวไป. บทวา น อททฺ สา ความวา เพราะเหตุใด เจามหานามศากยะ จงึ ไมทรงพบ. ไดย นิ วา ภรัณฑุ กาลามดาบสนี้ ขบฉันบิณฑบาตอันเลิศของเจา ศากยะท้ังหลาย ทองเท่ยี วไป. พระผมู พี ระภาคเจาทรงทราบวาในเวลาท่พี ระองคเสด็จถึงท่อี ยขู องดาบสนั้น พระธรรมเทศนา กณั ฑหนึ่งจะเกดิ ขน้ึ จึงไดทรงอธิฏฐานไว โดยไมใ หท ีพ่ กั แหงอนื่ ปรากฏเห็น เพราะฉะน้ันเจา มหานามศากยะ จึงไมเ ห็น. บทวา ปรุ าณสพรฺ หฺมจารี ไดแ ก เคยเปนผูรวมประพฤตพิ รหม-จรรยก นั มากอน. ไดย ินวา ภรัณฑกุ าลามดาบสนน้ั ไดอยใู นอาศรมนนั้ในสมยั อาฬารดาบสกาลามโคตร. พระธรรมสังคาหกาจารยกลาวหมายถึงดาบสนนั้ นัน่ เอง. บทวา สนถฺ ร ปฺาเปหิ มอี ธิบายวา เธอจงปูอาสนะทจี่ ะตอ งปู. บทวา สนถฺ ร ปฺาเปตฺวา ความวา ปูผา สําหรับปนู อน
พระสุตตันตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย ตกิ นบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 555บนเตียง อันเปนกปั ปยะ การกา วลว ง ชอื่ วา ปริญญา ในบทวา กามานปริ ฺ ปฺ าเปติ นี้ เพราะฉะนั้น ศาสดาบางพวก จงึ บัญญตั ิการกา วลวงกามทง้ั หลายวา เปน ปฐมฌาน. บทวา น รูปาน ปริฺ ความวาไมบญั ญัติธรรมทีเ่ ปน เหตกุ า วลวงรูปวา เปน อรปู าวจรสมาบตั ิ. บทวาน เวทนาน ปริฺ ความวา ไมบ ญั ญัตกิ ารกาวลวงเวทนาวา เปนนพิ พานคติ คอื ความสําเรจ็ ชอื่ วา นิฏ า. บทวา อุทาหุ ปถุ ุ ความวา หรอืตา งกนั . จบอรรถกถาภรณั ฑุสตู รท่ี ๔ ๕. หัตถกสตู ร วาดว ยหตั ถกเทพบุตรไมอ่มิ ธรรม ๓ อยาง [๕๖๗] สมัยหนง่ึ พระผมู ีพระภาคเจา ประทบั ณ พระเชตวันอารามของอนาถบิณฑิกคฤหบดี ใกลกรงุ สาวัตถี ครง้ั นั้นเทวบุตรชือ่หตั ถกะ เม่อื ราตรลี ว ง (ปฐมยาม) แลว มีผิวพรรณงดงาม (เปลงรศั มี)ทาํ ใหส วา งไปทั่วพระเชตวนั เขา ไปเฝา พระผมู พี ระภาคเจา ครน้ั เขาไปถึงที่ประทบั แลว หมายใจวาจักยนื เฝา ตอ พระพกั ตรพ ระผูม พี ระภาคเจา แตต วั ยอ มจมลงและจมลง ไมดาํ รงอยูได เปรยี บเหมอื นเนยใสหรอื นํา้ มนั ทค่ี นราดลงบนทราย ยอมซึมหายไปภายใตไมค า งอยฉู นั ใด หตั ถกเทวบตุ รหมายใจวาจักยนื เฝา ตอพระพกั ตรพระผูมีพระภาคเจา แตต วั ยอ มจมลงและจมลง ไมดํารงอยไู ดฉันน้นั
พระสุตตนั ตปฎก อังคุตรนิกาย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 556 ลําดับนัน้ พระผูม ีพระภาคเจาตรัสกะหตั ถกเทวบตุ รวา หัตถกะทานจงนิรมติ ตวั ใหห ยาบ หตั ถกเทวบุตรรบั พระพทุ ธพจนแลว นิรมิตตัวใหหยาบ ถวายอภวิ าทพระผูม พี ระภาคเจา ยนื เฝาอยู ณ ที่ควรสวนหนง่ึ พระผมู พี ระภาคเจา จงึ ตรัสถามวา หตั ถกะ ธรรมเหลาใดที่ทานเคยประพฤตเิ มื่อคร้งั ทา นเปน มนุษย ธรรมเหลา นนั้ บัดนที้ านยังประพฤติอยหู รือ ขา แตพ ระองคผ เู จรญิ ธรรมเหลาใด ท่ีขาพระพุทธเจาเคยประพฤติเมอ่ื ครั้งเปนมนษุ ย ธรรมเหลา นน้ั บัดน้ี ขา พระพุทธเจา ยังประพฤตอิ ยูและยงั ประพฤติธรรมท่ีไมเ คยประพฤตเิ มื่อครั้งเปน มนุษยอ กี ดว ย เดยี๋ วนี้ พระ-ผูมีพระภาคเจา อาเกียรณอยู ดว ยภกิ ษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา พระราชาราชมหาอาํ มาตย เดียรถยี สาวกเดียรถยี ฉนั ใด ขา พระพุทธเจากอ็ าเกียรณอยูดว ยเทวบตุ รทงั้ หลาย ฉันนน้ั เทวบตุ รทง้ั หลายมาแมไกล ๆ ตง้ั ใจจักฟง ธรรมในสํานกั หตั ถกเทวบุตร ขา แตพระองคผ เู จริญ ขา พระพทุ ธเจา ยังไมอิ่มยังไมเ บ่ือธรรม ๓ อยา ง กท็ ํากาละแลว ธรรม ๓ อยางคืออะไร คือ การเห็นพระผูมพี ระภาคเจา การฟงพระสัทธรรม การอุปฏฐากพระสงฆขาพระพทุ ธเจา ยงั ไมอมิ่ ไมเบ่ือธรรม ๓ อยางนแ้ี ล ไดท าํ กาละแลว. แนละ ความอมิ่ ตอการเหน็ พระผูม-ี พระภาคเจา การอุปฏฐากพระสงฆ และ การฟงพระสทั ธรรม จกั มี ในกาลไหนๆ หตั ถกอุบาสก ผรู กั ษาอธศิ ีล ยนิ ดใี น การฟง พระสัทธรรมไมทนั อ่ิมธรรม ๓ ประการ ก็ไปอวิหาพรหมโลกแลว . จบหัตถกสูตรที่ ๕
พระสุตตันตปฎก องั คุตรนกิ าย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 557 อรรถกถาหตั ถกสูตร พึงทราบวนิ จิ ฉยั ในหตั ถกสตู รที่ ๕ ดงั ตอไปน:้ี - อภิกกฺ นฺต ศัพท ในบทวา อภกิ กฺ นฺตาย รตฺตยิ า นี้ ปรากฏในความวา สิ้นไป ดี รปู งาม และนา อนุโมทนายงิ่ เปน ตน. ในอรรถ ๔อยา งนนั้ อภกิ ฺกนฺต ศัพท ปรากฏในความส้นิ ไป เชนในประโยคท้ังหลายมีอาทอิ ยางน้ีวา ขาแตพ ระองคผเู จริญ ราตรสี น้ิ ไปแลว ปฐมยามผานไปแลวภกิ ษสุ งฆนัง่ อยูนานแลว ขา แตพ ระองคผ ูเจรญิ ขอพระผูมีพระภาคเจาจงทรงแสดงปาฏิโมกข แกภกิ ษุทั้งหลายเถิด พระเจา ขา. ปรากฏในความวา ดี เชนในประโยคมอี าทิอยางนี้วา ผนู ที้ ้งั งาม ทั้งประณตี กวาบุคคล ๔ จําพวกเหลาน้ี. ปรากฏ ในความวา รปู งาม เชน ในประโยคท้ังหลายมีอาทิอยา งนวี้ า ใครรงุ โรจนอ ยดู วยฤทธิ์ ดวยยศ มี ผิวพรรณงามยงิ่ นกั ยงั ทิศทงั้ ปวงใหสวาง- ไสว ไหวเทา ท้ังสองของเราอยู ดังน.ี้ ปรากฏ ในความวา อนโุ มทนาอยา งย่งิ เชน ในประโยคทั้งหลายมีอาทิอยางนวี้ า ขาแตพระองคผเู จรญิ นา อนุโมทนายง่ิ นกั . แตใ นบทวาอภกิ ฺกนฺตาย รตฺตยิ า นี้ อภกิ ฺกนตฺ ศัพท ปรากฏในความด.ี ดวยเหตนุ น้ัทา นจึงกลาวขยายความไววา บทวา อภกิ ฺกนฺตาย รตตฺ ยิ า ความวาในราตรีทนี่ า ปรารถนา นา รักใคร นาพอใจ. อภกิ ฺกนฺตาย ศพั ท ในบทวาอภิกกฺ นตฺ วณฺณา นี้ ปรากฏในความวา รปู งาม. สวน วณณฺ ศัพท ปรากฏใน ฉวิ (ผิวพรรณ) ถตุ ิ (การชมเชย)กลุ วรรค (ชนชัน้ ) การณะ (เหตุ) สัณฐาน (รปู รา ง) ปมาณ (ขนาด)
พระสุตตนั ตปฎก อังคตุ รนกิ าย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 558และในรูปายตนะเปนตน . ในบรรดาอรรถ ๖ อยา งนัน้ วณณฺ ศพั ท ปรากฏในผวิ เชน ในประโยคมอี าทอิ ยางนีว้ า พระผูมพี ระภาคเจา แมท รงมพี ระฉวีเพยี งดงั วรรณะแหง ทอง. ปรากฏในความชมเชย เชน ในประโยคมอี าทิอยางน้ีวา ดกู อนคฤหบดี กก็ ารสรรเสริญคุณของพระสมณโคดม ทานไดผูกพนั ไว แตเม่ือไร. ปรากฏใน กลุ วรรค (ชนชั้น) เชนในประโยคมีอาทอิ ยางน้ีวา ขา แตพระโคดมผเู จรญิ วรรณะของขาพระองคมี ๔ อยาง.ปรากฏใน การณะ เชน ในประโยคมอี าทิอยางนีว้ า อน่ึง ดวยเหตเุ พียงเทา ไรหนอ เขาเรียกวา คนธฺ ตเฺ ถโน (ขโมยกลิ่น). ปรากฏในสัณฐานเชนในประโยคมอี าทอิ ยางนีว้ า เนรมติ สัณฐาน (รูปราง) เปนพญาชา งใหญ.ปรากฏในประมาณ เชน ในประโยคมอี าทิอยา งน้ีวา ประมาณ (ขนาด)ของบาตรมี ๓ อยา ง. ปรากฏใน รปู ายตนะ เชนในประโยคมีอาทอิ ยา งนว้ี ารปู (วรรณะ) คันธะ รสะ โอชา. วณั ณ ศัพทน ้นั ในทีน่ ี้ พงึ ทราบวาไดแกผวิ . ดวยเหตนุ นั้ ทา นจงึ กลา วขยายความไววา บทวา อภิกฺกนฺตวณฺณาความวา มผี ิวพรรณงาม คือมีผวิ พรรณนาปรารถนา มีผิวพรรณนาพอใจ. เกวล ศพั ท ในบทวา เกวลกปปฺ น้ี มีอรรถมใิ ชนอย เชนอนวเสส (ไมม ีสวนเหลือ) เยภุยฺย (โดยมาก) อพยามสิ สฺ (ไมเ จอื ปนกนั )นาติเรก (ไมมาก) ทฬหฺ ตถฺ (มุงมั่น) วสิ โยคะ (พรากจากกัน)จริงอยา งน้ัน เกวล ศพั ทนั้น มีเนอ้ื ความไมม ีสวนเหลอื ในประโยคมีอาทิอยา งนี้วา พรหมจรรยบ ริสทุ ธ์ิ บรบิ ูรณส ิน้ เชงิ . ความทเี่ กวลศัพทใชค วาม-หมายวา โดยมาก เชน ในประโยคมอี าทิอยา งนี้วา กช็ าวองั คะและมคธจํานวนมากจกั พากนั ถือเอาขาทนยี และโภชนียาหาร อนั พอเพียง เขาไปเฝา .ความที่ เกวลศัพท มีความหมายวา ไมเ จอื ปน ดังในประโยคมีอาทิอยางนีว้ า ความเกดิ ขึ้นแหงกองทกุ ขลว น ๆ ยอ มมี. ความที่ เกวลศัพท
พระสตุ ตนั ตปฎก อังคตุ รนิกาย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 559มคี วามหมายวาไมม าก ดังในประโยคมีอาทอิ ยางนี้วา ทา นผูมอี ายนุ ี้ มีเพยี งศรัทธาอยา งเดียว (ไมมาก). ความท่ี เกวลศัพท มคี วามหมายวา มงุ ม่นัเชน ในประโยคมีอาทอิ ยา งนวี้ า ขา แตทา นผเู จรญิ สัทธิวิหารกิ ของทาน-อนรุ ุทธะ ช่อื วา พาหกิ ะ ดังอยูในสังฆเภทเหน็ แมน ม่นั . เกวลศัพท มีความวาพรากจากกันเปน อรรถ เชนในประโยคมอี าทิอยา งนวี้ า ผูแยกกันอยูทา นเรยี กวา อุตตมบรุ ษุ . แตใ นท่ีนี้ ทรงประสงคเ อาความไมม ีสวนเหลือวาเปนความหมายของเกวลศัพทนั้น สวนกัปปศัพท มีความหมายมากอยาง เชน เปน ตน วาอภสิ ัททหนะ(การปลงใจเธอ) โวหาร (การเรียกรอง) กาลบัญญัติ เฉทนะ (การตดั )วิกัปปะ (กาํ หนด) เลศ (ขออาง) สมันตภาว (ภาวะใกลเ คยี ง).จริงอยางนน้ั กปั ปศพั ทนนั้ มีความปลงใจเชื่อเปน อรรถ เชน ในประโยคมอี าทิอยางน้วี า พระดาํ รัสน้ี ของพระโคดมผเู จรญิ ผูเปน พระอรหนั ตสมั มา-สัมพุทธเจา นาปลงใจเชอื่ . กัปปศพั ท มีโวหาร (การเรียกรอ ง) เปน อรรถเชนในประโยคมีอาทิอยางน้วี า ดกู อนภิกษทุ ง้ั หลาย เราตถาคตอนุญาตใหฉันผลไม ตามสมณโวหาร ๕ อยาง. กัปปศพั ท มกี าลเปนอรรถ เชนในประโยคมีอาทอิ ยา งนว้ี า เราจะอยูต ลอดกาลเปนนิตย โดยอาการใด. กปั ปศพั ทมีบญั ญัตเิ ปนอรรถ เชนในประโยคมีอาทิอยา งน้วี า ทานผมู ีอายชุ อื่ วา กปั ปะทูลถามวา...ดังน้.ี กปั ปศพั ท มีการตัดเปน อรรถ เชนในประโยคมีอาทิอยา งนีว้ า ผูป ระดบั แลว โกนผมและหนวดแลว. กัปปศพั ท มกี ารกําหนดเปนอรรถ เชนในประโยคมอี าทอิ ยา งนวี้ า กําหนด ๒ องคลุ ี ยอ มควร.กัปปศพั ท มเี ลศเปน อรรถ เชน ในประโยคมีอาทอิ ยางน้ีวา เลศเพือ่ จะนอนมอี ยู. กัปปศัพท มภี าวะรอบดา นเปน อรรถ เชนในประโยคมีอาทิอยางนี้วาใหส วางไสวทวั่ ท้ังพระเชตวัน. แตในท่ีน้ี ทรงประสงคเ อาความรอบดาน
พระสุตตันตปฎก องั คตุ รนิกาย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 560เปน ความหมายของกปั ปศพั ทนัน้ . เพราะฉะนน้ั ในบทวา เกวลกปปฺ เชตวนน้ี จึงมีความหมายวา ยงั พระเชตวนั ใหสวางไสวรอบดา น ไมม ีเหลือ. บทวา โอภาเสตฺวา ไดแกแผร ศั มไี ป. บทวา วาลุกาย ไดแ กทรายละเอียด. บทวา น สณฺ าติ ความวา ไมยนื อย.ู บทวา โอฬาริกความวา เพราะวา. ในเวลาทพ่ี ระพรหม และเทวายนื อยูท แ่ี ผนดิน ควรจะเนรมติ อัตภาพใหหยาบ หรอื เนรมิตแผน ดิน เพราะเหตนุ ั้น พระผูม ีพระภาคเจาจงึ ตรสั อยา งนี.้ ดว ยบทวา ธมฺมา น้ี ทรงแสดงถงึ พระพทุ ธพจน ทีห่ ตั ถก-เทพบุตร เคยเรยี นมาในกาลกอ น. บทวา นปฺปวตตฺ ิโน อเหสุ ความวาธรรมทง้ั หลายไดเ สอ่ื มไป จากการกลาวของผทู ี่ลืมสาธยาย. บทวา อปปฺ ฏิภาโณ ความวา ไมว กกลบั คือไมก ระสัน. บทวา ทสพลสฺส ความวาตอ การเหน็ ดว ยจกั ษวุ ญิ ญาณ. บทวา อุปฏานสสฺ ความวา ตอ การบาํ รงุดว ยปจ จยั ๔. บทวา อธสิ ลี ไดแกศ ีล ๑๐ อยา ง. ดวยวา ศีล ๑๐ นั้นพระผูมีพระภาคเจา ตรสั เรียกวา อธิศลี เพราะเทียบกับเบญจศลี . ดว ยบทวาอวหิ คโต หัตถกเทพบตุ ร แสดงวา ขาพระองคเกดิ แลว ในพรหมโลกช้ันอวิหา. จบอรรถกถาหัตถกสตู รที่ ๕
พระสตุ ตนั ตปฎ ก องั คุตรนิกาย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 561 ๖. กฏว ิยสตู ร วา ดว ยพระทาํ ตัวเปน ของเนา [๕๖๘] สมยั หน่ึง พระผูมพี ระภาคเจาประทับ ณ อิสปิ ตน-มฤคทายวนั ใกลกรุงพาราณสี คร้งั น้ัน พระผมู พี ระภาคเจา เวลาเชา ทรงครองสบงแลว ทรงถอื บาตรและจวี ร เสด็จเขากรงุ พาราณสี เพือ่ บณิ ฑบาตไดทอดพระเนตรเหน็ ภิกษรุ ปู หนึ่งเทียวบิณฑบาตอยูทโี่ คโยคมิลกั ขะ เปนภกิ ษุไรความแชม ชนื่ ทางสมณะ มคี วามแชม ช่นื นอกทางสมณะ ลืมสติ ไมม ีสัมปชญั ญะใจไมมน่ั มีจติ กวัดแกวง มีอนิ ทรียอ ันเปด จงึ ตรสั กะภกิ ษุน้นั วาแนะภิกษุ เธออยาทําตัวใหเปน ของเนา ตัวท่ีถูกทาํ ใหเ ปนของเนา แลว สง กลนิ่เหมน็ คาวคลุง แมลงวนั จักไมไ ตไ มต อม นนั่ เปนไปไมไ ด. ภิกษุนน้ั ไดรบั พระโอวาทแลว ก็รูสกึ สลดทันที พระผูมีพระภาคเจาเสดจ็ เทีย่ วบิณฑบาตในกรงุ พาราณสีแลว ภายหลังภตั ตาหาร กลับจากบิณฑบาตแลว ตรัสเรียกภกิ ษุทงั้ หลายมาตรสั วา ดูกอนภิกษุทัง้ หลาย เมื่อเชาน้ี เราครองสบงแลว ถือบาตรจวี ร เขา กรุงพาราณสีเพ่อืบิณฑบาตเราไดเ ห็นภกิ ษุรปู หน่ึงเที่ยวบณิ ฑบาตอยูทีโ่ คโยคมลิ ักขะ เปน ภกิ ษุไรค วามแชมชื่นทางสมณะมีความแชมช่นื นอกทางสมณะ ลืมสติ ไมม ีสัมปชัญญะใจไมม ่นั มจี ิตกวดั แกวง มีอินทรยี เ ปด เราจึงกลา วกะภิกษนุ ้ันวา แนะ ภกิ ษุเธออยา ทาํ ตวั ใหเปน ของเนา ตวั ทถี่ กู ทําใหเ นา แลว สง กล่ินเหม็นคาวคลงุแมลงวัน จักไมไ ตไมตอม นน่ั เปนไปไมไ ด ภิกษุนนั้ ไดรับโอวาทแลว รูสึกสลดทนั ที.
พระสตุ ตนั ตปฎก องั คตุ รนกิ าย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 562 เมอ่ื สนิ้ กระแสพระพทุ ธดํารสั ภิกษุรปู หนงึ่ กราบทลู ถามวา ขาแตพระองคผูเจรญิ อะไรเปน ของเนา อะไรเปนกล่นิ เหม็นคาว อะไรเปนแมลงวนั . พ. ตรสั ตอบวา อภชิ ฌาเปนของเนา พยาบาทเปนกลิน่ เหมน็ คาวความตรกึ ทัง้ หลายทเ่ี ปน บาปอกุศลเปน แมลงวัน แนะ ภิกษุ ตวั ทถ่ี ูกทําใหเ ปนของเนา แลวสงกลิ่นเหม็นคาวคลุง แมลงวนั จักไมไ ตไมต อม นั่นเปน ไปไมได. นคิ มคาถา แมลงวัน คอื ความดาํ รทิ ่ีเกีย่ วดวย ราคะ ยอมไตตอมภกิ ษผุ ไู มค ุม ครองตาและ หู ไมสํารวมอนิ ทรีย ภิกษผุ ูท ําตวั เปน ของ เนา สง กลิน่ เหม็นคาวคลุง ยอ มไกลออก ไปจากพระนิพพาน เปนผูมสี วนรบั ทุกข เทา น้ัน คนโงเ ขลาไมไดความสงบภายใน ไปในบา นหรือในปา ก็ตาม กถ็ กู แมลงวัน ตอมไป สว นคนเหลาใดถึงพรอมดว ยศีล ยนิ ดใี นความสงบรํางับดว ยปญญา คน เหลาน้นั เปน คนสงบ อยสู บาย แมลงวัน ไมไ ตต อม. จบกฏว ิยสตู รท่ี ๖
พระสตุ ตันตปฎ ก องั คตุ รนกิ าย ตกิ นบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 563 อรรถกถากฏว ยิ สตู ร พึงทราบวนิ จิ ฉัยในกฏวิยสตู รที่ ๖ ดังตอ ไปนี:้ - บทวา โคโยคมลิ กขฺ สมฺ ึ ความวา ในสํานักของคนปา ทป่ี รากฏตวั อยู ในตลาด ซือ้ ขายววั . บทวา ริตตฺ สสฺ าท ความวา ขาดความยนิ ดีเพราะไมมีความสุขเกดิ แตฌ าน. บทวา พาหริ สฺสาท ความวา มคี วามยนิ ดีในความสขุ ภายนอก ดว ยอาํ นาจแหงความสุขทเ่ี กิดแตกามคุณ. บทวา กฏว ิยไดแกของทเี่ ขาทิ้งแลว. บทวา อามกคนเฺ ธ ความวา มกี ลิน่ คาว กลาวคอืความโกรธ. บทวา อวสสฺ ตุ ความวา เปยกชุม แลว . แมลงวันกลาวคอืกเิ ลส ช่ือวา มกฺขิกา. บทวา นานปุ ตสิ ฺสนฺติ ความวา จักไมบินตามไป.บทวา นานวฺ าสฺสวสิ ฺสนตฺ ิ ความวา จักไมต ามไปตอม. บทวา ส เวคมา-ปาทิ ไดแ ก เปน พระโสดาบัน. บทวา กฏวิยกโต ความวา ทาํ ใหเ ปน ของเสีย. บทวา อารกา โหติความวา มีในทไ่ี กล. บทวา วิฆาตสเฺ สว ภาควา ความวา มีสว นแหงทกุ ขนั้นเอง. บทวา จเร แปลวา ยอมเทย่ี วไป. บทวา ทุมฺเมโธ ไดแก ผูมีปญ ญาทราม. ในพระสตู รน้ี ตรัสวฏั ฏะไวอ ยางเดียวเทาน้ัน. แตในคาถาทงั้ หลาย ตรัสไวท ัง้ วัฏฏะและววิ ัฏฏะ. จบอรรถกถากฏว ิยสูตรที่ ๖
พระสุตตันตปฎก อังคตุ รนิกาย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 564 ๗. ปฐมอนุรทุ ธสูตร วา ดวยธรรม ๓ อยา ง ทีพ่ าหญงิ ไปอบายภูมิ [๕๖๙] ครั้งนนั้ ทา นพระอนุรุทธะ เขา ไปเฝา พระผมู ีพระภาคเจาฯลฯ กราบทลู วา ขา แตพระองคผ เู จรญิ ดวยจักษทุ พิ ยอนั แจมใสเกนิ จักษุมนุษยสามัญ ขาพระพุทธเจา เหน็ มาตุคามโดยมาก เพราะกายแตกตายไปเขาถงึ อบายทคุ ติวินิบาตนรก มาตคุ ามประกอบดวยธรรมเทาไร พระพทุ ธเจาขาเพราะกายแตกตายไป จึงเขาถงึ อบายทุคติวินิบาตนรก. พ. ตรสั ตอบวา อนุรุทธะ มาตคุ ามประกอบดวยธรรม ๓ ประการเพราะกายแตกตายไป ยอ มเขา ถงึ อบายทุคติวนิ บิ าตนรก ดว ยธรรม ๓ ประการคืออะไร คอื มาตุคาม ตอนเชา มใี จกลุม ดวยความตระหน่ี อยคู รองเรือนตอนกลางวนั มใี จกลุมดว ยความรษิ ยา อยูครองเรอื น ตอนเยน็ มใี จกลมุดวยกามราคะ อยูครองเรอื น อนรุ ทุ ธะ มาตุตามประกอบดว ยธรรม ๓ ประการนีแ้ ล เพราะกายแตกตายไป ยอมเขา ถึงอบายทุคติวินิบาตนรก. จบปฐมอนุรุธสตู รที่ ๗ ในพระสูตรท่ี ๗ ตรัสวัฏฏะไวอ ยา งเดยี ว.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 602
Pages: